ผลการดำเนินงานของกระทรวงกลาโหม

Page 1

ผลการด�ำเนินงานของกระทรวงกลาโหม ประจ�ำปี ๒๕๕๖

http://opsd.mod.go.th


ขอขอบคุณ - - - - - - - - - -

สำ�นักงานรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม กรมราชองครักษ์ กองบัญชาการกองทัพไทย กองทัพบก กองทัพเรือ กองทัพอากาศ สำ�นักนโยบายและแผนกลาโหม สำ�นักงบประมาณกลาโหม องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก สถาบันเทคโนโลยีป้องกันประเทศ (องค์การมหาชน)

จัดทำ�โดย สำ�นักงานเลขานุการสำ�นักงานปลัดกระทรวงกลาโหม

ในศาลาว่าการกลาโหม ถนนสนามไชย แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพ ๑๐๒๐๐ โทรศัพท์ ๐ ๒๒๒๕ ๘๒๖๒ โทรสาร ๐ ๒๒๒๕ ๘๒๖๒

พิมพ์ที่ : บริษัท รุ่งศิลป์การพิมพ์ (๑๙๗๗) จำ�กัด

๕๕๕ หมู่ ๑๒ ถนนพุทธมณฑล สาย ๕ ตำ�บลไร่ขิง อำ�เภอสามพราน จังหวัดนครปฐม ๗๓๒๑๐ โทรศัพท์ ๐ ๒๘๑๑ ๗๗๗๘, ๐ ๑๘๑๑ ๗๗๗๐ โทรสาร ๐ ๒๘๑๑ ๗๗๑๕


ค� ำ อวยพรและค� ำ ปฏิ ญ าณสั ญ ญา ที่ ทุ ก ท่ า นได้ ก ล่ า วนั้ น เป็ น ที่ ประทับใจมาก ขอขอบพระทัยและขอบใจท่านทัง้ หลาย ตลอดจนประชาชน ชาวไทยทุกคน ที่พรั่งพร้อมกันมาด้วยความปรารถนาดี และไมตรีจิต ความปรารถนาดี และความพร้อมเพรียงกันของทุกท่าน อย่างที่ ได้เห็นในวันนี้ ท�ำให้ข้าพเจ้าปลื้มใจ มีก�ำลังใจมากขึ้น ด้วยมีความเชื่อ เสมอมาว่า ความเมตตาปรารถนาดีต่อกันนี้ เป็นปัจจัยอย่างส�ำคัญ ทีจ่ ะยังความพร้อมเพรียงให้เกิดมีขนึ้ ทัง้ ในหมูค่ ณะ และในชาติบา้ นเมือง ไม่วา่ จะอยูใ่ นสถานการณ์ใด ๆ ก็จะอยูร่ อดปลอดภัย และด�ำรงมัน่ คงต่อไป ได้ตลอดรอดฝั่งอย่างแน่นอน ขออ�ำนาจแห่งคุณพระรัตนตรัยและสิง่ ศักดิส์ ทิ ธิ์ จงคุม้ ครองรักษาท่าน และชาติไทย ให้มีแต่ความผาสุกร่มเย็นยั่งยืนไป พระราชด�ำรัสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในการเสด็จออกมหาสมาคม ในงานพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา พุทธศักราช ๒๕๕๕ ณ พระที่นั่งอนันตสมาคม วันพุธที่ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๕

1


กลาโหมเทิดราชา รักษ์ราษฎร์ ชาติมั่นคง

2


บทบาทของทหารตามรัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ “มาตรา ๗๗ รัฐต้องพิทักษ์รักษาไว้ซึ่งสถาบันพระมหากษัตริย์ เอกราช อธิปไตย และบูรณภาพแห่งเขตอ�ำนาจรัฐ และต้องจัดให้ มีก�ำลังทหาร อาวุธยุทโธปกรณ์ และเทคโนโลยีที่ทันสมัย จ�ำเป็น และเพียงพอ เพื่อพิทักษ์รักษาเอกราช อธิปไตย ความมั่นคงของรัฐ สถาบันพระมหากษัตริย์ ผลประโยชน์แห่งชาติ และการปกครอง ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข และเพื่อ การพัฒนาประเทศ”

3


นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม

พลเอก ยุทธศักดิ์ ศศิประภา รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม

พลเอก ทนงศักดิ์ อภิรักษ์โยธิน ปลัดกระทรวงกลาโหม

พลเอก สายัณห์ คัมภีร์พันธุ์ สมุหราชองครักษ์

4


พลเอก ธนะศักดิ์ ปฏิมาประกร ผู้บัญชาการทหารสูงสุด

พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา ผู้บัญชาการทหารบก

พลเรือเอก สุรศักดิ์ หรุ่นเริงรมย์ ผู้บัญชาการทหารเรือ

พลอากาศเอก ประจิน จั่นตอง ผู้บัญชาการทหารอากาศ

5


6


วิสัยทัศน์ เป็นองค์กรที่มีกองทัพชั้นน�ำ มีบทบาทในด้านความมั่นคงของรัฐและความมั่นคง ของภูมิภาค

พันธกิจ ๑. พัฒนาบทบาทน�ำการด�ำเนินงานร่วมกันระหว่างส่วนราชการเพือ่ พิทกั ษ์รกั ษา และเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ ๒. รักษาเอกราชและอธิปไตย รวมทั้งพัฒนาศักยภาพกองทัพเพื่อมุ่งสู่การเป็น กองทัพชั้นน�ำในภูมิภาค ๓. พัฒนาบทบาทน�ำในการด�ำเนินงานร่วมกันระหว่างส่วนราชการเพือ่ การรักษา ความมั่นคงภายในราชอาณาจักร ๔. พัฒนาบทบาทน�ำในการสร้างความร่วมมือด้านความมั่นคงในภูมิภาค ๕. พัฒนาประเทศเพื่อความมั่นคง รวมทั้งสนับสนุนการช่วยเหลือประชาชน การรักษาผลประโยชน์แห่งชาติและการแก้ไขปัญหาส�ำคัญของชาติ

ค่านิยมองค์กร ยึ ด มั่ น ในสถาบั น ชาติ ศาสนา พระมหากษั ต ริ ย ์ และการปกครองระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข

7


8


บทน�ำ ตลอดระยะเวลาทีผ่ า่ นมา กระทรวงกลาโหมได้ฟนั ฝ่าปัญหาและสิง่ ท้าทายนานัปการ ทั้งปัญหาการเมืองที่เกิดขึ้นภายในประเทศ หรือสิ่งท้าทายที่เป็นผลกระทบ อันเกิดจาก ปัจจัยภายนอกประเทศ ปัญหาจากภัยธรรมชาติ ตลอดจนสภาพแวดล้อมอันก่อให้เกิด การเปลีย่ นแปลงและพัฒนาไปสูภ่ ยั คุกคามในรูปแบบใหม่ทมี่ คี วามหลากหลายและซับซ้อน มากขึ้น ส่งผลให้ต้องมีการพัฒนาปรับปรุงหรือเปลี่ยนแปลงภารกิจ และบทบาท รวมถึง วิธกี ารท�ำงาน ซึง่ ถือเป็นปัจจัยส�ำคัญทีท่ ำ� ให้กระทรวงกลาโหมต้องปรับตัวและมีววิ ฒ ั นาการ อย่างต่อเนื่อง กระทรวงกลาโหม ในฐานะหน่วยงานหลักด้านความมัน่ คงของประเทศ ก็ได้ตระหนัก ถึงปัญหาทีเ่ กิดขึน้ ในมิตติ า่ ง ๆ และบทบาทหน้าทีข่ องทหารตามทีบ่ ญ ั ญัตไิ ว้ในรัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ ที่ระบุถึงภารกิจในการพิทักษ์รักษาเอกราช อธิปไตย ความมั่นคงของรัฐ สถาบันพระมหากษัตริย์ ผลประโยชน์แห่งชาติ การปกครอง ในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยท์ รงเป็นประมุข และการพัฒนาประเทศ จึงได้ ด�ำเนินการปฏิบัติหน้าที่เป็นกลไกที่ส�ำคัญของภาครัฐ ในการเข้าไปมีส่วนร่วมช่วยแก้ไข ปัญหาต่าง ๆ ของชาติตามนโยบายของรัฐบาล ภายใต้กรอบทีก่ ฎหมายก�ำหนดอย่างเต็มก�ำลัง ความสามารถ ซึง่ ภารกิจต่าง ๆ ทีก่ ระทรวงกลาโหมได้ดำ� เนินการและสนับสนุนการด�ำเนินการ มาอย่างต่อเนือ่ ง มีเป้าหมายเพือ่ ประเทศชาติและประชาชนเป็นประโยชน์สงู สุดนัน้ ถือเป็น หน้าที่และความภาคภูมิใจของกระทรวงกลาโหม และก�ำลังพลทุกนาย

9


นโยบาย

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม นโยบายทั่วไป ๑. การปฏิบตั ริ าชการให้ยดึ ถือกฎหมาย กฎ ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ และค�ำสัง่ ทีเ่ กีย่ วข้อง นโยบาย และมติคณะรัฐมนตรี มติสภากลาโหม ยุทธศาสตร์การป้องกันประเทศ แผนแม่บทการปรับปรุงโครงสร้าง กระทรวงกลาโหม แผนพัฒนาขีดความสามารถของกระทรวงกลาโหม รวมทั้ง แผนแม่บทหรือแผนหลัก ในการด�ำเนินการด้านต่าง ๆ โดยปรับปรุงให้มคี วามทันสมัย สอดคล้องกับภารกิจและสภาพแวดล้อมอยูเ่ สมอ ๒. ให้ความส�ำคัญกับการใช้ศักยภาพของกระทรวงกลาโหมอย่างเต็มความสามารถในการสนับสนุน นโยบายส�ำคัญของรัฐบาล

นโยบายเฉพาะ ๑. พิทกั ษ์รกั ษาและเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริยอ์ ย่างสมพระเกียรติ ทัง้ ในฐานะทีพ่ ระมหากษัตริย์ ทรงเป็นประมุขของประเทศและทรงด�ำรงต�ำแหน่งจอมทัพไทย เพื่อให้สถาบันพระมหากษัตริย์คงเป็น ศูนย์รวมจิตใจทีม่ นั่ คงและยัง่ ยืนของประชาชนชาวไทย และเป็นสถาบันหลักทีส่ ำ� คัญยิง่ ของประเทศ โดยจะต้อง ด�ำเนินการและปฏิบัติงานร่วมกับส่วนราชการต่าง ๆ อย่างเต็มความสามารถ รวมทั้งให้ความส�ำคัญกับ การสนับสนุนและเผยแพร่โครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ ๒. พัฒนาความสัมพันธ์และความร่วมมือทางทหารกับประเทศเพื่อนบ้าน ประเทศสมาชิกอาเซียน มิตรประเทศ และองค์การระหว่างประเทศ ทั้งในระดับทวิภาคีและพหุภาคี เพื่อจัดระเบียบสภาวะแวดล้อม ด้านความมั่นคง สร้างความไว้เนื้อเชื่อใจ สร้างเสถียรภาพ และสันติภาพร่วมกัน โดยให้ความส�ำคัญในการ ลดความขัดแย้งกับประเทศเพื่อนบ้าน การสนับสนุนการรวมตัวเป็นประชาคมอาเซียนโดยเฉพาะประชาคม การเมืองและความมั่นคงอาเซียน การสนับสนุนภารกิจเพื่อสันติภาพและเพื่อมนุษยธรรมภายใต้กรอบของ สหประชาชาติและความร่วมมือในภูมิภาค การริเริ่มและพัฒนาความร่วมมือทางทหารให้กว้างขวางยิ่งขึ้น รวมทั้งการรักษาความสมดุลของความสัมพันธ์กับประเทศที่มีบทบาทส�ำคัญในภูมิภาค

10


๓. พัฒนาการผนึกก�ำลังกับทุกภาคส่วนของสังคมเพื่อการป้องกันประเทศ ด้วยการน�ำพลังอ�ำนาจ แห่งชาติทุกด้านมาใช้สนับสนุนการปฏิบัติภารกิจเพื่อความมั่นคงร่วมกับกระทรวงกลาโหม โดยในยามปกติ กระทรวงกลาโหมจะต้องใช้ทรัพยากรให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อประเทศ ด้วยการช่วยพัฒนาพลังอ�ำนาจ แห่งชาติทุกด้าน โดยให้ความส�ำคัญกับการสนับสนุนนโยบายเร่งด่วนของรัฐบาล โดยเฉพาะการสร้างความ ปรองดองสมานฉันท์ของคนในชาติและฟื้นฟูประชาธิปไตย การแก้ไขและป้องกันปัญหายาเสพติด และ การเร่งน�ำสันติสขุ และความปลอดภัยในชีวติ และทรัพย์สนิ ของประชาชนกลับมาสูพ่ นื้ ทีจ่ งั หวัดชายแดนภาคใต้ รวมทั้งสนับสนุนการรักษาผลประโยชน์แห่งชาติ การพัฒนาประเทศเพื่อความมั่นคง การช่วยเหลือประชาชน โดยเฉพาะจากปัญหาภัยพิบัติ โรคระบาดและโรคติดต่อ การแก้ไขปัญหาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การลักลอบเข้าเมืองโดยผิดกฎหมาย การแก้ไขปัญหาอาชญากรรมข้ามชาติต่าง ๆ โดยเฉพาะการค้าอาวุธ การค้ายาเสพติด การค้ามนุษย์ การกระท�ำอันเป็นโจรสลัด อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และการก่อการร้ายสากล ๔. เสริมสร้างศักยภาพกองทัพและระบบการป้องกันประเทศให้มีความพร้อมในการพิทักษ์รักษา เอกราช อธิปไตย ความมั่นคง และผลประโยชน์แห่งชาติ โดยยึดมั่นในหลักการการมีก�ำลังรบเพื่อป้องกัน ตนเองและใช้การปฏิบัติการในลักษณะการรบร่วมเป็นหลัก ให้ความส�ำคัญกับการพัฒนาด้านการข่าวให้มี ขีดความสามารถในการแจ้งเตือนทางยุทธศาสตร์ พัฒนาการส่งก�ำลังบ�ำรุงร่วมโดยใช้ประโยชน์จากงาน มาตรฐานยุทโธปกรณ์ทางทหารและศักยภาพด้านต่าง ๆ ที่แต่ละเหล่าทัพมีอยู่ พัฒนาระบบก�ำลังส�ำรอง และระบบการระดมสรรพก�ำลังเพื่อการทหารให้สอดคล้องกับความจ�ำเป็นทางทหาร รวมทั้งให้ความส�ำคัญ กับการส�ำรองอาวุธยุทโธปกรณ์และพลังงานเพื่อความมั่นคง ๕. พัฒนากิจการอุตสาหกรรมป้องกันประเทศ โดยบูรณาการขีดความสามารถของภาครัฐและเอกชน รวมทั้งใช้ประโยชน์จากความร่วมมือในกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียนเพื่อน�ำไปสู่การพึ่งพาตนเองในการผลิต อาวุธยุทโธปกรณ์ พัฒนากิจการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อการป้องกันประเทศให้ทัดเทียมกับประเทศ ในภูมภิ าค และสามารถสนับสนุนการพึง่ พาตนเองของอุตสาหกรรมป้องกันประเทศ โดยร่วมมือกับทุกภาคส่วน ทั้งในและต่างประเทศ รวมทั้งพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ การสื่อสารและกิจการอวกาศ โดยเน้นให้เกิด การบูรณาการ ความเป็นมาตรฐาน ความมั่นคงปลอดภัยของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ภายในกระทรวงกลาโหมและความสามารถในการรับมือกับสงครามไซเบอร์ ๖. พัฒนากองทัพให้มีโครงสร้างที่เหมาะสม มีก�ำลังพลที่มีประสิทธิภาพ โดยพัฒนาระบบข้าราชการ พลเรือนกลาโหมให้สามารถน�ำมาใช้ได้อย่างเป็นรูปธรรม พัฒนาความรู้ ความสามารถ ความพร้อม ทางร่างกายและจิตใจของก�ำลังพล ปรับปรุงสิทธิประโยชน์และสวัสดิการด้านต่าง ๆ เพือ่ สร้างขวัญและก�ำลังใจ แก่ก�ำลังพล รวมทั้งให้ความส�ำคัญกับการสงเคราะห์ทหารผ่านศึกและครอบครัว เพื่อตอบแทนคุณความดี และเป็นการสร้างขวัญก�ำลังใจให้กับก�ำลังพลที่ก�ำลังปฏิบัติหน้าที่ป้องกันประเทศ

11


สารบัญ บทบาทของทหารตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ ............................... ๓ วิสัยทัศน์ / พันธกิจ / ค่านิยมองค์กร ...................................................................................................................... ๗ บทน�ำ .......................................................................................................................................................................................... ๙ นโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ............................................................................................................. ๑๐ ผลการด�ำเนินงานของกระทรวงกลาโหม ................................................................................................................ ๑๓ ตามนโยบายรัฐบาล และการสั่งการของนายกรัฐมนตรี ในรอบปีงบประมาณ ๒๕๕๖ (๑ ตุลาคม ๒๕๕๕ - ๓๐ กันยายน ๒๕๕๖) นโยบายเร่งด่วน สร้างความปรองดองสมานฉันท์ของคนในชาติและฟื้นฟูประชาธิป ไตย .................................................. ๑๔ ก�ำหนดให้การแก้ไขและป้องกันปัญหายาเสพติดเป็น “วาระแห่งชาติ” .................................................. ๑๘ เร่งน�ำสันติสุขและความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน ..................................................... ๒๗ กลับมาสู่พื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ เร่งฟืน้ ฟูความสัมพันธ์และพัฒนาความร่วมมือกับประเทศเพือ่ นบ้านและนานาประเทศ ............................. ๓๕ ป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบในภาครัฐอย่างจริงจัง ...................................... ๔๘ ส่งเสริมให้มีการบริหารจัดการน�้ำอย่างบูรณาการและเร่งรัดขยายเขตพื้นที่ชลประทาน ............ ๕๐ เร่งเพิ่มรายได้จากการท่องเที่ยวทั้งในและนอกประเทศ ................................................................................. ๕๑ ผลการด�ำเนินงานของกระทรวงกลาโหมตามนโยบายรัฐบาล ..................................................................... ๕๒ และการสั่งการของนายกรัฐมนตรี ในรอบปีงบประมาณ ๒๕๕๖ (๑ ตุลาคม ๒๕๕๕ - ๓๐ กันยายน ๒๕๕๖) นโยบายความมั่นคงแห่งรัฐ เทิดทูนและพิทักษ์รักษาไว้ซึ่งสถาบันพระมหากษัตริย์ ..................................................................................... ๕๓ พัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพของกองทัพและระบบป้องกันประเทศ ................................................... ๕๘ พัฒนาและเสริมสร้างความร่วมมือระหว่างประเทศ ........................................................................................ ๗๗

12


ผลการด�ำเนินงานของกระทรวงกลาโหมตามนโยบายรัฐบาล และการสัง่ การของนายกรัฐมนตรี ในรอบปีงบประมาณ ๒๕๕๖ (๑ ตุลาคม ๒๕๕๕ - ๓๐ กันยายน ๒๕๕๖)

นโยบายเร่งด่วน ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖. ๗.

สร้างความปรองดองสมานฉันท์ของคนในชาติและฟืน้ ฟูประชาธิปไตย ก�ำหนดให้การแก้ไขและป้องกันปัญหายาเสพติดเป็น “วาระแห่งชาติ” ิ และทรัพย์สน ิ ของประชาชนกลับมาสูพ ่ น ื้ ที่ เร่งน�ำสันติสขุ และความปลอดภัยในชีวต จังหวัดชายแดนภาคใต้ เร่งฟืน้ ฟูความสัมพันธ์และพัฒนาความร่วมมือกับประเทศเพือ่ นบ้านและนานาประเทศ ป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมชิ อบในภาครัฐอย่างจริงจัง ส่งเสริมให้มกี ารบริหารจัดการน�ำ้ อย่างบูรณาการและเร่งรัดขยายเขตพืน้ ทีช่ ลประทาน เร่งเพิม่ รายได้จากการท่องเทีย่ วทัง้ ในและนอกประเทศ

ประจำ � ปี ง บประมาณ ๒๕๕๖

13

13


นโยบายเร่งด่วน ๑. สร้างความปรองดองสมานฉันท์ ของคนในชาติและฟืน ้ ฟูประชาธิปไตย การบรรยายให้ความรู้และสัมมนาเชิงปฏิบัติการ โครงการ “สถานีวิทยุสีขาว เทิดไท้องค์ราชา” ระหว่าง ๑๘ - ๒๐ มีนาคม ๒๕๕๖ ณ โรงแรมรอยัลริเวอร์ กรุงเทพ ฯ โดยมีวัตถุประสงค์ให้ผู้ประกอบการวิทยุกระจายเสียงที่ เข้าร่วมสัมมนามีความเข้าใจถึงบทบาทหน้าที่และจิตส�ำนึก ความรับผิดชอบต่อสังคม เพื่อขยายผลในการท�ำหน้าที่เป็น สือ่ สาธารณะทีร่ ว่ มกันเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ พร้อม ทัง้ เสริมสร้างการมีสว่ นร่วมและสร้างจิตส�ำนึกของประชาชน ในความรับผิดชอบต่อสาธารณะ และด�ำเนินกิจกรรมเพื่อ ประโยชน์แก่สังคมต่อไป

ด�ำเนินการจัดกิจกรรมสัมมนาสื่อมวลชนสัญจร ในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ระหว่างวันที่ ๒๘ - ๓๑ สิงหาคม ๒๕๕๖ ณ จังหวัดสุรินทร์ จังหวัดอุบลราชธานี จั ง หวั ด มุ ก ดาหาร จั ง หวั ด นครพนม และสาธารณรั ฐ ประชาธิปไตยประชาชนลาว โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเสริม สร้างความสัมพันธ์อนั ดีระหว่างสือ่ มวลชนกับส�ำนักงานปลัด กระทรวงกลาโหม ในระดับผู้บริหารและเจ้าหน้าที่ปฏิบัติ งาน รวมทั้งเป็นการสร้างความเข้าใจกับสื่อมวลชนในการ ปฏิบัติงานของทหารในพื้นที่ในภารกิจป้องกันประเทศและ การสนับสนุนงานตามนโยบายของรัฐบาล รวมทั้งศึกษา ภูมิประเทศสถานการณ์ตามแนวชายแดน และสภาพสังคม จิตวิทยาของประเทศเพื่อนบ้าน โครงการ “จิตส�ำนึกรักเมืองไทย” เป็นโครงการ ที่มีวัตถุประสงค์หลักในการสร้างส�ำนึกและการมีส่วนร่วม ของประชาชนในการสนับสนุนงานความมั่นคงของชาติและ

14

ความรับผิดชอบต่อสาธารณะ โดยมีเป้าหมายเป็นเยาวชนที่ อยู่ระหว่าง อายุ ๑๖ - ๒๕ ปี ซึ่งเป็นพลังที่ส�ำคัญต่ออนาคต ของชาติ โดยในปี ๒๕๕๖ ได้ด�ำเนินการต่อเนื่องแล้วเป็นปีที่ ๕ เน้นการเสริมสร้างการมีส่วนร่วมของเยาวชนด้วยการเปิด เวทีให้เยาวชนได้ร่วมสะท้อนแนวคิด มุมมองต่อสถานการณ์ บ้านเมืองผ่านหัวข้อทีก่ ำ� หนด เพือ่ ให้รว่ มส่งผลงานเข้ารับการ ประกวด โดยเยาวชนได้พิจารณาศึกษาค้นคว้า แลกเปลี่ยน ความเห็นถึงสถานการณ์ทางสังคม และสร้างสรรค์ผลงาน ผ่านกิจกรรมการประกวด ซึง่ ในแต่ละปีจะก�ำหนดหัวข้อและ กิจกรรมการประกวดให้สอดคล้องกับสถานการณ์ในห้วงเวลา คือ ปีที่ ๑ จัดการประกวดผลงานจิตรกรรม (ภาพวาด) หัวข้อ “ท�ำให้พอ่ ได้สขุ ใจ ท�ำให้ไทยได้มนั่ คง” ปีที่ ๒ จัดการประกวด ผลงานภาพถ่าย และภาพยนตร์สั้น ในหัวข้อ “จิตส�ำนึก รักเมืองไทย” ปีที่ ๓ จัดการประกวดผลงานการสร้างสรรค์ บทเพลง ภาพถ่าย และสปอตโทรทัศน์ในหัวข้อ “ร่วมกัน...

