จดหมายข่าวโยคะสารัตถะ ฉบับเดือน สิงหาคม 54

Page 1

วิถชี วี ติ เพือ่ สุขภาวะ

จดหมายข่าว

ฉบับเดือน สิ งหาคม 2554

www.thaiyogainstitute.com

คุยกันก่อน ปฏิทนิ กิจกรรม กิจกรรมของเครือข่าย แลกๆ เล่าๆ คุณถาม เราตอบ คุณถาม เราตอบ (2) จดหมายจากศิษย์ จดหมายจากเพือ่ น แนะนําหนังสือ สะกิด สะเกา จากผูอ้ ่าน เล้งเล่าเรือ่ ง ตําราโยคะดัง้ เดิม

อบรม TIR, ครูสนั ้ รุน่ 17, BBM อบรมวิปสั สนา, มหกรรมสมุนไพร หายใจ กับ มูลพันธะ เรยาเกลียดเพือ่ นร่วมงาน พลังปราณติดขัด โยคะหลับตา เช้าวันใหม่ กับ สามคอ โยคะ ธรรมะ สมดุล ชีวติ ถ้าบอกว่า... โยคะ: รูจ้ กั ... แล้วรูใ้ ห้แจ้ง... ฉันมองไม่เห็นเธอ อวิทยา: ทัศนะของปตัญชลีต่อการเห็นผิด

2 2 4 5 7 10 11 12 13 13 14 14 15

“คนที่แสดงความเห็น โดยไม่มค ี วามรูน ้ ี้มันยุ่ง ก็มัน ไม่รู้แล้วมันก็ว่าไปเรือ ่ ยๆไป และมันก็ไม่เอาความรู้มาใช้ ประโยชน์ มันเพียงแต่วา่ แสดงความเห็นไปอย่าง นั้นเอง” ป.อ. ปยุตโต

จดหมายข่าว โยคะสารัตถะ วิถชี วี ติ เพือ่ สุขภาวะ ที่ปรึกษา แก้ว วิฑรู ย์เธียร ธีรเดช อุทยั วิทยารัตน์ นพ.ยงยุทธ วงศ์ภริ มย์ศานติ ์ นพ.สมศักดิ ์ ชุณหรัศมิ ์ กองบรรณาธิ การ กวี คงภักดีพงษ์, จิรวรรณ ตัง้ จิตเมธี, จีระพร ประโยชน์วบิ ูลย์, ชนาพร เหลืองระฆัง, ณัตฐิยา ปิยมหันต์, ณัฏฐ์วรดี ศิรกิ ุลภัทรศรี, ธนวัชร์ เกตน์วมิ ตุ , ธีรนิ ทร์ อุชชิน, พรจันทร์ จันทนไพรวัน, รัฐธนันท์ พิรยิ ะกุลชัย, วรรณวิภา มาลัย นวล, วัลลภา ณะนวล, วิสาขา ไผ่งาม, วีระพงษ์ ไกรวิทย์, ศันสนีย์ นิรามิษ, สมดุลย์ หมันเพี ่ ยรการ, สุจติ ฏา วิเชียร

news 1108 1


สถาบันโยคะวิชาการ มูลนิธหิ มอชาวบ้าน 201 ซอยรามคําแหง 36/1 บางกะปิ กทม.10240 โทรศัพท์ 02 732 2016-7, 081 401 7744 โทรสาร 02 732 2811 อีเมล์ yogasaratta@yahoo.co.th เว็บไซท์ www.thaiyogainstitute.com

สิ่ งตีพิมพ์

news 1108 2


เนื่องจากมีผสู้ นใจ ทัง้ ในกรุงเทพและต่างจังหวัด 3) เนือ ้ หาโยคะที่สอน เช่น สอนโยคะพืน้ ฐาน, สอบถามมายังสถาบันฯ ว่าเปิ ดทําการสอน หรือมีเครือข่ายครู สอนโยคะเพื่อการพัฒนาจิต หรือ สอนท่าอาสนะ ฯลฯ (ไม่ สอนทีไ่ หนบ้าง จําเป็ นว่าจะต้องเป็ นเนื้อหาโยคะแนวตําราดัง้ เดิมเท่านัน้ ) เราจึงตัง้ ใจจะทําการรวบรวมรายชื่อ สถานทีส่ อน 4) ถ้าเปิดสอนเฉพาะในเวลาที่ โยคะ ของเครือข่ายครูโยคะทัง้ หมด ในประเด็นดังนี้ เจาะจง โปรดระบุ 1) ชื่อสถานทีท ่ ี่สอน ทีต่ งั ้ ของสถานที่ อาคาร จึงขอเชิญชวนเพื่อนๆ ทีส่ อนโยคะอยู่ ช่วยส่งข้อมูล ถนน ตําบล อําเภอ จังหวัด (ช่วยระบุช่อื อันเป็ นทีร่ จู้ กั คุน้ เคย มายังสถาบันฯ เพื่อรวบรวมและเผยแพร่ต่อไป เช่น ใกล้แยกลําสาลี ฯลฯ) เบอร์โทรศัพท์ เบอร์มอื ถือ อีเมล์ 2) ชือ ่ ครูผู้สอน (ไม่จาํ เป็นว่าจะต้องเรียนจากทาง สถาบันฯ เท่านัน้ ) ____________________________________________________________ เครือข่ายชีวติ สิกขา และ สถาบันโยคะวิชาการ ขอเชิญร่วมกิจกรรม

กระบวนการเรียนรูช้ วี ติ เชิงพุทธ: พาคนหลงทางกลับบ้าน (TIR) .

โดย ธนวัชร์ เกตน์วมิ ตุ (ครูดล) และ วรรณวิภา มาลัยนวล (ครูออ๊ ด) วันอาทิ ตย์ที่ 28 สิ งหาคม, 25 กันยายน, 9 ตุลาคม, และ 27 พฤศจิ กายน 2554 เวลา 9.30 – 16.00 น. กิจกรรมครัง้ แรก จัดที่ สวนโมกข์ กรุงเทพฯ ส่วนกิจกรรมทีเ่ หลือจะนัดกันเป็ นครัง้ ๆ ไป

เป็ นการเรียนรูช้ วี ติ ผ่านเทคนิค TIR อันเป็ นกระบวนการทีเ่ ราปฏิสมั พันธ์กบั คนรอบตัว ทีก่ าํ ลังเป็ นทุกข์ (หลงทาง) จะสือ่ สาร อย่างไร ให้คนคลายทุกข์ ขณะเดียวกัน จะวางจิตวางใจอย่างไร ให้เราเองก็เข้าใจชีวติ ได้ดขี น้ึ ตระหนักถึงความจริงของชีวติ ได้ ชัดขึน้ (กลับบ้าน) TIR มีองค์ประกอบดังนี้

Tuning in การสร้างบรรยากาศทีเ่ อือ้ ต่อการพูดคุย ปรึกษา เช่น ความไว้เนื้อเชื่อใจ ความเสมอกัน ฯลฯ Identify split การช่วยกันค้นต้นตอของปญั หา ความเหลื่อมลํ้า (split) ระหว่างความจริงกับความคาดหวัง ซึง่ ก่อให้เกิด ความทุกข์ โดยอาศัยกระบวนการ เช่น การฟงั อย่างตัง้ ใจ การแยกแยะเรื่องราวทีท่ บั ซ้อนกันเป็ นชัน้ ๆ (loop) การดึงความรูส้ กึ ทีฟ่ ้ ุงกระจายมาอยู่ทป่ี ระเด็นหลักในการสนทนา (tracking) การเปิ ดโอกาสให้เรือ่ งราว คลีค่ ลายตัวเองออกมา ฯลฯ ั Realization ตระหนักถึงปญั หาอันแท้จริง (การปรุงแต่งของจิตตน) และ เห็นทางออกของปญหาอย่ างเป็ นรูปธรรม โดยไม่ เกิดการยัดเยียดก้อนความคิดจากอีกฝา่ ยหนึ่ง ฯลฯ นอกจากนัน้ ผูเ้ ข้ารับการอบรมต้องนําแบบฝึกหัดไปฝึกปฏิบตั อิ ย่างสมํ่าเสมอ และส่งรายงาน ตลอดเวลา 3 เดือน . และอ่านหนังสือประกอบการอบรม จากจิตวิทยาสูพ่ ทุ ธธรรม ค่าลงทะเบียน 1,000 บาท (ไม่รวมอาหารกลางวัน) รับ 10 คน สมัครได้ท่ี สถาบันโยคะวิชาการ 02 732 2016 - 7 ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------news 1108 3


โยคะอาสนะขั้นพื้นฐานเพื่อ ความสุข สําหรับผูเ้ ริม่ ต้น เดือนสิงหาคม

จัดวัน

อาทิตย์ท่ี 21 เวลา 9.00 – 15.00 น. ทีช่ นั ้ 6 ห้อง 262 คณะ มนุษยศาสตร์ มศว ประสานมิตร ค่าลงทะเบียน 650 บาท

--สถาบันโยคะวิ ชาการ มูลนิ ธิหมอชาวบ้าน

จัดอบรม ผูส้ อนโยคะเพื่อการพัฒนาจิ ต ระยะสัน้ หลักสูตร 5+5 วัน 100 ชัวโมง ่

รุ่น 17 ts54b

10 -14 ตุลาคม และ 10 - 14 พฤศจิกายน 2554 ณ สวนสันติธรรม ลำลูกกำ คลองกลำง (ต่ อจำกคลอง 11) อบรมโดยทีมวิทยากรจากสถาบันโยคะวิชาการฯ เนื้ อหาภาคทฤษฎี สรีระวิทยา กายวิภาคของเทคนิคโยคะ ปรัชญาอินเดีย – ประวัตศิ าสตร์โยคะ ตําราโยคะดัง้ เดิม เทคนิคการสอน

ภาคปฏิ บตั ิ เทคนิคการผ่อนคลาย ท่าโยคะอาสนะ ขัน้ พืน้ ฐาน 13 ท่า ปราณายามะ มุทรา พันธะ กริยา การฝึกสอนภาคปฏิบตั ,ิ การฝึกสอนภาคบรรยาย ทัศนคติต่อชีวติ

สิ งหาคม-กันยายน 2554 สมัคร ลงทะเบียน รับตํารา 14 เล่ม* ไปศึกษาก่อนเริม่ เรียน จันทร์ 10 – ศุกร์ 14 ตค. ค่ายเปิ ด ทําความเข้าใจแก่นแท้ของโยคะ ฝึกเทคนิคต่างๆ ของโยคะ ทําความเข้าใจวิถชี วี ติ โยคะ ทัศนคติต่อชีวติ อิรยิ าบถในชีวติ การหายใจ การกินอาหาร ฯลฯ ช่วง 4 สัปดาห์ ฝึกปฏิบตั ดิ ว้ ยตนเองทุกวัน พร้อมจดบันทึก ทบทวนตํารา ทําการบ้าน ศึกษาหัวข้อโยคะทีส่ นใจ พฤหัส 10 – จันทร์ 14 พย ค่ายปิ ด ฝึกเทคนิคต่างๆ ของโยคะ (ต่อ) ฝึกสอนการปฏิบตั โิ ยคะ, ฝึกบรรยายหน้าชัน้ เรียน, หัวใจของการสอนโยคะเพื่อการพัฒนาจิต ส่งการบ้าน, สอบข้อเขียน ธันวาคม ประกาศผล และ แจกประกาศนียบัตรสําหรับผูท้ ส่ี ง่ การบ้านครบ, ผ่านการฝึกสอน, ผ่านการสอบ รับ 26 คน ค่าลงทะเบียน 17,000 บาท รวมค่าเอกสารตํารา, ค่าอาหาร, ค่าทีพ่ กั ส่งใบสมัครได้ท่ี สถาบันโยคะวิชาการ เลขที่ 2220/101 ซ.รามคําแหง 36/1 ถ.รามคําแหง หัวหมาก บางกะปิ กทม.10240 โทรศัพท์ 02 -732-2016 - 7 หรือ 081-401 7744 โอนเงินเข้า ธ. ไทยพาณิชย์ บัญชีออมทรัพย์ สาขามอลล์รามคําแหง ชื่อบัญชี มูลนิธหิ มอชาวบ้าน สถาบันโยคะวิชาการ เลขทีบ่ ญ ั ชี 173 – 2 - 32949-1 *รายชื่อตารา 14 เล่ม 1 อาสนะ สวามีกุวลั ยนันท์ 2 บันทึกสาระแห่งอาสนะ ปราณายามะ กริยา วรรณวิภา, สุภาพร, ณัตฐิยา 3 I love yoga anatomy สมดุลย์ หมันเพี ่ ยรการ 4 สรีรวิทยา แบบฝึกหัดการลงสี Kapip, Elson 5 ปตัญชลีโยคะสูตร สัตยานันทปุรี 6 หฐประทีปิกา ชนาพร เหลืองระฆัง 7 เฆรัณฑะ สัมหิตา ไกวัลยธรรม 8 ศาสตร์และศิลป์แห่งโยคะ วีระพงษ์ ไกรวิทย์ 9 ปรัชญาอินเดีย นงเยาว์ ชาญณรงค์ 10 โยคะกับการพัฒนามนุษย์ วีระพงษ์ ไกรวิทย์ 11 โยคะบําบัด สวามีกุวลั ยนันท์ 12 โยคะประยุกต์ ดร. ฆาโรเต 13 พุทธวิธกี ารสอน พระธรรมปิฎก 14 เทคนิคการสอน ดร. ฆาโรเต -----------------------------------------------------------------------------------

news 1108 4


โยคะในสวนธรรม

ณ หอจดหมายเหตุพุทธ

ทาส พุธที่ 17 ส.ค. 17.00 – 18.30 น. โยคะสุขใจ โดย กฤษณ์ ฟกั น้อย (ครูหนึ่ง)

เสาร์ท่ี 27 ส.ค. 10.00 – 12.00 น. โยคะเพื่อความ สมดุลกาย-ใจ โดย กุลธิดา แซ่ตงั ้ (ครูหมู) ไม่เสียค่าใช้จา่

ขอเชิญผู้สนใจเข้าร่วมกิจกรรม

2 ตรวจสอบโครงสร้างร่างกายด้วยตนเอง เพือ่ อิ ริยาบถที ่ ดี การจัดปรับสมดุลร่างกาย Shisei Method วิทยากร มายูมิ มิยาเกะ แบ่งเป็น 3 โปรแกรม ล่าม นันทกา เจริญธรรม 1 ปรับสมดุลร่างกาย เพือ่ อิ ริยาบถทีด่ ีในชีวิตประจาวัน ทีส่ ถาบันโยคะวิชาการ ซอยรามคําแหง 36/1 วันที่ 5 – 9, 12, 14, 15 กันยายน เวลา 10.00 – 11.30 น. วิทยากร มายูมิ มิยาเกะ เป็ นการฝึกอบรมด้วยเนื้อหาเดียวกันตลอด 8 วัน ฝึกเพียง ล่าม จาริมา แย้มกลิน่ ฟุ้ง ในงานมหกรรมสมุนไพรแห่งชาติ 8 ณ อิมแพค เมืองทองธานี ครัง้ เดียวก็สามารถนําไปทําเองได้ ค่าลงทะเบียน ครัง้ ละ 200 บาท รับจํานวนครัง้ ละ 8 คน วันอาทิตย์ท่ี 4 กันยายน เวลา 10.00 – 12.00 น. 3 ปรับสมดุลของร่างกาย เพือ่ พัฒนาอาสนะ ฟรี !! เจ้าภาพจัดงานคือ กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและแพทย์ วิทยากร มายูมิ มิยาเกะ ล่าม จาริมา แย้มกลิน่ ฟุ้ง ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ณ ห้อง 262 คณะมนุษยศาสตร์ ม. ศรีนครินทรวิโรฒ ผูส้ นใจกรุณรไปลงทะเบียนทีห่ น้างาน ซึง่ เปิ ดเวลา 9.00 น. เสาร์ 10 กย 14-1600 น & อาทิตย์ท่ี 11 กย 1000–15.00 น รับจํานวน 60 คน ตามขนาดความจุสงู สุดของห้อง ค่าลงทะเบียน 1,200 บาท เรียน 2 วัน รวม 6 ชัวโมง ่ รับได้ ไม่มกี ารรับลงทะเบียนล่วงหน้า (เฉพาะกิจกรรมนี้) 40 คน สนใจสมัครได้ทส่ี ถาบันฯ -----------------------------------------------------------------------------------------------------------------

