บทที่ 9 การแกะสลักผักและผลไม้

Page 1

โดย

นางสมหมาย บุญสมทบ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะครูชานาญการ โรงเรียนบ้านเนินพลับหวาน อาเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 3


คำนำ การจั ด ท าเอกสารประกอบการเรี ย นรู้ ชุ ด “การแกะสลั ก ผั ก และผลไม้ ” กลุ่ ม สาระ การเรี ย นรู้ ก ารงานอาชีพ และเทคโนโลยี ชั้ นมั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 1 โรงเรี ย นบ้ า นเนิ นพลั บหวาน ผู้รายงานได้จัดทาขึ้นเพื่อใช้เป็นสื่อประกอบกระบวนการจัดการเรียนรู้ตามแผนการจัดการเรียนรู้ โดยส่งเสริมให้ผู้เรียนได้มีโอกาสศึกษาหาความรู้และฝึกทักษะได้ด้วยตนเอง ในกรณีที่ไม่เข้าใจทั้ง ภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ เอกสารประกอบการเรียนรู้ชุดนี้มีเนื้อหาสาระสาคัญ ได้แก่ ความรู้ ทั่วไปและพื้นฐานของการแกะสลักผักและผลไม้ การแกะสลักผักและผลไม้เป็นดอกไม้รูปแบบ ต่างๆ รวมถึงการประดับตกแต่ง การจัดวาง และการจัดแสดงผลงาน เป็นต้น ซึ่งมีจานวนทั้งหมด 10 เล่ม เอกสารแต่ละเล่มจะประกอบไปด้วยรายละเอียดต่างๆ ได้แก่ คาแนะนาสาหรับครูผู้สอน และนักเรียน แบบทดสอบก่อน-หลังเรียน ใบความรู้ ใบงาน และแบบฝึกหัด การจั ด ทาเอกสารประกอบการเรี ย นรู้ ชุ ด “การแกะสลั ก ผั ก และผลไม้ ” กลุ่ ม สาระ การเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ชุดนี้ได้รับความอนุเคราะห์จาก นายประทีป ศรีรักษา ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านเนินพลับหวาน และผู้เชี่ยวชาญทุกท่านที่กรุณาให้ คาแนะนา ตรวจความถูกต้อง และปรับปรุงแก้ไขจนสาเร็จเป็นรูปเล่มด้วยดี จึงขอขอบพระคุณมา ณ โอกาสนี้ สมหมาย บุญสมทบ


คำชี้แจง เอกสารประกอบการเรี ย นรู้ ชุ ด “การแกะสลั ก ผั ก และผลไม้ ” กลุ่ ม สาระการเรี ย นรู้ การงานอาชี พและเทคโนโลยี ได้ จั ดทาขึ้นเพื่อ ใช้เป็นสื่ อประกอบกระบวนการจั ดการเรี ยนรู้ รายวิชา ง 21202 งานประดิษฐ์ 2 (การแกะสลักผักและผลไม้ ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียน บ้านเนินพลับหวาน เอกสารประกอบการเรียนชุดนี้มีทั้งหมด 10 เล่ม ประกอบด้วย เล่มที่ 1 เล่มที่ 2 เล่มที่ 3 เล่มที่ 4 เล่มที่ 5 เล่มที่ 6 เล่มที่ 7 เล่มที่ 8

เรื่อง เรื่อง เรื่อง เรื่อง เรื่อง เรื่อง เรื่อง เรื่อง

ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการแกะสลักผักและผลไม้ พื้นฐานการแกะสลักผักและผลไม้ การแกะสลักแครอทเป็นดอกข่า การแกะสลักฟักทองเป็นดอกรักเร่ การแกะสลักฟักทองเป็นดอกบานชื่น การแกะสลักฟักทองเป็นดอกผีเสื้อ การแกะสลักฟักทองเป็นดอกกุหลาบ การแกะสลักมันแกวเป็นดอกแคทลียา

เล่มที่ 9 เรื่อง กำรแกะสลักแตงโมลำยประยุกต์ เล่มที่ 10 เรื่อง การจัดนิทรรศการแสดงผลงานการแกะสลักผักและผลไม้ เอกสารประกอบการเรียนรู้ 1 เล่มใช้ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ 1 แผน โดยเป็น การจั ด การเรี ย นรู้ ที่ เ น้ น กระบวนการแบบกลุ่ ม ร่ ว มมื อ กั น เรี ย นรู้ เอกสารชุ ด นี้ จ ะส่ ง ผลให้ กระบวนการจัดการเรียนรู้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลต่อผู้เรียน โดยครูผู้สอน มีหน้าที่แนะนาเมื่อนักเรียนมีปัญหาเวลาปฏิบัติงาน

