ฉลาดทำบุญ

Page 1



ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ 3


ฉลาดทำบุญ ÃÇÁàÃ×èͧ¹‹ÒÃÙŒ ¤Ù‹Á×Í·ÓºØÞãËŒ¶Ù¡ÇÔ¸Õ พระชาย วรธมโม พระไพศาล วิสาโล àÃÕºàÃÕ§ âÍÀÒÊ àª¯°Ò¡ØÅ ºÃóҸԡÒÃ

เลขมาตรฐานสากลประจำหนังสือ ๙๗๔ -๙๑๑๘๙ -๑-x ¾ÔÁ¾ ¤ÃÑ駷Õè õø µØÅÒ¤Á òõôù ¨Ó¹Ç¹¾ÔÁ¾ ó,öðð ¾ÔÁ¾ ¤ÃÑ駷Õè õù ¾ÄȨԡÒ¹ òõôù ¨Ó¹Ç¹¾ÔÁ¾ ò,öðð ¾ÔÁ¾ ¤ÃÑ駷Õè öð ¸Ñ¹ÇÒ¤Á òõôù ¨Ó¹Ç¹¾ÔÁ¾ ó,öðð ¾ÔÁ¾ ¤ÃÑ駷Õè öñ ¡ØÁÀҾѹ¸ òõõð ¨Ó¹Ç¹¾ÔÁ¾ õ,õðð ¾ÔÁ¾ ¤ÃÑ駷Õè öò ¡ØÁÀҾѹ¸ òõõð ¨Ó¹Ç¹¾ÔÁ¾ ó,öðð ¾ÔÁ¾ ¤ÃÑ駷Õè öó ÁԶعÒ¹ òõõð ¨Ó¹Ç¹¾ÔÁ¾ ò,öðð ¾ÔÁ¾ ¤ÃÑ駷Õè öô ÊÔ§ËÒ¤Á òõõð ¨Ó¹Ç¹¾ÔÁ¾ ó,öðð ¾ÔÁ¾ ¤ÃÑ駷Õè öõ ¡Ñ¹ÂÒ¹ òõõð ¨Ó¹Ç¹¾ÔÁ¾ ó,öðð ¾ÔÁ¾ ¤ÃÑ駷Õè öö µØÅÒ¤Á òõõð ¨Ó¹Ç¹¾ÔÁ¾ ó,öðð ¾ÔÁ¾ ¤ÃÑ駷Õè ö÷ µØÅÒ¤Á òõõð ¨Ó¹Ç¹¾ÔÁ¾ õ,õðð

àÅ‹Á àÅ‹Á àÅ‹Á àÅ‹Á àÅ‹Á àÅ‹Á àÅ‹Á àÅ‹Á àÅ‹Á àÅ‹Á

โดย à¤Ã×Í¢‹Ò¾ط¸Ô¡Ò รวมกับ ÇÑ´ÊÇ¹á¡ŒÇ วัดปาสุคะโต ÇÑ´»†ÒÁËÒÇѹ ¨.ªÑÂÀÙÁÔ .ÇÑ´·Ø‹§ä¼‹ ¨.ªØÁ¾Ã ,àʶÕÂøÃÃÁʶҹ ¡Í§·Ø¹ÇزԸÃÃÁ ,¡ÅØ‹Á¾Ø·¸·ÒÊÈÖ¡ÉÒ ÃÒ¤Ò öð ºÒ· ภาพประกอบ ¡ÑÞ¨¹Ò â¤àª¡ ¨Ñ´¨Ó˹‹Ò ºÃÔÉÑ· à¤Åç´ä·Â ¨Ó¡Ñ´ â·ÃÈѾ· ð-òòòõ –÷õóö – ù ¾ÔÁ¾ ·Õè âç¾ÔÁ¾ àÁç´·ÃÒ â·ÃÈѾ· ð-òøøò – õôùò – ó 4 ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ


©ÅÒ´·ÓºØÞ

ÃÇÁàÃ×èͧ¹‹ÒÃÙŒ ¤Ù‹Á×Í·ÓºØÞãËŒ¶Ù¡ÇÔ¸Õ ¾ÃЪÒ ÇøÁÚâÁ ¾ÃÐä¾ÈÒÅ ÇÔÊÒâÅ àÃÕºàÃÕ§ âÍÀÒÊ àª°°Ò¡ØÅ ºÃóҸԡÒÃ

ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ 5


คํ​ํานํ​ํา ท่านอาจารย์พุทธทาสกล่า ว่า “คนไทยชอบทาบุญ แต่ ไม่ชอบทา ·íÒ กุศล” กุศลในที่นี้ท่านหมายถึงความ ฉลาด คนเราต้องเรียนรู้ทุกวันจากทุก เรื่องให้ฉลาดขึ้น ฉลาดคือเข้าใจว่าอะไร เป็นอะไร และเห็นแก่ตัวน้อยลง ถ้า เห็นแก่ตัวมากขึ้นแปลว่าโง่ลง ความเป็น มนุษย์หมายถึงการมีจิตใจสูง ซึ่งเป็นจุด ที่ต่างจากสัตว์ สัตว์ ไม่มีบุญมีบาป มี แต่ทาไปตามธรรมชาติ บุญบาปจึงเป็น เรื่องของมนุษย์เท่านั้น บุญหรือบุญญะ คือความดี ความดีเป็นคุณสมบัติของ ความเป็นมนุษย์ อีกคํำาหนึ่งที่หมายถึง ความดีก็คือว่าจิตวิญญาณ มนุษย์ขาด ความดีหรือจิตวิญญาณไม่ ได้ มิฉะนั้น จะขาดความสมบูรณ์ ในตัวเอง ทุก

6 ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ

วันนี้มนุษย์เป็นโรคพร่องทางวิญญาณ (spiritual deficiency) ทํำาให้ขาด ความสุขที่แท้ เมื่อพร่องก็ไปหาอะไรมา เติม เช่น ยาเสพติด ความฟุ่มเฟือย และความรุนแรง ซึ่งไม่ตรงกับโรค ปัญหายาเสพติด ความฟุ่มเฟือย และ ความรุนแรงจะแก้ ไขไม่ ได้ตราบใดที่ มนุษย์ยังเป็นโรคพร่องทางจิตวิญญาณ อยู่ การเติมจิตวิญญาณให้สมบูรณ์ ใน ตัวเองจึงมีความสาคัญยิ่ง “ฉลาดทํำาบุญ” เล่มนี้เป็นคู่มือ เพื่อการเติมเต็มทางวิญญาณหรือความ ดี ถ้าไม่ฉลาด ที่คิดว่าทํำาบุญกลับกลาย เป็นทํำาบาป เช่น เอาน้าขวดใส่บาตร พระ เป็นการเบียดเบียนทํำาให้ท่านต้อง ถือของหนักกลับวัด ทั้ง ๆ ที่ ที่วัดก็มีน้า


Òí บาตรเพราะ อยู่แล้ว แต่ผู้ที่เอาขวดน้า¹éใส่ ความโง่ที่คิดว่าตัวเองจะได้มีน¹é้ากิÒí นในชาติ หน้า การทาเพื่อตัวเองจะได้อะไรเป็น กิเลส การทาบุญนั้นเพื่อลดกิเลส

ใจ และวัตถุสิ่งของอันไม่เป็นโทษ การ คิดเพื่อผู้อื่น เช่นว่า “ฉันจะทาอะไรให้ ผู้อื่นได้บ้าง” ถือว่าเป็นปัญญา และบุญ อย่างยิ่ง พูดเพื่อยังประโยชน์แก่ผู้อื่น ทีว่ า่ ฉลาด นีค้ อื รูว้ า่ บุญคืออะไร ทํำา กระทํำาเพื่อประโยชน์ของผู้อื่น และให้วัตถุ สิ่งของอันไม่เป็นโทษ ถือเป็นทานทั้งสิ้น กับใคร และทํำาด้วยอะไร “©ÅÒ´·í “ฉลาดทาÒºØบุÞญ” ว่าด้วยสิ่งเหล่านี้ บุญ โดยความหมายที่ครอบคลุม หมายถึง การให้ การไม่เบียดเบียน และ จึงเหมือนเป็นแผนที่เดินทางไปสู่บุญ การ การพัฒนาจิตให้ยงิ่ หรือ ทาน ศีล ภาวนา ที่ท่านพระชาย วรธมโม และคณะทํำางาน อันประกอบด้วย พระไพศาล วิสาโล ทั้งหมดเพื่อลดความเห็นแก่ตัว คุณอรศรี งามวิทยาพงศ์ คุณโอภาส ทาน หมายถึงการให้ทั้งปวง เรา เชฏฐากุล คุณสุรเดช พรทวีทัศน์ และ มักแยกกันว่าให้พระหมายถึงทํำาให้บุญ ให้ คุณธวัชชัย โตสิตระกูล มีอุตสาหะ คนอืน่ หมายถึงทํำาทาน แท้ทจี่ ริงทานหมาย เรียบเรียงขึ้น จัดเป็นบุญกิริยาอย่างสูง ถึงการให้ทั้งปวง และบุญหมายถึงความดี ขอให้ผู้อ่านได้รับประโยชน์สมกุศลเจตนา ทั้งปวง คือ ทาน ศีล ภาวนา ของผู้รจนาและผู้จัดพิมพ์ เกิดทั้งบุญและ ให้ด้วยอะไร ให้ด้วยกาย วาจา กุศลไปพร้อมกัน ขออนุโมทนา

๒ มิถุนายน ๒๕๔๔

ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ 7


ÊÒÃºÑ ÊÒúÑÞÞ ¤Ó¹Ó ¤Ó¹Ó µÍ¹·Õ µÍ¹·Õè è ññ ºØºØÞÞ·Õ·Õèáèá·Œ·ŒááÅÐÊÑ ÅÐÊѧ§¦·Ò¹ ¦·Ò¹ ºØºØÞÞ·Õ·Õèáèá·Œ·Œ ·ÓºØ ·ÓºØÞÞÍ‹ Í‹ÒÒ§ÁÕ §ÁÕ¤¤ÇÒÁËÁÒ ÇÒÁËÁÒ ºØºØÞÞ ño ño ÇÔÇÔ¸¸Õ Õ ºØºØÞÞáÅФÇÒÁÁØ áÅФÇÒÁÁØ‹§‹§ËÁÒÂáË‹ ËÁÒÂáË‹§§ºØºØÞÞ óó ÃÐ´Ñ ÃдѺº ¡ÒõÃǨÊͺ¼ÅºØ ¡ÒõÃǨÊͺ¼ÅºØÞÞ ÊÑÊѧ§¦·Ò¹ ¦·Ò¹ ÊÑÊѧ§¦·Ò¹¤× ¦·Ò¹¤×ÍÍÍÐäà ÍÐäà ¶ÇÒÂÊÑ ¶ÇÒÂÊѧ§¦·Ò¹Í‹ ¦·Ò¹Í‹ÒÒ§äÃãËŒ §äÃãˌ䴌䴌ººØÞØÞ µÍ¹·Õ µÍ¹·Õè è òò ¤Ô¤Ô´´ãËÁ‹ ãËÁ‹ ·ÓãËÁ‹ ·ÓãËÁ‹ ãËŒãˌ䴌䴌ººØÞØÞ ¡ÒÃ·ÓºØ ¡Ò÷ӺØÞÞã¹ÇÒÃе‹ ã¹ÇÒÃе‹ÒÒ§§ ææ §Ò¹ÇÑ §Ò¹Çѹ¹à¡Ôà¡Ô´´ §Ò¹áµ‹ §Ò¹áµ‹§§§Ò¹ §Ò¹ §Ò¹·ÓºØ §Ò¹·ÓºØÞÞºŒºŒÒÒ¹¹ ¢Ö¢Öé¹é¹ºŒºŒÒÒ¹ãËÁ‹ ¹ãËÁ‹ à» à» ´´ÊÓ¹Ñ Êӹѡ¡§Ò¹ãËÁ‹ §Ò¹ãËÁ‹ ·ÓºØ ·ÓºØÞÞãÊ‹ãÊ‹ººÒµÃã¹ÇÑ ÒµÃã¹Çѹ¹¸ÃÃÁ´ÒáÅЪ‹ ¸ÃÃÁ´ÒáÅЪ‹Çǧà·È¡ÒÅ §à·È¡ÒÅ §Ò¹È¾ §Ò¹È¾ äÁ‹äÁ‹µµŒÍŒÍ§ÊÅÐà§Ô §ÊÅÐà§Ô¹¹¡ç¡çà໚»š¹¹ºØºØÞÞ䴌䴌àËÁ× àËÁ×Í͹¡Ñ ¹¡Ñ¹¹ µÍ¹·Õ µÍ¹·Õè è óó ·ÓºØ ·ÓºØÞÞ :: àÃ×àÃ×èÍèͧ¹Õ §¹ÕéÁéÁդդӵͺ ӵͺ ¾Ô¾Ô¸¸Õ¡Õ¡ÃÃÁ㹧ҹºØ ÃÃÁ㹧ҹºØÞÞ ¤ÇÒÁàª× ¤ÇÒÁàª×èÍèÍàÃ×àÃ×èÍèͧ¡ÒÃ·ÓºØ §¡Ò÷ӺØÞÞ ·ÓºØ ·ÓºØÞÞãËŒãˌ䴌䴌ººØÞØÞ ÀÒ¤¼¹Ç¡ ÀÒ¤¼¹Ç¡ ¾Ô¾Ô¸¸Õ¡Õ¡ÃÃÁ ÃÃÁ àÃ×àÃ×èÍèͧ¢Í§¤¹·Ó´Õ §¢Í§¤¹·Ó´Õ àÍ¡ÊÒûÃСͺ¡ÒÃàÃÕ àÍ¡ÊÒûÃСͺ¡ÒÃàÃÕºàÃÕ ºàÃÕ§§

8 ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ


ñô ñô ñõ ñõ òô òô óö óö ôð ôð ôó ôó ô÷ ô÷ õö õö õö õö õø õø õù õù öð öð öò öò ö÷ ö÷ øô øô øù øù ùô ùô ñðö ñðö ñóó ñóó ñõô ñõô

ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ 9


ความเห็นที่ตรงถูกต้อง เป็นลักษณะที่ตัดสินบุญกิริยาวัตถุทุกอย่าง เมื่อจะทำบุญอย่างใดอย่างหนึ่งก็ตาม บุญนั้นจะมีผลมาก ก็เพราะความเห็นความเข้าใจถูกตรง

พุทธพจน์

10 ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ


บทที่ ๑

บุญ ที่แท้

และ สังฆทาน

ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ 13


บุญที่แท้ คนไทยหายใจเข้าออกเป็นบุญ นึก ถึงการทํำาบุญอยู่เสมอ ขาดบุญไม่ ได้ แต่ มักไม่เข้าใจความหมายของ “บุญ” อย่าง เช่นเวลาพูดว่า “·í “ทํำÒºØ าบุÞญ·íทาÒ·Ò¹” ทาน” เรามัก เข้าใจว่า ทํำาบุญ คือ ถวายข้าวของแก่พระ สงฆ์ ส่วนทํำาทาน คือ ให้ข้าวของแก่คน ยากจน และยังเข้าใจจากัดแต่เพียงว่าต้อง ทํำากับพระสงฆ์เท่านั้นจึงจะเป็นบุญ

บุญ แปลว่า เครื่องชาระจิตใจ บริสุทธิ์สะอาด หรือคุณสมบัติที่ทาให้ บริสุทธิ์ คํำาว่า “ทาน” แปลว่า การให้ การสละ การเผื่อแผ่แบ่งปัน จะมอบของ ให้ ใคร หรือจะถวายของให้ ใครก็เป็นบุญ ทั้งนั้น จะต่างกันก็เพียงว่าได้บุญมากบุญ น้อยเท่านั้นเอง

ฉะนัน้ เวลาพูดว่า ไปทํำาบุญทํำาทาน จึงหมายความว่าไปชาระจิตใจให้สะอาดบริสทุ ธิ์ ด้วยการแบ่งปันสิ่งของ (ทานมัย) ซึ่งเป็นการแบ่งปันให้ ใครก็ได้ และการทาบุญก็ไม่ ได้มีความหมายแคบ ๆ แต่เพียงแค่การให้ทานบริจาคสิ่งของแต่เพียงอย่างเดียวเท่านั้น

14 ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ


ทํ​ําบุญอย่างมีความหมาย บุ ญ มาจากศั พ ท์ ภ าษาบาลี ว่ า “ปุญญะ” แปลว่า เครื่องชาระจิตใจให้ สะอาดบริสุทธิ์ บุญเป็นเครื่องกาจัดสิ่ง เศร้าหมองที่เรียกว่า กิเลส ดังนั้น การ ทํำาบุญจึงเป็นการช่วยลดละเลิกความโลภ ความเห็นแก่ตัว ความมีใจคับแคบ ความ ตระหนี่ถี่เหนียว ความหวงแหนยึดติดลุ่ม หลงในวัตถุสิ่งของ อันเป็นสาเหตุหนึ่งของ ความทุกข์ ให้ออกไปจากใจ ทํำาให้ ใจเป็น อิสระ พร้อมจะก้าวต่อไปในคุณความดี อย่างอืน่ หรือเปิดช่องให้นาเอาคุณสมบัตอิ นั ดีงามอื่น ๆ มาใส่เพิ่มเติมแก่ชีวิต เป็นการ ยกระดับจิตใจให้สูงขึ้น

ขณะเดียวกันบุญก็ทํำาให้เกิดภาวะน่า บูชา คนที่ทํำาบุญมักเป็นคนน่าบูชา เพราะ เป็นบุคคลผู้มีคุณธรรม มีความดี บุญทํำา ให้เกิดภาวะน่าบูชาแก่ผู้ที่ทาบุญสม่าเสมอ และเมื่อได้ทาํำ บุญแล้ว จิตใจก็อิ่มเอิบเป็นสุข ที่ประณีตลึกซึ้งขึ้นไป เป็นความสุขที่ยั่งยืน ยาวนานและเป็นความสุขที่สงบประณีต

ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ 15



หลวงพ่อพุทธทํ​ําสพูดถึงวิธีทำบุญ ๓ แบบว่า เปรียบเหมือนกับบุคคล ๓ ประเภท เอาน้ํำา ๓ ชนิดมาอาบชาระล้างตัว คือ

ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ 17


๑) บุคคลทํำาบุญเหมือนเอาน้าโคลน มาอาบ คือคนที่ทํำาบุญด้วยการฆ่าสัตว์ตัด ชีวิต เบียดเบียนสัตว์ ฆ่าวัว ฆ่าควาย ฆ่าเป็ด ฆ่าไก่ และเอาเนื้อสัตว์เหล่านั้นมา จัดงานบุญเลี้ยงกัน รวมทั้งมีเลี้ยงสุรายา เมาด้วย จนบางครั้งเกิดการทะเลาะวิวาท ทํำาร้ายกัน เหล่านี้เป็นการทํำาบุญด้วยการ ทํำาบาป เหมือนกับเอาน้าโคลนมาชาระตัว จะสะอาดได้อย่างไร

18 ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ

๒) บุคคลทาบุญเหมือนเอาน้าเจือ ด้วยแป้งหอมมาอาบ คือคนที่ทํำาบุญด้วย อุปาทาน ยึดมัน่ ถือมัน่ ในบุญเป็นอย่างมาก เมาสวรรค์ เมาวิมาน เป็นการทาบุญด้วย กิเลสหรือความยึดติดอย่างรุณแรง ทํำาแล้ว หวังผลเช่นนั้นเช่นนี้ เหมือนเอานํำ้าที่เป็น เครื่องหอมมาอาบชาระกาย จะสะอาดได่ อย่างไร


๓) บุคคลทํำาบุญเหมือนเอาน้าํำ สะอาด มาอาบ คือคนที่ทํำาบุญด้วยใจสงบร่มเย็น ไม่ยึดมั่นถือมั่นสิ่งนั้นว่าเป็นตัวเราของเรา (อาจจะมีบ้างเหมือนกันแต่ ไม่ ได้เป็นเหตุ จริงจังให้จิตฟุ้งซ่าน หวั่นไหว หรือยึดติด เป็นอุปาทาน) เหมือนคนเอาน้าํำ สะอาดมา อาบย่อมสะอาดกว่าบุคคล ๒ ประเภทแรก

ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ 19



เราทํำาบุญแล้วเป็นแบบไหน หรือจะเป็นแบบไหน

ต้องเลือกพิจารณาดู ให้ด ี ๆ

ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ 21


บุญคือการสร้างสรรค์ชุมชน

มีเรื่องเล่าในอรรถกถา ซึ่งเป็น คัมภีร์สาคัญรองลงมาจากพระไตรปิฎก ว่า ที่หมู่บ้านเล็ก ๆ แห่งหนึ่ง ขณะที่ชาว บ้านกํำาลังร่วมกันทางานในชุมชนอย่าง ขะมักเขม้น มฆมาณพซึ่งช่วยงานอยู่แถว นั้นได้ทํำาความสะอาดที่พักเพื่อเตรียมตัว จะพักกลางวันจนสะอาดเรียบร้อยน่าพัก ผ่อน แต่เมื่อมีคนเห็นว่าจุดที่มฆมาณพ ทํำาความสะอาดเป็นสถานที่น่าพักผ่อนก็ เข้ามาใช้มฆมาณพต้องออกไปแต่ ไม่ โกรธ จากนั้นมฆมาณพก็ไปชํำาระทาความ สะอาดที่จุดอื่นต่อแล้วถูกคนอื่นแย่งเอา ที่ ไปอีก ก็ไม่ โกรธ คงย้ายที่ ไปเรื่อย ๆ เช่นนี้ พร้อมกับคิดว่าคนเหล่านี้ ได้รับ ความสุขก็ดีแล้ว เขามีความสุขจากที่ของ

22 ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ

เรา การกระทํำาของเราเป็นการกระทํำาที่ เป็นบุญ บุญนี้จึงให้ความสุขแก่เราด้วย วันต่อมา มฆมาณพจึงมา จัดแต่งพื้นที่กลางหมู่บ้านให้เป็นลาน สะอาดน่ารื่นรมย์ ให้ทุกคนที่ทางานได้ อาศัยใช้พักผ่อนพร้อมทั้งจัดหาน้าบาบัด ความกระหาย จากนั้นได้ ไปพัฒนาถนน เข้าหมู่บ้าน ปรับทางให้สะดวกแก่ยาน พาหนะ อีกทั้งยังสร้างศาลาขึ้นที่สี่แยก เป็นต้น มฆมาณพทํำางานมากมาย เป็นเหตุให้กลับบ้านคํำ่ามืด เพื่อนบ้าน ถามว่าไปทํำาอะไรมา ก็ตอบว่า “ไป ทาบุญชาระทางสวรรค์” ต่อมามีชาย


หนุ่มในหมู่บ้านเห็นด้วยกับวิธีการทํำาบุญ ขุดบ่อน้า สร้างสะพาน ปลูกไม้พุ่ม ไม้ แบบนี้ ก็มาช่วยมฆมาณพมากมายรวม กอ ไม้ดอกไม้ประดับต่าง ๆ จนเกิดความ สวยงาม เป็นกลุ่มถึง ๓๓ คน ตัวมฆมาณพเองต่อมาก็ กลายเป็นหัวหน้ากลุ่มทํำาบุญด้วยการ สร้างสรรค์ชุมชน ก็ได้รับความเชื่อถือ จากชาวบ้านเป็นอย่างดี เขาจึงชักชวน ชาวบ้านให้มีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่แบ่ง ปันกันและกัน และร่วมกันละเว้นจาก อบายมุข สุรายาเมา สิ่งเสพติดและการ พนัน จนชาวบ้านหันมาถือศีลกันทั่วหน้า

มฆมาณพและเพื่อน ๆ ผู้ เป็นนักทํำาบุญทั้งหลายได้ทํำาบุญด้วย การสร้างสรรค์ ตัวมฆมาณพผู้เป็น หัวหน้านักทํำาบุญไปเกิดเป็นท้าวสักกะ คือพระอินทร์ ในกาลต่อมา

แม้แต่การช่วยกันบริการสถาน ที่สาธารณะในชุมชนให้เกิดความสะอาด สะดวก สบาย ก็ยังเป็นบุญ การทํำา ยังไม่หมดแค่นั้น ชาวบ้านใน บุญจึงสามารถทํำาได้ ไม่จากัดสถานที่ หมู่บ้านนี้ยังรวมตัวกันพัฒนา ปรับปรุง ไม่จํำากัดกาล และยังมีรูปแบบวิธีการที่ ถนนหนทาง สร้างศาลาที่พักตามทาง สร้างสรรค์ ได้มากมาย

ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ 23


บุญ ๑๐ วิธี ตามหลักพุทธศาสนา มีการทํำาบุญด้วยกัน ๑๐ วิธี เรียกว่า บุญกิริยา วัตถุ ๑๐ (สิ่งอันเป็นที่ตั้งแห่งการทาบุญ ๑๐ ประการ) คือ

๑. ให้ทาน แบ่งปันผูอ้ นื่ ด้วยสิง่ ของ ไม่ว่าจะให้ ใครก็เป็นบุญ ( ทานมัย ) การ ให้ทานเป็นการช่วยขัดเกลาความเห็นแก่ตวั ความคับแคบ ความตระหนี่ถี่เหนียว และ ความยึดติดในวัตถุ นอกจากนีส้ งิ่ ของทีเ่ รา แบ่งปันออกไปก็จะเป็นประโยชน์กับบุคคล หรือชุมชนโดยส่วนรวม

24 ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ


๒. รักษาศีล ก็เป็นบุญ ( ศีลมัย) เป็นการฝึกฝนที่จะ ลด ละ เลิก ความชั่ว ไม่เบียดเบียนใคร มุ่งที่จะทํำาความดี เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ผู้อื่น เป็นการหล่อเลี้ยงบ่ม เพาะให้เกิดความดีงามและพัฒนาคุณภาพ ชีวิตไม่ให้ตกตํำ่า

ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ 25


๓. เจริญภาวนา ก็เป็นบุญ ( ภาวนา ) การภาวนาเป็นการพัฒนา จิตใจและปัญญา ทาให้จิตสงบ ไม่มีกิเลส ไม่มีเรื่องเศร้าหมอง เห็นคุณค่าสิ่งต่าง ๆ ตามความเป็นจริง ผู้ที่ภาวนาอยู่เสมอ ย่อมเป็นหลักประกันว่า จิตจะมีความสงบ ชีวิตมีความสุข คุณภาพชีวิตดีขึ้น สูงขึ้น

26 ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ


๔. อ่อนน้อมถ่อมตน ผู้น้อย อ่อนน้อมถ่อมตนต่อผู้ ใหญ่ ผู้ ใหญ่ก็ แสดงออกในความมีเมตตาต่อผู้น้อย และต่างก็อ่อนน้อมต่อผู้มีคุณธรรม รวมถึงการให้เกียรติ ให้ความเคารพ ในความแตกต่างซึ่งกันและกัน ทั้งใน ความคิด ความเชื่อและวิถีปฏิบัติของ บุคคลและสังคมอื่น เป็นการลดความยึด มั่นถือมั่นในความเป็นตัวตน ก็เป็นบุญ ( อปจายนมัย )

ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ 27


๕. ช่วยเหลือสังคมรอบข้าง ช่วย เหลือสละแรงกาย เพื่องานส่วนรวม หรือ ช่วยงานเพือ่ นบ้านทีต่ อ้ งการความช่วยเหลือ ก็เป็นบุญ ( ไวยาวัจจมัย )

28 ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ


๖. เปิดโอกาสให้คนอืน่ มาร่วมทํำาบุญ กับเรา หรือในการทางานก็เปิดโอกาสให้คน อื่นมีส่วนร่วมทา ร่วมแสดงความคิดเห็น รวมไปถึงการอุทิศส่วนบุญให้แก่ผู้ที่ล่วงลับ ไปแล้วด้วย ก็เป็นบุญ ( ปัตติทานมัย )

ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ 29


๗. ยอมรับและยินดีในการทํำา ความดี หรือทาบุญของผู้อื่น การชื่นชม หรือยินดีหรืออนุโมทนา ไม่อิจฉาหรือ ระแวงสงสัยในการกระทาความดีของผู้อื่น ก็เป็นบุญ ( ปัตตานุโมทนามัย )

30 ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ


๘. ฟังธรรม บ่มเพราะสติปญั ญาให้ สว่างไสว ฟังธรรมะ ฟังเรือ่ งทีด่ มี ปี ระโยชน์ ต่อสติปญั ญา หรืมปี ระโยชน์ตอ่ การดาเนิน ชีวติ ทีด่ ี เป็นความจริง ความดี ความงาม ก็เป็นบุญ ( ธรรมสวนมัย )

ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ 31


๙. แสดงธรรม ให้ธรรมะและข้อคิด ที่ดีแก่ผู้อื่น แสดงธรรมนาธรรมะไปบอก กล่าว เผื่อแผ่ ให้คนอื่นได้รับฟัง ให้เขา ได้รู้จักการดาเนินชีวิตที่ดี เป็นเรื่องของ ความจริง ความดี ความงาม ก็เป็นบุญ ( ธรรมเทศนามัย)

32 ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ


๑๐. ทํำาความเห็นให้ถกู ต้อง และเหมาะสม มีการปรับทิฐิ แก้ ไขปรับปรุง พัฒนาความคิดเห็น ความเข้าใจให้ถูกต้อง ตามธรรม ให้เป็นสัมมาทัศนะอยู่เสมอ เป็นการพัฒนาปัญญาอย่างสํำาคัญ ถือเป็น บุญด้วยเช่นกัน ( ทิฏฐุชุกรรม ) ทิฏฐุชุกรรมหรือสัมมาทัศนะ เป็นสิ่งที่ขาดไม่ ได้ ในการทาบุญทุกชนิดและทุกโอกาส จะต้อง ประกบและประกอบเข้ากับบุญกิริยาวัตถุข้ออื่นทุกข้อ เพื่อให้งานบุญข้อนั้น ๆ เป้นไปอย่างถูกต้องตาม ความหมายและความมุ่งหมาย พร้อมทั้งได้ผลถูกทาง

ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ 33


34 ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ


การทํ​ําบุญ ๑๐ ประการนี้ สามารถสรุปเป็นข้อความคล้องจองกันว่า

๑ ) แบ่งกันกิน

๖ ) แบ่งให้ความดี

๒ ) รักษาศีล คือ กาย วาจา

๗ ) มีใจอนุโมทนา

๓ ) เจริญสมาธิภาวนา

๘ ) ใฝ่หาฟังธรรม

๔ ) กาย – วาจา – ใจอ่อนน้อม

๙ ) นาแสดงออกไม่ ได้เว้น

๕ ) ยอมตนรับใช้

๑๐ ) ทํำาความเห็นให้ถูกต้อง

ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ 35


บุญและความมุ่งหมายแห่งบุญ ๓ ระดับ ๑. เราทํำาบุญก็เพื่อประโยชน์สุข ปัจจุบัน ( ทิฏฐธัมมิกัตถะ ) คือ เพื่อให้ เกิดโภคทรัพย์ ความอยู่ดีมีสุข และคํำา ชื่นชมสนองตอบกลับมา นั่นคือคุณภาพ ชีวิตที่ดี เศรษฐกิจที่ดี และการยอมรับ ที่ดีจากสังคมรอบข้างที่เราอยู่ ที่สุดก็เพื่อ ให้คนเรารู้จักเห็นอกเห็นใจกัน ช่วยเหลือ กันฉันพี่น้อง คนที่เดือดร้อนก็ได้รับการ ดูแลเอาใจใส่ ไม่ถูกทอดทิ้ง มีชีวิตอยู่ ร่วมกัน เป็นสังคมที่มีความสุข เพราะคน เราในโลกต้องเรียนรู้ที่จะอยู่ร่วมกันเป็น สังคมที่มีความสุข เพราะคนเราในโลก ต้องเรียนรู้ที่จะอยู่ร่วมกันด้วยความเอื้อ อาทรต่อกัน จะอยู่แบบตัวใครตัวมันไม่ ได้

36 ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ


๒. เราทํำาบุญเพื่อประโยชน์สุข ที่สูงขึ้น ( สัมปรายิกัตถะ ) นั่นคือใน ระดับจิตที่สูงขึ้นไป เพื่อเราจะได้เรียนรู้ที่ จะพัฒนาตัวเองให้เจริญเติบโตขึ้นมาเป็น บุคคลที่มีศีลธรรม มีคุณธรรม มีจิตใจ ๓. เราทํำาบุญเพื่อประโยชน์อย่างยิ่ง เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ มีความอบอุ่นซาบซึ้งสุขใจ ด้วยศรัทธา ภาคภูมิใจ อิ่มใจ แกล้วกล้า ( ปรมัตถะ ) คือ ประโยชน์ที่เป็นสาระ มั่นใจในชีวิตที่ ได้ทํำาบุญโดยกินความรวม แท้จริงของชีวิต ได้แก่ การรู้แจ้งสภาวะ ถึงจุดหมายต่อมาเมื่อละโลกนี้ ไปแล้วด้วย ของสิ่งทั้งหลายตามความเป็นจริง รู้เท่า ทันคติธรรมดาของโลกของสังขารธรรม ไม่ตกเป็นทาสของโลกและชีวิต มีจิตเป็น อิสระปลอดโปร่งผ่องใส ไม่หวั่นไหวไป กับความผันผวนปรวนแปรของชีวิต หรือ การพลัดพรากจากสิ่งอันเป็นที่รักในชีวิต ไม่ถูกบีบคั้นโดยความยึดมั่นของตนเอง เย็นสว่างไสวโดยสมบูรณ์ ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ 37


ความมุ่งหมายของบุญทั้ง ๓ ระดับนี้ เราจะเห็นได้จากพิธีกรรมทาง ศาสนาที่มุ่งประโยชน์ทั้ง ๔ ด้าน ได้แก่ ด้านวัตถุ หรือความเป็นอยู่ด้านสังคม ซึ่งรวมถึงความสัมพันธ์และความเอื้อเฟื้อ เผื่อแผ่เกื้อกูลกันด้านจิตใจ และด้าน ปัญญา ทั้งหมดนี้ล้วนมีคุณค่าต่อคุณภาพ ชีวิตและสังคมอันไม่อาจขาดด้านใดด้าน หนึ่งไปได้ พูด ง่าย ๆ คือพิธีกรรมทาง พุทธศาสนามุ่งให้เกิดประโยชน์ครบถ้วน อย่างเป็นองค์รวมตามความมุ่งหมาย

38 ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ

ประโยชน์ทั้ง ๔ ด้านนี้เรายังเห็น ได้จากประเพณีพิธีกรรมของชุมชน เช่น ลอยกระทง บุญบั้งไฟ กล่าวคือ ไม่ เพียงแต่มีจุดมุ่งหมายอนุรักษ์ลํำานํำ้าหรือ เพื่อให้ฝนตกต้องตามฤดูกาล อันเป็น เรื่องเกี่ยวกับชีวิตความเป็นอยู่ โดยตรง เท่านั้น ยังเอื้อให้เกิดความสนิทสนม กลมเกลียวในชุมชนและมีกิจกรรมทาง ศาสนาเพื่อให้เกิดความมั่นใจในชีวิต รวมทั้งมีการปลูกฝังตอกย้าทัศนคติที่ เคารพธรรมชาติ และจิตสานึกต่อชุมชน ซึ่งล้วนเป็นคติที่สาคัญในการดาเนินชีวิต


โดยสรุปแล้ว ปุถุชนคนเราทํำาบุญ ก็เพื่อ “ตัวเอง”แต่คงดีกว่าถ้าเราทํำาบุญ เพื่อ “พัฒนาจิต” และคงดียิ่งขึ้นไปอีก ถ้าเราทํำาบุญเพื่อพัฒนา “สติปัญญา” ไป ด้วย และคงดีที่สุด ถ้าเราช่วยกันทํำาบุญ ทุกรูปแบบ (บุญกิริยาวัตถุ ๑๐ )เพื่อ ช่วยเหลือสังคมให้สงบสุข และดีไปด้วย พร้อม ๆ กัน

ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ 39


การตรวจสอบผลบุญ การวัดว่าได้บุญมาก – บุญน้อย มี หลักเกณฑ์วัดอยู่ ๓ ประการ คือ ๑. ปฏิคาหกคือผู้รับ เป็นผู้มีศีล มีคุณธรรม มีความดี เราก็ได้บุญมาก ทั้งนี้ ไม่จากัดว่าปฏิคาหกจะต้องเป็นพระ สงค์อีกเสมอไป อาจเป็นสามเณร แม่ชี หรือคฤหัสถ์ชาวบ้านก็ได้ แต่หากปฏิคา หกเป็นคนไม่มีศีลเราก็ได้บุญน้อย เพราะ เขาอาจอาศัยผลจากของที่เราให้ ไปทาสิ่ง ไม่ดี เช่น ได้อาหารไปกิน มีแรง ก็หัน ไปทาการร้ายได้อีก อย่างนี้เราก็ได้บุญ น้อยเป็นต้น

40 ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ

๒. วัตถุสิ่งของที่มอบให้ มีความ บริสุทธิ์ ได้มาโดยสุจริต เป็นของดีมี ประโยชน์ มีคุณค่า และมีความเหมาะ สมกับผู้รับ เช่น ถวายจีวรแก่พระสงฆ์ ให้เสื้อผ้าแก่เด็กๆ เช่นนี้ย่อมได้บุญมาก ๓. ทายกคือผู้ ให้ เป็นผู้มีศีล มี ธรรม มีเจตนาที่เป็นบุญเป็นกุศล ตั้งใจ ดี ยิ่งถ้าเจตนานั้นประกอบด้วยปัญญาก็ มีคุณสมบัติดีประกอบมากขึ้นก็ยิ่งเป็นบุญ มาก


ยังมีวิธีตรวจสอบบุญที่สมบูรณ์อีก ๒. เจตนาขณะให้ หรือขณะถวาย วิธีหนึ่ง โดยการตรวจสอบด้านจิตใจของ ของให้ ก็จริงใจจริงจัง ตั้งใจทํำาด้วย ผู้ ให้ว่ามีเจตนาเป็นอย่างไรบ้าง คือ ความเบิกบาน ผ่องใส มีปัญญา รู้เข้าใจ ( มุญจนเจตนา ) ๑. เจตนาก่อนให้ (บุพเจตนา) ๓. เมื่อมอบของไปแล้ว หรือถวาย ตั้งแต่ตอนแรก เริ่มต้น ตั้งใจดี มีศรัทธา ของให้แล้ว หลังจากนั้นระลึกขึ้นเมื่อใด มีความเลื่อมใสจิตใจเบิกบาน ตั้งใจทํำาจริง จิตใจก็อิ่มเอิบผ่องใสขึ้น เกิดความภูมิใจ มีศรัทธามาก ในทานที่ ให้ ไปว่าเป็นประโยชน์ต่อผู้รับ จริง ๆ ระลึกได้เมื่อใดก็ได้บุญเพิ่มขณะ นั้นแล (อปราปรเจตนา)

ทั้งหมดนี้คือองค์ประกอบที่จะทำให้เราได้บุญมากหรือน้อย

ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ 41


ละบาปก่อนทำบุญ เมื่อเราไปทํำาบุญที่วัดไม่ว่าจะเป็น ทอดกฐิน ทอดผ้าป่า ถวายสังฆทาน ถวายพระพุทธรูป หรืแม้แต่นิมนต์พระ มาทํำาบุญที่บ้าน รวมทั้งงานพิธีกรรม ต่าง ๆ ก็ต้องเริ่มต้นด้วยการสมาทานศีล ๕ เสียก่อนทุกครั้ง นั่นเป็นเครื่องหมาย อย่างหนึ่งว่า จะทํำาบุญทั้งทีก็ต้องเริ่มต้น ละบาปกันก่อน คือการเข้ามาอยู่ในศีล ในธรรม เพื่อว่าการทํำาบุญนั้นจะได้เกิด อานิสงส์สูง

บุญ ก็เป็นสิ่งที่ ไม่เหมาะสมอย่างยิ่ง เพราะจะกลายเป็นการทํำาบุญที่ขาดทุนคือ ได้บาปมากกว่าได้บุญ

การสมาทานศีลก่อนทํำาบุญทุก ครั้ง ก็เปรียบได้กับการเตือนสติคนทํำา บุญให้ระมัดระวังการทํำาชั่วทํำาบาป เมื่อ ตั้งใจทํำาบุญแล้วก็มิควรพลัดหลงกลับ ไปทํำาบาปเบียดเบียนใครอีก หรืออีกใน หนึ่งคือละบาปก่อนทํำาบุญนั่นเอง โดย เฉพาะอย่างยิ่งการฆ่าสัตว์ตัดชีวิตมาทํำา

๒. การบํำาเพ็ญแต่ความดี

42 ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ

แม้แต่ โอวาทปาฏิโมกข์ ซึ่งเป็น คํำาสอนอันเป็นหัวใจของพระพุทธศาสนา ในการปฏิบัติตนไปสู่พระนิพพาน ส่วนที่ รู้จักกันขว้างขวางมีใจความ ๓ ประการ ว่า ๑. การไม่ทํำาความชั่วทั้งปวง ๓. การทํำาจิตของตนให้ผ่องใส คํำาสอนดังกล่าวนี้ยังต้องเริ่มต้น ด้วยการละเลิกทํำาชั่วก่อนเช่นกัน หาไม่ แล้วการทํำาบุญไปด้วยทํำาบาปไปด้วยก็คง ไม่มีความหมายอะไรแก่ชีวิต


สังฆทาน สังฆทานคืออะไร ? สังฆทาน คือการถวายของแก่ หมู่พระภิกษุสงฆ์ เป็นการถวายกลาง ๆ ไม่จํำาเพาะเจาะจงภิกษุรูปหนึ่งรูปใด เมื่อ ถวายให้แล้วก็ถือว่าพระภิกษุสงฆ์ทุกรูป มีสิทธิ์ ใช้สอยสิ่งของเหล่านั้นตามสะดวก อาจจะมีเพียงตัวแทนสงฆ์เพียงรูปเดียว มารับประเคน ก็ถือว่าเป็นสังฆทาน เหมือนกัน มีทานอีกรูปแบบหนึ่งที่คล้าย ๆ สังฆทาน เป็นทานที่มีอาณาเขตกว้าง ขวางกว่า คือทานที่ ให้แก่หมู่พวกที่

ไม่เฉพาะกลุ่มบุคคลใดบุคคลหนึ่งเรียก สาธารณทาน เป็นทานที่ ไม่จากัด เฉพาะในรั้ววัด เป็นการให้ที่ ไม่มีขอบเขต สังฆทานเป็นส่วนหนึ่งของสาธารณทาน เช่นกัน ส่วนการถวายทานที่ ให้เฉพาะ พระภิกษุสงฆ์รูปนั้นรูปนี้ เรียก “ปาฏิปุคคลิกทาน” มีอานิสงส์น้อยกว่า ทาน ๒ ประเภทข้างต้น เพราะเป็นการ จํำากัดเฉพาะบุคคลว่าต้องเป็นคนนั้นคนนี้ การให้ทานแก่ส่วนรวมย่อมได้อานิสงส์ ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ 43


มากกว่า คราวที่พระนางปชาบดีโคตมี พระแม่น้าของพระพุทธเจ้าปั่นฝ้ายทอ เป็นจีวร แล้วนํำาไปย้อมตั้งใจถวายแด่ พระพุทธเจ้า แต่พระพุทธเจ้าไม่ทรงรับ ตรัสว่าให้ถวายแก่สงฆ์คือหมู่พระแทน พระนางเสียใจ แต่เมื่อทราบว่าถวายแก่ สงฆ์มีผลมาก นางจึงคลายความเศร้า โศก พระสงฆ์บางรูป แม่ชีบางท่าน ฆราวาสบางคน ทํำางานให้กับชุมชน ไม่รู้จักเหน็ดเหนื่อย ความคิดในทาง สะสมเพื่อตนเองไม่มี บางท่านก็เลี้ยง เด็กกํำาพร้า บางท่านทั้งเลี้ยงทั้งสอน เมื่อเราบริจาคทรัพย์ ให้ท่าน ท่านก็ใช้

44 ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ

ทรัพย์นั้นให้เป็นประโยชน์ ไปทากิจการ ช่วยเหลือสังคมที่ทาอยู่ ท่านเป็นเพียง คนกลางที่คอยแบ่งปันจากคนมั่งมีเพื่อแจก จ่ายแก่ผู้ขาดแคลน การทํำาบุญกับผู้ทํำา ประโยชน์แก่ชุมชนนับเป็นสังฆทานที่ ได้ บุญไม่ใช่น้อยเพราะบุญได้แผ่ขยายกว้าง ออกไป ช่วยให้คุณภาพชีวิตของผู้ทุกข์ ยากเหล่านั้นดีขึ้นและเป็นการช่วยสังคมไป ด้วยในตัว เดี๋ยวนี้เวลาพูดถึง “สังฆทาน” พวกเราจะนึกถึงถังสีเหลือง ๆ ภายใน บรรจุข้าวของเครื่องใช้มากมาย จนล้น ออกมาปากถัง แล้วมีพลาสติกใสหุ้มทับ อีกที แท้จริงแล้วของที่จะถวายหมู่พระ


สงฆ์ โดยไม่เจาะจงที่เรียกว่าสังฆทานนั้น คืออะไรก็ได้ที่เหมาะกับชีวิตสมนะ ไม่จํำา เป็นต้องเป็นถังเหลือง ๆ ที่วางขายตาม หน้าร้านสังฆภัณฑ์เสมอไป

ปากถัง แล้วเอาพลาสติกใสหุ้มอีกทีเพื่อ ไม่ให้ของล้นจนหก แท้จริงแล้วมีของใช้ ไม่กี่อย่างเท่านั้นเอง

ข้าวของเครื่องใช้ที่บรรจุมักเป็น แต่สาหรับ “สังฆทานถังเหลือง” ของคุณภาพต่า เช่น หางผงซักฟอกธูป เทียนคุณภาพต่า แปรงสีฟันที่ขนแปรง ที่ชาวพุทธนิยมซื้อไปถวายพระสงฆ์นั้น แข็งโป๊ก ผ้าอาบนํำ้าฝนที่บางเบาจนน่า เรามาดูซิว่าในถังสังฆทานสีเหลือง ๆ วิตกว่าพระนุ่งสรงน้ํำาเมื่อใดคงได้ โป๊แต่ หนึ่งใบ มีอะไรอยู่ข้างในนั้นบ้าง ไม่เปลือยเมื่อนั้น หรือบางทีอาจเป็นผ้า “ถังเหลือง ๆ” ที่วางขายตาม อาบน้ํำาฝนสีเหลืองที่ ใส่มาพอเป็นพิธีคือ ร้านสังฆภัณฑ์นั้น บางร้านจะยัด ขนาดกว้างยาวไม่เกิน ๑ เมตร ที่นํำา หนังสือพิมพ์หรือกระดาษแข็งเข้าไว้เต็ม ก้นถัง ส่วนที่เป็นสังฆทาน หรือข้าวของ มาใช้ประโยชน์ ไม่ ได้ นํำ้าปลาราคาถูกที่ดู ออกว่าเป็นน้าใส่สีละลายเกลือ ข้าวสารที่ เครื่องใช้จริง ๆ จะถูกบรรจุไว้แถวขอบ ปากถังเพื่อให้ดูว่ามีของใช้มากมายจนล้น ใส่มาแค่ถุงเล็ก ๆ หยิบมือเดียวพอเป็นพิธี ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ 45


เหมือนกับผ้าอาบนํำ้าฝนที่ถูกใส่มา และ บางครั้งก็เป็นเศษข้าวสารหัก ถ้าสังเกต ดูดี ๆ บางถังจะมีเกลือป่นใส่มาให้เป็นสิบ ถุง ใส่เพื่อเกลือป่นจะได้กินพื้นที่เยอะ ๆ จะได้ ไม่ต้องใส่ของใช้อื่นเพิ่มเติม เพราะ เกลือป่นมีราคาถูก นอกจากนี้ข้าวของที่ ไม่จํำาเป็น อื่น ๆ ก็มีใบชารสเข้มข้นที่ความเป็นจริง แล้วพระและสามเณรไม่ค่อยชงฉันกันเลย และมักจะถูกทิ้งไปอย่างไม่ ได้ประโยชน์ น้ํำาบรรจุขวดที่มีกลิ่นผงซักฟอกอันเนื่อง มาจากการบรรจุอยู่ในถังที่อับพร้อม ด้วยผงซักฟอก ๑ กล่อง เมื่ออากาศ ร้อนทาให้กลิ่นผงซักฟอกไม่เหมาะแก่ การบริโภคในเวลาต่อมา กล่องสบู่เป็น “บริขารล้นวัด” อีกชิ้นหนึ่ง มีกล่องหนึ่ง ก็ใช้ ได้เกือบตลอดชีวิตของการเป็นพระ ไม่จํำาเป็นต้องถวายบ่อยก็ได้ ได้มาก็ล้น วัดไม่รู้จะเอาไปไว้ ไหนดี