ผลการดำ�เนินงานของกระทรวงกลาโหม

14


เดินหน้าประเทศไทย” และปีที่ ๔ จัดการประกวดผลงานการ สร้างสรรค์บทเพลง ภาพถ่าย และสปอตโทรทัศน์ในหัวข้อ “ส�ำนึกดี...ร่วมกันเดินหน้าประเทศไทย” ส�ำหรับในปีที่ ๕ นี้ ได้น้อมน�ำกระแสพระราชด�ำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้า อยู่หัวฯ ที่ทรงพระราชทาน เมื่อ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๕ ในเรื่อง “ความเมตตา...ปรารถนาดีต่อกัน” มาสู่การปฏิบัติที่เป็น รูปธรรมในการด�ำเนินโครงการร่วมกันของภาคส่วนต่าง ๆ ในสังคมเพื่อขยายฐานและเสริมสร้างการมีส่วนร่วม” ซึ่งมี เยาวชนจากทัว่ ประเทศตอบรับส่งผลงานเข้าร่วมประกวดใน โครงการเป็นจ�ำนวนมากและได้ขยายผลโดยผลิตสื่อรณรงค์ เผยแพร่สู่สาธารณชน ด� ำ เนิ น การจั ด ฝึ ก เยาวชนกลุ ่ ม เป้ า หมาย ตาม โครงการ “เยาวชนไทยรู้รักสามัคคี” เพื่อการสร้างความ ปรองดองสมานฉันท์ของคนในชาติ จ�ำนวน ๘ รุน่ ซึง่ ด�ำเนินการ แล้ว ๖ รุน่ โดยเยาวชนทีเ่ ข้าร่วมโครงการจะได้รบั การปลูกฝัง ให้มคี วามจงรักภักดีตอ่ สถาบันทีส่ ำ� คัญของชาติ มีระเบียบวินยั ในการอยูร่ ว่ มกันด้วยความสมานฉันท์ สามารถน�ำเอาความรู้ ที่ได้รับการอบรมไปเผยแพร่ในชุมชนและคนในครอบครัว ของตนเอง รวมทั้งมีการขยายเครือข่ายเยาวชนในการติดต่อ สื่อสารซึ่งกันและกัน การให้ก�ำลังใจต่อกัน การน�ำสิ่งดี ๆ รวมทั้งข่าวสารเชิงบวก มาถ่ายทอดผ่านสื่อสังคมออนไลน์ facebook

ด�ำเนินการเสริมสร้างความรู้ด้านความมั่นคงแนว ใหม่ให้กบั ทุกภาคส่วน เพือ่ ให้ชดุ วิทยากรทีไ่ ด้รบั การฝึกอบรม น�ำเสนอและเผยแพร่ความรูใ้ ห้กบั กลุม่ เป้าหมาย รวมทัง้ ก�ำลัง พลและครอบครัว

จัดท�ำโครงการ “การประกวดแต่งบทเพลงรักชาติ” เมือ่ ๒๙ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๕๕ - ๓๑ มกราคม พ.ศ.๒๕๕๖ โดย มีวตั ถุประสงค์เพือ่ ให้พนี่ อ้ งประชาชนมีจติ ส�ำนึกความรักชาติ และเข้าใจภาพลักษณ์ทหารทีว่ า่ ยอมเสียสละทัง้ ร่างกาย ชีวติ และจิตใจและพร้อมพลีชพี เพือ่ ชาติได้โดยไม่หวังสิง่ ตอบแทน มีผใู้ ห้ความสนใจส่งผลงานเข้าประกวด จ�ำนวน ๕๗๒ คน รวม ๙๑๕ บทเพลง และมอบรางวัลให้กบั ผูช้ นะการประกวดฯ เมือ่ ๒๒ มีนาคม พ.ศ.๒๕๕๖ พร้อมทั้งขยายผลโครงการดังกล่าว ให้เป็นรูปธรรม โดยน�ำบทเพลงรักชาติไปเผยแพร่ทางสถานี วิทยุโทรทัศน์กองทัพบก สถานีวิทยุกระจายเสียงในเครือ กองทัพบกและสือ่ อินเตอร์เน็ต รวมทัง้ ให้วงดุรยิ างค์ทหารบก บรรเลงเพลงรักชาติในโอกาสต่าง ๆ ด�ำเนินการจัดโครงการปลูกฝังอุดมการณ์ทางการ เมือง ให้ก�ำลังพลยึดมั่น และศรัทธาในสถาบัน ชาติ ศาสนา ประจำ � ปี ง บประมาณ ๒๕๕๖

15

15


ประจ�ำปี ๒๕๕๖ เมื่อ ๒ - ๖ เมษายน พ.ศ.๒๕๕๖ อ�ำเภอ สัตหีบ จังหวัดชลบุรี เพื่อให้เยาวชนที่มาจากทุกภูมิภาค ของประเทศได้มีโอกาสเปิดโลกทัศน์การเรียนรู้ สร้างเสริม ประสบการณ์ใหม่ ๆ รวมทั้งได้รับทราบการปฏิบัติภารกิจ ต่าง ๆ ของกองทัพเรือ และทีส่ ำ� คัญทีส่ ดุ คือ ได้สร้างมิตรภาพ กับเพื่อนเยาวชนต่างพื้นที่อันจะน�ำไปสู่ “ความสมานฉันท์” โดยเยาวชนที่เข้าร่วมกิจกรรมเป็นเยาวชนชาย - หญิง อายุ ระหว่าง ๑๖ - ๑๗ ปี ซึ่งก�ำลังศึกษาในระดับชั้นมัธยมศึกษา ตอนปลาย ในพื้นที่รับผิดชอบ ทั้งในพื้นที่กรุงเทพมหานคร และปริมณฑล ได้เข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ประกอบด้วย การเยี่ยมชมเรือหลวงจักรีนฤเบศร ศูนย์อนุรักษ์พันธุ์เต่า ทะเล รถสะเทินน�้ำสะเทินบก กระโดดหอสูง ๓๒ ฟุตเพื่อ พระมหากษัตริย์ และการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ทดสอบก�ำลังใจ รวมทั้งเยี่ยมชมสถานที่ท่องเที่ยวของเมือง อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข พัทยา ได้แก่ พิพิธภัณฑ์ริบลีส์และโรงละครอลังการ รวมทั้ง ด�ำเนินการจัดกิจกรรมโครงการรวมใจไทยเป็น กิจกรรมจิตอาสา และกิจกรรมทีเ่ น้นความสมัครสมานสามัคคี หนึ่ง โดยน�ำเยาวชนในพื้นที่ปฏิบัติงานของหน่วยเฉพาะกิจ และยังได้จัดกิจกรรมโครงการค่ายผู้น�ำเยาวชนสมานฉันท์ นาวิกโยธิน ทัศนศึกษานอกสถานที่ตามโครงการรวมใจไทย - จิตอาสากองทัพเรือ ประจ�ำปี พ.ศ.๒๕๕๖ ครั้งที่ ๒ เมื่อ เป็นหนึ่ง ประจ�ำปี พ.ศ.๒๕๕๖ จ�ำนวน ๗ ครั้ง และได้จัด ๒๓ เมษายน พ.ศ.๒๕๕๖ ณ อาคารอเนกประสงค์ หน่วย โครงการค่ายผู้น�ำเยาวชนสมานฉันท์ - จิตอาสา รุ่นที่ ๑ บัญชาการนาวิกโยธิน จั ด กิ จ กรรมแถลงข่ า วประชาสั ม พั น ธ์ ก ารจั ด โครงการ “เยาวชนประกวดร้องเพลงชาติไทย” และโครงการ แข่ ง ขั น ฟุ ต บอล “นาวิ ก โยธิ น คั พ กองทั พ เรื อ ” ชิ ง ถ้ ว ย พระราชทานสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราช กุมารี เมื่อ ๑๔ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๕๖ ณ สโมสรร่มเกล้า ค่ายจุฬาภรณ์ อ�ำเภอเมือง จังหวัดนราธิวาส ซึ่งได้รับการ สนับสนุนจาก นายกิตติรัตน์ ณ ระนอง รองนายกรัฐมนตรี/ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง และธนาคารออมสิน โดย มีวตั ถุประสงค์เพือ่ ให้เกิดความสงบร่มเย็นในพืน้ ทีร่ บั ผิดชอบ ความส� ำคั ญของเยาวชนที่ จะเป็ นพลัง หลั กในการพั ฒนา

16

ผลการดำ�เนินงานของกระทรวงกลาโหม

16


ประเทศชาติในอนาคต ซึ่งทั้งสองโครงการเป็นการต่อยอด จากโครงการเสาธงเพื่อน้องร่วมร้องเพลงชาติไทย ทั้งนี้ เพื่ อ สร้ า งความภาคภู มิ ใ จในความเป็ น คนไทย ปลู ก ฝั ง อุ ด มการณ์ ค วามรั ก ชาติ แ ละจงรั ก ภั ก ดี ต ่ อ สถาบั น พระมหากษัตริย์ เสริมสร้างความรัก และความสามัคคีให้ ประชาชนในพื้นที่เกิดความร่วมมือร่วมใจในการแก้ปัญหา ต่ า ง ๆ อย่ า งยั่ ง ยื น โดยทั้ ง สองโครงการจะด� ำ เนิ น การ ในลักษณะคู่ขนาน

จั ด กิ จ กรรมน� ำ เยาวชนในพื้ น ที่ รั บ ผิ ด ชอบของ หน่วยเฉพาะกิจนาวิกโยธิน ได้แก่ อ�ำเภอเมือง อ�ำเภอบาเจาะ อ�ำเภอยี่งอ อ�ำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส ทัศนศึกษา นอกสถานที่ ตามโครงการรวมใจไทยเป็นหนึ่ง กองทัพเรือ รุ ่ น ที่ ๖/๒๕๕๖ เมื่ อ ๘ - ๑๕ มิ ถุ น ายน พ.ศ.๒๕๕๖ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเปิดโลกทัศน์ให้เยาวชนได้เรียนรู้ ประสบการณ์ที่มีประโยชน์ และมีความเข้าใจในบทบาท หน้าทีข่ องทหารเรือในการรักษาความสงบเรียบร้อย และดูแล ความปลอดภัยให้แก่ประชาชนในจังหวัดชายแดนภาคใต้

รวมทั้งการใช้ชีวิตร่วมกันด้วยความรัก ความสามัคคี แม้จะ มีความต่างกันในเรื่องศาสนาและวัฒนธรรม แต่ก็ยึดมั่นใน สถาบันชาติและเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ร่วมกัน จัดกิจกรรม “คืนสูเ่ หย้าเยาวชนรวมใจไทยเป็นหนึง่ กองทัพเรือ” เมือ่ ๑๗ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๕๖ ณ ค่ายจุฬาภรณ์ จังหวัดนราธิวาส โดยน�ำศิลปิน ดาราและสื่อมวลชนเยี่ยม บ�ำรุงขวัญก�ำลังพล พร้อมมอบอุปกรณ์กีฬาและอุปกรณ์ การเรียนการสอนให้กับเยาวชนและเด็กก�ำพร้าในพื้นที่

ประจำ � ปี ง บประมาณ ๒๕๕๖

17

17


จัดการพบปะเครือข่ายประชาชนกองทัพอากาศ และด�ำเนินการประชาสัมพันธ์ให้บุคลากรในกองทัพวางตัว เป็นกลางทางการเมือง และใช้วิจารณญาณในการรับฟัง ข้อมูลข่าวสาร

๒. ก�ำหนดให้การแก้ ไขและป้องกัน ปัญหายาเสพติดเป็น “วาระแห่งชาติ”

การแก้ไขปัญหายาเสพติด

ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม

จัดตัง้ แหล่งข่าวในพืน้ ทีพ่ กั อาศัยในความรับผิดชอบ พืน้ ทีล่ ะ ๓ แหล่งข่าว และจัดเจ้าหน้าทีด่ า้ นปราบปราม ตรวจ ตราพืน้ ทีร่ บั ผิดชอบอย่างต่อเนือ่ ง ทัง้ ในและนอกเวลาราชการ รวมทั้ ง ประสานด้ า นการข่ า วกั บ เจ้ า หน้ า ที่ ป ราบปราม ยาเสพติ ด พร้ อ มทั้ ง ด� ำ เนิ น การสุ ่ ม ตรวจหาสารเสพติ ด ก�ำลังพลส่วนกลาง เมื่อ ๙ - ๑๙ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๕๖ ด�ำเนินการจัดท�ำสรุปผลการด�ำเนินงานในรอบ ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕ ได้แก่ การปฏิบัติภารกิจในส่วน บังคับบัญชา, การปฏิบตั งิ านของคณะอนุกรรมการด้านต่าง ๆ และหน่วยงานในสังกัดของศูนย์อ�ำนวยการพลังแผ่นดิน เอาชนะยาเสพติด ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม การตรวจ เยี่ ย มการด� ำ เนิ น การป้ อ งกั น และแก้ ไ ขปั ญ หายาเสพติ ด

18

ณ ศูนย์พัฒนาปิโตรเลียมภาคเหนือ กรมการพลังงานทหาร ศูนย์การอุตสาหกรรมป้องกันประเทศและพลังงานทหาร เมื่อ ๒๙ - ๓๑ มกราคม พ.ศ.๒๕๕๖ และจัดท�ำรายงาน ขออนุ มั ติ ส ่ ง รายชื่ อ ข้ า ราชการขอรั บ การแต่ ง ตั้ ง เป็ น เจ้าพนักงานป้องกันปราบปรามและแก้ไขปัญหายาเสพติด รวมถึงการตรวจเยี่ยมหน่วยงานเพื่อรับทราบสถานการณ์ ปัญหาและข้อขัดข้อง กิจกรรม “ครอบครัวอบอุ่น ต้านภัยยาเสพติด” ของ ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ประจ�ำปีงบประมาณ ๒๕๕๖ ระหว่างวันที่ ๒๗ - ๒๘ เมษายน ๒๕๕๖ ณ โรงแรม พินาเคิล แกรนด์ จอมเทียน รีสอร์ท แอนด์ สปา เมืองพัทยา จั ง หวั ด ชลบุ รี มี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ เสริ ม สร้ า งความรั ก ความเข้าใจ และความอบอุ่นในครอบครัว การให้ความรู้ ความเข้าใจในปัญหายาเสพติด และสามารถน�ำไปประยุกต์ ใช้ในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดได้อย่างถูกวิธี รวมทั้ ง เสริ ม สร้ า งความแข็ ง แกร่ ง ของสถาบั น ครอบครั ว อันเป็นรากฐานและเกราะป้องกันที่ส�ำคัญของการแก้ปัญหา ยาเสพติดได้อย่างยั่งยืน โดยมีผู้เข้ารับการอบรมสัมมนา ประกอบด้วย ข้าราชการ ลูกจ้าง พนักงานราชการ พร้อมทั้ง ครอบครัว และบุตรที่มีอายุระหว่าง ๘ - ๑๘ ปี จ�ำนวน ๑๒๐ คน ทั้งนี้ ได้ด�ำเนินการในลักษณะการอบรมสัมมนาและ การร่วมกันท�ำกิจกรรมเชิงสร้างสรรค์ อาทิ กิจกรรมกลุ่ม สัมพันธ์ การบรรยายให้ความรู้เกี่ยวกับพิษภัยของยาเสพติด โดยผู้ทรงคุณวุฒิ และกิจกรรมการเสวนาแลกเปลี่ยนความ รู้และข้อคิดเห็นระหว่างครอบครัวเกี่ยวกับแนวทางในการ ป้องกันปัญหายาเสพติด โดยกิจกรรมดังกล่าว ช่วยเสริมสร้าง สายใยรักในครอบครัว ตลอดจนเสริมสร้างความสัมพันธ์อนั ดี ระหว่างครอบครัวและชุมชนของผู้ร่วมอบรมสัมมนา พัฒนา สู่การเป็นครอบครัวเครือข่ายเฝ้าระวังป้องกันและแก้ปัญหา ยาเสพติดในพื้นที่พักอาศัยต่อไป

ผลการดำ�เนินงานของกระทรวงกลาโหม

18


ด� ำ เนิ น การจั ด อบรมให้ ค วามรู ้ ถึ ง พิ ษ ภั ย ของ ยาเสพติ ด เพื่ อ ป้ อ งกั น ไม่ ใ ห้ เ ยาวชน ซึ่ ง เป็ น บุ ต รหลาน ข้าราชการ ลูกจ้าง และพนักงานราชการในสังกัด เข้าไป เกีย่ วข้องกับยาเสพติด และให้รจู้ กั ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ตลอดจนรณรงค์ให้ร่วมกันเฝ้าระวังการแพร่ระบาดของ ยาเสพติด คณะอนุกรรมการด้านการปราบปรามยาเสพติด ของศูนย์อำ� นวยการพลังแผ่นดินเอาชนะยาเสพติด ส�ำนักงาน ปลัดกระทรวงกลาโหม ได้จัดก�ำลังพลที่ได้รับการแต่งตั้งเป็น เจ้าพนักงาน ส�ำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปราม ยาเสพติด พร้อมเจ้าหน้าที่สารวัตรทหาร ด�ำเนินการตรวจ บ้านพัก และสุม่ ตรวจหาสารเสพติด ผูพ้ กั อาศัยในอาคารทีพ่ กั อาศัยส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม เป็นประจ�ำทุกเดือน รวมทั้งจัดตั้งแหล่งข่าวในพื้นที่อาคารที่พักอาศัยในพื้นที่ รับผิดชอบ เพื่อเฝ้าระวังปัญหายาเสพติด

ด�ำเนินการกวดขัน ดูแล และเฝ้าระวังการใช้สาร เสพติดของก�ำลังพล และผูพ้ กั อาศัยภายในอาคารทีพ่ กั อาศัย ของหน่วยอย่างต่อเนื่อง โดยเน้นย�้ำเจ้าหน้าที่รักษาความ ปลอดภัย และเจ้าหน้าทีส่ ารวัตรทหารทีป่ ฏิบตั หิ น้าทีเ่ วรสาย ตรวจให้เข้มงวด ตรวจสอบบุคคลพลเรือนที่ผ่านเข้า - ออก ในพื้นที่อาคารที่พักอาศัยของทางราชการ เพื่อป้องกันไม่ให้ ข้าราชการและครอบครัวเข้าไปเกี่ยวข้องกับยาเสพติด ด�ำเนินการจัดท�ำสื่อประชาสัมพันธ์เพื่อรณรงค์ ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด และจัดกิจกรรมกีฬา ต้านภัยยาเสพติดส่วนกลาง โดยได้นำ� บุตรหลานข้าราชการท�ำ กิจกรรมนอกสถานที่ ระหว่าง ๑ - ๓ เมษายน พ.ศ.๒๕๕๖ ณ สถานีวจิ ยั สิง่ แวดล้อมสะแกราช อ�ำเภอวังน�ำ้ เขียว จังหวัด นครราชสีมา และส่วนภูมิภาค ในพื้นที่อ�ำเภอฝาง จังหวัด เชียงใหม่ จังหวัดชลบุรี จังหวัดลพบุรี และสุ่มตรวจหาสาร เสพติดก�ำลังพลในพื้นที่ภูมิภาค เมื่อกุมภาพันธ์ - มีนาคม พ.ศ.๒๕๕๖ ส�ำหรับการบ�ำบัดรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพ ได้ตดิ ตามผลการบ�ำบัดรักษาผูต้ ดิ ยาเสพติด โดยท�ำการตรวจ ต่อเนื่องเดือนละ ๑ ครั้ง อย่างน้อย ๖ เดือน

ด� ำ เนิ น การจั ด อบรมศี ล ธรรมให้ แ ก่ ข ้ า ราชการ ลูกจ้างประจ�ำ และพนักงานราชการในสังกัด โดยใช้หลักธรรม ค�ำสอนทางพระพุทธศาสนาเกี่ยวกับเรื่อง “การปฏิบัติตนให้ กองบัญชาการกองทัพไทย เป็นคนดีมีความซื่อสัตย์สุจริต” จ�ำนวน ๕ ครั้ง โดยมีผู้เข้ารับ ด�ำเนินการติดตามและประสานแผนการด�ำเนินงาน การอบรมฯ จ�ำนวนทั้งสิ้น ๗๐๙ คน แก้ไขปัญหายาเสพติด ศูนย์อ�ำนวยการพลังแผ่นดินเอาชนะ ประจำ � ปี ง บประมาณ ๒๕๕๖

19

19


ด� ำ เนิ น การประชุ ม ประสานงานด้ า นการข่ า ว ยาเสพติดในพื้นที่ภาคเหนือ เมื่อ ๒๑ - ๒๔ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ ณ จังหวัดเชียงใหม่ และจังหวัดเชียงราย โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อรับทราบข้อมูลด้านยาเสพติด พัฒนาความ สัมพันธ์ระหว่างหน่วยและปรับฐานข้อมูลของหน่วยให้อยู่ ในระดับเดียวกัน

ยาเสพติ ด กองทั พ ไทย และตรวจภู มิ ป ระเทศในพื้ น ที่ รับผิดชอบ เมื่อ ๒๐ - ๒๖ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๕๖ ณ ศูนย์ ปฏิบัติการกองทัพภาคที่ ๒, ศูนย์อ�ำนวยการพลังแผ่นดิน เอาชนะยาเสพติด กองทัพภาคที่ ๒ และส�ำนักงานภาค ๕ หน่วยบัญชาการทหารพัฒนา ด�ำเนินการสกัดกั้น ปราบปรามยาเสพติดบริเวณ พื้นที่ชายแดนอย่างต่อเนื่อง โดยมีการลาดตระเวน/เฝ้า ตรวจ/ซุ ่ ม โจมตี การจั ด ตั้ ง จุ ด ตรวจ/ด่ า นตรวจ การปิ ด ล้ อ ม/ตรวจค้ น การปฏิ บั ติ ที่ มี ผ ลการจั บ กุ ม ผู ้ ก ระท� ำ ผิ ด ตามพระราชบั ญ ญั ติ ย าเสพติ ด เสี ย ชี วิ ต จ� ำ นวน ๒ ศพ ผู้กระท�ำผิดตามพระราชบัญญัติยาเสพติดถูกจับกุม จ�ำนวน ๑๘๗ คน ได้ของกลางเป็นยาบ้า จ�ำนวน ๑,๑๖๑,๘๕๗ เม็ด กัญชาแห้ง จ�ำนวน ๓,๒๘๔ กิโลกรัม เฮโรอีน จ�ำนวน ๑๓๖ กรัม ฝิ่น จ�ำนวน ๑,๙๑๔ กรัม กระท่อมสด จ�ำนวน ๙๙ กิโลกรัม ยาไอซ์ จ�ำนวน ๕๓,๒๒๙ กรัม อาวุธปืน จ�ำนวน ๕ กระบอก กระสุนปืน จ�ำนวน ๗๕ นัด รถยนต์ จ�ำนวน ๑๓ คัน รถจักรยานยนต์ จ�ำนวน ๓๗ คัน โทรศัพท์มือถือ จ�ำนวน ๒๙ เครื่อง และเงินสด จ�ำนวน ๓,๗๘๐,๙๙๔.- บาท

20

ด�ำเนินการติดตามความเคลื่อนไหวของกลุ่มผู้ค้า ยาเสพติด แหล่งผลิต แหล่งพักยา เส้นทางล�ำเลียง ในห้วงเดือน มิถุนายน พ.ศ.๒๕๕๖ โดยน�ำผลการสืบสวนแจ้งข่าวสารให้ กับเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องด�ำเนินการจนน�ำไปสู่การจับกุมคดี ยาเสพติด จ�ำนวน ๑๐ ครั้ง ทุกพื้นที่ของประเทศสามารถ จับกุมผูต้ อ้ งหาได้ ๒๑ คน เป็นชาวไทย ๑๗ คน ชาวเมียนมาร์ ๑ คน และชาวจีนฮ่อ ๓ คน พร้อมของกลางยาบ้า จ�ำนวน ๘๖๕,๐๓๐ เม็ด และยาไอซ์ จ�ำนวน ๕๐.๒๑๒๕ กิโลกรัม ได้เดินทางส�ำรวจสภาวะแวดล้อมด้านยาเสพติดใน พืน้ ทีจ่ งั หวัดเชียงรายและสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชน ลาวเพื่อรับข้อมูลยาเสพติดและพัฒนาความสัมพันธ์ระหว่าง หน่วย และปรับฐานข้อมูลหน่วยให้อยู่ในระดับเดียวกัน เมื่อ ๓ - ๗ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๕๖

ผลการดำ�เนินงานของกระทรวงกลาโหม

20


ด�ำเนินการตรวจพืน้ ทีแ่ ละประสานงานด้านการข่าว ยาเสพติดในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ได้แก่ จังหวัด นครราชสีมา จังหวัดขอนแก่น จังหวัดอุดรธานี และจังหวัด หนองคาย ระหว่าง ๑๑ - ๑๔ ธันวาคม ๒๕๕๕ เพื่อรับทราบ ข้ อ มู ล ยาเสพติ ด และพั ฒ นาความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งหน่ ว ย รวมทั้งปรับฐานข้อมูลที่มีอยู่ของหน่วยให้ทันสมัย ก�ำกับการปฏิบัติงานตามแผนงานแก้ไขปัญหา ยาเสพติด โดยเดินทางติดตามและประสานแผนการด�ำเนิน งานแก้ไขปัญหายาเสพติด ของศูนย์อํานวยการพลังแผ่นดิน เอาชนะยาเสพติด กองบัญชาการกองทัพไทยและตรวจ ภูมปิ ระเทศตามแนวชายแดนในพืน้ ทีร่ บั ผิดชอบ เมือ่ ๒๐ - ๒๖ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๕๖

กองทัพบก

ด�ำเนินโครงการหมู่บ้าน ชุมชนสีขาว โดยได้เข้า ด�ำเนินการในพื้นที่เป้าหมายตามระดับความรุนแรงของ ภัยคุกคามด้านยาเสพติด และภัยคุกคามด้านอื่น ๆ ไปแล้ว จ�ำนวน ๑,๙๖๑ หมู่บ้าน จากแผนการด�ำเนินงานทั้งสิ้น ๓,๓๓๘ หมู่บ้าน ด�ำเนินโครงการบ�ำบัดฟื้นฟูผู้ติดยาเสพติดที่ศาล สั่งให้เป็นผู้ป่วยตามโครงการวิวัฒน์พลเมืองของกองทัพบก

ประจำ � ปี ง บประมาณ ๒๕๕๖

21

21


ซึ่งปัจจุบันได้ด�ำเนินการใน ๓๕ หน่วย รับผู้ป่วย จ�ำนวน ๑๑,๔๓๐ คน ปัจจุบันอยู่ระหว่างการบ�ำบัดฟื้นฟู จ�ำนวน ๒,๖๑๓ คน ด�ำเนินโครงการสัมมนาการสกัดกัน้ และปราบปราม ยาเสพติดในพื้นที่ชายแดน ด้วยการจัดสัมมนาการสกัดกั้น และปราบปรามยาเสพติดพื้นที่ชายแดน เมื่อ ๑๕ - ๑๗ มกราคม ๒๕๕๖ ซึ่งมีผลการสัมมนา ดังนี้

๑. แนวทางการปฏิบัติงานตามแผนปฏิบัติการพลัง แผ่นดินเอาชนะยาเสพติดของกองทัพบก โดยเฉพาะการ สกั ด กั้ น ตามแนวชายแดนและเส้ น ทางเชื่ อ มต่ อ พื้ น ที่ ตอนใน ด้วยการพัฒนาบุคลากรให้มีขีดความสามารถในการ

22

ผลการดำ�เนินงานของกระทรวงกลาโหม

22


ปฏิบัติงานสกัดกั้นและปราบปรามยาเสพติด และการใช้ ประโยชน์ผงั ข่ายยาเสพติด เพือ่ เป็นฐานข้อมูลในการเชือ่ มโยง ความสัมพันธ์ของเป้าหมายและติดตามวิเคราะห์เป้าหมาย ได้รวดเร็วยิ่งขึ้น ด้วยการก�ำหนดช่องทางในการแลกเปลี่ยน ข้อมูลข่าวสารระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งการ พัฒนาชุดวิเคราะห์ข่าวสารให้ยกระดับขีดความสามารถ ในการวิ เ คราะห์ให้ไ ด้รับ ความน่าเชื่อถือและสามารถใช้ ประโยชน์จากข้อมูลข่าวสารได้ ๒. การพั ฒ นากลไกระบบงานด้ า นการข่ า ว และ ด้านยุทธการ ด้วยการจัดตั้งศูนย์ประสานงานด้านการข่าว ยาเสพติดในระดับพื้นที่ เพื่อเป็นกลไกการประสานงาน แลกเปลี่ยนข้อมูล และบูรณาการด้านการข่าวในแต่ละพื้นที่ และการจัดชุดปฏิบัติการ ส�ำหรับปฏิบัติงานด้านยาเสพติด โดยตรง เพื่อลดภาระงานของกองก�ำลังป้องกันชายแดน ซึ่งอาจพิจารณาจัดก�ำลังผสมจากหน่วยที่เกี่ยวข้องโดยตรง ๓. การใช้ประโยชน์จากกลไกประสานงานชายแดน สนับสนุนการสกัดกัน้ ยาเสพติดชายแดน ด้วยการน�ำประเด็น ความร่วมมือในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด เข้า เป็นวาระส�ำคัญในการหารือก�ำหนดแนวทางการด�ำเนินงาน ให้เป็นรูปธรรมในทุกกลไกความร่วมมือและการแลกเปลี่ยน ข่าวสารระหว่างเจ้าหน้าที่ทั้งสองฝ่ายในพื้นที่ รวมทั้งการจัด ชุดปราบปรามยาเสพติดร่วมกัน ด�ำเนินการสกัดกั้นยาเสพติดตามแนวชายแดน มีผลการจับกุม จ�ำนวน ๒๑๗ ครั้ง ยึดของกลางที่ส�ำคัญ ได้แก่ ยาบ้า จ�ำนวน ๑,๖๐๐,๙๓๗ เม็ด เฮโรอีน จ�ำนวน ๒ กิโลกรัม กัญชา จ�ำนวน ๒๐๕ กิโลกรัม และยาไอซ์ จ�ำนวน ๑๐.๗ กิโลกรัม

ด�ำเนินโครงการหน่วยทหารสีขาว เพือ่ ให้หน่วยงาน ก�ำลังพลและครอบครัวปราศจากยาเสพติดซึ่งมีหน่วยงาน ที่ประกาศเป็นหน่วยทหารสีขาวแล้ว จ�ำนวน ๑๘๙ หน่วย โดยได้กวดขันก�ำลังพลและครอบครัวภายในหน่วยไม่ให้ยุ่ง เกี่ยวกับยาเสพติด เสริมสร้างและให้ความรู้เรื่องพิษภัยของ ยาเสพติด จัดกิจกรรมต้านยาเสพติด โดยมุง่ เน้นทีบ่ ตุ รหลาน ของก�ำลังพลในหน่วยเป็นอันดับแรก ได้ดำ� เนินการสกัดกัน้ ปราบปรามยาเสพติดบริเวณ พื้นที่ชายแดนอย่างต่อเนื่อง โดยมีการลาดตระเวน/เฝ้า ตรวจ/ซุ่มโจมตี จ�ำนวน ๙๒,๓๙๙ ครั้ง การจัดตั้งจุดตรวจ/ ด่านตรวจ จ�ำนวน ๕๓,๓๖๙ ครั้ง การปิดล้อม/ตรวจค้น จ�ำนวน ๗๗๑ ครั้ง การปฏิบัติที่มีผลการจับกุม จ�ำนวน ๑,๙๙๖ ครั้ง ผู้กระท�ำผิดตามพระราชบัญญัติยาเสพติด เสียชีวิต จ�ำนวน ๓๑ ศพ ถูกจับกุม จ�ำนวน ๒,๔๐๓ คน ได้ของกลางเป็นยาบ้า จ�ำนวน ๑๗,๕๑๗,๑๔๘ เม็ด กัญชา แห้ง จ�ำนวน ๑๔,๒๘๘ กิโลกรัม เฮโรอีน จ�ำนวน ๙,๗๙๒ กรัม ฝิ่น จ�ำนวน ๑๖,๗๒๔ กรัม กระท่อมผง จ�ำนวน ๒,๓๖๕ กิโลกรัม กระท่อมสด จ�ำนวน ๙๙ กิโลกรัม ยาไอซ์ จ�ำนวน ๑๕๑,๓๗๒ กรัม แอมเฟตามีน จ�ำนวน ๕,๗๑๕ เม็ด อัลฟา โซแลม จ�ำนวน ๒๔ เม็ด แอมเฟตตามีน ๒,๙๗๕ เม็ด ยาแก้ไอ จ�ำนวน ๖๓๙ ขวด น�ำ้ ต้มกระท่อม จ�ำนวน ๓๐ ลิตร อาวุธปืน จ�ำนวน ๑๐๑ กระบอก กระสุนปืน จ�ำนวน ๙๕๘ นัด รถยนต์ จ�ำนวน ๑๗๒ คัน รถจักรยานยนต์ จ�ำนวน ๓๔๒ คัน เรือกีบ พร้อมเครื่องยนต์ ๒ ล�ำ โทรศัพท์มือถือ จ�ำนวน ๒๖๕ เครื่อง เงินสด จ�ำนวน ๓๗,๒๔๑,๑๙๙.- บาท เงินมาเลเซีย จ�ำนวน ๗๑๙.- ริงกิต และเงินพม่า ๑๔๙,๐๐๐.- จ๊าด