จัดกิจกรรมการอบรม ยาเสพติดมาแล้ว ด้วยการจัดกิจกรรมด้านการเจริญสติ และ การค้นพบตัวเองในรูปแบบต่างๆ ให้เอือ้ ต่อการเติบโตด้านใน วิปส ั สนา ภาวนากับ แอนนี่ แซมบ้า มูลนิธชิ วี ติ ใหม่

หนึ่งในภิกษุณีทม่ี ศี นู ย์วปิ สั สนาอยู่ทวโลก ั่ ในวันที่ 19 – 21 สิงหาคม นี้ ให้กบั บุคคลทัวไป ่ ภิกษุณี แซมบ้า โซชม มีประสบการณ์ในการสอน วิปสั สนามาแล้ว 37 ปี ด้วยประสบการณ์การฝึกฝน เรียนรู้ จากบรรดาอาจารย์ทม่ี ชี ่อื เสียงหลายแนวปฏิบตั ิ ทัง้ แบบพุทธ ทางทิเบต พม่า เกาหลี และจีน ทําให้ท่านเป็ นนักสอน วิปสั สนาทีม่ แี นวการสอนทีห่ ลากหลาย สอนให้สนุกและเข้าใจ ได้ง่ายอย่างเป็ นวิทยาศาสตร์ แตกต่างจากการสอนศาสนา แบบเดิมๆ และนําไปใช้ได้จริงกับชีวติ ประจําวัน มูลนิธชิ วี ติ ใหม่เป็ นชุมชนเยียวยานานาชาติแห่งการ เจริญสติ ตัง้ อยู่บนพืน้ ทีท่ เ่ี ป็ นธรรมชาติ ล้อมรอบด้วยทุ่งนาสี เขียว ทิวเขาและทะเลสาบทีใ่ หญ่ทส่ี ดุ ของเชียงราย เป็ น ชุมชนสําหรับผูท้ ม่ี คี วามทุกข์จากความเครียด ซึมเศร้า ถูก กระทํารุนแรง มีปญั หาในความสัมพันธ์หรือผูท้ ผ่ี ่านการบําบัด news 1108 5

ของสมาชิกแต่ละคน ค่าอบรม 2,000 บาท เป็ นค่าวิทยากร ค่าใช้จ่าย พืน้ ฐานต่างๆ เช่น ทีพ่ กั ห้องนอน (ห้องนํ้าส่วนตัว) สระว่าย นํ้ากลางแจ้ง ห้องอบไอนํ้าสมุนไพร อาหารมังสวิรตั ทิ ุกมือ้ ค่า เรียนโยคะกับครูทม่ี ปี ระสบการณ์ในการสอน และท่านยังได้ ช่วยสนับสนุนการทํางานของมูลนิธชิ วี ติ ใหม่เพื่อช่วยเหลือผูท้ ่ี มีความทุกข์อกี ด้วย ค้นข้อมูลเพิม่ เกีย่ วกับภิกษุณี แซมบ้า โซชุม ได้ท่ี http://littlebang.org/2010/11/12/report-bhikkhuni-anizambar/ การอบรมติดต่อ info@newlifethaifoundation.com ข้อมูลเกีย่ วกับมูลนิธิ www.newlifethaifoundation.com หรือ โทรศัพท์: 053-607-073


...........................................................................

มหกรรมสมุนไพรแห่งชาติ ครัง้ ที่ 8 กลุ่มกิจกรรมเพื่อสังคม วปอ. ๒๕๕๒ จัด “ธรรมะ 31 ส.ค. – 4 ก.ย. 2554 พุธ 31 สค. 17-1900 โยคะอาสนะ ครูพชั ราภรณ์ พูนลํ้าเลิศ พฤหัส 1 กย 17-1900 โยคะสมาธิ ครูธนวัชร์ เกตน์วม ิ ุต ศุกร์ 2 กย 14-1600 โยคะสมาธิ ครูวรรณวิภา มาลัยนวล 17-1900 โยคะในชีวติ ประจําวัน ครูชนาพร เหลืองระฆัง เสาร์ 3 กย 10-1200 โยคะสมาธิ ครูสภ ุ าพร ธนาพันธรักษ์ 14-1600 โยคะในชีวติ ประจําวัน ครูกฤษณ์ ฟกั น้อย 17-1900 โยคะอาสนะ ครูวรี ะพันธ์ ไกรวิทย์ อาทิตย์ 4 กย 10-1200 โยคะในชีวต ิ ประจําวัน ครูมยิ าเกะ 13-1500 โยคะในชีวติ ประจําวัน ครูสมดุลย์ หมันเพี ่ ยรการ 16-1800 โยคะอาสนะ ครูธรี นิ ทร์ อุชชิน

เพือ ่ การเยียวยาและให้กาลังใจ ผู้ปว ่ ย” ครัง้ ที่ ๑ วันเสาร์ท่ี ๒๐ สิงหาคม ๒๕๕๔ เวลา ๐๘.๓๐-๑๗.๐๐ น. ณ สโมสรวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (ถ.วิภาวดีรงั สิต) ฝึกเจริญสติตามแนวทางหลวงพ่อเทียน เรียนรูธ้ รรมะ โดย พระอธิการ ครรชิต อกิญจโน ฝึกหายใจ เพื่อความผ่อนคลาย โดย ครูออ๊ ด/ชีวติ สิกขา ศิลปะและพลัง แห่งการให้กาํ ลังใจผูป้ ว่ ย โดย ครูดล/ชีวติ สิกขา สอบถาม รายละเอียด โทร. 084-643-9245, 089-899-0094 jivitasikkha@gmail.com

เชิญร่วมนัง่ อธิษฐานกลุม ่ (แนว แปดเหลีย่ ม กรีนไลฟ์ฯ บางบอน ทุกวันอาทิตย์ทส่ี องและทีส่ ่ี ของเดือน เวลาบ่าย 2-3 โมงตรง โดยไม่มคี ่าใช้จ่าย วิปัสสนาของท่านโกเอ็นก้า) ณ อาคาร โดย ธีรเดช อุทยั วิทยารัตน์ หรือยืดก็ได้ เมือ่ เราหายใจเข้าท้องลดลงอกขยายขึ้น จังหวะ หายใจ กับ มูลพันธะ เดียวกันทีเ่ ราเริม่ นาลมสูเ่ ข้าปอด ท้องเริม่ ลดลงให้เคลือ่ นไหว สวัสดีคะพี่น้องทุกคนและพี่เละ เข้าสูท่ ่าพร้อมกัน เมือ่ เข้าถึงท่าแล้วก็ทา Mula bandha คลาย ขอแลกเล่าแจมด้วยคน หลังจากอ่านแล้วมึนเรือ่ งลม ลมหายใจออกจากล่างสูบ่ น เราจะได้พลังงานจากลมหายใจ หายใจของพีเ่ ละไปแล้ว เมือ่ อาทิตย์ทผ่ี ่ านมา มีโอกาสอันดี เข้ามาช่วยในการเคลือ่ นไหว และได้บริหารอวัยภายในช่อง ได้รบั การชวนให้ไปช่วยเป็ นล่ามแปลในกับงานของ Yoga ท้องในทิศทีเ่ ราเคลือ่ น การหายใจเข้าไปพร้อมกับการ Journal ให้กบั ครู Ken Harkuma ศิษย์ทา่ น Pattabhi Jois เลย เคลือ่ นไหวเป็ นการเติมพลังให้กบั ร่างกายมากกว่าการหายใจ ทาตัวเหมือนล่าม(โฃ่) ติดกับผูส้ อนไปตลอด 2 วันน่ะ ออกแล้วเคลือ่ น คนเราจะใช้พลังงานในการเคลือ่ นไหว มีชว่ งทีค่ รูเขาสอนในคลาสฝึกชุดอาสนะ นามว่า มากกว่าตอนหยุดนิง่ ดังนัน้ การนาเข้าพลังงาน (ออกฃิเจน) Ashtanga สอนเรือ่ งลมหายใจไปกับการเคลือ่ นไหว เขา ตอนเคลือ่ นก็จะทาให้เราเก็บพลังงานไว้ดกี ว่าเผามัน แนะนาให้นกั เรียนหายใจเข้าให้ทอ้ งลดลง แล้วหายใจออกโดย แต่ตอนปล่อยออกนีส่ ิ เขาอธิบายเหมือนกันแต่เก็บ ให้เกร็งกล้ามเนื้อทีบ่ ริเวณรูทวาร (Mula bandha) แล้วคลาย ความมาได้ไม่หมด (แปลว่าจามาไม่สมบูรณ์นะ) เอาโดย ลมหายใจออกขึ้นสูข่ า้ งบน พลันให้รฐั นึกถึงเรือ่ งลมหายใจของ ประมาณบวกกับความเข้าใจของตัวเองแล้วกัน ความว่า เมือ่ พีเ่ ละขึ้นมา มาอีกแล้วหายใจเข้าแล้วท้องยุบลง หลังสอนจบ มี รับพลังงานจากหายใจเข้ามาแล้วเราก็มพี ลังงานทีค่ ่อยแผ่ออก คาถามจากนักเรียน แล้วตอนหายใจออกนัน้ ท้องต้องขยาย จากเบื้องล่างร่างกาย พลังงานก็จะแผ่ไปทัวแล้ ่ วก็ช่วยในการ ใหมคะ ครู Ken (ไม่ใช่ เคน ธีรเดช นะ :) อธิบายโดยกล่าวอ้าง ชาระล้างด้วย ตัวจะรูส้ กึ เบาสบายขึ้น เขาอธิบายเสร็จก็หนั ไป ทีม่ าจากการฝึกอาสนะชุด Ashtanga ของ Pattabhi ว่า ถามน้องเขาว่าตกลงน้องได้คาตอบไหมนี ่ น้องส่ายหน้าด้วย อวัยวะทีใช้ ่ ในการหายใจโดยหลักส่วนหนึง่ คือปอดที ่ ความงงมากขึ้น แหมอยากจะชวนน้องคนนี้มาเป็ นศิษย์พเี ่ ละ บริเวณทรวงอก ส่วนอวัยวะภายในช่องท้องนัน้ สามารถ จัง จะได้มนึ หนักขึ้นไปอีก 555 ครูเคนทิ้งท้ายไว้ว่ามันเป็ น บริหารไปตามทิศทางของร่างกาย ไม่ว่าจะก้มแอ่นบิดเอียง เพียงแค่แนวฝึกการหายใจอีกแบบหนึง่ ไม่แนะนาสาหรับผู้ news 1108 6