ต้องเล่มเกมเดาใจพระ อีกทั้งการบรรจุ ถังก็ทํำามาให้เรียบร้อยสวยงาม ซื้อปุ๊บ ก็ถือไปถวายปั๊บ เข้ากับยุคสมัยบริโภค นิยมพอดี ไม่ต้องเสียเวลาไปซื้อหามา ประกอบให้ลํำาบาก แต่ความที่คนซื้อไม่ ได้ ใช้ คนใช้ ไม่ ได้ซื้อ ก็เลยเป็นช่องว่างที่เปิดโอกาสทอง ให้กับร้านค้าเอารัดเอาเปรียบผู้บริโภค โดยอัตโนมัติคนซื้อไม่มีทางรู้หรอกว่า “สังฆทานถังเหลือง” ที่ซื้อไปถวายพระ ข้างในมีของที่จํำาเป็นสาหรับพระจริง ๆ สักกี่อย่าง มีของที่มีคุณภาพมากแค่ ไหน หรือมีสิ่งของที่คุ้มกับราคาที่ร้านค้าตั้งไว้ หรือไม่

ส่วนพระสงฆ์นนั้ เล่า เมือ่ รับประเคน สังฆทานเสร็จ โยมลากลับเปิดถังออกดูเจอ แต่สิ่งของที่ ใช้ ได้เพียงไม่กี่ชิ้น ซํำ้าของบาง อย่างก็ไม่มีคุณภาพดีพอ บ่อยครั้งที่พระ ท่านต้องจ่ายปัจจัยไปซือ้ หามาใช้เองหรือบาง ความไม่ชอบมาพากลของ ครัง้ ก็มแี ต่มว้ นกระดาษชาระใส่มาเต็มใต้ถงั “สังฆทานถังเหลือง” เกิดจากความ หรือมีแต่เกลือถุงเล็ก ๆ หลายสิบถุง หรือ ที่เราไม่รู้ว่าจะซื้ออะไรไปถวายพระดี อย่างทีห่ นังสือพิมพ์เคยลงข่าวว่ามีหนังสืโป๊ เลยต้องอาศัยเครื่องสังฆทานที่มีจํำาหน่าย ใส่มาในถังสังฆทานด้วย จะบอกให้ โยมรับ ตามร้านบรรจุให้สํำาเร็จรูป เพื่อจะได้ ไม่ รู้แต่ โยมก็กลับบ้านไปเสียแล้ว

46 ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ


ถวายสังฆทานอย่างไรให้ได้บุญ ถึงเวลาต้องมาทบทวนการทํำา สังฆทานกันเสียที สังฆทานที่ดีไม่จํำาเป็น ต้องมีของถวายมากมายขอเพียงเป็นของ จํำาเป็นและมีคุณภาพแค่นี้ก็พอ และการ เลือกซื้อของมาประกอบเป็นสังฆทานเอง จะได้ของดีมีคุณภาพกว่าการไปซื้อ “ถัง เหลือง ๆ “ ตามร้านสังฆภัณฑ์ ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ 47


จัดสังฆทานให้ได้ประโยชน์ ข้าวของเครื่องใช้ที่ซื้อหามาจัดเป็น ผงซักฟอก ใช้ซักจีวรเพื่อความ สังฆทานได้ สะอาด เครื่องดื่มสมุนไพรพร้อมชง สบู่ จัดเป็นเครื่องประทินผิว แต่ พระก็ใช้ ได้เพื่อทํำาความสะอาด และระงับ ขิงผง ชารางจืด มะตูม เดี๋ยวนี้ผลิต ออกมาหลายประเภท หรือจะใส่เครื่อง กลิ่นกาย ยาสีฟัน ชนิดผงหรือหลอดก็ได้ ดื่มช็อกโกแลตก็ได้อย่าลืมดูวันหมดอายุ ก่อนซื้อด้วย ยาสีฟันสมุนไพรก็น่าสนใจ ผ้าอาบน้ํำาฝน เลือกที่เนื้อหนา ๆ แปลงสีฟัน เลือกชนิดขนแปลงอ่อน หรืออาจเลือกซื้อเป็นสบง (ผ้านุ่ง) หรือ ๆ จะได้สบายเหงือก จะเป็นอังสะก็ได้ เพราะพระท่านมักจะมี ยาสระผม เอาไว้ ใช้เวลาโกนศีรษะ ผ้าอาบน้ํำาฝนอยู่มากแล้ว จะขาดแคลนก็ จะได้ โกนง่ายขึ้น คือสบง อังสะ ถ้าถวายให้สามเณรก็จัด ใบมีดโกน เป็นของจาเป็นมาก เพือ่ เหมือนพระเช่นกัน ใช้ โกนศีรษะ

48 ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ


ถวายสังฆทานแม่ชี ยาสมุนไพรต่าง ๆ รวมทั้งยาแผน ก็เปลี่ยนจากผ้าเหลืองเป็นชุด ปัจจุบัน แม่ชี ซึ่งหาซื้อได้จากวัด บวรนิเวศหรือที่ เครื่องเขียน สมุด ปากกา ดินสอ สถาบันแม่ชีไทย หากหาซื้อไม่ ได้ก็เปลี่ยน เป็นผ้าขาวเนื้อดีตามร้านขนาด ๒ – ๔ รวมทั้งซองจดหมาย แสตมป์ ไฟฉาย ถ่านไฟฉาย เป็นสิ่งจํำาเป็น เมตรแทน จากนั้นแม่ชีท่านจะนํำาไปตัด มากสาหรับวัดชนบทและวัดป่า เย็บเป็นเสื้อ ผ้าถุง ผ้าครอง ตาม สมควร จาน ชาม ช้อน ส้อม อาจ หนังสือธรรมะ หนังสือเกี่ยวกับ สอบถามดูว่าวัดนั้น ๆ ต้องการ สิ่งแวดล้อม หนังสือเกี่ยวกับสุขภาพหรือ จํำานวนมากหรือไม่ จะได้จัดเป็นชุดใหญ่ ถวายเป็นของสงฆ์เพื่อให้ชาวบ้านหยิบ หนังสือความรู้ต่าง ๆ ที่คิดว่าพระสงฆ์ ควรรับรู้เพื่อนาไปบอกกล่าวแก่ญาติโยม ยืมได้ด้วยในงานบุญประเพณีต่าง ๆ รวม ทั้งเครื่องมืองานช่าง เช่น ค้อน ตะปู ได้ ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ 49


ไขควง หรืองานเกษตร เช่น จอบ ใช้ ไม่ทัน ท่านก็มักจะเก็บรวบรวมนาไป เสียม พลั่ว และอุปกรณ์งานทํำาความ บริจาคต่างจังหวัดอีกที นับเป็นวงจรบุญ สะอาด เช่น ไม้กวาดอ่อน ไม้กวาดแข็ง ไม่มีที่สิ้นสุด ถังขยะ ที่ตักผง ฯลฯ เหล่านี้ก็สามารถ จัดถวายเป็นสังฆทานได้เหมือนกัน จัดเรียงข้าวของที่ซื้อมาลงใน ของอื่น ๆ ที่มักนิยมใส่ก็มี ภาชนะซักผ้าที่ซื้อมาต่างหาก อาจจะเป็น ข้าวสาร หัวหอม กระเทียม นํำ้ามัน ถังหรือกะละมังก็ได้ แล้วนํำาไปถวายได้ พืช น้ํำาตาล เกลือ ที่จัดว่าเป็นของแห้ง ทันที เก็บไว้ ได้นาน ของเหล่านี้ถ้าพระท่าน

50 ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ


ของที่ควรลดละเลิกในสังฆทาน ข้าวของบางอย่างทีค่ วรหลีกเลีย่ งไม่ นํำามาประกอบเป็นสังฆทาน บุหรี่ ยาเสพติด เครื่องดื่ม ชูกํำาลังทุกประเภท ผลิตภัณฑ์อาหารที่บรรจุ ด้วยโฟม เพื่อหลีกเลี่ยงมลภาวะทางสิ่ง แวดล้อม อาหารกระป๋อง ผลไม้กระป๋อง เพราะเป็นอาหารที่มีสารกันบูดสารเคมี ไม่ส่งผลดีต่อสุขภาพ ใส่เป็นผลไม้สดจะ ดีกว่า ถ้าในวัดมีครัวอาจซื้อผักสดเข้า ครัวก็ได้

ใบชา พระไม่ค่อยได้ชงฉัน ควรเปลี่ยนเป็นเครื่องดื่มสมุนไพรให้ ประโยชน์กับสุขภาพมากกว่า กล่องสบู่ ปรกติพระท่านมีอยู่ แล้ว จึงไม่ต้องจํำาเป็นต้องซื้อถวายอีก บะหมี่กึ่งสํำาเร็จรูป อาหาร บิณฑบาตในตอนเช้าเป็นอาหารสดและ มีคุณค่ากว่าไม่ควรส่งเสริมให้ท่านฉัน อาหารที่มีคุณค่าน้อย น้าํำ อัดลม น้าํำ ที่ผ่านการปรุงแต่ง ใส่สี ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ 51


ชนเหล่าใดปลูกสวน ปลูกป่า สร้างสะพาน จัดที่บริการน้ํำาดื่ม และบึงบ่อสระน้¹íéÒา ãËŒห้ท·ี่พÕè¾ักÑ¡อาศั ÍÒÈÑย บุญของชนเหล่านั้นย่อมเจริญงอกงาม ทั้งคืนทั้งวันตลอดทุกเวลา ชนเหล่านั้นผู้ตั้งอยู่ในธรรม ถึงพร้อมด้วยศีล เป็นผู้เดินทางสวรรค์ พุทธพจน์


ตอนที่ ๒ คิดใหม่ ทำใหม่ ให้ได้บุญ

ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ 55


การทํ​ําบุญในวาระต่าง ๆ

งานวันเกิด มักนิยมทํำาบุญเลี้ยงพระกัน บางคนอาจจะเลือกทํำาบุญกับสามเณร หรือแม่ชีบ้างก็ได้ มีไม่น้อยที่รวมเพื่อน ฝูงญาติมิตรไปเลี้ยงอาหารเด็กกํำาพร้า หรือผู้สูงอายุที่บ้านพักคนชรา หากต้อ งการทํำาบุญที่เป็นประโยชน์ทางสังคม อื่น ๆ ก็สามารถบริจาคทรัพย์หรือ สิ่งของแก่องค์กรสาธารณประโยชน์ต่าง ๆ อาทิ หน่วยงานที่ทางานช่วยเหลือ ผู้ติดเชื้อเอดส์ หน่วยงานป้องกันด้าน

56 ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ

ยาเสพติด หรือหน่วยงานที่ช่วยเหลือ ด้านเด็ก ผู้หญิงคนพิการ ฯลฯ บางคนก็นิยมเอาเงินไปไถ่ชีวิตโคก ระบือที่กาลังจะถูกฆ่า ส่งเงินไปช่วยโรง พยาบาลช้าง บ้างก็นิยมไปบริจาคโลง ให้กับผู้อนาถายากไร้ หรือซื้อหนังสือ บริจาคห้องสมุดก็เป็นบุญทางปัญญาอีก ทานหนึ่ง การทํำาบุญที่มีอานิสงส์มาก และเหมาะกับยุคสมัยอีกประการหนึ่ง ได้แก่ การทาซีดีรอมบรรจุพระไตรปิฎก


และอรรถกถา (คัมภีร์ชั้นรอง) แจกแก่ วัด โรงเรียน และผู้สนใจ วิธีนี้นอกจาก จะเป็นการส่งเสริมพระศาสนาแล้วยังไม่ สิ้นเปลืองเงิน เนื่องจากซีดีรอมราคา แผ่นละไม่ถึง ๑๐ บาท อีกทั้งยังทํำาซ้า ได้ ไม่ยาก ปัจจุบันมีพระไตรปิฎกฉบับ ซีดีรอมของหลายหน่วยงาน ที่ ไม่สงวน ลิขสิทธิ์ผู้มีจิตศรัทธาสามารถนาไปทํำาซ้า เพื่อแจกเผยแพร่ ได้ การทํำาบุญที่น่าสนใจยังมีอีก

มาก เช่น การสนับสนุนกํำาลังกายและ กํำาลังทรัพย์เพื่อช่วยงานพระสงฆ์ที่ทํำา เรื่องการรักษาป่า อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม พระสงฆ์ที่ช่วยดูแลผู้ป่วย สงเคราะห์ชาว บ้านที่ยากจน พระเหล่านี้มีมากมายใน ชนบท แต่ท่านทางานอย่างเงียบ ๆ จึง ไม่ค่อยได้รับความสนับสนุน นอกจาก นั้นเรายังอาจทํำาบุญด้วยการสนับสนุน การศึกษาของพระเณรและแม่ชี วิธีทํำา บุญในงานวันเกิดแบบสร้างสรรค์ยังมีให้ คิดได้อีมาก

ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ 57


งานแต่งงาน แน่นอนว่าฐานะชาวพุทธ ก่อน หรือหลังพิธีสมรสก็ต้องนิมนต์พระมา เพื่อทํำาบุญอยู่แล้ว นอกจากนี้คู่สมรส ยังสามารถจัดของชาร่วยให้เกิดบุญกุศล ได้ด้วย ของชาร่วยในงานที่มักจะเป็น พวงกุญแจ ก็สามารถเปลี่ยนแปลงเป็น อย่างอื่นได้ เช่น เทปธรรมะ หนังสือ ธรรมะ หนังสือต่าง ๆ ที่คิดว่าเหมาะ

58 ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ

กับผู้รับและเข้ากับบรรยากาศของงาน แต่ง จะเป็นวรรณกรรมเด็กก็น่าสนใจ เคยมีคู่บ่าวสามคู่หนึ่งจัดพิมพ์หนังสือ “เจ้าชายน้อย” เป็นของชาร่วยแจกให้ แขกเหรื่อในงาน นอกจากจะเป็นการ ปลูกนิสัยรักการอ่านให้ผู้รับแล้ว วรรณกรรมเด็กบางเรื่องยังมีเนื้อหากิน ใจเหมาะกับบรรยากาศของงานอีกด้วย


งานทํำาบุญบ้าน ขึ้นบ้านใหม่ เปิดสานักงานใหม่ งานทํำาบุญบ้านหรือทํำาบุญขึ้น สานักงานใหม่นอกจากนิมนต์พระมาเจริญ หากเราย้อนไปมองงานบุญของ พุทธมนต์เพื่อเป็นสิริมงคลแก่งานแล้ว คนไทยรุ่นก่อนจะเห็นว่าพิธีกรรมต่าง ๆ หากจัดให้มีรายการเสวนาที่มีเนื้อหา มุ่งประโยชน์ ให้เกิดทั้งทางด้านวัตถุให้ สาระที่เหมาะสมกับงานก็จะเป็นข้อคิดและ มีความเป็นอยู่ดีขึ้น เกิดความสัมพันธ์ ประโยชน์แก่ผู้มาร่วมงานและชุมชนไม่น้อย กลมเกลียวกันในหมู่ญาติมิตรและชุมชน หากเวลาจากัดและดูจะยุ่งยาก อย่างน้อย ทั้งมีความอิ่มเอิบทางจิตใจและได้ข้อคิด เจ้าภาพก็สามารถให้ผู้มาร่วมงานบุญมี คุณธรรมให้เกิดปัญญา ส่วนร่วมทางสังคมได้คือ รวมเงินช่วย แต่งานทํำาบุญบ้าน ขึ้นบ้านใหม่ งานบุญนั้นเป็นเงิน กองกลางในการ หรือเปิดสานักงานใหม่ที่น่าจะเป็นโอกาส พัฒนาชุมชนในเรื่องต่าง ๆ เช่น ซ่อมตู้ ให้เกิดมิติทางสังคมดังกล่าวกลับมีน้อย โทรศัพท์สาธารณะ บริการถังเก็บขยะ ลง เจ้าภาพมักเน้นเชิญแต่แวดวงธุรกิจที่ รวมทั้งการจัดเก็บขยะ หรือดูว่าในชุมชน ตัวเองรู้จักไม่ค่อยได้สนใจชุมชนบ้านใกล้ มีสาธารณูปโภคอะไรที่ยังขาดแคลนก็อาจ เรือนเคียง งานบุญได้เปลี่ยนเป็นการใส่ นาเงินส่วนนี้มาบริหาร นี่ก็เป็นอีกวิธีที่ ซองที่สะดวกสบายแต่ขาดมิติทางความ จะทํำาให้งานบุญของเราเชื่อมโยงกับชุมชน สัมพันธ์แบบเก่า ได้ ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ 59


ทํำาบุญตักบาตรในวันธรรมดาและช่วงเทศกาล

การทํำาบุญตักบาตรถือเป็น ประเพณีนิยมและวิถีปฏิบัติของคนไทยมา เนิ่นนานคนรุ่นก่อนจะพิถีพิถันและประณีต ในการทาอาหารถวายพระ ถือเป็นความ สุขใจและต้องการให้พระท่านได้ฉันอาหาร ที่ดีมีประโยชน์และมีความหลากหลาย เพื่อให้ผู้ตักบาตรได้รับบุญโดยสมบูรณ์

มากน้อยเพียงใด ผู้ตักบาตรอาจไม่ค่อย สนใจเพราะไม่ ได้ตักบาตรทุกวัน แต่พระ ที่บิณฑบาตนั้นท่านต้องฉันอาหารซ้า ๆ อยู่เสมอ ทาให้การทํำาบุญกลายเป็นบุญที่ ไม่ประณีตโดยไม่รู้ตัว หารเราสละเวลา มาปรุงอาหารหรือพิถีพิถันเลือกอาหารใน การตักบาตร ก็จะได้รับบุญโดยสมบูรณ์ แต่เดี๋ยวนี้มีความสะดวกมากขึ้น เหมือนคนรุ่นพ่อรุ่นแม่เราได้ปฏิบัติกันมา มีร้านค้าที่ขายข้าวถุง แกงถุง สาหรับใส่ การตักบาตรพระตอนเช้าควร บาตรไว้ ให้เรียบร้อย โดยมากจะวางแผง เป็นช่วงเวลาของการถวายอาหารสดและ ในตลาดบริเวณที่พระเดินบิณฑบาตผ่าน มีญาติโยมจานวนไม่น้อยที่นิยมถวาย เพื่อสะดวกต่อผู้ซื้อจะได้ตักบาตรได้ทันที ดอกไม้ ธูปเทียน อาหารกระป๋องและ มีข้อน่าสังเกตว่าอาหารเหล่านี้มีความ นํำ้าบรรจุขวด น้ํำาแต่งกลิ่นใส่สี ใส่วัตถุ พิถีพิถันประณีตบรรจงในการประกอบ กันเสียที่เห็นบรรจุในขวดเหมือนน้าส้ม และมีความหลากหลายของรายการอาหาร หากหลีกเลี่ยงได้ก็ถือเป็นความพิถีพิถันใน 60 ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ


การใส่บาตร เพราะของบางอย่างเป็น ภาระในการถือ โดยเฉพาะน้าบรรจุขวด บางครั้งพระท่านต้องหิ้วน้าหลายขวด ซึ่งเป็นภาระที่หนักมาก อาหารและน้ํำา บางชนิดก็มีคุณค่าทางอาหารตํำ่า หรือ เป็นผลเสียต่อสุขภาพของพระท่านด้วยซ้ํำา

จะดีกว่า เพราะเก็บไว้ ได้ ในวันถัดไปเพื่อ หลีกเลี่ยงอาหารเหลือทิ้ง สาหรับอาหาร แห้งในบางวัดจะมีการจัดเก็บไว้บริจาค ให้กับถิ่นที่ขาดแคลน เราอาจเลี่ยงไปใส่ บาตรวันอื่นที่ ไม่ใช่วันเทศกาลแทน หรือ เปลี่ยนเป็นถวายสังฆทานที่วัด ถวาย สาหรับช่วงเทศกาล ชาวพุทธ เงินเพื่อการศึกษาของพระเณรในที่มี จะพากันตักบาตรพร้อมกันมากจนอาหาร กองทุนเพื่อการศึกษาของภิกษุสงฆ์ หรือ ล้นเหลือ ทางที่ดีควรเลือกใส่อาหารแห้ง ไปปฏิบัติธรรม ทํำาความดีอื่น ๆ ได้อีก มากมาย

ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ 61


งานศพ หากเราต้องการจะประยุกต์ พิธีกรรมในการทํำาบุญให้เหมาะกับ ยุคสมัย และเกิดประโยชน์อย่างเต็มที่ คงไม่มีพิธีกรรมใดในเวลานี้ที่สมควร ปรับปรุงยิ่งกว่าพิธีศพ โดยเฉพาะใน เมือง สิ่งที่ควรทํำาคือ ทํำาให้พิธีต่างๆ สื่อกับผู้คนมากขึ้น เช่น นอกจาก นิมนต์พระมาเทศน์แล้ว ควรนึกถึงการ จัดบรรยาย หรือเสวนาในงานศพด้วย จะเป็นเรื่องธรรมะล้วน ๆ เรื่องสุขภาพ หรือคติชีวิตจากประวัติผู้ตายก็ล้วนเป็น ประโยชน์และน่าจะได้รับความสนใจจาก ผู้มาร่วมงานศพ แทนที่จะคิดมาสังสรรค์ พูดคุยกันเท่านั้น สิ่งที่ ไม่ควรมองข้ามก็คือ การทํำา ให้งานศพเป็นโอกาสในการทํำาประโยชน์ แก่ส่วนรวม เช่น การบริจาคเงินในนาม 62 ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ

ของผู้ตายเพื่ออนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ช่วย เหลือผู้ยากไร้ สนับสนุนการศึกษาของ พระสงฆ์ หรือสนับสนุนพระสงฆ์ที่ทํำา งานสงเคราะห์สังคมเป็นต้น แม้แต่พิธีกรรมที่เจ้าภาพมุ่งทํำา บุญอุทิศแก่ผู้ตาย เช่น ลูกหลานมาบวช หน้าไฟ ที่มักให้ระยะเวลาสั้นเกินไป ตามโอกาสและเงื่อนไขที่จากัด เราอาจ เลือกวิธีปฏิบัติที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตของ ครอบครัวเราได้และได้ผลบุญทั้งแก่ตัว เราและผู้ตาย ลองพิจารณาดูตั้งแต่การ ปฏิบัติธรรมดูลมหายใจ อานาปานสติ ภาวนาอุทิศให้ผู้ตาย ซึ่งสามารถทํำาได้ โดยไม่ต้องปลีกวิเวก ปลีกงานไปปฏิบัติ อาจปฏิบัติหลังกลับจากทํำางานก็ได้ หรือ เลือกที่จะอดอาหารเพื่อเป็นปัจจัยแก่ความ สงบในจิตใจ หรือเพื่อช่วยให้เกิดปัญญา


เข้าใจความทุกข์ที่บังเกิดขึ้นแก่ตนเองก็ เป็นบุญได้เช่นกัน และสามารถอุทิศให้ ผู้ตายได้ หรือหากมีเวลาก็อาจเลือกไป ปฏิบัติธรรมเป็นช่วงตามรายการอบรม ที่มีจัด เช่น สวนโมกขพลาราม วัดทุ่งไผ่ เสถียนธรรมสถาน ธรรมกมลา (โคเอ็น ก้า) ยุวพุทธิกสมาคมแห่งประเทศไทย ฯลฯ หรืออาจปฏิบัติอยู่ในวัดใกล้ ๆ บ้าน ก็น่าสนใจ หากไม่มีเวลาจริง ๆ การ ถือศีล ๘ อยู่ที่บ้านก็มีอานิสงส์ ไม่น้อย สาหรับธรรมเนียมของงานศพที่

ต้องเปิดฝาโลงให้ญาติได้เห็นผู้ตายเป็น ครั้งสุดท้าย ให้ถือว่านี่เป็นโอกาสดีที่จะ ได้ทามรณสติ ระลึกรู้ถึงความตาย เป็น เรื่องของการภาวนาภายในที่จะต้องเผชิญ กับอารมณ์ โศกเศร้าแห่งการพลัดพราก แต่ถ้ายังทาใจให้มั่นคงไม่ ได้ การร้อง ให้ก็เป็นการปลดปล่อยทางอารมณ์ ซึ่ง ถือเป็นปรกติวิสัยของมนุษย์ปุถุชน หาก ซ้อนสติแห่งการรับรู้การร้องให้นั้นเข้าไป ก็ยังถือว่าเป็นจังหวะเหมาะที่จะเรียน รู้ตัวเองอย่างมีสติภายใต้ความเศร้าโศก ฟูมฟาย

ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ 63


ส่วนใหญ่งานศพจะจัดงานหลาย วัน นานเป็นสัปดาห์ ยิ่งจัดหลายวัน แบบนี้ พิธีกรรมที่ ไม่จาเป็นและเป็นการ สิ้นเปลืองก็ควรจะนามาทบทวนกันบ้าง

พร้อมมาร่วมงานอย่างดีแล้ว โดยมาก อาหารที่เตรียมไว้ จะเหลือเป็นภาระแก่ เจ้าภาพอีก และการเลี้ยงอาหารรอบดึก ยังมีส่วนทํำาให้พิธีเสร็จช้าทั้งดูไม่เหมาะสม การเลี้ยงข้าวต้มหรืออาหาร ที่ฆราวาสจะมากินอาหารต่อหน้าพระสงฆ์ รอบดึก (หลังพระสวดเสร็จจบที่สอง) เจตนาของเจ้าภาพคงต้องการรับรองผู้มา ที่มาสวดในพิธี ร่วมงานที่อาจจะกินข้าวเย็นไม่ทันก่อนมา การจัดดอกไม้ประดับในพิธีและโลง งานหรือถือเป็นส่วนหนึ่งของการต้องรับ ศพ บางครั้งก็มากเกินความจํำาเป็น หรือ ถ้าพิจารณาในแง่นี้แล้วจะเห็นว่าการเลี้ยง พิธีกรรมแบบประเพณีจีน เช่น กงเต็ก อาหารรอบดึกนี้มีความจาเป็นน้อยมาก ก็น่าจะมีการประยุกต์ ให้เหมาะกับภาวะ เพราะผู้มาร่วมงานส่วนใหญ่มักเตรียม เศรษฐกิจที่ซบเซาในขณะนี้ 64 ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ


สํำาหรับพวงหรีดที่ผู้มาร่วมงาน นํำามาเคารพศพ ที่มักนิยมใช้ผ้าขนหนู มาประดิษฐ์หรือดอกไม้สด ก็นับว่าได้ ประโยชน์อยู่ แต่ถ้ามากเกินไปก็จะกลาย เป็นของเหลือใช้หรือเน่าเสียได้ หาก ต้องการให้เกิดประโยชน์เต็มที่ ในการ ทํำาบุญงานศพ เจ้าภาพอาจสอบถาม ทางวัดว่าต้องการอะไรหรือเจ้าภาพตั้งใจ จะนํำาของไปบริจาคใคร ก็อาจจะเขียนแจ้ง ลงในบัตรเชิญว่า “ขอเชิญบริจาคพันธุ์ ไม้ถวายวัด แทนพวงหรีด” หรือ “ขอ เชิญบริจาคหนังสือและอุปกรณ์กีฬามอบ ให้กับโรงเรียน แทนพวงหรีด” เพื่อเก็บ รวบรวมไปบริจาคให้ โรงเรียนที่ขาดแคลน เป็นการทํำาบุญอุทิศให้ผู้ตาย วิธีการนี้ อาจช่วยลดปัญหา “ขยะพวงหรีด” ได้ อย่างสร้างสรรค์ ที่สาคัญเป็นการเปลี่ยน

พวงหรีดให้กลายเป็นสิ่งที่ ให้ประโยชน์ มากกว่าพวงดอกไม้ ไว้อาลัย แล้วเหี่ยว เฉาไปตามกาลเวลา ของแจกในงานศพนอกจาก หนังสือธรรมะที่มักจะพิมพ์แจกกกันพอ สมควรแล้ว ก็อาจจะหันไปพิมพ์หนังสือ ดูแลสุขภาพทางเลือกอื่น ๆ บ้าง เดี๋ยว นี้มีพิมพ์ออกมามากมายไม่ว่าจะเป็น อาหารมังสวิรัติ ชีวจิต แม็คโครไบโอติ คหรืออาจจะเป็นหนังสือแนวอื่นที่คิดว่า มีประโยชน์แนวทางการดาเนินชีวิตของ มนุษย์ เจ้าภาพบางท่านมีความคิด สร้างสรรค์มาก พิมพ์พจนานุกรมแจก โดยเอารูปผู้ตายเป็นปก อย่างนี้นอกจาก เด็กนักเรียนจะได้ ใช้ประโยชน์อย่างสุดคุ้ม แล้ว ยังทํำาให้รู้สึกว่าคนตายไม่ ได้จากไป ไหนอีกด้วย

ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ 65


เจ้าภาพที่ทุนน้อย ก็อาจเขียน บรรยายความรู้สึกของการสูญเสีย ผู้ตายด้วยตนเอง รวมทั้งบรรยาย วินาทีสุดท้ายของเหตุการณ์เสียชีวิต ลงในกระดาษต้นฉบับ แล้วนํำาไปถ่าย เอกสารเย็บเป็นเล่มแจกในงานศพก็อาจ สร้างความแปลกใหม่ ได้ ไม่น้อย เป็น ผลิตภัณฑ์แฮนด์เมดที่เจ้าภาพทาเองแจก เองดูน่าประทับใจกว่า เหมาะสํำาหรับงาน ศพที่มีแขกผู้มาร่วมงานไม่มากนัก

66 ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ

ถ้าไม่แจกเป็นหนังสือ สิ่งของ อื่น ๆ ที่มักแจกในงานศพก็มักหนีไม่พ้น พวงกุญแจ ตลับยาหม่อง พระเครื่อง ทั้งแบบเป็นเหรียญและเนื้อผง หากทุน มากหน่อยแจกเป็นเทปธรรมะก็น่าสนใจ เคยเห็นเจ้าภาพบางงานแจกสบู่เป็นของ ที่ระลึกแก่แขกก็ได้รับประโยชน์ ไม่น้อยที เดียว เพียงติดสติ๊กเกอร์ ไว้อาลัยมีชื่อผู้ ตายกับวันที่ฌาปนกิจไว้ที่สบู่ แล้วแจกผู้ มาร่วมงานท่านละก้อน นับว่าเป็นของ แจกงานศพที่ดูเข้าท่าไปอีกแบบ


ไม่ต้องสละเงินก็เป็นบุญได้เหมือนกัน เรามักคุ้นเคยกับการทํำาบุญแบบ เสียเงิน จนคิดว่าการทํำาบุญมีแต่เฉพาะ เรื่องการให้ทาน ลองย้อนกลับไปดู บุญ กิริยาวัตถุ ๑๐ มีอีกตั้ง ๙ วิธี ที่ ไม่ต้อง เสียทรัพย์ก็เป็นบุญ ส่วนคนที่วิตกกังวล ว่าเงินบริจาคจะถูใช้ ไปในจุดประสงค์อื่น ที่ ไม่เป็นประโยชน์ก็ไม่ต้องวิตกกังวลอีก ต่อไป เพราะต่อไปนี้คือการทํำาบุญแบบไม่ ต้องบริจาคเป็นเงิน

ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ 67


ทํำาอาหารเลี้ยงเด็กกาพร้า หาโอกาสเหมาะ ๆ ลงขันกับ เพื่อนทํำาอาหารไปเลี้ยงเด็กตามสถาน สงเคราะห์ต่าง ๆ อาทิ เด็กพิการ เด็กกาพร้า เด็กติดเชื้อ HIV ฯลฯ นอกจากได้บุญแล้วยังเป็นการอวดเสน่ห์ ปลายจวักให้เด็ก ๆ ได้ลิ้มรสอาหารจาก ฝีมือของคุณอีกต่างหาก

68 ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ

โรงพยาบาลหลายแห่ง มีเด็กอ่อนที่ ถูกทอดทิ้งเป็นจํำานวนมาก เด็กเหล่านี้ ไม่ ได้รบั ความรักความอบอุน่ อย่างทีเ่ ด็กทัว่ ไป ได้รับ การไปช่วยอุ้มเด็กเหล่านี้ ให้เขาได้ สาผัสแห่งความรักและความอบอุ่นบ้าง มี ความหมายอย่างมากต่อชีวิตจิตใจของเขา


กิจกรรมสันทนาการ หากคุณเป็นนักกิจกรรมเก่ามาก่อน ลองหาเวลาว่างไปทํำากิจกรรมสันทนาการ กับเด็ก ๆ ตามสถานสงเคราะห์ต่าง ๆ ดูสิ เพราะตามสถานสงเคราะห์เหล่านี้ เขาต้องการอาสาสมัครไปช่วยงานอยู่แล้ว อาจจะไม่จาเป็นต้องเล่นเกม จะเป็นการ

วาดภาพ เล่านิทาน นิทานหุ่นกระบอก นิทานหุ่นมือหรืออะไรก็ได้ที่คุณถนัด แล้วแต่ว่าคุณมีความสามรถอะไรจะให้ ความบันเทิงและมีสาระแก่เด็ก ๆ

ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ 69


สันทนาการกับผู้ ใหญ่ ใช่ว่าจะมีแต่เด็กเท่านั้นที่ชอบ สันทนาการ ผู้ ใหญ่ก็ชอบเหมือนกันแต่ ผู้ ใหญ่ในที่นี้หมายถึงบุคคลที่ถูกคุมขัง อยู่ในเรือนจํำา คงเคยเห็นนักดนตรีชื่อ ดังอาสาเข้าไปเล่นดนตรีให้คนในเรือน จํำาฟัง นั่นแหละ เดี๋ยวนี้มีกลุ่มละคร บางกลุ่ม ติดต่อเข้าไปเล่นละครให้ชาวคุก ได้ชมเหมือนกัน หากคุณมีความสามารถ ในการแสดง บันเทิงหรือสาระที่เป็น ประโยชน์ก็สามารถติดต่อเจ้าหน้าที่เรือน

70 ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ

จํำาเข้าไปแสดงได้จะได้เป็นการช่วยผ่อน คลายความเครียดและความหดหู่ ซึมเซา อันเกิดจากการถูก จองจํำา หรืออยาก จะทํำาบุญด้วยการทํำาอาหารไปเลี้ยงผู้ถูก คุมขังในเรือนจํำาก็ได้ เพราะปรกติแล้ว อาหารในเรือนจํำานั้น คงทราบกันดีว่า ไม่ชวนให้เจริญอาหารเท่าไรนัก การนํำา อาหารไปเลี้ยงผู้ถูกคุมขังก็เป็นเรื่องที่เรือน จํำาสนับสนุนอยู่แล้ว


เยี่ยมคนชรา ไม่มีใครที่ ไม่แก่ การไปเยี่ยมคนแก่ หรือแม้แต่นํำาอาหารไปเลี้ยงท่านเหล่านั้นที่ บ้านพักคนชรา จึงเป็นทั้งบุญและเป็นการ ให้สติตัวเองไปด้วยในตัว โดยเฉพาะ อย่างยิ่งให้สติปัญญาว่าคนเราต้องแก่เฒ่า หนังเหี่ยวย่น

สํำาหรับคนชรายังไม่ค่อยเห็นมีใคร เอาดนตรีเข้าไปเล่นให้ฟังบ้าง เรามักเข้าใจ ว่าโลกของคนแก่จํำากัดอยู่แค่ความเงียบ สงบเท่านั้น ที่จริงยังมีดนตรีอีกหลาย ประเภทที่คนชราก็น่าจะฟังได้ ไม่ขัดหู อย่างเช่า ขลุ่ย ไวโอลิน กีต้าโฟล์คเบาๆ ใครมีความสามารถตรงนี้ก็ลองท้าทายตัว เองหน่อย คนทุกเพศทุกวัยล้วนมีดนตรีใน หัวใจ เขาจะได้ ไม่ถูกเลือกปฏิบัติให้อยู่ใน โลกของความเงียบเหงาเหมือนกับที่ถูกพา มาส่งให้อยู่ที่บ้านพักคนชราอย่างนี้

ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ 71


ครูข้างถนน ครูข้างถนนก็เป็นอีก “บุญ” หนึ่ง ที่คุณก็สามารถทํำาได้ อย่างน้อยก็ช่วยให้ เด็กข้างถนนคนหนึ่งมีเพื่อนมีคนที่รับฟัง และพร้อมเข้าใจเขา

72 ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ


บริจาคสียง เป็นบุญอีกวิธีหนึ่ง คือการอ่าน หนังสือออกเสียงบันทึกใส่เทปเป็นห้อง สมุดเสียง อันนี้เป็นโครงการที่มีอยู่แล้ว ของมูลนิธิคอลฟิลด์เพื่อคนตาบอด เปิด โอกาสให้คนตาดีช่วยอ่านหนังสือบันทึก เสียงใส่เทปคาสเซ็ท เทปคาสเซ็ทนี้ก็จะเก็บ ไว้สาหรับคนตาบอดได้เลือกฟังในห้อง สมุดเพื่อคนตาบอด ช่วยให้คนตาบอดได้ มีโอกาสอ่านหนังสือได้มากขึ้นโดยคนตาดี ช่วยอ่านให้ฟัง

ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ 73


เป็นอาสาสมัครในวัด หากมีเวลาว่าง และอยากบริหาร เวลามาใช้ ในงานบุญบ้างลองหันไปเป็น อาสาสมัครให้กับวัดที่ทํำางานพัฒนาให้ กับชุมชนดูบ้าง เช่น วัดที่ดูแลเลี้ยงเด็ก กํำาพร้า วัดที่ดูแลผู้ป่วยเอดส์ วัดที่จัดงาน ปฏิบัติธรรม หรือไม่ก็เป็นอาสาสมัครใน ชุมชน

74 ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ


ทํำาความดีกับคนรอบข้าง พ่อแม่ พี่น้อง ลูกหลาน มักเป็น บุคคลที่เราละเลยไปโดยไม่ตั้งใจ การหัน กลับมาดูแลเอาใจใส่ก็เป็นอีกบุญหนึ่งที่สา มารถทํำาได้ง่าย ความต่างวัยระหว่างวัย รุ่นกับคนแก่ ระหว่างพี่กับน้อง ระหว่าง เพศชายเพศหญิงและอัตลักษณ์ทางเพศที่ แตกต่าง ระหว่างสถานภาพในครอบครัว ระหว่างลัทธิความเชื่อที่ยึดถือ ถึงแม้จะ อยู่ในรั้วบ้านเดียวกัน ความต่างเหล่านี้

เราสามารถสานความสัมพันธ์ ให้แน่นแฟ้น ได้ด้วยการถามอย่างใส่ใจบ้างว่า “เรียน หนังสือเป็นอย่างไรบ้าง” “ทํำางานเหนื่อย ไหม” สุขภาพเป็นอย่างไรบ้าง” “กิน ข้าวหรือยัง” พร้อมกับส่งยิ้มให้หนึ่งยิ้ม คนเราเมื่อเจอกันทุกวันมักไม่เห็นคุณค่า ของกันและกัน จนวันหนึ่งต้องจากไปนั่น แหละจึงทํำาดีให้กันในวาระสุดท้าย ทํำาไม เราไม่ทํำาดีให้กันตั้งแต่ยังมีลมหายใจอยู่

ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ 75


ปลูกป่ารักษาสิ่งแวดล้อม บุญแบบนี้เป็นสิ่งที่ โลกกํำาลัง ต้องการอย่างยิ่ง วันหยุดสุดสัปดาห์ ลอง ชักชวนญาติพี่น้องหรือเพื่อนๆไปปลูกต้นไม้ ตามวัด สวนสาธารณะ หรืออุทยานแห่ง ชาติ มีตํำารวจคนหนึ่ง ทุกวันจะตื่นแต่เช้า มืดขี่รถจักรยานยนต์ ขนกล้าไม้ ไปปลูก ริมทางข้างถนน และที่สาธารณะที่รกร้าง

76 ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ

พอเลิกงานก็ไปปลูกต้นไม้อีก วันหยุดก็ไม่ เว้น ทํำาเช่นนี้ติดต่อมา ๑๕ ปี ปลูกต้นไม้ ร่วม ๒ ล้านต้น ทํำาให้อาเภอทั้งอาเภอซึ่ง เคยแห้งแล้ง กลับอุดมร่มครึ้มด้วยต้นไม้ เมื่อใครมาถาม เข้าก็ให้เหตุผลว่า เพราะ ต้องการทาบุญที่มีผลยั่งยืนถึงลูกหลาน


á¹Ð¹í í าสอนความดีãใËŒห้¡กѹัน แนะนํำÒ¾Ãè าพร่ÒÊ͹¤ÇÒÁ´Õ การเป็นพ่อแม่ที่มีความรับผิดชอบ ก็เป็นบุญวิธีอันหนึ่ง พ่อแม่ที่ดีคือพ่อแม่ที่ มีเวลาให้ลูกสม่ํำาเสมอ ดูแลเอาใจใส่ความ เป็นไปของลูกๆ อย่างพอเหมาะพอดี ไม่ ปล่อยทิ้งตามยถากรรมหรือบังคับขู่เข็ญ จนเกินเหตุ ไม่ใช้ความรุนแรงกับลูก สอน ลูกให้รู้จักรับผิดชอบช่วยเหลือตัวเองได้ มั่นใจในตัวเองดี เปิดโอกาสให้ลูกได้คิดเอง

บ้าง พร้อมกับสอนให้ลูกได้เรียนรู้เรื่อง กตัญญูกตเวที คือ รู้คุณและตอบแทนคุณ โดยเฉพาะเรื่องการเลี้ยงดูพ่อแม่ยามแก่ เฒ่าซึ่งนับเป็นเรื่องสาคัญในระดับครอบ ครัวจริงๆ และที่ ไม่ควรลืมคือ สอนให้ลูก นึกถึงส่วนรวม รับผิดชอบต่อสังคมและ เอื้อเฟื้อแบ่งปันต่อคนรอบข้าง

ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ 77


ตอบแทนความดี ปรับความเข้าใจ

ความดีที่เราได้รับมาจากผู้อื่น เป็นหนี้ความดีที่ค้างชาระ การตอบแทน ความดีต่อผู้มีอุปการะนอกจากจะเป็นการ แสดงความกตัญญูรู้คุณแล้วก็ยังเป็นบุญ อยู่ในตัวเอง เป็นการสร้างความสาพันธ์ ในบุญให้เหนียวแน่นยิ่งขึ้นระหว่างเรากับ 78 ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ

เขา ผู้อุปการะและเช่นกันในความขุ่นข้อง หมองใจบางอย่างก็เป็นหนี้กรรมค้างชาระ ได้ การปรับความเข้าใจ เผยความในใจ กับเขาที่เคยมีเรื่องไม่พอใจกันก็ยังไม่พ้น เรื่องของบุญ บุญนี่กินอาณาเขตกว้างขวาง จริงๆ


เรียนรู้และเข้าใจ “เขา” ให้ความรัก ความเมตตา ความ เข้าใจ และการยอมรับต่อบุคคลผู้ติดเชื้อ HIV รวมทั้งบุคคลที่ ได้รับความกดดันจาก สังคมในรูปแบบต่างๆคนที่เพิ่งออกจาก เรือนจํำา คนชรา ผู้หญิง เด็ก คนกลุ่มน้อย ทางเชื้อชาติ ตลอดจนผู้เห็นต่างทางการ เมือง ศาสนา และเรื่องเพศ

ทุกวันนี้ โลกเปิดเผยมากขึ้น ทํำาให้เราได้รับรู้ว่าโลกสีหม่นของคนบาง กลุ่มที่สังคมหันหลังให้นั้นขาดชีวิตและ สีสันอย่างไร การไม่ยอมรับก็คือบาปและ ความรุนแรงอย่างหนึ่ง บ่อยครั้งที่คนเรา ส่งบาปให้กันโดยไม่รู้ตัว อันนํำาไปสู่ความ รุนแรงอื่นๆ เป็นการดีกว่าหากเราหันมา เปิดใจ เข้าใจเขา เรียนรู้ความแตกต่างด้วย เมตตา เพราะเขาก็คือคนใกล้ตัวในสังคมที่ เราต้องคอยดูแลอาใจใส่ส่งบุญให้กัน

ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ 79


คนไทยส่วนมากยังอยู่ ในชนบท และคนทุกท้องถิ่นมีชุมชนของตนทุกคน ควรถือ เป็นสาคัญว่า ไม่ว่าจะทํำาบุญอะไรก็ตามที่คิดว่าสาคัญ และก่อนจะไปทํำาบุญใหญ่ โตที่ ไหน ขอให้ถามกันว่า พวกเราสามารถทํำาบุญขั้นพื้นฐานได้สาเร็จหรือไม่ บุญพื้นฐานที่ว่านี้คือ กิจกรรมที่ทํำา ๓) ทํำาวัดที่มีอยู่ ในชุมชนให้เป็นนา ให้ชมุ ชนอยูด่ แี ละทํำาชีวติ ให้งอกงาม เครือ่ ง บุญที่แผ่ขยายคุณภาพชีวิตไปทั่วถึงทุกคน พิสจู น์ความสามารถในการรือ้ ฟืน้ ระบบการ ถ้าทํำา ๓ ข้อนี้ ได้ บุญที่แท้อันถูก ทํำาบุญของพุทธบริษัทคือ ต้องตามความหมายจะกลับคืนมาอย่าง ๑) หันมาทํำาบุญที่เกื้อกูลต่อชีวิต มีชีวิตชีวา พระพุทธศาสนาจะกลับมา ชุมชนขึ้นเป็นพื้นฐาน เฟื่องฟูในสังคมไทย และสังคมไทยเองก็จะ ๒) ทํำาบุญเหล่านัน้ ให้สาํำ เร็จด้วยความ เข้มแข็งมั่นคง บรรลุประโยชน์สุขแท้จริง ร่วมแรงร่วมใจสามัคคี

80 ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ

ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ 81


ตอนที่ ๓ ทํ​ําบุญ : เรื่องนี้มีคำตอบ

ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ 83


พิธีกรรมในงานบุญ • มีหลายคนเข้าใจว่า การทํำาบุญนั้นต้องมีพิธีกรรมมากมาย การทํำาบุญจํำาเป็น หรือไม่ที่ต้องมีพิธีกรรมเข้ามาเกี่ยวข้อง ไม่จํำาเป็น เพราะการทํำาบุญทํำาได้ หลายอย่าง หลายโอกาส การมีพิธีกรรม เป็นส่วนช่วยเสริมให้การทํำาบุญเกิด ประโยชน์ ได้เต็มที่ พิธีกรรมมีส่วนช่วยใน การเตรียมใจทุกคนที่เกี่ยวข้องโดยเฉพาะ ผู้ที่จะทํำาบุญ เช่น ทํำาใจให้สงบ และถ้าผู้ ทํำาบุญมีหลายคน พิธีกรรมจะเป็นเสมือน อาณัติสัญญาณเพื่อช่วยให้ทุกคนพร้อม เพรียงกันในการทํำาบุญ การทํำาบุญในทางพุทธศาสนา นั้นมุ่งให้เกิดผลทางจิตใจเป็นเบื้องต้น ไม่ใช่เพียงแค่ทํำาบุญเพื่อให้เกิดประโยชน์ ในทางวัตถุเท่านั้น การถวายทาน เช่น อาหารหรือว่าปัจจัย (เงิน) นั้นก่อให้เกิด

84 ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ

ประโยชน์ทางวัตถุ แต่ว่าทางจิตใจพุทธ ศาสนาก็ให้ความสํำาคัญเช่นกัน เพราะ ฉะนั้นในการทํำาบุญจึงมีพิธีกรรมเพื่อ เตรียมใจ ขณะเดียวกันก็ยังเป็นโอกาสให้ ผู้ทํำาบุญมีความพ้อมเต็มที่ ในทางกายและ วาจา นี่เป็นเหตุผลว่าทํำาไมต้องมีการรับ ศีลก่อน การรับศีลก็คือเพื่อให้ละชั่ว ละ บาป นั่นเอง เป็นการเตรียมกาย วาจา ให้มีความสะอาดเพื่อที่จะสามารถรับบุญ ได้เต็มที่เหมือนกับภาชนะก่อนที่จะใส่น้ํำาก็ ต้องทํำาความสะอาดก่อน เมื่อสะอาดแล้ว จึงค่อยเติมน้ํำาลงไปก็จะได้น้าที่สะอาดตาม ไปด้วย อันนี้คือจุดมุ่งหมายประการหนึ่ง ของพิธีกรรม


