เรี ยบเรี ยงโดย
ไชยยันต์ พงศะบุตร กศ.บ.นศ.บ.ศษ.ม. ผอ.ส่ วนสื่อประชาสัมพันธ์ กรมประชาสัมพันธ์
หลักเกณฑ์การเขียนสาหรับวิทยุ • ใช้ภาษาชัดเจน • ลาดับเรื่ องอย่างเป็ นเหตุเป็ นผล • ดึงดูดและรักษาความสนใจของผูฟ้ ัง • ให้ขอ้ มูลและบริ บทที่เหมาะสมกับกลุ่ม ผูฟ้ ังเป้ าหมาย
๑. ใช้ ภาษาชัดเจน • หลักการเขียนทางวิทยุ คือ ผูฟ้ ังจะได้ยนิ เพียงครั้งเดียว ไม่วา่ คุณจะรายงานสดจากพื้นที่ มีเวลาตระเตรี ยมบทไม่มากนัก ก่อนออกอากาศจริ ง หรื อมีเวลาพิถีพิถนั กับการเขียนบทก็ ตาม บทเพียงช่วยให้ส่งสารถึงผูฟ้ ังได้เท่านั้น ผูฟ้ ังไม่ได้เห็น หรื ออ่านบทของคุณ เพราะฉะนั้นเวลาเขียนจึงต้องระลึกว่า เขียนให้คนฟัง ไม่ใช่เขียนให้คนอ่าน • พึงจาไว้วา่ ผูฟ้ ังอาจจะทากิจกรรมอื่นร่ วมไปกับการฟังวิทยุ ด้วย เช่นขับรถ ทากับข้าว ฯลฯ หมายความว่าข้อมูลข่าวสาร นั้น ต้องเกี่ยวข้องกับผูฟ้ ัง ให้ความรู ้และน่าสนใจ • พึงจาไว้วา่ ผูฟ้ ังมีโอกาสทาความเข้าใจกับเนื้อหาที่พดู ออก รายการครั้งเดียวเท่านั้น และไม่มีบทให้อ่านตามไปด้วย ไม่มี ภาพ แผนที่หรื อตารางประกอบ ที่จะช่วยให้เข้าใจเรื่ องราว ได้ชดั เจนขึ้น นอกจากนี้ยงั ไม่มีโอกาสขอให้พดู ซ้ าด้วย • ด้วยเหตุน้ ี เนื้ อหาของคุณจึงควรจะฟังง่าย ชัดเจนและ
ติดตามได้สะดวก
๒. ลาดับเรื่องอย่ างเป็ นเหตุเป็ นผล • เริ่ มเรื่ องด้วยการให้เหตุผลว่าทาไมผูฟ้ ังจึงควรรับฟัง บอกผูฟ้ ังว่าเกิดเหตุการณ์อะไร (อะไร ที่ไหน เมื่อไร อย่างไร) และทาไมเรื่ องนี้ถึงสาคัญ ควรนาเสนอ ความคิดทีละความคิด ตรวจดูวา่ ให้ขอ้ มูลในแต่ละ บรรทัด หรื อย่อหน้ามากเกินไป ตรวจด้วยว่ามีการให้ ข้อมูลอย่างสมเหตุสมผลจากย่อหน้าหนึ่ งไปอีกย่อ หน้าหนึ่งหรื อเปล่า เพื่อว่าคนฟังจะได้ตามความคิด ของผูน้ าเสนอได้ง่าย พึงจาไว้เสมอว่า คุณกาลังเล่า เรื่ อง
๓. ดึงดูดและรักษาความสนใจของผู้ฟัง • ใช้ประโยคสั้น ๆ • หลีกเลี่ยงการซ้อนประโยค • เลี่ยงการอ้างคาพูดผูอ้ ื่นโดยตรง • ถ้าเป็ นไปได้ ปรับตัวเลขหรื อข้อความให้ฟังง่าย ๆ (“เกือบ ๒ ล้าน แทนที่จะบอกว่า ๑,๙๙๙,๙๙๘” หรื อ “เมืองทางเหนื อของอังกฤษ แทนที่จะบอกว่า เมืองซึ่ งตั้งอยูห่ ่างจากกรุ งลอนดอนไปทางตะวันตก เฉียงเหนือ ๓๐๐ กิโลเมตร” เป็ นต้น • ชี้ทางให้คนฟัง (เช่น ควรจะบอกตาแหน่งก่อนชื่ อ) • เลี่ยงตัวย่อ
• เลี่ยงตัวย่อหรื อคาย่อมีคาย่อที่ใช้กนั แพร่ หลายพอจะพูดถึงได้โดย ไม่ตอ้ งขยายความ เช่น บีบีซี นาโต้ เอดส์ คาอื่น ๆ จะต้องใช้ชื่อเต็มก่อนตัวย่อเสมอ เช่น สหภาพยุโรป (ไม่ใช่อีย)ู หรื อสหพันธ์สหภาพแรงงาน (ไม่ใช่ทียซู ี )
• เรี ยกตาแหน่ง และยศให้เป็ นเอกภาพ • พูดย้าตาแหน่ง ชื่อ และแนวความคิด (เช่น นโยบายทาง เศรษฐกิจของรัฐบาล) แทนที่จะใช้สรรพนามแทน เพราะผู ้ พูดอาจจะรู ้วา่ สรรพนามคานั้นหมายถึงอะไร แต่ผฟู ้ ังไม่รู้ • อย่ากังวล หากจะย้าข้อเท็จจริ งหรื อแนวคิดที่กาลังอธิบายอยู่ โดยเฉพาะแนวคิดที่ซบั ซ้อนมาก แต่ในกรณี น้ ี ควรจะอธิบาย ด้วยคาพูดต่างกันไป แทนที่จะใช้คาซ้ า ๆ กัน • หลีกเลี่ยงศัพท์วชิ าการ หรื อภาษาเขียน • ระวังการใช้คา เช่น “แต่” “อย่างไรก็ตาม” “ใน ขณะเดียวกัน” (เช่น “อินเดียเป็ นประเทศใหญ่และยากจน” มีนยั ยะทางความหมายแตกต่างจาก “อินเดียเป็ นประเทศ ใหญ่ แต่ยากจน”) • ระวังคาพูดขบขัน การเปรี ยบเปรย หรื อ การพูดตลกชวนหัว เพราะไม่ใช่ทุกคนจะเข้าใจตรงกัน บางคนอาจจะไม่เข้าใจก็ ได้
๔. ให้ขอ้ มูลประกอบและบริ บทที่เหมาะสม กับผูฟ้ ังเป้ าหมาย • ตรวจสอบว่าอ้างอิงข้อมูล คาพูดหรื อความเห็นทุกครั้ง ที่มีการ กล่าวอ้างถึง • หลีกเลี่ยงการใส่ความคิดเห็น การแสดงความคิดเห็นยังอาจจะ ทาอย่างอ้อม ๆ ก็ได้ ตัวอย่างเช่น “นายคลินตันบอกว่ารัฐบาลเซอร์เบียคงจะปราชัย มิโลเซวิชบอกว่า รัฐบาลของเขาจะไม่ยอมจานน” • การเขียนจะต้องถูกต้อง สมดุล ไม่มีอคติ สะท้อนแนว ความเห็นที่ต่างกันเกี่ยวกับ เหตุการณ์น้ นั อย่างครบถ้วน แต่ท้ งั นี้ไม่ได้หมายความว่าจะให้ ข้อสรุ ปไม่ได้ แต่วา่ ข้อสรุ ปที่ได้ ต้องมาจากข้อมูลในรายงาน ไม่ใช่มาจากความเห็น ส่วนตัวหรื อความเห็น ของบุคคลคนใดบุคคลหนึ่ง
๕. อ่ านออกเสี ยงทานเมือ่ เขียนเสร็จ • มีเหตุผลสองข้อที่ทาเช่นนี้ –ข้อแรก ข้อความที่ดูสวยงามและ สมบูรณ์แบบบนหน้ากระดาษพออ่าน ออกเสี ยงแล้ว อาจฟังซับซ้อน วกวน หรื อยาวจนผูอ้ ่านหมดลมเวลาอ่านจริ ง –เหตุผลอีกข้อหนึ่ง คือเพื่อให้แน่ใจว่า ผูเ้ ขียนตอบคาถามทุกข้อที่ต้งั ไว้ให้ผฟู้ ัง สงสัย วิธีน้ ีจะได้ผลดีข้ ึน หากคุณอ่าน ให้คนอื่นฟัง
การเขียนข่ าว ประเด็นสาคัญ คือ • ลีลาและเนื้อหา • ประโยคแรก • คาเปิ ดเรื่ อง • การลาดับเหตุการณ์ • คาง่าย ๆ • เสี ยง • พูดซ้ า • การอ้างอิงที่มา • สี สนั และคาคม
๑. ลีลาและเนื้อหา ควรใช้ภาษาพูดไม่ใช่ภาษาทั้งนี้เพราะว่า ผูฟ้ ังมีโอกาสเข้าใจเรื่ องได้ครั้งเดียว ไม่ สามารถจะอ่านซ้ าข้อความที่ยาก ๆ หรื อว่า กากวม นอกจากนี้ การรับสัญญาณวิทยุยงั อาจเป็ นอุปสรรคต่อการฟังด้วย ในกรณี ที่ ภาษาที่ออกอากาศไม่ใช่ภาษาแม่ของผูฟ้ ัง จะยิง่ ทาให้การรับฟังลาบากขึ้นไปอีก เพราะฉะนั้น นอกจากเราจะต้องเน้นความ ถูกต้อง และเป็ นกลางแล้ว ยังต้องให้ ชัดเจนและน่าสนใจด้วย
๒. ประโยคแรก • ต้องทาให้เรื่ องชัดเจนว่าเรื่ องจะเดินไปทางใด แต่ตอ้ ง ไม่ให้ขอ้ มูลมากเกินไป ในประโยคแรกไม่ควรเขียน ประโยคซ้อน ยาว ๆ เช่น – “ผู้นาปาเลสไตน์ ซึ่งเป็ นตัวแทนของฝ่ ายต่ าง ๆ ที่เป็ นอริ กันและเกี่ยวพัน กับเหตุปะทะรุนแรงในฉนวนกาซ่ าที่เกิดขึน้ ในช่ วงสองสามวันนี ้ เข้ า ร่ วมประชุมในเมืองกาซ่ าซิ ตี้ เพื่อพยายามหาทางยุติเหตุนองเลือดซึ่ งทา ให้ มีผ้ เู สี ยชี วิตไปแล้ ว หนึ่งคน และอีกราว ๙๐ คนได้ รับบาดเจ็บ”
• ประโยคนี้ควรจะแยกออกเป็ นประโยคสั้น สองประโยค แทน
– “ผู้นาปาเลสไตน์ ในฉนวนกาซ่ าร่ วมกันหารื อเพื่อยุติเหตุรุนแรงระหว่ าง ชาวปาเลสไตน์ หลายกลุ่มที่เป็ นอริ กัน การประชุมครั้ งนีจ้ ัดที่เมืองกาซ่ า ซิ ตี้ หลังเกิดการสู้รบต่ อเนื่องหลายวัน จนทาให้ มีผ้ เู สี ยชี วิตหนึ่งคน และ อีกราวเก้ าสิ บคนได้ รับบาดเจ็บ”
• ประโยคที่แต่งมาหรู อาจจะดีและทาให้เรื่ องกระชับ แต่วา่ จะมีประโยชน์อะไรถ้าผูฟ้ ังฟังแล้ว รู้สึกงุนงงหรื อสับสน ไม่มีกฎเกณฑ์ตายตัวว่าประโยคควรจะสั้นแค่ไหน การ นาเอาประโยคสั้น ๆ ห้วน ๆ มาเรี ยงต่อกันอาจจะทาให้ไม่ น่าฟัง เพราะฉะนั้น อาจจะใช้ประโยคยาวสลับสั้น เพื่อให้ ฟังรื่ นหู แต่โดยทัว่ ไปแล้ว ประโยคสั้นดีกว่าประโยคยาว
๓. คาปิ ดเรื่อง • ควรจะพิจารณาแยกไปต่างหาก พึงจาไว้วา่ เวลา นักข่าวเขียนข่าวมักจะคิดถึงข่าวนั้นอย่างเดียว แต่วา่ ผูฟ้ ังอาจคิดถึงเรื่ องอื่นด้วย เช่น เรื่ องที่เพิงฟังจบไป หรื ออาจจะไม่ทราบว่าเรื่ องเก่าจบไปแล้ว ด้วยเหตุน้ ี จาเป็ นต้องปลุกคนฟังให้ตื่นจากภวังค์ความคิดของ ตัวเอง และรับรู ้เรื่ องใหม่ที่นาเสนอ พยายามพูดให้ ชัดว่ากาลังนาเสนอเรื่ องอะไร
๔. การลาดับเหตุการณ์ • นาเสนอเรื่ องกับผูฟ้ ังอย่างชัดเจนและลาดับเหตุการณ์อย่าง เป็ นเหตุผล หนังสื อพิมพ์อาจจะโปรยหัวข่าวสามสี่ บรรทัด แรกด้วยเหตุการณ์สาคัญ ๆ แล้วค่อยกลับมาขยายความแต่ ละประเด็น แต่วา่ วิทยุทาอย่างนั้นไม่ได้ เพราะไม่มีเวลา และยังอาจสร้างความสับสน ตัวอย่างเช่น ประธานาธิ บดี ก. กาลังกล่าวปราศรัยเกี่ยวกับอาวุธหรื อการกาจัดอาวุธใน ประเทศ ข. ให้รายงานคาพูดของประธานาธิ บดีก่อนที่จะ เพิม่ ข้อมูลเบื้องหลัง ไม่ควรจะเปิ ดเรื่ องด้วยประโยคที่สรุ ป คาพูดประธานาธิ บดี แล้วเติมข้อมูลเบื้องหลังข่าว แล้ว กลับมารายงานสุ นทรพจน์อีก ควรจะเอาข้อเท็จจริ งก่อน แล้วค่อยให้ขอ้ มูลสนับสนุ น
๕. คาง่าย ๆ • ควรเลือกใช้คาง่าย คาพื้น ๆ ที่ใช้กนั ทัว่ ไป เป็ นภาษา สุ ภาพ โดยเฉพาะอย่างยิง่ เมื่อผูฟ้ ังมาจากหลากหลาย ชนชั้น สาขาอาชีพ ระดับการศึกษา และสัญชาติ ไม่มี ใครอยากฟังประโยคยาว ๆ เยิน่ เย่อ เต็มไปด้วยคา ขยายความ เวลาเขียนควรใช้กรรตุวาจก (Active voice) ว่าใครทาอะไรกับใคร แทนกรรมวาจก (passive) ว่าใครถูกกระทา คาศัพท์ที่เข้าใจได้ ทันทีดีกว่าศัพท์ที่ฟังหรู แต่เยิน่ เย่อ เช่นพูดว่า “ประเมินความเสี ยหาย” ดีกว่า “ดาเนินการประเมิน ความเสี ยหาย” อย่าพูดวกวน หรื อพูดห้วน ๆ จน กลายเป็ นด่วนสรุ ป
๖. เสี ยง • ควรใช้คาที่รับฟังได้ชดั เจน หมัน่ อ่านออกเสี ยงเวลา ตรวจต้นฉบับ และลองสังเกตว่าเสี ยงชัดเจนเพียงไร ใส่ ลูกน้ าหรื อเว้นวรรคถ้าหากจะช่วยให้การแบ่ง วรรคตอน ถึงแม้วา่ การแบ่งวรรคตอนเช่นนี้ อาจจะ ไม่ถูกหลักไวยากรณ์ก็ตาม แต่จะช่วยทอนประโยค ให้ส้ นั ลง
