zx-sw16

Page 1

ZX-SW16 ἧǧ¨ÃÊÇÔµªìàÁµÃÔ¡«ì 4x4 ¨Ø´ l 1

ZX-SW16 ἧǧ¨ÃÊÇÔµªìàÁµÃÔ¡«ì 4x4 ¨Ø´ ¤Ø³ÊÁºÑµÔ·Ò§à·¤¹Ô¤ มีสวิตชกดติดปลอยดับ 16 ตัว ตอกันในลักษณะเมตริกซ 4x4 จุด พรอมฝาครอบสวิตช l มีจุดตอตัวตานทานทังแบบพู ้ ลอัปหรือพูลดาวน (ตองเลือกตออยางใดอยางหนึง) ่ ทังแนวโรว ้ และคอลัมน l

ǧ¨ÃáÅСÒ÷íÒ§Ò¹ R1-C1

R1-C2

R1-C3

R1-C4

R2-C1

R2-C2

R2-C3

R2-C4

R3-C1

R3-C2

R3-C3

R3-C4

R4-C1

R4-C2

R4-C3

R4-C4

C1 C2 C3 C4 R1 R2 R3 R4

R1-C1

R1-C2

R1-C3

R1

R1-C4

R2

R3 R2-C1

R2-C2

R2-C3

R2-C4

R4 R3-C1

R3-C2

R3-C3

R3-C4

R4-C1

R4-C2

R4-C3

R4-C4

C1

(ก) รูปรางและการกําหนดตําแหนงสวิตชของ ZX-SW16 แผงวงจรสวิตชเมตริกซ 4x4 จุด

C2

C3

C4

(ข) วงจรสมบูรณของ ZX-SW16 แผงวงจรสวิตชเมตริกซ 4x4 จุด


2 l

ZX-SW16 ἧǧ¨ÃÊÇÔµªìàÁµÃÔ¡«ì 4x4 ¨Ø´

แผงวงจร ZX-SW16 ไดรับการออกแบบใหสามารถเลือกติดตังตั ้ วตานทานทังแบบพู ้ ลอัปหรือพูลดาวนเพือ่ กําหนดสถานะของสายสัญญาณในขณะทีไม ่ มีการกดสวิตช โดยตัวตานทานที่แนะนําใหใชคือ ตัวตานทานแบบ เน็ตเวิรก 5 ขา ซึงภายในจะมี ่ โครงสรางเปนตัวตานทาน 4 ตัวทีต่ อขาหนึงร ่ วมกัน ดังรูป 472

(ก) รูปรางของตัวตา นทานเน็ตเวิรก แบบ 5 ขา

(ข) วงจรภายในของตัวตา นทานเน็ตเวิรก แบบ 5 ขา

จุดตอทีไม ่ ไดกําหนดชือหรื ่ อจุดตอรูปสีเหลี ่ ยมจะเป ่ นจุดบัดกรีลอย ผูใช  งานสามารถตอเขากับไฟเลียงหรื ้ อ กราวดก็ได หากตอเขากับไฟเลียงก็ ้ จะเปนการกําหนดใหการตอตัวตานทานเขากับแผงวงจรสวิตชนีเป ้ นแบบพูลอัป นั่นคือ มีการกําหนดสถานะลอจิก “1” ใหกับสายคอลัมนในขณะทีไม ่ มีการกดสวิตช หากตอกราวดก็จะเปนการ กําหนดใหการตอตัวตานทานเขากับแผงวงจรสวิตชนี้เปนแบบพูลดาวน นั่นคือ มีการกําหนดสถานะลอจิก “0” ใหกับสายคอลัมนในขณะทีไม ่ มีการกดสวิตช ถาตอกับไฟเลี้ยง เปนการกําหนดใหตอตัวตานทานพูลอัป ถาตอกับกราวด เปนการกําหนดใหตอตัวตานทานพูลดาวน