สมหมาย บุญสมทบ


สำรบัญ เรื่อง คานา คาชี้แจง คาแนะนาสาหรับครู คาแนะนาสาหรับผู้เรียน จุดประสงค์การเรียนรู้ แบบทดสอบก่อนเรียน ใบความรู้ เรื่อง การแกะสลักแตงโมลายประยุกต์  แตงโม  วิธีการเลือกและดูแลรักษาแตงโม  การแกะสลักแตงโมลายประยุกต์  วัสดุที่ใช้ในการแกะสลักแตงโมลายประยุกต์  ขั้นตอนการแกะสลักแตงโมลายประยุกต์  การดูแลรักษาแตงโมแกะสลักลายประยุกต์  การใช้งานแตงโมลายประยุกต์  ข้อเสนอแนะ ใบงาน เรื่อง การแกะสลักแตงโมลายประยุกต์ รายงานผลการปฏิบัติงานกลุ่ม แบบฝึกหัด เรื่อง การแกะสลักแตงโมลายประยุกต์ แบบทดสอบหลังเรียน เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน-หลังเรียน เฉลยแบบฝึกหัด เรื่อง การแกะสลักแตงโมลายประยุกต์ กระดาษคาตอบแบบทดสอบก่อน-หลังเรียน บรรณานุกรม

หน้ำ

1 2 3 4 7 7 8 8 9 10 23 23 24 25 26 28 29 32 33 34 36


เล่มที่ 9 เรื่อง การแกะสลักแตงโมลายประยุกต์ 1

คำแนะนำสำหรับครูผู้สอน ก่อนใช้เอกสารประกอบการเรียนรู้แต่ละเล่ม ครูผู้สอนควรปฏิบัติดังนี้ 1. ก่อ นใช้ เอกสารประกอบการเรี ย นรู้ แต่ ล ะเล่ม ก่อนนาไปใช้

ครู ผู้ ส อนควรศึก ษาให้ล ะเอี ย ด

2. ครูผู้สอนต้องเตรียมสื่อที่เกี่ยวข้องให้พร้อม เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความสนใจที่จะศึกษา และปฏิบัติตาม 3. ครูผู้สอนควรประเมินผลนักเรียน ทั้งก่อนเรียน และหลังเรียนเมื่อศึกษาเอกสาร จบแต่ละเล่ม 4. หากนักเรียนมีข้อสงสัย ไม่เข้าใจ ให้อธิบายเพิ่มเติมให้นักเรียนเข้าใจ


เล่มที่ 9 เรื่อง การแกะสลักแตงโมลายประยุกต์ 2

คำแนะนำสำหรับผู้เรียน ก่อนใช้เอกสารประกอบการเรียนรู้แต่ละเล่ม ผู้เรียนควรปฏิบัติดังนี้ 1. ก่อนศึกษา ผู้เรียนควรทาแบบทดสอบก่อนเรียนและเก็บคะแนนไว้เปรียบเทียบ หลังเรียน 2. ผู้เรียนต้องอ่านทาความเข้าใจให้ละเอียดทุกเรื่อง 3. ผู้เรียนศึกษาจบเล่มแล้ว ควรประเมินผลสัมฤทธิ์ของตนเองจากกิจกรรมท้ายเล่ม และทาแบบทดสอบหลังเรียนเพื่อเปรียบเทียบความก้าวหน้า 4. หากผู้เรียนมีข้อสงสัย หรือไม่เข้าใจถ้อยคาหรือเนื้อหาใดๆในเล่ม จะต้องสอบถาม ข้อมูลให้ละเอียดเพิ่มเติมจากครูผู้สอนหรือผู้รู้ทันที


เล่มที่ 9 เรื่อง การแกะสลักแตงโมลายประยุกต์ 3

จุดประสงค์กำรเรียนรู้ ด้ำนควำมรู้ 1. นักเรียนอธิบายขั้นตอนการแกะสลักแตงโมลายประยุกต์ได้ 2. นักเรียนเลือกใช้วัสดุอุปกรณ์ได้ถูกต้อง ปลอดภัย และเหมาะสมกับงาน

ด้ำนทักษะกระบวนกำร 3. นักเรียนฝึกแกะสลักแตงโมลายประยุกต์ได้ถูกต้องตามขั้นตอน

ด้ำนคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 4. นักเรียนมุ่งมั่นในการทางาน มีความตั้งใจ และรับผิดชอบในการทาหน้าที่การงาน ด้วยความเพียรพยายาม อดทน เพื่อให้งานสาเร็จตามเป้าหมาย


เล่มที่ 9 เรื่อง การแกะสลักแตงโมลายประยุกต์ 4

แบบทดสอบก่อนเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่อง การแกะสลักแตงโมลายประยุกต์

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เวลา 10 นาที

คำชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกที่สุด และกาเครื่องหมาย X ลงในกระดาษคาตอบ 1. ขั้นตอนแรกของการแกะสลักแตงโมประยุกต์คือข้อใด ก. ปาดแต่งส่วนรอบนอกของวงเกสร ข. สลักกลีบแบบพลิกมีดจนเต็มเกสร ค. เลือกแตงโมที่มีผลค่อนข้างเรียว ง. แบ่งแตงโมออกเป็น 16 กลีบ 2. ข้อใดไม่ใช่ประโยชน์ของงานแกะสลักแตงโมประยุกต์ ก. ใช้เป็นของประดับ ข. ใช้ตกแต่งโต๊ะอาหาร ค. ทาให้อาหารรสชาติดีขึ้น ง. ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ 3. เพราะเหตุใดจึงไม่ควรแกะสลักแตงโมทิ้งไว้ข้ามคืน ก. แตงโมจะแห้ง ข. แตงโมจะเหลือง ค. แตงโมจะกรอบหักง่าย ง. แตงโมจะเหี่ยว เสียรูปทรง