๗. พูดซ้า • ข้อความสั้น ๆ จาเป็ นสาหรับข่าวทางวิทยุโทรทัศน์ แต่มีบางกรณี ที่ควรพูดซ้ า เพื่อให้ผฟู ้ ังได้รับสาร ครบถ้วน เช่น ชื่ อประเทศ ผูพ้ ดู หรื อแหล่งข่าว ควร จะพูดถึงมากกว่าหนึ่งครั้งในเรื่ องเพราะผูฟ้ ังคงจะ รู ้สึกหงุดหงิดมาก ถ้าหากว่าพลาดประโยคแรกไปจน ทาให้ฟังเรื่ องที่เหลือไม่เข้าใจ เพราะผูเ้ ขียนใช้คา สรรพนาม “เธอ” แทนแหล่งข่าว หรื อ “ที่นนั่ ” แทน ชื่อประเทศ ตลอดเรื่ อง
๘. การอ้ างอิงทีม่ า • การอ้างอิงที่มามากดีกว่าน้อย ตรวจข้อมูลให้กระจ่างว่าได้รับ การยืนยันจากแหล่งข่าวอิสระหรื อไม่ ถ้าหากไม่ได้รับการยืนยัน ต้องอ้างอิงคาพูดนั้นให้ชดั เจน อาจเริ่ มประโยคด้วยชื่อบุคคล หรื อแหล่งข่าวนั้น ๆ เลยก็ได้ เหตุการณ์ที่มีกองกาลังความมัน่ คง เข้าไปเกี่ยวข้องควรจะระบุแหล่งข่าวให้ชดั เจนทุกครั้ง ยกเว้นแต่ ว่า ข้อมูลที่ได้รับจากกองกาลังความมัน่ คงนั้นตรงกับหลักฐาน จากแหล่งข่าวอิสระ กฎข้อนี้ควรใช้ในกรณี ที่อา้ งคาพูดของ นักการเมือง กลุ่มจรยุทธ์ และกลุ่มผลประโยชน์ท้ งั หลายด้วย นอกจากนี้ ให้ระมัดระวังการอ้างตัวเลข เช่นการคาดคะเน จานวนฝูงชน และจานวนผูบ้ าดเจ็บเสี ยชีวติ ในเหตุร้ายต่าง ๆ ซึ่ง มักจะคาดมากหรื อน้อยเกินจริ ง เพราะฉะนั้น คุณควรจะอ้างอิง ที่มาของตัวเลขนั้น ๆ และไม่ระบุยอดชัดเจนจนเกินไป
๙. สี สันและคาคม • อย่ากังวลไม่กล้าใช้คาพูดที่มีสีสนั หรื อคาคมถ้าหากจะช่วยทาให้เรื่ องมี ชีวิตชีวา แต่ถา้ ใช้วลีไหนมากเกินไปก็อาจะเฝื อได้ การใช้คาพูดสร้าง สถานการณ์ เหมือนเป็ น “ละคร” ไม่ได้สื่อความหมายมากขึ้น เช่นเดียวกับการใส่สีใส่ไข่ ควรระวังเวลาบรรยายความเสี ยหายจากม หันตภัย ตอนที่เกิดเหตุก๊าซระเบิดทาลายเมืองแห่ งหนึ่ งในเม็กซิ โก เสี ยหาย สานักข่าวแห่งหนึ่งรายงานว่า เมืองดูเหมือนถูกแผ่นดินไหว ทาลายราบเป็ นหน้ากลอง ผูเ้ ขียนคนเดียวกันนี้อาจจะเปรี ยบเทียบผล ของแผ่นดินไหวว่าเหมือนเหตุก๊าซระเบิดก็ได้ การเปรี ยบเทียบแบบนี้ ไม่ช่วยผูฟ้ ังเท่าไร • ในรายงานอีกชิ้นหนึ่ง ผูส้ ื่ อข่าวพูดถึงความเศร้ าสลดในงานศพ แต่ คาพูดนี้ ไม่ได้บอกผูฟ้ ังอย่างที่เห็นในภาพข่าวทางโทรทัศน์ว่า ผูค้ นที่ ไปร่ วมงานร่ าไห้ และส่งต่อหี บศพข้ามศีรษะจากคนหนึ่ งไปอีกคนหนึ่ ง หรื ออีกตัวอย่างหนึ่ง บอกว่า • “ฝูงชนราวหนึ่งแสนคนชุมนุมประท้วงที่จตั ุรัสแห่งหนึ่งในกรุ งปราก” • เรื่ องเดียวกันนี้ ผูเ้ ขียนมาเพิ่มเติมใหม่ในภายหลังให้ภาพชัดเจนขึ้นว่า • “ฝูงชนราวหนึ่งแสนคนชุมนุมประท้วงที่จตั ุรัสเวนเชสลาสในกรุ ง ปราก ขณะที่หิมะตกหนัก”
บทที่ ๓ โครงสร้ างข่ าวสั้ น ๑. มีอะไรใหม่ ๒. ทาไมถึงสาคัญ ๓. แล้วจะเกิดอะไรต่อไป
การเขียนข่ าว • การเขียนข่าว คือ การรายงานเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ต้อง เป็ นเรื่ องที่อยูใ่ นความสนใจของประชาชน ข่าวเป็ น ความจริ ง บอกว่าอะไรเกิดขึ้น เกิดขึ้นอย่างไร ใน สาระของข่าว และรายละเอียดมีอะไรบ้าง ข่าวจบแค่ ไหนแค่น้ นั ตามกระแส อาจจะมีผลกระทบสู ง ต้องมี ความรวดเร็ ว ไม่มีความคิดเห็น ไม่มีบทสรุ ป
โครงสร้ างการเขียนข่ าว มี ๓ ส่ วน • จะมีพาดหัวข่าว (Head) • บทนา (Lead) • เนื้อเรื่ อง (Body) แต่ปัจจุบนั นี้มีการพัฒนาขึ้นมา สื่ อบอกว่าตัวบทนาหรื อ ความนาไม่ตอ้ ง เขียน เช่น สานักงานเลขาธิ การสภาการศึกษาจะจัด กิจกรรมอะไร เช่น เลขาธิ การสภาการศึกษา กล่าวว่า... ให้สัมภาษณ์วา่ ...ตัด บทนาออก
• สรุปว่ าเดิมมี ๓ คือ Head Lead และ Body ตอนนีพ้ ฒ ั นาเป็ น ๒ คือ Head และตามด้ วย Body
๑. มีอะไรใหม่ (เรื่ องมีวา่ อย่างไร เป็ นเรื่ องอะไร) • ใครพูดหรื อทาอะไร กับใคร ที่ไหน • อย่างไร • เหตุเกิดในลักษณะไหน
• ทาไม
๒. ทาไมถึงสาคัญ (ทาไมผูฟ้ ังถึงอยากจะฟังต่อ)
๓. แล้วจะเกิดอะไรต่อไป • วิเคราะห์ มองไปข้างหน้า แต่ไม่ใช่คาดเดา แต่เป็ นการประเมิน สถานการณ์ตาม ข้อมูลที่มี เมื่อเขียนแล้ว ควรถามตัวเองว่าประโยคนี้เป็ นคาพูดของ ใคร แล้วให้ระบุ แหล่งข่าวที่ใช้อา้ งอิงคาพูดและข้อเท็จจริ ง ตลอดจนความเห็นที่ยงั เป็ นข้อถกเถียงกัน อยูท่ ุกครั้ง เราไม่จาเป็ นต้องบอกว่าใครเป็ นคนพูดว่า “กรุ งปารี สเป็ น เมืองหลวงของ ฝรั่งเศส” แต่จาเป็ นต้องบอกว่าใครเป็ นคนพูดว่า “กรุ งปารี สเป็ น นครหลวงที่สวยที่สุด” เพราะเป็ นการแสดงความคิดเห็น ควรบอกว่าใครมีความเห็นทานอง นั้น เช่น “หลายคน บอกว่ากรุ งปารี สเป็ นนครหลวงที่สวยที่สุด”
• นักข่าวที่ดีจาเป็ นต้องตั้งข้อสงสัยกับแหล่งข่าวทุก แหล่ง และจะต้อง ตรวจสอบ ตรวจสอบ และ ตรวจสอบ ข้อเท็จจริ งอยูต่ ลอดเวลา
การสื่ อสาร • มนุษย์จะต้องสื่ อสารให้ได้ ๑๐๐% แต่จะมี ประสิ ทธิภาพประสิ ทธิผลเพียง ๘๓% • มองเห็นได้ ๘๓% การพูดต้องพูดให้ชดั เจน เข้าใจ ง่ายและสื่ อความหมายได้ เพราะการพูดไม่สามารถ จะทวนได้อีก • การฟังมีประสิ ทธิภาพเพียง ๑๑% • การดมกลิ่นจะมีประสิ ทธิ ภาพเพียง ๓% • การสัมผัส ๓% หมายถึง ความใกล้ชิด – มี ๓ S ได้แก่ Smell (การดมกลิ่น), Smile (การยิม้ แย้มแจ่มใส), Surrounding (สภาพ สิ่ งแวดล้อม)
การแบ่งข่าว:แบ่งตามเนื้อหา อาจแบ่งได้ ๓ ประเภท คือ • ๑. ข่าวตรง (Straight News) เป็ นการรายงาน เหตุการณ์ตรงตามที่เกิดขึ้น เช่น ข่าวประจาวัน ทั้งข่าวใน ประเทศ ข่าวต่างประเทศ ข่าวกีฬา เป็ นต้น • ๒. วิจารณ์ข่าว (News Commentary) นอกจาก รายงานข่าวแบบให้ข่าวสารแล้วยังมีการเสนอความคิด ประกอบไปด้วย • ๓. วิเคราะห์ข่าว (News Analysis) เป็ นการให้ สาระเบื้องหลังข่าว มิได้ม่งุ เฉพาะให้ข่าวสารเท่านั้น แต่ ต้องการให้ความรู ้และเป็ นการศึกษาไปด้วย ส่วนใหญ่จะเป็ น ข่าวสาคัญ ๆ เช่น ข่าวการเมือง ข่าวการศึกษาเป็ นต้น
ข่าวเผยแพร่ ทางหนังสื อพิมพ์ มี ๓ ลักษณะ ๑. Profit Organization คือ หน่ วยงานที่เป็ นบริ ษทั ห้างร้าน เอกชน เพราะฉะนั้น สื่ อ มวลชนส่ ว นใหญ่ จ ะไม่ ล งให้ เพราะ บริ ษัท ฯ จะซื้ อ เนื้ อ ที่ ใ นการโฆษณา แต่ ถ้า บริ ษัทเอกชนอยากจะลงข่าวต้องมาร่ วมกันทางานกับหน่ วยงานราชการ และให้ราชการ เขียนข่าวให้ จะส่ งผลทาให้บริ ษทั ฯ ได้ลงเป็ นข่าวด้วย ๒. Non Profit Organization หน่ วยงานที่เป็ นส่ วนราชการ หรื อรัฐวิสาหกิจ เมื่อ เขียนข่าวส่ งไปหนังสื อพิมพ์จะเมตตา และลงให้ทนั ที ๓. Non Performance Organization หรื อกลุ่ ม NGO เหมือนส่ วน ราชการองค์กรอสิ ระไม่แสวงหาผลประโยชน์ ไม่แสวงหากาไร สื่ อก็จะลงให้เช่นกัน คนเขียนข่าวดีตอ้ งรู ้จกั การอ่านหนังสื อพิมพ์ คาพูดบางคาจะเห็ นว่าเปลี่ยนแปลงไปโดยสภาพ การเขียนต้องเขียนเป็ นกลาง ๆ มีเทคนิคหลายอย่างมารวมกัน ลักษณะของข่าวที่ดี คือ ความกระชับ กะทัดรัด เขียนให้ตรงจุด ตรงประเด็น การเขียนจะต้องสื่ อ ให้ รู้ เรื่ อ ง ถู กต้อ ง ชัด เจน ต้อ งค านึ ง ถึ งผูร้ ั บ เพราะผูร้ ั บ มี ค วามแตกต่ า งกัน โดยสภาพ ท้องถิ่น ต้องสื่ อให้ถูกสถานที่ ถูกกลุ่มผูฟ้ ัง ข่าวบางชิ้นถ้าเราสื่ อความหมายได้ในเรื่ องของ คนรับ เพราะคนเขียนไม่ได้อ่าน คนอ่ างไม่เขียน คนเขียนจะเขียนตามภาษาที่เราเห็ น แต่ คนอ่านจะต้องคานึงถึงผูฟ้ ังว่า อ่านอย่างไร ดังนั้นข่าวหนังสื อพิมพ์ ข่าววิทยุ ข่าวโทรทัศน์ จะมีวธิ ีการเขียนข่าวที่แตกต่างกัน
เนื้อหาการเขียนข่าว มี ๒ แบบ คือ ๑. การเขี ย นข่า วที่ เกิ ดขึ้ นแล้ว เช่ น รายงานการวิจยั สาเร็ จแล้ว งานที่ไป ปฏิ บ ตั ิ ม าส าเร็ จ แล้ว เป็ นส่ ว นหนึ่ ง ของงานที่ ป ระสบ ความสาเร็ จ ๒. การเขี ยนข่าวที่ ยงั ไม่เกิ ดขึ้น เป็ นข่าวล่วงหน้า บอก ความเป็ นอนาคต คาดว่าจะเกิด ข่าวประเภทนี้ถา้ มองให้ลึกซึ้ งส่ วนใหญ่จะ เป็ นข่าวในเชิงรุ ก หรื อข่าย Pro Active ข่าวประเภทนี้ เป็ นส่ วนหนึ่ ง ที่จะทาให้องค์กร ของเราสามารถเป็ นที่ยอมรับนับถือได้เป็ นอย่างดี ข่าวที่ มีผลกระทบ ทางด้า นจิ ต ใจ (Impulse) กับ ที่ มี ผ ลกระทบ ทางด้านรู ปธรรม หรื อ วัต ถุ (Impact) มี ส่ ว นท าให้ ข่ า วมี ค วาม น่าสนใจมากยิง่ ขึ้น
การจัดกิจกรรม ถือเป็ นแนวทางในการสร้าง ภาพพจน์ให้แก่ องค์กรประกอบด้วย • กิจกรรม Activity + วันเดือนปี Diary + ราชวงศ์ Royal + กิจกรรมเพื่อสังคม Social Contribute + กิจกรรมเพื่อสังคม Social Responsibility