ประจำ � ปี ง บประมาณ ๒๕๕๖

23

23


กองทัพเรือ

จัดโครงการ “กองทัพเรือรวมใจ ร่วมต้านภัยยา เสพติด” ครั้งที่ ๕ ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๖ เมื่อ ๒๔ - ๒๖ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๕๖ ในพื้นที่จังหวัดสมุทรปราการ ได้แก่ โรงเรียนป้อมนาคราชสวาทยานนท์ อ�ำเภอพระสมุทร เจดีย์ โรงเรียนมัธยมด่านส�ำโรง อ�ำเภอเมือง และโรงเรียนราช ประชาสมาสัย ฝ่ายมัธยม รัชดาภิเษก ในพระบรมราชูปถัมภ์ อ�ำเภอพระประแดง มีวตั ถุประสงค์เพือ่ ให้เยาวชนได้ตระหนัก ถึงพิษภัยยาเสพติดและเป็นการปลุกจิตส�ำนึกให้รวมกันเป็น พลังแผ่นดินร่วมกันหลีกเลี่ยงยาเสพติด โดยมีการบรรยาย เรื่องการป้องกันยาเสพติดและสอดแทรกการปฏิบัติการเชิง รุกต่อกลุ่มเป้าหมาย รวมทั้งแนะแนวการเข้าเป็นนักเรียน ทหารในส่วนของกองทัพเรือ สนับสนุนรัฐบาลในการป้องกันและปราบปรามยา เสพติด โดยจัดกิจกรรมฝึกอบรมชุมชนทหารเข้มแข็ง ให้แก่ ชุมชนในหน่วยเรือรักษาความสงบเรียบร้อยตามล�ำแม่นำ�้ โขง ได้แก่ กองบัญชาการหน่วยเรือรักษาความสงบเรียบร้อยตาม ล�ำแม่น�้ำโขงและหน่วยเรือรักษาความสงบเรียบร้อยตามล�ำ แม่น�้ำโขงเขตต่าง ๆ ได้แก่ เขตเชียงราย เขตหนองคาย เขต

24

นครพนม และเขตอุบลราชธานี ท�ำการจับกุม จ�ำนวน ๔๓ ครัง้ ผู้ต้องหาที่น�ำไปด�ำเนินคดี จ�ำนวน ๕๙ คน ได้ของกลางเป็น ยาบ้า จ�ำนวน ๗๙,๔๙๓ เม็ด ยาไอซ์ จ�ำนวน ๕,๔๒๐ กรัม กัญชา จ�ำนวน ๒๙๓.๑๓ กิโลกรัม ยาแก้ไอ จ�ำนวน ๓๐ ขวด ใบกระท่อมสด จ�ำนวน ๑๐๐ กิโลกรัม และยาอัลฟาโซแลม จ�ำนวน ๒,๐๐๐ เม็ด จับกุมผู้กระท�ำผิดเกี่ยวกับยาเสพติด ให้โทษประเภท ๑ และยาเสพติดอื่น ๆ จ�ำนวน ๒๑๑ ครั้ง ยึดของกลางที่ส�ำคัญ ได้แก่ ยาบ้า จ�ำนวน ๑,๐๑๑,๑๔๔ เม็ด กัญชาน�้ำ จ�ำนวน ๑ ขวด น�้ำหนักประมาณ ๑ กิโลกรัม ใบกระท่อมสด จ�ำนวน ๖๔ กิโลกรัม กัญชาแห้งอัดแท่ง จ�ำนวน ๑ กล่อง เฮโรอีน จ�ำนวน ๔๐ กรัม และจับกุม ผู้ต้องหา จ�ำนวน ๓๓๒ คน ด�ำเนินการบ�ำบัดรักษาและฟื้นฟูผู้ติดยาเสพติด โดยตรวจคัดกรองหาสารเสพติดในปัสสาวะ จ�ำนวน ๑,๒๙๙ คน และบ�ำบัดรักษาและฟื้นฟูผู้ติดยาเสพติด แบบผู้ป่วยใน (รูปแบบชุมชนบ�ำบัดประยุกต์) และแบบผู้ป่วยนอกโดยการ ให้บริการปรึกษา (COUNSELING) รูปแบบ กาย จิต สังคม บ�ำบัด (MATRIX - PROGRAM) รวมทั้งได้ติดตามและ ช่วยเหลือประเมินผลผู้ป่วยยาเสพติด

ผลการดำ�เนินงานของกระทรวงกลาโหม

24


ด�ำเนินการแก้ไขและป้องกันยาเสพติด โดยจัดให้ มีการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดภายในพื้นที่ตั้งของ หน่วยงานและทีพ่ กั อาศัย สนับสนุนการฟืน้ ฟูผตู้ ดิ ยาเสพติด มี การสุม่ ตรวจสารเสพติดในก�ำลังพลกลุม่ เสีย่ ง ซึง่ มากกว่าร้อย ละ ๙๙ ไม่พบสารเสพติดในร่างกาย รวมทั้งไม่มีขา้ ราชการ ที่กระท�ำผิดเกี่ยวกับยาเสพติด นอกจากนี้ยังได้จัดโครงการ “แล่นเรือใบต้านภัยยาเสพติด ทัพเรือภาคที่ ๓” ให้กับ

บุตรหลานข้าราชการ และเยาวชนในพื้นที่จังหวัดภูเก็ต เมื่อ ๑ เมษายน พ.ศ.๒๕๕๖ ณ ชายหาดหน้ากองบัญชาการทัพเรือ ภาคที่ ๓ ต�ำบลวิชิต อ�ำเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต และได้มีการ ปฏิบตั ใิ นการป้องกัน ปราบปรามยาเสพติดตามแนวชายแดน มีการปฏิบัติ ๒๑๑ ครั้ง ผู้ต้องหา ๓๓๒ คน กัญชาและกัญชา แห้งอัดแท่ง ๒,๐๙๐ กิโลกรัม ยาบ้า ๑,๐๑๑,๑๔๔ เม็ด และ เฮโรอีน ๕๐ กิโลกรัม

ประจำ � ปี ง บประมาณ ๒๕๕๖

25

25


ได้มกี ารป้องกันยาเสพติด ด้วยการให้ความรูค้ วาม เข้าใจในพิษภัยของยาเสพติดแก่ประชาชนในพืน้ ทีร่ บั ผิดชอบ และด�ำเนินการปราบปรามยาเสพติด โดยมีการลาดตระเวน ทางทะเล จ�ำนวน ๕๒๙ ครั้ง ลาดตระเวนทางบก จ�ำนวน ๘๙๗ ครั้ง ตั้งจุดตรวจ จ�ำนวน ๑,๖๗๕ ครั้ง จับกุมผู้กระท�ำ

26

ผิดเกี่ยวกับยาเสพติด จ�ำนวน ๒๙๘ ครั้ง ได้ยึดของกลางที่ ส�ำคัญ ได้แก่ ยาบ้า จ�ำนวน ๕๑,๘๔๘ เม็ด ยาไอซ์ จ�ำนวน ๖๒.๕ กรัม ใบกระท่อม จ�ำนวน ๑๕ มัด เฮโรอีน จ�ำนวน ๑๓.๖๒ กรัม และกัญชา จ�ำนวน ๑,๐๖๒ กรัม

ผลการดำ�เนินงานของกระทรวงกลาโหม

26


ด� ำ เนิ น การบ� ำ บั ด รั ก ษาฟื ้ น ฟู ส มรรถภาพผู ้ ติ ด ยาเสพติ ด ตามโครงการวิ วั ฒ น์ พ ลเมื อ งกองทั พ เรื อ มี ผู ้ ติ ด ยาเสพติ ด ที่ ศ าลตั ด สิ น ให้ เ ป็ น ผู ้ ป ่ ว ยตามพระราช บั ญ ญั ติ ฟ ื ้ น ฟู ส มรรถภาพผู ้ ติ ด ยาเสพติ ด เข้ า รั บ การฟื ้ น ฟู ในศูนย์วิวัฒน์พลเมืองของกองทัพเรือ ๔ ศูนย์ โดยในห้วง ครึ่งปีแรกของปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๖ (ตุลาคม ๒๕๕๕ - มีนาคม ๒๕๕๖) ได้ตั้งเป้าบ�ำบัดผู้ติดยาเสพติด จ�ำนวน ๙๐๐ คน

๓. เร่งน�ำสันติสขุ และความปลอดภัย ในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน กลั บ มาสู ่ พื้ น ที่ จั ง หวั ด ชายแดน ภาคใต้

การแก้ ไ ขปั ญ หาความไม่ ส งบ

ในจังหวัดชายแดนภาคใต้ กรมราชองครักษ์

ด� ำ เนิ น การจั ด ตั้ ง คณะท� ำ งานในพื้ น ที่ จั ง หวั ด ชายแดนภาคใต้เกี่ยวกับงานกิจการพิเศษ โดยเป็นไปตาม พระราชประสงค์ คือ โครงการหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง และโครงการฟาร์มตัวอย่าง อันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ จ�ำนวน ๓๐ แห่ง เพื่อให้ราษฎรมีรายได้ และมีอาหาร ส�ำหรับบริโภคในชุมชน (Food Bank) และท�ำให้เกิดการ พัฒนาคุณภาพชีวิตทางด้านเศรษฐกิจในลักษณะวิสาหกิจ ชุมชนให้แก่ราษฎรในพื้นที่เกิดความยั่งยืน และโครงการ ฝึ ก ป้ อ งกั น ตนเองให้ แ ก่ ร าษฎรอาสารั ก ษาหมู ่ บ ้ านเพื่ อ ป้ อ งกั น ชี วิ ต และทรั พ ย์ สิ น ภายในชุ ม ชน ตลอดจนเป็ น ผู้รายงานข่าวสารให้แก่ทางราชการ จ�ำนวน ๒๕,๐๐๐ คน รวมทั้ ง โครงการพระสงฆ์ น� ำ ชั ย คุ ้ ม ภั ย ใต้ อั น เนื่ อ งมาจาก ประจำ � ปี ง บประมาณ ๒๕๕๖

27

27


พระราชด�ำริ เพื่อให้มีพระสงฆ์จ�ำพรรษาอยู่ ณ วัดต่าง ๆ อย่างน้อยวัดละ ๕ รูป ซึ่งมีจ�ำนวน ๓๕๐ วัด และเป็นวัดร้าง จ�ำนวนกว่า ๑๕๐ วัด เพื่อให้ราษฎรชาวพุทธได้บ�ำเพ็ญกุศล และประกอบศาสนกิจต่าง ๆ ในการธ�ำรงพระพุทธศาสนา ให้คงอยู่ ซึ่งจะด�ำเนินในพื้นที่เป้าหมายอย่างต่อเนื่องให้ครบ ตามที่ได้วางแผนงานพร้อมกับปรับฐานข้อมูลของหน่วยให้ ทันสมัยต่อไป

กองบัญชาการกองทัพไทย

ด�ำเนินการในการปฏิบัติงานด้านการข่าวกรอง สนับสนุนหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการแก้ไขปัญหาความ ไม่สงบ

กองทัพบก

ด�ำเนินการจัดตัง้ เครือข่ายสถานีวทิ ยุของกองทัพบก ภาครัฐและชุมชน โดยจัดอบรมเจ้าหน้าที่ ๖๐ นาย เมื่อ ๔ - ๖ มิถุนายน พ.ศ.๒๕๕๖ ณ โรงแรมปาร์ค วิว จังหวัด ยะลา เพื่อเป็นการประสานงาน และแลกเปลี่ยนข้อมูล ข่าวสารระหว่างกัน รวมทั้งเพิ่มประสิทธิภาพความถูกต้อง ของข่าวสารในการเผยแพร่ให้ประชาชนในพื้นที่ อีกทั้งยัง เป็นการก�ำหนดทิศทางการรับรูข้ องประชาชนในพืน้ ทีใ่ ห้เป็น ไปในทิศทางเดียวกัน

วัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาทักษะการบันทึกภาพที่สามารถน�ำ มาขยายผลด้านการปฏิบตั กิ ารข่าวสาร และการฟ้องร้องทาง กฎหมาย รวมทัง้ การใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการผลิตสือ่ ชนิดต่าง ๆ จัดการประชุมเชิงปฏิบัติการเจ้าหน้าที่ เพื่อเพิ่ม ขีดความสามารถชุดปฏิบตั กิ ารจิตวิทยา เจ้าหน้าทีส่ ถานีวทิ ยุ และเจ้าหน้าที่หอกระจายข่าว เมื่อ ๒๕ - ๒๘ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๖ ณ โรงแรมปาร์ค วิว จังหวัดยะลา มีก�ำลังพล ๗๐ นาย เข้าร่วมประชุม โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้หน่วยในพื้นที่ มีช่องทางในการประชาสัมพันธ์ข่าวสารทางราชการ ทั้งนี้ เพือ่ เป็นการเสริมสร้างความเข้าใจอันดีระหว่างประชาชนกับ กองทัพได้อย่างรวดเร็วและเป็นไปในทางที่ถูกต้อง ด� ำ เนิ น การแก้ ไ ขปั ญ หาความไม่ ส งบในจั ง หวั ด ชายแดนภาคใต้โดยด�ำเนินการฝึกและศึกษาสายงานกิจการ พลเรือนให้กับก�ำลังพลทั้งในและนอกกองทัพบก เพื่อเป็น การเตรียมก�ำลังส�ำหรับหน่วยในการใช้ก�ำลังปฏิบัติภารกิจ

ด�ำเนินการอบรมเพิ่มศักยภาพชุดช่างภาพสนาม เมื่อ ๑๑ - ๑๔ มิถุนายน พ.ศ.๒๕๕๖ ณ โรงแรมรอยัล ซิตี้ กรุ ง เทพฯ มี ก� ำ ลั ง พล ๗๐ นาย เข้ า ร่ ว มอบรม โดยมี

28

ผลการดำ�เนินงานของกระทรวงกลาโหม

28


ตามภาระหน้าที่ อบรมเตรียมความพร้อมให้แก่ก�ำลังพล ที่จะปฏิบัติหน้าที่ในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ จ�ำนวน ๑,๒๐๐ นาย ด� ำ เนิ น การแก้ ไ ขปั ญ หาความไม่ ส งบในจั ง หวั ด ชายแดนภาคใต้ ด้วยการจัดท�ำโครงการ Million Gifts Million Smiles “ของขวัญจากใจ เพือ่ รอยยิม้ ความหวัง และก�ำลังใจ” ครั้งที่ ๓ เมื่อวันที่ ๑๐ มกราคม ๒๕๕๖ ซึ่งเป็นความ ร่ ว มมื อ ระหว่ า งกองทั พ บกกั บ บริ ษั ท เซ็ น ทรั ล รี เ ทล คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด เพื่อสร้างความหวังและก�ำลังใจให้กับ เยาวชนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ เป็นโครงการที่สร้าง เครือข่ายและส่งผลทางด้านจิตวิทยาต่อเยาวชนในพื้นที่ โดยตรง ด้วยการรับบริจาคสิ่งของที่จ�ำเป็นในชีวิตประจ�ำวัน ส�ำหรับเด็ก ๆ และเยาวชน เช่น อุปกรณ์การศึกษา อุปกรณ์ กีฬา เสื้อผ้า หรืออาหารแห้ง บรรทุกในขบวนคาราวาน ของขวัญสู่เยาวชนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ จัดก�ำลังสนับสนุนการปฏิบตั ภิ ารกิจของกองอ�ำนวย การรักษาความมั่นคงภายในภาค ๔ ส่วนหน้า ประกอบด้วย ๑๓ กองพันทหารราบ, ๑๒ กรมทหารพราน และหน่วย สนับสนุนอืน่ ๆ รวมยอดก�ำลังพลทัง้ สิน้ จ�ำนวน ๓๓,๕๓๗ นาย

และฝ่ายปกครอง เพื่อให้เกิดความปลอดภัยอย่างสูงสุด และ การสร้างความเชือ่ มัน่ ให้แก่ประชาชนในพืน้ ที่ มาตรการเชิงรุก ได้ แ ก่ การปฏิ บั ติ ก ารค้ น หา ท� ำ ลายกองก� ำ ลั ง ของกลุ ่ ม ผู้ก่อเหตุรุนแรง จ�ำกัดเสรีในการปฏิบัติของฝ่ายตรงข้าม อี ก ทั้ ง สร้ า งความเข้ ม แข็ ง ให้ แ ก่ ผู ้ น� ำ หมู ่ บ ้ า น/ผู ้ น� ำ ชุ ม ชน การสลายโครงสร้างและแกนน�ำกลุ่มผู้ก่อเหตุรุนแรงในพื้นที่ รับผิดชอบโดยมีผลการปฏิบตั ทิ สี่ ำ� คัญคือ เมือ่ ๑๓ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๕๖ กองร้อยปืนเล็กที่ ๒ หน่วยเฉพาะกิจนราธิวาส ๓ หน่วยเฉพาะกิจนาวิกโยธินภาคใต้ บ้านยือลอ ต�ำบลบาเระ เหนือ อ�ำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส ได้มีการป้องกันฐาน ที่ตั้งจากการโจมตีของกลุ่มติดอาวุธ RKK มีผลให้ผู้ก่อความ ไม่สงบเสียชีวิต ๑๖ คน ผลคือก�ำลังพลกองทัพเรือ และ ที่ตั้งหน่วยปลอดภัย ทั้งนี้ความส�ำเร็จเกิดจากการข่าวกรอง การเตรียมการทีด่ ี และความร่วมมือกันของหลายหน่วยในการ

กองทัพเรือ

ยึดถือกรอบแนวทางการปฏิบัติ มุ่งเน้นการยุติ เหตุร้ายรายวัน แบ่งเป็น ๒ มาตรการหลัก คือ มาตรการ เชิงรับ ได้แก่ การป้องกันคุ้มครอง การรักษาความปลอดภัย บุคคลและสถานที่ จัดก�ำลังปฏิบตั งิ านร่วมกับเจ้าหน้าทีต่ ำ� รวจ

ประจำ � ปี ง บประมาณ ๒๕๕๖

29

29


ปฏิบัติ รวมทั้งได้ด�ำเนินการกิจการพลเรือนและการปฏิบัติ การจิตวิทยาด้วยการพบปะผู้น�ำศาสนา บุคลากรการศึกษา และนักเรียน ณ ศูนย์อบรมจริยธรรมโรงเรียนสมานมิตรวิทยา ต�ำบลละหาร อ�ำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส ติดตามความ คืบหน้าการก่อสร้างปรับปรุงอาคารเรียนของตาดีกาและ ชีแ้ จงท�ำความเข้าใจกรณีเหตุการณ์ปะทะ เมือ่ ๑๓ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๕๖ ประชาชนมีความเข้าใจและมีท่าทีที่เป็นมิตร

30

ด�ำเนินงานด้านรักษาความปลอดภัยในชีวิตและ ทรัพย์สิน ได้แก่ รักษาความปลอดภัยครู โรงเรียน วัด/ ส�ำนักสงฆ์/พระสงฆ์, ชุมชนไทยพุทธ, รักษาความปลอดภัย ชุมชนเมือง, การรักษาความปลอดภัยสถานีไฟฟ้า และ การรักษาความปลอดภัยเส้นทาง ด�ำเนินงานด้านการสถาปนาอ�ำนาจรัฐ ได้แก่ การ ติดตามควบคุมตัวบุคคลเป้าหมาย การตั้งจุดตรวจ จุดสกัด ประจ�ำที่/ทางยุทธวิธี การลาดตระเวนจรยุทธ์พิสูจน์ทราบ ซุ่มโจมตี ลาดตระเวนทางน�้ำ และการกดดันด้วยการพบปะ เจรจาเยี่ยมเยียน

ผลการดำ�เนินงานของกระทรวงกลาโหม

30


จัดกิจกรรมนาวิก นาวี สัญจร เพื่อสร้างความเป็น กันเองกับประชาชนในพื้นที่เพื่อลดความหวาดระแวงต่อ เหตุการณ์ร้ายที่เกิดขึ้น และสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจระหว่าง ทหารกับประชาชน ซึ่งจะท�ำให้ประชาชนรู้สึกผ่อนคลายต่อ เหตุการณ์ความไม่สงบในพื้นที่และเกิดความรักชาติ และ ความสามัคคี จัดกิจกรรมน�ำผู้น�ำทางศาสนา (ดาอี) ในพื้นที่ รับผิดชอบหน่วยเฉพาะกิจนาวิกโยธิน ในพื้นที่ อ�ำเภอเมือง, อ�ำเภอบาเจาะ, อ�ำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส และอ�ำเภอ สายบุร,ี อ�ำเภอไม้แก่น จังหวัดปัตตานี เดินทางไปทัศนศึกษา นอกพื้นที่ ๓ จังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ ให้ผู้น�ำทางศาสนา (ดาอี) ซึ่งเป็นมวลชนส�ำคัญ เป็นที่เคารพ นับถือของประชาชนในพื้นที่ได้เปิดโลกทัศน์ และมีทัศนคติ ทีด่ ตี อ่ กองทัพเรือ รวมทัง้ ยังเป็นการเสริมสร้างความรักความ สามัคคี อันเป็นประโยชน์ในการประสานงาน และร่วมมือกัน แก้ไขปัญหาความไม่สงบในพื้นที่ภาคใต้อย่างสันติวิธี ด� ำ เนิ น การสนั บ สนุ น และช่ ว ยเหลื อ การพั ฒ นา คุณภาพชีวิตรวมถึงการช่วยเหลือประชาชนให้มีความอยู่ดี กินดีโดยใช้แนวทางตามโครงการพระราชด�ำริ “เข้าใจ เข้าถึง และพัฒนา” เป็นแนวทางในการปฏิบตั แิ ละปลูกฝังอุดมการณ์ ปกครองระบอบประชาธิปไตยและความเป็นไทย รวมทั้งใช้ ก�ำลังตัดรอนและท�ำลายกองก�ำลังติดอาวุธ และการสนับสนุน ของกลุม่ ก่อความไม่สงบทัง้ ทางบกและทางทะเลโดยประสาน การปฏิบัติกับหน่วยก�ำลังและหน่วยราชการอื่น ๆ ในพื้นที่ ประจำ � ปี ง บประมาณ ๒๕๕๖

31

31


ด�ำเนินการพบปะหารือแลกเปลี่ยนความคิดเห็น กับกลุ่มองค์กรภาคประชาชนเพื่อสันติ, กลุ่มสตรีผู้ได้รับ ผลกระทบ, กลุ่มเยาวชนท�ำดีมีอาชีพ และกลุ่มพยาบาล รักบ้านเกิด เพื่อรับทราบปัญหาข้อขัดข้อง ข้อเสนอแนะ โดย บูรณาการร่วมกันในการแก้ปัญหาในพื้นที่ และจัดตั้งกลุ่ม พลังมวลชนในพื้นที่ ณ ค่ายจุฬาภรณ์ เมื่อ ๑๐ ธันวาคม ๒๕๕๕ รวมทั้งพบปะเยี่ยมเยียนเพื่อเสริมสร้างความสัมพันธ์ อันดีกับผู้น�ำศาสนา, ผู้น�ำท้องที่, ผู้น�ำท้องถิ่น, กลุ่มอาชีพ สตรี, แกนน�ำเยาวชน, ประชาชน, ครู และนักเรียน ณ บ้านดูกสู เุ หร่า ต�ำบลบาเจาะ อ�ำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส ตามโครงการเดิ น เท้ า เข้ า ชุ ม ชน พร้ อ มกั บ มอบอุ ป กรณ์

การผลิต (จักรอุตสาหกรรม) ให้กับกลุ่มอาชีพสตรี บ้านดูกู สุเหร่า ซึง่ เป็นหมูบ่ า้ นน�ำร่อง ๑ ในจ�ำนวน ๘ หมูบ่ า้ น เพือ่ เป็นการ ขั บเคลื่ อ นงานด้า นการพั ฒ นาศั ก ยภาพทรั พ ยากรมนุ ษ ย์ โดยการน�ำวัตถุดิบในพื้นที่ซึ่งมีอยู่มาจัดท�ำเพื่อเพิ่มมูลค่า และสร้างโอกาสในการประกอบอาชีพที่มั่นคง ให้มีรายได้ และความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น รวมทั้งได้จัดชุดแพทย์เคลื่อนที่ของ หน่วยมาให้บริการด้านการแพทย์ ในการตรวจรักษาเบือ้ งต้น พร้อมกับมอบยาเวชภัณฑ์, การให้บริการตัดผมแก่เด็กและ ประชาชนทั่วไป, การมอบอุปกรณ์การเรียน และอุปกรณ์ กีฬาให้กบั นักเรียนโรงเรียนปอเนาะ บ้านดูกสู เุ หร่า, การมอบ สิ่งของอุปโภคบริโภคให้กับชุดรักษาความปลอดภัยหมู่บ้าน และมัสยิดบ้านดูกสู เุ หร่า เพือ่ น�ำไปใช้ประโยชน์เป็นส่วนรวม

ได้พบปะผู้น�ำศาสนา ผู้น�ำภาคประชาชน และ หัวหน้าส่วนราชการต่าง ๆ ในพื้นที่ อ�ำเภอบาเจาะ จังหวัด นราธิ ว าส เพื่ อ ร่ ว มกั น จั ด หาทุ น สร้ า งมั ส ยิ ด บ้ า นยะลู ต ง ต�ำบลกาเยาะมาตี อ�ำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส โดย มีวัตถุประสงค์เพื่อเสริมสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่าง เจ้าหน้าที่รัฐกับประชาชนในพื้นที่ เมื่อ ๒๐ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๕๖ และได้จัดโครงการสัมมนาผู้น�ำชุมชน โดยมีการ

32

ผลการดำ�เนินงานของกระทรวงกลาโหม

32


พบปะ เสริมสร้างความเข้าใจกับพี่น้องประชาชนหมู่ที่ ๒ บ้านแป๊ะบุญ และหมู่ที่ ๖ บ้านก�ำปงจาเราะ พร้อมกับได้ มอบสิ่งอุปกรณ์ เพื่อใช้ปรับปรุงมัสยิด และก่อสร้างห้องน�้ำ ส�ำหรับการละหมาดใหญ่ ณ มัสยิดดารุลนาอีม หมูท่ ี่ ๒ ต�ำบล บาเจาะ อ�ำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส เมือ่ ๒๔ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๕๖

ด�ำเนินการประสานบูรณาการงานรักษาความสงบ และส่งเสริมการพัฒนาในพื้นที่ ๓ จังหวัดชายแดนภาคใต้ ภายใต้กรอบนโยบายความมั่นคง โดยการมอบสิ่งของเครื่อง อุปโภคบริโภคตามกิจกรรมเสริมสร้างความเข้าใจ ในห้วง เดือนรอมฎอน เพื่อเป็นการสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่าง ประชาชนในพื้นที่กับหน่วยงานทหาร อันจะส่งผลดีต่อการ ปฏิบัติงานในอนาคตและขยายฐานมวลชนต่อไป และได้ จัดชุดแพทย์เคลื่อนที่ออกให้การรักษาพยาบาลเบื้องต้นแก่