เล่มที่ 9 เรื่อง การแกะสลักแตงโมลายประยุกต์ 5

4. เมื่อแกะสลักแตงโมประยุกต์เสร็จแล้วควรทาอย่างไร ก. จัดใส่พานเพื่อตกแต่งให้สวยงาม ข. นาไปจัดรวมกับผักจิ้มอื่นๆ ค. นาไปรับประทาน ง. ใส่แกงจืด 5. การแกะสลักผลไม้ชนิดใด ควรแกะเป็นลาดับสุดท้าย ก. ฝรั่ง ข. ชมพู่ ค. แตงโม ง. แอปเปิ้ล 6. ขั้นตอนสุดท้ายของการแกะสลักแตงโมลายประยุกต์คือข้อใด ก. กรีดเส้นกลางใบในช่วงระหว่างกลีบดอกชั้นที่ 3 ข. ปาดแต่งส่วนใต้ใบให้ต่าลง เพื่อให้ใบเด่นขึ้นโดยรอบ ค. กรีดวงเกสรช่วงกึ่งกลางของผลแตงโมให้มีขนาดกว้าง 16 ซม. ง. แบ่งส่วนลายกลีบดอกให้สับหว่างกลีบเกสรให้ได้จานวน 16 กลีบ 7. วัสดุอุปกรณ์ที่สาคัญในการแกะสลักแตงโมประยุกต์มีอะไรบ้าง ก. แตงโม, มีดแกะสลัก, ถาด ข. มีดปอก, เขียง, จาน ค. ช้อน, มีด, กะละมัง ง. ถูกทุกข้อ 8. การแกะสลักแตงโมประยุกต์ควรเลือกแตงโมตามลักษณะใด ก. แตงโมอ่อน ข. แตงโมที่มีผิวขรุขระ ค. แตงโมที่มีผลกลม ผิวเรียบ เนื้อในแน่น ง. แตงโมที่มีผลใหญ่ ผิวเรียบ เปลือกหนา


เล่มที่ 9 เรื่อง การแกะสลักแตงโมลายประยุกต์ 6

9. ขั้นตอนแรกในงานแกะสลักคือข้อใด ก. ออกแบบ ข. เลือกวัสดุ ค. ตกแต่งผลงาน ง. ล้างทาความสะอาด 10. สิ่งสาคัญในการแกะสลักคือข้อใด ก. ไม่ใช้ดินสอขีดกะระยะ ข. วัสดุต้องสด ค. มีดต้องคม ง. ถูกทุกข้อ

ตั้งใจทำนะครับ


เล่มที่ 9 เรื่อง การแกะสลักแตงโมลายประยุกต์ 7

ใบควำมรู้ เรื่อง กำรแกะสลักแตงโมลำยประยุกต์ แตงโม

ที่มำของภำพ : http://www.kakukgroup.com และ http://www.flash-mini.com

แตงโม เป็นพืชตระกูลเดียวกับแตง (Cucurbitaceae) ภาคอีสานเรียก บักโม ภาคเหนือเรียก บะเต้า มีชื่อสามัญว่า Watermelon แปลว่า “แตงน้า” เพราะในผลแตงโมมีน้าเป็นส่วนใหญ่ แตงโมเป็นไม้เถาอยู่ในวงศ์เดียวกับแตงกวา ลาต้นเป็นเถาเลื้อยแผ่ไปตามพื้นดิน ใบมีลักษณะเว้า ลึก 3-4 หยัก ก้านใบยาว ทั้งเถาและใบมีขนอ่อนปกคลุม ผลพัฒนาจากรังไข่ ผลแตงโมมีทั้งแบบกลม กลมรี และทรงกระบอก ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางผล 15-20 เซนติเมตร เปลือกแข็ง สีเขียว สีเขียวเข้ม และสีเหลือง บ้างก็มีลวดลายสีขาวเป็นแถบยาวจากขั้วถึงปลายผล รสชาติของเนื้อผลคือฉ่าน้าและ หวานกรอบ ในเนื้อมีเมล็ดสีดาขนาดเล็กแทรกอยู่บริเวณใจกลางผล ในปัจจุบันแบ่งแตงโมออกได้ เป็น 3 กลุ่มใหญ่ๆ ตามลักษณะของผลและเมล็ ด ได้แก่ พันธุ์ธรรมดา พันธุ์ไม่มีเมล็ด และพัน ธุ์ กินเมล็ดที่นาไปผลิตเป็นเม็ดก๊วยจี๊นั่นเอง