• เพราะฉะนั้นเราจะต้องสร้างข่าวตัว Activity ซึ่งเป็ น กิจกรรมที่จะทา Organization คือ หน่วยงานของเรา เท่ากับตัว Activity ส่วน Diary คือ ๓๖๕ วัน ๑๒ เดือน เราจะทาอะไรบ้าง เพราะฉะนั้นกิจกรรมจะทาตามสูตร ทฤษฎีน้ ี ส่วน Royal การถวายพระราชกุศลทุกพระองค์ ทั้งปี เป็ นงานประชาสัมพันธ์ได้หมด • Social Contribute การช่วยเหลือสังคม สมมุติวา่ น้ าท่วมเรารวบรวมของไปช่วยเหลือ อาจจะดูวา่ นอกเหนือ หน้าที่ของเรา แต่ถือเป็ นความรับผิดชอบต่อสังคม Social Responsibility เป็ นหน้าที่ของเรา เช่น เราไปดูงาน ไปสารวจ จัดตั้งห้องสมุดชุมชน สานักงาน เลขาธิการสภาการศึกษาจัดตั้งห้องสมุดชุมชนช่วยเหลือ ประชาชน โดยร่ วมมือกับประชาชน นี่คือความรับผิดชอบ มี หน้าที่ช่วยเหลือด้านการศึกษา หรื อกรณี โรงเรี ยนไทยรัฐ วิทยา มีหน้าที่ส่งเสริ มการจัดการเรี ยนการสอนให้เด็ก นักเรี ยน แต่เกิดไฟไหม้ น้ าท่วม ไทยรัฐเปิ ดรับบริ จาคสิ่ งของ เพื่อนาไปช่วยเหลือความเดือดร้อน เรี ยกว่า Social Contribute การช่วยเหลือเป็ นภาพพจน์ขององค์กร ซึ่ง จะทาให้ภาพลักษณ์เกิดขึ้น ดังนั้น Positioning คือ เรื่ องของการรักษาภาพลักษณ์ ฐานะ ตาแหน่ง ซึ่งทุก หน่วยงานจะต้องทากิจกรรมดังกล่าวนี้ให้มาก ๆ
หลักการเขียนข่าว : แปลก ใหม่ ใหญ่ ดัง • • • •
๑. ข่าวนั้นของแปลกไหม ๒. ข่าวนั้นของใหม่ ไม่เคยค้นพบมาก่อน ๓. ข่าวนั้นใหญ่ มีผลกระทบต่อส่ วนรวมมากแค่ไหน ๔. ข่าวนั้นดังไม่เหมือนชาวบ้าน จะได้รับความสนใจ
คาเชื่อมที่ทาให้การเขียนข่าวง่ายขึ้น มี ๕ คา ดังนี้ ๑. “กล่าวว่า” เป็ นเรื่ องที่บอกให้ทราบว่ามีการเปลี่ยนแปลง เป็ น คาที่เบาที่สุดสามารถเขียนได้ทุกวัน เพราะเป็ นเรื่ องที่ สมบูรณ์แล้ว ๒. “ชี้แจง” เรื่ องที่สาคัญ จาเป็ นจะต้องแจ้ง/บอก ถ้าไม่บอกจะ ผิด ในสิ่ งที่จะเกิดขึ้น เช่น ดร........ ชี้แจงว่า..... ๓. “แถลง” ส่วนใหญ่จะเป็ นเรื่ องที่เป็ นทางการและเป็ นเรื่ อง สาคัญ เช่น โอกาสมารับตาแหน่งใหม่ โอกาสที่พน้ ตาแหน่ง หรื อมีเรื่ องข้อขัดแย้งสาคัญ ๆ ขอแถลงให้ทราบว่า...ต้อง บอกให้ทราบว่าวันนี้มีการประชุมอะไรบ้าง ๔. “เปิ ดเผย” เป็ นส่วนหนึ่งที่ถือว่า เป็ นความแปลกใหม่ ที่เรา ค้นพบเป็ นยุทธวิธี เป็ นคาที่ลึกลับ ซับซ้อน เรื่ องที่ไม่รู้มา ก่อน แล้วจาเป็ นจะต้องบอก เช่น เรื่ องการทาวิจยั การ ประดิษฐ์คิดค้นต่าง ๆ ๕. “ให้สมั ภาษณ์วา่ ” คือการพูด การเจรจา เหมือนนักข่าวมา ถามให้สมั ภาษณ์
๔ R ข้อคานึงของการเขียนข่าว ได้แก่ • ๑. Royal ราชวงศ์ เป็ นข่าวที่มีราชาศัพท์ จะเขียนโดยใช้ ภาษาธรรมดาไม่ได้ เช่น ข่าวในพระราชสานัก ต้องรอ ประกาศข่าวจากสานักพระราชวังเขียนส่งมาให้สงั เกตได้ คือ เวลาออกอากาศแต่ละสถานีมกั จะต้องตรงกัน Royal สามารถกาหนดกิจกรรมได้ • ๒. Religion ศาสนา จะสร้างความขัดแย้งสูงมาก เพราะ ทุกศาสนาสอนให้คนเป็ นคนดี ห้ามเปรี ยบเทียบโดยเด็ดขาด • ๓. Race ผิวพรรณ ผิวดา ผิวขาว พรรค/พวกกลุ่ม จะสื่ อ ความหมายได้ ฉะนั้นถ้าเป็ นหน่วยงานต้องหลีกเลี่ยง • ๔. Rumor ข่าวลือ ถือเป็ นเรื่ องที่อนั ตรายมากสาหรับ องค์กรทุกองค์กร ถ้าเราไม่ให้ความสาคัญในเรื่ องของการ กาจัดข่าวลือ จะทาให้องค์กรนั้นแตกได้
• การเขียนเพื่อการอ่าน (Writing for the eyes) คน เขี ย นเป็ นคนรู ้ ว่ า อ่ า นอย่ า งไรดัง นั้ นคนเขี ย น จะต้องเขียนคาอ่านไป ด้วย เป็ นเทคนิ คอย่างหนึ่ งที่ทาให้สามารถทางาน ไปด้วยกันทั้ง ระหว่างคนเขียนกับคนอ่าน • การเขียนเพื่อการฟั ง (writing for the ears) มี ลักษณะพิเศษอ่ านซ้ าไม่ได้ เพราะผ่านไปแล้ว มี ความกระชับ กะทัดรัด
การเขียนข่าวเพื่อการประชาสัมพันธ์ ๑. ความหมาย หมายถึง การดาเนินงานทุกวิถีทางที่จะก่อให้เกิดความ ร่ วมมือที่ดี ความสัมพันธ์อนั ดี มีภาพลักษณ์ที่ดีต่อองค์กร ๒. เน้น มุ่งประเด็น รู้ รัก ชม ชอบ และให้ความร่ วมมือ และมีภาพลักษณ์ที่ ดี ๓. วัตถุประสงค์ ๓.๑ เพื่อเผยแพร่ ข่าวสาร บอกกล่าวในทางที่ดี ๓.๒ เพื่อแก้ไขความเข้าใจผิด ป้ องกัน และแก้ไขส่ วนบกพร่ อง ๓.๓ เพื่อเสริ มสร้างภาพลักษณ์ จัดกิจกรรม เพื่อสร้ างความนิ ยม (Goodwill) มีภาพลักษณ์ (Image) ที่ดีต่อสาธารณชน ๔. การใช้สื่อเพื่อการประชาสัมพันธ์ ๔.๑ สื่ อบุคคล ๔.๒ สื่ อมวลชน ๑) หนังสื อพิมพ์ (Newspaper) ๒) วิทยุกระจายเสี ยง (Radio) ๓) วิทยุโทรทัศน์ (Television) ๔) สื่ อพิเศษ (Special Media)
๕. การเขี ยนข่าวเพื่อ การประชาสัมพันธ์ ข่าวเป็ นข้อ มูล ในการประชาสัมพันธ์ เพื่อ ให้ผูร้ ั บสารหรื อ ประชาชนเกิดการรับรู้ หน่วยงานจะใช้ข่าวเพื่อการเผยแพร่ (Publicity) แก่ประชาชน ๖. การเขียน = การแสดงออก Writing for the eyes เพื่อการอ่าน Writing for the ears เพื่อการฟัง ๗. ข่าว (News) ความหมาย การรายงานเหตุการณ์ที่เกิ ดขึ้น อยู่ในความสนใจของประชาชน ข่าว เป็ นความจริ ง ข่าวไม่มีความ คิดเห็น องค์ประกอบ จะพิจารณาจากความเจริ ญก้าวหน้าของหน่วยงานการเปลี่ยนแปลงภายในองค์กร ความดีงามหรื อความสาเร็ จ ของบุคลากร ความก้าวหน้า ในผลงานความสาเร็ จตามนโยบายของหน่วยงานนั้น ๆ การจัดกิ จกรรมเพื่อ สังคม เป็ นต้น ๘. ข้อพิจารณาในการเขียนข่าว ๑. ข้อมูลหรื อเนื้อหาสาระ (Facts) มีขอ้ มูลมากเพียงใด ชัดเจนถูกต้อง เชื่อถือได้ถูกต้องตามนโยบาย อย่างไร ๒. ความรวดเร็ ว ช่วยระยะของเหตุการณ์ที่เกิ ดขึ้น (Fast) เพื่อสร้ างความสนใจในการนาเสนอและ นามาเขียนเป็ นข่าวให้น่าสนใจขึ้น ๓. ผลกระทบทางด้านจิตใจ (Impulse) มีมากน้อยเพียงใด ๔. ผลกระทบทางด้านรู ปธรรมหรื อวัตถุที่เห็นได้ชดั (Impact) ดังนั้นจะพิจารณาเขียนตามความเหมาะสม อาจจะจาสูตรง่าย ๆ “FIFI” ๙. โครงสร้าง การเขียนข่าวแบ่งออกเป็ น ๓ ส่วน พาดหัว = Headline บทนา = Lead เนื้อเรื่ อง = Body การเขียนขอให้มีการพาดหัวก่อนอยูใ่ นส่วนบน รองลงมาเป็ นส่วนบทนา และส่วนที่ ๓ เป็ นเนื้อเรื่ อง
๑๐. ส่ วนประกอบในการเขียนข่าว ผูท้ ี่จะเขียนข่าวขอให้พิจารณาจากส่วนประกอบต่าง ๆ เพื่อนามา เขียนข่าวโดย พิจารณาจากสูตรการเขียน ๕ W ’ s + H Who = บุคคล หน่วยงาน What = กิจกรรม When = เวลา ระยะเวลา Where = เหตุผลความ จาเป็ นประโยชน์ นโยบาย Why = ทาไม How = รายละเอียด ๑๑. หลักในการเขียนข่าว จัดโครงสร้างตามรู ปแบบของการเขียนข่าว พาดหัว ให้ใช้หน่วยงาน + กิจกรรม = Who + What บทนา ให้ใช้หน่วยงานนา + W อื่น ๆ เนื้อเรื่ อง ให้ใช้บุคคลพร้อมทั้งตาแหน่งของหน่วยงานนั้นนาและ ตามด้วย องค์ประกอบอื่น ๆ = Who + What + When + Where + Why + How *** ข่าวไม่มีความคิดเห็นขอให้จบในเนื้อหาสาระสาคัญเท่านั้น ***
๑๒. การใช้คาเชื่อมในข่าว บุคคลที่นามาเขียนในข่าวจะเชื่อมด้วยคา ดังต่อไปนี้
• Who + กล่าว = แจ้งให้ทราบ • Who + ชี้แจง = จาเป็ นต้องแจ้ง จาเป็ นต้องบอก จาเป็ นต้องชี้แจง • Who + แถลง = เป็ นทางการของหน่วยงานนั้น ๆ ถือว่าเป็ นนโยบายหลัก • Who + เปิ ดเผย = ความใหม่ ความแปลก การ ประดิษฐ์คิดค้นเทคโนโลยีสมัยใหม่ • Who + ให้สัมภาษณ์ = เป็ นการเผยแพร่ บอก กล่าวส่ วนใหญ่เป็ นที่นิยมทัว่ ไป
รายการข่าววิทยุ (Broadcast News) • ข่าววิทยุ คือ เหตุการณ์ หรื อเรื่ องราวที่เกิดขึ้นใหม่ และเป็ นที่สนใจของผูฟ้ ัง เรื่ องราวและเหตุการณ์ข้ ึน ควรเสนอความอยากรู้อยากเห็นของผูฟ้ ัง เป็ น เหตุการณ์ที่ดึงดูดความสนใจ เป็ นการบอกผูฟ้ ังถึงสิ่ ง ที่เกิดขึ้นในประเทศและต่างประเทศ ซึ่ งต้องมีความ เที่ยงตรงเป็ นข้อเท็จจริ ง และใหม่เสมอ • ข่าววิทยุ ยังเป็ นข่าวที่มีความรวดเร็ ว และเสนอได้ ตลอดทั้งวัน เป็ นการเสนอเหตุการณ์โดยตรงแก่ผฟู ้ ัง และยังเสนอเฉพาะส่ วนสาคัญของข่าว หัวข้อข่าว สาคัญ และเสนอซ้ าได้ตลอดทั้งวัน
อะไรเป็ นข่ าวได้ บ้าง ๑. อุบตั ิเหตุหรื อเหตุการณ์ (Accidents and Conflict) ๒. การร่ วมกัน (Gatherings) เช่น การประชุม สัมมนา ๓. กีฬา (Sport) ๔. โครงการใหม่ (New Project) ๕. การทางานของรัฐบาท (Government Action) ๖. ธรรมชาติ (Nature) เช่น น้ าท่วม ฝนแล้ง การ เปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อม ๗. คน (People) เช่น การเยี่ยมเยียนของบุคคลสาคัญ ฆาตกรรม เรื่ องที่มนุษย์สนใจ อะไรก็ได้ที่ทาให้มนุษย์ หัวเราะหรื อร้องไห้
ข้อพิจารณาถึงความสาคัญและน่าสนใจของข่าว ๑. เวลาหรื อความสด (Timeliness) ๒. ความใกล้ชิด (Nearness or Proximity) ๓. ผลสะท้อนและความสาคัญ (Consequence and Significance) ๔. ความสาคัญหรื อความเด่นของบุคคลในข่าว (Importance or Prominence) ๕. เป็ นเรื่ องที่มนุษย์สนใจ (Human Interest) ประเภทข่าว
แบ่งตามรู ปแบบของการเสนอข่าว ๑. สรุ ปข่าวหรื อจุลสารข่าว (News Bulletin) เป็ นการ เสนอข่าวหลาย ๆ ประเภทต่อเนื่องกันไป อาจจะเริ่ มจากข่าว ภายในประเทศ ข่าวกีฬา และปิ ดท้ายด้วยข่าวความสนใจของ มนุษย์ ความยาวครั้งละประมาณ ๓๐ นาที หรื ออาจจะถึง ๑ ชัว่ โมง ๒. ข่าวประกอบเสี ยง (News Reel) เป็ นข่าวที่มีการ บรรยายและรายงานของคนในเหตุการณ์มีคาพูดสั้น ๆ มีการ สัมภาษณ์และอาจจะมีการวิจารณ์เข้าไปด้วยก็ได้ ๓. ข่าวแบบบูรณาการ มีการเสนอทั้งสรุ ปข่าว ข่าวประกอบเสี ยง และการวิจารณ์ข่าว มักจะแบ่งเวลาออกช่วงละเท่า ๆ กัน เช่น รายงาน ๓๐ นาที อาจจะเป็ นสรุ ปข่าว ๑๐ นาที และวิจารณ์ ข่าวอีก ๑๐ นาที