ผู้สูงอายุและร่วมพิธีส่งชาวมุสลิม ๓ จังหวัดชายแดนภาคใต้ และ ๔ อ�ำเภอของจังหวัดสงขลา เดินทางไปประกอบพิธฮี จั ญ์ เมื่อ ๗ กันยายน พ.ศ.๒๕๕๖ ณ ท่าอากาศยานนราธิวาส โดยหน่วยเฉพาะกิจนาวิกโยธินภาคใต้ ได้จัดตั้งกองอ�ำนวย การรักษาความปลอดภัยและอ�ำนวยความสะดวกในการ เดินทางด้วย ประจำ � ปี ง บประมาณ ๒๕๕๖

33

33


กองทัพอากาศ

ด�ำเนินการจัดโครงการเยาวชนไทยใต้ฟ้าเดียวกัน ตามแผนยุทธศาสตร์กองอ�ำนวยการรักษาความมัน่ คงภายใน ณ จังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา และจังหวัด สมุทรปราการ เพือ่ ปรับเปลีย่ นทัศนคติ บทบาท มุมมอง และ ความรู้ความเข้าใจในการอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างสันติสุข ตามหลักการเรียนรู้ในเชิงประจักษ์ รวมทั้งรณรงค์และปลุก จิตส�ำนึกในความรักชาติ ความเสียสละ และเห็นแก่ประโยชน์ ส่วนรวม โดยคัดเลือกครูและนักเรียนทีเ่ ป็นแบบอย่างทีด่ ขี อง โรงเรียนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ เข้าร่วมโครงการ ดังกล่าว

ด�ำเนินการพัฒนาระบบข่าวกรองทางอากาศ และ ด�ำเนินการด้านการข่าวในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้โดย ประสานความร่วมมือกับกลุ่มประชาคมข่าวกรองในพื้นที่ และปรับปรุงเครือข่ายโทรคมนาคมภาคพื้น ด� ำ เนิ น การจั ด เครื่ อ งบิ น ปฏิ บั ติ ภ ารกิ จ ล� ำ เลี ย ง ทางอากาศ ลาดตระเวนทางอากาศ ช่วยเหลือกูภ้ ยั ปฏิบตั กิ าร จิตวิทยา และถ่ายภาพทางอากาศ เพือ่ สนับสนุนศูนย์ตดิ ตาม และสั่ ง การเพื่ อ แก้ ไ ขปั ญ หาสถานการณ์ ใ นพื้ น ที่ จั ง หวั ด ชายแดนภาคใต้ส่วนกองทัพอากาศ กองก�ำลังทางอากาศ

34

เฉพาะกิจที่ ๙ กองอ�ำนวยการรักษาความมั่นคงภายในภาค ๔ และกองบัญชาการผสมพลเรือน ต�ำรวจ ทหาร ด�ำเนินการสร้างความเข้าใจอันดีระหว่างประชาชน ในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ และกองทัพอากาศผ่าน ภารกิจด้านกิจการพลเรือน เช่น การปฏิบัติการจิตวิทยา การช่วยเหลือประชาชน การบรรเทาสาธารณภัย และการ ประชาสั ม พั น ธ์ ต ลอดจนจั ด ก� ำ ลั ง ทางอากาศที่ ส นั บ สนุ น ภารกิ จ การแก้ ไ ขปั ญ หาในพื้ น ที่ จั ง หวั ด ชายแดนภาคใต้ จ�ำนวน ๔ หน่วยบิน

ผลการดำ�เนินงานของกระทรวงกลาโหม

34


๔. เร่งฟืน ้ ฟูความสัมพันธ์และพัฒนา ความร่วมมือกับประเทศเพื่อนบ้าน และนานาประเทศ ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม

การลงนามในความตกลงว่าด้วยความร่วมมือด้าน การป้องกันประเทศระหว่างกระทรวงกลาโหมไทย - กระทรวง กลาโหมเวียดนาม (Agreement on Defence Cooperation between the Ministry of the Kingdom of Thailand and the Ministry of National Defence of the Socialst Republic of Vietnam) เมื่อ ๒๕ - ๒๗ กันยายน ๒๕๕๕ ณ สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม ซึ่งมีเนื้อหาเกี่ยวกับ กรอบความร่วมมือทางทหารระหว่างทั้งสองประเทศ ได้แก่ ด้านนโยบายและยุทธศาสตร์, การลาดตระเวนร่วม, การฝึก ศึกษา และการปฏิบัติการรักษาสันติภาพ การประชุมยุทธศาสตร์ด้านการป้องกันประเทศ ระหว่างกระทรวงกลาโหมไทย - กระทรวงกลาโหมสหรัฐฯ ครั้งที่ ๒ (2nd Thai - U.S. Defense Strategic Talks) เมื่อ ๑๖ - ๒๒ ตุลาคม ๒๕๕๕ ณ กรุงวอชิงตันดีซี สหรัฐอเมริกา เพือ่ หารือเกีย่ วกับแนวทางความร่วมมือทางทหารทีเ่ กีย่ วข้อง กับผลประโยชน์ของทั้งสองประเทศ ทั้งในด้านนโยบายและ ยุทธศาสตร์ร่วม และการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับ ความร่วมมือในภูมิภาคเอเชีย - แปซิฟิก เข้าร่วมการสัมมนาเชิงปฏิบัติการเรื่อง การสร้าง สมดุลทางยุทธศาสตร์ของสหรัฐอเมริกาในภูมิภาคเอเชีย แปซิฟิก (Us Strategic Rebalance to the Asia - Pacific) เมื่อ ๒๑ - ๒๗ ตุลาคม ๒๕๕๕ ณ เมืองโฮโนลูลู มลรัฐฮาวาย

สหรัฐอเมริกา เพื่อสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับการสร้างสมดุล ทางยุทธศาสตร์ของสหรัฐอเมริกาในภูมภิ าคเอเชีย - แปซิฟกิ และแลกเปลี่ ย นข้ อ คิ ด เห็ น ข้ อ เสนอแนะ และแนวทาง การด�ำเนินความร่วมมือในการมีส่วนร่วมของประเทศต่าง ๆ ในภูมิภาค เดินทางเยือนสาธารณรัฐอินเดียอย่างเป็นทางการ เมื่อ ๒๑ - ๒๓ ธันวาคม ๒๕๕๕ โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อ เป็ น การแลกเปลี่ ย นมุ ม มองยุ ท ธศาสตร์ พร้ อ มกั บ เสนอ แนวทางความร่วมมืออย่างเป็นทางการระหว่างประเทศไทย -

ประจำ � ปี ง บประมาณ ๒๕๕๖

35

35


สาธารณรัฐอินเดีย ทีไ่ ด้กา้ วสูป่ ที ี่ ๖๕ ซึง่ มีความส�ำคัญต่อความ สัมพันธ์เชิงยุทธศาสตร์ระหว่างทั้งสองประเทศและแสดง ความยินดีต่อความส�ำเร็จของ MOU ความร่วมมือทางทหาร และการประชุมหารือด้านการทหารในระดับเจ้าหน้าทีอ่ าวุโส ระหว่างกระทรวงกลาโหมไทย - กระทรวงกลาโหมอินเดีย

ร่ ว มประชุ ม หารื อ ด้ า นการทหารในระดั บ เจ้าหน้าที่อาวุโสระหว่างกระทรวงกลาโหม - กระทรวง กลาโหมสาธารณรัฐอินเดีย (Thailand - India High Level Defence Dialogue) ครั้งที่ ๒ เมื่อ ๑๗ - ๒๐ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๕๖ ณ ศาลาว่าการกลาโหม เพื่อส่งเสริมความ สัมพันธ์ทางทหารระหว่างกระทรวงกลาโหมทั้งสองประเทศ ให้แน่นแฟ้นยิ่งขึ้น และเป็นการเสริมสร้างความร่วมมือด้าน ความมั่นคงในระดับยุทธศาสตร์ ร่ ว มการประชุ ม คณะท� ำ งานเจ้ า หน้ า ที่ อ าวุ โ ส กลาโหมอาเซียน (ASEAN Defence Senior Officials’ M e e t i n g Wo r k i n g G r o u p : A D S O M W G )

36

เมือ่ ๔ - ๘ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๕๖ ณ กรุงบันดาร์เสรีเบกาวัน ประเทศบรูไนดารุสซาลาม เพื่อติดตามพัฒนาการความคืบ หน้าของความร่วมมือในกรอบ ADMM, พิจารณาและหารือ ในความคิดริเริ่มในกรอบ ADMM, หารือถึงร่างเอกสารแนว ความคิดว่าด้วยการเปลีย่ นผ่านประธานร่วมของคณะท�ำงาน ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านในกรอบ ADMM-Plus, พิจารณา และหารือถึงการขอเข้าร่วมเป็นสมาชิก ADMM-Plus ของ ประเทศแคนาดา, เตรียมการส�ำหรับการประชุม ADSOM เมื่อ ๒ - ๓ เมษายน พ.ศ.๒๕๕๖ และเตรียมการในการ ประชุม ADSOM-Plus เมื่อ ๔ เมษายน พ.ศ.๒๕๕๖ ส�ำหรับ การประชุม ADSOM-Plus WG

ร่วมการประชุม Japan - ASEAN Defence Vice - Ministerial Forum ครั้งที่ ๔ เมื่อ ๑๒ - ๑๔ มีนาคม พ.ศ.๒๕๕๖ ณ กรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น เพื่อแลกเปลี่ยน ความคิดเห็นระหว่างกระทรวงกลาโหมญี่ปุ่นกับกระทรวง กลาโหมประเทศสมาชิกอาเซียน ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อการ แสวงหาแนวทางในการขยายความร่วมมือเพื่อเสริมสร้าง เสถียรภาพและความมั่นคงในภูมิภาค ร่วมการประชุม Jakarta International Defence Dialogue ครั้งที่ ๓ (JIDD 2013) เมื่อ ๑๙ - ๒๓ มีนาคม พ.ศ.๒๕๕๖ ณ กรุงจาการ์ตา สาธารณรัฐอินโดนีเซีย เพื่อ ให้ เ ป็ น เวที ก ารประชุ ม ด้ า นความมั่ น คงและการพบปะ หารือส�ำหรับผู้แทนระดับรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ผู้บัญชาการทหารสูงสุด จากประเทศในภูมิภาคเอเชีย แปซิฟิก แอฟริกา และตะวันออกกลาง รวมทั้งผู้บริหาร ระดับสูงขององค์การระหว่างประเทศที่มีชื่อเสียงต่าง ๆ

ผลการดำ�เนินงานของกระทรวงกลาโหม

36


ร่วมการประชุมรัฐมนตรีกลาโหมอาเซียน (ASEAN Defence Ministers’ Meeting : ADMM) ครั้งที่ ๗ เมื่อ ๖ - ๘ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๕๖ ณ กรุงบันดาร์เสรีเบกาวัน ประเทศบรูไนดารุสซาลาม โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อรับทราบ พัฒนาการและความคืบหน้าของความร่วมมือทางทหาร ของอาเซียนและประเทศคู่เจรจาที่ด�ำเนินการผ่านกลไกการ ประชุมในกรอบ ADMM และ ASEAN Defence Ministers’ Meeting - PLUS (ADMM-Plus) ซึ่งได้แลกเปลี่ยนความคิด เห็นในมุมมองสถานการณ์ด้านความมั่นคงและความท้าทาย ด้านความมั่นคงของภูมิภาค

เสรีเบกาวัน ประเทศบรูไนดารุสซาลาม โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อเตรียมการด้านธุรการ และด้านสารัตถะ ส�ำหรับการ ประชุ ม รั ฐ มนตรี ก ลาโหมอาเซี ย น (ASEAN Defence Ministers’ Meeting : ADMM) และการประชุมรัฐมนตรี กลาโหมอาเซี ย นกั บ รั ฐ มนตรี ก ลาโหมประเทศคู ่ เ จรจา (ASEAN Defence Ministers’ Meeting - Plus : ADMM -Plus)

ด�ำเนินการจัดกิจกรรมความร่วมมือไตรภาคีระหว่าง ไทย - เมียนมาร์ - สหรัฐอเมริกา (Trilateral Cooperation ร่วมประชุมคณะกรรมการชายแดนทั่วไป ไทย - Thailand - Myanmar - the United States) เมื่อ ๒๐ กัมพูชา ครั้งที่ ๙ (General Border Committee : GBC - 9) - ๒๒ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๕๖ โดยมีผู้แทนกระทรวงกลาโหม เมื่อ ๑๖ - ๑๗ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๕๖ ณ อุทยานกอล์ฟ สาธารณรั ฐ แห่ ง สหภาพเมี ย นมาร์ และผู ้ แ ทนกระทรวง วังจันทร์ จังหวัดระยอง โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริม กลาโหมสหรัฐอเมริกา จ�ำนวนประเทศละ ๑๐ นาย รวมถึง สนับสนุนและด�ำเนินการ เพื่อให้พื้นที่ชายแดนมีความสงบ ผูแ้ ทนกระทรวงกลาโหมไทย จ�ำนวนทัง้ สิน้ ประมาณ ๔๐ นาย เรียบร้อยและมั่นคงปลอดภัย รวมทั้งกระชับความสัมพันธ์ เข้าร่วมกิจกรรมในการแลกเปลีย่ นมุมมองและประสบการณ์ ระหว่างกองทัพและหน่วยงานด้านความมั่นคงของไทยและ ต่อการปฏิบัติภารกิจการให้ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรม กัมพูชาที่เกี่ยวข้องให้แน่นแฟ้นยิ่งขึ้น และบรรเทาภัยพิบัติ (Humanitarian Assistance and Disaster Relief : HADR) โดยเฉพาะอย่างยิ่งการบริการ ด้านการแพทย์ (Medical Services) ซึ่งได้แก่ การประชุม ปรึกษาหารือในรูปแบบ Trilateral Consultation การศึกษา ดูงาน ณ สถาบันวิจยั วิทยาศาสตร์การแพทย์ทหาร กรมแพทย์ ทหารบก และการจัดกิจกรรมเสริมสร้างความสัมพันธ์ระหว่าง ผู้เข้าร่วมกิจกรรม

ร่วมการประชุมเจ้าหน้าที่อาวุโสกลาโหมอาเซียน (ASEAN Defence Senior Officials’ Meeting : ADSOM) และการประชุมเจ้าหน้าที่อาวุโสกลาโหมอาเซียนกับเจ้า หน้าที่อาวุโสกลาโหมประเทศคู่เจรจา (ASEAN Defence Senior Officials’ Meeting - Plus : ADSOM-Plus) เมื่อ ๒๘ มีนาคม - ๔ เมษายน พ.ศ.๒๕๕๖ ณ กรุงบันดาร์ ประจำ � ปี ง บประมาณ ๒๕๕๖

37

37


Staff Talks (SST) การจัดท�ำร่างขอบเขตงาน (Terms of Reference - TOR)/มาตรฐานการปฏิบัติงาน (Standard Operating Procedure : SOP) ของการฝึกร่วม/ผสม ไทย - มาเลเซีย เพื่อให้หน่วยที่บังคับใช้กฎหมายต่าง ๆ ในพื้นที่ ชายแดนน�ำไปปฏิบัติให้เกิดผลเป็นรูปธรรมโดยเร็ว และให้ คณะท�ำงานทบทวนความตกลงระหว่างรัฐบาลไทยกับรัฐบาล มาเลเซีย ว่าด้วยความร่วมมือชายแดนฉบับปัจจุบนั ด�ำรงการ ประชุมหารือกันต่อไป

กองบัญชาการกองทัพไทย

เดินทางไปประชุมหารือเพื่อความร่วมมือในการ ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดตามแนวชายแดนไทย - ลาว เมื่อ ๖ - ๗ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๕๖ ณ นครหลวงเวียงจันทน์ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว โดยฝ่ายลาวยินดีที่ จะให้การสนับสนุนและร่วมมือกับไทย ในการป้องกันและ ปราบปรามยาเสพติดภายใต้คณะกรรมการร่วมมือรักษา ความสงบเรียบร้อยตามชายแดนทั่วไป (General Border Committee : GBC) และประชุมหารือเพื่อประสานความ ร่วมมือในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดตามแนว ชายแดนไทย - กัมพูชา เมื่อ ๒๖ - ๒๗ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๕๖ ณ กรุ ง พนมเปญ ราชอาณาจั ก รกั ม พู ช า โดยส� ำ นั ก งาน คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดกัมพูชา ยินดี ให้ความร่วมมือและสนับสนุนการป้องกันและปราบปราม ยาเสพติดตามที่ไทยร้องขอ นอกจากนี้ กัมพูชาจะน�ำคณะ ผู้แทนจากหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง เดินทางมาศึกษา ดูงานด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดของไทย เพื่อก�ำหนดท่าทีในความร่วมมือระหว่างกันต่อไป จัดประชุมกองอ�ำนวยการปฏิบตั นิ โยบายชายแดน ไทยกับประเทศเพือ่ นบ้านสัญจร ครัง้ ที่ ๔/๒๕๕๖ ด้านกัมพูชา เมื่อ ๒๒ - ๒๓ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๕๖ ณ จังหวัดศรีสะเกษ และจังหวัดสุรนิ ทร์ ซึง่ ทีป่ ระชุมได้รว่ มกันพิจารณาเรือ่ งต่าง ๆ ได้แก่ ปัญหาการลักลอบตัดไม้พะยูงตามแนวชายแดนไทย กัมพูชา ปัญหาการจัดระเบียบพืน้ ทีบ่ ริเวณช่องสะง�ำ การออก หนังสือผ่านแดนชั่วคราว (Temporary Border Pass) และ ปัญหาการลักลอบเข้าเมืองโดยผิดกฎหมายอันเนื่องจากการ ใช้ตั๋วฉีกเป็นเอกสารผ่านเข้า - ออก (ไม่เป็นทางการ) ร่ ว มประชุ ม คณะท� ำ งานผู ้ เ ชี่ ย วชาญด้ า นการ จัดประชุมคณะกรรมการระดับสูง (High Level ก่ อ การร้ าย และตรวจพืน้ ทีก่ ารฝึกการต่อต้านการก่อการร้าย Committee : HLC) ไทย - มาเลเซี ย ครั้ ง ที่ ๒๙ เมื่อ ๑๙ - ๒๑ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๕๖ ณ โรงแรมดุสิตธานี เมื่อ ๑๒ - ๑๖ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๕๖ ณ กรุงจาการ์ตา กรุงเทพมหานคร มีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มความเข้มงวดและ ประเทศอินโดนีเซีย โดยมีวตั ถุประสงค์เพือ่ แลกเปลีย่ นความ ความต่อเนื่องในการลาดตระเวนชายแดน การปรับการ รู้การต่อต้านการก่อการร้าย รวมทั้งเป็นการฟื้นฟูความ ฝึกร่วม/ผสม ที่อยู่นอกพื้นที่ชายแดนให้อยู่ภายใต้ Senior สัมพันธ์ระหว่างประเทศอินโดนีเซียให้แน่นแฟ้นมากยิ่งขึ้น

38

ผลการดำ�เนินงานของกระทรวงกลาโหม

38


กองทัพบก

ด�ำเนินการฟื้นฟูความสัมพันธ์และพัฒนาความ ร่วมมือกับประเทศเพื่อนบ้านและนานาประเทศ ดังนี้ ๑. พลโท Robert Brown ผู้บัญชาการ First Corps/ ผู้บัญชาการ Joint Base Lewis - McCord รัฐวอชิงตัน สหรั ฐ อเมริ ก า เข้ าเยี่ ย มค� ำ นั บ เสนาธิ ก ารทหารบก เพื่ อ หารือข้อราชการ เมื่อ ๒ เมษายน ๒๕๕๖ ณ กองบัญชาการ กองทัพบก ๒. ผู้บัญชาการทหารบก ได้มอบหมายให้หัวหน้า ซึ่งจะท�ำการฝึกการต่อต้านการก่อการร้าย ระหว่าง ๖ - ๑๔ ศูนย์ประสานงานกับประเทศเพื่อนบ้าน ศูนย์ปฏิบัติการ กันยายน พ.ศ.๒๕๕๖ ณ ศูนย์สันติภาพและความมั่นคง กองทั พ บก เป็ น ผู ้ แ ทนร่ ว มงานฉลองเทศกาลสงกรานต์ เมือง Sentul Borgor ประเทศอินโดนีเซีย ในกรอบเกี่ยวกับ เมื่อ ๑๔ เมษายน พ.ศ.๒๕๕๖ ณ สถานเอกอัครราชทูต อาวุธ รังสี นิวเคลียร์ เคมี ชีวะ (Chemical Biological สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวประจ�ำประเทศไทย Radiological and Nuclear : CBRN) และการฝึกตาม ๓. คณะนักศึกษาปากีสถาน หลักสูตร National สถานการณ์ ๒ สถานการณ์ ได้แก่ สถานการณ์เรือบรรทุก Security and War Course (NSWC) เข้าเยี่ยมค�ำนับ ก๊าซธรรมชาติ (ZLNG Tanker Scenario) และสถานการณ์ เสนาธิการทหารบกเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลและความร่วมมือ ภั ย คุ ก คามในการจั ด การแข่ ง ขั น กี ฬ าที่ ส� ำ คั ญ ในภู มิ ภ าค ทางการศึ ก ษาในด้ า นความมั่ น คง เมื่ อ ๑๙ เมษายน (Threat Against a Major Regional Sporting Event) พ.ศ.๒๕๕๖ ณ กองบัญชาการกองทัพบก

ประจำ � ปี ง บประมาณ ๒๕๕๖

39

39


๔. พลจัตวา Franck Reignier ต�ำแหน่ง Director for Africa, Middle East, Asia, Latin America และ พันโทหญิง Nadia Piercy เข้าเยี่ยมค�ำนับผู้ช่วยเสนาธิการ ทหารบกฝ่ า ยยุ ท ธการ เพื่ อ หารื อ ข้ อ ราชการเกี่ ย วกั บ การประชุ ม 5 th Thailand - France Staff Talks เมื่อ ๒๒ เมษายน พ.ศ.๒๕๕๖ ณ กองบัญชาการกองทัพบก ฟืน้ ฟูความสัมพันธ์กบั ประเทศเพือ่ นบ้านและนานา ประเทศ ด้วยการจัดโครงการหมู่บ้านเข้มแข็งคู่ขนานตาม แนวชายแดน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเสริมสร้างความมั่นคง ความปลอดภัยในพื้นที่ชายแดน เสริมสร้างความสัมพันธ์ อันดีกบั ประเทศเพือ่ นบ้านและให้การพัฒนาระหว่างชายแดน มีความใกล้เคียงกัน ท�ำให้ลดปัญหาความมั่นคงในอนาคต รวมทั้งเตรียมความพร้อมในการก้าวสู่ประชาคมอาเซียน ๒๕๕๘ โดยมีแผนการด�ำเนินงาน แบ่งเป็น ๓ ขั้น ดังนี้

๑. ขัน้ เตรียมการ : เป็นการก�ำหนดพืน้ ทีเ่ ป้าหมาย โดย พิจารณาจากภัยคุกคามต่าง ๆ ในพื้นที่ (ปัญหายาเสพติด, แรงงานต่างด้าว และโรคระบาด) รวมทั้งความพร้อมในการ จัดตั้งเป็นหมู่บ้าน โดยใช้กลไกของคณะกรรมการร่วมใน ระดับพื้นที่ (กองก�ำลังป้องกันชายแดน, จังหวัด, หน่วยงาน ท้องถิ่น, หน่วยงานประเทศเพื่อนบ้าน) ทั้งนี้จะต้องผ่านการ รับรองจากทั้ง ๒ ฝ่าย ๒. ขั้ น การด� ำ เนิ น การ : เป็ น การบู ร ณาการร่ ว ม กับส่วนราชการ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้น�ำชุมชน ตลอดจนราษฎรในพื้ น ที่ ข องทั ้ ง สองประเทศ ในการจั ด

40

กิจกรรมต่าง ๆ ร่วมกัน โดยค�ำนึงถึงสภาพแวดล้อมทาง สังคม ประเพณี และวัฒนธรรมในพื้นที่ รวมทั้งน้อมน�ำ ยุทธศาสตร์พระราชทาน เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา และหลัก ปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอเพี ย งมาเป็ น กรอบแนวทางในการ ด�ำเนินงาน โดยในปี ๒๕๕๖ มีแผนการด�ำเนินงานรวมทั้งสิ้น ๑๒๓ หมูบ่ า้ น เป็นการด�ำเนินการในพืน้ ทีเ่ ดิมเพือ่ ด�ำรงความ ต่อเนือ่ งจากปีทผี่ า่ นมา ๑๐๙ หมูบ่ า้ น และด�ำเนินการในพืน้ ที่ ใหม่ ๑๔ หมู่บา้ น ๓. ขัน้ การติดตามประเมินผล : เป็นการวัดระดับความ ส�ำเร็จของการด�ำเนินการ ทั้งเชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพ โดยเน้นผลสัมฤทธิข์ องโครงการเป็นหลัก ซึง่ โครงการดังกล่าว สามารถสร้างความสัมพันธ์ทดี่ กี บั ส่วนราชการ และประชาชน ของประเทศเพื่อนบ้านในระดับพื้นที่ได้เป็นอย่างดี ด�ำเนินการฟื้นฟูความสัมพันธ์และพัฒนาความ ร่ ว มมื อ กั บ ประเทศเพื่ อ นบ้ า นและนานาประเทศโดย เข้าร่วมการประชุมผูบ้ ญ ั ชาการทหารบกกลุม่ ประเทศอาเซียน ครั้งที่ ๑๓ (ACAMM XIII) เมื่อ ๑๔ - ๑๗ ตุลาคม ๒๕๕๕ ณ ประเทศบรูไนดารุสซาลาม ด�ำเนินการจัดท�ำหลักการก�ำหนดแนวทางปฏิบัติ ของกองทัพบก เพื่อรองรับการจัดตั้งประชาคมอาเซียนในปี ๒๕๕๘ สรุปได้ดังนี้ ๑. แนวทางการด�ำเนินการโดยทั่วไป จ�ำนวน ๗ ข้อ ได้แก่ ๑) การยึดถือกรอบนโยบายทีเ่ กีย่ วข้อง ๒) การด�ำเนินการ ให้สอดคล้องกับกรอบการประชุมรัฐมนตรีกลาโหมอาเซียน (ASEAN Defence Ministers’ Meeting : ADMM) และ รั ฐ มนตรี ก ลาโหมอาเซี ย นกั บ ประเทศคู ่ เ จรจา (ASEAN Defence Ministers’ Meeting - Plus : ADMM-Plus) ๓) การเสริมสร้างกลไกความสัมพันธ์และความร่วมมือที่มี อยู่เดิม ๔) การก�ำหนดกลไกความสัมพันธ์และความร่วมมือ ขึ้นใหม่ ๕) การพิจารณาใช้ศักยภาพและขีดความสามารถ ที่มีอยู่ ๖) ยึดถือโครงสร้างการจัดหน่วยของกองทัพบก และ ๗) การจัดตั้งหน่วยงานตามผลการทบทวนแผนแม่บทการ ปรับปรุงโครงสร้างกระทรวงกลาโหม พ.ศ.๒๕๕๐

ผลการดำ�เนินงานของกระทรวงกลาโหม

40


๒. แนวทางการด� ำ เนิ น การเฉพาะด้ า น ได้ แ ก่ ๑) การขออนุมัติแนวทางการจัดท�ำแผนในการเปลี่ยนผ่านไปสู่ การเป็นประชาคมอาเซียนในปี ๒๕๕๘ และ ๒) การจัด ประชุมเชิงปฏิบัติการของกรมฝ่ายเสนาธิการและหน่วยที่ เกี่ยวข้อง เพื่อก�ำหนดแผนงาน/กิจกรรม กรอบเวลาในการ ด�ำเนินการตามแผนดังกล่าว จั ด ท� ำ แผนงานพั ฒ นาความสั ม พั น ธ์ กั บ ราช อาณาจักรกัมพูชา โดยก�ำหนดกรอบการสนับสนุนค่าใช้จ่าย หลักสูตรหลักประจ�ำโรงเรียนเสนาธิการทหารบก เกีย่ วกับค่า ใช้จา่ ยประจ�ำตัวของนายทหารนักเรียน ซึง่ ปัจจุบนั อยูร่ ะหว่าง ท�ำความตกลงกับกระทรวงการคลัง