• แสดงว่าพิธีกรรมก็มีความหมายอยู่ในตัวเองด้วยเหมือนกัน ถูกต้อง แต่เนื่องจากพิธีกรรมเป็น เพียงเครื่องมือ หรืออุบาย เพราะฉะนั้น จึงไม่ใช่สิ่งตายตัวเสมอไป หมายความว่า เราสามารถปรับปรุงเปลี่ยนแปลงเพื่อให้ เกิดผลตามต้องการ อันได้แก่การเตรียม จิตหรือเตรียมหมู่คณะให้สงบใจและพร้อม เพรียงกัน และยังเป็นการช่วยทํำาให้ กาย วาจา สะอาดคือมีศีล

พิธีกรรมหลายอย่างมี วัตถุประสงค์อีกข้อหนึ่งคือเป็นการเสริม ความสัมพันธ์ของผู้ที่ทํำาบุญ ให้มีความ กลมเกลียวกัน อาทิ พิธีกรรมในงานศพ หรือพิธีทอดกฐิน ทอดผ้าป่า ตลอดจน ประเพณีพิธีต่างๆของคนรุ่นก่อนหรือใน ชนบท เราจะเห็นตรงนี้ชัดเจน ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ 85


• บางคนตอนทํำาบุญจะเคร่งครัดว่า ต้องทํำาพิธีกรรมให้ครบถ้วน หากขาดตกบกพร่อง ในบางขั้นตอนแล้วจะรู้สึกไม่สบายใจ ในฐานะชาวพุทธเราควรวางท่าทีต่อพิธีกรรม อย่างไร เป็นเพราะเราไปเข้าใจว่าพิธีกรรม เป็นเรื่องศักดิ์สิทธิ์ อะไรก็ตามที่นึกว่าเป็น เรื่องศักดิ์สิทธิ์แล้ว เราก็คิดว่าต้องทํำาให้ ถูกแบบแผนครบถ้วนทุกประการถึงจะเกิด ผล อันได้แก่อํำานาจดลบันดาล ก็เหมือน กับการขับรถ การจะทํำาให้รถแล่นได้ เรา ต้องขับรถอย่างถูกต้องทุกขั้นตอน แต่ ว่าพิธีกรรมทางพุทธศาสนาไม่ใช่เช่นนั้น พิธีกรรมทางพุทธศาสนาไม่ ได้มีจุดมุ่ง

86 ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ

หมายเพื่อผลดลบันดาล หรือเพื่ออํำานาจ ศักดิ์สิทธิ์ แต่ว่าเป็นเพียงแค่อุบายหรือ วิธีการที่จะช่วยน้อมจิตเตรียมใจ กับเพื่อ รักษากายวาจาให้มีศีล ถ้าเข้าใจตรงนี้ เราก็จะเห็นว่า ถึงแม้พยายามทํำาให้ถูกต้องครบถ้วนตาม พิธีกรรมเสร็จแล้วจิตใจกลับหม่นหมอง หงุดหงิด ไม่สบายใจ การทํำาบุญนั้นก็ได้ ประโยชน์น้อย


• สมมุติว่าเราอยากทํำาบุญ ถวายสังฆทาน หรือรับศีล แต่ท่องคาถวายไม่ ได้เราก็อาจ ตั้งแค่จิต หรือใช้วิธีกล่าวตามเจตนาของเราก็ทํำาได้ ได้ คํำาพูดเป็นเพียงการน้อมจิตให้ เป็นสมาธิ หรือช่วยให้จิตเกิดกุศล เช่น มี ความเมตตาปรารถนาดียิ่งขึ้นต่อผู้รับ • พิธีกรรมบางส่วนเปลี่ยนแปลงไปตามยุคสมัย บางอย่างก็ทากันมาเป็นประเพณีนิยม เราจะมีหลักในการเลือกอย่างไร ว่าพิธีกรรมใดเหมาะสม พิธีกรรมทางพุทธศาสนาต้องเป็น พิธีกรรมที่ช่วยให้เกิด การลด การละ การเลิก เป็นเบื้องต้น จากนั้นก็ทํำาให้ ใจ สงบและเกิดปัญญา ที่เราให้รับศีลเพื่ออะไร ก็เพื่อให้ ลด ละ เลิกความประพฤติที่ ไม่ดี ขณะเดียวกันก็ส่งเสริมให้เกิดความสงบใจ ฉะนั้นพิธีกรรมใดที่ ไม่เป็นไปเพื่อการลด ละ เลิก หรือว่าไม่ช่วยให้จิตใจสงบ ขณะ

เดียวกันไม่ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อผู้รับแล้ว ก็ทํำาให้ ได้รับผลหรืออานิสงส์ ไม่ครบถ้วน พุทธศาสนาจะเน้นมากในเรื่องสัปปุริสทาน คือการให้แบบสัปปบุรุษ ท่านจะเน้นเรื่อง เจตนาหรือสภาวะจิตของผู้ ให้ ทั้งก่อน ระหว่างและหลังการให้ ขณะเดียวกันวัตถุ ที่ ให้ก็ต้องมีประโยชน์หรือเหมาะแก่ผู้รับ และถูกกับกาลเวลาด้วย ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ 87


• การทํำาบุญตักบาตรตามวาระและเทศ กาลต่างๆ เช่น ปีใหม่ เข้าพรรษา คือทํำาแบบ เดียวกันมากๆ จะเป็นภาระ หรือเป็นสิ่งเกินจาเป็นหรือเปล่า เราต้องเข้าใจก่อนว่าทํำาบุญนี่ทํำา ได้หลายอย่างแม้กระทั่งการให้ทานเอง ก็สามารถจะให้ทานแก่คนหลายประเภท ไม่ใช่เฉพาะให้แก่พระ แต่คนไทยนิยมให้ แก่พระ เพราะเหตุผลใหญ่ๆ ๒ ประการ ประการแรก พระท่านเป็นคนของสังคม ของส่วนรวม เมื่อทาประโยชน์ ให้บุคคล ประเภทนี้แล้ว ผลประโยชน์ก็จะกลับไปสู่ สังคมส่วนรวม เช่น เมื่อท่านได้รับอาหาร ก็มีกาลังวังชาแนะนาสั่งสอนผู้คนได้ หรือ ถวายจานชามให้วัด ชาวบ้านก็สามารถ ยืมไปใช้เวลามีงานในหมู่บ้าน เป็นต้น

อาจจะไม่ถูกต้องเท่าไหร่นัก

ปัญหาก็คือว่าพอเราอยากทํำา บุญ เรามีความเข้าใจว่าจะต้องทํำาบุญใน วันสํำาคัญ เช่น วันปีใหม่ และก็ต้องถวาย อาหารเลี้ยงพระหรือใส่บาตรพระเท่านั้น ทํำาให้เกิดปัญหาว่าของที่เราถวายบ่อยครั้ง ก็มากมายจนกระทั่งพระท่านฉันไม่หมด บางทีก็ต้องทิ้งไปหากแจกไม่หมด เราน่า จะมาคิดกันว่าถ้าจะทํำาบุญถวายพระ ทํำา อย่างไรถึงจะแน่ใจว่าของที่เราถวายนี้ก่อ ประโยชน์เต็มที่ ต้องคิดกันถึงสิ่งที่เราจะ ถวาย ไม่ใช่ถวายแต่อาหารสด หรือแม้ เหตุผลประการที่ ๒ ก็คือความ กระทั่งเครื่องกระป๋องก็อาจจะไม่จํำาเป็น เชื่อว่าพระเป็นสื่อกลางที่ดีระหว่างผู้อยู่ใน ก็ได้ ควรลองคิดหาของถวายอย่างอื่น โลกนี้กับผู้ตาย พูดง่ายๆ คือเป็นเหมือน แทน หรือว่าอาจจะใช้วิธีการทํำาบุญที่ ไม่ใช่ บุรุษไปรษณีย์ที่นาเอาบุญกุศลจากโลกนี้ การตักบาตร เช่น นํำาอาหารไปเลี้ยงเด็ก ไปให้แก่คนในโลกหน้า ความเชื่อนี้ทํำาให้ กาพร้าหรือเลี้ยงคนแก่ในบ้านพักคนชรา พระมาสถานะคล้ายๆ บุคคลศักดิ์สิทธิ์ ซึ่ง ก็ได้

88 ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ


ความเชื่อเรื่องการทำบุญ • อย่างความเชื่อที่ว่า ตักบาตรพระอย่าลืมถวายนํำ้าด้วย กลัวตายไปแล้วจะไม่มีน้าดื่ม หรืออยากให้บุญนี้ ไปถึงผู้ล่วงลับไปแล้ว จะได้ ไม่หิวโหยเหตุผลเกี่ยวกับเรื่องนี้แท้จริง เป็นอย่างไร นี่เป็นความเชื่อในระยะ ๑๐ กว่าปี ที่ผ่านมา เกิดจากเสียงเล่าลือว่าคนที่ตาย ไปแล้วพบว่าตัวเองไม่มีน้ํำากิน เกิดความ หิวโหย อันนี้เป็นความเชื่อ แต่ที่จริงแล้ว การทํำาบุญทางพุทธศาสนานี้ ไม่เหมือน การทํำากงเต็ก การทํำากงเต็กมีการเผาเงิน กระดาษ รถหรือบ้านกระดาษ เพราะเชื่อ ว่าผู้ตายจะได้รับสิ่งเหล่านี้ ในภพหน้าด้วย แต่พุทธศาสนาไม่ ได้มีความเชื่ออย่างนั้น การทํำาบุญของพุทธศาสนา นั้น สิ่งสาคัญอยู่ที่การทํำาบุญด้วยใจที่

บริสุทธิ์และเป็นกุศลขณะเดียวกัน วัตถุที่ เราให้ก็เป็นประโยชน์แก่ผู้รับ ซึ่งไม่จํำาเป็น ต้องเป็นนํำ้า บ่อยครั้งปรากฏว่าญาติโยม ที่ถวายน้ํำาบรรจุขวดใส่บาตรพระกลับ ทํำาให้ท่านลํำาบาก เพราะต้องหอบหิ้วน้า หลายขวดกลับวัด หลายครั้งสิ่งที่เราถวาย กลับมากเกินความต้องการหรือเกินความ จํำาเป็นของท่าน ในแง่นี้การทํำาบุญก็มี อานิสงส์ ไม่เต็มที่ การทํำาบุญที่ ได้อานิสงส์ มากต้องเป็นการถวายของที่เป็นประโยชน์ แก่ผู้รับ ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ 89


• อันนี้อาจจะเป็นรูปธรรมอันหนึ่งของความเชื่อที่กลายเป็นพิธีกรรมที่ทากันสืบ เนื่องกันมา นี่ ไม่ใช่สิ่งที่พระพุทธเจ้าได้ตรัส แต่เป็นเพียงคํำาแนะนํำาหรือความเชื่อของ คนจํำานวนหนึ่ง ซึ่งอ้างว่าเคยไปนรกมา ก่อนแล้วฟื้นขึ้นมา

• ความเชื่อเรื่องการถวายสังฆทานเพื่อเป็นการสะเดาะเคราะห์ เพื่อเป็นการ ตัดกรรม การไปสร้างพระพุทธรูปถวายวัดเพื่อช่วยให้คนป่วยอาการดีขึ้นถือเป็นการ ทํำาบุญหรือเปล่า ถือว่าเป็นการทํำาบุญได้เหมือน กัน เป็นการมุ่งให้เกิดประโยชน์แก่ผู้ ที่เรานับถือซึ่งได้ล่วงลับไปแล้ว แต่ว่า การทํำาบุญแบบนี้เราต้องพิจารณาดูว่า เหมาะกับโอกาสหรือเหมาะกับผู้รับหรือ เปล่า แล้วก็จะต้องเข้าใจจุดมุ่งหมายของ การทํำาบุญแต่ละอย่าง เช่น การถวาย สังฆทาน สังฆทานก็คือต้องถวายแก่ หมู่สงฆ์ วัตถุประสงค์ของการมีสังฆทาน ก็เพื่อประโยชน์แก่หมู่สงฆ์ ไม่ ได้มุ่งเพื่อ ประโยชน์ของผู้ ให้ ทั้งไม่ ได้มุ่งเพื่อให้เกิด ประโยชน์แก่ใครที่นอกเหนือจากสงฆ์หรือ 90 ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ

ส่วนรวม สํำาหรับการทํำาบุญเพื่อตัดกรรม หรือการสะเดาะเคราะห์ก็เกิดจากความ เชื่อว่าได้เคยทํำาไม่ดีกับผู้อื่นที่เป็นเจ้า กรรมนายเวร ความเชื่อนี้อิทธิพลมาก ถ้าเราต้องการที่จะลดทอนผลแห่งกรรมที่ เราได้ทํำาเอาไว้ เราก็สร้างความดี ความดี ที่เราทํำานั้นก็ทํำาได้หลายอย่าง ไม่จํำาเป็น ต้องทํำาสังฆทานเสมอไป อย่างสมัยก่อน ก็นิยมปล่อยนกปล่อยปลา การบวชหรือ การเข้าวัดปฏิบัติธรรมก็เป็นตัวอย่างที่มี อานิสงส์ด้วยเช่นกัน


• การทํำาบุญโดยเริ่มจากความคิดอยากได้ประโยชน์จากบุญที่กระทํำาลงไปหรือ เลือกทํำาบุญที่จะได้ผลดีกับตัวเองมากๆ ทัศนคติเช่นนี้เป็นอย่างไรบ้าง

การทํำาบุญแบบนี้ก็มีประโยชน์อยู่ แต่พุทธศาสนาถือว่าการทํำาบุญอย่างนี้ เป็นการยึดติด ยังมีความเห็นแก่ตัวอยู่ แท้ที่จริงมีการทํำาบุญที่ประเสริฐหรือมี อานิสงส์มากกว่านี้ นั่นคือการทํำาบุญที่ ไม่หวังผลตอบแทนไม่ ได้ทํำาบุญเพื่อหวัง รวย ไม่ ได้ทํำาบุญเพื่อให้เกิดความสุขสบาย ในชาติหน้าเป็นการทํำาบุญเพื่อละตัวตน เพื่อลดละกิเลส ทํำาไมเราถึงต้องให้ทาน

ก็เพราะคนเรามักจะยึดติดในวัตถุ การ ที่พุทธศาสนาเน้นเรื่องการให้ทานก็เพื่อ ที่จะได้ละการยึดติดในวัตถุ เพื่อจะได้มี อิสรภาพ อย่างพระเวสสันดร ท่านเน้น เรื่องทานก็เพราะว่าช่วยให้พระองค์ ได้ ละวางในสิ่งที่คนเรายึดถือว่าเป็นสิ่งสํำาคัญ โดยท่านมุ่งประโยชน์สูงสุดก็คือการเข้าถึง วิมุตติ คือ อิสรภาพ

ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ 91


• แสดงว่าถ้าเรานึกถึงแต่ประโยชน์ของเราก็ได้บุญในด้านการทํำาประโยชน์ทาง วัตถุ แต่ในแง่การยกระดับจิตใจยังไม่ ได้รับ

พุทธศาสนาถือว่าอานิสงส์ของ บุญมี ๓ ขั้น ขั้นแรกเรียกว่าทิฏฐธัมิกัต ถะ หรือประโยชน์เบื้องต้น เช่น การ มี ปัจจัยสี่ เลี้ยงชีพ ไม่ยากไร้ เวลาเราใส่ บาตรประโยชน์ส่วนนี้เกิดขึ้นกับพระ คือ ท่านมีอาหารฉันเวลาเราถวายข้าวสาร อาหารแห้งหรือถวายอุปกรณ์เครื่องใช้แก่ พระ ก็เกิดประโยชน์ส่วนนี้ขึ้นมา

คนเป็นอันมากมุ่งอานิสงส์ข้อนี้ โดยเชื่อ ว่าบุญที่สะสมในชาตินี้จะอํำานวยผลให้มี ความสุขในภพหน้า

ประโยชน์ขั้นที่ ๓ ก็คือ “ปรมัตถะ” หมายถึงนิพพานหรือความ เป็นอิสระอย่างสมบูรณ์ อันเกิดจาก การละวางความยึดถือในตัวตน ถ้าเรา ทํำาบุญโดยหวังตัดกรรมหรือหวังรวย ขั้นที่ ๒ คือเกิดประโยชน์ที่เรียกว่า ประโยชน์ที่เกิดขึ้นมีเพียง ๒ ประการคือ สัมปรายิกัตถะ หมายถึงการมีจิตใจผ่องใส ทิฏฐธัมิกัตถะ กับสัมปรายิกัตถะ แต่ว่า สบาย ปราศจากความเศร้าหมองขุ่นมัว ยังไปไม่ถึงที่สุดที่ควรจะได้ ก็คือ ปรมัตถะ 92 ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ


ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ 93


ทํ​ําบุญให้ได้บุญ • เวลามีงานบุญ เจ้าภาพหวังจะให้งานออกมาดี เรียบร้อยถูกต้องที่สุด แต่ก็มัก จะมีภาระให้ต้องจัดการหลายเรื่อง เป็นเหตุให้เกิดความขุ่นข้องขัดเคืองใจได้ง่าย คนจัด งานบุญควรวางใจอย่างไร เพื่อให้ ได้บุญตามเจตนา อันนี้เป็นตัวอย่างให้เห็นว่า พิธีกรรมมีความจํำาเป็น เพราะว่าขณะที่ เตรียมของถวายพระ หรือจัดการงาน ต่างๆ จิตใจเราจะขุ่นมัว แต่ว่าอย่างน้อย เราควรจะมีความสงบใจในช่วงที่เราถวาย ทาน การมีพิธีกรรมส่วนหนึ่ง ก็เพื่อทํำาให้ คนที่กาลังวุ่นวายพอมารับศีล มาบูชาพระ รัตนตรัย กล่าวนะโม อรหัง สัมมา ความ วุ่นวายที่เกิดจากการทางานเตรียมงานก็ จะค่อยๆสงบ จิตก็จะเป็นสมาธิ ดีกว่าออก 94 ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ

จากครัวแล้วก็มาถวายของให้พระเลย จิต ก็ยังวุ่นวายอยู่ เพราะฉะนั้น นี่คือความจํำา เป็นที่คนโบราณจะต้องมีพิธีกรรมเพื่อให้ คนที่กาลังวุ่นวายจากการเตรียมงานได้ มีโอกาสน้อมจิตให้สงบ ซึ่งก็ทาให้ ได้รับ อานิสงส์ของบุญเพิ่มขึ้น แต่ถ้าจะให้ดีกว่านั้น เราควร เตรียมจิตเตรียมใจสาหรับงานบุญโดย ตระหนักอยู่เสมอว่า การที่เรามีสติอยู่


ระหว่างที่เราทํำางาน การที่เรามีสมาธิใน ระหว่างที่เราทํำางานก็เป็นบุญ เป็นบุญ มากด้วย ขณะเดียวกัน การระงับความ หงุดหงิดขุ่นข้องหมองใจก็เป็นการปฏิบัติ ธรรมอย่างหนึ่งเหมือนกัน และมีความ สํำาคัญมากด้วย ดังนั้นจึงควรเอางานบุญ เป็นโอกาสที่จะได้ฝึกฝนตนเองทางจิตใจ

บุญมากขึ้น ดังนั้นจึงพึงระลึกว่า ระหว่าง เตรียมงานก็เป็นการทํำาบุญด้วยอย่างหนึ่ง

ควรย้าว่า พุทธศาสนาให้ความ สาคัญกับจิตใจมากกว่าเงินหรือวัตถุการ ทํำาบุญที่ ใจจึงมีคุณค่ามากกว่าการทํำาบุญ ด้วยเงินหรือวัตถุ มีพุทธพจน์ตรัสว่า การ สร้างวิหารถวายแก่พระสงฆ์ มีผลน้อย คนส่วนใหญ่มักจะมีความเครียด กว่า การมีจิตเลื่อมใสใน พระพุทธ พระ ธรรม และพระสงฆ์ การมีจิตใจเลื่อมใสใน จากการเตรียมงานก็เพราะว่ากลัวว่า จะทํำาได้ ไม่ดีหรือว่าได้เงินน้อยไป นั่นเป็น พระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ์ มีผล เพราะเราไปให้ความสํำาคัญกับเงินมากกว่า น้อยกว่าการรักษาศีล ๕ การรักษาศีล เรื่องของจิตใจ ถ้าเราทํำาโดยตระหนักว่า ๕ มีผลน้อยกว่า การเจริญเมตตาจิต แม้ เพียงชั่วขณะ เจตนาและคุณภาพจิตเป็นสิ่งสํำาคัญกว่า เงิน แม้เงินจะได้น้อยแต่เราทาด้วยเจตนา ด้วยเหตุนี้เวลาเตรียมงาน ดีมีความภาคภูมิใจที่ ได้ทํำา ก็เท่ากับได้บุญ หรืองานบุญเราจึงควรประคองจิตให้มี แล้ว นอกจากนั้นการวางจิตวางใจเช่นนี้ เมตตาอยู่เสมอ อย่าเผลอใจให้ความโกรธ ยังช่วยให้เราได้ฝึกการปล่อยวางด้วย ถ้า ความเครียดมาครอบงํำา เราปล่อยวางเป็นก็จะดีรับอานิสงส์แห่ง

ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ 95


• กรณีที่เราเป็นเจ้าภาพ จะต้องบอกบุญอย่างไรถึงจะไม่เป็นภาระกับผู้อื่น

การบอกบุญคล้ายๆกับเป็นการ เปิดโอกาสให้คนได้ทํำาดี อันนี้ก็เรียกว่า เป็นบุญอย่างหนึ่ง เรียกว่าปัตติทานมัย คราวนี้เราต้องตั้งจิตว่านี้เป็นการเปิดช่อง ให้คนได้ทํำาดีนะ เราอย่าไปยึดที่จํำานวน เงินที่เราจะได้รับหรืออย่าไปตั้งเป้าที่ตัว เงิน ถ้าเราไปให้ความสํำาคัญกับตัวเงินนี่ เราก็จะเป็นทุกข์ถ้าเกิดว่าเขาให้น้อย หรือ 96 ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ

บอกบุญแล้วเขาเฉย ไม่ ได้ร่วมทาบุญ ก็ อาจจะรู้สึกโมโห อันนี้ก็ไม่ ได้บุญแล้ว เพราะบุญนี่เราต้องทาด้วยจิตที่เมตตา จิตที่ เบิกบาน ทํำาแล้วจิตกลับหดหู่เศร้า หมอง เราก็ไม่ ได้บุญ เรียกว่าทํำาบุญกลับ ได้บาป ต้องถือว่าเราเพียงแค่เปิดโอกาส ให้คนทํำาดีก็เป็นบุญแล้ว


• บางครั้งเราได้รับการบอกบุญ เช่น ซองผ้าป่า ซองกฐิน โดยเฉพาะช่วง เทศกาล เราร่วมทํำาบุญด้วยความรู้สึกตัดรํำาคาญหรือเกรงใจเจ้าภาพหรือว่าเราได้บุญ หรือเปล่า เป็นการทาบุญเหมือนกัน แต่เป็นการทํำาบุญในแง่ที่ว่าก่อให้เกิด ประโยชน์แก่ผู้รับ การให้ทานแก่ใครก็ตาม แม้กระทั่งมิจฉาชีพหรือสัตว์เดรัจฉานก็มี อานิสงส์ด้วยเช่นกัน แต่ว่าอานิสงส์แห่ง บุญแบบนี้ จะบังเกิดน้อยลง หากเราทํำา บุญโดยไม่มีความแช่มชื่นเบิกบานใจเลย

เพราะบุญนั้นคือชื่อแห่งความสุข ถ้าทํำา แล้วไม่มีความสุข ก็แสดงว่าไม่เกิดบุญในใจ เรา ดังนั้นเราจึงควรทํำาด้วยความเต็มใจ ด้วยความปรารถนาดี ไม่ ได้ ไปทํำาเพราะ เกรงใจ และไม่ควรให้ความสํำาคัญกับจํำา นวนเงิน แต่ขอให้ทํำาด้วยเจตนาดี ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ 97


• บางคนตัวเองทํำาบุญด้วยความเต็มใจ แต่วิธีการอาจจะเบียดเบียนตัวเองหรือ ครอบครัว เช่น ไปกู้เงินมาทํำาบุญหรือว่าเอาทรัพย์ที่เป็นของครอบครัวไปทํำาบุญ โดยที่ ญาติอาจจะไม่ ได้เห็นดีด้วย อย่างนี้ถือเป็นการหลงบุญได้ ไหม