แหล่งข่าว (Sources of News) ๑. สานักข่าว (News Agencies) เช่น AP, UPI, Reuter, สานักข่าวไทย ๒. เครื อสถานี (Networks) เช่น สถานี ประชาสัมพันธ์ในต่างจังหวัด ๓. แหล่งข่าวประจาท้องถิ่น (Local News Sources) ๔. หนังสื อพิมพ์ ๕. สถานีวทิ ยุอื่น ๆ ๖. บริ ษทั วิทยุกระจายเสี ยง (Bureau) ๗. องค์การกุศล ธุ รกิจ ศาสนา สังคม การศึกษา ฯลร ๘. เอกชนผูส้ มัครให้ข่าว
ข่าววิทยุตอ้ งง่าย ตรงต่อความเป็ นจริ ง ไม่ สลับซับซ้อน เสนอให้น่าสนใจ มีสีสัน หลัก สาคัญ ในการเขียนพอสรุ ปได้ดงั นี้ หลักการเขียนข่าว ๑. ความเที่ยวตรง (Accuracy) ๒. การใช้สานวนและถ้อยคาที่ง่าย (Simplicity) ๓. การดาเนิ นเรื่ องและข้อความกะทัดรัด (Brevity) ๔. การดาเนิ นเรื่ องตรงไปตรงมา (Directness) ๕. การเพิ่มสี สันของเรื่ อง (Color) ๖. การรักษาข้อเท็จจริ ง (Objectivity) ๗. ความยุติธรรม (Fairness) ๘. รสนิยมดี (Good Taste)
การดาเนินเรื่ องสาหรับวิทยุ จะตรงข้ามกับการเสนอทางหนังสื อพิมพ์ที่ เสนอแบบปิ รามิดหัวกลับ ส่วนข่าววิทยุจะค่อยนาผูฟ้ ังขึ้นไปหา จุดสาคัญทีละน้อยจนถึงสาคัญสุดยอดอยูท่ า้ ยข่าว เพื่อดึงความสนใจ ของผูฟ้ ังให้ฟังโดยตลอด ข่าววิทยุมกั จะเริ่ มด้วยการบอกแหล่งข่าว รวมทั้งสถานที่เกิดข่าวก่อนเป็ น อันดับแรก ความนา (Lead) และเนื้อข่าว (Body) จะไม่แยกกัน ให้เห็นเด่นชัดด้วยการย่อหน้าเหมือนข่าวหนังสื อพิมพ์ส่วนมากจะ เขียนเป็ นย่อหน้าเดียวติดกันไปเลย
ข้อสังเกตบางประการในการเขียนข่าววิทยุ ๑. ข่าวหนังสื อพิมพ์เขียนให้อ่าน ส่วนข่าววิทยุกระจายเสี ยงเขียน เพื่ออ่านให้ฟัง ๒. เวลาเขียน ประโยคที่เขียนควรเป็ นประโยคสั้น ๆ ต่อไปนี้เป็ นตัวอย่างของการเขียนที่เหมาะสมและไม่เหมาะสมกับ สื่ อวิทยุ “เพราะเหตุที่ราคานา้ มันเชื อ้ เพลิงตลอดจนค่ าครองชี พและค่ าวัสดุ ต่ าง ๆ ได้ เพิ่มขึน้ เป็ นอันมาก ดังนั้นรั ฐบาลอันมี พ.ต.ท.ดร. ทักษิณ ชินวัตร เป็ นนายกรั ฐมนตรี จึงอนุญาตให้ ประปาและ ไฟฟ้ าขึน้ ราคา ค่ านา้ และค่ ากระแสไฟฟ้ า ทั้งนีต้ งั้ แต่ วนั ที่ ๑ พฤศจิกายน เป็ นต้ นไป” (ไม่เหมาะ) จะเห็นว่าการเขียนข่าวข้างต้นนี้ จบย่อหน้าที่หนึ่งด้วยประโยคยาว หรื อสังกรประโยค เพียงประโยคเดียว ประโยคยาว ๆ เช่นนี้ อาจจะใช้ได้สาหรับข่าวหนังสื อพิมพ์แต่ไม่เหมาะสมสาหรับ ข่าววิทยุ ซึ่งอาจจะแตกออกเป็ นประโยคสั้น ๆ ได้หลาย ประโยค ดังนี้ “อัตราค่ านา้ ประปา และกระแสไฟฟ้ าจะเพิ่มขึน้ นับตั้งแต่ วันที่ ๑ พฤศจิกายน เป็ นต้ นไป รั ฐบาลได้ ตกลงให้ การประปานคร หลวงและการไฟฟ้ านครหลวง ขึน้ ค่ านา้ และค่ ากระแสไฟฟ้ าได้ โดยรั ฐบาลอ้ างว่ า เนื่องจากสถานการณ์ ได้ เปลี่ยนไป เป็ นต้ นว่ า นา้ มันเชือ้ เพลิงก็ขึน้ ราคา ตลอดจนค่ าครองชี พและค่ าวัสดุต่าง ๆ ก็ได้ เพิ่มสูงขึน้ เป็ นอันมาก จึงได้ อนุญาตให้ มีการปรั บอัตรา ค่ านา้ และค่ ากระแสไฟฟ้ าเสี ยใหม่ ” (ดีกว่า)
๓. การประหยัด อาจทาให้เกิดผลเสี ยหายหรื อ ไขว้เขวได้ เช่น • “ร้อยตารวจโท สุ ริยนต์ ไรวา เลขานุการ รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงการคลัง ถึงแก่กรรมเมื่อ วานนี้ ” ผูฟ้ ังอาจจะฟังผิดโดยเฉพาะผูฟ้ ังซึ่ งไม่ต้ งั ใจ นักในขณะที่ฟัง เช่น ผูฟ้ ังที่อยูด่ ึกดื่นครึ่ งหลับครึ่ งตื่น หรื อกาลังสนใจอย่างอื่นอยู่ อาจฟังเป็ นว่า รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงการคลัง ถึงแก่ความตายเพื่อ แก้ขอ้ ผิดพลาดอันอาจจะเกิดขึ้นได้ ควรเขียนว่า “ร้อยตารวจโท สุ ริยนต์ ไรวา ถึงแก่กรรมเมื่อวานนี้ ปั จจุบนั ร้อยตารวจโท สุ ริยนต์ ดารงตาแหน่ง เลขานุการรัฐมนตรี วา่ การกระทรวงการคลัง” ดังนี้ เป็ นต้น
๔. การระบุตวั เลขนั้นสาหรับข่าววิทยุให้ คานึงถึง หลักความสะดวกในการอ่าน • เช่น ตัวเลข ๘,๗๖๕,๐๐๐ บาท ควรจะเขียนเป็ น “๘ ล้าน ๗ แสน ๖ หมื่น ๕ พันบาท หรื อแปดล้านเจ็ด แสนหกหมื่นห้าพันบาท” ก็ได้ • สาหรับตัวเลขระบุเวลา เช่น ๑๔.๐๐ น. ๐๗.๐๐ น. ต้องเขียนเหมือนกันแต่โฆษกต้องอ่านตามหนังสื อ ของการอ่านข่าว เช่น ต้องอ่านว่า “เวลาสิ บสี่ นาฬิกา” หรื อ “เวลา เจ็ดนาฬิกา” ไม่อ่าน “สิ บสี่ จุด ศูนย์นอ หรื อ ศูนย์เจ็ดจุดศูนย์นอ”
ข้ อแนะนาในการพิมพิ์ข่าว ๑. ใช้กระดาษขนาด เอ.๔ และเป็ นกระดาษที่ไม่มีเสี ยงดังเวลา เปิ ด ๒. พิมพ์หน้าเดียว เว้นระยะบรรทัด ๒ ช่วงตัว เว้นขอบทั้งสอง ข้างประมาณข้างละ ๑ นิ้ว ๓. หัวข้อต้องอยูท่ ี่เริ่ มต้นของกระดาษทุกข่าว อย่าพิมพ์ต่อข่าว อื่น และกลางหน้ากระดาษ ๔. เมื่อจบหน้าแล้วข่าวยังไม่จบ ให้พิมพ์ขอ้ ความบางตอนที่จะ อ่านให้หน้าถัดไปไว้มุมล่างสุดขวามือของหน้ากระดาษด้วย ๕. อย่าใช้ตวั ย่อ ต้องพิมพ์เต็มคา คาที่อ่านยากให้วงเล็บคาอ่านไว้ ด้วย ๖. คาที่เป็ นคายาวอย่าพิมพ์แยกคาระหว่างบรรทัด ควรพิมพ์ให้ อยูใ่ นบรรทัดเดียวกัน
นิทรรศการ คือ ลักษณะของโสตทัศนศึกษา อย่างหนึ่ง เพราะเป็ นการให้การศึกษา ทางตา และทางเสียง
การให้ การศึกษา อย่ างหนึ่งด้ วยการ แสดงงานให้ ชม อาจจะมีผู้บรรยายให้ ฟัง
หรือไม่ ต้องมีกไ็ ด้
การแสดงอาจจะแสดง นอกอาคาร
หรือภายในอาคาร
ซึ่งประกอบด้ วย ของจริง สิ่ ง จาลองภาพถ่ ายและแผนภูมิ
การจัดเตรียมสิ่งของต่ างๆ ทีจ่ ะนา ออกมาแสดง ต้ องจัดอย่ างมีระเบียบดูง่าย คานึงถึง ความแจ่ มชัด
และก่ อให้ เกิดความรู้ ช่ วยให้ ผ้ ดู ูมี ความเข้ าใจ ข้ อมูลโดยใส่ ข้อความสั้ น ๆ อธิบาย ประกอบ
หลักปฏิบตั ิในการจัดนิทรรศการ 1. ความเด่น เช่น ความเด่นของสี ของรูปภาพของขนาดสัดส่วน ต่าง ๆ 2. ความไม่ซา้ ซาก 3. ความสมดุล 4. ความต่อเนื่อง
หลักปฏิบตั ิในการจัดนิทรรศการ 5.
การเน้น - เน้นด้วยเส้น - เน้นด้วยสี - เน้นโดยการใช้เนื้อที่ โดยนาสิง่ ที่ ต้องการโชว์ มาวางไว้ในทีแ่ จ้ง 6. ความประสานกลมกลืน (รูปแบบ,เนื้อเรือ่ ง ,ขนาด) 7. ความเรียบง่าย
1. เพื่อเพิ่มพูนความรูค้ วามสนใจให้แก่ผชู ้ มได้ อย่างมีสมาธิ 2. สามารถทีจ่ ะจัดแสดงเค้าโครงเรื่อง อันเป็ น พื้นฐานของความคิดได้ 3. รวบรวมความคิดทีเ่ ป็ นนามธรรม นาไปสู่ ความคิด ทีเ่ ป็ นรูปธรรม 4. ส่งเสริมการแสดงออกและให้ความรูค้ วาม เข้าใจ
1. นิทรรศการ หมุนเวียน (TRAVELLING EXHIBITION)
นิทรรศการถาวร (PERMANENT EXHIBITON)
นิทรรศการชัว่ คราว (TEMPORARY EXHIBITION)
1. ขัน้ วางแผน - ตัง้ หัวข้อเรื่อง - วัตถุประสงค์
2. การเตรียม - รวบรวมแนวความคิด - กาหนดสถานที่ - กาหนดกิจกรรมสาหรับผูเ้ ข้าชม - ออกแบบ - ทาแผนผังที่ติดตัง้ - ทาตัวอักษรชื่อนิทรรศการ และสัญลักษณ์ ทีต่ อ้ งใช้
3. การจัดทา - แสวงหาบุคลากร นักวิชาการ ช่าง เขียน ช่างเทคนิค - จัดหา วัสดุอุปกรณ์ - ก่อสร้าง และปฏิบตั ิงาน
4. การประชาสัมพันธ์ - วิทยุ โทรทัศน์ หนังสือพิมพ์ - โปสเตอร์ รูปลอก - เอกสารแจก
5. การนาเสนอ - พิธีเปิ ด - สาธิตและกิจกรรมประกอบ
6. การประเมินผล - สังเกตพฤติกรรมผูเ้ ข้าชม - แจกแบบสอบถาม
7. การติดตามผล - รายงานผลทางสือ่ มวลชน - ทาเอกสารรายงาน
มีประสบการณ์มากและเป็ นคนช่าง สังเกต สนใจในสิง่ ใหม่ มีความรูพ้ ้ นื ฐานทางความต้องการ ของมนุษย์ ว่ามนุษย์ปุถุชนทัว่ ๆ ไปต้องการ อะไร มีความคิดสร้างสรรค์เป็ นของ ตัวเอง
ความมากน้อยของเรือ่ งที่จดั และวัสดุ ที่จะนาออกแสดง จานวนผูเ้ ข้าชม ความเหมาะสมกับเรือ่ งราวที่จดั ความสะดวกของผูเ้ ข้าชม แสงสว่าง
ป้ายนิเทศคืออุปกรณ์อย่าง หนึง่ ที่ใช้สาหรับแสดงรูปภาพ, ข้อมูล เพือ่ โฆษณาข่าว, เผยแพร่ ผลงาน เพือ่ ให้ทราบข่าวโดย ทัว่ ถึงกัน
ชนิดถาวรไม่สามารถเคลือ่ นย้ายได้
ชนิดเคลือ่ นย้ายได้
ป้ายนิเทศชนิดพับได้ ม้วนได้
ป้ายนิเทศที่ใช้เชือกหรือลวดเป็ นโครงสร้าง
เลือกเรือ่ ง/หัวข้อ วางโครงร่าง เตรียมวัสดุ-อุปกรณ์ ดาเนินการ วัดผล/ประเมินผล
เลือกเรือ่ งที่จะจัดให้มีความน่าสนใจ เหมาะสม วางรูปแบบ/โครงร่างที่จะจัด วัสดุ-อุปกรณ์ ตัวอักษร ผูจ้ ด ั ระยะเวลาในการจัด สถานที่
การจัดงาน • สัดส่วน, ช่องไฟ, ความสมดุล • เร้าใจ • ให้ความรู ้ • เข้าใจง่าย
ลักษณะของตัวอักษรที่ใช้ • อ่านง่าย • สีสดใส • ขนาดเหมาะสม • ทันสมัยแปลกตา
จัดให้มีสภาพใกล้เคียงกับความจริง
รูปร่างของป้ายนิเทศ
โดย
ไชยยันต์ พงศะบุตร กศ.บ.,นศ.บ.,ศษ.ม.(เทคโนโลยีการศึกษา) ผู้อานวยการส่ วนสื่ อประชาสั มพันธ์ สานักพัฒนาการประชาสั มพันธ์ กรมประชาสั มพันธ์
การประชาสั มพันธ์ • ตรงกับภาษาอังกฤษว่ า • Public Relations คาย่อนิยม เรี ยกว่า PR.