จากภายนอก (เพราะเราอาจไม่เห็นกระบังลมซึง่ อยูข่ า้ งใน) ว่าทรวงอกและซีโ่ ครงถูกยกขึน้ เมื่อผนังท้องถูกดึงขึน้ (และขยับเข้าข้างในนิดๆ) มัน จึงดูเหมือนกับว่าท้องยุบเข้ามา ในขณะทีเ่ ราหายใจเข้า ซึง่ พีอ่ ยากจะตัง้ ข้อสังเกตด้วยตัวเน้นว่า การยุบเข้า ของ (ผนัง) ท้อง ทีจ่ ริงแล้วเป็ นปรากฏการณ์หรือสิง่ ทีเ่ กิดขึน้ ในตอนสุดท้ายของการหายใจเข้าโดยให้ทรวงอกขยาย (จริงๆ แล้ว เราจะสามารถหายใจเข้าโดยให้ทรวงอกขยายโดยทีท่ อ้ ง ไม่ยุบได้เช่นกัน) พูดอีกนัยหนึ่งว่า เราไม่ได้ยุบท้องเข้าเพื่อให้ทรวง อกขยาย แต่เราหายใจเข้าโดยใช้ปอดส่วนบน ทําให้ทรวงอก สวัสดีจะ้ รัฐ ขอบคุณทีต่ อบกลับ และเล่าไปแลกเพื่อแตกประเด็น ขยายและกระบังลมเคลื่อนขึน้ ข้างบน ผนังท้องจึงถูกดึง (ใช้ ทีพ่ ช่ี วนให้พวกเราคิดและทบทวนเกีย่ วกับเรื่องของลมหายใจ คําว่า “ยืด” น่าจะตรงกว่า) ให้ยบุ เข้า จะบอกว่า การยุบหรือหดของท้องเป็ นผลซึง่ เกิดจาก ไหนๆ พวกเราก็เมาจากประเด็นทีพ่ เ่ี ขียน และเพิม่ อาการวิงเวียนจากสิง่ ทีร่ ฐั แลกอยู่แล้ว พีก่ เ็ ลยขอเติมความมึน เหตุคอื การหายใจโดยให้ทรวงอกขยาย ไม่ใช่กรณีกลับกัน ก็ คงไม่ผดิ ไปจากความเป็ นจริง แถมให้อกี กับประเด็นทีจ่ ะแตกต่อไป ต่อไป ข้อความ(ตามมา)ทีบ่ อกว่า เรื่องเล่าทีร่ ฐั เขียนไปแลกทําให้เกิดปฏิกริ ยิ าทาง “แล้วหายใจออก โดยเกร็งกล้ามเนื้อบริเวณรูทวาร ความคิดพีส่ องอย่าง อย่างแรก พีพ่ ยายามปะติดปะต่อหรือขยาย (เป็ นเทคนิคทีเ่ รียกว่ามูละ พันธะ) แล้วเข้าคลายลมหายใจ รายละเอียดทางเทคนิค (การหายใจ) ทีร่ ฐั เล่าไป แต่ปะแล้วจะ ออกขึน้ สูข่ า้ งบน” พีอ่ ยากจะตัง้ ข้อสังเกตว่า เวลาทีเ่ ราเกร็งกล้ามเนื้อ ติดหรือเปล่า ขึน้ อยู่กบั พวกเรา (ว่ะ) ว่าจะเข้าใจในสิง่ ทีพ่ ่ี บริเวณรูทวาร ซึง่ น่าจะใกล้เคียงกับหรือก็คอื “การขมิบ(รู)ก้น” เขียนให้ไม่รเู้ รื่องได้แค่ไหน(ฮา) อย่างทีส่ อง เรื่องทีร่ ฐั เล่าพาพีย่ อ้ นอดีตกลับไปเมื่อ นัน้ มันจะเกิดแรงดันขึน้ ข้างบน(หรือแรงดึงขึน้ ข้างบนหากเรา หกเดือนก่อน ตอนทีก่ าํ ลังเดินสูดอากาศบริสทุ ธิที์ ม่ กี รุ่นกลิน่ คิดบนฐานของในช่องท้อง) เท่ากับมีสว่ นช่วยดันลมในท้องให้ ของไอนํ้าเค็มแทรกอยูใ่ นอณูแห่งปราณ ณ ชายทะเลทาง ขึน้ ข้างบนได้ แต่หากจะบอกว่า “ให้หายใจออกโดยเกร็งกล้ามเนื้อ ภาคใต้ของประเทศไทย หูรดู ตรงทวาร” พีค่ ดิ ว่ามันไม่น่าจะถูกหลักทางสรีรวิทยาของ ว่ากันทีละเรื่องก็แล้วกันนะ เรื่องของเทคนิคเกีย่ วกับการหายใจ ซึง่ คงต้องบอก การหายใจเท่าไร เพราะอวัยวะหลักทีเ่ กีย่ วข้องกับการหายใจ ก่อนว่าเนื่องจากไม่ได้ถูกล่ามโซ่ตดิ กับครูคนทีว่ ่า ทัง้ หมดทัง้ โดยตรง โดยไล่จากล่างขึน้ บน(ตามทิศทางการหายใจออกที่ มวลทีพ่ ก่ี าํ ลังจะคิดและเคาะออกมาให้อ่าน อาศัยจินตนาการ ลมเคลื่อนจากล่างสูบ่ น) ได้แก่ ท้อง(ซึง่ ดันกระบังลมเคลื่อนสู่ (พูดให้ตรงน่าจะเป็ น “ความเพ้อฝนั ”) ทีผ่ นวกรวมกับ เบือ้ งบน) ปอด(ทัง้ ส่วนล่างและส่วนบน) หลอดลม และรูจมูก การบอกว่า “หายใจออกโดยเกร็งบริเวณทวาร” ทํา ข้อสังเกตบางอย่างทีต่ วั เองเคยมีมาก่อนหน้านี้ ทีร่ ฐั เขียนเล่าไปว่า “เขาแนะนําให้นกั เรียนหายใจ ให้พ(่ี หาเรื่อง)คิดว่า คนทีห่ มัน้ หมาย(พันธะ)กับก้น(ซึง่ น่าจะ เข้าให้ทอ้ งลดลง” นัน้ พีค่ ดิ เอาเองว่า หัวใจสําคัญของการ เป็ นความหมายหยาบๆ ของ “มูละ” ในบริบทนี้) ไม่เป็ น พูด หายใจเข้าในลักษณะนี้ น่าจะอยู่ทก่ี ารหายใจเข้าให้อกขยาย ง่ายๆ ว่าคนทีไ่ ม่ได้ฝึกมูละ พันธะ ก็ตายสิ เพราะไม่เคย เนื่องจากโดยธรรมชาติแล้ว ออก หรือพูดอีกอย่างว่าปอดส่วนบนขยาย ทําให้กระบังลม หายใจออกโดยการเกร็งตูด เคลื่อนขึน้ ข้างบน (รวมทัง้ น่าจะขยายออกไปทางด้านหน้าใน คนเราหายใจไม่ว่าเข้าหรือออกผ่านรูจมูกเป็ นหลัก เว้นแต่ว่า จมูกตีบตัน(เช่นเพราะเป็ นหวัด) จึงต้องหายใจทางปากแทน เวลาเดียวกัน โดยไม่จาํ เป็ นต้องพร้อมกัน - เสมอไป) พีค่ ดิ เอาเองว่า น่าจะบอกว่า "เริม่ ต้นหายใจออกโดย พอกระบังเคลื่อนขึน้ ข้างบน ผนัง (รวมทัง้ กล้ามเนื้อ) ท้องบริเวณทีอ่ ยูใ่ ต้ซโ่ี ครงส่วนล่าง ย่อมจะถูกดึงหรือยืดตาม เกร็งหรือรัง้ บริเวณทวาร ซึง่ จะมีสว่ นช่วยดันให้ลมเคลื่อนสู่ การเคลื่อนตัวขึน้ เบือ้ งบนของกระบังลม หรือพูดแบบหยาบๆ เบือ้ งบนก่อนจะหายใจออก" เริม่ ฝึกอาสนะมือใหม่ให้ทาแบบนี้ เพราะมันฃับฃ้อนและจะทา ให้สบั สน อืม…มุมคิดแบบนี้น่าสนใจเนอะ เป็ นไปได้ช่วงท้อง ลดลง มันมีแรงดันเบาๆ ในช่องท้องอาจจะทาให้อวัยวะ ทัง้ หลายได้รบั การบริหารกดนวดมากขึ้น ถ้าไม่เชือ่ ก็ตอ้ งลอง พิสจู น์กนั ดู อาจจะมีพลังมากขึ้นถึงขนาดแปลงร่างเป็ น ซุปเปอร์แมนก็ได้ แล้วรัฐจะลองหาเครือ่ งไปวัดพลังให้นะ 555 ขอบคุณมากคะทีอ่ ่านจบ ด้วยความรักและเคารพ รัฐ ศิษย์น้องของพีเ่ ละ

news 1108 7


ซึง่ จะเป็ นคนละความหมาย (แม้จะมีสว่ นคล้ายกัน อยู่) กับ "หายใจออกด้วยการเกร็งรูกน้ " นะ คิดแบบแซวๆ ว่า ฟงั ดูคล้ายๆ กับจะให้หายใจทางก้นยังไงก็ไม่รู้ สําหรับข้อความตอนท้ายของประโยคข้างบนทีบ่ อก ว่า “คลายลมหายใจออกขึน้ สูข่ า้ งบน” (ซึง่ อ่านแล้วน่าจะชวน ให้สบั สนอยู่ไม่น้อย) นัน้ จะพูดแบบนี้ได้ไหมว่า ก็คอื การที่ ลมหายใจเคลื่อน(ขึน้ )จากปอดแล้วไปออกทางจมูก ส่วนการ “หมัน้ หมายกับก้น” (มูละ พันธะ) จะมีสว่ น ช่วยส่งแรงดัน (จากก้นทีข่ มิบขึน้ ข้างบน)ให้ลมเคลื่อนออกไป ได้หมดจดขึน้ (แต่หมดจดแล้วจะงดงามหรือไม่ คงขึน้ อยู่กบั ว่าผูฝ้ ึกแต่ละคนฝึกในลักษณะของ “ประยัตนะ ไศถิลยะ” (ทํา แบบตัง้ ใจแต่ไร้การดิน้ รนว่าต้องทําให้ได้และไปให้ถงึ ) ได้แค่ ไหน ส่วนรายละเอียดในทางเทคนิคอืน่ ๆ ทีต่ ่อจากนัน้ พี่ คิดว่าของยังไม่(อยาก)ต่อความยาวสาวความสับสน - ให้มาก ไปกว่านี้(ฮา) ทีน้มี าถึงประเด็นทีเ่ กริน่ ไว้ว่า เรื่องทีร่ ฐั เล่าพาพีย่ อ้ นอดีตกลับไปเมื่อหกเดือนก่อน ตอนทีก่ าํ ลังเดินสูดอากาศบริสทุ ธิ ์ ทีม่ กี รุ่นกลิน่ ของไอนํ้าเค็ม แทรกอยูใ่ นอณูแห่งปราณ ณ ชายทะเลทางภาคใต้ของ ประเทศไทย มาจากข้อความตอนทีร่ ฐั เขียนเล่าไปแลกว่า “เมื่อรับพลังงานจากหายใจเข้ามาแล้ว เราก็มี พลังงานทีค่ ่อยแผ่ออกจากเบือ้ งล่างร่างกาย พลังงานก็จะแผ่ ไปทัว”่ ข้อความตรงนี้ทาํ ให้พน่ี ึกถึง “หม้อ” (กุมภกะ) ขึน้ มา ถนัดใจ เพราะลักษณาการที่ “พลังงานแผ่ไปทัวร่ ่ างกาย” นี้ ครูโยคะ ซึง่ พีเ่ คยมีโอกาสไปขอฝึกปรือในสไตล์ทห่ี นักหน่วง ด้วยเป็ นระยะเวลาสัน้ ๆ เคยพรรณนาประกอบการทํามือว่า เวลาเราหายใจเข้าแล้วกลัน้ หายใจ(อันตระ กุมภกะ) ปราณะ จะแผ่ซ่านไปตามส่วนต่างๆ ของร่างกายอย่างไรบ้าง ด้วยความทีไ่ ม่มปี ระสบการณ์ และไม่ได้ฝึกการกลัน้ หายใจอย่างต่อเนื่องหรือสมํ่าเสมอ สิง่ ทีค่ รูเล่าก็เป็ นข้อมูลที่ สะสมไว้ในร่องสมอง โดยดิง่ ดํ่าลงไปตรองตรึกนึกคิดถึงมัน เป็ นครัง้ คราว บางครัง้ ทีค่ รุ่นคิดเรื่องนี้ พีอ่ ดสงสัยไม่ได้ว่า จริงหรือ เวลาทีเ่ ราหายใจเข้าแล้วกลัน้ หายใจ (หลังจากหายใจเข้า) ปราณะจะแผ่ซ่านไปทัวร่ ่ างกาย ั ฟงดูคล้ายกับว่าพลังทีแ่ ผ่ซ่านไปทัวร่ ่ างกายในห้วง ขณะนัน้ มาจากปราณะทีแ่ ทรกอยู่ในลมหายใจ ทีเ่ ราหายใจ news 1108 8

เข้ารอบนัน้ โดยทีเ่ ราจะต้องกลัน้ หายใจ(หลังจากหายใจเข้าใน แต่ละครัง้ ) เพื่อให้ปราณะแผ่ซ่านไปตามร่างกาย เหตุทพ่ี ส่ี งสัยเช่นนัน้ ก็เพราะ พีน่ ึกถึงกรณีของคน ปกติธรรมดาทีไ่ ม่ได้ฝึกปราณายามะ หรือแม้แต่โยคีทไ่ี ม่ได้อยู่ ในห้วงยามของการฝึกปราณายามะ พลังทีข่ บั เคลื่อนไปตาม ร่างกายจะมาจากไหนในเมื่อเราไม่ได้กลัน้ หายใจเพื่อปล่อยให้ พลังงานซึมซ่านไปให้ทวั ่ เอาล่ะถ้า(ใครก็ได้)คิดว่า พลังงานหรือปราณะทีไ่ ป กับลมหายใจเข้าในแต่ละรอบของเรา สามารแผ่ซ่านไปทัว่ ร่างกายได้ โดยทีเ่ ราไม่ตอ้ งกลัน้ หายใจ พีก่ อ็ ยากจะถามแบบชวนหาเรื่อง(คิด)ว่า เป็ นไปได้ หรือทีใ่ นชัวเวลาหกหรื ่ อแปดนาทีทเ่ี ราหายใจเข้า ปราณะจะ เคลื่อนไปทัวทั ่ ง้ ร่างกายได้ โดยเฉพาะคนปกติทวไปซึ ั ่ ง่ หายใจ เข้ายาวๆ อย่างมากก็อาจสีห่ า้ วินาที ปราณะจะแล่นปรู๊ดปร๊าด สาดกระจายไปยังทุกๆ อณูของเซลล์ทุกเซลล์ในร่างกายได้ล่ะ หรือ เป็ นการตัง้ คําถามทีต่ อ้ งการหาเรื่อง(ให้)พวกเรา (ช่วยคิด)จริงๆ อิ อิ ทัง้ หมดทีเ่ ล่ามา เป็ นปุจฉาทีถ่ ามไถ่ตวั เองมานานปี จนกระทังเมื ่ ่อหกเดือนก่อน พีไ่ ปผ่อนกายคลายใจด้วยการ เดินทางเลาะเลียบไปทางใต้ โดยตัง้ ต้นจากเกาะช้าง จ.ระนอง เช้าวันหนึ่ง ระหว่างทีเ่ ดินเลียบและเลาะไปตาม ชายหาด เดินเปลือยตีนให้หนิ และทรายปลุกเร้าผัสสะแห่งการ สัมผัสรับรูท้ างผิวหนัง ลมทะเลส่งคลื่นลูกแล้วลูกเล่าเข้าสูฝ่ งั ่ แรงบ้างเบาบ้างสลับกันไป คลื่นลูกไหนถาโถมเข้ามาอย่าง ั่ รุนแรง ก็จะเกิดการกระแทกในยามกระทบฝงจนเกิ ดฟองฝอย ลอยพริบพราย ก่อนจะสลายตัวไปกับริว้ นํ้าทีไ่ หลคืนสูท่ ะเล ระหว่างทีป่ ล่อยให้น้ําทะเลเห่กล่อมตีนเปลือย ปล่อย ให้กระแสลมพรมละอองนํ้าเค็มไปบนร่างกาย ในขณะทีล่ ม หายใจยังคงทําหน้าทีข่ องมัน จูๆ่ ระลอกคลื่นทีเ่ คลื่อนเข้ามา กับลมทะเลอย่างต่อเนื่องไม่หยุดนิ่ง ทําให้พน่ี ึกถึงเรื่องของ พลังงานหรือปราณะทีม่ ากับลมหายใจ เป็ นไปได้ไหมว่า การเคลื่อนไหวของร่างกาย ไม่ว่า จะเป็ นการกดเท้าเพื่อเหยียบคันเร่ง ในขณะขับรถฝา่ การ จราจรทีค่ บั คังในชั ่ วโมงเร่ ่ งด่วน หรือชวนลูกศิษย์ให้แอ่นตัว ขึน้ สูท่ ่างูอนั สง่างาม ตามครูผฝู้ ึกทีก่ าํ ลังสาธิตอยูห่ น้าชัน้ เรียน ฯลฯ พลังงานที(่ ถูก)ใช้เพื่อการเหล่านี้ หาใช่พลังงานหรือ ปราณะทีแ่ ทรกมาพร้อมกับลมหายใจเข้าในรอบนัน้ หากแต่ เป็ นพลังงานทีไ่ หลเวียนอยู่ในร่างกายเราอยู่แล้ว ซึง่ ส่วนหนึ่ง มากับลมหายใจในอดีต(คือรอบก่อนๆ ) อีกส่วนหนึ่งมาจาก อาหารทีเ่ รากิน