กองทัพเรือ

ผู้บัญชาการฐานทัพเรือกรุงเทพ ให้การต้อนรับ ผู้บัญชาการหมู่เรือและผู้บัญชาการเรือ KD TERENGGANU กองทัพเรือมาเลเซีย เมื่อ ๔ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๕๖ ณ ห้อง รับรองกองบัญชาการฐานทัพเรือกรุงเทพ

รองผู ้ บั ญ ชาการกองเรื อ ทุ ่ น ระเบิ ด เข้ า ร่ ว ม สัมมนาเชิงปฏิบัติการ Maritime Security Cooperation Workshop (MSCW) เมื่อ ๒๒ มิถุนายน - ๗ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๕๖ โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ พั ฒ นาความเข้ า ใจ กฎหมายระหว่างประเทศทีส่ ำ� คัญในการปฏิบตั กิ ารทางทะเล และส่งเสริมความร่วมมือระดับภูมิภาคในเอเชียแปซิฟิก

รองผู ้ บั ญ ชาการกองการฝึ ก กองเรื อ ยุ ท ธการ ให้การรับรอง นาวาเอก Jonathan Dudley ผู้ช่วยทูต ทหารออสเตรเลี ย /กรุ ง เทพฯ และพั น จ่ า เอก (พิ เ ศษ) Steven Reid เมื่ อ ๒๔ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๕๖ ณ ห้ อ งสมุ ด กองการฝึ ก กองเรื อ ยุ ท ธการ อ� ำ เภอสั ต หี บ จั ง หวั ด ชลบุ รี เพื่ อ หารื อ เกี่ ย วกั บ Boarding Party Training และเยี่ ย มชมสถานที่ ฝ ึ ก อบรมภาษาอั ง กฤษ กองการฝึก กองเรือยุทธการ คณะท�ำงานร่วมกองทัพเรือไทย - กองทัพเรือ สิงคโปร์ เดินทางเข้าร่วมประชุมคณะท�ำงานฯ ครั้งที่ ๑๕ เมื่อ ๒๙ กรกฎาคม - ๒ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๕๖ ณ สาธารณรัฐ สิงคโปร์ โดยมี นาวาเอก เชิงชาย ชมเชิงแพทย์ รองเจ้ากรม ยุทธการทหารเรือ เป็นหัวหน้าคณะ ซึง่ ประชุมเกีย่ วกับกรอบ ความร่วมมือด้านการฝึกการส่งก�ำลังบ�ำรุง โครงการศึกษา อบรม และการปฏิบัติการต่าง ๆ ผู ้ บั ญ ชาการทั พ เรื อ ภาคที่ ๓ รั บ เยี่ ย มค� ำ นั บ จาก นาวาเอก AUNG ZAW HLANG ผู้บัญชาการหมู่ เรื อ กองทั พ เรื อ สาธารณรั ฐ แห่ ง สหภาพเมี ย นมาร์ และผู ้ บั ง คั บ การเรื อ จ� ำ นวน ๒ ล� ำ ประกอบด้ ว ยเรื อ

ประจำ � ปี ง บประมาณ ๒๕๕๖

41

41


สาธารณรัฐอินเดียกับประเทศไทยที่มีให้กันมานาน จึงนับว่า เป็นโอกาสที่ดีในการเสริมสร้างความสัมพันธ์ของทั้งสอง ประเทศ หมู ่ เ รื อ ฝึ ก โรงเรี ย นนายเรื อ จอดเรื อ เที ย บท่ า ที่ฐานทัพเรือมัวรา ประเทศบรูไนดารุสซาลาม เมื่อ ๒๑ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๕๖ โดยมีนาวาเอก ปกครอง มนธาตุผลิน ผูช้ ว่ ยทูตทหารเรือไทย/กัวลาลัมเปอร์ ให้การต้อนรับ ในการนี้ พลเรือตรี สุชีพ หวังไมตรี ผู้บังคับหมู่เรือฝึกโรงเรียนนายเรือ ได้เข้าเยี่ยมค�ำนับ ผู้บัญชาการทหารสูงสุด และผู้บัญชาการ ทหารเรือบรูไน

UMS 561 และเรือ UMS 562 ในโอกาสเดินทางเข้าเยี่ยม ประเทศไทย เพื่อกระชับความสัมพันธ์ระหว่างกองทัพเรือ ทั้ง ๒ ประเทศ เมื่อ ๒๐ - ๒๓ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๕๖ ณ กองบัญชาการทัพเรือภาคที่ ๓ ต�ำบลวิชิต อ�ำเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต การเยือนประเทศไทยของหมู่เรือกองทัพเรือ สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ในครั้งนี้นับเป็นครั้งแรกใน ประวัติศาสตร์ที่เรือรบของกองทัพเรือแห่งสหภาพเมียนมาร์ เข้าเยี่ยมประเทศไทย ผู้บัญชาการทัพเรือภาคที่ ๓ รับการเยี่ยมค�ำนับ จาก นาวาเอก Mohammad Musa. (G). ผู้บังคับการ เรื อ BNS DHALESHWARI กองทั พ เรื อ สาธารณรั ฐ ประชาชนบังคลาเทศ โอกาสเข้าเยี่ยมประเทศไทย เมื่อ ผู้บัญชาการทหารเรือ ให้การต้อนรับ พลเรือตรี ๓๑ มี น าคม - ๕ เมษายน พ.ศ.๒๕๕๖ เพื่ อ กระชั บ Ng Chee Peng ผู ้ บั ญ ชาการทหารเรื อ สิ ง คโปร์ และ ความสัมพันธ์รวมทั้งรับการส่งก�ำลังบ�ำรุงและให้ก�ำลังพล ภริยา พร้อมคณะ ในโอกาสเดินทางมาเยือนประเทศไทย ประจ�ำเรือพักผ่อนภายหลังจากการเดินทาง อย่างเป็นทางการ เมื่อ ๕ มิถุนายน พ.ศ.๒๕๕๖ ณ ห้อง รั บ รองกองบั ญ ชาการกองทั พ เรื อ พระราชวั ง เดิ ม เขต บางกอกใหญ่ กรุงเทพมหานคร พร้อมมอบและประดับเครือ่ ง ราชอิสริยาภรณ์ชั้นประถมาภรณ์มงกุฎไทย (ป.ม.) อีกทั้ง เป็นการเสริมสร้างและกระชับความสัมพันธ์อันดี ระหว่าง กองทัพเรือไทยกับกองทัพเรือสิงคโปร์ให้แน่นแฟ้น

ให้การต้อนรับ นาย Anil Wadhwa เอกอัครราชทูต อิ น เ ดี ย ป ร ะ จ� ำ ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย แ ล ะ C o m m a n d e r N ShyamSundar ผู้บังคับการเรือ INS SUDARSHINI และ คณะ ในโอกาสน�ำเรือใบฝึกนักเรียนนายเรือสาธารณรัฐอินเดีย ชือ่ เรือ INS SUDARSHINI เข้าเยีย่ มประเทศไทย เมือ่ ๒๓ - ๒๖ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๕๖ เพือ่ แสดงความสัมพันธ์อนั ใกล้ชดิ ทีม่ ี มาอย่างยาวนานระหว่างสาธารณรัฐอินเดียกับประเทศไทย และเพื่อร�ำลึกถึงความร่วมมือทางการค้าทางทะเลระหว่าง

42

ผลการดำ�เนินงานของกระทรวงกลาโหม

42


ผู้บัญชาการทัพเรือภาคที่ ๒/ผู้บัญชาการหน่วย ปฏิ บั ติ ก ารภาคใต้ ประธานคณะท� ำ งานร่ ว มทางทะเล (ฝ่ายไทย) ร่วมกับประธานคณะท�ำงานร่วมทางทะเลฝ่าย มาเลเซี ย พร้ อ มคณะ ร่ ว มประชุ ม คณะท� ำ งานทางทะเล ไทย - มาเลเซีย ครั้งที่ ๖๓ เมื่อ ๑๑ - ๑๓ มิถุนายน พ.ศ.๒๕๕๖ ณ โรงแรมเอวัน พัทยา บีช รีสอร์ท เมือง พั ท ยา จั ง หวั ด ชลบุ รี โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ สร้ า งเครื อ ข่ายในการด�ำเนินการด้านความมั่นคงทางทะเลระหว่าง ไทย - มาเลเซีย หลังใหม่ กรุงเทพมหานคร เพื่อกระชับความสัมพันธ์และ แสวงหาความมือระหว่างกองทัพเรือของทั้งสองประเทศ เสนาธิ ก ารทั พ เรื อ ภาคที่ ๒ และ FADM (MARITIME) NASIR BIN ADAM หัวหน้าหน่วยยามฝั่ง เขตตะวั น ออก ประเทศมาเลเซี ย เป็ น ประธานร่ ว ม พิธีเปิดการฝึก SEAEX THAMAL ครั้งที่ ๕๖ เมื่อ ๒๓ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๕๖ ณ ท่าเทียบเรือ ฐานทัพเรือสงขลา อ�ำเภอเมือง จังหวัดสงขลา

ผู ้ บั ญ ชาการทั พ เรื อ ภาคที่ ๑ และคณะ เดิ น ทางไปพบปะเยี่ยมเยียน พลเรือโท Nor Wunta Deputy Commander Tactical Headquarters Secretariat, General of National Committee for Maritime Securit เมื่อ ๗ - ๙ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๕๖ ณ จังหวัดเสียมราฐ ราชอาณาจั ก รกั ม พู ช า เพื่ อ หารื อ การจั ด กิ จ กรรมการ เสริมสร้างความร่วมมือในด้านต่าง ๆ เจ้ า กรมยุ ท ธการทหารเรื อ เป็ น หั ว หน้ า คณะ ฝ่ายไทย และพลเรือจัตวา Tin Aung San หัวหน้านาย ทหารฝ่ า ยเสนาธิ ก ารประจ� ำ ผู ้ บั ญ ชาการกองทั พ เรื อ สาธารณรั ฐ แห่ ง สหภาพเมี ย นมาร์ เป็ น หั ว หน้ า คณะ ฝ่ า ยเมี ย นมาร์ จั ด การประชุ ม Navy to Navy Talks ครั้งที่ ๑ เมื่อ ๒๐ - ๒๓ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๕๖ ณ ห้องประชุม กรมยุทธการทหารเรือ อาคารกองบัญชาการกองทัพเรือ

ผู ้ บั ญ ชาการกองเรื อ ยกพลขึ้ น บกและยุ ท ธ บริการ กองเรือยุทธการ เป็นประธานในการประชุมวางแผน ขั้นต้น การฝึกคอบร้าโกลด์ ๑๔ เมื่อ ๒๖ - ๓๑ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๕๖ ณ โรงแรมอิมพีเรียล ควีนสปาร์ค กรุงเทพ มหานคร เพื่อเสริมสร้างความสัมพันธ์อันดีกับมิตรประเทศ ประจำ � ปี ง บประมาณ ๒๕๕๖

43

43


จ�ำนวน ๖ ประเทศ ซึ่งประกอบด้วยสหรัฐอเมริกา สิงคโปร์ ญี่ปุ่น อินโดนีเซีย มาเลเซียและสาธารณรัฐเกาหลี รองเจ้ า กรมยุ ท ธการทหารเรื อ เป็ น หั ว หน้ า คณะผู ้ แ ทนกองทั พ เรื อ เดิ น ทางไปร่ ว มการประชุ ม Navy to Navy Staff Talks ครั้งที่ ๒ เมื่อ ๒๘ - ๓๑ สิ ง หาคม พ.ศ.๒๕๕๖ ณ กรุ ง โตเกี ย ว ประเทศญี่ ปุ ่ น โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ หารื อ การจั ด ท� ำ ร่ า งขอบเขตงาน (Term of Reference : TOR) และความร่วมมือในด้านต่าง ๆ ร่วมกัน บนพื้นฐานนโยบาย/กรอบความร่วมมือระหว่าง ประเทศที่ มี อ ยู ่ ข องแต่ ล ะฝ่ า ย อั น จะท� ำ ให้ ก องทั พ เรื อ มีแนวทางในการด�ำเนินความร่วมมือระหว่างกองทัพเรือ ไทยกับกองทัพเรือญี่ปุ่น ที่ชัดเจนและเป็นรูปธรรม

สหภาพเมียนมาร์ เมื่อ ๑๓ - ๑๗ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๕๖ ณ สถานรับเลี้ยงเด็กบ้านมะลิวัลย์ โรงพยาบาลเกาะสอง โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มความสัมพันธ์และสร้างความ เข้ า ใจกั บ ประชาชนในพื้ น ที่ ให้ ป ระสานความร่ ว มมื อ ดําเนินกิจกรรมร่วมกัน อีกทั้งเป็นการแลกเปลี่ยนความคิด หรือแนวทางในการพัฒนาชุมชนและความร่วมมือในอนาคต โดยปราศจากความขัดแย้ง อยู่ร่วมกันอย่างสันติ ยอมรับ กองทัพเรือภาคที่ ๓ ร่วมการฝึกผสม ระหว่าง ในความหลากหลายของวิ ถี ชุ ม ชน และสามารถเผชิ ญ กองทัพเรือไทยกับกองทัพเรือมาเลเซีย ภายใต้รหัสการฝึก ภัยคุกคามรูปแบบต่าง ๆ ร่วมกัน นอกจากนี้ ยังเป็นการขยาย SEAEX THAMAL 55/2013 เมื่อ ๓ - ๑๐ เมษายน ๒๕๕๖ พื้นที่ความร่วมมือตามแนวชายแดนทางทะเลที่สําคัญ ณ กองบัญชาการทัพเรือภาคที่ ๓ จังหวัดภูเก็ต ด� ำ เนิ น การขยายความร่ ว มมื อ กั บ กองทั พ เรื อ กองบั ญ ชาการป้ อ งกั น ชายแดนจั น ทบุ รี แ ละ ในภูมิภาค และกองทัพเรือมิตรประเทศ รวมทั้งองค์กร ตราด จัดการประชุมคณะกรรมการชายแดนส่วนภูมิภาค ระหว่างประเทศในทุก ๆ ด้าน เช่น การประชุม/สัมมนา/ ไทย - กัมพูชา ครั้งที่ ๑๔ (RBC - 14) กับภูมิภาคทหารที่ ๓ การศึกษา ที่กองทัพเรือมีส่วนร่วมโดยเร่งรัดปรับปรุง ขยาย ราชอาณาจักรกัมพูชา โดยประธานฝ่ายไทย คือ พลเรือโท ความร่วมมือเดิมที่มีอยู่ให้มีการพัฒนากรอบการด�ำเนินการ สนธยา น้อยฉายา ผู้บัญชาการป้องกันชายแดนจันทบุรีและ ให้มากยิ่งขึ้น รวมถึงริเริ่มความร่วมมือใหม่ในการสร้างความ ตราด และประธานฝ่ายกัมพูชา คือ พลเอก เยือง โซะคน ไว้เนื้อเชื่อใจ สร้างสันติภาพ เสถียรภาพ และความมั่นคง ซึ่ง ผู้บัญชาการภูมิภาคทหารที่ ๓ เมื่อ ๒๓ - ๒๕ เมษายน ได้มกี ารลาดตระเวนร่วม และร่วมกิจกรรมต่าง ๆ โดยทัพเรือ พ.ศ.๒๕๕๖ ณ โรงแรมทาวน์ อิน ทาวน์ พัทยา อ�ำเภอบางละมุง ภาคที่ ๒ และกองบัญชาการป้องกันชายแดนจันทบุรแี ละตราด จั ง หวั ด ชลบุ รี เพื่ อ เสริ ม สร้ า งความร่ ว มมื อ ทั้ ง สองฝ่ า ย ด�ำเนินการด้านความสัมพันธ์ทางการทูตฝ่ายทหาร อันจะก่อให้เกิดเสถียรภาพ และความมัน่ คงในพืน้ ทีต่ ามแนว กับกองทัพมิตรประเทศอย่างต่อเนื่องสอดคล้องกับนโยบาย ชายแดน ด้านความมั่นคงของชาติ โดยทัพเรือภาคที่ ๓ ได้จัดหมู่เรือ ด�ำรงความร่วมมือกับประเทศต่าง ๆ อย่างต่อเนือ่ ง เดิ น ทางเยี่ ย มเมื อ งท่ า ย่ า งกุ ้ ง สาธารณรั ฐ แห่ ง สหภาพ ทั้งการแลกเปลี่ยนการเยี่ยมเยือนของผู้บังคับบัญชาระดับ เมียนมาร์ เมื่อ ๗ - ๑๔ มีนาคม พ.ศ.๒๕๕๖ มีวัตถุประสงค์ ต่าง ๆ การฝึกศึกษา และการปฏิบัติการร่วม นอกจากนี้ เพื่อเสริมสร้างความสัมพันธ์อันดีในโอกาสครบรอบความ ได้ด�ำเนินกิจกรรมสร้างความสัมพันธ์กับสาธารณรัฐแห่ง สัมพันธ์ ๖๕ ปี ของกองทัพทั้งสองประเทศ

44

ผลการดำ�เนินงานของกระทรวงกลาโหม

44


ภายในงานได้มีการแสดงอาวุธยุทโธปกรณ์ทางทะเล รวมทั้ง การฝึกตรวจค้นและวางแผนร่วมกับต่างชาติ ประชุ ม หั ว หน้ า เจ้ าหน้ าที่ ร ะดั บ ปฏิ บั ติ ก ารของ กองทัพเรือภูมภิ าคแปซิฟกิ ตะวันตก ประจ�ำปี พ.ศ.๒๕๕๖ หรือ Western Pacific Naval Symposium (WPNS) Workshop 2013 ซึ่งกองทัพเรือไทยเป็นเจ้าภาพ เมื่อ ๒๒ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๕๖ ณ โรงแรมรอยัล ออร์คิด เชอราตัน แอนด์ ทาวเวอร์ กรุงเทพมหานคร ซึ่งมีคณะเจ้าหน้าที่ระดับปฏิบัติ การจากกองทัพเรือประเทศภาคีเข้าร่วมการประชุม จ�ำนวน ๒๔ ประเทศ และประเทศสังเกตการณ์ ๓ ประเทศ ส�ำหรับ ในการประชุมครั้งนี้ มีเนื้อหาสาระเกี่ยวกับแนวคิดริเริ่ม การบูรณาการก�ำลังผสมทางเรือ เพื่อปฏิบัติการช่วยเหลือ ด้านมนุษยธรรมและการบรรเทาภัยพิบตั ิ (Maritime Forces Integration Initiative for Humanitarian Assistance and Disaster Relief : MAFII HA/DR) จั ด หน่ ว ยเรื อ ฝึ ก นายทหารนั ก เรี ย นหลั ก สู ต ร ประกาศนี ย บั ต ร ฝึ ก ภาคปฏิ บั ติ ใ นทะเลต่ า งประเทศ ตามหลั ก สู ต รประกาศนี ย บั ต รบั ณ ฑิ ต ศึ ก ษา ประจ� ำ ปี การศึกษา ๒๕๕๖ รวมทั้งเข้าร่วมพิธีสวนสนามทางเรือ และ การฝึกผสม ระหว่าง ๒ กันยายน - ๑๔ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๕๖ ร่ ว มงานนิ ท รรศการทางเรื อ International ณ เครือรัฐออสเตรเลีย โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นการฝึก Maritime Defence Exhibition (IMDEX) ASIA 2013 โดยส่ง อบรมภาคปฏิบัติในทะเล เเละเพิ่มพูนความรู้ประสบการณ์ เรือหลวงรัตนโกสินทร์เข้าร่วมในงานดังกล่าว ณ สาธารณรัฐ ด้ ว ยการปฏิ บั ติ ง านจริ ง บนเรื อ ให้ กั บ นายทหารนั ก เรี ย น สิงคโปร์ เมื่อ ๑๙ - ๒๒ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๕๖ ทั้งนี้ หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตศึกษา ตลอดจนเป็นการ ประจำ � ปี ง บประมาณ ๒๕๕๖

45

45


ร่ ว มกั บ กองทั พ เรื อ อิ น โดนี เ ซี ย ท� ำ การฝึ ก ผสม SEA GARUDA 2013 เมื่อ ๙ - ๑๘ กันยายน พ.ศ.๒๕๕๖ ณ เมืองสุราบายา สาธารณรัฐอินโดนีเซีย โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ เพิ่มพูนประสบการณ์ให้แก่ก�ำลังพล และพัฒนาการปฏิบตั กิ ารทางเรือสาขาต่าง ๆ เช่น การปราบ เรือด�ำน�้ำ การรบผิวน�้ำ การป้องกันภัยทางอากาศ และการ ตรวจค้นการค้นหาและช่วยเหลือผูป้ ระสบภัยในทะเล รวมทัง้ เสริมสร้างความสัมพันธ์อนั ดีในการปฏิบตั กิ ารร่วมกันระหว่าง กองทัพเรือทั้งสองประเทศ เสริมสร้างความสัมพันธ์อันดีกับกองทัพเรือมิตรประเทศ ในโอกาสที่แวะเยี่ยมเมืองท่าต่าง ๆ การฝึกผสม SEACAT 2013 (Southeast Asia Cooperation Against Terrorism) ระหว่างกองทัพเรือ สหรัฐอเมริกา และกองทัพเรือภูมิภาคอาเซียน ณ พื้นที่ทาง ทะเลของแต่ละประเทศ เมื่อ ๑๓ กันยายน พ.ศ.๒๕๕๖ ณ สาธารณรัฐสิงคโปร์ ซึ่งในประเทศไทยท�ำการฝึกบริเวณ เกาะภูเก็ต และพื้นที่ใกล้เคียง

46

กองทัพอากาศ

ด�ำเนินความร่วมมือด้านความสัมพันธ์กับกองทัพ อากาศมิตรประเทศ โดยการฝึกผสม Elang Thainesia XVI เมื่อ ๒๔ มิถุนายน - ๕ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๕๖ ณ ฐานทัพ อากาศ Roesmin Nurjadin เมือง Pekanbaru สาธารณรัฐ อินโดนีเซีย, การฝึกผสม AIR THAISING 1/83 ร่วมกับกองทัพ อากาศสิงคโปร์, การฝึกปัญหาที่บังคับการ (Command Post Exercise : CPX) เมื่อ ๑๐ - ๑๖ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๕๖

ผลการดำ�เนินงานของกระทรวงกลาโหม

46


ณ ฐานทัพอากาศ PAYA LEBAR ประเทศสิงคโปร์, การฝึกผสม Cope Tiger 13 เมื่อ ๑๑ - ๒๒ มีนาคม พ.ศ.๒๕๕๖ และ การฝึกภาคปฏิบัติการบิน (Air Maneuvering Exercise : AMX) ระหว่าง ๒๖ สิงหาคม - ๖ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๕๖ ณ กองบิน ๑ จังหวัดนครราชสีมา ด�ำเนินการจัดตั้งคณะกรรมการอาเซียนกองทัพ อากาศ และการจัดท�ำยุทธศาสตร์กองทัพอากาศ เพื่อเข้าสู่ ประชาคมอาเซียน พ.ศ.๒๕๕๖ ถึง ๒๕๖๕

ด�ำเนินความร่วมมือด้านความสัมพันธ์กบั ผูช้ ว่ ยทูต ทหารต่างประเทศ ณ กรุงเทพฯ และกองทัพอากาศมิตร ประเทศ รวมทัง้ จัดก�ำลังพลเข้าร่วมปฏิบตั หิ น้าทีส่ งั เกตการณ์ ทางทหารในซูดาน

ประจำ � ปี ง บประมาณ ๒๕๕๖

47

47


๕. ป้องกันและปราบปรามการทุจริต และประพฤติมิชอบในภาครัฐอย่าง จริงจัง

จัดท�ำระเบียบศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริต กลาโหม ว่ า ด้ ว ยจรรยาบรรณของผู ้ ป ฏิ บั ติ ง านในศู น ย์ ปฏิบตั กิ ารต่อต้านการทุจริตกลาโหม พ.ศ. .... เพือ่ ให้ขา้ ราชการ ในศู น ย์ ป ฏิ บั ติ ก ารต่ อ ต้ า นการทุ จ ริ ต กลาโหม ได้ ยึ ด ถื อ และประพฤติเป็นแบบอย่างในการปฏิบัติราชการ ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ด� ำ เนิ น การจั ด ท� ำ หนั ง สื อ เวี ย นแจ้ ง การจั ด ท� ำ ด�ำเนินการจัดท�ำแผนปฏิบัติราชการและค�ำขอ งบประมาณรายจ่ายประจ�ำปีงบประมาณ ๒๕๕๗ กิจกรรม หลักเกณฑ์การค�ำนวณราคากลางของทางราชการตามที่ หลักการต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่น โดยปลัดกระทรวง คณะรัฐมนตรีให้ความเห็นชอบในหลักเกณฑ์ที่กระทรวง กลาโหม ได้กรุณาอนุมัติให้จัดตั้งศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการ การคลังเสนอ เพือ่ ให้สว่ นราชการในกระทรวงกลาโหมทราบ ทุจริตคอร์รัปชั่นกลาโหม อัตราเพื่อพลาง ซึ่งเริ่มปฏิบัติงาน และยึดถือปฏิบัติต่อไป เมื่อ ๒๕ เมษายน พ.ศ.๒๕๕๖ โดยแบ่งส่วนราชการเป็น กองทัพบก ๒ ส่วน ได้แก่ ส่วนงานป้องกันและปราบปรามการทุจริตและ จัดท�ำแผนงานการป้องกันและปราบปรามการ ประพฤติมชิ อบ และ ส่วนงานส่งเสริมและคุม้ ครองจริยธรรม ทุจริต โครงการแผนปฏิบัติการการป้องกันและปราบปราม ปัจจุบันอยู่ระหว่างด�ำเนินการขออนุมัติตัวบุคคล รวมทั้งได้ การทุจริต และกฎบัตรสร้างความโปร่งใสต่อต้านการทุจริต มี ก ารปลู ก จิ ต ส� ำ นึ ก ด้ า นคุ ณ ธรรมและจริ ย ธรรม เพื่ อ ให้ คอร์รัปชั่นภายในกองทัพบก โดยจัดการอบรมให้ก�ำลังพลมี ก�ำลังพลเข้าใจในหลักธรรมค�ำสอนทางพระพุทธศาสนาแล้ว ความรู้ ความเข้าใจในการด�ำรงชีวิตตามแนวทางเศรษฐกิจ น�ำมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ�ำวันและในการปฏิบัติหน้าที่ พอเพี ย ง และจั ด การอบรมให้ ก� ำ ลั ง พลรั บ รู ้ ถึ ง โทษภั ย ราชการได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม ทั้งนี้ ได้สอดแทรก กฎหมาย ระเบียบ ค�ำสั่งของทางราชการที่เกี่ยวข้องกับ ค� ำสอนทางพระพุทธศาสนาเกี่ยวกับ ความซื่อสั ต ย์ สุ จ ริ ต การทุจริตคอร์รัปชั่น รวมทั้งจัดก�ำลังพลเข้ารับการอบรม การละอายและเกรงกลั ว ต่ อ บาป โดยด� ำ เนิ น การอบรม ศีลธรรม และร่วมกิจกรรรมทางศาสนาเป็นประจ�ำทุกวัน ศีลธรรมให้แก่ก�ำลังพลในสังกัด และได้สอดแทรกหลักธรรม ส�ำคัญ นอกจากนี้ ยังก�ำกับดูแล ความประพฤติให้เป็น ค�ำสอนทางพระพุทธศาสนา เช่น การปฏิบัติตนให้เป็นคนดี ไปตามระเบียบกระทรวงกลาโหมว่าด้วยประมวลจริยธรรม ความซื่อสัตย์สุจริต เป็นต้น และกฎหมายว่าด้วยวินัยทหาร ประชุมพิจารณาแนวทางการจัดการเรือ่ งร้องเรียน ด้านการทุจริตในกระทรวงกลาโหม โดยเชิญผู้แทนหน่วย ขึ้นตรงกระทรวงกลาโหม เข้าร่วมพิจารณา เมื่อ ๙ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๕๖ ณ ห้ อ งประชุ ม กรมเสมี ย นตรา ส� ำ นั ก งาน ปลัดกระทรวงกลาโหม