ประชา (Public) แปลว่า กลุ่มคน สัมพันธ์ (Relations) แปลว่า ความ เกี่ยวข้องผูกพัน • เมื่อรวมแล้ว คาว่า การประชาสัมพันธ์ ก็คือ • “การเกีย่ วข้ องผกู พันกับประชาชน” • •
อ.สะอาด ตัณศุภผล ผู้ก่อตั้งโรงเรียนการ ประชาสัมพันธ์ ได้ให้ คาจากัดคาว่า “การประชาสัมพันธ์ ” คือ • วิธีการของสถาบันอันมีแผนการและเป็ นการ กระทาที่ต่อเนื่องในอันที่จะสร้างหรื อยังให้เกิด ความสั ม พัน ธ์ อนั ดี ก ับ กลุ่ ม ประชาชนเพื่ อ ให้ สถาบันและกลุ่มประชาชนที่เกี่ยวข้องมีความรู ้ ความเข้าใจ และให้การสนับสนุนร่ วมมือซึ่ งกัน และกัน อันจะเป็ นประโยชน์ให้สถาบันนั้นๆ ด าเนิ น งานไปได้ผ ลดี ส มตามความมุ่ ง หมาย โดยมีประชามติเป็ นแนวบรรทัดฐานสาคัญด้วย
ประชาสั มพันธ์
ชอบเข้ าไว้ •ทาให้ เขาชอบใจ •ทาให้ เขาเข้ าใจ •ทาให้ เขาไว้ วางใจ รองศาสตราจารย์ พรสิทธิ์ พัฒธนานุรักษ์
สื่ อ ประชาสั มพันธ์ คือหนทางหรื อวิถีทางในการนา ข่าวสารที่ตอ้ งการประชาสัมพันธ์จากผูส้ ่ ง ไปสู่ ผรู ้ ับ ในปั จจุบนั สื่ อในการประชาสัมพันธ์มี มากมายและหลากหลาย อันเป็ นผล เนื่องมาจากการพัฒนาด้านเทคโนโลยี ของโลก
สื่ อประชาสั มพันธ์ แบ่ งตาม ลักษณะของสื่ อ ได้ เป็ น 5 ประเภท • • • • • •
๑. สื่ อบุคคล ๒.สื่ อมวลชน ๓.สื่ อสิ่ งพิมพ์ ๔.สื่ อโสตทัศน์ ๕.สื่ อกิจกรรม ๖.สื่ อสมัยใหม่ ( Modern Media)
๑. สื่ อบุคคล • โดยอาศัย –การสนทนา การประชุม การสอน การให้ สัมภาษณ์ การโต้วาที การอภิปราย การ ปาฐกถา การพูดในโอกาสพิเศษ
• ข้อดี –มีประสิ ทธิภาพสู งในการโน้มน้าวจิตใจ เนื่องจากติดต่อกับผูร้ ับสารโดยตรง
• ข้อจากัด –ในกรณี ที่เนื้อหาซับซ้อน ไม่สามารถเข้าใจ ได้ทนั ที –เป็ นสื่ อที่ไม่ถาวร ยากแก่การตรวจสอบและ อ้างอิง
๒.สื่ อมวลชน • แบ่งเป็ น 5 ประเภท คือ – หนังสื อพิมพ์ นิตยสาร – วิทยุกระจายเสี ยง – วิทยุโทรทัศน์ และภาพยนตร์ (มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2532)
• ข้อดีของสื่ อหนังสื อพิมพ์และนิตยสาร – มีความคงทนถาวร สามารถนาข่าวสารมาอ่านใหม่ได้ซ้ า แล้วซ้ าอีก
• ข้ อจากัดของสื่ อหนังสื อพิมพ์ และนิตยสาร
– มีข้อจากัดสาหรั บบุคคลที่ ตาบอดหรื ออ่ านหนังสื อไม่ ออก
• ข้อดีของสื่ อวิทยุกระจายเสี ยง – ส่งไปได้ไกลเพราะใช้คลื่นวิทยุ ไม่มีขอ้ จากัดด้านการ ขนส่งเหมือนหนังสื อพิมพ์หรื อนิตยสาร และรับฟังใน ขณะที่ทางานอย่างอื่นไปด้วย
• ข้ อจากัดของสื่ อวิทยุกระจายเสี ยง – ไม่ สามารถย้ อนกลับมาฟั งได้ ใหม่
• ข้อดีของสื่ อวิทยุโทรทัศน์ และภาพยนตร์ – มีประสิ ทธิภาพในการสื่ อสารมากที่สุด เนื่องจาก สามารถเห็นภาพเคลื่อนไหวและได้ยนิ เสี ยง ทาให้การ รับรู ้เป็ นไปอย่างชัดเจนและมีประสิ ทธิภาพ
• ข้ อจากัดของสื่ อวิทยุโทรทัศน์ และภาพยนตร์ – ต้องใช้ไฟฟ้ าหรื อแบตเตอรี่ ทาให้ไม่สามารถเข้าถึงพื้นที่ ห่างไกลที่ยงั ไม่มีไฟฟ้ าใช้
๓. สื่ อสิ่ งพิมพ์ • หน่วยงานเป็ นผูผ้ ลิตและเผยแพร่ ไปสู่กลุ่มเป้ าหมายเอง • แบ่งเป็ น – สิ่ งพิมพ์ที่ไม่ได้เย็บเล่ม เช่น แผ่นปลิว แผ่นพับ โปสเตอร์ จดหมายข่าว – สิ่ งพิมพ์ที่เย็บเป็ นเล่ม เช่น วารสาร เอกสารเผยแพร่ หนังสื อใน โอกาสพิเศษ รายงานประจาปี
• ข้อดี – ความนิยมมีอยูม่ าก มีรูปแบบที่หลากหลาย เช่น ปฏิทิน รู ป ลอก สมุดบันทึก – เป็ นสื่ อที่เข้าถึงประชาชนได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ มีอายุการใช้ งานนาน
• ข้อจากัด – ต้องนาเสนอให้เหมาะสมกับกลุ่มเป้ าหมาย เช่นแผ่นพับที่เขียน ด้วยภาษาวิชาการ ถ้าส่งไปให้ประชาชนในชนบท อาจจะไม่ สามารถเข้าใจเนื้อหาที่ตอ้ งการประชาสัมพันธ์ได้เลย
๔.สื่ อโสตทัศน์ • เป็ นสื่ อที่รับได้ท้ งั ภาพ และหรื อเสี ยง แบ่งได้เป็ น 2 ส่ วน คือ สื่ อวัสดุ และสื่ ออุปกรณ์ โดยสื่ อวัสดุจะ ใช้ได้ดว้ ยตัวเองโดยตรง เช่น ภาพวาด แบบจาลอง หรื อของตัวอย่าง หรื ออาจต้องนาไปใช้ร่วมกับสื่ อ อุปกรณ์ เช่นเทปบันทึกเสี ยง เทปวีดีทศั น์ ฟิ ล์ม ภาพยนต์ แผ่นดิสเก็ต แผ่นซี ดีรอม เป็ นต้น ส่ วนที่ เป็ นสื่ ออุปกรณ์ได้แก่ เครื่ องเล่นเทปบันทึกเสี ยง เครื่ องเล่นวีดีทศั น์ เครื่ องฉายภาพยนตร์ และเครื่ อง คอมพิวเตอร์ เป็ นต้น • ข้อดี – น่าสนใจ คงทนถาวร นามาใช้ได้บ่อยครั้ง คัดลอกเพื่อ นาไปใช้ที่อื่นได้ง่าย
• ข้อจากัด – ต้องใช้อุปกรณ์ซ่ ึงบางประเภทมีราคาแพง และต้องมี ความรู ้ในการใช้ และจาเป็ นต้องใช้ไฟฟ้ าหรื อแบตเตอรี่ เป็ นแหล่งพลังงาน
• ในปั จจุบนั นี้ คอมพิวเตอร์ ได้เข้ามามีอิทธิ พลอย่าง มากในงานประชาสัมพันธ์ การประชาสัมพันธ์โดย ใช้สื่อผสม (Multi-media) – ข้อดี • ได้รับความนิ ยมอย่างกว้างขวาง เพราะดึงดูดความสนใจได้ อย่างดี เพราะให้ท้งั ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว และเสี ยง ที่ สมจริ งเป็ นธรรมชาติ และผูร้ ับยังสามารถมีส่วนร่ วมและ ตอบสนองต่อสื่ อดังกล่าวได้
– ข้อจากัด • มีความยุง่ ยากในการจัดเตรี ยมอุปกรณ์ ผูร้ ับต้องมีความรู ้ใน การใช้คอมพิวเตอร์พอสมควร และต้องใช้ไฟฟ้ าหรื อ แบตเตอรี่ เป็ นแหล่งพลังงาน
• ในยุคที่โลกไร้พรมแดน การสื่ อสารและ ประชาสัมพันธ์ผา่ นระบบอินเตอร์ เน็ต (Internet) จะกลายเป็ นส่ วนหนึ่งใน ชีวติ ประจาวัน โดยอินเตอร์ เน็ตสามารถเข้าถึง ประชาชนทัว่ ทุกมุมโลกได้อย่างรวดเร็ ว และเป็ นการ สื่ อสารสองทางที่ผรู้ ับสามารถโต้ตอบเพื่อซักถาม ข้อมูลเพิม่ เติม ได้โดยตรงผ่านทางระบบจดหมาย อิเลคโทรนิค (E-mail)
๕. สื่ อกิจกรรม • สื่ อกิจกรรมมีหลายรู ปแบบ เช่น การจัดประชุม สัมมนา ฝึ กอบรม การแถลงข่าว การสาธิต การ จัดริ้ วขบวน การจัดนิทรรศการ การจัดแข่งขัน กีฬา การจัดแสดง การจัดกิจกรรมทางการ ศึกษา การจัดกิจกรรมเสริ มอาชีพ การจัด กิจกรรมการกุศล เป็ นต้น • ข้อดี – สื่ อกิจกรรมนี้สามารถปรับปรุ งดัดแปลงแก้ไขให้ ยืดหยุน่ เหมาะสมกับโอกาสและสถานการณ์ได้ ง่าย
• ข้อจากัด – ผูร้ ับมีจานวนจากัดเฉพาะกลุ่มที่ร่วมกิจกรรม นั้นๆ เท่านั้น
๖. สื่อสมัยใหม่ (Modern Media) • สื่ อสมัยใหม่ เป็ นสื่ อที่นิยมใช้กนั ในยุคสังคมข่าวสาร หรื อยุค สารสนเทศ (Information Age) ที่กระแสโลกาภิ วัตน์ (Globalizalion) ประเภทของสื่ อสมัยใหม่ที่ใช้ในการประชาสัมพันธ์ 1. ดาวเทียม (Sattelite) หรื อ สถานีทวนสัญญาณ ไมโครเวฟที่ลอยอยูเ่ หนือพื้นโลก ใช้ในการสื่ อสารระหว่าง ประเทศ 2. อินเตอร์เน็ต (Internet) ปั จจุบนั อินเตอร์เน็ตเข้ามามี บทบาทต่อชีวติ ประจาวันของคนเราเป็ นอย่างมาก ตลอดจน ในสังคมและในหน้าที่การทางาน อาชีพต่างๆ แม้แต่การ ประชาสัมพันธ์ก็นาอินเตอร์เน็ตมาใช้เพื่อการติดต่อสื่ อสาร การประชาสัมพันธ์ที่จดั ทาขึ้นบนอินเตอร์เน็ต ซึ่งถือว่าเป็ น สื่ อสมัยใหม่ที่นามาใช้เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด เช่นเดียวกับสื่ ออื่นๆ อินเตอร์เน็ตที่ใช้ทาการประชาสัมพันธ์ ส่วนใหญ่ผา่ นทาง E-mail หรื อระบบจดหมายอีเลคทรอ นิคส์ และระบบข้อมูลจาก World Wide Web (WWW) โดยการจัดทาเป็ น Wedsite มองแต่ละ แห่งให้ผเู ้ ปิ ดดูเข้าไปดู และติดตามข้อมูลต่างๆ ได้
จานวนผู้ที่ใช้ สื่อประเภทรายการ สื่ อที่ สนใจ ปี 2551 • จากตัวอย่างครัวเรื อนที่มีอายุ 6 ปี ขึ้นไป จานวน 79,560 ครัวเรื อน ปรากฏว่า มีอตั ราการฟังวิทยุ ที่ลดลง ส่ วนการชมโทรทัศน์เพิ่มขึ้นเล็กน้อย • รายการหรื อประเภทที่สนใจ – รายการบันเทิงและมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น – รายการข่าวกลับลดลงเมื่อเทียบกับการสารวจครั้งที่ ผ่านมาเมื่อปี 2546 (อาจเป็ นเพราะเนื้ อหาของข่าวทา ให้ประชาชนรู ้สึกเบื่อหน่าย) สานักงานสถิติแห่ งชาติ (สสช.)
• วิทยุทวั่ ประเทศ 523 สถานี • โทรทัศน์แบบดูฟรี สิบกว่าสถานี (ทัว่ ทั้ง ประเทศ) • โทรทัศน์บอกรับสมาชิกอีกหลายสิ บสถานี • หนังสื อพิมพ์รายวันระดับชาติสิบกว่าฉบับ • หนังสื อพิมพ์ทอ้ งถิ่นและนิ ตยสารหลายร้อยฉบับ • คอมพิวเตอร์ ที่ใช้มลั ติมีเดียและระบบเครื อข่าย อินเตอร์เน็ต , เครื่ องเล่นวีดีโอ , ซีวดี ี , ดีวดี ี ฯลฯ หลายล้านเครื่ อง ที่สถานศึกษา ทางาน ครัวเรื อน • แต่คนไทยยังใช้ สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพือ่ ความบันเทิงและการค้ ามากกว่าเป็ นแหล่งเพือ่ การ เรียนรู้
• สถานีวิทยุกระจายเสี ยงแห่ง ประเทศไทย ระบบ AM. จานวน 57 สถานี • สถานีวิทยุกระจายเสี ยงแห่ง ประเทศไทย ระบบ FM. จานวน 88 สถานี
กรมประชาสัมพันธ์
http://www.prd.go.th สถานี วิทยุโทรทัศน์แห่ งประเทศไทย
http://nbttv.prd.go.th/th/news
สถานีวทิ ยุกระจายเสี ยงแห่งประ
http://nbt.prd.go.th/
สถานีวทิ ยุกระจายเสี ยงแห่งประเทศไทย เพื่อการศ
http://www.prd.go.th/prd%5Flink/radioed
สานักงานประชาสัมพันธ์จงั หวัด http://www.prd.go.th/prd_link/province/
งานบริการ • งานบริการ ต้ องมี หัวใจบริการ • หัวใจบริ การ สามารถฝึ กได้ สร้างได้ • หัวใจบริ การ คือ การรับรู ้สัมผัสด้วยความเต็มใจ ยินดีให้บริ การ เพื่อนาไปสู่ ความพอใจของ ผูร้ ับบริ การ • หัวใจบริ การคือความต้องการให้ลูกค้าได้รับความ พอใจ
• หาใช่ เพียงทาหน้ าทีท่ ี่ได้ รับมอบหมาย เท่ านั้น
ยิม้
ยิม้ ด้ วยใจ
ยิม้ ด้ วยปาก
ยิม้ ด้ วยตา
การให้ บริการที่ดี ( Services ) • การสร้างภาพลักษณ์ที่ดีให้กบั องค์กร...ต้องให้ความสาคัญต่องาน บริ การ • เริ่ มจากตัวผูบ้ ริ หารต้อง.... –แสดงความเอาจริ ง ( Commitment ) กับงาน บริ การ ดังนี้