บัดกรีติดตั้งตัวตานทาน เน็ตเวิรกแบบ 5 ขา คา 4.7k ถึง 10k W

C1 C2 C3 C4 R1R2 R3R4

R1-C1

R1-C2

R1-C3

R1-C4

R2-C1

R2-C2

R2-C3

R2-C4

R3-C1

R3-C2

R3-C3

R3-C4

R4-C1

R4-C2

R4-C3

R4-C4


ZX-SW16 ἧǧ¨ÃÊÇÔµªìàÁµÃÔ¡«ì 4x4 ¨Ø´ l 3

¡ÒÃàª×èÍÁµèÍäÁâ¤Ã¤Í¹â·ÃÅàÅÍÃì¡ÑºÊÇÔµªìàÁµÃÔ¡«ìËÃ×ͤÕÂìá¾´ การเชื่อมตอแผงวงจรสวิตชเมตริกซหรือ ZX-SW16 เขากับไมโครคอนโทรลเลอรจะใชขาพอรต 8 ขา แบงออกเปน 2 กลุมคือ ขาพอรต 4 บิตลาง (P0 ถึง P3) ตอกับสายคอลัมน C1 ถึง C4 ของสวิตชเมตริกซ และ กําหนดใหทํางานเปนขาพอรตอินพุตดิจิตอล สวนขาพอรตทีเหลื ่ ออีก 4 ขา (P4 ถึง P7) ตอกับสายโรว R1 ถึง R4 ของสวิตชเมตริกซ และกําหนดใหทํางานเปนขาพอรตเอาตพุตดิจิตอล ที่ขาพอรต P0 ถึง P3 ของไมโครคอนโทรลเลอรซึ่งตอกับสายคอลัมนของสวิตชเมตริกซ ควรตอตัวตาน ทานคาในชวง 4.7 ถึง 10kW พู ลอัปกั บไฟเลี้ยงไวดวย เพื่อกําหนดสถานะลอจิกใหแนนอนในกรณีที่ไมมีการ กดสวิตช

R1-C1

R1-C2

R1-C3

R1-C4

R2-C1

R2-C2

R2-C3

R2-C4

R3-C1

R3-C2

R3-C3

R3-C4

R4-C1

R4-C2

R4-C3

R4-C4

+5V

C1

C2

C3

ไมโครคอนโทรลเลอร R1

P4

R2

P5

R3

P6

R4

P7

C4

P3 P2 P1 P0 R1 4.7k *4


4 l

ZX-SW16 ἧǧ¨ÃÊÇÔµªìàÁµÃÔ¡«ì 4x4 ¨Ø´

รูจักกับสวิตชเมตริกซหรือคียแพด

วงจรสวิตชแบบเมตริกซ (matrix switch) จะกําหนดใหสวิตชตอกันในแนวแกนตังและแกนนอน ้ จะเรียกแนว ตังว ้ า หลักหรือคอลัมน (column) ในขณะทีแนวนอนจะเรี ่ ยกวา แถวหรือโรว (row) ดังนันค ้ าของสวิตชจะตองประกอบ ดวย ตําแหนงในแนวหลักและแถว วงจรของสวิตชแบบนีมี้ ขอดีคือสามารถรองรับการเพิมของสวิ ่ ตชไดอยางสะดวก เพียงเพิมเติ ่ มจํานวนสวิตชและแกไขซอฟตแวรอีกเล็กนอยเทานัน้ บางครังเรี ้ ยกสวิตชเมตริกซนีว้ า คียแพด (keypad) R1-C1

R1-C2

R1-C3

R1-C4

R2-C1

R2-C2

R2-C3

R2-C4

R3-C1

R3-C2

R3-C3

R3-C4

R4-C1

R4-C2

R4-C3

R4-C4

R1

R2

R3

R4 C1

C2

C3

C4

การเชื่อมตอสวิตชเมตริกซ 4x4 จุดกับไมโครคอนโทรลเลอร จะใชขาพอรตเชือมต ่ อเขากับสวิตชเมตริกซ 8 เสนคือ สายของคอลัมน C1 ถึง C4 และสายทางโรว R1 ถึง R4 ขาพอรตทีต่ อกับแนวคอลัมนทั้งหมดจะตอง กําหนดใหทํางานเปนอินพุต และควรมีตัวตานทานตอพูลอัปไวเพื่อกําหนดสภาวะเริ่มตนที่ไมมีการกดคีย R 1-C1

R 1-C2

R 1-C3

R 1-C4

R 2-C1

R 2-C2

R 2-C3

R 2-C4

R 3-C1

R 3-C2

R 3-C3

R 3-C4

ไมโครคอนโทรลเลอร R1

R2

พอรตเอาตพุต R3

R 4-C1

R 4-C2

R 4-C3

R 4-C4

R4

+5V

C1

C2

C3

C4

พอรตอินพุต 4.7k~10k

ไมโครคอนโทรลเลอรจะสงขอมูล “0” ไปยังขาพอรตทีต่ อกับสายโรวของสวิตชเมตริกซทีละสาย เริมจาก ่ R1 จนถึง R4 นันคื ่ อขอมูลทีส่ งออกไปมี 4 คาคือ 1110, 1101, 1011 และ 0111 ในทุกครังที ้ มี่ การ สงขอมูลไปยังสายโรวของสวิตชเมตริกซ ไมโครคอนโทรลเลอรจะอานคาขาพอรตซึงต ่ อกับสายคอลัมน เขามา หากไมมีการกดสวิตช คาของขาพอรตจะเปน 1111 ถามีการกดคีย คาของขอมูลก็จะไมเปน 1111 อีกตอไป เปนการแจงใหทราบวา มีการกดสวิตช จากนันไมโครคอนโทรลเลอร ้ ก็จะคนหาตําแหนงตอไป


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.