นี่เป็นเพราะเราไปเข้าใจว่าบุญ หมายถึงการให้ทานเท่านั้น ฉะนั้นถ้า อยากจะทํำาบุญก็คิดว่าจะต้องให้ทานอย่าง เดียวโดยไม่ ได้คิดว่าทํำาความดีอย่างอื่น ก็เป็นบุญเช่นกัน แม้จะไม่ ได้ ให้ทาน เมื่อ เราคิดว่าต้องทํำาบุญด้วยวัตถุแล้ว ดังนั้น เมื่อไม่มีก็ต้องไปหามาให้ ได้ จนกระทั่ง ไปกู้มา นี่เป็นความเข้าใจที่ ไม่ถูกต้องใน การทํำาบุญ อีกเหตุผลหนึ่งคือความเข้าใจ ว่าบุญจะได้มากก็ต่อเมื่อให้มาก บุญขึ้น อยู่กับปริมาณของเงินที่ ให้ ซึ่งไม่ใช่ แม้ ให้เพียงเล็กน้อยแต่ให้ด้วยจิตที่ปรารถนา ดี ให้ถูกต้องตามหลักสัปปุริสทานก็ได้บุญ 98 ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ

แล้ว ปัญหาอยู่ที่ผู้คนยังเข้าใจเรื่องบุญไม่ ถูกต้อง ทํำาแล้วจึงเกิดความไม่สบายใจ และทํำาให้คนอื่นพลอยเดือดร้อนไปด้วย เราทุกคนควรละลึกอยู่เสมอว่า ในฐานะที่เป็นคนในครอบครัว เราก็มีหน้า ที่ต้องรับผิดชอบ การทํำาหน้าที่ ให้ถูกต้อง ในฐานะที่เป็นพ่อแม่ ก็เป็นการทํำาบุญ เป็นการปฏิบัติธรรมเหมือนกัน ทีนี้ถ้าเรา ไม่ ได้ทํำาหน้าที่ถูกต้องเพราะเราไปสร้าง หนี้สิน ก่อความเดือดเนื้อร้อนใจให้แก่ผู้ อื่น แม้จะเป็นการกระทํำาในนามของการ ทํำาบุญก็ตาม ก็ไม่ถือว่าเป็นการปฏิบัติ ธรรมที่ถูกต้อง


• อย่างกรณีที่เราทํำาบุญ ซึ่งอาจจะไปสนับสนุนการเอารัดเอาเปรียบผู้อื่น เช่น เราปล่อยนกปล่อยปลา เป็นการสนับสนุนให้มีคนไปจับสัตว์มาขาย หรือเวลาเรา ตักบาตร โดยซื้อจากร้านค้าที่เขาเอาอาหารมาเวียนขาย กรณีแบบนี้เราควรจะมีท่าที ต่อการทาบุญด้วยวิธีเหล่านี้อย่างไร การทํำาบุญดังกล่าว ความจริงก็ได้ บุญอยู่แล้ว เพราะเราไม่มีเจตนาร้าย เรา ต้องการให้นกให้ปลาได้มีอิสรภาพที่เป็น จริง เราถวายอาหารให้แก่พระ เราก็ทํำา ด้วยเจตนาดี แต่ส่วนใหญ่ทํำาไปโดยไม่รู้ หรือแม้กระทั้งไม่ใส่ใจว่าจะเกิดผลอย่างไร กับนกกับปลาที่ปล่อย อะไรจะเกิดขึ้นกับ อาหารที่ถวายพระ ด้วยเหตุนี้การทํำาบุญ จึงต้องมีสิ่งหนึ่งเข้ามาประกอบด้วยนั่นก็ คือการมีปัญญาและมีสติ

น้อย เช่น ถวายเหล้า บุหรี่ ยาชุด ยาซอง หรือสิ่งที่ ไม่เหมาะสมแก่พระ

เพราะฉะนั้นเราต้องมี ความ ตระหนักรู้ มีสติ มีปัญญา ควบคู่ ไปกับ การทํำาบุญ ต้องพิจารณาด้วยว่าสิ่งที่เรา ให้มีประโยชน์แค่ ไหน ดังมีพุทธพจน์ บอกว่า การให้อยากเลือกเฟ้น หรือ วิไจยทาน เป็นการกระทํำาที่พระพุทธเจ้า ทรงสรรเสริญ ดังนั้นแทนที่จะหลับหู หลับตาให้ เราควรให้ด้วยการพิจารณา การมีปัญญาและการมีสติคือ การทํำาด้วยความตระหนักรู้ ในทางพุทธ ไตร่ตรอง ใคร่ครวญว่าของที่เราให้นั้น ศาสนา ในหลักคาสอนเรื่องสัปปุริสทาน มีประโยชน์แก่ผู้รับไหม ก่อผล กระทบ คือการให้ทานแบบสัปบุรุษ พระพุทธองค์ อย่างไรบ้าง (สมัยนี้ควรต้องพิจารณา ท่านให้ความสาคัญกับปัญญาด้วย คือพึง รวมไปถึงผล กระทบต่อสิ่งแวดล้อมด้วย) เช่นเราจะปล่อยนกปล่อยปลา เราก็ต้อง ให้ โดยรู้ว่าของที่ ให้มีประโยชน์แก่ผู้รับ หรือเพียงใดถ้า ทํำาโดยไม่รู้เรื่องเลยว่าของ พิจารณา ว่านกปลาที่เราปล่อยนั้นได้รับ ที่ ให้นั้นมีประโยชน์แก่ผู้รับหรือไม่ ก็ได้บุญ อิสรภาพจริงอย่างที่เราต้องการหรือเปล่า ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ 99


• มีบางคน ไม่ค่อยได้ดูแลพ่อแม่ในระหว่างมีชีวิตอยู่ หลังจากพ่อแม่ล่วงลับไป แล้วก็รู้สึกเสียใจอยากที่จะทดแทนบุญคุณ ควรจะทํำาบุญแบบไหนถึงจะเรียกว่าเป็นการ ทดแทนบุญคุณพ่อแม่ ได้ การทํำาบุญทดแทนพ่อแม่ที่ดีก็คือ ขณะที่ท่านยังมีชีวิตอยู่ เพราะว่าเป็นหลัก ประกันแน่นอนว่า ท่านจะได้รับประโยชน์ เต็มที่ แต่ถ้าเราหวังไปทํำาบุญหลังจากที่ ท่านจากไปแล้ว เราก็ไม่แน่ใจว่าท่านจะได้ รับประโยชน์อย่างที่เราต้องการหรือเปล่า ชาติหน้ามีจริงหรือเปล่าเราก็พูดด้วยความ มั่นใจไม่ ได้ 100 ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ

ในกรณีที่ท่านล่วงลับไปแล้ วการทํำาบุญตามประเพณีก็ได้อยู่ ขึ้นชื่อว่า บุญแล้วทํำาได้หลายอย่าง การทาประโยชน์ และการให้ทานแก่ผู้เดือดร้อนก็เป็นการทํำา บุญให้แก่ผู้ตายได้ โดยอุทิศส่วนกุศลไปให้ ท่าน


• เมื่อมีคนมาบอกบุญ เราควรวางจิตใจอย่างไรจึงถือเป็นการอนุโมทนาบุญที่ ได้ ประโยชน์จริงๆ

เราชื่นชมยินดีในการกระทา การ ริเริ่มของคนผู้นั้น และเราก็ทาด้วยเจตนาดี ไม่ ได้ระแวงสงสัยว่าเขาทํำาไปเพื่อประโยชน์ ส่วนตัวหรือเพื่อความเด่นดัง เรามีความ ศรัทธาชื่นชมยินดีในสิ่งที่เขาทํำา ไม่ ได้ หงุดหงิดราคาญใจหรือนินทาลับหลัง อัน

นี้คือความหมายของอนุโมทนา ถ้าเรามี จิตใจอย่างนี้ จิตใจเราก็เป็นสุข เป็นกุศล เกิดขึ้นในใจ ถึงแม้ว่าเราไม่ ได้เข้าไปมีส่วน ร่วมเต็มที่ เรียกว่า ปัตตานุโมทนา ก็เป็น บุญได้เหมือนกัน ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ 101



ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ 103



ภาคผนวก กราบ ๓ ครั้ง กราบ ๕ ครั้ง

๑๐๖

นมการคาถา ไตรสรณคมน์ อาราธนาศีล ๕

๑๐๗ ๑๐๘ ๑๑๐

สมาทานศีล ๕ อาราธนาธรรม

๑๑๑ ๑๑๕

อาราธนาพระปริตร บังสุกุล ถวายข้าวพระพุทธ ลาข้าวพระพุทธ

๑๑๖ ๑๑๘ ๑๒๐

กรวดน้ํำา

๑๒๒

แผ่เมตตา สวดมนต์ก่อนนอน

๑๒๗ ๑๒๘

ถวายสังฆทาน

๑๒๙

• เอกสารประกอบการเรียบเรียง • รายชื่อร้านค้าเพื่อสุขภาพและสินค้าจากชุมชน • เครือข่ายชาวพุทธเพื่อพระพุทธศาสนาและสังคมไทย 104 ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ


พิธีกรรม กราบ ๓ ครั้ง กราบ ๕ ครั้ง กราบครั้งแรกเป็นการสักกา ระพระพุทธเจ้าที่ท่านได้ตรัสรู้และสั่ง สอนธรรมแก่สัตว์ โลก กราบครั้งที่ ๒ เป็นการสักการะพระธรรมที่พระพุทธ องค์ตรัสรู้ และกราบครั้งที่ ๓ เป็นการสัก การะพระสงฆ์ที่ท่านประพฤติปฏิบัติตาม คํำาสั่งสอนและบรรลุธรรมได้จริง การกราบที่เพิ่มขึ้นมาอีก ๒ ครั้ง คือ กราบคารวะคุณมารดาบิดาที่ ท่านได้ ให้กาเนินและเลี้ยงดูเรามา และ

106 ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ

กราบครั้งที่ ๕ คือ กราบคารวะคุณครู บาอาจารย์ที่ ได้สอนสั่งวิชาการแก่เรา คุณครูบาอาจารย์ ในที่นี้รวมหมดทั้ง ครูบาอาจารย์ที่เป็นครูอาจารย์ทางโลก และครูอาจารย์ทางธรรมที่เป็นนักบวช โดยทั่วไปมักกราบ ๓ ครั้ง ส่วนกราบ ๕ ครั้ง มักใช้กับการสวดมนต์ ทํำาวัตร หรือสวดมนต์ก่อนนอนสุดแท้แต่ บุคคลที่จะเคารพสิ่งอื่น นอกเหนือไปจาก พระรัตนตรัย


นมการคาถา คํำากล่าวนมการคาถา นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ

ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า เสมือนเครื่องเตือนสติเตือนใจในตัวตน พระองค์นั้น ซึ่งเป็นผู้ ไกลจากกิเลส ตรัสรู้ ว่าต้องอ่อนน้อมถ่อมตนอยู่เสมอ โดย ชอบได้ โดยพระองค์เอง เฉพาะอย่างยิ่งกับพระศาสดาแห่งศาสนา เป็นวัตรปฏิบัติที่ดีของชาวพุทธ ที่เรานับถือ อันจะทํำาให้บรรยากาศของ ก่อนจะทาพิธีกรรมอันใดก็มีการกล่า พิธีกรรมต่างๆ ที่กํำาลังเริ่มนั้นเป็นไปด้วย วคํำานอบน้อมต่อพระพุทธเจ้าเสมอ เป็น ความสงบ ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ 107


ไตรสรณคมน์ คํำากล่าวไตรสรณคมน์

พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ

108 ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ


เป็นพิธีกรรมที่ทรงคุณค่าอีก พิธีหนึ่ง เนื้อความว่าด้วยการน้อมรับ พระพุทธเจ้า พระธรรม และพระสงฆ์เป็น สรณะ เป็นเครื่องกาจัดภัยได้จริง พระพุทธเจ้าทรงนํำาทางชีวิตให้ เราได้พบกับแสงสว่าง พระธรรมให้เรา ได้เรียนรู้ความรัก ความเมตตากรุณา ต่อเพื่อนมนุษย์ และปัญญาแห่งการบรรลุ ธรรม พระสงฆ์คือผู้ที่มีชีวิตเป็นตัวอย่าง ให้เราได้เห็นถึงชีวิตที่บรรสานสอดคล้อง กับธรรมชาติ และปฏิบัติกับเพื่อนมนุษย์ ด้วยความรักความเมตตากรุณาและด้วย ความตื่นอยู่เสมอ

พระพุทธเจ้า พระธรรม พระ สงฆ์ ปรากฏอยู่ทั่วทุกมุมของจักรวาลใน แต่ละตัวบุคคลตลอดจนสรรพสิ่ง การถือ เอาพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์เป็น สรณะหมายความว่าเรามีความเชื่อมั่นใน ตัวเองว่าเราจะสามารถเป็นผู้ตื่นได้ โดย เราสามารถปฏิบัติตนได้ตามครรลองของ พระอริยมรรคเพื่อตัวเราเองและเพื่อสังคม ของเรา ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ 109


อาราธนาศีล ๕ คํำาอาราธนาศีล ๕ มะยัง ภันเต วิสุง วิสุง รักขะณัตถายะ ติสะระเณนะ สะหะ ปัญจะ สีลานิ ยาจามะ ทุติยัมปิ มะยัง ภันเต วิสุง วิสุง รักขะณัตถายะ ติสะระเณนะ สะหะ ปัญจะ สีลานิ ยาจามะ ตะติยัมปิ มะยัง ภันเต วิสุง วิสุง รักขะณัตถายะ ติสะระเณนะ สะหะปัญจะ สีลานิ ยาจามะ

ข้าแต่ท่านผู้เจริญข้าพเจ้าทั้งหลายขอสมาทานศีล ๕ โดยมีท่านเป็นพยาน พร้อม ด้วยไตรสรณคมน์ เพื่อประโยชน์แห่งการรักษาเป็นข้อๆ

110 ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ


สมาทานศีล ๕ ขณะสมาทานศีล ๕ ควรพิจารณาตามไป ด้วยดังนี้ ศีลข้อที่ ๑ เว้นจากการฆ่า ห้ามมิให้ผู้อื่นฆ่า จงหาทางทุกวิธีที่เป็นไปได้เพื่อรักษาชีวิต ของผู้อื่นและสัตว์อื่นไว้ อย่าดํำารงชีพให้ เป็นโทษแก่เพื่อนมนุษย์ด้วยกัน สัตว์ และ ธรรมชาติ

ศีลข้อ ๒ เว้นจากการลักทรัพย์ อย่ามีของ อันควรเป็นของผู้อื่น เคารพทรัพย์สิน ของผู้อื่น ไม่พึงปล่อยให้มีการสร้างความ ร่ํำารวยขึ้นมาจากความทุกข์ยากของสรรพ สิ่งบนโลกนี้ ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ 111


ศีลข้อ ๓ เว้นจากการประพฤติผิดในกาม การแสดงออกทางเพศควรประกอบไปด้วย ความรัก ความไยดีต่อกันในช่วงกาลเวลา ยาวนาน พึงสังวรไว้ว่าเราอาจทํำาให้ผู้อื่น ได้รับความทุกข์จากผลแห่งการกระทํำา ของเรา เราจะรักษาความสุขของเราและ ของผู้อื่นได้ก็ต่อเมื่อเราเคารพสิทธิของผู้ อื่น ตลอดจนความรู้สึกนึกคิดของเรา

112 ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ

ศีลข้อ ๔ เว้นจากวจีทุจริต ไม่พูดในสิ่ง ที่ ไม่เป็นความจริง เว้นจากการขยายข่าว ที่เราก็ยังไม่เชื่อมั่นว่าเป็นจริง ไม่ติ ไม่ ประณามในสิ่งที่เรายังไม่แน่ใจไม่เอ่ยคํำาที่ จะทํำาให้เกิดความแตกแยกหรือเกิดความ เกลียดชัง หรือคาที่ทํำาให้ความสามัคคีแตก สลายได้


ศีลข้อ ๕ เว้นจากการเสพสุรายาเมา ทุกชนิด เราพึงราลึกไว้เสมอว่า เราได้ ร่างกายนี้มาจากพ่อแม่ และบรรพชน เรา จะใช้ยาเสพติดทํำาลายตัวเอง ทํำาลาย บรรพชน ทํำาลายอนุชน ตลอดจนปัจจุบัน และอนาคตของเราเองอย่างนั้นหรือ เมื่อ เราขาดสติแล้วสิกขาบทอื่นๆอีก ๔ ข้อ เรา ก็ยอมล่วงละเมิดได้ โดยง่าย

ศีล ๕ มีความวิเศษและมหัศจรรย์ ช่วยปกปักรักษาและช่วยให้เกิด ความงอกงามภายใน ศีล ๕ ช่วยให้เดิน ทางไปสู่ความสุข ความสงบ ความหลุด พ้น และความตื่น ศีลเป็นพื้นฐานที่จะทํำา ให้แต่ละคนมีความสุข ให้ครอบครัวมีความ สุข สังคมมีความสุข

ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ 113


ภายหลังจากรับศีล ๕ เสร็จ พระท่านจึงสรุปว่า สีเลนะ สุคะติง ยันติ

ศีลทํำาให้มีความสุข

สีเลนะ โภคะสัมปะทา

ศีลทํำาให้มีโลภทรัพย์

สีเลนะ นิพพุติง ยันติ

ศีลทํำาให้ ได้ ไปนิพพาน

ตัสมา สีลัง วิโสธะเย

ดังนั้น พึงรักษาศีลให้ บริสุทธิ์

การรับศีล ควรเป็นไปด้วย ความตั้งใจจึงจะเกิดผล ไม่ใช่ตั้งใจขณะ รับ แต่ต้องตั้งใจตลอดทันทีภายหลังจาก รับศีลเรียบร้อยแล้วด้วย การรับศีลเดือน ละครั้งเป็นการดี อย่างน้อยเพื่อเป็นการ ตรวจสอบตัวเอง ทบทวนตัวเอง เพื่อการ

114 ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ

เจริญงอกงามภายใน และเพื่อการศึกษา ปฏิบัติของเราจะได้เจริญงอกงามและลึก ซึ้งตามสิกขาบททั้งห้านั้นยิ่ง ขึ้นไปทุกวัน แต่หากการรับศีลเป็นไปอย่างนกแก้วนก ขุนทองแล้ว การรับศีลนั้นก็คงไม่มีความ หมายเช่นกัน


อาราธนาธรรม คํำาอาราธนาธรรม พรัมมา จะ โลกาธิปตี สะหัมปะติ กัตอัญชะลี อันธิวะรัง อะยาจะถะ สันธีธะ สัตตาปปะระชักขะชาติกา เทเสตุธัมมัง อะนุกัมปิมังปะชัง การทํำาบุญในพุทธศาสนา ประกอบด้วย ๓ วิธีการใหญ่ๆ คือ ทาน ศีล ภาวนา ด้วยเหตุนี้ เมื่อมีการ ทํำา บุญ ตามประเพณีไม่ว่าในงานมงคล หรืออวมงคล นอกจากจะมีการถวาย ภัตตาหารแก่พระสงฆ์ และสมาทานศีล ประเพณีการฟังธรรมนั้น เริ่ม ต้นด้วยการอาราธนาธรรมจากพระ สงฆ์ก่อน เพราะพระสงฆ์จะแสดงธรรม อย่างเป็นทางการได้ ต่อเมื่อมีผู้นิมนต์ การอาราธนาธรรมยังเป็นพิธีกรรมที่

แล้ว ที่มักขาดไม่ ได้คือการฟังธรรมจาก พระสงฆ์ การฟังธรรมจัดว่าเป็นบุญฝ่าย ภาวนามัย คือการพัฒนาจิตใจให้เกิด ปัญญา มีความรู้ความเข้าใจในความเป็น จริงของชีวิต เพื่อจะได้ ไม่เข้าไปในความ ทุกข์ มุ่งเตรียมจิตใจของญาติโยมให้พร้อมแก่ การฟังธรรม รแสดงธรรมนั้นจะเกิดผล ดีอย่างเต็มที่เมื่อผู้ฟังเปิดใจ พร้อมรับฟัง ธรรม ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ 115


อาราธนาพระปริตร คํำาอาราธนาพระปริตร วิปัตติปะฏิพาหายะ

สัพพะสัมปัตติสิทธิยา

สัพพะทุกขะวินาสายะ

ปริตตัง พรูถะ มังคะลัง

วิปัตติปะฏิพาหายะ

สัพพะสัมปัตติสิทธิยา

สัพพะภะยะวินาสายะ

ปริตตัง พรูถะ มังคะลัง

วิปัตติปะฏิพาหายะ

สัพพะสัมปัตติสิทธิยา

สัพพะโรคะวินาสายะ

ปริตตัง พรูถะ มังคะลัง

ขอพระคุณเจ้า จงสวดพระปริตร อันเป็นมงคล เพื่อป้องกันความวิบัติ เพื่อความสํำาเร็จในสมบัติทั้งปวง และเพื่อให้ทุกข์ทั้งปวงพินาศไป ขอพระคุณเจ้า จงสวดพระปริตร อันเป็นมงคล เพื่อป้องกันความวิบัติ

ถือว่าพระปริตรมีอานุภาพในทางปกป้อง อันตรายทั้งปวง พระสงฆ์นิยมสวดใน งานมงคล (เรียกว่าเจริญพุทธมนต์) เพื่อ ให้เกิดสวัสดิมงคล ปราศจากโรคาพยาธิ และภัยพิบัติ ในการทํำาบุญอุทิศแก่ผู้ตายก็ นิยมสวดเช่นกัน (เรียกว่าสวดพุทธมนต์)

พุทธมนต์นี้เป็นภาษาบาลี ทั้งหมด ล้วนมีความหมายในทางธรรม ขอพระคุณเจ้า จงสวดพระปริตร เช่น พรรณนาคุณของพระรัตนตรัย อีก ทั้งยังประกอบด้วยข้อธรรมคํำาสอนเพื่อ อันเป็นมงคล เพื่อป้องกันความวิบัติ การดํำาเนินชีวิตที่ผาสุก แม้ผู้ฟังจะไม่รู้ เพื่อความสํำาเร็จในสมบัติทั้งปวง ความหมาย แต่หากน้อมใจให้สงบระหว่าง และเพื่อให้ โรคทั้งปวงพินาศไป พระสวดจนเกิดเป็นสมาธิ ความเย็นใจ ก็ พระปริตรเป็นบทสวดที่มาจาก ถือว่าเป็นบุญกุศลเช่นกัน เพราะบุญหมาย พุทธวัจนะเป็นส่วนใหญ่ เรียกอีกฝ่ายหนึ่ง ถึงเครื่องชาระใจให้สะอาด ปราศจากสิ่ง ว่าพุทธมนต์ เนื่องจากเป็นพุทธมนต์ จึง มัวหมอง เพื่อความสํำาเร็จในสมบัติทั้งปวง และเพื่อให้ภัยทั้งปวงพินาศไป

116 ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ


ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ 117


118 ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ


บังสุกุล คํำาพิจารณาบังสุกุล อะนิจจา วะตะสังขารา

อุปปาทะวะยะธัมมิโน

อุปปัชชิตวา นิรุชฌันติ

เตสัง วูปะสะโมสุโขฯ

สังขารทั้งหลาย มีความไม่เที่ยง เกิดขึ้น ตั้งอยู่ และเสื่อมไปเป็นธรรมดา เกิดขึ้น แล้วย่อมดับสลายไป การเข้าไปทํำาความสงบแห่งสังขารทั้งหลายเหล่านั้น เป็นเหตุแห่ง ความสุข เป็นคาถาที่เรามักจะได้ยินบ่อย ในงานศพ เวลาที่พระท่านชักผ้าบังสุกุล หน้าศพ คาถานี้พระท่านยังสวดเวลาทํำา บุญอุทิศให้ผู้ตายอีกด้วยพิจารณาตามคา แปลข้างต้นแล้วจะเห็นได้ว่าเป็นคํำาสวดที่ ไพเราะและมีความหมายลึกซึ้งมาก วรรค สุดท้ายที่บอกว่า “การเข้าไปทํำาความสงบ แห่งสังขารทั้งหลายเหล่านั้น เป็นเหตุแห่ง

ความสุข” มีความหมายลึกซึ้งไปถึงว่า การเข้าไปสงบกิเลสที่ผูกมัดจิต หรือการ เข้าไปทํำาลายอาการปรุงแต่งของกิเลส ทํำา ให้จิตเกิดความสงบ เป็นเหตุแห่งความ สุขสูงสุดคือ พระนิพพานทีเดียว นับเป็น คาถาที่สอนคนที่ยังมีชีวิตอยู่และมีความ หมายกินใจไม่น้อย ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ 119