การให้ บริการที่ดี ( Services ) • ผูบ้ ริ หารต้อง... – วางนโยบายที่ส่งเสริ มการบริ การที่ดี – สรรหาอุปกรณ์ที่จาเป็ นในการให้บริ การที่ดี – จัดสรรบุคลากรให้เพียงพอต่อการให้บริ การที่ดี – ตรวจสอบโครงสร้างขององค์กรให้เป็ น โครงสร้างที่เอื้อต่อการให้บริ การที่ดี – สร้างวัฒนธรรมองค์กรให้เป็ นวัฒนธรรมบริ การ ที่เข้มแข็ง • บริ การกันเองเป็ นอย่างดีภายในองค์กร ให้แนวหลัง สนับสนุนแนวหน้า • จัดอบรม สร้างจิตสานึกการให้บริ การที่ดี มีทกั ษะ การให้บริ การที่ดี
ปรัชญาในการให้ บริการที่ดี • ยินดีทางานมากกว่าทาตามหน้าที่ เพื่อให้ลูกค้า พึงพอใจ • อย่าเอาอารมณ์ที่ข่นุ มัวจากทางบ้านมาระบาย กับลูกค้า • มีความรู ้สึกไวต่อความต้องการของลูกค้า • ให้ความสาคัญลูกค้า เช่น จดจารายละเอียดที่ เกี่ยวกับลูกค้า • ลูกค้าคือพระเจ้า ( สิ่ งที่ทาให้ลูกค้าพอใจเป็ นสิ่ ง ที่สาคัญ ) – อย่ามองว่าลูกค้ามากวนใจ – อดทนอดกลั้นต่อการกระทาของลูกค้า
องค์ประกอบและสภาพแวดล้อมที่สาคัญใน การให้ บริการที่ดี • การต้อนรับ • เต็มใจให้บริ การ • พร้อมที่จะให้บริ การ • สิ่ งอานวยความสะดวก • ระบบการติดต่อสื่ อสาร • ความสะอาดของตนและที่ทางาน • การเคารพเวลาลูกค้า • ทางานด้วยความรวดเร็ว
องค์ประกอบและสภาพแวดล้อมที่สาคัญใน การให้ บริการที่ดี • ให้ขอ้ มูลข่าวสารครบถ้วน • ทางานด้วยความสุภาพ • การรักษาคามัน่ สัญญา • อุปกรณ์พร้อมในการให้บริ การ • มีอารมณ์ดี มีความสุข • มนุษยสัมพันธ์ดี • ให้ผลงานที่มีคุณภาพแก่ลูกค้า
กฎ12 ข้ อ ในการรับโทรศัพท์ ให้ น่าประทับใจ • • • • • • • • • • • •
พยายามรับโทรศัพท์ให้ได้เมื่อโทรศัพท์ดงั ครั้งที่สอง รับสายด้วยน้ าเสี ยงและถ้อยคาที่เป็ นมิตร น่าฟัง ถามชื่อผูท้ ี่โทรเข้ามา ควรเรี ยกชื่อเขาเวลาที่สนทนากันด้วย พูดให้ชา้ และชัดเจน ที่สาคัญ ไม่ควรเคี้ยวหรื ออมสิ่ งใด ๆ ในปากขณะ สนทนา ถ้าปกติคุณเป็ นคนเสี ยงดัง ควรลดเสี ยงลงขณะสนทนาทางโทรศัพท์ ถือโทรศัพท์ให้ห่างจากปากประมาณ 2 นิ้วมือกั้น เมื่อต้องการให้รอสาย ควรขออนุญาตเสมอ เมื่อคุณโอนสาย และไม่มีผรู้ ับทราบ ควรบอกให้ผทู ้ ี่โทรมาทราบ และ ถามว่าเขาต้องการฝากข้อความหรื อไม่ หากผูท้ ี่โทรเข้ามาต้องการฝากข้อความ ควรจดบันทึกชื่ อและหน่วยงาน ของเขา วันเวลาที่โทรเข้ามา หัวข้อที่ตอ้ งการสนทนา หากเขาต้องการ ให้โทรกลับ ควรจดหมายเลขโทรศัพท์ของเขาไว้ดว้ ย ก่อนวางสาย คุณต้องมัน่ ใจว่า คุณได้ตอบคาถามของเขาครบถ้วนแล้ว จาไว้ว่าควรจบบทสนทนาให้น่าประทับใจเช่นกัน เช่น ยินดีรับใช้ครับ/ ค่ะ สุดท้าย ควรให้อีกฝ่ ายเป็ นฝ่ ายวางหูก่อน เพื่อแสดงให้เห็นว่า คุณไม่ได้ อยากรี บวางสายของเขา
งานบริการประชาชน ศู นย์ บริการร่ วม ( One Stop Service ) องค์การบริหารส่ วนจังหวัดเชียงราย ได้ จัดตั้งศู นย์ บริการร่ วม เพือ่ อานวยความสะดวกให้ แก่ ประชาชนในกรณียื่นขอรับบริการต่ างๆ หลายประเภทเข้ าในแห่ งเดียวกันเพือ่ ให้ บริการที่เกี่ยวเนื่องกับการบริการประชาชน อาทิ เช่ น บริการจัดเก็บภาษีโรงแรมและน้ามัน บริการจดทะเบียนพาณิชย์ บริการจดทะเบียนผู้ประกอบการค้ าน้ามัน บริการงานประชาสั มพันธ์ เป็ นต้ น โดยให้ เป็ นศู นย์ บริการเบ็ดเสร็จ( One Stop Service ) เพือ่ อานวยความสะดวกแก่ ประชาชนที่มาติดต่ องานบริการขององค์ การบริหารส่ วนจังหวัดเชียงราย ประโยชน์ที่จะได้รับจากศูนย์บริ การมีดงั นี้ 1.เพือ่ ให้ บริการประชาชนที่มาใช้ บริการได้ รับความสะดวกในการติดต่ อราชการ 2.เพือ่ ลดขั้นตอนการปฏิบัติงานให้ ส้ั นลงทาให้ ลดเวลาและเอกสารในการ ปฏิบัติงาน 3.เพือ่ ทาให้ การปฏิบัติงานเป็ นไปอย่ างมีประสิ ทธิภาพและเกิดความสะดวก รวดเร็ว สามารถเพิม่ ผลงานและผลสั มฤทธิ์โดยไม่ เป็ นการเพิม่ ค่ าใช้ จ่ายและคุ้มค่ าต่ อภารกิจของรัฐ บริ การจดทะเบียนพาณิชย์ ตาม พ.ร.บ.กาหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอานาจให้ แก่ องค์ กรปกครอง ส่ วนท้ องถิ่น พ.ศ.2542 กาหนดให้ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า ถ่ ายโอนงานทะเบียนพาณิชย์ ให้ กับ องค์ การบริหารส่ วนจังหวัด เอกสารประกอบคาขอจดทะเบียนพาณิชย์ (ตั้งใหม่ ) 1.สาเนาบัตรประจาตัวผู้ประกอบพาณิชยกิจ จานวน 1 ชุด 2.หนังสื อมอบอานาจ (กรณีมอบอานาจ)
เอกสารหลักฐานที่ตอ้ งใช้ในการจดเปลี่ยนแปลงรายการ 1.สาเนาบัตรประจาตัวผู้ประกอบพาณิชยกิจ จานวน 1 ชุ ด 2.ใบทะเบียนพาณิชย์ ตวั จริง 4.สาเนาหนังสื อสาคัญแสดงการเปลีย่ นชื่อตัวหรือชื่อสกุล ใบ ทะเบียนสมรส 4.หนังสื อมอบอานาจ(กรณีมอบอานาจ) จานวน 1 ชุ ด เอกสารประกอบคาขอจดทะเบียนยกเลิกกิจการ 1 สาเนาบัตรประจาตัวผู้ประกอบพาณิชยกิจ หรือทายาทยืน่ คา ขอแทน จานวน 1 ชุ ด 2. ใบทะเบียนพาณิชย์ ตวั จริง 3. หนังสื อมอบอานาจ(กรณีมอบอานาจ) จานวน 1 ชุ ด 4. สาเนาใบมรณะบัตรของผู้ประกอบพาณิชยกิจ (กรณีถึงแก่ กรรม) 5. สาเนาหลักฐานการแสดงความเป็ นทายาทผู้ลงชื่อแทน ผู้ประกอบการพาณิชยกิจ ซึ่งถึงแก่ กรรม อัตราค่าธรรมเนียมการจดทะเบียนพาณิ ชย์ 1. จดทะเบียนพาณิชย์ (ตั้งใหม่ ) ค่ าธรรมเนียม 50 บาท 2. จดเปลีย่ นแปลงรายการ ค่ าธรรมเนียม 20 บาท 3. จดทะเบียนเลิกประกอบพาณิชยกิจ ค่ าธรรมเนียม 20 บาท 4. ขอออกใบแทน ค่ าธรรมเนียม 30 บาท 5. ขอตรวจดูเอกสาร ค่ าธรรมเนียม 20 6. ขอหนังสื อรับรอง ค่ าธรรมเนียมชุดละ 30 บาท
ระยะเวลาการจดทะเบียน จดทะเบียนพาณิชย์ (ตั้งใหม่ ) ต้ องยืน่ ภายใน 30 วัน นับตั้งแต่ วนั เริ่มประกอบการพาณิชยกิจ จดทะเบียนแก้ไขเปลีย่ นแปลง การจดทะเบียนเลิกยืน่ ภายใน 30 วัน นับตั้งแต่ วนั ที่เลิกประกอบพาณิชยกิจ ระยะเวลาในการให้บริ การ 1. กรอกเอกสารคาขอ ภายใน 5 นาที 2. ออกใบทะเบียนพาณิ ชย์ ภายใน 5 นาที 3. ชาระค่าธรรมเนียม ภายใน 3 นาที บริ การจัดเก็บภาษีและค่าธรรมเนียมบารุ ง อบจ.เชียงราย 1. ค่าธรรมเนียมค่ าบารุงองค์ การบริหารส่ วนจังหวัดจากผู้ พักในโรงแรม ผู้มีหน้ าที่เสียค่าธรรมเนียมบารุงองค์การบริหารส่ วน จังหวัดจากผู้พักในโรงแรม ผู้เข้ าพักในโรงแรมมีหน้ าที่เสี ยค่ าธรรมเนียม ให้ แก่องค์ การบริหารส่ วนจังหวัดในอัตราร้ อยละ 0.80 ของค่าเช่ าห้ องพัก โดยให้ ผ้คู วบคุมและผู้จัดการโรงแรมเรียกเก็บจากผู้พกั แทนองค์การบริหาร ส่ วนจังหวัด
วันเวลาที่ต้องเสียค่ าธรรมเนียม ให้ ผ้คู วบคุมและจัดการโรงแรมนาส่ งเงินค่ าธรรมเนียม ณ ศูนย์บริการร่ วมองค์การบริหารส่ วนจังหวัด ภายในวันที่ 10 ของเดือน ถัดไปพร้ อมบัญชีผ้พู ักและรายละเอียดค่าธรรมเนียมเรียกเก็บ ขั้นตอนการจัดเก็บค่ าบารุงองค์การบริหารส่ วนจังหวัดจากผู้พักในโรงเรม 1. ขั้นตอนการเตรียมเอกสารในการยืน่ แบบชาระค่ าธรรมเนียมผู้เข้ าพัก ในโรงแรม แบบ อบจ.ชร1 แบบ อบจ.ชร.2 แบบ อบจ.ชร.3 แบบ อบจ.ชร.6 2. ขั้นตอนการยืน่ แบบชาระค่าธรรมเนียมฯ เตรียมเอกสารครบตามขั้นตอนที่ 1 กรอกรายละเอียดตามแบบ อบจ.ชร. 1,2,3,6 ให้ ครบ เจ้ าหน้ าที่ตรวจสอบเอกสาร ชาระค่ าธรรมเนียมฯ ผู้ประกอบการรอรับใบเสร็จรับเงินได้ภายในเวลา 3 นาที
2. ค่ าภาษีนา้ มันและยาสู บ ผู้มหี น้ าทีเ่ สี ยภาษีนา้ มันและยาสู บ และ สถานค้ าปลีกในเขตจังหวัด ได้ แก่ 1. สถานีบริการนา้ มัน ซึ่งจาหน่ ายปลีกนา้ มัน เบนซินและนา้ มันทีค่ ล้ ายกัน นา้ มันดีเซลและนา้ มันทีค่ ล้ ายกัน 1.1 ร้ านค้ าทีไ่ ด้ รับอนุญาตขายหรือนาออกแสดง เพือ่ ขายยาสู บ ชนิด บุหรี่ หรือซิกาแรต หรือบุหรี่ซิการ์ ประเภทขายครั้งละไม่ เกิน 1,000 มวน (ประเภท 3) ตาม พรบ.ยาสู บ พ.ศ. 2501 และร้ านค้ าทีไ่ ด้ รับใบอนุญาต หรือนาออกแสดงเพือ่ ขายยาสู บ บุหรี่ซิการ์ ประเภทไม่ จากัดจานวน (ประเภท 1) และขายครั้งละไม่ เกิน 20,000 มวน (ประเภท 2) ตาม พรบ.ยาสู บ พ.ศ. 2509 ซึ่งขาย ได้ ครั้งละไม่ เกิน 1,000 มวน จานวนอัตราภาษีทเี่ รียกเก็บ นา้ มันเบนซินและนา้ มันทีค่ ล้ ายกัน นา้ มันดีเซล และนา้ มันทีค่ ล้ ายกัน อัตราลิตรละ 4.54 สตางค์ ยาสู บ ชนิดบุหรี่ซิกาแรตและบุหรี่ ซิการ์ อัตรามวนละ 9.30 สตางค์ วันเวลาทีต่ ้ องเสี ยภาษี ให้ ผ้ คู ้ าปลีกยืน่ แบบรายการพร้ อมชาระภาษีต่อ เจ้ าหน้ าทีข่ องกรมสรรพสามิต ณ สานักงานสรรพสามิตสาขา ภายในวันที่ 20 ของ เดือนถัดจากเดือนทีค่ วามรับผิดชอบในอันทีจ่ ะต้ องเสี ยภาษี การให้ บริการประชาชน ศูนย์ บริการร่ วมเปิ ดให้ บริการตั้งแต่ เวลา 08.30 - 16.30 น.โดยไม่หยุดพักเทีย่ งทุกวันจันทร์ - ศุกร์ ตามวันเวลาราชการ
โดย ถวิล ปานศรี
Learning goals
• บทกวีการสร้างความสัมพันธ์ต่อทีมงาน ของ H. Jackson Brown,JR
“Compliment three people every day”
จงกล่ าวคาชมเชยคนอย่ างน้ อยวันละสามคน ทุกวัน
หนังสื ออ้ างอิง • หลักการประชาสัมพันธ์ รศ. ลักษณา สตะเวทิน • หลักการประชาสัมพันธ์ ภัทรียา สุ มะโน เอกสารคาสอนสถาบันการประชาสัมพันธ์ • จับใจคน จับใจงาน เล่ม 3 เล่ม 4 สุพตั รา สุ ภาพ • 108 การประชาสัมพันธ์ A – Z : รอง ศาสตราจารย์ ดร.เสรี วงษ์ มณฑา • เอกสารประกอบคาบรรยาย Teamwork ผศ.ศรีพชั รา แก้วพิจติ ร
ยิม้
ยิม้ ด้ วยปาก
ยิม้ ด้ วยตา
ยิม้ ด้ วยใจ
หนังสื ออ้างอิง • Meredith Belbin , Management Teams: Why they Succeed or Fail? • Tyne and Wear, Everard and Geoffrey Morris 1996,London p.157,163 • Iain Maitland , Motivating People เรื่ อง Working as a team พิมพ์ครั้งที่ 3 ค.ศ. 1997 • สุ เมธ แสงนิ่มนวล คอลัมน์ ซี 12 เขียน มุม ข้าราชการ
การเขียนบทความเพือ่ การ ประชาสั มพันธ์ (Article Writing for PR.)