เป็ นไปได้ไหมว่า ปราณะทีเ่ รารับผ่านลมหายใจทีส่ ดู ผูเ้ ชีย่ วชาญในการชักนํานํ้าให้ไหลในทีๆ่ จํากัด และไหลไปใน เข้าในแต่ละรอบ ก็เหมือนกับคลื่นในทะเลทีส่ ง่ แรงหนุนให้ ทิศทางและกระแสเดียว เพื่ออาศัยความกรากเชีย่ วของการ ั ่ างไม่ขาด ไหลก่อให้เกิดพลังงานไปใช้ประโยชน์ในลักษณะต่างๆ ระลอกคลื่นลูกก่อนๆ ทะยอยกันทะยานเข้าหาฝงอย่ ระยะ และเมื่อมองอีกแง่หนึ่ง การกลัน้ หายใจก็อาจเปรียบ พิจารณาจากวาบคิด ทีผ่ ุดเกิดขึน้ ในใจพีใ่ นห้วงยาม ได้กบั การกักเก็บต้นธารแห่งพลัง(ปราณะ) ไว้ในฝายแห่ง นัน้ คนปกติทวไปที ั ่ ไ่ ม่ได้ฝึกการหายใจหรือฝึกปราณายามะ ร่างกายเพื่อใช้ขบั เคลื่อนชีวติ หรือเติมเต็มความชุ่มฉํ่าให้กบั กับคนทีเ่ ดินบนวิถแี ห่งอาสนะ ก็ไม่ต่างกันในแง่ทใ่ี ช้พลังทีม่ า กายะเกษตร (ร่างกายทีเ่ ปรียบประหนึ่งผืนดินทีใ่ ช้ทาํ การ กับลมหายใจในแต่ละรอบ หนุนส่งพลังทีห่ มุนเวียนอยู่ใน เพาะปลูก) ร่างกาย(อยู่ก่อน) ขอบคุณรัฐทีห่ าเรื่อง(ให้)พี(่ คิด) พีเ่ ละ ความแตกต่างอาจจะอยูต่ รงที่ สําหรับคนทีฝ่ ึก หายใจอย่างเหมาะสมและจนกระทังชํ ่ านาญ อาจเหมือนกับ …………………………………………………………………….. โดย ธีรเดช อุทยั วิทยารัตน์ ขณะทีก่ าํ ลังเขียนเมล์ถงึ พีเ่ ละอยู่ เรยาก็ยงั คงเครียด เรยาเกลียดเพื่อนร่วมงาน เรยาได้รบั เมล์พเ่ี ละทุกฉบับค่ะ สาส์นทีพ่ เ่ี ละส่งไปมี กับเรื่องนี้ ทัง้ ทีอ่ ยากหลุดจากอารมณ์น้คี ่ะ พูดได้เลยว่าถึงทีท่ าํ งานแต่ละวัน อารมณ์มนั พุง่ ขึน้ เนื้อหาทีม่ ปี ระโยชน์บา้ ง ตลกจนทําให้ขาํ บ้าง แม้สว่ นใหญ่จะ ทําเอาเรยามึนก็ตาม (พีเ่ ละคงนึกหน้าเรยาตอนมึนๆ ออกแน่ ทันที และสาละวนอยู่กบั ความคิดทีว่ ่าจะหาวิถที างอย่างไร ไม่ให้เข้ามาวุ่นวายกะเรยา โดยทีต่ อ้ งเจอกันทุกวัน (ชัน้ เลย ก็สหี น้าท่าทางเดียวกับตอนทีเ่ รียนวิยาสะนันแหละค่ ่ ะ) ปกติแล้วเรยาใช้วธิ ี Print เมลทีพ่ เ่ี ละส่งไปเก็บไว้ เหนื่อยแล้วนะ) สภาพทีเ่ ล่ามาทําให้ลมหายใจสัน้ ทุกวันทีไ่ ปถึงและ อ่านด้วยค่ะ ทีส่ าํ คัญเวลาอ่านเมล์ของพีจ่ ะต้องเป็ นช่วงทีจ่ ติ ั ่ อง จะหายใจได้ทวท้ ั ่ องก็ ว่างและไม่เครียด โดยต้องทําตัวและจิตใจให้ผ่อนคลายค่ะ อยู่ในทีท่ าํ งานเรยาจะหายใจไม่ทวท้ ตอนกลับบ้านและอยู่ทบ่ี า้ น เพื่อให้มอี ารมณ์ร่วมมันในการอ่านและคิดตามพีด่ ว้ ย ขนาดเวลากินข้าวก็มอี ารมณ์รอ้ นพุ่งอยู่เหมือนเดิม พีค่ ะ นอกจากเขียนมายืนยันว่ายังคงอ่านเมล(ทีแ่ ม้ ความรูส้ กึ โกรธเกลียดนี้ มีเฉพาะกับสองคนนี้เท่านัน้ จะไม่รเู้ รื่องเป็ นส่วนใหญ่) ของพีอ่ ยู่เสมอ และขอให้พอ่ี ย่า ตัดเรยาออกจากกองมรดก(ทีร่ กไปด้วยตัวอักษร -ข้อความใน แต่กบั คนอื่นเรยายิม้ แย้มได้ ตัง้ แต่แม่บา้ น คนขับรถ และ วงเล็บผมเติมเองครับ)แล้ว เรยามีเรื่องเล่ามาแลกกับพี่ เผื่อพี่ พนักงานคนอื่น ๆ ค่ะ ั เรยาเคยปรึกษาปญหาหั วใจทีม่ ไี ฟสุมทรวงนี้กบั ยัย จะมีคาํ แนะนําสําหรับเรยา ่ นในละคร เรื่องมันเป็ นอย่างนี้ค่ะ ตัง้ แต่วนั จันทร์ท่ี 13 มิ.ย. คุณบี๋ - ศัตรูค่แู ค้นของเรยา - อ้อ! ไม่ใช่ค่ะ นันมั จนถึงวันที่ 20 มิ.ย. เรยาอารมณ์พุ่งสูงปรีด๋ เลยค่ะ ซึง่ เป็ นช่วง คือเรยาเคยปรึกษากับยัยบีเ๋ พื่อนสนิทของเรยาทีไ่ ปเข้าคอร์ส ่ ยัยคุณบีบ๋ อกเรยาว่า "ให้มี ทีพ่ ส่ี ง่ ข้อความยาวหลายหน้าพอดี เรยาก็เลยไม่สามารถอ วินยาสะกับพีเ่ ละด้วยกันนันแหละ ความเมตตากับตัวเองก่อน" อ่านเมลของพีไ่ ด้ เพราะไฟในใจมันเผาเรยาอยู่ค่ะ เท่านัน้ แหละ จากความร้อนทีม่ อี ยู่เป็ นทุนเดิม เรื่องมีอยู่ว่า เรยาไม่ชอบพีใ่ นทีท่ าํ งานเดียวกันอยู่ 2 คน ยอมรับว่าถึงขัน้ เกลียดเลย ทีแ่ ย่กค็ อื ต้องทํางานฝา่ ย ตอนนี้เลยเพิม่ ความงงเข้ามาอีก ทําไงหว่าเมตตาตัวเอง ตอนนี้กย็ งั ไม่เข้าใจอยู่ดี เดียวกันด้วย ทีส่ าํ คัญคือทัง้ คู่อยูใ่ นระดับบริหารเชียวล่ะ เรยาไม่นบั ถือและไม่เคยก้มหัวให้สองคนนี้ เพราะ (ไม่ได้กวนนะเพ่) คิดถึงและเคารพท่านพีเ่ สมอ เขาชอบนินทาและทําร้ายคนอื่นด้วย เรยาค่ะ ไฟร้อนในใจทําให้เรยาจิตตก ฝึกอาสนะก็ไม่ดเี พราะ ้ เรยา ระหว่างทีฝ่ ึกจิตมักจะแฉลบไปทีส่ องคนนี้ คิดอย่างเดียวว่า จะ สวัสดีจะ ป้องกันตัวเองอย่างไรไม่ให้เค้าเข้ามาวุ่นวายในจิตใจของเรยา พีร่ แู้ ล้วว่าเพราะเหตุใดตอนทีเ่ ปิดโน้ตบุคเพื่อจะเช็ค เมลเครื่องถึงได้รอ้ นนัก ทีแ่ ท้เป็ นเพราะรังสี(อํามหิต)ทีแ่ ผ่มา news 1108 9


จากเรยานี่เอง แซวเล่นน่ะ แต่ไม่รวู้ ่าถูกกาละและเทศะหรือ เปล่า เอาเป็ นว่าด้วยความห่วงใยเป็ นทีย่ งิ่ พีจ่ งึ ทิง้ เรื่องอื่น ้ ้ ไ่ ม่รวู้ ่าจะตอบว่ากระไร มาตอบ(แต่ไม่โต้)เรยาทันที ทังที เพราะเรยาไม่ได้ถามไป (ขอฮานิดๆ ก็ยงั ดีนะ) แต่ไหนๆ เรยาอุตส่าห์สลัดความรุ่มร้อนทิง้ ทัง้ ทีเ่ รต ติง้ สูง เขียนไปแลกความทุกข์ของตัวเองให้พฟ่ี งั แล้ว พีก่ ข็ อ ตัง้ ใจระบายความทีอ่ ยากเล่ากลับมาบ้าง ถือว่าเป็ นการเล่าๆ แลกๆ สูก่ นั ฟงั ก็แล้วกันนะ ั บ่อยครัง้ ทีพ่ น่ี งฟ ั ่ งั ปญหาของคนไข้ ซึง่ ส่วนใหญ่ไป หาเพราะทุกข์ทางกายทีร่ ุนแรงมากบ้างน้อยบ้างต่างกันไป แต่พอซักไซร้ไล่เรียงลึกลงไป พีพ่ บว่าส่วนใหญ่แล้ว ข้องเกีย่ วกับทุกข์ทางใจแทบทุกราย บางคนเริม่ จากทุกข์ทางใจ บางรายก็เริม่ จากทุกข์ ทางกายแล้วขยายไปสูท่ ุกข์ทางใจ กระนัน้ ก็ตาม สิง่ หนึ่งทีเ่ หมือนกันก็คอื ไม่ว่าจะเริม่ จากทุกข์ทางกายหรือไล่มาจากทุกข์ทางใจ ปญั หาของพวก เขาเหล่านัน้ ล้วนแต่เกีย่ วข้องเชื่อมโยงกับปจั จัยด้านอาชีพ การงานและผูค้ นทีต่ อ้ งข้องแวะเจอะเจอ ซึง่ เป็ นสองปจั จัยทีไ่ ม่อาจเลีย่ งหลีกได้ ตราบใดทีเ่ รา ยังต้องวนเวียนอยูใ่ นอาชีพและผูค้ นที(่ จําเป็ น)ต้องอยูใ่ นทีท่ าง เดียวกัน จากประสบการณ์ ทีไ่ ด้สดับรับฟงั คนไข้ดว้ ยความ ตัง้ ใจมาหลายปี พีพ่ บว่า ในฐานะของการเป็ นผูเ้ ยียวยา แม้จะ มีความปรารถนาดีเพียงไรทีอ่ ยากให้คนไข้คลีค่ ลาย และก้าว พ้นจากปญั หา เพื่อเดินไปข้างหน้าบนเส้นทางชีวติ อย่างราบ รื่นตลอดไป ทว่าในทางปฏิบตั ิ ความตัง้ ใจทีก่ ล่าวมาใช่ว่าจะทํา ได้อย่างทีห่ วัง ความเป็ นจริงก็คอื ส่วนใหญ่แล้วผูเ้ ยียวยา อย่างพี่ ทําได้ดที ส่ี ดุ เพียงแค่บรรเทาอาการของพวกเขาเท่าที่ เงื่อนไขปจั จัยจะเอือ้ อํานวย โดยเฉพาะในกรณีทป่ี ญั หาทางกาย มาจากทุกข์ทาง ใจซึง่ ก่อเกิดและสัมพันธ์กบั เงื่อนไขแวดล้อมต่างๆ ของชีวติ เอาง่ายๆ เลยก็คอื อาชีพการงานและผูค้ นทีต่ อ้ งเกีย่ วข้อง หรือกระทังความไม่ ่ ลงตัวในครอบครัว งานการทีท่ าํ ให้ตอ้ งใช้ ร่างกายในลักษณะทีเ่ สีย่ งต่อการสูญเสียสมดุลของร่างกาย ไม่ ในระบบใดก็ระบบหนึ่งหรือมากกว่าหนึ่ง ผูค้ นทีต่ อ้ งเกีย่ วข้อง มองหน้า และโดยเฉพาะต้องร่วมงานด้วย ทัง้ ทีแ่ ค่สบตาก็พา ให้ปว่ ยใจได้แล้ว ด้วยเหตุน้ี พีจ่ งึ พยายามเป็ นผูร้ บั ฟงั อย่างตัง้ ใจ มากกว่าชีแ้ นะหนทางแก้ไขทีป่ จั จัยทีท่ าํ ให้เกิดความทุกข์ (พี่ news 1108 10

ใช้คาํ ว่าปจั จัยเพราะพูดในทางหลักการเราก็รพู้ อกันว่า สาเหตุ มาจากในจิตใจของเราเอง แต่กอ็ กี นันแหละ ่ การรูห้ รือคิดด้วย เหตุผลเป็ นเรื่องหนึ่ง แต่ความประจักษ์อย่างลึกซึง้ ถึงขัน้ ปล่อยวางได้ อาจยากเย็นยิง่ กว่าเอามหาสมุทรเทลงในรูเข็ม) ถึงกระนัน้ ก็ตาม การได้รบั ฟงั เรื่องราวของผูค้ นมา แม้ไม่มากในเชิงปริมาณของคน แต่โอกาสบวกรวมกับความ ั ตัง้ ใจ ทีจ่ ะค้นและขุดลงไปในปญหาของพวกเขาอย่ างละเอียด ทําให้พค่ี รุ่นคิดถึงตัวเองในบางลักษณะทีค่ ล้ายกัน ตริตรึกนึกคิดจนกระทังได้ ่ ขอ้ สังเกตทีค่ ดิ ว่าไม่น่าจะ ผิดจากความจริงเท่าไรว่า บ่อยครัง้ ทีก่ ารเสียศูนย์ทางใจ ทําให้ปญั หาทีเ่ อาเข้า จริงแล้วมีอยู่สก่ี ลับทวียกกําลังสามกลายเป็ นหกสิบสี่ (ตัว เลขทีซ่ ซ้ี วั ้ ยกขึน้ มาเป็ นตัวเลขสมมุติ เพื่อให้เรยาพอเห็นถึง ระดับความรุนแรงของปญั หา กรุณาอย่าไปตีความว่าพีก่ าํ ลัง ให้หวยอย่างเด็ดขาด เพราะถ้าเรยาซือ้ หวยแล้วเกิดถูกขึน้ มา วงการแลกๆ เล่าๆ จะสูญเสียคนทีม่ ศี กั ยภาพในการทําให้ ผูค้ นเมาได้โดยไม่ตอ้ งดื่มสุราไปเพราะเปลีย่ นวิถไี ปเป็ นผูใ้ ห้ หวย - ฮา) พีข่ อยกตัวอย่างประกอบก็แล้วกัน พีม่ คี นไข้คนหนึ่ง เป็ นผูห้ ญิงอายุประมาณหกสิบ กลางๆ ลูกชายของเธอพาเธอไปหาพีด่ ว้ ยอาการปวดหลัง อย่างรุนแรง พีก่ ใ็ ห้คาํ แนะนําและจ่ายยานํ้ามันเพื่อให้ลกู สะใภ้ ของแกไปนวดให้กบั คุณแม่สามี รวมทัง้ แนะนําท่าบริหาร ง่ายๆ ให้กลับไปทํา ตอนทีเ่ จอกันครัง้ แรก คนไข้เล่าให้ฟงั ทัง้ นํ้าตาและ เสียงสะอืน้ ไห้ว่า ตัง้ แต่เกิดมาไม่เคยเจ็บปว่ ยขนาดนี้มาก่อน เลย หลังจากได้เจอแกเป็ นระยะๆ รวมทัง้ ทีแ่ กให้ ลูกสะใภ้ต่อโทรศัพท์ให้พค่ี ุยกับแก ทําให้พร่ี สู้ กึ ว่าการเจ็บปว่ ย ทีเ่ จ้าตัวบอกว่าเป็ นครัง้ แรกในชีวติ ราวจะกระชากพรากความ เข้มแข็งในใจของแกไปจนหมดสิน้ เพราะครัง้ หลังๆ ทีไ่ ด้คยุ กัน แกจะโอดครวญถึงปญั หาสุขภาพอื่นๆ แถมยังจับอาการที่ เป็ นใหม่ไปเชื่อมโยงกับเรื่องซึง่ ไม่น่าจะเกีย่ วข้องกัน เช่น ช่วงหนึ่งแกมีอาการคันหู แกก็คดิ ว่าเป็ นเพราะ ลูกสะใภ้สระผมให้แล้วนํ้าเข้าหู ทัง้ ทีเ่ หตุการ์ณทีล่ กู สะใภ้สระ ผมให้แม่สามีล่วงเลยไปแรมเดือนแล้ว ลูกชายแกตระเวนพา คุณแม่ไปหาแพทย์ผเู้ ชีย่ วชาญด้านหูคอจมูกถึงสามคน หมอ ทุกคนลงความเห็นตรงกัน (โดยไม่ได้เจอหรือโทรศัพท์คุยกัน -เพราะไม่รจู้ กั กัน)ว่าหูของคุณแม่ไม่มอี ะไรผิดปกติ ถึงกระนัน้ แต่แกก็ยงั แค้นฝงั หุ่น เอ๊ย ฝงั ใจว่าอาการ คันหูตอ้ งเกิดจาก(นํ้ามือการสระผมของ)ลูกสะใภ้