48

ผลการดำ�เนินงานของกระทรวงกลาโหม

48


ด�ำเนินการจัดตัง้ “ศูนย์ประสานราชการใสสะอาด กองทัพบก” ด�ำเนินงานเกี่ยวกับการป้องกันและปรามปราม การทุจริตภายในกองทัพบก ตามแผนป้องกันและปราบปราม การทุจริตภาครัฐ ประจ�ำปีงบประมาณ ๒๕๕๕ และต่อเนื่อง มาจนถึงในปี พ.ศ.๒๕๕๖ โดยออกแบบระบบการรับเรือ่ งร้อง เรียนทางระบบสารสนเทศ พร้อมอบรมเจ้าหน้าที่สนับสนุน ให้แก่หน่วยขึ้นตรง ทั้งในเรื่องเทคนิคการติดตั้งและใช้งาน ระบบ รวมถึงการด�ำเนินการต่อเรื่องร้องเรียนของหน่วย ขึ้นตรง พร้อมทั้งจัดการประชุมคณะท�ำงานส�ำรวจความ โปร่งใสหน่วยงานภาครัฐของกองทัพบก เพื่อด�ำเนินการ ตอบแบบส�ำรวจความโปร่งใสของหน่วยงานภาครัฐ พร้อมส่ง เอกสารประกอบตามแบบทีส่ ำ� นักงานคณะกรรมการป้องกัน และปราบปรามการทุจริตแห่งชาติก�ำหนด

แก่หอ้ งแถวทีด่ ำ� เนินการตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงทีไ่ ด้ผลดี ท�ำให้ก�ำลังพล และครอบครัวมีความรู้ไปปฏิบัติได้ผลอยู่ใน เกณฑ์ดี ส่งเสริมการเรียนรู้ตามหลักคุณธรรม จริยธรรม และวินัยแก่ก�ำลังพล โดยส่งเสริมให้ก�ำลังพลของหน่วย มีจิตส�ำนึกด้านคุณธรรม โดยการจัดก�ำลังพลร่วมพิธีทาง ศาสนาในทุกโอกาส, ก�ำหนดให้มีการสวดมนต์ไหว้พระ ทุกวันอังคาร และได้นิมนต์พระสงฆ์มาอบรมศีลธรรมแก่ ก�ำลังพลภายในหน่วยเดือนละ ๑ ครัง้ ซึง่ สามารถท�ำให้กำ� ลังพล น�ำค�ำสอนของศาสนามาใช้ในการด�ำเนินชีวติ ประจ�ำวัน รวมทัง้ ก� ำ กั บ ดู แ ลความประพฤติ ก ารปฏิ บั ติ ต นของก� ำ ลั ง พล ให้เป็นไปตามระเบียบกระทรวงกลาโหมว่าด้วยประมวล จริ ย ธรรม นอกจากนี้ ยั ง ได้ ก� ำ กั บ ดู แ ลความประพฤติ การปฏิบัติตนให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยวินัยทหารโดย เจ้าหน้าที่กองทหารสารวัตรของหน่วยด�ำเนินการ ก�ำลังพล วินัยดีเพิ่มขึ้นและมีก�ำลังพลกระท�ำผิดวินัยลดน้อยลง และ ส่งเสริมการด�ำเนินชีวติ ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง เป็นผู้มีระเบียบวินัยดีขึ้น โดยให้ก�ำลังพลมีความรู้มีความเข้าใจในการด�ำเนินชีวิตตาม ส่งเสริมค่านิยม เชิดชูความดี และรังเกียจการ แนวทางเศรษฐกิจพอเพียง โดยให้ก�ำลังพลและครอบครัว ทุจริตเป็นค่านิยมร่วมชาติ โดยการคัดเลือกก�ำลังพลของ ปลูกพืชผักสวนครัวบริเวณหน้าบ้าน หลังบ้านและอบรมการ หน่วยที่ประพฤติตนดี มีผลงาน สมควรถือเป็นตัวอย่างโดย ผลิตสารจุลินทรีย์อีเอ็มเพื่อการเกษตร ซึ่งหน่วยได้แต่งตั้ง ตั้งกรรมการคัดเลือกทุกรอบ ๖ เดือน และมอบรางวัลแก่ คณะกรรมการตรวจบ้านพักเดือนละ ๑ ครั้ง และมอบรางวัล ก�ำลังพลที่มีความประพฤติดี ประจำ � ปี ง บประมาณ ๒๕๕๖

49

49


ด�ำเนินการสร้างความโปร่งใสในการปฏิบตั ริ าชการ ๖. ส่งเสริมให้มีการบริหารจัดการ ตามยุทธศาสตร์ และแผนงานเชิงรุกของรัฐบาล ในการต่อต้าน น�้ำอย่างบูรณาการและเร่งรัดขยาย การทุจริตคอร์รัปชั่นในกระบวนงานการพัฒนาเสริมสร้าง ความพร้อมรบด้านก�ำลังพล ด้วยการจัดหาก�ำลังพลประเภท เขตพื้นที่ชลประทาน ทหารกองประจ�ำการ จากการตรวจเลือกทหารกองเกินเข้ารับ กองทัพบก ราชการทหารกองประจ�ำการ (การเกณฑ์ทหาร) โดยได้ ด�ำเนินการโครงการปรับปรุงและพัฒนาแหล่งน�้ำ จัดหาเครือ่ งวัดขนาดสูง/น�ำ้ หนัก, จัดท�ำคูม่ อื เจ้าหน้าทีใ่ นการ ตามนโยบายรัฐบาล เมือ่ ๑๔ มีนาคม พ.ศ.๒๕๕๖ ณ โครงการ ตรวจสอบหลักฐานเอกสาร, หนังสือประชาสัมพันธ์ (กองทัพ ห้วยแม่เพรียงตามแนวทางพระราชด�ำริ อ�ำเภอแก่งกระจาน ชวนรู)้ เพือ่ ลดการใช้ดลุ ยพินจิ ของเจ้าหน้าทีใ่ นการด�ำเนินการ จังหวัดเพชรบุรี รวมทั้งเป็นการเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจให้กับเจ้าหน้าที่ และผู้เข้ารับการตรวจเลือก เพื่อให้การตรวจเลือกทหาร กองประจ�ำการมีการเปลี่ยนแปลงในทิศทางที่ดีขึ้นในเชิง พัฒนาองค์กร ด้วยการสร้างความโปร่งใส และตอบสนอง ต่อนโยบายของรัฐบาลในการต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่น

กองทัพเรือ

จัดตัง้ “ศูนย์ประสานราชการใสสะอาด กองทัพเรือ” เพื่อให้สอดคล้องกับแผนสร้างราชการใสสะอาดตามมติ คณะรัฐมนตรี ซึง่ ก�ำหนดแผนกลยุทธ์ “กองทัพเรือใสสะอาด” ขึน้ ส�ำหรับใช้เป็นเครือ่ งมือในการป้องกันการทุจริตคอร์รปั ชัน่ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อก�ำหนดทิศทางการด�ำเนินการ เรื่อง ราชการใสสะอาดของกองทัพเรือไว้เป็นเครื่องมือในการ บริ ห าร และรายงานผู ้ บั ง คั บ บั ญ ชาตามล� ำ ดั บ ชั้ น จนถึ ง คณะรัฐมนตรี และเพื่อพิจารณาป้องกันหรือแก้ปัญหาการ ทุจริตคอร์รัปชั่นของกองทัพเรือ รวมทั้งเพื่อรณรงค์ส่งเสริม ให้ ข ้ า ราชการและลู ก จ้ า งของกองทั พ เรื อ ประพฤติ แ ละ ปฏิบตั งิ าน โดยเน้นผลงานการมีคณ ุ ภาพ ความซือ่ สัตย์สจุ ริต และการมีจิตส�ำนึกในทางที่ดี ทั้งนี้ สามารถร้องเรียนได้ที่ ศูนย์รับเรื่องราวร้องทุกข์ กองทัพเรือ หมายเลขโทรศัพท์ ๐ ๒๔๗๕ ๔๗๘๙ หรือทาง www.navy.mi.th/rongtook

50

ด�ำเนินโครงการปรับปรุงและพัฒนาแหล่งน�้ำ โดย กองทัพภาคที่ ๑ - ๔ และกรมการทหารช่าง เป็นหน่วย รับผิดชอบด�ำเนินการ รวม ๙๘ แผนงาน ให้การช่วยเหลือ ภัยแล้ง รวมทั้งมีการจัดโครงการ “ราษฎร์ รัฐ ร่วมใจช่วย ภัยแล้ง” ประจ�ำปี พ.ศ.๒๕๕๖ เพือ่ ให้การช่วยเหลือประชาชน ที่ ไ ด้ รั บ ความเดื อ ดร้ อ นจากสถานการณ์ ฝ นทิ้ ง ช่ ว ง โดย

ผลการดำ�เนินงานของกระทรวงกลาโหม

50


เปิดโครงการ เมือ่ ๑๘ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๕๖ และจะด�ำเนิน การจนถึง ๓๑ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๕๖ หรือจนกว่าสถานการณ์ ภัยแล้งจะคลี่คลายลง พร้อมทั้งแก้ไขปัญหาอุทกภัยและ ภั ย แล้ ง อย่ า งยั่ ง ยื น ตามนโยบายของรั ฐ บาล นอกจากนี้ ในส่ ว นของข้ อ มู ล และโครงการย่ อ ยในการแก้ ไ ขปั ญ หา อุ ท กภั ย และภัยแล้งอย่ างยั่งยืน รวมทั้งได้ร ่ ว มกั บมู ล นิ ธิ อุทกพัฒน์ในพระบรมราชูปถัมภ์ ในการแลกเปลี่ยนข้อมูล สารสนเทศ การวิจัย และการร่วมกันด�ำเนินการแก้ไขปัญหา อุทกภัยและภัยแล้ง รวมทัง้ การจัดการทรัพยากรน�ำ้ ชุมชนตาม แนวพระราชด�ำริ โดยได้มกี ารลงนามในข้อบันทึกตกลงความ ร่วมมือระหว่างมูลนิธิฯ กับกองทัพบก เมื่อ ๙ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ ณ ส�ำนักงานมูลนิธิฯ อาคาร ๖๐๘ สนามเสือป่า ทั้งนี้ ทั้งสองหน่วยงานจะมีความร่วมมือกันในการแก้ไขปัญหา อุทกภัยและภัยแล้งอย่างยั่งยืนตามแนวพระราชด�ำริต่อไป

๗. เร่งเพิ่มรายได้จากการท่องเที่ยว ทั้งในและนอกประเทศ ด�ำเนินการบริหารและพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวใน เขตทหาร โดยใช้สถานที่ และกิจกรรมทางทหารให้เป็นแหล่ง ท่องเทีย่ วของประชาชน และผูส้ นใจได้เข้ามาสัมผัสชีวติ และ กิจกรรมทางทหารในสถานที่จริง มีการจัดระเบียบกิจกรรม ท่ อ งเที่ ย วและแหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วในเขตทหาร รวมทั้ ง การ ประชาสัมพันธ์และท�ำการตลาดการท่องเที่ยวในเขตทหาร อาทิ โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า, กองพลทหารม้าที่ ๓, กองพลทหารราบที่ ๙ ค่ายสุรสีห์, หน่วยบัญชาการรักษา

ดินแดน, กรมสรรพาวุธทหารบก และกองพลทหารปืนใหญ่ ต่อสู้อากาศยาน กรุงเทพมหานคร ด� ำ เนิ น การปรั บ พื้ น ที่ เ ส้ น ทางปั ่ น จั ก รยานเพื่ อ สุ ข ภาพ ภายในกองบิ น ๔๖ จั ง หวั ด พิ ษ ณุ โ ลก เพื่ อ ให้ ประชาชนโดยรอบพื้นที่ได้ออกก�ำลังกาย ด� ำ เนิ น การบริ ห ารและพั ฒ นาแหล่ ง ท่ อ งเที่ ย ว ในเขตทหาร โดยจัดหาเรือถีบจักรยานน�้ำ ๖ ล�ำ ณ โรงเรียน การบิน และท�ำป้ายประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวอ่าวมะนาว รวมทั้งปรับปรุงเขื่อนกันคลื่น ส่วนที่ ๑ และส่วนที่ ๒ ณ กองบินที่ ๕ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์และสร้างห้องน�้ำส�ำหรับ คนพิการ เพื่ออ�ำนวยความสะดวกแก่นักท่องเที่ยวที่มีความ บกพร่องทางร่างกายในการเดินทางเข้ามาท่องเที่ยวในเขต พื้นที่ทหารของกองทัพอากาศทุกแห่ง ด�ำเนินการบริหารและพัฒนาแหล่งท่องเทีย่ วต่าง ๆ ได้แก่ สร้างอากาศยานจ�ำลองพร้อมฐานทีต่ งั้ และทางเดินรอบ ณ โรงเรียนการบิน ซือ้ ทุน่ ลอยน�ำ้ บริเวณชายหาดอ่าวมะนาว ณ กองบิน ๕ สร้างหลังคาคลุมอากาศยานของพิพิธภัณฑ์ กองทัพอากาศ สร้างราวบันไดขึ้น - ลง พระมหาธาตุเจดีย์ และปรับปรุงอาคารพลับพลาที่ประทับ (เก่า)

ประจำ � ปี ง บประมาณ ๒๕๕๖

51

51


ผลการด�ำเนินงานของกระทรวงกลาโหมตามนโยบายรัฐบาล และการสัง่ การของนายกรัฐมนตรี ในรอบปีงบประมาณ ๒๕๕๖ (๑ ตุลาคม ๒๕๕๕ - ๓๐ กันยายน ๒๕๕๖) นโยบายความมัน่ คงแห่งรัฐ ๑. เทิดทูนและพิทกั ษ์รกั ษาไว้ซงึ่ สถาบันพระมหากษัตริย์ (ข้อ ๒.๑) มาตรา ๗๗ ๒. พัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพของกองทัพและระบบป้องกันประเทศ (ข้อ ๒.๒) มาตรา ๗๗ ๒.๑ การเตรียมก�ำลังและใช้กำ� ลังในการป้องกันประเทศและการรักษาความมัน่ คงภายใน ๒.๒ เทคโนโลยีสารสนเทศและอวกาศ ๒.๓ การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก ๒.๔ การบริหารจัดการการป้องกันประเทศ ๒.๕ การอุตสาหกรรมป้องกันประเทศและพลังงานทหาร ๒.๖ การวิจยั พัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพือ่ การทหารและความมัน่ คง ๒.๗ การวิจยั และพัฒนาโครงการขนาดใหญ่ดา้ นยุทโธปกรณ์ เทคโนโลยีปอ้ งกันประเทศ และถ่ายทอดองค์ความรูเ้ ทคโนโลยีปอ้ งกันประเทศ ๒.๘ การพัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐานและการช่วยเหลือประชาชน ๓. พัฒนาและเสริมสร้างความร่วมมือระหว่างประเทศ (ข้อ ๒.๓) มาตรา ๗๗

52

ผลการดำ�เนินงานของกระทรวงกลาโหม

52


การเทิ ด ทู น ป้ อ งกั น รวมทั้ ง ตอบโต้และท�ำความเข้าใจมิ ให้มก ี ารล่วง ละเมิดสถาบันพระมหากษัตริย์

นโยบาย ความมั่นคงแห่งรัฐ ๑. เทิ ด ทู น และพิ ทั ก ษ์ รั ก ษาไว้ ซึ่ ง สถาบันพระมหากษัตริย์ (ข้อ ๒.๑) มาตรา ๗๗

ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม

ด�ำเนินการจัดท�ำแผนงานพัฒนาระบบป้องกัน การล่วงละเมิดสถาบันพระมหากษัตริย์ ระยะที่ ๒ โดยมี วัตถุประสงค์เพือ่ จัดหาระบบสืบค้นข้อมูลและบริหารจัดการ ตลอดจนการผลิตข้อมูลสารสนเทศในรูปแบบต่าง ๆ ในภารกิจ ประจำ � ปี ง บประมาณ ๒๕๕๖

53

53


ปกป้ อ งการล่ ว งละเมิ ด สถาบั น , สร้ า งเครื อ ข่ า ยเทิ ด ทู น สถาบันของกระทรวงกลาโหม ซึง่ ประกอบด้วย ก�ำลังพลจาก หน่วยงานต่าง ๆ ในสังกัดกระทรวงกลาโหม และพัฒนา บุ ค ลากรของเครื อ ข่ า ยเทิ ด ทู น สถาบั น ให้ ส ามารถปฏิ บั ติ งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้งด�ำเนินการจัดกิจกรรม การป้องกันการล่วงละเมิดสถาบันพระมหากษัตริย์ โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค์ คื อ จั ด หาอุ ป กรณ์ ที่ ส ามารถผลิ ต เนื้ อ หา ข้อความ, ไฟล์เสียง (Voice), ไฟล์วีดีโอ (VDO) ให้มีความ ทันสมัย สวยงามดูน่าเชื่อถือ เพื่อใช้ในการตอบโต้ต่อการ ด�ำเนินการที่หมิ่นสถาบันพระมหากษัตริย์ ด� ำ เนิ น การจั ด ท� ำ แผนงานสื่ อ สร้ า งสรรค์ เ ฉลิ ม พระเกียรติ ๘๐ พรรษา สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรม ราชินนี าถ โดยมีวตั ถุประสงค์เพือ่ จัดท�ำเว็บไซต์เทิดพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ที่มีเนื้อหา สาระและรูปแบบการน�ำเสนอที่น่าสนใจ ทั้งภาษาไทยและ ภาษาอังกฤษ ด�ำเนินการจัดกิจกรรมปฏิบัติธรรมและบ�ำเพ็ญ สาธารณประโยชน์ เ ทิ ด ทู น สถาบั น พระมหากษั ต ริ ย ์ แ ละ พระบรมวงศานุวงศ์ทุกพระองค์ถวายเป็นพระราชกุศลแด่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั เนือ่ งในโอกาสมหามงคลเฉลิม พระชนมพรรษา ๘๕ พรรษา และจัดกิจกรรมเทศน์มหาชาติ เทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์และพระบรมวงศานุวงศ์ ทุกพระองค์ ถวายเป็นพระราชกุศลแด่สมเด็จพระเทพรัตน ราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เนื่องในวโรกาสวันคล้าย วันพระราชสมภพ ๒ เมษายน พ.ศ.๒๕๕๖

54

ด�ำเนินการจัดโครงการฝึกอบรมเพื่อความมั่นคง ของชาติ โ ดยประชาชนมี ส ่ ว นร่ ว ม ประจ� ำ ปี ง บประมาณ ๒๕๕๖ ซึ่งเป็นการฝึกอบรมทางวิชาการและศึกษาดูงาน ให้แก่ ข้าราชการ ลูกจ้าง และประชาชนในเขตเทศบาล เมืองเขาสามยอด มีวัตถุประสงค์เพื่อเสริมสร้างความรู้ให้กับ ผู้เข้ารับการฝึกอบรมในเรื่องการเสริมสร้างอุดมการณ์ความ รักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ยาเสพติด และการมีส่วนร่วมของประชาชน รวมทั้งศึกษา ดูงานเกีย่ วกับโครงการเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชด�ำริ การปกครองส่วนท้องถิ่น และความมั่นคงทางเศรษฐกิจ จั ด ท� ำ ป้ า ยพระราชด� ำ รั ส ของพระบาทสมเด็ จ พระเจ้าอยู่หัว เมื่อ ๒๓ มกราคม ๒๕๓๗ แก่ทหารผ่านศึก ข้อความว่า “ทหารผ่านศึกเป็นผู้มีเกียรติเพราะได้เสียสละ ประโยชน์ส่วนตัวแม้กระทั่งเลือดเนื้อและชีวิต เพื่อบ้าน เมื อ งและส่ ว นรวม ขอให้ ภู มิ ใ จและตั้ ง ใจรั ก ษาเกี ย รติ อันแท้จริงที่มีอยู่นั้นไว้ทุกเมื่อ” ด�ำเนินการจัดกิจกรรมวันพระบาทสมเด็จพระพุทธ เลิศหล้านภาลัย โดยมีการวางพานประดับพุ่มดอกไม้ถวาย ราชสั ก การะพระบาทสมเด็ จ พระพุ ท ธเลิ ศ หล้ า นภาลั ย ณ อุทยานพระบรมราชานุสรณ์ฯ เข้ า ร่ ว มโครงการ “ปลู ก ป่ า เฉลิ ม พระเกี ย รติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ประจ�ำปีงบประมาณ ๒๕๕๖” โดยก�ำลังพลได้ร่วมกันปลูกป่าเพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาท สมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว และปลู ก ต้ น ไม้ เ พื่ อ เพิ่ ม พื้ น ที่ ป ่ า ไม้ เป็นการสร้างความรัก ความสามัคคี และช่วยกันรักษา สิ่งแวดล้อมภายในพื้นที่

ผลการดำ�เนินงานของกระทรวงกลาโหม

54


จัดกิจกรรมการเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวและสถาบันพระมหากษัตริย์ โดยพัฒนาสวน สมุนไพรมูลนิธิกิตติขจรเภสัชเวทย์ จัดกิจกรรมเนื่องในโอกาสวันคล้ายวันพระราช สมภพสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เมื่อ ๒ เมษายน พ.ศ.๒๕๕๖ ณ บริเวณหน้าร้านค้าองค์การ สงเคราะห์ทหารผ่านศึก โดยมีผอู้ ำ� นวยการองค์การสงเคราะห์ ทหารผ่ า นศึ ก คณะกรรมการด� ำ เนิ น การออกร้ า น และ เจ้าหน้าที่ประจ�ำร้านขององค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก เข้าร่วมในพิธีถวายพระพร

จัดกิจกรรมวันพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้า จุฬาโลกมหาราช เมื่อ ๖ เมษายน พ.ศ.๒๕๕๖ โดยร่วม วางพานประดับพุ่มดอกไม้ เพื่อถวายราชสักการะพระบาท สมเด็ จ พระพุ ท ธยอดฟ้ า จุ ฬ าโลกมหาราช ณ ปฐมบรม ราชานุสรณ์ สะพานพระพุทธยอดฟ้า

จัดกิจกรรมเนือ่ งในวันคล้ายวันสวรรคตของสมเด็จ พระนเรศวรมหาราช เมื่อ ๒๕ เมษายน พ.ศ.๒๕๕๖ โดยร่วม วางพวงมาลาถวายราชสักการะสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ณ พระบรมราชานุสรณ์ อ�ำเภอดอนเจดีย์ จังหวัดสุพรรณบุรี จั ด กิ จ กรรมวั น พระบาทสมเด็ จ พระปรเมนทร มหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร เมื่อ ๙ มิถุนายน พ.ศ.๒๕๕๖ โดยร่ ว มวางพวงมาลาถวายราชสั ก การะ พระบาทสมเด็ จ พระปรเมนทรมหาอานั น ทมหิ ด ล พระอัฐมรามาธิบดินทร ประจำ � ปี ง บประมาณ ๒๕๕๖

55

55


ด�ำเนินการจัดกิจกรรมปฏิบัติธรรมเทิดทูนสถาบัน พระมหากษั ต ริ ย ์ แ ละพระบรมวงศานุ ว งศ์ ถวายเป็ น พระราชกุศลแด่สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎ ราชกุ ม าร เนื่ อ งในวโรกาสวั น คล้ า ยวั น พระราชสมภพ เมื่อ ๒๕ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๕๖ ณ ห้องสุรศักดิ์มนตรี ศาลาว่าการกลาโหม

พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี, สมเด็จพระเจ้า ลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี, พระเจ้า หลานเธอ พระองค์เจ้าสิรภิ าจุฑาภรณ์ และพระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าอทิตยาทรกิติคุณ ตามก�ำหนดการเสด็จฯ และ ถวายความปลอดภัยประจ�ำเขตพระราชฐาน และที่ประทับ ตลอดห้วงระยะเวลา โดยแบ่งเป็นในพื้นที่กรุงเทพมหานคร พืน้ ทีต่ า่ งจังหวัด และพืน้ ทีต่ า่ งประเทศ การประชุมตรวจพืน้ ที่ เพื่อเตรียมการเสด็จฯ รวมทั้งขอรับการสนับสนุนชุดตรวจ ทางเทคนิคจากหน่วยต่าง ๆ ตลอดจนสรุปข่าวด้านความ มั่ น คงทู ล เกล้ า ฯ ถวายสมเด็ จ พระเทพรั ต นราชสุ ด าฯ สยามบรมราชกุมารี

กองบัญชาการกองทัพไทย

จั ด ท� ำ สารคดี เ ฉลิ ม พระเกี ย รติ เ ชิ ง ความรู ้ แ ละ ประวัติศาสตร์ “ตามรอยเสด็จ” โดยมีห้วงเวลาด�ำเนินการ ระหว่างเดือนกรกฎาคม - กันยายน ๒๕๕๕ ซึ่งจะท�ำการ ผลิตและเผยแพร่ออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์ จ�ำนวน ๔๐ ตอน โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ มุ ่ ง ให้ ป ระชาชนได้ รั บ ความรู้ที่ถูกต้องถึงพระราชกรณียกิจของพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ และสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร ด�ำเนินการจัดโครงการ “การอบรมเยาวชนและ ประชาชนรวมใจกองทัพไทยเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย”์ เมื่อ ๑๓ มีนาคม - ๑๔ มิถุนายน ๒๕๕๖ โดยด�ำเนินการ จัดอบรมเยาวชน ๖ รุ่น ๆ ละ ๑๕๐ คน โดยร่วมกับกองก�ำลัง

ด�ำเนินการจัดกิจกรรมปฏิบัติธรรมเทิดทูนสถาบัน พระมหากษั ต ริ ย ์ แ ละพระบรมวงศานุ ว งศ์ ถวายเป็ น พระราชกุศลแด่สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ และพระบรมวงศานุวงศ์ทุกพระองค์ ภายใต้ชื่อกิจกรรม ว่ า “ปฏิ บั ติ ธ รรม รั ก ษาศี ล เกษมก่ อ นจะเกษี ย ณ” เมื่อ ๒๗ - ๓๐ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๕๖

กรมราชองครักษ์

การถวายความปลอดภัยพระบาทสมเด็จพระเจ้า อยู่หัว, สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ, สมเด็จ

56

ผลการดำ�เนินงานของกระทรวงกลาโหม

56


ราชด�ำริ การเฝ้าระวังติดตามสื่อออนไลน์ต่อการกระท�ำผิด อันเป็นการละเมิดหรือหมิ่นสถาบัน ซึ่งหากตรวจพบ จะแจ้ง ให้หน่วยงานที่รับผิดชอบทราบเพื่อด�ำเนินการตามกฎหมาย

กองทัพเรือ

ด�ำเนินการจัดขบวนพยุหยาตราทางชลมารคในงาน พระราชพิธเี สด็จพระราชด�ำเนินถวายผ้ากฐิน เนือ่ งในโอกาส พระราชพิ ธี ม หามงคลเฉลิ ม พระชนมพรรษา ๗ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๕ เมื่อ ๙ พฤศจิกายน ๒๕๕๕

สุรสีห์, กองก�ำลังสุรนารี, กองบัญชาการป้องกันชายแดน จันทบุรีและตราด, ส�ำนักงานพัฒนาภาค ๒ และส�ำนักงาน พัฒนาภาค ๕ หน่วยบัญชาการทหารพัฒนา เพื่อให้ผู้เข้ารับ การอบรมได้ตระหนักถึงความส�ำคัญของสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษั ต ริ ย ์ เกิ ด จิ ต ส� ำ นึ ก ที่ จ ะปกป้ อ งและเทิ ด ทู น สถาบันพระมหากษัตริย์ไว้อย่างมั่นคงตลอดไป พร้อมทั้งยัง ได้รับความรู้ ความเข้าใจ และยังสามารถน�ำเอาหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ในการด�ำเนินชีวิตได้อย่าง เหมาะสม ตลอดจนมีทัศนคติที่ดีต ่อการด�ำ เนิ น งานของ กองทัพ

กองทัพบก

ปฏิบตั ภิ ารกิจถวายความปลอดภัย จ�ำนวน ๒๗ ครัง้ รวม ๘๖๒ ภารกิจ ถวายพระเกียรติ และปฏิบัติตามพระราช ประสงค์ในเดือนสิงหาคม ๒๕๕๕ ด� ำ เนิ น การรั ก ษาการณ์ พ ระราชวั ง และพระ ต�ำหนัก รวม ๑๑ แห่ง ตลอดจนการถวายความปลอดภัย เมื่อมีการเสด็จพระราชด�ำเนินทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจ การสนับสนุนการด�ำเนินงานโครงการอันเนื่องมาจากพระ