ถวายข้าวพระพุทธ ลาข้าวพระพุทธ คํำาถวายข้าวพระพุทธ อิมัง สุปะพ์ยัญชะนะสัมปันนัง สาลีนัง โอทะนัง อุทะกัง วะรัง พุทธัสสะ ปูเชมิ ข้าพเจ้าขอบูชาด้วยโภชนาหาร พร้อมด้วยแกงและกับข้าว และน้าอันประเสริฐนี้ แด่พระพุทธเจ้า

120 ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ


คำลาขาวพระพุทธ àÊÊѧ Áѧ¤ÐÅѧ ÂÒ¨ÒÁÔ ¢ŒÒ¾à¨ŒÒ ¢ÍÊÔ觷ÕèàËÅ×ÍÍѹ໚¹Á§¤Å

ṋ¹Í¹Ç‹Ò¾Ãоط¸à¨ŒÒ·‹Ò¹¤§ äÁ‹©Ñ¹ÍÒËÒ÷ÕèàÃÒ»ÃÐहãËŒ·‹Ò¹¼‹Ò¹ ¾Ãоط¸ÃÙ»ÍÂÙ‹áÅŒÇà¾ÃÒоÃÐͧ¤ ä´Œ “»ÃÔ¹Ô¾¾Ò¹” 仹ҹáÅŒÇ áµ‹àÃÒÊÒÁÒö à»ÅÕè¹ÁØÁÁͧàÊÕÂãËÁ‹¡çä´ŒÇ‹Ò àÃÒ¹Ó ÍÒËÒÃÁÒºÙªÒ·‹Ò¹àËÁ×͹¡Ñº·ÕèàÃÒ¹Ó ´Í¡äÁŒ¸Ù»à·Õ¹ÁÒºÙªÒ·‹Ò¹ÍÐäáçµÒÁ ·ÕèàÃÒµÑé§ã¨¨Ñ´ËÒÁÒºÙªÒ ´ŒÇ¤ÇÒÁÊبÃԵ㨠¶×ÍÇ‹Ò໚¹à¤Ã×èͧÊÑ¡¡ÒÃÐä´Œ·Ñé§ÊÔé¹ ¢Íà¾Õ§

·‹Ò¹äÁ‹ ä´ŒÁÕ¨ÔµÇÔÞÞÒ³ÁҩѹÍÒËÒà ¢Í§àÃÒà·‹Ò¹Ñé¹àͧ ¾Ô¸Õ¡ÃÃÁ¹ÕéÁÕÁÒ¹Ò¹áŌǤ¹ ÃØ‹¹ãËÁ‹·ÕèªÍºµÑ駤ӶÒÁà¡ÕèÂǡѺ¾Ô¸Õ¡ÃÃÁ ¤§µŒÍ§àÃÕ¹ÃÙŒ 㹡ÒÃà»ÅÕè¹ÁØÁÁͧ á·¹ ·Õè¨Ð¡¢Í§à¡‹Ò·Ôé§ä»·Ñé§ËÁ´ ËÒäÁ‹áÅŒÇÍÒ¨ äÁ‹à¢ŒÒã¨ã¹ÀÙÁÔ»˜ÞÞҢͧ¤¹âºÃÒ³áÅÐ ¡ØÈâźÒ·ÕèὧÍÂÙ‹ã¹¾Ô¸Õ¡ÃÃÁµ‹Ò§æ ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ 121


กรวดนํ้ำ กรวดน้ํำ�อิมิน�

อิมินา ปุญญะกัมเมนะ อุปัชฌายา คุณุตตะรา

อาจะริยูปะการา จะ

มาตาปิตา จะ ญาตะกา

สุริโย จันทิมา ราชา

คุณะวันตา นะราปิ จะ

พรัหมะมารา จะ อินทา จะ

โลกะปาลา จะ เทวะตา

ยะโม มิตตา มะนุสสา จะ

มัชฌัตตา เวริกาปิ จะ

สัพเพ สัตตา สุขี โหนตุ ปุญญานิ ปะกะตานิ เม สุขัญจะ ติวิธัง เทนตุ

อิมิน� ปุญญะกัมเมนะ

ขิปปัง ปาเปถะ โว มะตัง อิมิน� อุททิเสนะ จะ

ขิปปาหัง สุละเภ เจวะ

ตัณหุปาทานะเฉทะนัง

เย สันตาเน หินา ธัมมา

ยาวะ นิพพานะโต มะมัง

นัสสันตุ สัพพะทาเยวะ

ยัตถะ ชาโต ภะเว ภะเว

อุชุจิตตัง สะติปัญญา

สัลเลโข วิริยัมหินา

มารา ละภันตุ โนกาสัง

กาตุญจะ วิริเยสุ เม

พุทธาทิปะวะโร นาโถ

ธัมโม นาโถ วะรุตตะโม

นาโถ ปัจเจกะพุทโธ จะ

สังโฆ นาโถตตะโร มะมัง

เตโสตตะมานุภาเวนะ

มาโรกาสัง ละภันตุ มา

122 ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ


ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ 123


คําแปลบทกรวดน้ำอิมินา

ด้วยบุญนี้ อุทิศนี้

อุปัชฌาย์ ผู้เลิศคุณ

แลอาจารย์ ผู้เกื้อหนุน ทั้งพ่อแม่ แลปวงญาติ สูรย์จันทร์ แลราชา

ผู้ทรงคุณ หรือสูงชาติ

พรหม มาร และอินทราช ทั้งทวยเทพ และโลกบาล ยมราช มนุษย์มิตร ผู้เป็นกลาง ผู้จองผลาญ ขอให้ เป็นสุขศานติ์ ทุกทั่วหน้า อย่าทุกข์ทน บุญผอง ที่ข้าทํำา จงช่วยอา นวยศุภผล ให้สุข สามอย่างล้น ให้ลุถึง นิพพานพลัน

ด้วยบุญนี้ ที่เราทํำา

เราพลันได้ ซึ่งการตัด

แลอุทิศ ให้ปวงสัตว์ ตัวตัณหา อุปาทาน

สิ่งชั่ว ในดวงใจ กว่าเราจะ ถึงนิพพาน มลายสิ้น จากสันดาน ทุกๆภพ ที่เราเกิด มีจิตตรง และสติ ทั้งปัญญา อันประเสริฐ พร้อมทั้ง ความเพียรเลิศ

เป็นเครื่องขูด กิเลสหาย

โอกาส อย่าพึงมี แก่หมู่มาร สิ้นทั้งหลาย เป็นช่อง ประทุษร้าย ทํำาลายล้าง ความเพียรจม พระพุทธผู้ บวรนาถ พระธรรมที่ พึ่งอุดม พระปัจเจกกะพุทธสม

ทบพระสงฆ์ ที่พึ่งผยอง

ด้วยอานุภาพนั้น ขอหมู่มาร อย่างได้ช่อง ด้วยเดชบุญ ทั้งสิบป้อง

124 ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ

อย่าเปิดโอกาสแก่มารเทอญ


ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ 125


คํากรวดน้ำแบบสั้น อิทัง เม ญาตีนัง โหตุ สุขิตา โหนตุ ญาตะโย ขอบุญนี้จงสา เร็จ แก่ญาติทั้งหลาย ของข้าพเจ้า ขอญาติทั้งหลายจงเป็นสุข ๆ เถิด

คํำากรวดนํำ้า มีทั้งแบบสั้นและแบบ ยาว เลือกใช้ ได้ตามสะดวก กล่าวคา กรวดนํำ้า ในใจหรือสวดเบาๆ เวลาที่พระ ท่านสวด “ยะถา – สัพพี” ขณะที่หยาด นํำ้า ลงในภาชนะก็ไม่ต้องใช้นิ้วรอง คนที่อยู่ ห่างๆแค่พนนมมือก็พอ ไม่จํำาเป็นต้องกรู กันเข้ามาแตะตัวจนกลายเป็นพวง จะทํำา ให้ดูไม่สงบ

สวดเป็นอารมณ์และแผ่เมตตาบุญกุศล จิต จะได้เรียนรู้ถึงสมาธิ เมตตา และการเผื่อ แผ่ มือก็พนม จิตก็นมัสการพระธรรม

สํำ�หรับบทกรวดน้�ห�ยย�วไป และจํำาไม่ ได้ คิดคํำาพูดเป็นภาษาไทยก็ได้ ว่าแผ่ให้ ใครบ้างทั้งมนุษย์ โลก สวรรค์ สรรพสัตว์ ทั้งที่มองเห็นและมองไม่เห็น จากนั้นก็นํำาน้ํำาที่กรวดไปเทลงดิน ไม่จํำา ช่วงเวลาที่พระให้พรเป็นช่วง เป็นต้องเทลงใต้ต้นไม้ ขณะที่เทก็น้อมใจ เวลาที่เราจะได้ทํำาสมาธิภาวนาไปด้วยใน อุทิศบุญกุศลให้แก่คนที่เราต้องการแผ่บุญ ตัว หยุดการพูดคุย เอาจิตน้อมไปที่เสียง กุศลไปให้เป็นอันเสร็จพิธีกรวดนํำ้า

126 ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ


แผ่เมตตา คํำาแผ่เมตตา สัพเพ สัตตา

สัตว์ทั้งหลาย ที่เป็นเพื่อนทุกข์ เกิด แก่ เจ็บ ตายด้วยกันทั้งหมดทั้งสิ้น

อะเวรา

จงเป็นสุข ๆ เถิด อย่าได้มีเวรแก่กัน และกัน เลย

อัพยาปัชฌา

จงเป็นสุข ๆ เถิด อย่าได้เบียดเบียนซึ่งกัน และกันเลย

อะนีฆา

จงเป็นสุข ๆ เถิด อย่าได้มีความทุกข์กาย ทุกข์ ใจเลย

สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ

จงมีความสุขกายสุขใจ รักษาตนให้รอดพ้น จากทุกข์ภัยทั้งสิ้นเถิด

ท่านทั้งหลายที่ ได้ทุกข์ขอให้พ้นจากทุกข์ ท่าน ทั้งหลายที่ท่านได้สุข ขอให้สุข ยิ่งๆขึ้นไป

แผ่เมตตาไม่อาจทํำาได้ด้วยวาจาเพียงอย่างเดียว แต่ต้องทํำาที่ ใจ ทํำามาจากใจ เท่านั้น ที่สุดแล้วแผ่เมตตาก็เป็นภาวนาชั้นดีอีกวิธีหนึ่งในหลายๆวิธีของการเจริญสติที่ ช่วยลดความเครียดในใจ ช่วยลดความรุนแรงในสังคมแล้วยังทํำาให้จิตผ่องใสอีกด้วย มี ผลให้แก่ช้าลง

ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ 127


สวดมนต์ก่อนนอน นอกจากจะเป็นพิธีกรรมส่วนตัวที่ สามารถทํำาเองคนเดียวได้แล้วยังเป็นการ ทํำาความดีก่อนนอน ก่อนที่จะหมดเวลา ไปอีกหนึ่งวัน และเป็นความดีที่ ไม่ต้อง เสียเงินจริงๆ หลายคนสงสัยไม่รู้จะสวด บทอะไรดี แนะนา ว่าเป็นบทสรรเสริญ พระรัตนตรัย (อิติปิโส ๓ ห้อง) เพราะ ถือว่าเป็นสิ่งยึดเหนี่ยวในใจของพวกเรา ชาวพุทธอยู่แล้ว นอกจากนี้ยังมีคาถาอื่น อีกมากมาย เช่น คาถาชินบัญชร ยอด

128 ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ

พระกัณฑ์ ไตรปิฎกเป็นบทอะไรก็ดีทั้งนั้น เพราะแต่ละบทสวดแล้วก็เป็นมงคลต่อผู้ สวดทั้งสิ้น จบด้วยบทกรวดนํำ้า แผ่เมตตา และเข้านอน โดยมากเรามักจะทิ้งศาสดา ของเราให้ โดดเดี่ยว ไม่ยอไปเข้าเฝ้าท่าน บ้าง หรือจะเข้าเฝ้าก็ในยามเกิดทุกข์เหตุ เภทภัย โดยร้องอุทานว่า “คุณพระช่วย!” ออกบ่อยๆ คืนนี้ก่อนเข้านอนอย่าลืมไป นมัสการท่านบ้าง


ถวายสังฆทาน คํำาถวายสังฆทานแบบสามัญ อิมานิ มะยัง ภันเต ภัตตานิ สะปะริวารานิ ภิกขุสังฆัสสะ อโณชะยมะ สาธุ โน ภันเต ภิกขุสังโฆ อิมานิ ภัตตานิ สะปะริวารานิ ปะฏิคคัณหาตุ อัมหากัง ทีฆะรัตตัง หิตายะ สุขายะ ข้าแต่พระสงฆ์ผู้เจริญ ข้าพเจ้าทั้งหลาย ขอน้อมถวายภัตตาหารกับทั้งบริวารทั้ง หลายเหล่านี้ แด่พระภิกษุสงฆ์ ขอพระภิกษุสงฆ์ จงรับภัตตาหารกับทั้งบริวารทั้งหลาย เหล่านี้ ของข้าพเจ้าทั้งหลาย เพื่อความดา รงยั่งยืนนานแห่งพระบวรพุทธศาสนา พร้อม ทั้งเพื่อประโยชน์และความสุข แก่ข้าพเจ้าทั้งหลาย สิ้นกาลนาน เทอญ ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ 129


คําถวายสังฆทานอุทิศผู้ตาย

อิมานิ มะยัง ภันเต มะตะกะภัตตานิ สะปะริวารานิ ภิกขุสังฆัสสะ โอโณชะยามะ สาธุ โน ภัตเต ภิกขุสังโฆ อิมานิ มะตะกะภัตตานิ สะปะริวารานิ ปฏิคคัณหาตุ อัมห�กัญเจวะ มาตาปิตุอาทีนัญจะ ญาตะกานัง กาละกะตานัง ทีฆะรัตตัง หิตายะ สุขายะ

ข้าแต่พระสงฆ์ผู้เจริญ ข้าพเจ้าทั้ง หลาย ขอน้อมถวาย ภัตตาหารเพื่อผู้ ล่วงลับไปแล้ว กับทั้งบริวารเหล่านี้ แก่ พระภิกษุสงฆ์ ขอพระภิกษุสงฆ์จงรับ ภัตตาหารเพื่อผู้ล่วงลับไปแล้ว กับทั้ง 130 ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ

บริวารเหล่านี้ ของข้าพเจ้าทั้งหลาย เพื่อ ประโยชน์และความสุข แก่ข้าพเจ้าทั้งหลาย ด้วย แก่ญาติของข้าพเจ้าทั้งหลาย มี มารดา บิดา เป็นต้น ผู้ทา กาละล่วงลับไป แล้วด้วย สิ้นก�ลน�นเทอญ


เรื่องของคนทําดี

ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ 133


134 ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ


แมวกับคนหาปลา ครอบครัวของดิฉันชอบไปทํำาบุญ ทํำาสังฆทานที่วัดบางนาในและปล่อยสัตว์ ที่วัดบางนานอก ซึ่งเป็นวัดที่ติดอยู่ริม แม่นํำ้า มีความสงบร่มเย็น วันที่ครอบครัวของดิฉันไป ปล่อยปลาตามปกติ ริมตลิ่งน้า แห้งจน เห็นโขดหิน เราก็สังเกต เห็นชายคนหนึ่ง เดินเลาะตามริมตลิ่ง และมีแมวตัวหนึ่ง เดินนา หน้า ในใจก็คิดว่านี่มันเขตวัด เขต อภัยทาน ทํำาไมไม่กลัวบาปบ้างนะ แต่ก็ไม่ ได้พูดอะไร และก็ยืนดูกันเฉยๆ สักครู่หนึ่งแมวที่เดินนํำาหน้าก็ หยุดเดิน และทํำาท่างัดซอกหิน พร้อมกับ ร้องเหมียวๆ สักพักชายคนดังกล่าวก็เดิน

ตามมาและก็ก้มลงและเอามือล้วงเข้าไปใน ซอกโขดหิน และหยิบปลาออกมาตัวหนึ่ง เป็นปลาตัวใหญ่ ตอนนั้นคิดว่าชายคนนั้น คงจะนํำาเก็บเอาไปทํำาอาหาร แต่ผิดถนัด เขานํำาปลาเดินไปริมนํำาและปล่อยให้ว่าย ลงน้ํำาไป พวกเราก็เลยยืนดูเรื่อยๆ จํำาได้ว่าเห็นเขาช่วยปลาที่ค้าง อยู่ตามโขดหินได้หลายตัวมากครอบครัว ของดิฉันรู้สึกชื่นชมในความใจบุญของเขา มาก และชื่นชมในความฉลาดของเขาที่ ใช้แมวเป็นสื่อช่วยในการหาปลา ได้บุญ ทั้งคนได้บุญทั้งแมว ใครๆเห็นก็ชื่นชม ประทับใจทุกทีเลยค่ะ

ศุพีภรณ์ เทียนสว่าง สมุทรปร�ก�ร ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ 135


136 ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ


นักเล่นหุ้นใจบุญ คุณวัลลภเป็นเพื่อร่วมงานของผม เขาเป็นคนขยันขันแข็ง มีความเป็นตัวของ ตัวเอง และรับผิดชอบต่อภาระหน้าที่การ งานสูง อยากเห็นผู้อื่นได้ดีโดยตลอด ไม่มี ใจคิดแค้นอิจฉาริษยา แม้ว่าตัวเองจะไม่ ได้ผลประโยชน์อะไรไปด้วย แต่ก็มีจุดมุ่ง หมายเพื่อส่วนรวม

วัลลภก็จะเป็นหัวเรี่ยวหัวแรงในการจัด แข่งขันฟุตบอลที่ชุมชน มีหลายสิบชุมชน ส่งทีมฟุตบอลมาร่วมงาน และงานนี้จะ ไม่ให้กินเหล้าหรือสูบบุหรี่ภายในงาน เป็นการส่งเสริมสุขภาพล้วนๆ

พื้นเพคุณวัลลภเป็นคนจังหวัด เลย เขาก็จะทอดกฐินไปจัดสร้างสิ่งที่เป็น แม้ว่างานที่ทํำาอยู่จะชวนให้เป็น สาธารณะประโยชน์ ให้กับวัดและชาวบ้าน คนเห็นแก่ตัว คืองานนักวิเคราะห์หุ้นใน ที่นั่นเสมอ ล่าสุดนี้ก็จะจัดสร้างประปา ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ซึ่งน่า ในวัด เพื่อให้คนในหมู่บ้านดังกล่าวได้ ใช้ ประโยชน์ร่วมด้วย จะเป็นคนโลภโมโทสัน แต่ว่าคุณวัลลภ กลับหาเวลาว่าง (ซึ่งปกติก็หาอยากอยู่ ที่สํำาคัญคุณวัลลภทา ดีทั้งหมด แล้ว) ทํำากิจกรรมเพื่อสังคมและชุมชนของ นี้ ไม่ ได้หวังผลตอบแทนรางวัลอะไรทั้งสิ้น ตนเองตลอด รวมทั้งการจัดกิจกรรม ขอแค่ทํำาแล้วให้คนอื่นและสังคมส่วนรวมมี ลานกีฬาต้านยาเสพติดที่ชุมชนหมู่บ้าน ความสุขก็เป็นสุขใจสา หรับคุณวัลลภแล้ว เอราวัณ จังหวัดปทุมธานี ตอนแรกๆ ก็ไม่ คนเช่นนี้เป็นคนเล็กๆ ทํำางานเงียบๆ ไม่มี ค่อยมีใครร่วมมือ ใครเห็น แต่เขามีความสุขในสิ่งที่เขาทํำาและ ตอนหลังนี้มีหลายชุมชนในเขต เขาเป็นครับ ผมอดชื่นชมเขาไม่ ได้จริงๆ จังหวัดปทุมธานีเข้าร่วมด้วย ล่าสุดคุณ ณัฐวุฒิ รุ่งวงษ์ กรุงเทพฯ ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ 137


138 ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ


เพื่อนผู้แสนดี ผมมีเพื่อนคนหนึ่งจบแพทย์และ เป็นอาจารย์สอนนักศึกษาแพทย์ โดยเขา มีอาชีพเสริมคือขายน้ํำาเต้าหู้และอาหาร สุขภาพ (หลายคนมองเขาแปลกๆ ที่มาขาย ของอย่างนี้) เพื่อนผมจะนํำาอาหารมาขาย ให้ทุกวันพุธ ผมเคยถามเล่นๆว่าที่เอามา ขายนี่ ได้กํำาไรเยอะไหม (เขารับมาขายให้ ที่ทํำางานและคนอื่นๆหลายคน) ผมกลับได้ คา ตอบที่ทํำาให้ประหลาดใจคือ ไม่ ได้กา ไร (เป็นเงิน) เลย เพียงแต่อยากให้คนอื่นมี สุขภาพดี แค่ร้านค้ามาส่งให้ถึงที่ก็ถือว่าได้ กํำ�ไรแล้ว

( ประมาณ ๘,๐๐๐ ) กว่า แต่เขาก็ทํำา งานอย่างมีความสุข เพราะเป็นคนสันโดษ ในวัตถุ และยังมีเหลือเผื่อแผ่คนอื่นด้วย บางทีก็ให้คา ปรึกษาและรักษาโดยไม่คิด สตางค์แก่ผู้มีรายได้น้อย

เขาเล่าให้ฟังว่าที่ทํำางานมี คนเก่งเยอะ บางคนเป็นศาสตราจารย์ ดอกเตอร์และดีกรีอะไรต่างๆมากมาย แต่ กลับทํำางานไม่มีความสุข เพื่อนร่วมงาน ไม่ชอบเขาเลย เพื่อนผมไม่อยากเป็นเช่น นั้น จึงตั้งใจทํำาความดี โดยเกื้อกูลคน อื่นและพยายามให้มีความขัดแย้งน้อย ที่สุด ผมประทับใจในความดีของเพื่อนคน บางทีลูกค้ารับของแล้วเกิด เสีย เขาก็เป็นธุระไปเปลี่ยนให้ บางครั้ง นี้มากครับ คิดว่าถ้าคนในสังคมมีความ ถูกลูกค้าเบี้ยวมีของเหลือ ก็นํำาไปแจกให้ ปรารถนาดีต่อกันและช่วยเหลือเกื้อกูลกัน ลูกจ้างที่ทํำางาน เพื่อนผมทํำางานราชการ มากกว่าที่เป็นอยู่ สงคมไทยคงน่าอยู่ขึ้น เงินเดือนน้อยมากครับสา หรับผู้จบแพทย์ ครับ

สมคเน เอี่ยมสรรพางค์ กรุงเทพฯ ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ 139


140 ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ


อย่างนี้ก็มี ในโลก ผู้ชายคนนี้ เขาเป็นคนที่ ใจดี มี เมตตาและมีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่คนอื่น มาก ไม่ว่าใครเดือดร้อน ถ้าเขารู้และพอที่ จะช่วยได้ เขาก็ช่วย ถ้าตัวเขาเองช่วยไม่ ได้ เขาก็พยายามหาวิธีที่จะช่วยให้ ได้

ให้แม่ค้าคนนี้ ๕,๐๐๐ บาท โดยที่ ไม่รู้จัก ชื่อแม่ค้าด้วยซ้ํำา

แม่ค้าบอกว่า สิ้นเดือนจะคืนให้ แต่ก็ผัดผ่อนมาเรื่อยๆ ผู้ชายคนนี้ก็ไม่ ได้ว่า อะไร จนเวลาล่วงเลยไป ๔ เดือน ถึงจะได้ ครบ โดยที่ผู้ชายคนนี้ ไม่ทวงเลย เขาบอก มีอยู่วันหนึ่ง เขาได้ ไปกิน ว่าอยากให้คนอื่นได้มีโอกาสได้ทํำามาหากิน ก๋วยเตี๋ยวที่ร้านแห่งหนึ่ง แม่ค้าคนหนึ่ง ก็มาถามเพื่อนที่ ไปด้วยว่าให้ยืมเงินสัก ถ้าโอกาสนั้นเขาสามารถหิบยื่นให้ ได้ เขา ๕,๐๐๐ บาทได้ ไหม คือว่าไม่ ได้จ่ายค่าเช่า ก็เต็มใจ ผู้ชายคนนี้เป็นคนที่น่ารักมาก แล้วเจ้าของที่จะให้ขายแล้ว เพื่อนเขาบอก ใครๆที่ ได้รู้จักก็จะรู้สึกเหมือนดิฉันค่ะ ว่าไม่มี ผู้ชายคนนี้ก็เลยเดินไปกดตังค์มา

ศุภกาญจน์ อินทะรังสี กรุงเทพฯ ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ 141