ครัง้ ล่าสุด แกไปหาพีท่ ไ่ี ภษัชยาศรม พร้อมกับ อาการปวดหลังทีก่ ลับมากําเริบอีก แม้จะไม่รุนแรงเหมือนครัง้ แรกทีเ่ จอกัน ซึง่ เป็ นเรื่องปกติทค่ี นเราสามารถกลับมาปวดที่ ั ยโดยเฉพาะการปฏิบตั ติ วั นันที ่ น่ ่ไี ด้ ตามเหตุปจจั วันนัน้ หลังจากรับฟงั อาการของแกแล้ว พีน่ งยั ั่ น (พอดีว่าตอนคุยนัน้ เรานังคุ ่ ยกันจ้ะ ถ้ายืนคุยพีก่ จ็ ะใช้คาํ ว่า ยืนยัน)ว่า มีวธิ เี ดียว คือคุณแม่จะต้องบริหารร่างกายอย่าง จริงจังแต่อ่อนโยนกับตัวเอง จากนัน้ พีก่ แ็ นะนํา สาธิต ก่อนจะกึง่ ขูก่ ง่ึ บังคับให้แก ลองทําท่าบริหาร โดยมีพค่ี อยจับขา ลูกสะใภ้จบั หลัง ส่วนลูก ชายคอยลุน้ พีบ่ อกให้แกเอามือยันผนังและค่อยๆ ก้มตัวสลับ แอ่นตัวทีละนิดและอย่างช้าๆ เพื่อให้ร่างกายเรียนรูท้ จ่ี ะ เหยียดยืด ซึง่ จะทําให้มนั ค่อยๆ ยืดหยุ่นและแข็งแรงขึน้ ทว่า ทันทีทข่ี ยับสะโพก แกทําท่าสะดุง้ และส่งเสียงครวญครางว่า ปวดมาก ไม่ว่าจะคะยัน้ คะยอแค่ไหน แกก็เอาแต่โอดโอยจนพี่ ั และลูกสะใภ้ (ของแกนะ ไม่ใช่ของพี)่ หมดปญญาที จ่ ะเกลีย้ กล่อม จนต้องยอมหยุดการบริหาร แต่ตอนเดินออกจากห้องแกก็เดินได้เหมือนปกติและ นังเก้ ่ าอีโ้ ดยไม่มสี หี น้าเจ็บปวด(มาก)อย่างทีเ่ ห็นตอนให้ทาํ ท่า บริหาร

เวลามีปัญหารุมเร้าใจ โดยเฉพาะหากเป็นเรื่องที่กระทบใจ เราอย่างหนักหน่วง พี่คิดว่าคนเรา (รวมพี่ด้วยอีกคน เอ้า)มีแนวโน้มที่จะ กอดรัดปัญหานั้นไว้(โดยไม่รู้ตัว เพราะถ้ารู้ตัวและมีสติ ตรูจะกอดมัน ไว้ทาไมให้ทุกข์ใจล่ะ) จนทาให้ไม่ ว่าจะทาอะไร หรือเยื้องย่างไปเล่น ละครวิกไหนหรือช่องใด ความคิด ความรู้สึกหรืออารมณ์ที่ยังนัวเนียอยู่ กับปัญหามักจะตามไปเคล้าคลออยู่ ในใจเราเสมอ กระทั่งเบียดยึดพื้นที่ส่วนใหญ่ ของหัวใจเราไป จนทาให้เราหยุดทา สิ่งดีๆ ที่เคยทา – ทั้งที่รู้ว่ามันดี news 1108 11

แต่เมื่อใดทีเ่ ราสามารถสลัดตัดทิง้ ความคิด ความรู้ สึก และอารมณ์ทน่ี วั เนียออกไปได้(ด้วยความพยายามอย่าง แรงกล้า) จนสามารถลงมือลงแรงทําสิง่ ดีๆ บางอย่าง เช่น ฝึก อาสนะ รดนํ้าต้นไม้ ให้อาหารตัวเอง ใช่หรือไม่ว่า ในช่วงเวลา ั ทีเ่ ราทํากิจกรรมเหล่านัน้ ปญหาที เ่ ราโอบรัดจะถูกสลัดตัด ออกจากใจ (แม้เราจะยังมีเยื่อใยรัง้ มันไว้ประมาณเดียวกับเล่น ชักกะเย่อ ทําให้เผลอคิดเผลอรูส้ กึ กับปญั หาทีค่ าใจในขณะที่ ทํากิจกรรมนัน้ ๆ )

พี่คิดว่าเวลามีปัญหาหรือ อารมณ์ที่คาใจ สิ่งที่จะดึงเราออกจาก อารมณ์นั้นได้ คงต้องมีพลังพอ หรือพูดอีกอย่างว่า เราต้องมีสติ พอที่จะถอนตัวเองจากอารมณ์และ ปัญหาเหล่านั้น โดยชักนาตัวเองไป ยังสิง่ ที่เราชอบหรือสมัครสมานกับมัน มากๆ

พีส่ งั เกตว่า วันไหนทีต่ วั เองฝึกอาสนะแล้วดันเกิด ความคิดเชื่อมโยงโน่นนี่นนติ ั ่ ดไปในขณะฝึกด้วย การฝึก อาสนะโดยทําอุชชายีไปด้วย จะช่วยสลัดความคิดเหล่านัน้ ออกไปได้ แสดงว่าเสียงเป็ นพลังอย่างหนึ่งทีด่ งึ จิตใจของเรา ให้เกิดความจดจ่อได้ ประสบการณ์ทเ่ี กีย่ วกับเสียงหลายครัง้ ทําให้พต่ี งั ้ ข้อสังเกตว่า เสียงเป็ นการสันสะเทื ่ อนทีม่ พี ลัง โดยเฉพาะหาก เสียงนัน้ เปล่งออกมาจากภายในด้วยใจทีจ่ ดจ่อ บางที นี่อาจเป็ นเหตุผลทีผ่ คู้ นในแวดวงโยคะจํานวน หนึ่ง เปล่งเสียงในรูปของการบริกรรม "มันตรา" เพื่อโน้มนํา ให้จติ ใจสงบและจดจ่อ สําหรับเรยา พีค่ งไม่มคี าํ แนะนําทีส่ าํ เร็จรูปอะไร ที่ สําคัญ พีไ่ ม่อยากพูดถึงหลักการทีร่ สู้ กึ ว่าปฏิบตั ไิ ด้ยาก (พูด ตรงๆ คือ "พูดง่ายกว่าทํา") โดยเฉพาะในห้วงยามทีเ่ รารูส้ กึ ว่าปญั หาตามมานัวเนียเราตลอดเวลา แต่กอ็ กี นันแหละ ่ พีค่ ดิ ว่าในความเป็ นจริงแล้ว เวลา ทีเ่ ราทํากิจกรรมบางอย่าง แม้ตอนทีเ่ ริม่ ทํากิจกรรมนัน้ ใจ อาจจะยังชักคะเย่อกับอารมณ์ทน่ี วั เนียอยู่ แต่เมื่อเวลาผ่านไป ั ใจทีเ่ ริม่ จดจ่อกับอารมณ์หรือปญหาจะค่ อยๆ ร้างลากับ อารมณ์นนั ้ ไป ไม่มากก็น้อยล่ะ ั หรือถ้าเป็ นในกรณีของคนทีม่ ปี ญหากั บเรา (หรือ ั หากมองในมุมของอีกฝา่ ยอาจเป็ นไปได้ว่าเรามีปญหากั บเขา)


พีว่ ่าในความเป็ นจริงแล้ว ใจของเราคงไม่ได้ตกอยู่ ในสภาพ "เอ็งไปไหนข้าไปด้วย" อยู่ตลอดเวลา เพราะคู่กรณี ของเราไม่ได้เป็ นเงาทีค่ อยติดตามตัวเราตลอดเวลา เอาเป็ นว่าพีข่ อเป็ นกําลังใจให้เรยาสามารถชักนํา พลังแห่งสติกลับมาอยูใ่ นเรือนใจ ซึง่ จะนําความสงบมาให้

ั บนั ขณะ อย่างน้อยก็ในเวลานาทีทเ่ี รยา ตัวเองในทุกๆ ปจจุ ไม่ได้จ๊ะเอ๋กบั คู่กรณีทเ่ี รยาไม่ชอบหน้าและพฤติกรรม ไม่แน่ว่า เมื่อพลังสติสถิตอยูใ่ นเรือนใจของเรยาได้ ต่อเนื่องและยาวนานพอ เรยาอาจสามารถพบพานคนทัง้ คู่ อย่างวางเฉยได้ – ในทีส่ ดุ ขอศานติจงกลับสูเ่ รือนใจของน้องสาวคนนี้จะ้

...........................................................................................

โดย กอง บ.ก. คุณน่าจะพอรูว้ ่าอะไรทีท่ าํ ให้ตนเองกังวลใจ ก็ตอ้ งจัดการต้น พลังปราณติดขัด ตอตรงนัน้ คาถาม อยากทราบวิธรี กั ษาอาการพลังลมปราณ ส่วนอาการทีป่ รากฏ เช่น นอนไม่หลับ ปวด ติดขัดและพลังหยางพร่อง จะมีวธิ กี ารรักษาด้วยวิธไี หน และ กล้ามเนื้อ มีลมมาก ฯลฯ เท่าทีผ่ มทราบ อาจจะพอบรรเทาลง พอจะแนะนําหมอทีร่ กั ษาได้ไม๊ครับ (ตอนนี้ร่างกายไม่แข็งแรง ได้ดว้ ยการฝึกโยคะ และผมเชือ่ ว่าศาสตร์อ่นื ๆ เช่น ไทเก้ก เลย เหนื่อยง่าย เครียดเรือ้ รัง หงุดหงิด นอนไม่หลับ หลับไม่ ฯลฯ ก็พอจะบรรเทาอาการทีว่ ่านี้ได้ดว้ ย ซึง่ คุณมีสทิ ธิเลื ์ อก ลึก อารมณ์เปลีย่ นแปลงบ่อย ปวดตามกล้ามเนื้อและเส้นเอ็น ได้ เลือกทีเ่ ราชอบ ทีต่ รงจริตเรา ในทีน่ ้ผี มขอพูดเฉพาะโยคะ ตึงมาก เวลากดนวดจะปวดและเรอลมออกมามากและเรอ โยคะทีเ่ ผยแพร่โดยมูลนิธหิ มอชาวบ้าน เป็ นโยคะที่ ตลอดครับ) ขอรบกวนด้วยนะครับ เรายึดตําราดัง้ เดิม ซึง่ มีเป้าหมายในการปรับสมดุลจิตใจและ ตอบ ร่างกายของผูฝ้ ึก มีเทคนิคทีเ่ รียกว่า ท่าอาสนะ อันเป็ น ก่อนอื่นต้องขอออกตัวว่าไม่มคี วามรูเ้ รื่องหยินหยาง อิรยิ าบถพืน้ ฐานง่ายๆ ประมาณ 14 ท่า ฝึกในเวลาประมาณ ไม่มคี วามรูเ้ รื่องพลังลมปราณ เนื้อหาทีจ่ ะลองแลกเปลีย่ น 45 นาที ฝึกตามหลัก 4 ข้อทีร่ ะบุไว้ในตําราคือ 1) ฝึกด้วย ข้างล่างนี้ อาจไม่ตรงกับทีค่ ุณต้องการ เพียงแต่คดิ ว่า อาจจะ ความนิ่ง 2) ฝึกด้วยความรูส้ กึ สบาย 3) ระหว่างฝึกท่าใช้แรง น้อยทีส่ ดุ เท่าทีจ่ ะทําได้ และ 4) มีสติรคู้ วามเป็ นไปทีเ่ กิดขึน้ พอมีประโยชน์อยู่บา้ ง คุณถามว่า จะรักษาด้วยวิธไี หน และจากนัน้ ก็ระบุว่า ตลอดห้วงขณะฝึก เมื่อทําเสร็จ สิง่ ทีเ่ กิดขึน้ พอจะมีดงั นี้ 1) อยากให้แนะนําหมอ ซึง่ พอมาถึงประโยคนี้ ผมเองก็ยงิ่ ไม่ กล้ามเนื้อผ่อนคลาย (เพราะเราไม่ได้ออกแรง) 2) ร่างกาย โดยรวมผ่อนคลาย เพราะผูฝ้ ึกเคลื่อนไหวน้อย เคลื่อนไหวช้า แน่ใจว่าจะตอบคุณได้ไหม คืออย่างนี้ครับ มูลนิธหิ มอชาวบ้านมีหลักพืน้ ฐานข้อนึงคือ การ และยังนิ่งอยู่เป็ นระยะๆ 3) ความคิด ความฟุ้งซ่านลดลง พึง่ ตนเองทางด้านสุขภาพ ตัวผมเองมีหน้าทีเ่ ผยแพร่โยคะ เพราะมัวแต่นําจิตไปจดจ่อกับความรูส้ กึ ตัวอยู่ตลอดช่วงเวลา ของการฝึก 4) จิตผูฝ้ ึกมีสมาธิ เพราะจิตอยู่กบั พืน้ ทีเ่ ล็กๆ ทุกครัง้ ทีไ่ ปสอนก็จะบอกผูเ้ รียนเสมอว่าเวลาฝึกโยคะครูท่ี สําคัญทีส่ ดุ ก็คอื ตัวเอง อาศัยตนเองเป็ นผูน้ ําพาตนเองไปสู่ ภายในขอบเขตของร่างกายเท่านัน้ และ 5) อารมณ์ผ่อนคลาย เป้าหมาย การปฏิบตั กิ ต็ อ้ งทําเอง เมื่อทําแล้วเกิดอะไรขึน้ ก็ เพราะระบบประสาททีช่ ่วยให้ร่างกายผ่อนคลาย (paraเรียนรูเ้ อง จนเมื่อได้รบั ผลก็ตอ้ งประเมินผลสรุปผลเอง และ sympathetic) สามารถทํางานได้ดขี น้ึ ดังจะเห็นได้ว่าผูฝ้ ึกท่า หากยังไม่ลงตัวก็จดั ปรับให้ดขี น้ึ ด้วยตนเอง โดยครูเป็ นแค่ อาสนะตามตําราดัง้ เดิมแทบทุกคน เมื่อฝึกเสร็จจะมีความสงบ สะพานทอดเชื่อมให้ผเู้ รียนเดินเอง เป็ นแค่กลั ยาณมิตรคอย ผ่อนคลายทัง้ ร่างกายและจิตใจ และหากฝึกสมํ่าเสมอต่อเนื่อง แนะนําเท่านัน้ ไปสัก 3 สัปดาห์ ก็จะพบว่าจิตใจ-ร่างกายมีการเปลีย่ นแปลงมี คุณพูดถึงสภาวะของตนอย่างละเอียด และบอกว่ามี การปรับให้เกิดความสมดุลภายในได้ดขี น้ึ สาเหตุมาจากพลังปราณติดขัด พลังหยางพร่องซึง่ ผมไม่มี ยิง่ หากผูฝ้ ึกเข้าใจถึงความเป็ นสุขภาพองค์รวมของ ความรูอ้ ย่างทีอ่ อกตัวไว้แต่ตน้ แต่จากทีก่ ล่าว ผมว่าเราก็ตอ้ ง โยคะทีไ่ ม่เพียงแนะนําให้เราทําท่าอาสนะ แต่ยงั อธิบายถึงการ ไปจัดการทีต่ น้ ตอของความเครียด ต้นตอทีท่ าํ ให้อารมณ์ไม่ กินอาหาร โดยแนะให้มนุษย์กนิ อาหารแค่พอหายหิว ไม่ให้กนิ ปกติ ต้นตอทีท่ าํ ให้ร่างกายอ่อนล้า เช่น เครียดในเรื่องใด อิม่ ซึง่ เป็ นผลเสียต่อสุขภาพ ก็ยงิ่ เอือ้ ต่อความปกติสมดุลของ หงุดหงิดในเรื่องใด ก็จดั การสาเหตุของความเครียดนัน้ ซึง่ ร่างกายซึง่ โยคะระบุชดั เจนว่าเริม่ จากคุณภาพของอาหาร และคุณภาพในวิธกี ารกินของเรา news 1108 12