เล่มที่ 9 เรื่อง การแกะสลักแตงโมลายประยุกต์ 8

วิธีกำรเลือกและดูแลรักษำแตงโม การเลือกแตงโมต้องเลือกให้เหมาะกับงานที่จะใช้ เพราะมีทั้งทรงกลมและทรงรี เลือกผิว เปลือกสีสด สีสวยทั้งลูก อย่าเลือกแตงโมที่สุกมาก ไส้ในจะล้มแกะลาบากหรืออาจจะแกะไม่ได้ แตงโมแกะสลักได้หลายรูปแบบ เช่น เป็นภาชนะ แล้วตักเนื้อแตงโมทาเป็นลูกเล็กๆ แต่งใบเล็กน้อย แล้วใส่ลงไป หรือจะแกะเป็นดอกไม้สาหรับโชว์ หรือจัดร่วมกับผลไม้ชนิดอื่นก็ได้ นิยมใช้แตงโมสีแดง มากกว่าสีเหลือง

กำรแกะสลักแตงโมลำยประยุกต์ การแกะสลักผลไม้ลายประยุกต์นั้น เป็นการใช้ความรู้พื้นฐานจากการแกะสลักผักและผลไม้ มาประยุกต์การแกะสลักให้เกิดความสวยงามและแปลกตา การประยุกต์สามารถทาได้ทั้งวิธี และ รูปแบบของการแกะสลัก เช่น การนารูปแบบของการแกะสลักกลีบดอกต่างๆมาผสมผสานกันให้ เกิดรูปแบบกลีบใหม่ และการแกะสลักดอกซ้อนชนิดเดียวกัน หรือหลายชนิด เป็นต้น ซึ่งในเอกสาร เล่มนี้ได้กล่าวถึงการแกะสลักแตงโมลายประยุกต์ โดยใช้วิธีการของการแกะสลักดอกรักเร่ที่มีกลีบ โค้ง ปลายแหลม ผสมกับวิธีการปาดร่องโค้งมนของการแกะสลักดอกบานชื่นเข้าด้วยกัน และ เพิ่มลักษณะการแกะสลักที่เน้นการแกะสลักแบบติดเปลือกที่ส่วนปลายกลีบ ซึ่งการแกะสลักผลไม้ ลายประยุกต์นั้นสามารถนาผลไม้ชนิดอื่นๆมาแกะสลักได้ เช่น แคนตาลูป มะละกอ เป็นต้น

ที่มำของภำพ : ณภัทร (2552)


เล่มที่ 9 เรื่อง การแกะสลักแตงโมลายประยุกต์ 9

วัสดุอุปกรณ์ทใี่ ช้ในกำรแกะสลักแตงโมลำยประยุกต์ 1.มีดต่างๆ ได้แก่ มีดแกะสลัก มีดปลายแหลม และมีดปอก

2.เขียง

3.กะละมัง

4.แตงโม เตรียมวัสดุพร้อมแล้ว…

ลงมือทากันเลย

ที่มำของภำพที่ 1-4 : สมหมำย บุญสมทบ (2554)


เล่มที่ 9 เรื่อง การแกะสลักแตงโมลายประยุกต์ 10

ขั้นตอนกำรแกะสลักแตงโมลำยประยุกต์ 1.

เลือกแตงโมที่ผลค่อนข้างรียาว ผิว และเปลือกสด 1

2.

กรีดวงเกสรช่วงกึ่งกลางของผลแตงโม ให้มีขนาดกว้างประมาณ 6 ซม. แล้วจึงปาดแต่ง ส่วนรอบนอกของวงเกสรออก เพื่อให้มีลักษณะชัดเจน 2


เล่มที่ 9 เรื่อง การแกะสลักแตงโมลายประยุกต์ 11

3. เอียงมีด 45 องศา ปาดแต่งรอบวงเกสรให้เอียงเข้าหากึ่งกลางเกสรเล็กน้อย และปาดแต่งส่วน รอบนอกของวงเกสรให้เรียบและกว้างขึ้น 3

4. แบ่งส่วนลายกลีบเกสรจานวน 16 กลีบ 4


เล่มที่ 9 เรื่อง การแกะสลักแตงโมลายประยุกต์ 12

5.สลักกลีบเกสรชั้นที่ 1 ให้มีลักษณะเป็นกลีบโค้งปลายแหลมทั้ง 16 กลีบ 5

6.ปาดแต่งส่วนระหว่างกลีบเกสรชั้นที่ 1 ให้เรียบและเอียงเข้าหาส่วนกลางของเกสร 6


เล่มที่ 9 เรื่อง การแกะสลักแตงโมลายประยุกต์ 13

7. สลักกลีบเกสรชั้นที่ 2 ให้สับหว่างกับกลีบเกสรชั้นแรก 7

8. ปาดแต่งส่วนระหว่างกลีบเกสรชั้นที่ 2 ให้เรียบ และเอียงเข้าหาส่วนกลางของเกสร 8


เล่มที่ 9 เรื่อง การแกะสลักแตงโมลายประยุกต์ 14

9. สลักกลีบเกสรชั้นที่ 3 ให้สับหว่างกีบกลีบเกสรชั้นที่ 2 9

10. ปาดแต่งส่วนระหว่างกลีบเกสรชั้นที่ 3 ให้เรียบและเอียง แล้วจึงสลักกลีบเกสรชั้นที่ 4 10