142 ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ


น้ําใจของเด็ก ๗ ขวบ เรื่องที่จะเล่านี้เป็นเรื่องของลูก ดิฉันเองค่ะ ลูกดิฉันอายุ ๗ ขวบอยู่ชั้น ป.๑ ตอนเย็นหลังเลิกเรียนเขาจะไปเล่นกับ เพื่อนๆ ที่ โรงเรียนค่ะ บ้านดิฉันอยู่ใกล้ โรงเรียนของลูก มีเพื่อนของลูกคนหนึ่งเขา เป็นลูกของภารโรงในโรงเรียน พ่อของเขา จะเป็นคนดุลูก และบางครั้งก็ตีลูก

ฉันบอกลูก “แล้วแม็คทํำาเงินเขา หายหรือเปล่า หรือว่าแม็คเอาของเขาไป ล่ะ” ลูกของดิฉันตอบ “เปล่าเอานะแม่ แม็คไม่ ได้เอา ไม่รู้เก๋งทํำาหายที่ ไหน” ฉัน อธิบายให้ลูกฟัง “ก็ในเมื่อแม็คไม่ ได้เอาไป เขาทํำาหายเอง แม็คจะต้องเอาเงินไปให้เขา ทํำาไมละจ๊ะ ถ้าเขาทํำาหายอีกแม็คมิต้องมา ขอแม่เพื่อเอาไปให้เขาตลอดเลยหรอจ๊ะ”

วันหนึ่งลูกฉันวิ่งกระหืดกระหอบ ฉันพยายามอธิบายเหตุผลให้เขา มาหาดิฉันแล้วบอกว่า “แม่ๆ แม็คขอตังค์ หน่อย ๑๐ บาท” ฉันถามลูกตามปกติว่า ฟัง แต่แม็คก็ยืนยันจะขอให้ ได้ “แม่ครับ “จะเอาไปทํำาไมจ๊ะ ก็แม่ให้แม็คไปแล้วไง แม็คขอตังค์เถอะ ๑๐ บาท แม็คจะเอาไปให้ ๑๐ บาท แล้วแม็คจะเอาไปซื้ออะไรอีกละ” เก๋ง” ลูกยังไม่ยอมแพ้ ฉันถามตามประสาความที่อยาก หัดนิสัยให้ลูกเป็นคนประหยัดไม่ใช้จ่าย ฟุ่มเฟือย ลูกของดิฉันตอบว่า “แม็คจะเอา ไปให้เก๋งคับ” “แล้วลูกต้องเอาไปให้เขา ทํำาไมละจ๊ะ” ฉันถามเหตุผล ลูกตอบ “เก๋ง ทํำาเงินหาย ๑๐ บาท ครับ”

จริงๆ ฉันก็ให้เขาได้ แต่ดิฉันอยาก จะสอนลูกด้วยจึงพูดต่อ “แม็ค ตังค์ของ เก๋งหาย ไม่รู้จริงหรือเปล่า แม่ ไม่รู้ แม็ค อยากจะเอาไปให้เขาแม่รู้แม็คอยากช่วย เขา แต่แม่อยากให้รู้ว่าเก๋งเขาควรจะรับผิด ชอบก็ในเมื่อแม็คไม่ ได้ทํำาให้ตังค์ของเขา ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ 143


144 ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ


หาย ต้องเอาไปให้เขาทํำาไม แล้วถ้าเขามา บอกแม็คว่าหายอีก แม็คก็จะเอาไปให้เขา อีกทุกครั้งไป มันไม่ถูกนะลูก” ลูกดิฉันตอบว่า “แม็คขอแค่ครั้ง สุดท้ายครับแม่ พรุ่งนี้แม่ ไม่ต้องเอาตังค์ ให้แม็คก็ได้ หักค่าขนมของแม็คก็ได้ แม่ แม็คสงสารเก๋ง ถ้าเก๋งไม่เจอตังค์ พ่อของ เก๋งจะตีเก๋งครับ นะแม่นะ ขอตังค์แม็ค หน่อยแม็คจะเอาไปให้เก๋ง”

ดิฉันฟังลูกดิฉันแล้วก็ให้คิดว่า ลูกดิฉันช่างมีน้ํำาใจต่อเพื่อนเหลือเกิน สอบถามเลยได้ความว่าพ่อเขาจะตีหากหา ตังค์ ไม่เจอ ลูกดิฉันเลยเห็นเหตุการณ์ก็ เลยสงสารเพื่อนเลยวิ่งมาขอแม่ตัวเอง ฉัน เลยต้องควักตังค์ ให้ลูกพร้อมกับเอ็นดูใน ความมีนํำ้า ใจของลูกตัวเอง

ปิยวุฒิ นันทไชย ขอนแก่น

ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ 145


146 ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ


คุ้ยขยะเพื่อเพื่อนร่วมโลก ทุกเช้าดิฉันจะลุกขึ้นมาใส่บาตรที่สี่ แยกในซอยชุมชน วันหนึ่งขณะที่ยืนรออยู่ นั้น ก็เห็นชายหนุ่มคนหนึ่งท่าทางเหมือน มีอาชีพขายแรงงานเนื้อตัวไม่ค่อยสะอาด ก้มลงคุ้ยเขี่ยในถังขยะ ในใจนึกว่าอาจจะ หาเศษกระป๋อง การดาษไปขาย ข้างๆตัว เค้าก็มีสุนัขตัวหนึ่งยืนรออยู่ แล้วชายคน นั้นก็หยิบถุงพลาสติกได้หนึ่งถุง ข้างในมี

เศษอาหารที่คนเขาเหลือรับประทานทิ้งไว้ แล้วเขาก็คลี่ออกมาแล้วเอาให้สุนัขกิน แต่ ตัวเขาไม่ ได้กินเองเลยสักพักก็เห็นเขาเดิน ไปให้อาหารสุนัขตัวอื่นที่อยู่ในซอยอีก เห็นแล้วน่าชื่นชมในน้า ใจของเขา ที่ ไม่รังเกียจที่จะลงไปคุ้ยอาหารในถังขยะ ที่สกปรกเลย

เพชรรัตน์ พูลสวัสดิ์ กรุงเทพฯ ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ 147


148 ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ


คนเก็บปลาเน่า ที่คณะของผมจะมีสระน้ํำอยู่แห่ง หนึ่ง ซึ่งสระนี้จะเป็นสระที่รวมนํำ้า จากที่ ต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นจากห้องนํำ้า บ่อบา บัด แหล่งนํำ้า ใต้ตัวอาคารเรียนทํำาให้นํำ้า มีสีและ กลิ่นที่แรงน่าดู แต่เนื่องจากทํำาเล ข้างๆ สระนํำ้า นั้น ร่มรื่นและอากาศเย็นสบาย ทางคณะจึงจัดโต๊ะม้าหินอ่อนมาให้ นักศึกษาได้นั่งทํำางานและอ่านหนังสือกัน ๑๐ กว่าชุด ที่แห่งนี้จึงคับคั่งตลอดช่วง กลางวันจนเย็น แต่ภายหลังมาปรากฏ ว่านํำ้า เน่ามากและทํำาให้ปลาที่อยู่ในสระนั้น ทยอยกันตายวันละ ๘-๑๐ ตัว ส่งกลิ่น ตลบอบอวนไปทั่วบริเวณ ทํำาให้บรรดา คนที่เคยไปนั่งที่บริเวณนั้น ต่างก็ต้องโยก ย้ายไปหาทํำาเลใหม่แทน แต่ก็มีบ้างบางคน ที่ต้องทนสูดกลิ่นปลาเน่าต่อไป เพราะไม่มี ที่อื่นที่จะไปแล้วคุณลองคิดดู ปลาตายทุก

วัน แต่ ไม่เคยมีใครเก็บ ผมเลยไปถามแม่ บ้านว่าทํำาไมไม่มีใครเก็บไปทิ้ง เขาตอบว่า “อ๋อ ปล่อยไว้งั้นแหละ เดี๋ยวก็หายเหม็น เองแหละ” ผ่านไปหลายวัน จํำานวนปลาที่ ตายก็มากขึ้น กลิ่นก็แรงขึ้น จนมาวันหนึ่ง ผมเห็นมีพี่ผู้ชายคนหนึ่งเขาจะเอาถุงดา และ กระชอนใหญ่ๆ มาตักปลาที่เน่านั้นใส่ถุง เอาไปทิ้ง ทั้งๆที่บางตัวก็เฟะจนดุไม่ ได้ก็ มี แต่พี่เขาก็ตักทุกวัน และก็เอาไปฝังบ้าง เอาเข้าเตาเผาขยะที่คณะบ้าง จนวันหนึ่ง ผมมีโอกาสได้คุยกับพี่เค้า ก็เลยถามว่าที่ พี่เขาทํำาเนี่ยพี่ทํำาไปเพราะอะไร คํำาตอบที่ ผมได้รับมันทํำาให้ผมอึ้งไปเลย เพราะพี่เขา บอกว่า “ที่พี่ทา ลงไปนี่ ก็ไม่ ได้มีใคร ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ 149


150 ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ


บังคับหรือได้ผลตอบแทนอะไรหรอก เพียงแต่ว่า พี่อยากให้น้องที่เขามานั่งอ่าน หนังสือบ้าง มานั่งทํำางานบ้าง ได้ทํำางาน อย่างสบายใจ ไม่มีกลิ่นอะไรมารบกวน ใจ และพี่ก็คิดว่าปลาที่เขาตายไปทุกๆ วัน วันนี่เขาก็เป็นเพื่อนร่วมโลกของเรา เกิด แก่ เจ็บ ตาย ไม่ต่างกัน เราลองมาคิด เปรียบเทียบดูสิ ขนาดคนบางคนที่ ไม่ ใคร่จะทํำาประโยชน์ ให้กับสังคมเลย หรือ บางคนอาจจะทํำาแต่ความเดือดร้อนให้แก่ คนในสังคมเป็นประจา เวลาเขาตายลง

ไป สรีระร่างกายของเขายังมีคนอุตส่าห์ จัดฌาปนกิจให้ ไม่มีใครทิ้งไว้ ให้เน่าเหม็น ฟอนเฟะหรอก แล้วนี่นับประสาอะไรกับ ปลาที่ ไม่เคยมีพิษสงอะไรกับใคร และไม่ เคยที่จะไปทํำาร้ายใคร มีแต่ที่จะอุทิศเลือด เนื้อเป็นอาหารให้แก่มนุษย์ แล้วนี่เราจะ ช่วยเก็บซากศพของเขาหน่อยไม่ ได้เชียว หรือ พี่เขาพูดได้ทํำาให้เราได้คิดอะไร หลายๆ อย่างเลยนะครับ

พีระพงษ์ คา พรหม นครพนม

ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ 151


152 ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ


คนดีกลางถนน ทุกวันตอนเช้าผมจะไปขึ้นรถที่สี่ แยกเทพารักษ์ วันหนึ่งขณะที่กํำาลังรอรถ อยู่ตามปกติ ก็มีท่อนไม้หน้าสามที่แอ่น ตรงกลาง ยาวประมาณ ๒ เมตร สางพิง เสาไฟที่ตั้งอยู่บนเกาะกลางถนนหล่นลง มาพาดไปบนถนนศรีนครินทร์ เมื่อรถวิ่ง ผ่านก็ทับท่อนไม้ ให้ดีดกระเด็นไปมา ซึ่ง อาจเกิดอันตรายได้ถ้ารถที่ขับมาไม่ระวัง และยิ่งถ้าเป็นมอเตอร์ ไซค์ก็จะยิ่งอันตราย ใหญ่ ผมมองไปรอบๆ ก็พบว่าบางคนก็ ไม่สนใจ แต่บางคนก็กา ลังมองไปที่ท่อน ไม้ท่อนนั้นอยู่ อาจจะคิดเหมือนผมคือ จะ เดินไปช่วยเก็บท่อนไม้ออกไปไว้บนเการ กลางถนนดีไหม

แต่แล้วผมก็เห็นผู้หญิงตัวเล็กๆ คนหนึ่ง แต่งชุดเป็นพนักงานออฟฟิศ เธอ กํำาลังข้ามถนนมาหยุดอยู่ที่บริเวณนั้น พอดี เธอคงมองเห็นท่อนไม้ท่อนนั้น และ เมื่อได้จังหวะเธอก็รีบวิ่งลงมายกท่อน ไม้ที่บริเวณปลายท่อนข้างหนึ่งขึ้นแล้ว พยายามลากไปไว้บนเกาะกลางถนน เพื่อ ป้องกันไม่ให้เกิดอันตรายแก่รถที่ผ่านมา แล้วก็ลากไปไว้บนเกาะกลางถนนผมจึง รู้สึกว่า ผู้หญิงคนนี้เป็นคนดี เป็นคนที่ยอม เสียสละแม้ว่าจะเป็นผู้หญิงตัวเล็กๆ แต่งชุด พนักงานออฟฟิศ ซึ่งไม่สะดวกเลยที่จะไป ยก หรือลากท่อนไม้นั้นขึ้นมาไว้บนเกาะ กลางถนน แต่เธอก็ตัดสินใจทํำาโดยไม่ ได้ ลังเลเลย สังคมนี้ยังคงมีคนดีอยู่เสมอ ถ้าเรา ลองมองดูรอบๆ ตัวเราครับ

เวชยันต์ เงินศรีสุข สมุทรปร�ก�ร ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ 153


เอกสารประกอบการเรียบเรียง

๑. ติช นันฮันห์, ส.ศิวรักษ์ เรียบ เรียง, พิธีกรรมสา หรับพุทธศาสนิกร่วม สมัย, ส่องศยาม จัดพิมพ์, พิมพ์ครั้งแรก, มีนาคม ๒๕๓๖

๗. พระธรรมปิฎก ๒. ปัญญานันทภิกขุ, สังฆทาน, ช่อ (ป.อ. ปยุตฺโต), บรูส อีแวนส์ แปลเป็น ระกา จัดพิมพ์ ภาษาอังกฤษ, ธรรมนูญชีวิต (ฉบับ ๓. พระครูอรุณธรรมรังสี (เอี่ยม ปรับปรุง-เพิ่มเติมใหม่), กรมการศาสนา สิริวณฺโฒ), มนต์พิธีแปล, โรงพิมพ์ กระทรวงศึกษาธิการจัดพิมพ์, พิมพ์ครั้งที่ ๑, พฤศจิกายน ๒๕๔๐ อักษรสมัย ๘. พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต), ๔. พระเทพเวที (ประยูทธ์ ปยุตฺโต), พจนานุกรมพุทธ- พุทธธรรม, มหาจุฬาลงกรราชวิทยาลัย ศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์, มหาจุฬาลง- จัดพิมพ์, พิมพ์ครั้งที่ ๘, พฤษภาคม กรราชวิทยาลัย จัดพิมพ์, พิมพ์ครั้งที่ ๘, ๒๕๔๒ มกราคม ๒๕๓๘ ๙. พระเอื้อน ปคุณธมฺโม, ๕. พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต) หนังสือทํำาวัตรสวดมนต์, วัดหนองยาง กรณีธรรมกาย (ฉบับขยาย-เพิ่มเติม)สา นครราชสีมาศูนย์วิปัสสนาเคลื่อนที่แห่ง นักพิมพพ์มูลนิธพิ ทุ ธธรรม จัดพิมพ์ พิมพ์ ประเทศไทย, วัดสุวรรณประสิทธิ์ จัด พิมพ์, พิมพ์ครั้งแรก ครั้งที่ ๑๙, เมษายน ๒๕๔๒ ๑๐. พุทธทาสภิกขุ ทํำาบุญ ๖. พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต) ก้าวไปในบุญ, บริษทั สหธรรมิก จํำากัดพิมพ์ สามแบบ, สุขภาพใจ จัดพิมพ์, พิมพ์ครั้งที่ ๔, มีนาคม ๒๕๓๙ ครั้งที่ ๒, มีนาคม ๒๕๔๒ 154 ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ


บุคคลหรือองค์กรใดสนใจจัดพิมพ์ เผยแพร่หนังสือ “ฉลาดทํำาบุญ” เพื่อแจก จ่ายแก่วัด ห้องสมุด โรงเรียน เด็กและ เยาวชน หรือในงานสาธารณกุศลอื่นๆ ผู้ จัดพิมพ์ยินดีดา เนินการจัดพิมพ์ ให้ ใน ราคาทุนหรือกรณีสั่งซื้อจํำานวนมาก ใน เทศกาลงานบุญพิธีต่างๆ ตั้งแต่ ๑๐๐ เล่ม ขึ้นไปลด ๓๐% ๒๐๐ เล่มขึ้นไป ลด ๓๕%

โปรดติดต่อเครือข่ายพุทธิกา โทรศัพท์ ๐-๒๘๘๓-๐๕๙๒, ๐-๒๘๘๖-๙๘๘๑ โดย โอนเงินเข้าบัญชีสะสมทรัพย์ ธนาคารกรุง ศรีอยุธยา สาขาอรุณอมรินทร์ ชื่อบัญชี “เครือข่ายชาวพุทธเพื่อพระพุทธศาสนา และสังคมไทย” เลขบัญชี ๑๕๗-๑-๑๗๐๗๔-๓

ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ 157


เครือข่ายชาวพุทธ เพื่อพระพุทธศาสนาและสังคมไทย ปัญหาพระประพฤติผิดพระธรรม วินัย ซึ่งเกิดขึ้นซํำ้า แล้วซ้ํำาเล่า โดยที่คณะ สงฆ์ ไม่สามารถแก้ ไขให้ลุล่วงไปได้ด้วยดี เป็นอาการบ่งชี้ถึงวิกฤตการณ์ที่กํำาลังเกิด กับพุทธศาสนาของไทย ทั้งนี้เพราะปัญหา ดังกล่าวมิได้เป็นผลมาจากเหตุปัจจัยอื่นๆ อีก อาทิ ความตกต่ํำาทางการศึกษาของ คณะสงฆ์ ความเข้าใจในหมู่ประชาชนที่ ผิดพลาดคลาดเคลื่อนจากหลักธรรมใน พุทธศาสนา ความสัมพันธ์ที่ ไม่สมดุล ระหว่าง พระสงฆ์ รัฐ กับประชาชน จน ไม่สามารถทา หน้าที่ที่พึงมีต่อกันได้อย่าง ถูกต้อง ทั้งหมดนี้ล้วนนํำาพระศาสนาเข้าสู่ ภาวะวิกฤต อันจํำาเป็นต้องมีการการแก้ ไข อย่างเร่งด่วน การรักษาศาสนาให้ยั่งยืน นั้น มิใช่เป็นหน้าที่ของคนใดคนหนึ่งหรือ บุคคลกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งเท่านั้น ทั้งมิใช่เป็น ความรับผิดชอบที่จํำากัดอยู่กับพระสงฆ์ หรือรัฐบาลเท่านั้น หากเป็นหน้าที่ของ ชาวพุทธทุกคน และเป็นความรับผิดชอบ 158 ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ

ที่พระพุทธองค์ทรงมอบหมายให้แก่พุทธ บริษัททั้งหลาย ดังนั้นเมื่อถึงคราวที่พุทธ ศาสนาประสบภาวะวิกฤต จึงควรที่ชาว พุทธทุกคนจะร่วมมือกันอย่างเต็มกํำาลัง ความสามารถเพื่อฟื้นฟูพุทธศาสนาให้ เจริญงอกงามและกลับมามีความหมายต่อ สังคมไทย รวมทั้งยังประโยชน์ต่อสังคมโลก ด้วยเหตุนี้ “เครือข่ายชาวพุทธ เพื่อพระพุทธศาสนาและสังคมไทย” จึงเกิดขึ้น เพื่อเป็นจุดเริ่มต้นของการ มีองค์กรประสานงานในภาคประชาชน สํำาหรับการเคลื่อนไหวผลักดันให้มีการ ฟื้นฟูพุทธศาสนาอย่างจริงจังและต่อเนื่อง งานในระยะแรกของเครือข่ายดังกล่าวก็คือ การส่งเสริมให้มีการอภิปรายแลกเปลี่ยน ความเห็นกันในเรื่องนี้ตามจังหวัดต่างๆ ทั่วประเทศอันจะนํำาไปสู่การรวมกลุ่มกัน ในระดับท้องถิ่น เพื่อขยายสํำานึกในการ เป็นพุทธบริษัทให้แพร่ขยายต่อไป และ


เพื่อร่วมกันคิดค้นแนวทางการฟื้นฟูพุทธ ศาสนาในด้านต่างๆ เมื่อกลุ่มท้องถิ่นต่างๆ มีจํำานวนมากพอและเกิดขึ้นทั่วประเทศ งานระยะต่อไปของเครือข่ายดังกล่าวก็คือ การประสานกลุ่มเหล่านี้เพื่อร่วมกันจัดตั้ง สภาชาวพุทธสํำาหรับเป็นองค์กรประสาน งานระดับประเทศ โดยมีภารกิจหลักคือ ร่วมกับรัฐและคณะสงฆ์ดํำาเนินการฟื้นฟู พุทธศาสนาและจัดการปฏิรูประบบต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง

160 ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ

องค์กรที่รวมกันเป็นเครือข่าย ดังกล่าวในขั้นนี้ประกอบด้วย มูลนิธิโกมล คีมทอง มูลนิธิพุทธธรรม มูลนิธิเด็ก มูลนิธิสุขภาพไทย มูลนิธิสายใยแผ่นดิน มูลนิธิสานแสงอรุณ เสมสิกขาลัย มูลนิธิ เมตตาธรรมรักษ์ ท่านสามารถร่วมกับ เครือข่ายในการฟื้นฟูพุทธศาสนาด้วยการ รวมกลุ่มในท้องถิ่นของท่านเอง โดยเครือ ข่ายฯ ยินดีให้ความสบับสนุนตาม กํำาลัง นอกจากนั้นเรายังยินดีรับฟังข้อเสนอ แนะจากท่าน ตลอดจนข่าวคราวความ เคลื่อนไหวในท้องที่ของท่านด้วย


สถานที่ติดต่อของเครือข่ายพุทธิกา

๙๐ ซอยอยู่ออมสิน ถนน จรัญสนิทวงศ์ ๔๐ แขวง บางยี่ขัน เขตบางพลัด กรุงเทพฯ ๑๐๗๐๐ โทรศัพท์ ๐-๒๘๘๓-๐๕๙๒, ๐-๒๘๘๖-๙๘๘๑ โทรสาร ๐-๒๘๘๓-๐๕๙๒ www.budnet.info

การฟื้นฟูพ ุทธศาสนา ประชาชนต้องมีส่วนร่วม 162 ฉ ล า ด ท ำ บุ ญ



¡Ò÷ӺØިС‹ÍãËŒà¡Ô´¼Å໚¹ “ºØÞ” ä´Œ¨ÃÔ§ÁÒ¡¹ŒÍÂà¾Õ§㴠¢Öé¹ÍÂÙ‹¡ÑºÍ§¤ »ÃСͺËÅÒ»ÃСÒà µÑé§áµ‹¤ÇÒÁࢌÒ㨷Õè¶Ù¡µŒÍ§ ¡ÒõÑ駨Ե ¡ÒÃàµÃÕÂÁµÑÇ ÇÔ¸Õ¡Ò÷ӺØÞ ¼ÙŒÃѺºØÞ ÏÅÏ Ë¹Ñ§Ê×ÍàÅ‹Á¹Õé¨ÐãËŒ¤ÓµÍº·Ñ駤ÇÒÁÃÙŒ ¤ÇÒÁࢌÒ㨷Õè¶Ù¡µŒÍ§ã¹àÃ×èͧ¢Í§ºØÞ áÅÐÇÔ¸Õ¡Ò÷ӺØÞã¹áººáÅÐâÍ¡Òʵ‹Ò§æ Íѹ¨Ð¹Óä»ÊÙ‹ “¤ÇÒÁÊÓàÃç¨ã¹ºØÞ” ·Õè¼ÙŒ·Ó»ÃÒö¹Ò ¨Ñ´·Óâ´Â à¤Ã×Í¢‹Ò¾ط¸Ô¡Ò ÁÙŹԸÔâ¡ÁŤÕÁ·Í§ ÁÙŹԸԾط¸¸ÃÃÁ ÁÙŹԸÔà´ç¡ ÁÙŹԸÔÊØ¢ÀÒ¾ä·Â ÁÙŹԸÔÊÒÂãÂἋ¹´Ô¹ ÁÙŹԸÔÊÒ¹áʧÍÃس àÊÁÊÔ¡¢ÒÅÑ ÁÙŹԸÔàÁµµÒ¸ÃÃÁÃÑ¡É


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.