ท่าอาสนะของโยคะ การกินอาหารตามหลักโยคะจึง ประสาทสัมผัสทัง้ ห้า ให้เราหมันฝึ ่ กสมาธิให้จติ มีความสงบ ช่วยคลีค่ ลายอาการทีค่ ุณจิรฏั ฐ์วา่ มาได้ ทีส่ าํ คัญไปกว่านัน้ ซึง่ ถ้าเราได้ฝึกปฏิบตั ิ ก็จะค่อยๆ ขัดเกลาจิตของเราให้คนื สู่ ศาสตร์โยคะเองยังได้ครอบคลุมไปถึงการจัดการต้นตอความ ความสมดุลตามปกติดงั เดิม คลีค่ ลายโรคของเราทีต่ น้ ตอเลย ปว่ ยไข้ของคุณจิรฏั ฐ์ดว้ ยคือความรบกวนในจิต โยคะอธิบาย ทีเดียว ถึงการดําเนินชีวติ ทีเ่ น้นการพัฒนาจิต ให้เราหมันสํ ่ ารวม ...........................................................................................

...โยคะหลับตา...

ว่า “ฝึกมา 8 ปี แต่รสู้ กึ ว่ามันยังไม่ใช่” (เอ้หายใจสบายเหงือ่ ที ่ ไหลติ๋ง ๆ มันก็ค่อย ๆ แห้งลง ตัวเองค่อย ๆ เย็นขึ้น ไม่รอ้ น สวัสดีคะ่ ครู แล้วล่ะ) พอดีเค้าดูรายการพืน้ ทีช่ วี ติ อยากมาลอง “โยคะ ขอบคุณมากค่ะทีม่ เี วทีให้เรียนรูต้ วั เอง และเรียนรูผ้ ู้ หลับตา” ชื่อเก๋ดนี ะ มีคนตัง้ ชือ่ ให้ดว้ ย ลืมบอกไปว่าเค้าอายุ อื่น เมื่อวานวันพุธ ตอนเย็น ได้ไปสอนโยคะ (ไม่ใช่ค่ะเป็ น ประมาณ ช่วง 40 -50 ฟงั คําสัมภาษณ์จากทีวแี ล้ว โดนเลย ผูน้ ําฝึกโยคะ) ทีส่ วนโมกข์กรุงเทพ ก่อนทีจ่ ะไปสอนได้ วันนี้เค้าจึงมาฝึก “นึกว่าจะได้เจอครูทอ่ี อกทีวี กลายเป็ นเจอ เตรียมแผนการสอนว่าจะสอนอาสนะแบบวิยาสะ ร้อยเรียงท่า เอ้แทน อิ ๆ ๆ” แผนทีต่ งั ้ ไว้ว่าจะฝึกวิยาสนะจึงเปลีย่ นไป แบบสบาย ๆ ผ่อนคลาย “เพราะเข้าใจว่าผูท้ เ่ี ข้ามาฝึกจะเป็ น หยิบแผน 14 ท่ามาใช้อย่างสบายเลยล่ะ ค่อย ๆ ทํา พร้อมกับ ผูท้ เ่ี คยฝึกโยคะมาก่อนแล้ว” หลับตา และค้างท่าระยะนึงตามจังหวะตัวเองแล้วสังเกต ใกล้เวลา 17.00 น. ผูค้ นก็ค่อย ๆ เดินเข้ามาในห้อง ภายในตัวเองไม่สง่ จิตออกนอก ทุกท่านทําตาม พอเอ้เห็นบาง มีพนักงานออฟฟิศ, แม่บา้ น, นักศึกษา, พยาบาล เป็ นต้น ท่านคิว้ ชนกัน เอ้บอกว่าให้ฝึกจากความรูส้ กึ ไม่ได้ใช้ความคิด รวมผูเ้ ข้าฝึกทัง้ หมด 15 ท่าน เป็ นผูช้ าย 3 นอกนัน้ เป็ นผูห้ ญิง ดังนัน้ คิว้ ทีเ่ ค้าชนกันค่อย ๆ ผ่อนออก “ได้ผลแฮ่ะ” ต่อด้วย เอ้คุยทักทายผูท้ เ่ี ข้ามาว่าเคยฝึกโยคะมัย้ ส่วนใหญ่เค้าจะบอก การผ่อนคลาย ทุกคนหลับสบายผ่อนคลาย จบลงด้วยนัง่ ว่าไม่เคยฝึก แต่กจ็ นได้ มีผเู้ ชีย่ วชาญทางด้านอาสนะร่วมแจม สมาธิต่อประมาณ 3 นาที หลาย ๆ คนมีรอยยิม้ กลับไป แต่ก็ เป็ นผูช้ ายเคยฝึกโยคะมาแล้ว 8 ปี (ต๊กกะใจ ทํางัยดีเนี่ย มีขนั ้ มีประมาณ 3-4 คน ยังงงงง หรือว่ายังสรึมสรือ หรือปา่ วไม่ เทพท่าทางโลดโผนเข้าร่วมด้วย เหงื่อไหลตกลงติง๋ ๆ เลยล่ะ) ทราบ ซึง่ แล้วเอ้ค่อยๆ รวบรวมสติในระหว่างทีส่ นทนากับเค้า “ใจดีสู้ ขอบคุณค่ะ เอ้ เสือ” ค่อยๆ ผ่อนคลายตัวเองลง ระหว่างทีค่ ุยอยู่นนั ้ เค้าบอก ......................................................................................................

เ ช้ า วั น ใ ห ม่ กั บ ส า ม ค อ ผูค้ นโดยส่วนใหญ่รอ้ ยละ 80 มักจะใช้ชวี ติ 24 ชัวโมง ่ ไปกับพฤติกรรมแบบเดิมๆ ในทุกๆวัน จากความเคยชิน เป็ นความคุน้ เคย เหมือนฉีกซองกาแฟ 3 in 1 และ เติมนํ้าร้อน มันสําเร็จรูปจนเป็ นกลไกทีบ่ างครัง้ เราแทบจะแยกไม่ออกเลยว่าสิง่ ไหนเกิดก่อนกัน เพราะไอ้เจ้าความเคยชินของเรานี้เอง ทําให้เรามองข้ามสิง่ ทีอ่ ยูร่ อบๆ ตัวเรา และไอ้เจ้าความคุน้ เคย ก็ทาํ ให้เรามองไม่เห็นตัวตนของเรา เหมือนกับเช้าวันนี้ทฉ่ี นั ได้พบ... ฉันมักจะตื่นขึน้ มาในตอนเช้าทุกๆวัน เพื่อพาแม่และแม่ชไี ปทําบุญตักบาตร ว่าแล้วเสียงโทรศัพท์กด็ งั ขึน้ “ตื่นรึยงั ลูกแม่รออยูข่ า้ งล่างนะ“ โดยทีไ่ ม่ตอ้ งรอฟงั เสียงจากปลายสายเธอก็วางหู เพื่อทีจ่ ะทําภารกิจทีไ่ ด้ทาํ อยู่ทุกวัน ระหว่างรอฉันลงไปข้างล่าง ฉันลุกขึน้ ไปเข้าห้องนํ้า และในขณะเดินกลับมาหยิบเสือ้ ฉันรูส้ กึ ว่าเท้าของฉันมันไม่ได้อยูใ่ นทีต่ าํ แหน่งทีม่ นั ควรอยู่ และอาการคลื่นไส้กต็ ามมา ฉันรูส้ กึ ว่าวันนี้คงพาแม่ไปตักบาตรไม่ได้ จึงโทรกลับไปหาแม่ ซึง่ คราวนี้แม่ชเี ป็ นคนรับสาย ฉันบอกแม่ชวี ่าวันนี้รสู้ กึ ไม่สบาย คงพาแม่ไปตักบาตรไม่ได้ หลังจากวางสาย แม่ชกี ท็ าํ ใจอยู่นานกว่าจะบอกแม่เพราะ แม่ฉนั อายุมากแล้ว กลัวท่านตกใจ แม่ชกี ร็ อจนแม่ไหว้พระด้านล่างเสร็จ จึงค่อยๆ พูดกับแม่ บอกว่าฉันไม่สบาย news 1108 13

ananda


ั้ เป็ นไปตามคาด แม่ตกใจมาก เพราะคนแข็งแรงและร่าเริงอย่างฉัน ไม่เคยเป็ นอะไรปุบปบแบบนี ้ แม่รบี วิง่ ขึน้ ชัน้ สอง มายังห้องของฉัน ถามอาการว่าเป็ นอย่างไรบ้าง ฉันก็บอกไปว่า ปวดหัว คลืน่ ไส้ แม่ชฟี งั อยูข่ า้ งๆ เธอจึงรีบปฐมพยาบาลขัน้ ต้นโดยลงไปเอาถุงเย็น (cold pack) ทีอ่ ยู่ในตูเ้ ย็นข้างล่าง เพื่อทีจ่ ะมาประคบทีศ่ รี ษะฉัน เธอเปิ ดประตู และ อุทานว่า “อ้าวไปไหนกันหมดแล้วทําไมไม่รอเราเลย” แม่ชคี ดิ ว่าแม่พาฉันไปโรงพยาบาลแล้ว ระหว่างทีไ่ ปหยิบถุงเย็น แต่พอมองไปทีเ่ ตียง แม่ชกี ร็ อ้ งถึงบางอ้อเลย เธอเข้าห้องผิด เพราะห้องทีเ่ ธอเข้าไปนัน้ ... เป็ นห้องหลานทีแ่ ม่ชชี อบเข้าไปคุยด้วย เป็ นห้องทีเ่ ข้าบ่อยกว่าห้องฉัน เธอจึงเดินออกมาจากห้องนัน้ ด้วยความรูส้ กึ ขําตัวเอง และนําถุงเย็นมาให้ฉนั ทีห่ อ้ ง ต่อไปเป็ นคิวของแม่ฉนั เธอก็ปฐมพยาบาลขัน้ ตนเหมือนกัน รีบลงไปข้างล่าง ชงยาหอมตราปราสาททองเพื่อทีจ่ ะขับลม เมื่อชงเสร็จแม่กร็ บี ถือแก้วยาหอมมาเคาะประตูและยืน่ ยาหอมแก้วนัน้ ให้ลกู คนทีร่ บั ยาหอมกลับเป็ นพีช่ ายฉันเพราะเค้าชอบยาหอมทีแ่ ม่ชงให้ด่มื เป็ นประจํา เท่านัน้ เหละ แม่จงึ รูว้ ่าเคาะห้องผิด เหมือนกับแม่ชี เล่าเรื่องนี้ขน้ึ มาทีไ่ รก็ขาํ กันทุกที นี่เหละน้า ไอ้เจ้าความคุน้ เคยกับไอ้เจ้าความเคยชิน และสุดท้ายพีช่ ายทีไ่ ม่เคยขับรถตูเ้ ลย ก็ตอ้ งมีหน้าทีข่ บั รถคันนี้ไปส่งฉันทีโ่ รงพยาบาล ขอบคุณเช้าวันนัน้ ทําให้ฉนั ได้รจู้ กั ความคุน้ เคย ความเคยชิน และ ความเปลีย่ นแปลง รักนะจุ๊บๆ โดย กองบรรณาธิการ

โยคะ ธรรมะ สมดุล ชีวิต วรรณวิ ภา มาลัยนวล สนพ อมรินทร์ธรรมะ หนังสือทีแ่ นะนําคราวนี้ เขียนโดย “พีอ่ ๊อด” ของเรา นันเอง ่ และทีน่ ํามาแนะนํานี้ ไม่ใช่เพราะคนเขียน เป็ นคน ใกล้ชดิ กับสถาบันฯ นะ หากแต่เพราะเป็ นหนังสือทีค่ ดิ ว่า ครู โยคะ ควรอ่านมากๆ เล่มนึง แต่ไหนแต่ไร จะมีอคติว่า หนังสือโยคะต้องมีรปู ท่า สวยๆ คนถึงจะซือ้ (เพราะหนังสือทีส่ ถาบันฯ พิมพ์ ขายใน ร้านหนังสือได้น้อยมาก) แต่พอได้อ่านหนังสือเล่มนี้แล้ว ก็ รูส้ กึ ตัวว่า เราคิดผิด เพราะอยากจะบอกว่า หนังสือเล่มนี้ อ่านสนุก (ภาพประกอบในหนังสือลงตัว หน้าปกก็สวย เรียกว่าทางอมรินทร์เขาทําได้ดมี ากเลย) เรียกว่าคนทัวไป ่ อ่านสนุก ได้ประโยชน์ในการมองชีวติ คนสนใจโยคะจริงจัง หรือครูโยคะ ก็ได้หยังลึ ่ กลงไปในแก่นของโยคะ เหมือนอ่านเรื่องสัน้ ผ่านแว่นโยคะ คือผูเ้ ขียนใช้วธิ ี ยกตัวอย่างบุคคล เหตุการณ์ทเ่ี กิดขึน้ จริง ทัง้ ในแวดวงโยคะ และในแวดวงชีวติ สิกขาทีพ่ อ่ี ๊อดไปช่วยงานจิตอาสาอยู่ แล้ว จึงโยงเข้าสูป่ ระเด้นเนื้อหาของโยคะ ซึง่ ทําให้ผอู้ ่านตระหนัก ว่า โยคะเป็ นวิถชี วี ติ ไม่ใช่แค่การออกกําลังกายในศูนย์ฝึก news 1108 14