เล่มที่ 9 เรื่อง การแกะสลักแตงโมลายประยุกต์ 15

11. ปาดแต่งส่วนเกสรด้านในให้ต่าลงแล้วสลักกลีบเกสรแบบพลิกมีด 11

12. สลักกลีบเกสรแบบพลิกมีดจนเต็มเกสร 12


เล่มที่ 9 เรื่อง การแกะสลักแตงโมลายประยุกต์ 16

13. แบ่งส่วนลายกลีบดอกให้สับหว่างกับกลีบเกสร จะได้จานวน 16 กลีบ 13

14. ปาดแต่งร่องกลีบให้เป็นร่องโค้งมน แล้วจึงแกะสลักกลีบดอกแบบกลีบโค้งปลายแหลม ทั้ง 16 กลีบ 14


เล่มที่ 9 เรื่อง การแกะสลักแตงโมลายประยุกต์ 17

15. ปาดแต่งส่วนระหว่างกลีบดอกชั้นที่ 1 ให้เรียบเสมอกันโดยรอบ 15

16. ปาดแต่งร่องกลีบแล้วสลักกลีบดอกชั้นที่ 2 ให้สับหว่างกับกลีบดอกชั้นที่ 1 16


เล่มที่ 9 เรื่อง การแกะสลักแตงโมลายประยุกต์ 18

17. ปาดแต่งส่วนระหว่างกลีบดอกชั้นที่ 2 ให้เรียบเสมอกันโดยรอบ 17

18. ปาดแต่งร่องกลีบแล้วสลักกลีบดอกชั้นที่ 3 ให้สับหว่างกับกลีบดอกชั้นที่ 2 18


เล่มที่ 9 เรื่อง การแกะสลักแตงโมลายประยุกต์ 19

19. ปาดแต่งส่วนระหว่างกลีบดอกชั้นที่ 3 ให้เรียบเสมอกันโดยรอบ 19

20. กรีดเส้นกลางใบ ในช่วงระหว่างกลีบดอกชั้นที่ 3 20


เล่มที่ 9 เรื่อง การแกะสลักแตงโมลายประยุกต์ 20

21. ปาดแต่งร่องข้างใบให้เป็นร่องโค้งทั้งสองข้าง 21

22. สลักริมใบแบบพลิกมีดให้มาบรรจบกันที่ส่วนปลายของเส้นกลางใบ 22


เล่มที่ 9 เรื่อง การแกะสลักแตงโมลายประยุกต์ 21

23. สลักใบใต้ดอกโดยรอบ 23

24. ด้านข้างของแตงโมลายประยุกต์ 24


เล่มที่ 9 เรื่อง การแกะสลักแตงโมลายประยุกต์ 22

25. ปาดแต่งส่วนใต้ใบให้ต่าลง เพื่อให้ใบเด่นขึ้นโดยรอบ 25

26. ภาพสาเร็จ 26

ที่มำของภำพ 1-26 : สมหมำย บุญสมทบ (2554)


เล่มที่ 9 เรื่อง การแกะสลักแตงโมลายประยุกต์ 23

กำรดูแลรักษำแตงโมแกะสลักลำยประยุกต์ แตงโมที่แกะสลักเสร็จแล้วทั้งผล ต้องฉีดน้า และคลุมด้วยผ้าขาวบาง หรือคลุมด้วย ถุงพลาสติก แช่ตู้เย็นช่องธรรมดาจนกว่าจะใช้งาน

กำรใช้งำนแตงโมลำยประยุกต์ สามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้หลายลักษณะดังนี้ (ควรคานึงถึงขนาดของการนาไปใช้ด้วย) 1. 2.

การจัดจานอาหาร การจัดทดแทนดอกไม้สด

โอ้โห! สวยจัง

ที่มำของภำพ : บุรินทร์ภัทร (2554)


เล่มที่ 9 เรื่อง การแกะสลักแตงโมลายประยุกต์ 24

ข้อเสนอแนะ 1. นั ก เรี ย นสามารถใช้ ผั ก ผลไม้ ข นาดใหญ่ ช นิ ด อื่ น แทนแตงโมได้ เช่ น แคนตาลู ป ฟั ก ทอง มะละกอ เป็นต้น 2. การแกะสลั ก ผลไม้ ล ายประยุ ก ต์ สามารถประยุ ก ต์ ไ ด้ ห ลายลั ก ษณะ เช่ น ลั ก ษณะ การซ้อนดอกไม้ ดอกตูม และใบไม้ หรือการนาลายพื้นฐานมาประกอบกันเป็นลวดลายใหม่ ขึ้นอยู่กับความคิดสร้างสรรค์ของผู้แกะสลัก 3. การแกะสลักแตงโมควรแกะสลักเป็นลาดับสุดท้ายและควรใช้งานทันที ไม่ควรแกะทิ้งไว้ ข้ามคืน เพราะแตงโมจะเหี่ยวและเสียรูปทรง 4. แตงโมเป็นผลไม้ที่มีน้ามากและเนื้อแน่น มีดที่ใช้แกะสลักต้องคม ลวดลายที่แกะสลักจะ คมชัดสวยงาม