ด�ำเนินการเผยแพร่บทความและข่าวสารเทิดทูน สถาบันพระมหากษัตริย์ทางเว็บไซต์ (Website) ของกรม การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศทหารเรือ พร้อมทั้ง จัดการอบรมให้ก�ำลังพลได้รับทราบถึงพระเกียรติคุณและ พระมหากรุณาธิคุณขององค์พระมหากษัตริย์อย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้ยังได้มีการรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลข่าวสาร ที่มีผลกระทบต่อสถาบันพระมหากษัตริย์ และเฝ้าตรวจ และรายงานหากพบเว็บไซต์ที่มีเนื้อหาสาระที่เป็นการหมิ่น สถาบันพระมหากษัตริย์ ด�ำเนินการจัดก�ำลังถวายความปลอดภัยในพื้นที่ รับผิดชอบ โดยจัดตัง้ กองอ�ำนวยการร่วมถวายความปลอดภัย สถาบันพระมหากษัตริยแ์ ละจัดเจ้าหน้าทีร่ ว่ มปฏิบตั หิ น้าทีใ่ น การถวายความปลอดภัย ณ โรงพยาบาลศิริราช นอกจากนี้ ได้มีการปลูกฝังก�ำลังพลให้มีจิตส�ำนึกและความจงรักภักดี ต่อสถาบันพระมหากษัตริย์ พร้อมทั้งเผยแพร่พระเกียรติคุณ สถาบันพระมหากษัตริย์ใน Website ของกองทัพเรือ ประจำ � ปี ง บประมาณ ๒๕๕๖

57

57


ร่วมปลูกป่าโครงการ “ประชาอาสาปลูกป่า ๘๐๐ ล้านกล้า ๘๐ พรรษา มหาราชินี” เมื่อ ๑๗ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๕๖ ณ บริเวณชายทะเลบ้านป่าหล่าย หมู่ที่ ๓ ต�ำบล ฉลอง อ�ำเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต เพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จ พระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ เนื่องในโอกาสพระราชพิธี มหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๘๐ พรรษา ๑๒ สิงหาคม ๒๕๕๖ โดยมี นายไมตรี อินทุสุต ผู้ว่าราชการจังหวัดภูเก็ต เป็นประธาน ด�ำเนินโครงการ “นิทานในสวนถวายแม่ของแผ่นดิน เนื่องในวโรกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาสมเด็จพระนาง เจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ๑๒ สิงหาคม ๒๕๕๖” เมื่อวันที่ ๒๒ มิถุนายน พ.ศ.๒๕๕๖ ณ สโมสรสัญญาบัตรกองเรือ ยุทธการ อ�ำเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี เพื่อให้บุตร - ธิดาของ ก�ำลังพลได้พัฒนาสมอง ฝึกสมาธิในการรับฟัง ฝึกทักษะ ในการใช้ความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการที่หลากหลาย

กองทัพอากาศ

ถวายการบินรับ - ส่งเสด็จฯ พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมวงศานุวงศ์ และผู้แทนพระองค์โดยอากาศยาน พระราชพาหนะทีก่ องทัพอากาศจัดถวาย รวมทัง้ เตรียมพร้อม ในการแปรพระราชฐาน จั ด เจ้ า หน้ า ที่ เ ตรี ย มพร้ อ มปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ชุ ด เฝ้ า ตรวจทางอากาศที่ วั ง ไกลกั ง วล อ� ำ เภอหั ว หิ น จั ง หวั ด ประจวบคีรีขันธ์ ถวายความปลอดภัย พระบรมวงศานุวงศ์ ที่เสด็จ พระราชด�ำเนิน ในพืน้ ทีท่ า่ อากาศยาน กองบัญชาการกองทัพ อากาศ และกองบินต่าง ๆ (ตามแผนยุทธการ ทอ.๙๙๙) ก� ำ หนดแนวทางการปฏิ บั ติ เ มื่ อ พบการโพสต์ ข้อความที่เกี่ยวข้องกับการหมิ่นสถาบันฯ จั ด กิ จ กรรมเฉลิ ม พระเกี ย รติ เนื่ อ งในวโรกาส เฉลิ ม พระชนมพรรรษา ๘๔ พรรษา พระบาทสมเด็ จ พระเจ้าอยู่หัว ฯ และเนื่องในวโรกาสเฉลิมพระชนมพรรรษา ๘๐ พรรษา สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ และ

58

กิ จ กรรมเฉลิ ม พระเกี ย รติ ส มเด็ จ พระบรมโอรสาธิ ร าชฯ สยามมกุฎราชกุมาร สนับสนุนโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ อาทิ โครงการฝนหลวง โครงการข้าวกล้องแรกผลิ, การ อนุรักษ์หอยตลับ

๒. พัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพ ของกองทัพและระบบป้องกันประเทศ (ข้อ ๒.๒) มาตรา ๗๗ ๒.๑ การเตรียมก�ำลังและใช้ก�ำลังในการ ป้องกันประเทศและการรักษาความมัน่ คงภายใน ๒.๑.๑ การพัฒนายุทโธปกรณ์ ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม

ด� ำ เนิ น การจั ด กิ จ กรรมพั ฒ นาและเสริ ม สร้ า ง ศักยภาพของกองทัพและระบบป้องกันประเทศ โดยจัดอบรม ปรับมาตรฐานเพื่อการฝึกระดมสรรพก�ำลังทางการทหาร ณ โรงแรมแกรนด์ จอมเทียน พาเลซ และโรงแรมอะเดรียติก พาเลซ จังหวัดชลบุรี เมื่อ ๑๘ - ๓๑ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ โดยเชิญผู้แทนหน่วยจากส่วนราชการทหาร และพลเรือน ท�ำให้ผู้เข้ารับการอบรมได้รับความรู้ในเรื่องต่าง ๆ อาทิ สถานการณ์และนโยบายด้านความมั่นคงในรูปแบบต่าง ๆ นโยบายการเตรี ย มพร้ อ มแห่ ง ชาติ แผนผนึ ก ก� ำ ลั ง และ ทรั พ ยากรเพื่ อ การป้ อ งกั น ประเทศ แผนเตรี ย มพร้ อ ม/

ผลการดำ�เนินงานของกระทรวงกลาโหม

58


บูรณาการด้านทรัพยากรที่ใช้ในการฝึกฯ แผนการป้องกัน และบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ กฎหมายที่เกี่ยวกับด้าน ความมั่นคงและด้านสาธารณภัย รวมถึงขบวนการขั้นตอน และรายละเอี ย ดการปฏิ บั ติ ใ นการฝึ ก ระดมสรรพก� ำ ลั ง ทางการทหาร ด�ำเนิน การฝึก ปัญ หาที่บังคับ การ (CPX) และ สัมมนาสรุปบทเรียนฯ ณ โรงแรมสตาร์ จังหวัดระยอง โดยเชิญ ผู้แทนหน่วยจากส่วนราชการทหาร และพลเรือน เข้าร่วม ท�ำการฝึก เพื่อทดสอบกระบวนการระดมสรรพก�ำลังและ แนวทางการปฏิบตั งิ านร่วมกันระหว่างส่วนราชการทหารกับ ส่วนราชการพลเรือน

ด�ำเนินการติดตาม สังเกตการณ์ ตรวจสอบ และ ประเมินผลด้านก�ำลังส�ำรอง โดยเดินทางไปสังเกตการณ์การ เรียกพลของเหล่าทัพ ตามสายงานการก�ำลังส�ำรอง ณ มณฑล ทหารบกที่ ๑๕ จังหวัดเพชรบุรี

กองบัญชาการกองทัพไทย

ด�ำเนินการจัดการฝึกร่วมระหว่างเหล่าทัพ ดังนี้ ๑. การประชุ ม จั ด ท� ำ /แถลงแผนการฝึ ก ระหว่ า ง ๑ - ๕ เมษายน พ.ศ.๒๕๕๖ ๒. การสังเกตการณ์การฝึกด�ำเนินกลยุทธ์ดว้ ยกระสุน จริง ระหว่าง ๖ - ๙ เมษายน พ.ศ.๒๕๕๖ ๓. การประชุมพัฒนาฐานข้อมูลระบบจ�ำลองยุทธ์ (JTLS) ระหว่าง ๒๒ - ๒๖ เมษายน พ.ศ.๒๕๕๖

๔. การประชุ ม การใช้ ง านระบบจ� ำ ลองยุ ท ธ์ C4i ส่วนควบคุม/ส่วนรับการฝึก ๕. การฝึกปัญหาที่บังคับการด้านยุทธการ (CPX 2) ระหว่าง ๑๙ - ๓๑ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๕๖ ๖. การฝึกกองหนุนกองบัญชาการกองทัพบก (TEWT) ระหว่าง ๘ - ๑๔ มิถุนายน พ.ศ.๒๕๕๖ ๗. การปฏิบตั กิ ารในพืน้ ทีส่ ว่ นหลัง (อพยพประชาชน) ระหว่าง ๘ - ๑๔ มิถุนายน พ.ศ.๒๕๕๖ ๘. การฝึกป้องกันภัยทางอากาศ ระหว่าง ๒๔ - ๒๘ มิถุนายน พ.ศ.๒๕๕๖ ๙. การฝึ ก ภาคสนาม/ทะเล (ปฏิ บั ติ ก ารร่ ว ม สามเหล่าทัพ) ระหว่าง ๒๔ - ๒๘ มิถุนายน พ.ศ.๒๕๕๖

กองทัพบก

ด�ำเนินการจัดวางก�ำลัง เพื่อปกป้องอธิปไตยและ รักษาความมัน่ คงตามแนวชายแดน จ�ำนวน ๗ กองก�ำลัง ตาม แผนป้องกันประเทศและยุทธศาสตร์การป้องกันประเทศของ กระทรวงกลาโหม ซึ่งได้ก�ำหนดเป็นพันธกิจ ๔ ประการ ให้ หน่วยต่าง ๆ ยึดถือปฏิบัติ ทั้งนี้ได้ก�ำหนดแนวทางการแก้ไข สถานการณ์ ตั้งแต่ยามปกติจนถึงภัยคุกคามสูงสุด โดยเมื่อ เกิดสถานการณ์ความขัดแย้งตามแนวชายแดน จะพยายาม ยุตสิ ถานการณ์ให้ได้ในพืน้ ทีโ่ ดยใช้มาตรการเจรจา เพือ่ แก้ไข ปัญหาก่อนเป็นล�ำดับแรก หากจ�ำเป็นต้องใช้กำ� ลัง จะใช้แผน เผชิญเหตุซงึ่ ได้จดั เตรียมไว้ ตามมาตรการจากเบาไปหาหนัก ประจำ � ปี ง บประมาณ ๒๕๕๖

59

59


ส่วนกรณีทมี่ คี วามจ�ำเป็นต้องท�ำสงคราม เพือ่ ปกป้องอธิปไตย และผลประโยชน์ของชาตินั้น กองทัพบกร่วมกับเหล่าทัพ อื่นจะปฏิบัติการภายใต้การอ�ำนวยการยุทธ์ร่วมของศูนย์ บัญชาการทางทหาร กองบัญชาการกองทัพไทย จั ด ก� ำ ลั ง สนั บ สนุ น กองอ� ำ นวยการรั ก ษาความ มัน่ คงภายในราชอาณาจักรในการแก้ไขปัญหาในพืน้ ทีจ่ งั หวัด ชายแดนภาคใต้ โดยยึดถือยุทธศาสตร์พระราชทานเป็น ยุทธศาสตร์ในการด�ำเนินการ ภายใต้การก�ำกับการของศูนย์ ปฏิบตั กิ ารขับเคลือ่ นนโยบายและยุทธศาสตร์การแก้ไขปัญหา จังหวัดชายแดนภาคใต้

ด�ำเนินการพัฒนายุทโธปกรณ์ โดยการจัดหาอาวุธ ยุทโธปกรณ์ให้เป็นไปตามความจ�ำเป็นและความต้องการตาม ยุทธศาสตร์กองทัพเรือ พ.ศ.๒๕๕๑ ถึง ๒๕๖๐ โดยมุ่งเน้น การถ่ายทอดเทคโนโลยีและการพึ่งพาตนเองเป็นหลัก ด�ำเนินการพัฒนาการต่อต้านการข่าวกรอง ด้วยการ จั ด หาเทคโนโลยี ที่ ทั น สมั ย และเหมาะสมตามแผนที่ ไ ด้ ก�ำหนดไว้ ได้แก่ การพัฒนาระบบสารสนเทศการแลกเปลีย่ น ข่าวสาร โดยการเช่าวงจรสัญญาณและบริการอินเทอร์เน็ต แบบสายเช่า (Leased Line) รวมทัง้ พัฒนาระบบติดตามและ แสดงพิกดั ต�ำบลทีข่ องสถานการณ์และเหตุการณ์ขา่ วสามมิติ ท�ำให้เพิม่ ประสิทธิภาพในการติดตามและรวบรวมข่าวสารได้ อย่างทันท่วงที ส่งผลให้การต่อต้านการข่าวกรองในภาพรวม ของกองทัพเรือ สามารถด�ำเนินการได้อย่างเป็นรูปธรรมมาก ขึน้ และเพิม่ ประสิทธิภาพในการสืบค้นข้อมูล เพือ่ การต่อต้าน การข่าวกรองของกองทัพเรือ ด้วยการจัดหาอุปกรณ์เชือ่ มต่อ อินเทอร์เน็ตแบบไร้สาย (Air Card)

กองทัพเรือ

ด� ำ เนิ น การพั ฒ นายุ ท โธปกรณ์ โดยด� ำ เนิ น โครงการเสริมสร้างก�ำลังรบ ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๖ ซึ่งได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการพิจารณาโครงการ ของกองทัพเรือ และคณะกรรมการนโยบายกองทัพเรือ ซึ่งมีความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์กองทัพเรือโครงการ เสริมสร้างก�ำลังรบปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๘

ด�ำเนินโครงการจัดหาเรือฟริเกต ระยะที่ ๑ โดย ผู กพัน งบประมาณ ตั้ง แต่ พ.ศ.๒๕๕๖ ถึ ง พ.ศ.๒๕๖๑ ซึง่ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงกลาโหม ได้อนุมตั จิ ดั จ้างสร้างแล้ว เมื่อ ๖ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๕๖

กองทัพอากาศ

ด�ำเนินโครงการจัดหาเครือ่ งบินขับไล่อเนกประสงค์ ทดแทนเครื่องบินขับไล่แบบที่ ๑๘ ก/ข (ระยะที่ ๒) เพื่อ จั ด หาเครื่ อ งบิ น Gripen 39 C/D จ� ำ นวน ๖ เครื่ อ ง เข้าประจ�ำการที่ฝูงบิน ๗๐๑ กองบิน ๗ จังหวัดสุราษฎร์ธานี ให้ครบ จ�ำนวน ๑๒ เครื่อง

60

ผลการดำ�เนินงานของกระทรวงกลาโหม

60


28.1

ด�ำเนินโครงการปรับปรุงขีดความสามารถ เครือ่ งบิน ขับไล่แบบที่ ๑๙/ก (F - 16A/B) ระยะที่ ๓ ช่วงที่ ๑ (Mid Life Update : MLU) เพื่อปรับปรุงขีดความสามารถระบบ Avionics ระบบอาวุธ และระบบป้องกันตนเองของเครือ่ งบิน ขับไล่แบบที่ ๑๙/ก ประจ�ำฝูงบิน ๔๐๓ จ�ำนวน ๖ เครื่อง รวมทั้งจัดหาอะไหล่ อุปกรณ์สนับสนุน และการฝึกอบรม เจ้าหน้าทีเ่ พือ่ ให้เครือ่ งบินขับไล่แบบที่ ๑๙/ก มีประสิทธิภาพ ในการปฏิบัติการทางอากาศได้สูงขึ้น สามารถใช้อาวุธที่ ทันสมัย มีความแม่นย�ำสูงและระยะยิงไกลมีระบบป้องกัน ตนเองที่มีประสิทธิภาพ สามารถปฏิบัติการได้ทุกสภาพ อากาศทั้งในเวลากลางวันและกลางคืน ด�ำเนินโครงการจัดหาเฮลิคอปเตอร์ขนาดกลาง ส�ำหรับค้นหาและช่วยชีวิตในพื้นที่การรบ ช่วงที่ ๑ จ�ำนวน ๔ เครื่อง ทดแทนเฮลิคอปเตอร์ปฏิบัติภารกิจค้นหาและ ช่วยชีวิตเดิมที่ประจ�ำการอยู่ พร้อมเครื่องช่วยฝึก อะไหล่ อุปกรณ์ค้นหาและช่วยชีวิต อาคารสถานที่ และการฝึก เจ้าหน้าที่เพื่อให้กองทัพอากาศด�ำรงศักยภาพและขีดความ สามารถในการค้นหาและช่วยชีวิตในภาพรวมทั้งทางทหาร และพลเรือน ในฐานะที่เป็นหน่วยหลักด้านก�ำลังทางอากาศ ของประเทศ พร้อมกับมุ่งพัฒนาเสริมสร้างสู่ความเป็นสากล เพื่อก้าวสู่ระดับภูมิภาค

ด�ำเนินโครงการพัฒนาระบบควบคุมและแจ้งเตือน การป้องกันทางอากาศ (Air Command and Control System : ACCS PHASE II) (ระยะที่ ๒) ช่วงที่ ๒ เพื่อพัฒนา ระบบบัญชาการและควบคุม (Command and Control) ให้ได้อย่างต่อเนื่อง เนื่องจากเป็นระบบหลักในการใช้ก�ำลัง ทางอากาศ และการป้องกันทางอากาศ ตลอดจนการรับ – ส่ง ข้อมูลแลกเปลี่ยนข่าวสารที่เกี่ยวข้องให้กับเหล่าทัพ เพื่อใช้ ในการป้องกันภัยทางอากาศโดยรวมของประเทศ ด�ำเนินโครงการพัฒนาระบบเชื่อมโยงข้อมูลทาง ยุทธวิธี (Tactical Data Link : TDL) (ระยะที่ ๒) ช่วงที่ ๒

ประจำ � ปี ง บประมาณ ๒๕๕๖

61

61


เพื่ อ จั ด หาระบบเชื่ อ มโยงข้ อ มู ล ทางยุ ท ธวิ ธี ส� ำ หรั บ กองทัพอากาศ พร้อมติดตั้งอุปกรณ์เชื่อมโยงข้อมูลทาง ยุทธวิธีส�ำหรับหน่วยภาคพื้นในพื้นที่ตอนกลางของประเทศ ให้ครบถ้วนสมบูรณ์ตามความต้องการของกองทัพอากาศ

๒.๑.๒ การปรับปรุงโครงสร้างกองทัพ กองทัพบก

ก�ำหนดแนวทางการปรับปรุงโครงสร้างการจัด ก�ำลังให้มีขนาดที่เหมาะสม และทันสมัย โดยแบ่งการด�ำเนิน การออกเป็น ๓ ระยะ คือ ระยะสั้น เป็นการปรับเกลี่ยก�ำลัง พลจากส่วนงานต่าง ๆ เพื่อน�ำไปเสริมสร้างความสมบูรณ์ให้ กับส่วนก�ำลังรบ ระยะปานกลาง เป็นการก�ำหนดประเภท หน่วย และการบริหารจัดการหน่วยก�ำลังรบตามภารกิจและ พืน้ ทีร่ บั ผิดชอบ โดยแบ่งออกเป็นหน่วยก�ำลังรบหลัก เพือ่ รับ ผิดชอบภารกิจการป้องกันชายแดนและการป้องกันประเทศ และหน่วยก�ำลังรบประจ�ำพื้นที่เพื่อรับผิดชอบภารกิจการ ปฏิบัติการทางทหารนอกเหนือจากสงคราม และในระยะ ยาว เป็นการพัฒนาหน่วยก�ำลังรบหลัก ไปสู่การจัดหน่วย เป็นหน่วยรบผสมเหล่าในระดับกรม เพือ่ ให้มปี ระสิทธิภาพใน การปฏิบตั กิ ารรบทีเ่ หมาะสมกับสถานการณ์ดา้ นความมัน่ คง

จังหวัดจันทบุรี รวมทั้งเสนอความต้องการปรับปรุงพื้นที่ สนามฝึกส�ำหรับใช้เป็นที่ฝึกร่วม ๑ สนาม คือ สนามฝึก ยิงอาวุธ หาดยาวทุ่งโปรง อ�ำเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี เป็น พื้นที่ฝึกร่วม กองทัพเรือ - กองทัพบก (ด้านการป้องกันภัย ทางอากาศ) ในอนาคต ซึ่งปัจจุบันอยู่ระหว่างขั้นตอนการ พิจารณาของกรมยุทธการทหารก่อนเสนอผูบ้ ญ ั ชาการทหาร สูงสุดขออนุมัติโครงการพัฒนาสนามฝึกในภาพรวม ทั้งนี้ ได้ก�ำหนดล�ำดับความเร่งด่วนให้โครงการปรับปรุงพื้นที่ สนามฝึก หมายเลข ๑๖ บ้านจันทเขลม อ�ำเภอเขาคิชฌกูฏ จั ง หวั ด จั น ทบุ รี เป็ น โครงการพั ฒ นาสนามฝึ ก ในห้ ว ง ปีงบประมาณ ๒๕๕๗ ถึง ๒๕๕๙ เพื่อให้สอดคล้องกับความ เป็นไปได้ด้านงบประมาณ ด�ำเนินการปรับปรุงการศึกษาของกองทัพ โดย กองทัพเรือ จัดการสัมมนาเชิงปฏิบัติการเรื่อง การน�ำหลักเกณฑ์และ ด�ำเนินการปรับปรุงโครงสร้างกองทัพเรือ ตาม คู่มือประกันคุณภาพการฝึกอบรมของกองทัพเรือไปปฏิบัติ เจตนารมณ์ รั ฐ มนตรี ว ่ า การกระทรวงกลาโหม ประจ� ำ ซึ่งอยู่ในระหว่างการปรับปรุงโปรแกรมต้นแบบระบบการ ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๖ โดยได้มีการปรับปรุงโครงสร้าง รายงานผลการประเมินการฝึกอบรม ตามหลักเกณฑ์และคูม่ อื ให้ มี ห น่ ว ยงานรับ ผิด ชอบในการจัด หายุทโธปกรณ์ เพื่ อ การประกันคุณภาพการฝึกอบรมของกองทัพเรือ ผ่านระบบ บูรณาการงานด้านการจัดหาและเพิม่ ขีดความสามารถให้กบั เทคโนโลยีสารสนเทศให้สามารถใช้งานได้สะดวกยิ่งขึ้น ก�ำลังรบอย่างเป็นรูปธรรม ด�ำเนินการบริหารจัดการพื้นที่ฝึกของเหล่าทัพ และพื้นที่ฝึกร่วมระหว่างเหล่าทัพ โดยเสนอความต้องการ ปรั บ ปรุ ง พื้ น ที่ ส นามฝึ ก ส� ำ หรั บ ใช้ เ ป็ น พื้ น ที่ ฝ ึ ก ร่ ว มและ ฝึกร่วม/ผสม จ�ำนวน ๒ สนาม ได้แก่ ๑) สนามฝึก หมายเลข ๑๕ หาดยาวแสมสาร อ�ำเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี และ ๒) สนามฝึก หมายเลข ๑๖ บ้านจันทเขลม อ�ำเภอเขาคิชฌกูฏ

62

ผลการดำ�เนินงานของกระทรวงกลาโหม

62


ด�ำเนินการจัดก�ำลังทางเรือของทัพเรือภาค ด้วยการ พิจารณา ทบทวน และปรับปรุงแนวทางการด�ำเนินการให้ เหมาะสม สอดคล้องกับโครงการปรับปรุง และซ่อมท�ำเรือ และจัดหน่วยเฉพาะกิจให้เหมาะสม สอดคล้องกับสถานการณ์ ในปั จ จุ บั น รวมทั้ ง ปรั บ ปรุ ง และแก้ ไ ขค� ำ สั่ ง การจั ด และ วางก� ำลั งเพื่อป้องกัน และรัก ษาผลประโยชน์ ข องชาติ ใ ห้ ทันสมัยและใช้งานได้จริง ด� ำ เนิ น การปรั บ ปรุ ง โครงสร้ า งและระบบงาน ตามกรอบแนวคิดการปรับปรุงโครงสร้างของกองทัพไทย ให้ ก องบั ญ ชาการกองทั พ ไทยพิ จ ารณาก่ อ นเสนอต่ อ คณะกรรมการปรับปรุงโครงสร้างกองทัพไทย

กองทัพเรือ

ด�ำเนินการฝึกร่วมระหว่างเหล่าทัพ โดยทบทวน ปรับปรุงการฝึก และการฝึกร่วมกับเหล่าทัพอืน่ ให้สอดคล้อง กองทัพอากาศ กับสถานการณ์ที่อาจเกิดขึ้นหรือเปลี่ยนแปลงไป โดยเฉพาะ ด�ำเนินการพัฒนาปรับปรุงหลักสูตร สายวิทยาการ ในสภาวะแวดล้อมด้านความมั่นคงทางทะเลในปัจจุบัน ที่มี ด้านการข่าวเกี่ยวกับการด�ำเนินการด้านข่าวกรองและการ ความขัดแย้งและมีแนวโน้มการใช้ก�ำลังที่จะทวีความรุนแรง ต่อต้านข่าวกรอง ให้รองรับการปฏิบัติการที่ใช้เครือข่ายเป็น มากขึ้น เพื่อให้การแก้ปัญหาเป็นไปด้วยความรวดเร็วและมี ศูนย์กลาง (Network Centric Operation : NCO) รวมทั้ง ประสิทธิภาพ จัดเจ้าหน้าทีเ่ ข้ารับการอบรมในโอกาสต่าง ๆ ทัง้ ในประชาคม ข่าวกรองของประเทศ และต่างประเทศ รวมทั้งปรับปรุง โครงสร้างการจัดและอัตรากองทัพอากาศ (เพื่อพลาง) เพื่อ รองรับระบบการใช้ก�ำลังกองทัพอากาศ

๒.๑.๓ การฝึกร่วมระหว่างเหล่าทัพ กองบัญชาการกองทัพไทย

ด�ำเนินการฝึกร่วมระหว่างเหล่าทัพ คือ การฝึกร่วม ทางบก การฝึกกองเรือยุทธการ ๕๕ การฝึกเฮลิคอปเตอร์ ของกองทัพบก ขึ้น - ลง บนเรือหลวงจักรีนฤเบศร การฝึก ป้องกันภัยทางอากาศ และการฝึกร่วม/ผสม กับมิตรประเทศ และมี ก ารบริ ห ารจั ด การพื้ น ที่ ฝ ึ ก ของเหล่ า ทั พ และพื้ น ที่ ฝึกร่วมระหว่างเหล่าทัพ

กองทัพอากาศ

ด�ำเนินการฝึกร่วมกองทัพไทย ประจ�ำปี พ.ศ.๒๕๕๖ การฝึ ก แลกเปลี่ ย นและปรั บ มาตรฐาน เมื่ อ ๒๕ - ๒๙ มีนาคม พ.ศ.๒๕๕๖ ประจำ � ปี ง บประมาณ ๒๕๕๖