และทําให้ผอู้ ่านได้รบั รูเ้ ทคนิคต่างๆ อันหลากหลายมากมาย ของโยคะ ช่วยเปิ ดมุมมองทีม่ ตี ่อโยคะได้กว้างขึน้ ทําให้เห็น เนื้อหาสาระอันแท้จริงของโยคะ ว่าสามารถนําพาชีวติ ไปได้ อย่างสมดุล สอดรับกับธรรมะ ทีม่ แี ทรกซึมอยู่ในวัฒนธรรม ไทยอยูแ่ ล้ว หนังสือแบ่งเป็ น 3 ภาค 1) ตระหนักในคุณค่าของ ชีวติ 2) โยคะวิถแี ห่งชีวติ และ 3) เรียนรูแ้ ละเข้าใจความจริง ของชีวติ ปิ ดด้วยบทสรุป ดอกหญ้างามระหว่างทางกับ ดอกบัวบานทีร่ ออยู่ ประกอบกันเป็ น วิถโี ยคะอย่างตัว ตอบ โจทย์ทผ่ี เู้ ขียนตัง้ ใจจะทําคือ

“ฉันเขียนเรื่องเล่าเหล่านี้ขึ้นมา เพื่อจะสื่อสารกับผู้คนที่หันมาสนใจ โยคะว่า ยังมีแง่มุมอื่นๆอีกเกี่ยวกับโยคะ ที่จะอยู่ในวิถีชีวิตประจาวันของเราได้ แต่น้อยครั้งที่เราจะได้ยินได้ฟังเรื่อง เหล่านี้ จากห้องเรียนโยคะที่มีอยู่ เพราะโดยมากจะเน้นไปที่ การฝึกฝนท่าทางร่างกายในแบบที่ เรียกว่า “อาสนะ”


ทั้งที่ยังมีอีกหลายเรื่องราวของโยคะ ที่เกี่ยวข้องกับชีวิตมากกกว่าอาสนะ ด้วยซ้าไป ในชีวิตเรามีคนที่แวดล้อมรอบตัว เช่น คุณพ่อ คุณแม่ สามี ภรรยา ลูก ญาติพี่ น้อง เพื่อน เจ้านาย ลูกน้อง และอีกมากมาย บางทีเราก็มีปัญหากับคุณพ่อคุณแม่ บางทีเราก็มีปัญหาครอบครัวระหว่าง สามีภรรยา

บางทีเราก็มีปัญหากับลูกๆ บางทีเจ้านายก็น่าเบื่อ บางทีเพื่อนร่วมงาน ลูกน้องก็สร้าง ปัญหา บางทีเราก็ต้องพบเจอ ผู้ที่รอคอยให้เราช่วยเหลือในเวลาที่เรา ไม่ว่าง บางคนอาจจะไม่ทราบว่า โยคะก็มีแนวทางในการเข้าใจ และแก้ไขปัญหาเหล่านี้ไว้ด้วย เหมือนกัน”

------------------------------------------------------------------------------------------1. ถ้าบอกว่า ผิดเป็ นครู... ผิดบ่อยอย่างกูคงเป็ น อธิการบดี 2. ข้อดีของการพูดในใจ คือด่าใคร แล้วมันไม่รู้ 3.ไม่ได้คบคนทีห่ น้าตา… แต่คบคนทีพ่ ร้อมจะชราไปด้วยกัน 4. นํ้าตา ประกอบไปด้วยนํ้า 1 % อีก 99% ทีเ่ หลือคือ ความรูส้ กึ ล้วนๆ 5. เป็ น คนเหนือ, อีสาน, ใต้… ไม่ลาํ บากใจ เท่าเป็ น คนกลาง 6. ลําโพง เสียงมันดัง แต่ ลําพัง เสียงมันเงียบ 7. มีเงิน นับเป็ นน้อง, มีทอง นับเป็ นพี่ แต่มี หนี้ นับไม่ถว้ น .............................................................................................. โดย ปิ ยะดา มหามนตรี

โยคะ: รูจ ้ ัก… แล้วรู้ให้แจ้ง… ยืด… เหยียด... อย่างมีสติ รับรูท้ ุกความรูส้ กึ … ตึง… ปวด แล้วผ่อน... สบาย ซึมชับถึงไตรลักษณ์ในทุกอนูของร่างกาย ไม่มอี ะไรคงอยู่ตลอดไป… เกิดขึน้ และดับไป... เกิดใหม่และดับลง… ความสุขอยู่ทก่ี ารรับรูโ้ ดยไม่ยดึ ติดในอารมณ์... ไม่ครํ่าครวญเมือ่ ปวด... ไม่เริงร่าลืมตัวเมื่อสบาย... โยคะไม่เพียงเป็ นการออกกําลังกาย... “กายกับใจรวมกันให้เป็นหนึ่ง จึงจะพึงได้ประโยชน์ที่

แท้ของศาสตร์แห่งโยคะ”…. ปฏิบตั อิ ย่างเชื่องช้า... ติดตามลมหายใจของตัวเอง... รวมกายใจให้เป็ นหนึ่ง... และเข้าถึงความหมายของคํากล่าวนัน้ … อย่าเพียงเชื่อสิง่ ทีผ่ อู้ ่นื แจ้ง... อย่าเพียงชื่นชมผูท้ ป่ี ฏิบตั … ิ ตัง้ ใจให้มนที ั ่ จ่ ะเข้าถึงและเข้าใจด้วยตนเอง… เริม่ ต้นปฏิบตั ติ ามเวลาและสภาวะทีเ่ ป็ นอยู่... เมื่อโอกาสถูกจัดสรรมา... อย่าลังเลทีจ่ ะคว้าไว้… และมันคงทํ ่ าต่อไป… เพื่อพบว่า... พลังงานพิเศษในตัวจะผลักดันให้ทุกอย่างดําเนินต่อไปอย่างราบรื่น... ง่ายดาย... โยคะ... ศาสตร์แห่งศรัทธาและการปฏิบตั ดิ ว้ ยตนเอง... โอนอ่อนไปกับธรรมชาติ... ปล่อยวางสิง่ ปรุงแต่งภายนอก ผลลัพธ์ทงั ้ มวลก่อเกิดขึน้ ด้วยความมานะอดทนแห่งผูป้ ฏิบตั … ิ โอบอุม้ ประคองไว้ดว้ ยเมตตาแห่งโยคาจารย์ ................................................................................................. news 1108 15


โดย ล.เล้ง เสียงกระดิง่ หยก (ไม่ใช่มงั กรบิน) ปฏิกริ ยิ าแรกคือ ตาต่อตา ฟนั ต่อฟนั (ถ้าจําไม่ผดิ I n v i s i b l e – ฉั น ม อ ง ไ ม่ เ ห็ น เ ธ อ เป็ นกฏสมัย บาบิโลน – อารยธรรมตะวันตก เรียนตอนมัธยม 1.สับปะรด กับสมุนไพรแห้ง ั ่ บ ปลาย) ตอนโกรธเรามองไม่เห็นหรอกว่า กฏแรงมา - แรง ในบ่ายวันทีอ่ ากาศร้อน เล้งนังกิ ่ นสับปะรดปนกั กลับ ละเมิดอหิงสา ก่อศัตรู และสงคราม ระหว่างคนกับคน นม แล้วมองทะลุประตูกระจกของตูเ้ ก็บอาหารแห้ง แว๊บหนึ่ง ! ประเทศกับประเทศ มานานหลายพันปี แล้ว แต่เรายังทํากัน จําได้ว่าเก็บสมุนไพรแห้งทีใ่ ช้พอกหน้าไว้ในตูใ้ บนี้มนั ต้องซุก อยู่เพราะมันเป็ นสัญชาตญาณของมนุษย์ เหตุผลมันมักมาไม่ อยู่ทไ่ี หนสักแห่งหนึ่งในตูแ้ น่ๆ แต่เพราะสัมภารกทัง้ หลายที่ ทันอารมณ์หรอก อัดแน่นอยู่ ทําให้ฉนั หาเธอไม่เจอ แต่เอ๊ะ สับปะรดทีก่ นิ อยู่น่ี อาจารย์ อาจอง ชุมสาย ณ อยุธยา บอกว่า ภักติ มันก็พอกหน้าและแขนขาได้อยูน่ ่นี า จะไปเสียเวลาและอาจ โยคะสอนให้ “เมตตา และให้อภัย” คนด่าเรามีความทุกข์และ เสียอารมณ์ (ถ้าหาของไม่เจอ) ไปทําไม ั ่ เ่ หลืออยู่กน้ ขวด น่าสงสาร เราจะไปเพิม่ ความทุกข์ให้เค้าทําไม ไม่มปี ระโยชน์ ว่าแล้วก็จะรอช้าอยูใ่ ยสับปะรดปนที เค้ามาเป็ นครู สอนให้เราอดทน และชนะใจตนเอง โหล ก็ถูกเอามาใช้งานก่อนจะเอา ขวดโหลไปล้างทันที คนถูกด่าไม่ตอ้ งรูส้ กึ เจ็บปวดอะไร (เหมือนตอน 2.ทีน ่ งั่ บนรถไฟฟ้า เด็กๆ ทีอ่ าจารย์ยา้ ยไปเรียนทีฝ่ รังเศสแล้ ่ วโดนเด็กเกเรด่าเอา ้ 1. ทีน่ งประจํ ั่ าบนรถไฟฟาของเล้งคือ ทีน่ งตรงกลาง ั่ ก็ไม่เจ็บเพราะยังฟงั ภาษา ฝรังเศส ่ ไม่เข้าใจ) ถ้าเราไม่ จากซ้ายสุดก็อยู่ตรงกลาง จากขวาสุดก็อยู่ตรงกลาง ใครขึน้ ตีความมันก็แค่การสันสะเทื ่ อนของอากาศเท่านัน้ รถไฟฟ้าก็จะรูว้ ่า เก้าอีต้ รงกลางเป็ นเก้าอีพ้ เิ ศษเพราะจะมี ตัง้ แต่เช้าจรดเย็น คนทีต่ อ้ งทํางานกับผูค้ นหลาก ้ ส่วนทีย่ ่นื ออกมาจากผนังรถไฟฟา ให้เอนศรีษะไปพักได้ หลาย ไม่รวู้ ่าวันๆ โดนเหวีย่ งให้เสียศูนย์มากีค่ รัง้ ตัง้ แต่ถูก 2. ทุกครัง้ ทีข่ น้ึ รถไฟฟ้า เล้งก็จะเล็งไปทีเ่ ก้าอีต้ วั นี้ เหยียบเท้าบนรถเมล์ เดินถนนโดนรถทีข่ บั เร็วๆ ทํานํ้าสก ก่อน เช้าวันที่ 25 ก.ค. เป็ นวันแรกทีเ่ ล้งสังเกตุเห็นว่า ปรกบนถนนกระเด็นใส่ รับโทรศัพท์โดนวีน เพื่อนร่วมงาน ความรูส้ กึ ผิดหวังทีเ่ ล็งแล้วไม่ได้ดงใจ ั่ (เพราะมีคนอื่นก็เล็ง แกล้งขัดแข้งขัดขา เจ้านายไม่เมตตา กลับมาบ้านโดนคนที่ แบบเราเหมือนกัน) มันถูกชดเชยด้วยเก้าอีอ้ กี 2 ตัวทีอ่ ยู่ซา้ ย บ้าน บ่นอีก.... สุด และเก้าอีข้ วาสุดทีม่ แี ผ่นพลาสติกอันใหญ่กนั ้ อยู่ให้เราเอน ระบบประสาทซิมพาเทติก (Sympathetic Nervous ศรีษะไปพิงได้ System) ทํางานหนักตลอดเวลา ลองทําโยคะสลายเครียด 3. เก้าอีอ้ กี 2 ตัวนี้มนั ก็ตงั ้ อยูน่ านพอๆ กับเก้าอี้ เช่น สิงโต / สิงหมุทรา (นวดหน้า – คลายเครียด - ใจสงบ) ตัวกลางนันแหละ ่ เราก็มองมันนะ แต่ไม่แน่ใจว่าเห็นมันรึ เวลาหายใจก็ให้เน้นช่วงหายใจออก... อาจจะทําแบบยกไหล่ เปล่า ถ้ามันเป็ นคน มันคงแอบน้อยใจแล้ว ขึน้ ถึงหู แล้วทิง้ ไหล่ลง ถอนหายใจ เฮ้อ! ดังๆ ....หรือหายใจ ้ 4. นิสยั ชอบนอนหลับบนรถไฟฟานี่ไม่ดหี รอกนะ ออกยาวๆ แล้วอยู่กบั ทีส่ ดุ ของลมหายใจออกตอนทีย่ งั ไม่ แต่เพราะเล้งมักจะง่วงนอนในวันที่ –คืนก่อนนอนหลับไม่สนิท อยากหายใจเข้า ทําสัก 5 นาที อาจช่วยให้ใจเราสงบลง ั ่ นฉบับ ช่วงเตรียมสอน ช่วงทีด่ สิ โกเทคแถวบ้าน สามารถผ่านช่วงแย่ๆ ของชีวติ ไปได้แบบไม่บอบชํ้ามากนัก เช่นช่วงปนต้ เสียงดัง-โทษสิง่ แวดล้อมเข้าไป เอาเป็ นว่าถ้าเห็นเล้งนอน ถ้าใครผ่านปา่ อารมณ์หฤโหดมาได้แบบทีร่ ศั มีออร่ายังแจ่มอยู่ หลับบนรถไฟฟ้าก็ไม่ตอ้ งปลุกหรอกนะ ปล่อยให้เจ๊นอนต่อไป ละก็ ...ใครจะมองไม่เห็นเรา ....เราก็มองเห็นตัวเองแล้ว ...ฉัน เถอะ มองเห็นเธอแล้ว 3.โดนด่า-ว่า จะทาอย่างไรดี จบแล้วจ้า เล้ง เดือน สิงหาคม 2554 มีผบู้ ริจาคสนับสนุนการทํางานของสถาบันฯ ดังนี้ คุณปิ ยดา มหามนตรี