การแกะสลักมะละกอลายประยุกต์

การแกะสลักแตงโมลายประยุกต์

ที่มำของภำพ : ณภัทร (2552) และสมหมำย บุญสมทบ (2554)

การดูแลรักษาวัสดุอุปกรณ์ เมื่อเราปฏิบัติงานเรียบร้อยแล้ว เราต้องเก็บรักษาวัสดุอุปกรณ์ให้เป็นที่ เพื่อความเป็น ระเบียบเรียบร้อย และสามารถนามาใช้ครั้งต่อไปได้สะดวก โดยมีข้อปฏิบัติดังนี้ 1. หลังจากใช้วัสดุอุปกรณ์ในการแกะสลักแล้วควรเก็บทุกครั้ง 2. ก่อนเก็บวัสดุอุปกรณ์ควรล้างทาความสะอาดแล้วใช้ผ้าเช็ดให้แห้ง ถ้าเป็นมีดชนิดต่างๆ ควรเช็ดด้วยน้ามันก่อนเก็บ 3. เมื่อทาความสะอาดวัสดุอุปกรณ์แล้ว เก็บใส่ซอง ใส่กล่อง และเก็บในตู้ให้เป็นระเบียบ 4.


เล่มที่ 9 เรื่อง การแกะสลักแตงโมลายประยุกต์ 25

ใบงำน เรื่อง การแกะสลักแตงโมลายประยุกต์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 เวลา 1 ชั่วโมง

จุดประสงค์ 1. นักเรียนอธิบายขั้นตอนการแกะสลักแตงโมลายประยุกต์ได้ 2. นักเรียนเลือกใช้วัสดุอุปกรณ์ได้ถูกต้อง ปลอดภัย และเหมาะสมกับงาน 3. นักเรียนฝึกแกะสลักแตงโมลายประยุกต์ได้ถูกต้องตามขั้นตอน 4. นักเรียนมุ่งมั่นในการทางาน มีความตั้งใจ และรับผิดชอบในการทาหน้าที่การงานด้วยความ เพียรพยายาม อดทน เพื่อให้งานสาเร็จตามเป้าหมาย วัสดุอุปกรณ์ 1. แตงโม 2. อุปกรณ์ที่ใช้ในการแกะสลัก ได้แก่ มีดบาง มีดแกะสลัก เขียง กะละมัง ถาด เป็นต้น 3. เอกสารประกอบการเรียนรู้เล่มที่ 9 เรื่อง การแกะสลักแตงโมลายประยุกต์ ขั้นตอนกำรปฏิบัติงำน 1. แบ่งกลุ่มนักเรียน กลุ่มละ 6 คน 2. สมาชิ ก กลุ่ ม ร่ ว มกั น ศึ ก ษาวิ ธี ก ารแกะสลั ก แตงโมลายประยุ ก ต์ ตามขั้ น ตอนในเอกสาร ประกอบการเรียนรู้ เล่มที่ 9 เรื่อง การแกะสลักแตงโมลายประยุกต์ หน้า 10-22 3. นักเรียนแกะสลักแตงโมลายประยุกต์ กลุ่มละ 1 ผล 4. สมาชิกกลุ่มร่วมกันบันทึกข้อมูลลงในรายงานผลการปฏิบัติงานกลุ่ม 5. ส่งตัวแทนออกมานาเสนอผลงาน ข้อควรระวัง ขณะปฏิบัติงานควรมีสมาธิ ไม่เล่นหรือพูดคุยกัน และควรระมัดระวังใน การใช้อุปกรณ์ที่มีคม เช่น มีดบาง มีดแกะสลัก เพราะอาจทาให้เกิดอันตรายได้ นอกจากนีแ้ ตงโมยังเป็นผลไม้ที่มีน้ามากและเนื้อแน่น มีดที่ใช้แกะสลักต้องคม ลวดลายที่แกะสลักจึงจะคมชัดสวยงาม


เล่มที่ 9 เรื่อง การแกะสลักแตงโมลายประยุกต์ 26

รำยงำนผลกำรปฏิบัติงำนกลุ่ม เรื่อง กำรแกะสลักแตงโมลำยประยุกต์ กลุ่มที.่ ........................ชั้น.......................... รำยชื่อสมำชิก ......................................................................................................................................... ......................................................................................................................................... ......................................................................................................................................... ......................................................................................................................................... .........................................................................................................................................

1. วัสดุอุปกรณ์ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... 2. ขั้นตอนกำรแกะสลักแตงโมลำยประยุกต์ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... 3. ประโยชน์กำรใช้สอย ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ...............................................................................................................................................................................


เล่มที่ 9 เรื่อง การแกะสลักแตงโมลายประยุกต์ 27

4. ปัญหำและอุปสรรคในกำรทำงำน .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 5. กำรแก้ไขปัญหำ ............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. ............ 6. กำรเปรียบเทียบผลงำนกับกลุ่มอื่น ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 7. แนวทำงในกำรปฏิบัติงำนในครั้งต่อไป ........................................................................................................................................................ ..................... ............................................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................. ........................................................................................................................................... ...................................

สู้ๆนะจ๊ะเด็กๆ

ลงชื่อ....................................................หัวหน้ำกลุ่ม (...................................................)