บทความคืออะไร • ความเรี ยง หรื อ ข้อเขียน ร้อยแก้ว ที่เสนอสาระและ ความคิดเห็น อย่างมี เหตุผล รวมทั้งเสนอแนว ทางแก้ไข
บทความโดยทัว่ ไป มี 5 ประเภท คือ • • • • •
บทความเชิงวิชาการ บทความเชิงวิเคราะห์วจิ ารณ์ บทความเชิงแสดงความคิดเห็น บทความเชิงอธิบาย บทความเชิงบอกเล่า
หลักการเขียนบทความเพือ่ การ ประชาสั มพันธ์ • • • • •
วัตถุประสงค์ของบทความ แนวคิดในเรื่องที่จะเขียน ข้ อมูลประกอบการเขียน กลุ่มเป้ าหมาย ศิลปะในการใช้ ภาษาในการสื่อ ความหมาย
โครงสร้างของบทความ ประกอบด้วย • ส่ วนที่ 1 ความนํา หรื อ ความ ขึ้นต้น • ส่ วนที่ 2 ตัวเรื่ อง หรื อ ใจความ • ส่ วนที่ 3 ลงท้ายหรื อสรุ ป
ข้อสังเกตเกี่ยวกับการตั้งชื่อ บทความ • ชื่อเรื่ องสั้น ๆ ตรงกับเนื้อเรื่ องโดย ทีเดียว เช่น ลอยกระทง , เบญจกัลยานี ฯลฯ • ชื่อเรื่ องมีคาํ ที่คล้องจ้องกัน เช่น วิธีผดุง โฉมโน้มเสน่ห์ , ข้าวยากหมากแพง , ทํา เองได้กง็ ่ายจัง ฯลฯ • ใช้คาํ ที่มีความหมายตรงกันข้ามมาคู่กนั เช่น นักบุญใจบาป , มือถือดาบปากคาบ คัมภีร์ เป็ นต้น
ข้อสังเกตเกี่ยวกับการตั้งชื่อ บทความ • ตั้งชื่ อเรื่ องที่เป็ นคําถาม เป็ นการกระตุน้ ให้ผอู ้ ่านเกิด ความสนใจอยากติดตามอ่าน ตัวอย่าง เช่น คุณอยู่ ไหน เมื่อดับไฟ? , ภาษาไทย ใครน่ะว่าน่าเบื่อ ? , ร้อนนี้ไปที่ไหน ? ฯลฯ • ใช้ชื่อบุคคลมาเป็ นชื่อบทควา ม โดยมีการดัดแปลงไปจากชื่อเดิม อาจจย่นชื่ อให้ส้ นั ลงหรื อตั้งสมญานามให้ใหม่ แต่คนอ่านต้องเข้าใจว่า หมายถึงใคร เช่น “ บิ๊กจิ๋ว” , “ เตมียใ์ บ้ ” , “ นายกแกงป่ า” ฯลฯ • ตั้งชื่ อเรื่ องเป็ นทํานองชักชวนให้ความร่ วมมือ เช่น มาแก้ไขปั ญหาจราจรกันเถิด , โปรดเห็นใจเด็ก กําพร้า ฯลฯ
ข้อควรคํานึงในการใช้ภาษา •
• •
• • •
ภาษามีคาํ เป็ นพื้นฐาน แต่ละคํามีความหมายตายตัวหรื อมี ความหมายหลายนัย นอกจากนี้หลาย ๆ คําอาจมี ความหมายอย่างเดียวกัน หรื อใกล้เคียงกันก็มี การเลือกมา ใช้แต่ละคําจึงต้องระมัดระวังเป็ นพิเศษ ภาษาเป็ นสิ่ งที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ภาษาที่ใช้อยูแ่ ต่ละยุคแต่สมัยอาจแบ่งได้หลายระดับ ภาษาเขียน ภาษาพูด ภาษาปาก การเขียนแต่ละย่อหน้า แต่ ละประโยคจึงควรคํานึง ความหมายที่ถูกต้องตามที่คิดไว้ ความง่าย และความสะดวกที่อ่าน จะฟัง จะเข้าใจ ความเหมาะสมแก่กาละเทศะ และฐานะของบุคคล
ข้อควรคํานึงในการใช้ภาษา • ความเป็ นระเบียบแบบแผนตามหลักภาษา • ความมีพลังและมีเสน่ห์และให้ผลสมความตั้งใจ • ภาษาที่ใช้จึงควรมีแบบแผนที่ถูกต้องทั้งถ้อยคํา สํานวน โวหาร และลักษณะประโยค • ไม่ควรใช้ตวั อักษรย่อ ใช้ภาษาที่สมบูรณ์ในการสื่ อสาร ความหมายด้วย • หลีกเลี่ยงการใช่คาํ คะนอง ( slang) หรื อศัพท์เฉพาะ กลุ่ม เพราะผูอ้ ่านทัว่ ไปไม่ได้อยูใ่ นกลุ่มนั้นจะไม่เข้าใจ โดย ผูอ้ ่านไม่มีโอกาสได้สอบถามผูเ้ ขียนได้ รสชาติในการอ่านจึง อาจลดลง ความเข้าในในเนื้อหา
• การเขียนที่ดีไม่ใช่พรสวรรค์อย่างเดียว แต่เป็ น พรแสวงที่ฝึกฝนกันได้ ด้วยการฝึ กหัดทําบ่อยๆ ผูท้ ี่สามารถเขียนหนังสื อให้ คนอื่นอ่านและรู ้ เรื่ องเข้าใจเหมือนที่เราต้องการนั้น ล้วนต้อง ผ่านการฝึ กฝนมาแล้วทั้งสิ้ น ดังคํากลอนที่วา่ .-
“ท่ วงทำนองลีลำพำให้ คิด เกิดจำกจิ ตจิ นตนำของผู้เขียน พึงเลือกใช้ ภำษำให้ แนบเนียน เกิดจำกเพียรฝึ กฝนจนชำนำญ”
ความลับของ กอ. " อยากบอกเล่าถึงความในใจของเจ้ าหน้ าที่ 3 จังหวัดชายแดน ภาคใต้ ณ ค่ ายสิ รินทร เมื่อได้ รับคาสั่ งให้ มาปฏิบัติหน้ าที่ ความรู้ สึกตระหนกตกใจทีต่ ้ องจากบ้ าน ห่ วงบาน พ่ อแม่ พีน่ ้ อง ลูก เมีย หันหน้ ามองลูกน้ อง ทีต่ ้ องเดินทางร่ วมกันเพือ่ ปกป้อง รักษาบ้ านเมือง รักษาความปลอดภัย สถานที่ บุคคล เสี่ ยง อันตราย อดอยาก ตากแดด ร้ อน เหนื่อย ดูแลบ้ านของพีน่ ้ อง 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ให้ เขานอนหลับอย่ างมีความสุ ข ต้ อง เดินนับหมอนรถไฟ เพือ่ ตรวจดูสิ่งผิดปกติ ถ้ าพบต้ องรีบแจ้ ง ให้ หน่ วยทราบ แต่ ถ้าไม่ พบแล้ วบังเอิญเดินไปตรงจุดนั้น พอดี กับทีต่ ้งั เวลาไว้ นั่นก็หมายถึงความบาดเจ็บและล้มตาย เขา เหล่านีม้ าต่ างถิ่น ต่ างบ้ าน
ความลับของ กอ. " ต่ างเมือง ถ้ าหากตายไป เราคือการตายในหน้ าที่ ตายไปก็หาคนใหม่ เข้ ามาทดแทน อยากบอกให้ รู้ ว่า แม่ ม่ายมิได้มีแต่ เฉพาะ 3 จังหวัดชายแดน ภาคใต้ เท่ านั้น ปัญหาของประเทศต้ องการความ รักความสามัคคี กาลังใจ และความร่ วมมือจาก ทุกภาคส่ วนของสังคม ร.ต.อ. หญิง กนก
นุช เย็นอาคาร
• เพื่อนคืออะไร มีเรื่ องเล่าว่า คนสองคนเป็ นเพื่อนรักกันมาก เขาทั้งสองร่ วมเดินทาง ไปบนเกาะแห่งหนึ่ง ระหว่างทาง ทั้งสองเกิดโต้เถียง ขัดแย้ง กันอย่างรุ นแรง เพื่อนคนหนึ่ง พลั้งลงมือ ตบหน้าเพื่อนอีกคน อย่างลืมตัว ฝ่ ายที่ถูกทําร้าย เจ็บปวดไม่เอ่ยวาจาใด ๆ กลับเขียนลงบนหาดทรายข้อความว่า "วันนี้ฉนั ถูกเพื่อนรักตบหน้า" พวกเขายังคงเดินทาง บนเกาะแห่งนั้นต่อไป....อยูม่ าวันหนึ่ง ทั้ง สองลงเล่นนํ้าในทะเล พลันคนที่เคยถูกตบหน้าจมนํ้าเพราะ คลื่นยักษ์พดั พา เพื่อนอีกคนไม่รีรอ เข้าช่วยชีวติ เพื่อนรักในทันที......เขาทั้งสอง ปลอดภัย...คนที่จมนํ้ายังไม่เอ่ยวาจา กลับสลักลงบนแผ่นหิ น ใหญ่ความว่า "วันนี้ เพื่อนรักช่วยชีวติ ไว้" อีกคนไม่เข้าใจ ถามว่า "เมื่อเธอถูกฉันตบหน้า เธอเขียนบนหาด ทราย แล้วทําไมวันนี้ จึงสลักไว้บนโขดหิ นเล่า?" อีกฝ่ ายยิม้ พราย กล่าว ตอบ "เมื่อถูกเพื่อนทําร้าย .... ฉันเขียนมันไว้บนหาดทรายให้สายลมแห่ง การให้อภัย ทําหน้าที่พดั ผ่านลบล้างไม่เหลือร่ องรอย แต่เมื่อมีสิ่งดีงามบังเกิด.. ควรสลักไว้บนหิ นผาแห่งความแข็งแกร่ งเสมือนความทรงจําที่ งดงามในหัวใจ... ซึ่งสายลม, สายนํ้าและปั จจัยอื่น ๆ ไม่สามารถ ลบล้างทําลาย"
ข้ อคิดและคาคม
" แมวขาวแมวดา….. ขอให้ จับหนูได้ กเ็ ป็ น แมวที่ด"ี เหมาเจ๋ อตุง
ข้ อคิดและคาคม • ต้ นไม้ ใด หากกิง่ ใดมีผลดก กิง่ นั้นจะโน้ มให้ คนกิน กิง่ ใด สู งชะลูดขึน้ ไป หามี ประโยชน์ ไม่ เขาพร้ อมจะ โน้ มมาทาฟื น ขงจื๊อ
ข้ อคิดและคาคม
" ชีวติ นัก ปจว. ยิม้ เสมอ แต่ บางครั้งก็ แอบสะอืน้ "
• ดูแต่หอยซิ ไม่มีมือมีตีน มันยังหา กินได้เอง ประสาอะไรกับคนมีมือ มีเท้า หากินเองไม่ได้กอ็ ายหอย ปู่ เย็น....
ข้ อคิดและคาคม • กว่าจะเดินทางไกลไปจนถึง หนทางหนึ่งพัน ไมล์แสนไกลห่าง • เราเริ่ มจากก้าวที่หนึ่งซึ่งนําทาง เพื่อก้าวย่าง ต่อไปได้ตามมา ประภัสสร เสนะจันทร์ • วันเวลานาทีของชีวติ ไม่มีสิทธิ์ ....หวนนับ ......ย้อนกลับหลัง • เริ่ มวันนี้ดีกว่าละล้าละลัง หากยังหวังวันหน้า ........อย่าช้าไป ประภัสสร เสนะจันทร์ • หมดอะไรก็หมดได้ แต่......อย่าหมดกําลังใจ
ข้ อคิดและคาคม • เพื่อนใหม่คือของขวัญที่จะนับวันเพิ่มพูน สิ่ งดี ๆ • เพื่อนเก่าคือ อัญมณี ที่จะนับจะเพิ่มคุณค่า ไม่มุ่งหวัง สิ่ งใด ๆ จากเพื่อน นอกจากความเป็ น เพื่อน ปฏิบตั ิต่อเพื่อน เช่นเดียวกับที่เรา ต้องการให้เพื่อนปฏิบตั ิต่อเราเสมอๆ จงรักภักดี จริ งใจ และไม่เอาเปรี ยบเพื่อน • เพื่อนสําคัญ เกินกว่าคนรู้จกั มักคุน้ เราจึง จําเป็ นต้อง "ให้ความใส่ใจ“ และ "อภัย"ให้ได้เสมอ
• การคบคนก็เหมือนกับไส้อวั่ ... ดูจาก ภายนอกจะไม่ค่อยน่ากิน..แต่เมื่อได้ ชิม...ก็จะรู ้วา่ ...รสชาติ...ไม่ได้ เหมือนกับที่คุณเห็น • จิตใจของคุณก็เหมือนกับไข่ 1 ฟอง ที่ดูภายนอกแล้วแข็งแกร่ ง...แต่เมื่อ คุณลองกระเทาะเปลือกออกมาก็จะ เห็นว่าคนๆ นั้น...ไม่ได้แข็งแกร่ งไป กว่าคุณเลย • ร่ างกายของคนๆ หนึ่ งก็เหมือนกับ นํ้าแข็งที่สักวันหนึ่ง...มันก็ตอ้ ง ละลายไป...
•เปิ ดโปง ขบวนการหลอกใช้ เยาวชน เป็ นเครื่องมือในการก่ อความไม่ สงบ ระวัง ! คนแปลกหน้ านาหลัก ศาสนามาบิดเบือน นา้ ท่ วม...ชาวบ้ านเดือดร้ อน ใคร วางระเบิด....ใครยิงเด็กนักเรียน...ช่ าง น่ าอายชาวบ้ าน เราต้ องร่ วมกัน ประณามคนเลวเหล่ านั้น พ.อ.เชษฐา ตรงดี
ข้ อคิดและคาคม พรหมวินาศ ๔ บ้ าอานาจ ฉ้ อราษฎร์ บังหลวง หลอกลวงลูกน้ อง ยกย่ องคนเลว
บทกลอนสอนใจ พ่อแม่ กแ็ ก่เฒ่ า จาจากเจ้ าไม่ อยู่นาน จะพบจะพ้ องพาน เพียงเสี้ยววารของคืนวัน ใจจริงไม่ อยากจาก เพราะยังอยากเห็นลูกหลาน แต่ ชีพไม่ ทนทาน ย่อมร้ าวรานสลายไป ขอเถิดถ้ าสงสาร อย่ากล่ าวขานให้ ช้าใจ คนแก่ชะแรวัย คิดเผลอไผลเป็ นแน่ นอน ไม่ รักก็ไม่ ว่า เพียงเมตตาช่ วยอาทร ให้ กนิ และให้ นอน คลายทุกข์ ผ่อนพอสุ ขใจ เมื่อยามเจ้ าโกรธขึง้ ให้ นึกถึงเมื่อเยาว์วยั ร้ องไห้ ยามป่ วยไข้ ได้ใครเล่ าเฝ้ าปลอบโยน เฝ้ าเลีย้ งจนโตใหญ่ แม้ เหนื่อยกายก็ยอมทน หวังเพียงจะได้ยล เติบโตจนสง่างาม ขอโทษถ้ าทาผิด ขอให้ คดิ ทุกทุกยาม ใจแท้ มีแต่ งาม หวังติดตามช่ วยอวยชัย ต้ นไม้ ที่ใกล้ฝั่ง มีหรือหวังอยู่นานได้ วันหนึ่งคงล้มไป ทิง้ ฝั่งไว้ ให้ วงั เวง .........................................
ข้ อคิดและคาคม อันสตรี ไม่ มศี ีล ก็สิ้นสวย บุรุษด้ วย ไม่ มศี ีล ก็สิ้นศรี ข้ าราชการ ไม่ มศี ีล ก็สิ้นดี พระสามเณร ไม่ มศี ีล ก็สิ้น ธรรม
ข้ อคิดและคาคม กล้ วยไม้ ออกดอกช้ า ฉันใด การศึกษาเป็ นไป เช่ นนั้น แต่ ออกดอกคราใด งามเด่ น ครูนั่นแหละอาจสร้ าง เสก ให้ ชัชวาล
• • • • • •
• • •
อยากจะแกล้งเหงา...ให้ เธอเอาใจใส่ ... อยากแกล้งเป็ นไข้ ...ให้ เธอมาดูแล อยากจะแกล้งงอน...ใครง้ อก่อนคือคนแพ้ อยากจะแกล้งไม่ แคร์ ...ให้ เธอเหลียวแลไปทั้ง วัน อยากจะแกล้งทาเป็ นหลับให้ เธอแอบจับ .....(มือ) ฉันอยากจะแกล้งตายหนึ่งวัน..อยากดูนา้ ตาเธอ นั้นจะมากมายเพียงใดอยากจะซุก ซบอกแอบ แนบอิงไหล่ อยากจะกอด กายเธอไว้ ในอ้อมแขน ปรารถนา แห่ งอารมณ์ มีพรหมแดน เพราะเธอมีแฟน อิงแอบ..แนบทั้งคน
• นิสัยของคนก็เหมือนกับข้าว ถ้าคุณ ไม่หุง...ย่อมกินไม่ได้ • ความรักที่อกหักก็เหมือนกับต้มยํา... ที่มีทุกรส ยกเว้น...ความหวาน... • ความรัก...ก็เหมือนกับไข่เจียว ที่คุณ กินได้ทุกวัน...แต่กย็ งั ไม่เบื่อ • ชีวิตวัยรุ่ นก็เหมือนกับ...Pepsi ที่อึกแรกมักจะซ่า...แต่เปิ ดทิ้งไว้ นานๆ เข้า ก็หายซ่าไปเอง... • ชีวิตวัยรุ่ นก็เหมือนกับสัตว์หลายๆ ชนิดในสวนสัตว์...ที่ตอ้ งการออก ไปสู่ โลกกว้าง... •
• ถ้าคุณกําลังอกหักแล้วยังมองหารักใหม่... โดยที่จะเอามารักษาแผลเดิม ก็จะ เหมือนกับตอนที่คุณท้องเสี ย...แต่ดนั กิน ส้มตํา • แฟนก็เหมือนกับเพลงใหม่เพลงหนึ่ง...ที่ คุณมักบอกว่ามันเพราะ...แต่เมื่อฟังไป แล้วสักร้อยรอบ...คุณก็จะเบื่อไปเอง • ต่างกับเพื่อนสาว...ซึ่งเหมือนกับเพลง คลาสสิ ก...ที่นานๆ คุณเปิ ดที แต่กย็ งั เพราะ...ไม่ต่างจากครั้งแรกที่คุณฟัง • ลองสังเกตไหมว่าถ้ามีรูปถ่ายหมู่ใบหนึ่ง คนที่คุณมองหาคนแรก...คือคนที่คุณ ชอบอยู่
•
• เบอร์โทรศัพท์ ที่ถึงจะเป็ นเพื่อนสนิท คุณ...คุณก็จาํ ไม่ได้ แต่ถา้ เป็ นเบอร์ของ คนที่หลงใหลละก็...คุณจะจําได้ทุกตัว... แม้วา่ มันจะไม่ซ้ าํ กันเลย... • เพลง...ที่คุณชอบมากที่สุดตอนที่คุณมี แฟน อาจจะกลายเป็ นเพลงที่คุณเกลียด ที่สุด...เมื่อเขาจากไป • Mail 100 Mail...ที่เพื่อนคุณ ส่งให้...ก็อาจไม่เทียบได้กบั คนรักคุณ... ที่ตอบมาแค่วา่ .. "ขอบคุณนะ" • ก็เหมือนกับวันๆ หนึ่งที่คุณคุยกับเพื่อน เป็ นร้อยประโยค แต่กจ็ าํ ไม่ได้ แต่เมื่อคุณ ได้คุยกับคนที่คุณแอบชอบ...แม้ประโยค เดียว...คุณก็จาํ ได้...จนกว่าเขาจะมีแฟน เป็ นตัวเป็ นตน
อารมณ์ ขัน หัวใจถามหัวใจหลายตลบ เขานัดพบคืนนีไ้ ปดีไหม ถ้ าไม่ ไปพบเขาเราเสี ยใจ แต่ ถ้าไปพบเขาเราเสี ยตัว
A blind boy เด็กตาบอด A blind boy sat on the steps of a building with a hat by his feet. He held up a sign which said: "I am blind, please help." There were only a few coins in the hat. A man was walking by. He took a few coins from his pocket and dropped them into the hat. He then took the sign, turned it around, and wrote some words. He put the sign back so that everyone who walked by would see the new words.