200.- บาท สรุปยอดบริจาคประจําเดือนกรกฏาคม 2554 ทัง้ สิน้ 200 บาท

news 1108 16


................................ โดย วีระพงษ์ ไกรวิทย์ และจิรวรรณ ตัง้ จิตเมธี แปลและเรียบเรียง ต่างๆ ทางโลกทัง้ หลายซึง่ ไม่ได้เป็ นไปเพื่อการพัฒนาความ อวิ ทยา - อสมิ ตา: ทัศนะของปตัญชลีต่อการเห็นผิด ความตอนทีแ่ ล้ว เราพูดถึงอวิทยาว่าเปรียบเสมือน ตระหนักรูภ้ ายในขัน้ สูงสุด และไม่ได้เป็ นไปเพื่อการเข้าถึง ผืนดินอันอุดมทีเ่ อือ้ ให้กเิ ลสอีกสีอ่ ย่าง(อสมิตา ราคะ ทเวษะ ตัวตน(ทีแ่ ท้)แต่กลับถูกมองว่าเป็ นเครื่องมือหรือวิถที จ่ี ะนํามา และอภินิเวศะ) เจริญงอกงาม และพูดถึงระดับความรุนแรง ซึง่ เป้าหมายสุดท้ายของการแสวงหาตัวตนของพวกเขา มุม ของกิเลสทัง้ สีน่ ้ซี ง่ึ ปตัญชลีได้จดั แบ่งออกเป็ น ๔ ขัน้ ด้วยกัน มองทีผ่ ดิ พลาดเหล่านี้ เป็ นเรื่องปกติของทุกคนไม่เว้นแม้แต่ แม้แต่บคุ คลทีพ่ ฒ ั นาทางจิตวิญญาณขัน้ สูงแล้ว คือ ๑. กิเลสทีม่ สี ภาพนอนเนื่องลึกๆ อยู่ภายใน ๒. กิเลสทีม่ ี คนเดียว ก็ยงั อยู่ภายใต้อทิ ธิพลของมุมมองทีผ่ ดิ สภาพอ่อนกําลัง ๓. กิเลสทีม่ ารบกวนเป็ นระยะๆ บางครัง้ ก็ บางครัง้ บางคราว พลาดนี้ได้ไม่ต่างจากคนทัวไป ่ นันคื ่ อเหตุผลทีอ่ ธิบายว่า ปรากฏให้เห็น บางคราวก็ไม่ปรากฏ และ ๔. กิเลสทีพ่ รังพรู ่ ออกมาเสมอๆ อย่างมีกาํ ลังแม้จะมีสงิ่ กระตุน้ เร้าเพียงนิด ทําไมอวิทยาจึงเป็ นกิเลสทีม่ อี ยูใ่ นคนทุกคน ตราบทีเ่ ขายัง ดําเนินชีวติ เป็ นมนุษย์อยู่ ในทุกๆ สํานักทางจิตวิญญาณของ เดียวก็ตาม มีจุดเน้นสําคัญอยู่ทก่ี ารถอดถอนอวิทยาให้ มาถึงประโยคที่ ๒:๕ ของโยคสูตรกล่าวไว้ว่า อินเดีย(ฮินดู) “อนิ ตยาศุจิทุหข์ านาตมสุ นิ ตยะ-ศุจิสขุ าตมะ-ขยาติ ร หมดไป ตามทีไ่ ด้เคยชีใ้ ห้เห็นแล้วว่าการหมดสิน้ ของอวิทยา เป็ นสิง่ เดียวกันกับสภาวะไกวัลยะของ วิ ทยา” หมายถึง อวิทยาคือ การเห็นหรือเข้าใจผิด(ถูกลวง อย่างสมบูรณ์นนั ้ ตา)ในสิง่ เหล่านี้ ได้แก่ เห็นสิง่ ทีไ่ ม่เทีย่ งว่าเป็ นสิง่ ทีเ่ ทีย่ ง เห็น ปรัชญาสางขยะและของปตัญชลีและแม้แต่เป็ นสิง่ เดียวกันกับ สิง่ ทีไ่ ม่บริสทุ ธิว่์ าเป็ นสิง่ ทีบ่ ริสทุ ธิ ์ เห็นสิง่ ทีเ่ ป็ นทุกข์ว่าเป็ น สภาวะโมกษะของสํานักปรัชญาเวทานตะด้วย ความรูท้ างโลกทัง้ หลายนี้ จึงนําไปสูม่ ุมมองทีผ่ ดิ ความสุข และเห็นสิง่ ทีไ่ ม่ใช่ตวั ตน(ตัวเรา-ของเรา)ว่าเป็ น พลาดต่างๆ ตามทีไ่ ด้กล่าวไว้แล้วในประโยคข้างต้น นันจึ ่ ง ตัวตน ตามทีไ่ ด้เคยกล่าวไว้แล้วว่าอวิทยาคือ มุมมองหรือ เป็ นเหตุให้สรุปได้ว่า ความรูท้ างโลกต่างๆ เหล่านัน้ ต่างก็ ่ ความเข้าใจหรือความรูท้ ผ่ี ดิ พลาด เป็ นเรื่องทีร่ บั รูก้ นั ทัวไปว่ ่ า ดําเนินอยู่ภายใต้อวิทยา(หรือความเห็นผิด)นันเอง ต่อมาในประโยคที่ ๒:๖ บอกไว้ว่า “ทฤค-ทรรศนะคุณค่าทีใ่ ห้กบั สิง่ ต่างๆ หรือเหตุการณ์ต่างๆ ในชีวติ ทางโลก โดยคนทัวไปหรื ่ อแม้แต่ผทู้ เ่ี ฉลียวฉลาด มีความรู้ และมี ศักตโยร-เอกาตมเตวาสมิ ตะ” แปลว่า อสมิตาคือ การ การศึกษา ก็ยงั เป็ นสิง่ ทีผ่ ดิ หากมองจากแง่มุมทางจิตวิญญาณ สําคัญตัวตนอย่างผิดๆ ในสองด้านคือ การเป็ นผูเ้ ห็น และสิง่ ที่ แม้ว่าจริงๆ แล้วทุกๆ คนจะรูว้ ่าสิง่ ต่างๆ ในโลกนี้ลว้ น ถูกเห็น2 เปลีย่ นแปลงและสูญสิน้ ลงไปได้ แต่คนเราก็มกั จะคิดและประ ทุกๆ สิง่ ทีป่ รากฏออกมาจะมีสองด้านดังกล่าว พฤติปฏิบตั ริ าวกับว่าสิง่ ต่างๆ เหล่านัน้ จะอยู่คงทีแ่ ละถาวร หมายความว่าทุกสิง่ สามารถทีจ่ ะเป็ นผูเ้ ห็น(สังเกต รับรู้ และ ตลอดไป เฉกเช่นเดียวกับสิง่ ทีไ่ ม่บริสทุ ธิซึ์ ง่ ไม่อาจเพิม่ ความ เข้าใจ)สิง่ อื่นๆ ทีเ่ หลือในโลก(รวมถึงเห็นตัวเองด้วย) และตัว สงบสุขทางใจให้กบั เราได้ กลับถูกมองและปฏิบตั ริ าวกับว่าสิง่ มันเองก็สามารถเป็ นสิง่ ทีถ่ ูกเห็น(ถูกสังเกต ถูกรับรู้ และถูก เหล่านัน้ มีความบริสทุ ธิมาก เช่น ความอยาก(โลภ) เป็ นต้น ์ หากคิดอย่างลึกซึง้ และวิเคราะห์อย่างถึงทีส่ ดุ ย่อมนําไปสูข่ อ้ ผิดโดยเห็นหรื อยึดถือเอาว่า สิ่ งเหล่านี้จะเที่ยงแท้คงอยูแ่ ละไม่มีวนั เสื่ อมสลาย สรุปแห่งความจริงขัน้ สุดท้ายทีไ่ ม่อาจหลีกเลีย่ งได้ ตามทีพ่ ระ ไปจากเรา หรื อสิ่ งเหล่านี้จะให้ความสุ ข(ไม่สร้างความทุกข์) หรื อการ พุทธเจ้าได้ตรัสไว้หรือแม้แต่ปตัญชลีกไ็ ด้กล่าวไว้ในประโยคที่ แสวงหาสิ่ งเหล่านี้เป็ นความบริ สุทธิ์(เป็ นสิ่ งประเสริ ฐดีงามอย่างแท้จริ ง) หรื อ ๒:๑๕ ว่า ทุกๆ สิ่ งนัน้ สิ้ นสุดลงที่ความทุกข์และความ สิ่ งเหล่านี้เป็ นของของเรา แต่ในความเป็ นจริ งแล้วสิ่ งต่างๆ เหล่านี้มกั ไม่ เจ็บปวด แต่ผคู้ นทัง้ หลายก็ยงั คงแสวงหาและวิง่ ไล่ตามสิง่ เป็ นไปตามสิ่ งที่เรายึดถือ จึงทาให้เราเป็ นทุกข์ อาจกล่าวได้วา่ “การหลงผิด ต่างๆ ทีไ่ ม่เทีย่ งแท้แน่นอนอยูเ่ สมอโดยเห็นผิดว่า(การแสวง นามาซึ่งความทุกข์” (ผูแ้ ปล) 2 1 การเป็ นผูเ้ ห็นโดยธรรมชาติที่แท้จริ งนั้นเป็ นเพียงผูท้ ี่สังเกต เฝ้ าดู และรับรู ้ หาสิง่ เหล่านัน้ ) เป็ นแหล่งทีม่ าของความสุข เหมือนกับสิง่ 1

ตัวอย่างเช่น การแสวงหาทรัพย์สิน เงินทอง ชื่อเสี ยงหรื อการยอมรับ ซึ่ งสิ่ ง เหล่านี้ไม่ได้เที่ยงแท้แน่นอนหรื อคงอยูถ่ าวรตลอดไป แต่มนุษย์ก็มกั จะหลง

news 1108 17

ไปตามความเป็ นจริ ง ซึ่ งก็คือปุรุษะหรื อวิญญาณบริ สุทฺธ์ ิ ส่ วนสิ่ งที่ถูกเห็นโดย ธรรมชาติแล้วก็จะไม่มีการปรุ งแต่งต่างไปจากสิ่ งที่มนั เป็ นอยูจ่ ริ ง ซึ่ งก็คือ ประกฤติ ความสาคัญตนอย่างผิดๆ เกิดขึ้นเมื่อตัวผูเ้ ห็นได้สังเกตดูสิ่งที่ถูกเห็น แล้วหลงผิดคิดว่าสิ่ งที่ถูกเห็นนั้นคือตัวเอง (ผูแ้ ปล)


เข้าใจ)โดยสิง่ อื่นๆ (รวมถึงโดยตัวผูเ้ ห็นในตัวเองด้วย) ไม่ตอ้ ง สงสัยเลยว่าทัง้ สองด้านนี้มอี ยู่ในทุกๆ สิง่ ทีป่ รากฏให้เห็นทัง้ ในแง่การคิดด้วยเหตุผลและในทางปรัชญา (อย่างน้อยก็ใน ปรัชญาสางขยะและโยคะ) แต่ในสิง่ ทีไ่ ม่มคี วามรูส้ กึ นัน้ ความสามารถในการเป็ นผูเ้ ห็นหรือทฤคศักติไม่อาจเกิดขึน้ ได้ ในทางโยคะหมายความเฉพาะเจาะจงถึงมนุษย์ทงั ้ ชาย และ หญิงซึง่ มีความสามารถทัง้ สองด้านนี้อยู่ แต่มนั จะนําไปสู่ ปญั หาได้ ถ้าคนผูน้ นั ้ ไม่สามารถแยกความแตกต่างระหว่าง การเป็ นผูเ้ ห็น กับการเป็ นสิง่ ทีถ่ ูกเห็นได้จนเป็ นทีเ่ ข้าใจอย่าง ชัดเจนและนําไปปฏิบตั ไิ ด้ถูกต้อง ความสามารถในการเป็ นผูเ้ ห็น หรือทรัษฏาย่อม แตกต่างจากความสามารถในการเป็ นสิง่ ทีถ่ ูกเห็นหรือทฤศยะ แต่ในทางปฏิบตั คิ นทัวไปมั ่ กจะหลงลืมความแตกต่างดังกล่าว นี้อยู่เสมอ จึงมีการปรุงแต่งต่างจากความเป็ นจริงอย่างผิดๆ ของผูเ้ ห็นและสิง่ ทีถ่ ูกเห็น ตัวอย่างทีใ่ ช้กนั ทัวไปของการปรุ ่ ง แต่งต่างจากความเป็ นจริงอย่างผิดๆ เช่น ทุกคนจะมี 3 ความรูส้ กึ ว่า “ร่างกาย” นี้คอื ตัวตนของเรา ในทุกๆ ด้านของ การดําเนินชีวติ นัน้ ตัวตนถูกปรุงแต่งต่างจากความเป็ นจริง อย่างผิดๆ ด้วยบางสิง่ ทีไ่ ม่มใี นสิง่ ทีถ่ ูกเห็น นันคื ่ อ เวลาเรา มองเห็นวัตถุทางโลกทีป่ รากฏ เราจึงไม่ได้มองเห็นมันอย่างที่ มันเป็ นจริงๆ (แต่เรามักจะปรุงแต่งเสริมเติมบางสิง่ เข้าไป นอกเหนือจากสิง่ ทีเ่ ห็น) การปรุงแต่งขึน้ มาและการสําคัญตน อย่างผิดๆ นี้ย่อมนําไปสูป่ ญั หาทัง้ หลายในชีวติ ของเราได้ ใน ั แง่น้ี กิเลสตัวอสมิตาเป็ นสาเหตุหนึ่งทีท่ าํ ให้เกิดปญหาและ ความทุกข์ ในทีน่ ้อี สมิตาเป็นสิง่ ทีเ่ ข้าใจกันโดยทัวไปว่ ่ าคือ 4 อหังการะ หรือ ความมีอตั ตาตัวตน (egotism) เอกสารอ้างอิ ง : 3

สิ่ งที่ถูกเห็นคือ “ร่ างกาย” สิ่ งที่ปรุ งแต่งเข้าไปหรื อเห็นผิดหรื อสาคัญผิด ของผูเ้ ห็นก็คือ “(ร่ างกายนี้)เป็ นตัวตนของเรา” จริ งๆ แล้วร่ างกายเป็ นเพียงแค่ ร่ างกายหรื อสิ่ งที่ถูกเห็นเท่านั้น แต่ผเู ้ ห็นยังมีการปรุ งแต่งของจิต(ตะ) จึง สาคัญผิดไปว่าร่ างกายเป็ นตัวเดียวกับผูเ้ ห็นหรื อเป็ นของผูเ้ ห็นด้วย ในอีกแง่ หนึ่งถ้าผูเ้ ห็นไม่มีการปรุ งแต่งของจิต ผูเ้ ห็นก็จะมองเห็นสิ่ งต่างๆ ได้ตรงตาม ความเป็ นจริ ง (ผูแ้ ปล) 4

อหังการะ (ahankara) เป็ นการประเมินคุณสมบัติของตัวเองไว้สูงมาก หรื อเป็ นการประเมินตนเองที่ผิดจากความเป็ นจริ ง อหังการะประกอบด้วย ๕ ลักษณะคือ ๑) อภิมานะ เป็ นความภูมิใจในคุณสมบัติซ่ ึ งตนเองไม่มี ๒) มทียะ คือความรู ้สึกว่าเป็ นตัวฉัน ๓) มมะ-สุ ขมั คือความรู ้สึกว่า ”เป็ นความสุขของ ฉัน” ๔) มมะ-ทุห์ขมั คือความรู ้สึกว่า ”เป็ นความทุกข์ของฉัน” ๕) มไมตัม คือ ความรู ้สึกว่า “นี่เป็ นของฉัน” อหังการะจัดเป็ นหนึ่งในอุปสรรคบนหนทาง แห่งการฝึ กโยคะ (Yoga Kosa, p.48)

news 1108 18

๑) Karambelkar, P. V. (1986). PATANJALA YOGA SUTRAS Sanskrta Sutras with Transliteration, Translation & Commentary. Lonavla : Kaivalyadhama, p. 183-186. ๒) Philosophico Literary Research Department, (1991). Yoga Kosa. Lonavla : Kaivalyadhama.Kaivalyadhama


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.