เล่มที่ 9 เรื่อง การแกะสลักแตงโมลายประยุกต์ 28

แบบฝึกหัด กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่อง การแกะสลักแตงโมลายประยุกต์

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เวลา 10 นาที

คำชี้แจง ให้นักเรียนทาเครื่องหมาย  ลงในช่อง “ถูกต้อง” ถ้าเนื้อหานั้นกล่าวถูกต้อง และ  “ไม่ถูกต้อง” ถ้าเนื้อหานั้นกล่าวผิด

เนื้อหำ

ถูกต้อง

ไม่ถูกต้อง

1. แตงโม เป็นพืชตระกูลเดียวกับแตง ภาคอีสาน เรียก บักโม ภาคเหนือเรียก บะเต้า มีชื่อสามัญว่า Watermelon แปลว่า “แตงน้า” 2. การเลือกแตงโมต้องเลือกให้เหมาะกับงานที่จะใช้ เพราะมีทั้งทรงกลมและทรงรี เลือกผิวเปลือกสีสด สีสวยทั้งลูก และเลือกแตงโมที่สุกมาก 3.การแกะสลักแตงโมลายประยุกต์สามารถแกะสลัก ดอกรั กเร่ ที่มีกลี บโค้ ง ปลายแหลม ผสมกับวิ ธีการ ปาดร่ อ งโค้ ง มนของการแกะสลั ก ดอกบานชื่ น เข้ า ด้วยกันได้ 4.แตงโมเป็นผลไม้ที่มีน้ามากและเนื้อแน่น มีดที่ใช้ แกะสลักต้องคม เพราะจะทาให้เห็นลวดลายชัดเจน และสวยงาม 5.เมื่อทาความสะอาดวัสดุอุปกรณ์แล้ว ไม่ต้องเก็บใส่ ใส่กล่องหรือใส่ตู้ ทาให้ค้นหาได้สะดวก

ชื่อ................................................นามสกุล....................................................ชั้น ...........เลขที่ .............


เล่มที่ 9 เรื่อง การแกะสลักแตงโมลายประยุกต์ 29

แบบทดสอบหลังเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่อง การแกะสลักแตงโมลายประยุกต์

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เวลา 10 นาที

คำชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกที่สุด และกาเครื่องหมาย X ลงในกระดาษคาตอบ 1. ขั้นตอนแรกของการแกะสลักแตงโมประยุกต์คือข้อใด ก. แบ่งแตงโมออกเป็น 16 กลีบ ข. เลือกแตงโมที่มีผลค่อนข้างเรียว ค. ปาดแต่งส่วนรอบนอกของวงเกสร ง. สลักกลีบแบบพลิกมีดจนเต็มเกสร 2. เพราะเหตุใดจึงไม่ควรแกะสลักแตงโมทิ้งไว้ข้ามคืน ก. แตงโมจะแห้ง ข. แตงโมจะเหลือง ค. แตงโมจะกรอบหักง่าย ง. แตงโมจะเหี่ยว เสียรูปทรง 3. เมื่อแกะสลักแตงโมประยุกต์เสร็จแล้วควรทาอย่างไร ก. ใส่แกงจืด ข. นาไปรับประทาน ค. นาไปจัดรวมกับผักจิ้มอื่นๆ ง. จัดใส่พานเพื่อตกแต่งให้สวยงาม


เล่มที่ 9 เรื่อง การแกะสลักแตงโมลายประยุกต์ 30

4. ข้อใดไม่ใช่ประโยชน์ของงานแกะสลักแตงโมประยุกต์ ก. ใช้เป็นของประดับ ข. ใช้ตกแต่งโต๊ะอาหาร ค. ทาให้อาหารรสชาติดีขึ้น ง. ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ 5. วัสดุอุปกรณ์ที่สาคัญในการแกะสลักแตงโมประยุกต์มีอะไรบ้าง ก. แตงโม, มีดแกะสลัก, ถาด ข. มีดปอก, เขียง, จาน ค. ช้อน, มีด, กะละมัง ง. ถูกทุกข้อการ 6. แกะสลักผลไม้ชนิดใด ควรแกะเป็นลาดับสุดท้าย ก. ฝรั่ง ข. ชมพู่ ค. แตงโม ง. แอปเปิ้ล 7. ขั้นตอนสุดท้ายของการแกะสลักแตงโมลายประยุกต์คือข้อใด ก. แบ่งส่วนลายกลีบดอกให้สับหว่างกลีบเกสรให้ได้จานวน 16 กลีบ ข. กรีดวงเกสรช่วงกึ่งกลางของผลแตงโมให้มีขนาดกว้าง 16 ซม. ค. ปาดแต่งส่วนใต้ใบให้ต่าลง เพื่อให้ใบเด่นขึ้นโดยรอบ ง. กรีดเส้นกลางใบในช่วงระหว่างกลีบดอกชั้นที่ 3 8. ขั้นตอนแรกในงานแกะสลักคือข้อใด ก. ล้างทาความสะอาด ข. ตกแต่งผลงาน ค. เลือกวัสดุ ง. ออกแบบ