Soon the hat began to fill up. A lot more people were giving money to the blind boy.
• That afternoon the man who had changed the sign came to see how things were. The boy recognized his footsteps and asked, "Were you the one who changed my sign this morning? What did you write?" The man said, "I only wrote the truth. I said what you said, but in a different way."
I wrote: "Today is a beautiful day, but I cannot see it." Both signs told people that the boy was blind. But the first sign simply said the boy was blind. The second sign told people that they were so lucky that they were not blind. Should we be surprised that the second sign was more effective? • เผยแพร่ โดย จักรกฤช วรสู ตร
A blind boy เด็กตาบอด • เด็กตาบอดคนหนึ่งนัง่ ที่ข้นั บันไดของตึกโดยมีหมวกวางหงายไว้ขา้ งๆ • มีป้ายเขียนไว้ขา้ งตัวว่า "ผมตาบอด กรุ ณาช่วยด้วย" มีเหรี ยญเพียงสอง สามอันในหมวก • ชายคนหนึ่งเดินผ่านมา เขาหยิบเงินสองสามเหรี ยญจากกระเป๋ าแล้วหย่อนลงในหมวก เขาหยิบป้ ายข้างเด็กตาบอดมาเขียนที่ดา้ นหลัง แล้ววางลงที่เดิม เพื่อให้คนเดินผ่านได้เห็นข้อความใหม่บนป้ าย • ในไม่ชา้ ...หมวกก็เต็ม ผูค้ นมากมายให้เงินแก่เด็กตาบอด บ่ายวันนั้นชายที่เขียนป้ ายให้ใหม่กลับมาดูว่าเกิดอะไรขึ้น เด็กชายจําเสี ยงฝี เท้าเขาได้ก็ถามขึ้นว่า "คุณใช่คนที่เขียนป้ ายให้ผมใหม่เมื่อเช้าใช่ไหมครับ" "คุณเขียนว่าอะไรครับ" • ชายคนนั้นพูดว่า "ฉันแค่เขียนความจริ ง ฉันเขียนสิ่ งที่เธอพูดแต่เขียนด้วยคําพูดที่แตกต่าง" • ฉันเขียนว่า "วันนี้ช่างเป็ นวันที่สวยงาม แต่ผมไม่สามารถชื่ นชมมันได้" • ทั้งสองข้อความบอกกล่าวผูค้ นว่าเด็กชายนั้นตาบอด ทว่าข้อความแรกเพียงบอกธรรมดาว่าเด็กชายตาบอด ในขณะที่ขอ้ ความหลังบอกผูค้ นว่าพวกเขาช่างโชคดีเหลือเกินที่ตาไม่ บอด แปลกใจไหมที่ขอ้ ความหลังให้ผลดีกว่า
A blind boy เด็กตาบอด • ข้อสอนใจจากเรื่ องนี้ จงขอบคุณในสิ่ งที่คุณมี ขอให้มี ความคิดสร้างสรรค์ ปฏิรูปจิตใจของคุณ และคิดแตกต่างในแง่บวก • ยามเมื่อชีวติ มีเหตุผลเป็ นร้อยให้คุณอยากร้องไห้ จงทําให้ชีวติ ดูวา่ มีเหตุผลเป็ นพันให้คุณยิม้ ได้ เผชิญหน้ากับอดีตโดยไม่สลดใจ จัดการกับปั จจุบนั อย่าง มัน่ ใจ เตรี ยมการเพื่ออนาคตโดยไม่หวาดกลัว มีศรัทธาและโยน ความหวาดหวัน่ ทิ้งไป • สิ่ งที่งดงามที่สุดคือการได้เห็นคนยิม้ แย้ม และยิง่ งดงามกว่านั้นที่ได้รู้วา่ เราเป็ นผูอ้ ยูเ่ บื้องหลังรอยยิม้ นั้น
บนไหล่ ของคุณ มีแมงปอเกาะอยู่รึเปล่า • ณ เมืองเล็กๆ ที่สวยและสงบสุข..เมืองหนึ่ง คู่รัก-คู่หนึ่ง..ที่รักกันมาก
ทุกวัน..พวกเขาจะพากันไปดูพระอาทิตย์ข้ ึน..ที่ชายหาดและไปส่งพระ อาทิตย์ลบั ขอบฟ้ าที่ชายหาด..ตอนโพล้เพล้ ทุกคน..ที่เคยพวกเขาพบเจอ จะมองด้วยสายตาอิจฉา..ในความรักของ คนคู่น้ ีเสมอ แต่แล้ววันหนึ่ ง..เกิดอุบตั ิเหตุรถชนขึ้น หญิงสาวผูโ้ ชคร้าย..ได้รับบาดเจ็บสาหัส เธอนอนเงียบๆ.. อยูบ่ นเตียง ของโรงพยาบาล วันแล้ววันเล่า.. คืนแล้วคืนเล่า ..เธอก็ยงั คงไม่ฟ้ื นคืนมา ตอนกลางวัน.. ชายหนุ่ม..จะมาเฝ้ าอยูท่ ี่หน้าเตียง ร้องเรี ยกคนรักของเขาเสมอ ..ทั้งๆ ที่เธอไม่ตอบสนองใดๆ เลย ตกกลางคืน.. ชายหนุ่ม..จะไปสวดภาวนาอ้อนวอนต่อพระผูเ้ ป็ นเจ้า..ที่ โบสถ์นอกเมือง เขาร้องไห้จนนํ้าตาเหื อดแห้ง ไม่มีจะไหลออกมาอีกแล้ว
ผ่านไป 1 เดือน.. หญิงสาว..ยังคงหลับใหล..ไม่ฟ้ื นเหมือนเดิม ส่วนชายหนุ่ม..ก็ดู จะซูบเซียวขึ้นทุกวัน แต่..เขาก็ยงั คงสวดอ้อนวอน..ต่อพระผูเ้ ป็ นเจ้าอยูเ่ สมอ.ไม่หยุด
แต่..แล้ววันหนึ่ง พระผูเ้ จ้า..ก็เกิดเห็นใจในรักของชายหนุ่ม และตกลงที่จะประทานพร..ให้แก่เขา พระผูเ้ ป็ นเจ้า..ได้ถามชายหนุ่มว่า..
“เจ้ายอมที่จะแลกพรนี้..ด้วยชีวติ ของเจ้าไหม?” ชายหนุ่มตอบโดยไม่ลงั เลว่า.. “ ผมยอมครับ”
• พระผูเ้ ป็ นเจ้าพูดว่า..
“งั้นดี..ฉันจะให้คนรักของเจ้าฟื้ นขึ้นมา..แต่เจ้าต้องแลกกับการ กลายเป็ นแมลงปอ..เป็ นเวลา 3 ปี ..เจ้าจะกลงยอมไหม?” ชายหนุ่มได้ฟังดังนั้น ..แต่ก็ยงั คงยืนยันคําตอบเดิม “ผมยอมครับ” ฟ้ าสางแล้ว.. ชายหนุ่ม..ได้กลายเป็ น แมลงปอสวยงาม..ตัวหนึ่ง
เขาบอกลาพระผูเ้ ป็ นเจ้า..แล้วรี บบินกลับไปที่โรงพยาบาล ..ฟื้ นขึ้นมาแล้วจริ งๆ
หญิงสาว
มีนายแพทย์หนุ่ม..ยืนอยูข่ า้ งๆ เธอ ..คุยเรื่ องอะไรกันสักอย่างหนึ่ง แต่ช่างเสี ยดาย..ที่เขาไม่สามารถที่จะได้ยนิ .. หลายวันผ่านไป.. หญิง สาวแข็งแรง..พอที่จะออกจากโรงพยาบาลได้แล้ว แต่..เธอดูไม่มีความสุขเลย เธอออกตระเวนหาข่าวคราว..ของชาย หนุ่ม แต่ไม่มีใครรู้เลยว่า..ชายหนุ่มหายไปอยูท่ ี่ไหน หญิงสาวยังไม่ละ ความพยายาม..ที่จะตามหาชายคนรักของเธอ ชายหนุ่ม..ซึ่ งอยูใ่ นร่ าง ของเจ้าแมลงปอ..ได้แต่บินวนเวียนอยูร่ อบตัวหญิงสาว..ไม่ห่าง ทว่า ..เขาไม่สามารถที่ส่งเสี ยง ..ไม่สามารถโอบกอดเธอได้ เขาทําได้แค่ เพียง..เฝ้ ามองดูหญิงสาวไม่ให้คาดสายตา..เท่านั้น
•
ฤดูร้อน..ผ่านไปแล้ว ลมฤดูใบไม้ร่วง..พัดใบไม้ปลิวร่ วงหล่น..จากต้นไม้ใหญ่ เจ้าแมลงปอ..จําต้องจากที่นี่ไปแล้ว นี่เป็ นครั้งสุ ดท้าย..ที่เขาจะได้บินมาเกาะ..ที่บ่า ของหญิงสาว เขาอยากใช้ปีกของเขา..ลูบใบหน้าของหญิงสาว อยากใช้ปากเล็กๆ ..จูบที่หน้าผาก แต่อย่างไรก็ดี..ร่ างเล็กบอบบาง..ในคราบของแมลงปอ ก็ไม่สามารถเรี ยกร้องความสนใจ..จากหญิงสาวได้ แค่พริ บตา ..ฤดูใบไม้ผลิ..ก็มาเยือน
เจ้าแมลงปอ..รี บบินกลับมาหาคนรักของเขา เพื่อจะพบว่า..ร่ างอันคุน้ ตานั้น ..บัดนี้ได้ยนื เคียงคู่อยูก่ บั ..ชายรู ปร่ างสันทัดคนหนึ่ง
ภาพๆ นั้น..ทําให้เจ้าแมลงปอ..เกือบจะบินตกลงมาจากอากาศเลยทีเดียว ชาวบ้าน..ต่างกล่าวขานถึงเรื่ องอุบตั ิเหตุ..ที่ทาํ ให้หญิงสาวได้รับบาดเจ็บสาหัส
ทําให้ได้พบกับแพทย์หนุ่มที่น่ารัก ..และใจดี..คนนั้น และยังกล่าวถึง..ความรักของคนทั้งคู่..ที่เหมือนถูกกําหนดมา..อย่างไรอย่างนั้น แน่นอน..พวกเขายังคงพูดถึง..หญิงสาวที่สดใสร่ าเริ งขึ้นกว่าเมื่อก่อน..มากมายนัก เจ้าแมลงปอ..รู ้สึกเจ็บปวดยิง่ นัก
• หลังจากนั้น..ไม่กี่วนั แมลงปอ..เห็นแพทย์หนุ่มผูน้ ้ นั ..พาคนรักของตน ไปชายทะเล..เพื่อดูพระอาทิตย์ข้ ึน พลบคํ่า..ก็อยูท่ ี่ชายหาด..เพื่อดูพระ อาทิตย์ตกแต่..สําหรับเขาแล้วนอกจาก..บินมาเกาะที่บ่าของหญิงสาว แล้ว.. เขาไม่สามารถทําอะไรได้เลย หน้าร้อนของปี นี้ ..ช่างยาวนานนัก เจ้าแมลงปอ..บินตํ่าลงๆ ทุกวัน.. ด้วยความรู้สึกที่เจ็บปวด เขาไม่มีเรี่ ยวแรงเพียงพอ.ที่จะบินเข้าใกล้.. หญิงอันเป็ นที่รัก ท่าทางการพูดคุยกันอย่างสนิ ทสนม..ของคนทั้งคู่ เสี ยงหัวเราะอย่างมีความสุขของทั้งคู่ ..ทําให้เขารู้สึกโดดเดี่ยวยิง่ นัก ย่างเข้าฤดูร้อน..ของปี ที่ 3 เจ้าแมลงปอ..ไม่ค่อยไปเฝ้ าดูคนรักของเขา แล้ว บ่าของเธอ..บัดนี้ถูกโอบกอดด้วยมือของแพทย์หนุ่ม ใบหน้า..ถูก ประทับจูบอย่างเบาๆ ..จากเขาผูน้ ้ นั ดูท่าทางแล้ว..ไม่มีทางเลย..ที่หญิงสาวจะมีเวลาที่จะไปคิดถึง..แมลงปอ ที่เจ็บปวดตัวหนึ่ง ยิง่ ไม่มีทาง..ที่จะไปคิดถึงอดีต..สิ่ งที่ผา่ นไปวันครบรอบปี ที่ 3 ..ที่พระ ผูเ้ ป็ นกําหนดไว้..ใกล้มาถึงแล้ว คนรักของเจ้าแมลงปอ..กับนายแพทย์ หนุ่ม..ได้จดั พิธีแต่งงานขึ้น..ในวันสุ ดท้ายนั้นเอง เจ้าแมลงปอ..ค่อยๆ บินเข้าไปในโบสถ์.. และไปเกาะที่บ่าของพระผู้ เป็ นเจ้า เขาได้ยนิ เสี ยงของคนรัก..ที่ดงั มาจากข้างล่าง..ตอบรับคําสาบานของ พระผูเ้ ป็ นเจ้าว่า.. “ฉันยอมรับ” เขาเห็นแพทย์หนุ่มคนนั้น..สวมแหวน ให้คนรักของเขา ตามด้วยจุมพิตที่แสนหวาน..ของคนทั้งคู่ เจ้าแมลงปอ..ปล่อยให้น้ าํ ตาแห่งความเจ็บปวด..ไหลออกมา พระผูเ้ ป็ นเจ้า..ถามแมลงปอว่า..“เจ้ารู้สึกเสี ยใจไหม?” เจ้าแมลงปอ เช็ดนํ้าตา..แล้วตอบว่า..“เปล่า”พระผูเ้ ป็ นเจ้าถอนหายใจ..แล้วพูดต่อว่า .. “งั้นพรุ่ งนี้ ..เจ้าก็ได้กลับเป็ นเจ้าคนเดิมแล้ว” เจ้าแมลงปอ..ส่ายหน้าอย่างช้าๆ ..ก่อนตอบว่า.. “ขอผมเป็ นแมลงปอ อย่างนี้ ..ไปตลอดชีวิตเถอะครับ
กรุ งโรมเริ่ มต้นด้วยก้อนอิฐก้อนแรก หากไม่มีกอ้ นอิฐก้อนแรกก็ไม่มีกอ้ นที่ สองและสามต่อมา การจะทํางานใหญ่ใดๆ นั้นต้องเริ่ มจากส่วนเล็กๆก่อนเสมอ เช่นเดียวกับการเขียนบทความให้ดีจึงต้อง เริ่ มจากการเป็ นนักอ่านที่ดี ช่างสังเกต ช่างจดและช่างจํา รวมทั้งการฝึ กเขียน บ่อยๆ และน้อมรับการวิพากษ์จึงจะเป็ น นักเขียนบทความที่ดีได้
เอกสารอ้างอิง • อาภา อภิชาตไตรสรณ์ การเขียนบทความเพื่อการ ประชาสัมพันธ์ สถาบันการประชาสัมพันธ์ กรม ประชาสัมพันธ์ • สารคดี 5 นาที กับกรมประชาสัมพันธ์ • ไชยยันต์ พงศะบุตร เอกสารประกอบการบรรยาย สถาบันส่ งเสริ มการสอนวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี • พ.อ.เชษฐา ตรงดี เอกสารประกอบการบรรยาย การ ฝึ กอบรม สถาบันการประชาสัมพันธ์ ร่ วมกับ กอ. รมน. • ร.ต.อ. หญิง กนกนุช เย็นอาคาร บทความ กอ.รมน. การฝึ กอบรม สถาบันการประชาสัมพันธ์ ร่ วมกับ กอ.รมน. • http://onknow.blogspot.com/2010/06/blindboy.html