เล่มที่ 9 เรื่อง การแกะสลักแตงโมลายประยุกต์ 31

9. สิ่งสาคัญในการแกะสลักคือข้อใด ก. ไม่ใช้ดินสอขีดกะระยะ ข. วัสดุต้องสด ค. มีดต้องคม ง. ถูกทุกข้อ 10. การแกะสลักแตงโมประยุกต์ควรเลือกแตงโมตามลักษณะใด ก. แตงโมอ่อน ข. แตงโมที่มีผิวขรุขระ ค. แตงโมที่มีผลกลม ผิวเรียบ เนื้อในแน่น ง. แตงโมที่มีผลเรียว ผิวเรียบ เปลือกหนา

ง่ำยนิดเดียวเอง ใช่ไหมครับ


เล่มที่ 9 เรื่อง การแกะสลักแตงโมลายประยุกต์ 32

เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน – หลังเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

เรื่อง กำรแกะสลักแตงโมลำยประยุกต์

แบบทดสอบก่อนเรียน 1. ค 2. ค 3. ง 4. ก 5. ค 6. ข 7. ก 8. ค 9. ก 10. ง

เก่งมำกเลยจ้ำ

แบบทดสอบหลังเรียน 1. ข 2. ง 3. ง 4. ค 5. ก 6. ค 7. ค 8. ง 9. ง 10. ค


เล่มที่ 9 เรื่อง การแกะสลักแตงโมลายประยุกต์ 33

เฉลยแบบฝึกหัด กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่อง การแกะสลักแตงโมลายประยุกต์

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เวลา 10 นาที

คำชี้แจง ให้นักเรียนทาเครื่องหมาย  ลงในช่อง “ถูกต้อง”ถ้า เนื้อหานั้นกล่าวถูกต้อง และ  “ไม่ถูกต้อง” ถ้าเนื้อหากล่าวผิด

เนื้อหำ 1. แตงโม เป็นพืชตระกูลเดียวกับแตง ภาคอีสาน เรียก บักโม ภาคเหนือเรียก บะเต้า มีชื่อสามัญว่า Watermelon แปลว่า “แตงน้า” 2. การเลือกแตงโมต้องเลือกให้เหมาะกับงานที่จะใช้ เพราะมีทั้งทรงกลมและทรงรี เลือกผิวเปลือกสีสด สีสวยทั้งลูก และเลือกแตงโมที่สุกมาก 3.การแกะสลักแตงโมลายประยุกต์สามารถแกะสลัก ดอกรักเร่ที่มีกลีบโค้ง ปลายแหลม ผสมกับวิธีการ ปาดร่องโค้งมนของการแกะสลักดอกบานชื่นเข้า ด้วยกันได้ 4.แตงโมเป็นผลไม้ที่มีน้ามากและเนื้อแน่น มีดที่ใช้ แกะสลักต้องคม เพราะจะทาให้เห็นลวดลายชัดเจน และสวยงาม 5.เมื่อทาความสะอาดวัสดุอุปกรณ์แล้วไม่ต้องเก็บใส่ ใส่กล่องหรือใส่ตู้ ทาให้ค้นหาได้สะดวก

ถูกต้อง

ไม่ถูกต้อง

 

 

ชื่อ................................................นามสกุล....................................................ชั้น ............เลขที่ ............


เล่มที่ 9 เรื่อง การแกะสลักแตงโมลายประยุกต์ 34

กระดำษคำตอบแบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง กำรแกะสลักแตงโมลำยประยุกต์ ชื่อ.................................นำมสกุล................................ชั้น.......เลขที.่ .........

ข้อ ก ข ค ง 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. รวม

คะแนน


เล่มที่ 9 เรื่อง การแกะสลักแตงโมลายประยุกต์ 35

กระดำษคำตอบแบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง กำรแกะสลักแตงโมลำยประยุกต์ ชื่อ.................................นำมสกุล................................ชั้น.......เลขที.่ .........

ข้อ ก ข ค ง 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. รวม

คะแนน


เล่มที่ 9 เรื่อง การแกะสลักแตงโมลายประยุกต์ 36

บรรณำนุกรม ณภัทร ทองแย้ม. แกะสลักผลไม้ลำยประยุกต์. กรุงเทพ ฯ : วาดศิลป์, 2552. นิดดา หงส์วิวัฒน์. งำนสลักผักและผลไม้. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : แสงแดด, 2551. นิรนาม. “แตงโม ผลไม้ก่อนอาหาร” หมอชำวบ้ำน. 32(380) : ธันวาคม 2553. บุรินทร์ภัทร ชูวงศ์. แกะสลักดอกไม้-ใบ เบื้องต้น. กรุงเทพฯ : ศรีสยามการพิมพ์, 2554. ดารงศักดิ์ นิรันดร์. ศิลปะกำรแกะสลักผลไม้. กรุงเทพฯ : เอ็มไอเอส ชอฟ์เทค, 2550. ศรราม ดีรอด. กำรแกะสลักผลไม้เบื้องต้น. กรุงเทพฯ : วาดศิลป์, 2549.


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.