63

63


๒.๑.๔ การฝึกร่วม/ผสม กับมิตรประเทศ กองบัญชาการกองทัพไทย

จัดประชุมวางแผนขั้นต้นการฝึกคอบร้าโกลด์ ๑๔ เมื่อ ๒๖ - ๓๑ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๕๖ ณ โรงแรมอิมพิเรียล ควีนส์ปาร์ค กรุงเทพมหานคร เพื่อเสริมสร้างความสัมพันธ์ อันดีกับมิตรประเทศ ได้แก่ สหรัฐอเมริกา สิงคโปร์ ญี่ปุ่น อินโดนีเซีย มาเลเซีย และสาธารณรัฐเกาหลี เข้าร่วมประชุมคณะท�ำงานผู้เชี่ยวชาญด้านการ ก่อการร้าย ณ กรุงจาการ์ตา อินโดเนียเซีย และตรวจพืน้ ทีฝ่ กึ ณ ศูนย์สันติภาพและความมั่นคง เมือง Sentul, Borgor สาธารณรัฐอินโดนีเซีย โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อแลกเปลี่ยน ความรูด้ า้ นการต่อต้านการก่อการร้าย รวมทัง้ เป็นการกระชับ ความสัมพันธ์ระหว่างไทย - อินโดนีเซีย ให้แน่นแฟ้นมากยิง่ ขึน้ โดยท�ำการฝึก เมื่อ ๖ - ๑๔ กันยายน พ.ศ.๒๕๕๖ ในกรอบ เกี่ยวกับอาวุธ รังสี นิวเคลียร์ เคมี ชีวะ (CBRN) และการฝึก ตามสถานการณ์ ได้แก่ สถานการณ์เรือบรรทุกก๊าซธรรมชาติ (ZLNG Tanker Scenario) และสถานการณ์ภัยคุกคาม ในการจัดการแข่งขันกีฬาทีส่ ำ� คัญในภูมภิ าค (Threat Against a Major Regional Sporting Event)

กองทัพบก

ด�ำเนินการฝึกผสมกับมิตรประเทศต่าง ๆ โดย หมุนเวียนก�ำลังพลรุน่ ใหม่เข้าท�ำการฝึก เพือ่ ให้สามารถน�ำมา ประยุกต์ใช้ในการปฏิบตั งิ านได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทัง้ นี้ จะ ได้พจิ ารณาเรือ่ งทีจ่ ะท�ำการฝึกให้มคี วามน่าสนใจ สอดคล้อง กับสภาพแวดล้อมและภัยคุกคามที่ต้องเผชิญ นอกจากนี้ ยัง ได้มีความระมัดระวังในการก�ำหนดพื้นที่การฝึกให้เหมาะสม เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดปัญหาในอนาคต และได้น�ำบทเรียนที่ ได้รับจากการฝึกมาเป็นข้อมูลในการพัฒนาหลักนิยมของ กองทัพบกให้มีความสมบูรณ์ยิ่งขึ้นต่อไป

เสนาธิการทัพเรือภาคที่ ๒ และ FADM (MARITIME) NASIR BIN ADAM หัวหน้าหน่วยยามฝัง่ เขตตะวันออก ประเทศมาเลเซีย เป็นประธานร่วม และเข้าเยี่ยมค�ำนับ พลเรือตรี จ�ำลอง วังส์ด่าน รองผู้บัญชาการทัพเรือภาคที่ ๒ ณ กองบัญชาการ ทัพเรือภาคที่ ๒ อ�ำเภอเมือง จังหวัดสงขลา

กองทัพอากาศ

ด�ำเนินการฝึกร่วม/ผสม กับมิตรประเทศ ได้แก่ การ ฝึกผสม Balance Teak Torch เมื่อ มกราคม ถึง กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๕๖ และการฝึกร่วม/ผสม Cobra Gold เมือ่ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๕๖ ด�ำเนินการฝึกร่วมเหล่าทัพ และฝึกร่วม/ผสม กับ มิตรประเทศ ได้แก่ การฝึกร่วม/ผสม Cobra Gold เมื่อ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕ การฝึกผสม Cope Tiger เมื่อมีนาคม ๒๕๕๕ การฝึกผสม Balance Torch เมื่อพฤษภาคม ๒๕๕๕

กองทัพเรือ

จัดพิธีเปิดการฝึก SEAEX THAMAL ครั้งที่ ๕๖/ ๒๐๑๓ เมือ่ ๒๓ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๕๖ ณ ท่าเทียบเรือ ฐานทัพเรือ สงขลา ทัพเรือภาคที่ ๒ โดยมี พลเรือตรี สมภพ สุวทิ ยาลังการ

64

ผลการดำ�เนินงานของกระทรวงกลาโหม

64


ความร่วมมือด้านความมั่นคงระหว่างกระทรวงกลาโหมไทย กับกระทรวงกลาโหมออสเตรเลีย และคณะอนุกรรมการที่ เกี่ยวข้อง ประจ�ำปี ๒๕๕๖ (The 2013 Joint Australia Thailand Defence Coordination Committee : JATDCC 2013) เมื่อ ๒๘ กรกฎาคม ถึง ๓ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๕๖ ณ นครซิดนีย์ ประเทศออสเตรเลีย เพื่อเป็นการแลกเปลี่ยน การอบรมด้ า นการส่ ง ก� ำ ลั ง บ� ำ รุ ง ร่ ว ม และการให้ ค วาม ช่วยเหลือในการบรรเทาสาธารณภัยระหว่างกัน

๒.๒ เทคโนโลยีสารสนเทศและอวกาศ การฝึกผสม AIR THAMAL เมื่อมิถนุ ายน ๒๕๕๕ การฝึกผสม ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม Pitch Black เมื่อกรกฎาคม ๒๕๕๕ การฝึกผสม Red Flag Alaska เมื่อกันยายน ๒๕๕๕ และการฝึก LION EFFORT 2012

ด�ำเนินโครงการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อการบริหารราชการทั่วไป (ระยะที่ ๒) โดยมีวัตถุประสงค์ เพือ่ จัดหาครุภณ ั ฑ์คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ประกอบทดแทน ให้ ก ั บ หน่ ว ยที ่ ม ีการจัดหาตั้งแต่ปี พ.ศ.๒๕๔๕ และพัฒนา ๒.๑.๕ การส่งก�ำลังบ�ำรุงร่วม ระบบอินเทอร์เน็ตและอินทราเน็ตของกระทรวงกลาโหม กองบัญชาการกองทัพไทย ให้เป็นลักษณะเว็บท่า (Web Portal) เพื่อเพิ่มขีดความ ร่วมจัดการประชุมหน่วยที่เกี่ยวข้อง เพื่อเตรียม สามารถในการปรับปรุง เปลีย่ นแปลง ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ข้อมูลส�ำหรับใช้ในการเข้าร่วมการประชุมนายทหารส่งก�ำลัง เป็นมาตรฐานเดียวกัน รวมทั้งปรับปรุงพัฒนาห้องฝึกอบรม บ�ำรุงอาวุโสภาคพื้นแปซิฟิก (Pacific Area Senior Officer คอมพิวเตอร์ให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ผลการด�ำเนินงาน Logistics Seminar : PASOLS) ครั้งที่ ๔๒ เมื่อ ๑๕ - ๒๐ ได้มีการส่งมอบงานและเบิกจ่ายงบประมาณเรียบร้อยแล้ว กันยายน พ.ศ.๒๕๕๖ ณ ประเทศวานูอาตู เมื่อ ๒๙ สิงหาคม ด�ำเนินโครงการพัฒนาระบบสื่อสารข้อมูลแบบ พ.ศ.๒๕๕๖ ณ ห้องประชุมกรมส่งก�ำลังบ�ำรุงทหาร (กองยุทธ ไร้สาย เป็นโครงการผูกพันงบประมาณ ระยะเวลาด�ำเนิน บริการระหว่างประเทศ ส�ำนักส่งก�ำลังบ�ำรุง) งาน ๓ ปี (ปี พ.ศ.๒๕๕๖ ถึง พ.ศ.๒๕๕๘) วงเงินรวม เข้าร่วมประชุมคณะกรรมการด้านการส่งก�ำลัง บ�ำรุงภายใต้คณะกรรมการอ�ำนวยการและประสานงาน

ประจำ � ปี ง บประมาณ ๒๕๕๖

65

65


๕๘,๗๗๐,๐๐๐.- บาท โดยมีวตั ถุประสงค์เพือ่ พัฒนาเครือข่าย เทคโนโลยีสารสนเทศแบบไร้สายให้สามารถเชื่อมต่อกับ ระบบเครือข่ายข้อมูลและฐานข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ ให้ครอบคลุมหน่วยขึ้นตรงส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ทั้ ง หมด และปรั บ ปรุ ง และพั ฒ นาเครื อ ข่ า ยสารสนเทศ ของหน่วยให้สามารถเชื่อมโยงแลกเปลี่ยนข้อมูลได้อย่างมี ประสิทธิภาพและมีความปลอดภัยสูง รวมทัง้ เพือ่ พัฒนาระบบ เครือข่ายเทคโนโลยีสารสนเทศส�ำรองของหน่วยให้รองรับ กรณีเครือข่ายหลักไม่สามารถใช้งานได้ นอกจากนี้ยังได้ ด�ำเนินการอบรมเจ้าหน้าที่ทางเทคนิคให้สามารถตรวจสอบ และแก้ไขปัญหาข้อขัดข้องได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ปัจจุบันอยู่ในขั้นตอนแต่งตั้งคณะกรรมการจัดซื้อจัดจ้าง ด�ำเนินโครงการวางระบบเครือข่ายการสื่อสาร หลัก (Backbone) ส่วนเพิ่มเติมของกระทรวงกลาโหม ระยะ ที่ ๑ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อติดตั้งอุปกรณ์เชื่อมต่อความเร็ว สูงเข้ากับแกนสายใยแก้วน�ำแสงที่ได้รับสิทธิการใช้งานจาก หน่วยงานรัฐวิสาหกิจ จ�ำนวน ๒ แกน ในบริเวณภาคกลาง บางส่วน และภาคตะวันออก และท�ำเครือข่ายย่อยไปยัง หน่วยทหารในพื้นที่สัตหีบ รวมถึงจัดท�ำเครือข่ายย่อยไปยัง หน่วยทหารทุกเหล่าทัพ ระดับกองพล ทัพเรือภาคและ กองบิน ในบริเวณภาคตะวันออกที่เหลือ รวมทั้งด�ำเนินการ ติดตั้งอุปกรณ์เชื่อมโยงความเร็วสูงเข้ากับแกนสายใยแก้ว น� ำแสงที่ ไ ด้ รั บสิทธิการใช้ง านจากหน่ว ยงานรัฐ วิ ส าหกิ จ จ�ำนวน ๒ แกน ในบริเวณภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอน ล่าง จัดท�ำเครือข่ายย่อยไปยังหน่วยทหารในพื้นที่ภาคกลาง บางส่วน รวมทั้งเพื่อติดตั้งอุปกรณ์เชื่อมโยงความเร็วสูง เข้ า กั บ แกนสายใยแก้ ว น� ำ แสง ที่ ไ ด้ รั บ สิ ท ธิ ก ารใช้ ง าน จากหน่ ว ยงานรั ฐ วิ ส าหกิ จ จ� ำ นวน ๒ แกน ในบริ เ วณ ภาคตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ ตอนบนและจั ด ท� ำ เครื อ ข่ า ย ย่ อ ยไปยั ง หน่ ว ยทหารในพื้ น ที่ ภ าคตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ ส่ ว นที่ เ หลื อ ซึ่ ง โครงการผู ก พั น งบประมาณ ระยะเวลา ด� ำ เนิ น งาน ๓ ปี (ปี ๒๕๕๔ ถึ ง ๒๕๕๖) วงเงิ น รวม ๖๓๙,๔๖๗,๗๗๗.- บาท โดยมีแผนการใช้จ่ายงบประมาณ รายปี ด�ำเนินโครงการพัฒนาห้องปฏิบัติการกรรมวิธี ข้ อ มู ล ภาพถ่ า ยดาวเที ย มเพื่ อ ความมั่ น คงของกระทรวง กลาโหม โครงการผูกพันงบประมาณ ระยะเวลาด�ำเนินงาน ๓ ปี (ปี พ.ศ.๒๕๕๖ ถึง พ.ศ.๒๕๕๘) โดยมีวัตถุประสงค์ ได้แก่ ๑) เพื่อเป็นการวางรากฐานในการปฏิบัติการกรรมวิธี ข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียมจากการรับสัญญาณจากดาวเทียม ทั้งจากระบบ Optical และ Radar, การผลิตข้อมูลจากห้อง ปฏิบัติการ และมีคลังข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียม ส�ำหรับใช้ใน การปฏิบตั กิ ารทางทหาร และการปฏิบตั กิ ารทางทหารทีม่ ใิ ช่ สงคราม (MOOTW) ตลอดจนสามารถน�ำไปประยุกต์ใช้ใน

66

งานด้านการพัฒนาประเทศด้านอืน่ ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยมีการผลิตภาพถ่ายดาวเทียมทีส่ ามารถแสดงพืน้ ทีไ่ ด้อย่าง ครอบคลุม ถูกต้อง และทันสมัย ในลักษณะพร้อมใช้งานผ่าน ระบบเครือข่ายการสื่อสารหลักของกระทรวงกลาโหม ๒) เพื่อพัฒนาฐานข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียมที่มี ให้เป็นคลังจัด เก็บข้อมูล (Data Archive) ที่สามารถจัดเก็บข้อมูลจ�ำนวน มาก โดยมีการจัดเก็บข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียมรายละเอียด สูงรูปแบบต่าง ๆ ทั้งในระบบ Optical และ Radar และ ๓) เพื่อพัฒนาขีดความสามารถของบุคลากรของกระทรวง กลาโหม ให้มศี กั ยภาพทีส่ งู ขึน้ ในการปฏิบตั กิ ารกรรมวิธขี อ้ มูล ภาพถ่ายดาวเทียมสามารถพึ่งพาตนเองได้ ลดการพึ่งพา จากต่างประเทศ เพื่อให้เกิดความทัดเทียมกับนานาอารยะ ประเทศ ซึ่งปัจจุบันอยู่ในระหว่างการจัดท�ำร่างขอบเขตของ งาน (Terms Of Reference : TOR)

๒.๓ การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก

ด� ำ เนิ น การช่ ว ยเหลื อ ทหารผ่า นศึ ก ครอบครัว ทหารผ่านศึก และทหารนอกประจ�ำการในด้านต่าง ๆ คือ ด้านสวัสดิการ, ด้านรักษาพยาบาล, ด้านการให้สินเชื่อ, ด้านอาชีวสงเคราะห์ มีงานด้านส่งเสริมอาชีพ และการนิคม เกษตรกรรมและการจัดที่ดินท�ำกิน นอกจากนี้ ยังให้การ ช่วยเหลือในด้านอื่น ๆ

ผลการดำ�เนินงานของกระทรวงกลาโหม

66


กองทัพเรือ

ด�ำเนินการสนับสนุนนักเรียนพยาบาล และนักเรียน ดุ ริ ย างค์ ก องทั พ เรื อ ในการจ� ำ หน่ า ยดอกป๊ อ ปปี ้ จ� ำ นวน ๒๐๐ คน ในการจัดก�ำลังพลเข้าร่วมพิธรี ะลึกวันทหารผ่านศึก และให้ ก ารสนั บ สนุ น รถยนต์ โ ดยสารปรั บ อากาศให้ กั บ มูลนิธิสงเคราะห์ครอบครัวทหารผ่านศึกในการจ�ำหน่าย ดอกป๊อปปี้ รวมทั้งประชาสัมพันธ์ข่าวสารกิจกรรมของ องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึกผ่านสือ่ ต่าง ๆ ของกองทัพเรือ

ด� ำ เนิ น โครงการพั ฒ นาระบบสารสนเทศเพื่ อ สนับสนุนการระดมสรรพก�ำลัง โดยบริษัทฯ ได้ส่งมอบงาน และคณะกรรมการตรวจรับพัสดุได้ตรวจรับการจ้างเหมา งานฯ เรียบร้อยแล้ว เมื่อ ๓๐ เมษายน พ.ศ.๒๕๕๖

กองทัพบก

ปรั บ ปรุ ง แผนระดมสรรพก� ำ ลั ง เพื่ อ การทหาร ของกองทัพบก โดยก�ำหนดแนวทางในการน�ำทรัพยากรทาง พลเรือนมาใช้สนับสนุนให้สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมของ ประเทศ และสภาวะทางเศรษฐกิจในปัจจุบัน ซึ่งจะเป็นการ ชดเชยพลังอ�ำนาจของกองทัพที่มีอยู่อย่างจ�ำกัด ตามแนว ความคิดทางยุทธศาสตร์ “การผนึกก�ำลังป้องกันประเทศ” โดยจะต้องสอดรับนโยบายเตรียมพร้อมแห่งชาติ และแผน ผนึกก�ำลังและทรัพยากรเพื่อการป้องกันประเทศ รวมทั้ง แนวความคิดและนโยบายการระดมสรรพก�ำลังของกระทรวง กลาโหม ตลอดจนขั้นตอนการใช้ก�ำลังที่ก�ำหนดไว้ในแผน ป้องกันประเทศ

กองทัพเรือ

ด� ำ เนิ น การเชิ ญ หน่ ว ยที่ เ กี่ ย วข้ อ งประชุ ม เรื่ อ ง ๒.๔ การบริหารจัดการการป้องกันประเทศ แนวทางการทบทวนบัญชีระดมสรรพก�ำลัง และจัดท�ำแผน การระดมสรรพก�ำลังเพื่อการทหาร ระดมสรรพก�ำลัง ซึ่งได้ให้หน่วยต่าง ๆ ด�ำเนินการทบทวน และปรับปรุงบัญชีระดมสรรพก�ำลังของกองทัพเรือในส่วนที่ ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม

ด�ำเนินการประสานงานด้านการประชาสัมพันธ์ กับ ประชาสัมพันธ์จังหวัดในพื้นที่กองทัพภาคที่ ๔ ได้แก่ จังหวัด ภูเก็ต จังหวัดพังงา และจังหวัดระนอง เพื่อสนับสนุนการ ระดมสรรพก�ำลัง การก�ำลังส�ำรอง และการสัสดี

เกี่ยวข้อง ได้แก่ รายการ จ�ำนวน สถานที่ ส่งมอบ ห้วงเวลา การส่งมอบ และแหล่งที่มา ให้ถูกต้อง ครบถ้วน สมบูรณ์ และทันสมัย รวมทัง้ สอดคล้องกับการปฏิบตั ติ ามแผนป้องกัน ประเทศ และผลการฝึก

ประจำ � ปี ง บประมาณ ๒๕๕๖

67

67


กองทัพอากาศ

ด�ำเนินการจัดท�ำแผนแม่บทการพัฒนาระบบก�ำลัง ส�ำรองของกองทัพอากาศ พ.ศ.๒๕๕๕ ถึง ๒๕๕๙ โดย พิจารณา แก้ไข ปรับปรุงสิทธิประโยชน์ของก�ำลังพลส�ำรองที่ ได้รับในการเข้ารับการเรียกพล เพื่อตรวจสอบ ฝึกวิชาทหาร ทดลองความพรั่งพร้อม และระดมพล เข้าร่วมประชุมคณะ กรรมการพิจารณาสิทธิประโยชน์ของก�ำลังพลส�ำรองของ กระทรวงกลาโหมด้านก�ำลังพลส�ำรอง และด�ำเนินการเรียก นายทหารสัญญาบัตร/นายทหารประทวน/พลทหารกองหนุน มารายงานตัว รวมทั้งฝึกอบรมนักศึกษาวิชาทหารกองทัพ อากาศ ชั้นปีที่ ๑ ถึง ๕ ประจ�ำปีการศึกษา ๒๕๕๕ ด�ำเนินการแปรสภาพข้าราชการบางจ�ำพวกให้เป็น ข้าราชการพลเรือนกลาโหม และปรับบทบาทภารกิจของ หน่วยงานให้มีความเหมาะสม (Rightsizing) และทบทวน กรอบอัตราก�ำลังพลที่เหมาะสมตามภารกิจ และโครงสร้าง กองทัพอากาศ

๒.๕ การอุตสาหกรรมป้องกันประเทศและ พลังงานทหาร ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม

๓๑๐ ล้านบาท มีผลผลิต คือ อาคารและสิ่งก่อสร้างโรงงาน ผลิตดินส่งลูกระเบิดยิงจากเครื่องยิงลูกระเบิดแบบแผ่นบาง, เครื่องจักรและเครื่องมือในการผลิตดินส่งลูกระเบิดยิงจาก เครื่องยิงลูกระเบิดแบบแผ่นบาง, ระบบโครงสร้างพื้นฐาน โรงงานผลิตดินส่งลูกระเบิดยิงจากเครื่องยิงลูกระเบิดแบบ แผ่นบาง, ระบบบ�ำบัดน�ำ้ เสีย, การถ่ายทอดเทคโนโลยีในการ ผลิตดินส่งแบบแผ่นบาง, ดินส่งกระสุนส�ำหรับเครื่องยิงลูก ระเบิด ขนาด ๘๑ มิลลิเมตร จ�ำนวน ๒๕,๐๐๐ ชุด และดิน ส่งกระสุนส�ำหรับเครื่องยิงลูกระเบิด ขนาด ๑๒๐ มิลลิเมตร จ�ำนวน ๒๕,๐๐๐ ชุด (เครือ่ งจักรไม่มขี ดี ความสามารถในการ ผลิต Screw cab และ lgnition cartridge ส�ำหรับเครื่องยิง ลูกระเบิด ขนาด ๘๑ มิลลิเมตร และ ๑๒๐ มิลลิเมตร ซึ่ง ปัจจุบันอยู่ระหว่างการด�ำเนินกรรมวิธีจัดหาเพิ่มเติม) ด�ำเนินการแก้ไข ปรับปรุง กฎ ระเบียบ ประกาศ และค�ำสั่งที่เกี่ยวข้องกับ พ.ร.บ.โรงงานผลิตอาวุธของเอกชน พ.ศ.๒๕๕๐ เพื่อบังคับใช้แทนฉบับเดิมที่ออกตามความ ในค�ำสั่ง ปร.๓๗ ลง ๒๑ ตุลาคม ๒๕๑๙ จ�ำนวน ๑ ฉบับ คือ

ด�ำเนินโครงการขยายขีดความสามารถในการผลิต ดิ น ส่ ง ลู ก ระเบิ ด ยิ ง จากเครื่ อ งยิ ง ลู ก ระเบิ ด ของโรงงาน วั ต ถุ ร ะเบิ ด ทหาร กรมอุ ต สาหกรรมทหาร ศู น ย์ ก าร อุตสาหกรรมป้องกันประเทศและพลังงานทหาร วงเงินรวม ๙๑๐,๐๐๐,๐๐๐.-บาท แบ่งเป็น ๒ ระยะ คือ ระยะที่ ๑ ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๖ ถึง ๒๕๕๘ วงเงิน ๖๐๐ ล้านบาท และระยะที่ ๒ ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๗ ถึง ๒๕๕๙ วงเงิน

68

ผลการดำ�เนินงานของกระทรวงกลาโหม

68


ร่างกฎกระทรวง ก�ำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการ รายงานและบัญชีแสดง ชนิดปริมาณ และการรับจ่ายประจ�ำวัน ของวัตถุหรืออาวุธที่ใช้ในการผลิตอาวุธ หรืออาวุธที่ผลิต ขึ้น พ.ศ. .... พร้อมกับบันทึกหลักการและเหตุผลแนบท้าย กฎกระทรวง แบบ อ.๑๒, อ.๑๒ - ๑, อ.๑๓ และ อ.๑๓ - ๑ และตารางเปรียบเทียบกฎกระทรวง

ด�ำเนินโครงการขยายการผลิตน�ำ้ กลัน่ น�ำ้ กรด และ แบตเตอรี่โรงงานแบตเตอรี่ทหาร ระยะที่ ๒ ด�ำเนินงานผลิตราวเก็บปืนเล็กยาว เอ็ม ๑๖ บรรจุ ๔๐ กระบอก/ราว จ�ำนวน ๖๘ ราว เริ่มการผลิตตั้งแต่ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๕๖ คาดว่าจะแล้วเสร็จภายในพฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๕๖

ด�ำเนินงานติดตั้งหน่วยช่วยขับเคลื่อน (APU) ให้ กับปืนใหญ่ ขนาด ๑๕๕ มิลลิเมตร จ�ำนวน ๑ ชุด ปัจจุบัน ได้ด�ำเนินการผลิตเสร็จเรียบร้อยแล้ว และก�ำหนดส่งมอบให้ กับกองพันทหารปืนใหญ่ที่ ๗๒๒ เพื่อทดลองใช้งานต่อไป

ประจำ � ปี ง บประมาณ ๒๕๕๖

69

69


ด�ำเนินโครงการดัดแปลงแก้ไขปืนใหญ่เบากระสุน วิถีโค้ง ขนาด ๑๐๕ มิลลิเมตร ลากจูง (เอ็ม ๔๒๕) ให้เป็น แบบอัตตาจรล้อยาง จ�ำนวน ๖ กระบอก เมื่อ ๑๖ - ๓๐ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๕๖ โดยได้ร่วมกับศูนย์การทหารปืนใหญ่ ท� ำ การฝึ ก และประเมิ น ผลการใช้ ป ื น ใหญ่ เ บากระสุ น วิ ถี โค้ง ขนาด ๑๐๕ มิลลิเมตร อัตตาจรล้อยาง ทั้งทางเทคนิค และทางยุทธวิธีในรูปกองร้อยปืนใหญ่ โดยคณะกรรมการ

70

ตรวจสอบและประเมิ น ผลจากกองทั พ บก ศึ ก ษาความ เหมาะสมในการน�ำปืนใหญ่ดงั กล่าว เข้าประจ�ำการในกองพัน ทหารปืนใหญ่ต่อไป ด� ำ เนิ น โครงการปรั บ ปรุ ง พั ฒ นาปื น ใหญ่ ข นาด ๑๕๕ มิลลิเมตร แบบลากจูง ให้เป็นแบบอัตตาจรล้อยาง จ�ำนวน ๖ กระบอก โดยได้ส่งเจ้าหน้าที่เข้ารับการฝึกอบรม หลักสูตรการอบรมพืน้ ฐานของโครงการ เมือ่ ๒๗ กรกฎาคม -

ผลการดำ�เนินงานของกระทรวงกลาโหม

70


ด�ำเนินโครงการเพิ่มขีดความสามารถในการผลิต กระสุ น ปื น รถถั ง เพื่ อ สนั บ สนุ น เหล่ า ทั พ และเพื่ อ ส่ ง ออก ต่างประเทศ (ระยะที่ ๑) ปี ๒๕๕๖ - ๒๕๕๙ โดยได้ส่ง เจ้ า หน้ า ที่ เ ข้ า ชี้ แ จงต่ อ คณะกรรมการว่ า ด้ ว ยการพั ส ดุ อิเล็กทรอนิกส์และคณะกรรมการว่าด้วยการพัสดุซึ่งการ ด�ำเนินการดังกล่าว เป็นไปด้วยความเรียบร้อย

๒.๖ การวิ จั ย พั ฒ นาวิ ท ยาศาสตร์ แ ละ ๙ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๕๖ ณ รัฐอิสราเอล ประกอบด้วย เทคโนโลยีเพื่อการทหารและความมั่นคง ๑) ความรู้พื้นฐานระบบปืนใหญ่ขนาด ๑๕๕ มิลลิเมตร ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม

อัตตาจรล้อยาง (ATMG) ๒) ศึกษาระบบและวิธีใช้ระบบ อ�ำนวยการยิง (Combat - NG) ๓) การปรนนิบัติบ�ำรุงของ พลประจ�ำปืน ๔) ส่วนประกอบโครงสร้างหลัก ๕) ระบบ ไฮโดรลิก และ ๖) ระบบชุดอิเล็กทรอนิกส์ของปืนใหญ่ ATMG ด�ำเนินโครงการผลิตลูกระเบิดยิงจากเครื่องยิง ลูกระเบิด ขนาด ๘๑ มิลลิเมตร ชนิดระเบิด เอ็ม ๒๖๒ ปัจจุบันได้เริ่มผลิตตัวกระสุนตั้งแต่ขั้นตอนการตัดแท่งเหล็ก จนถึงขั้นตอนพ่นสีได้ จ�ำนวน ๑๕,๑๙๓ ชิ้นงาน ขั้นตอน การบรรจุดินระเบิดได้ จ�ำนวน ๑๐,๑๒๐ ชิ้นงาน ผลิตหางได้ จ�ำนวน ๑๕,๔๐๕ ชิ้นงาน คาดว่าจะแล้วเสร็จในพฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๕๖ ด�ำเนินโครงการเพิ่มขีดความสามารถในการผลิต กระสุนปืนใหญ่ เพื่อสนับสนุนเหล่าทัพและเพื่อการส่งออก ต่างประเทศ ได้เริ่มด�ำเนินการผลิตตั้งแต่ ๘ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๕๖ และผลิตเสร็จเรียบร้อยแล้ว โดยได้ท�ำการยิง ทดสอบความเป็นมาตรฐานของกระสุนปืนใหญ่กลางวิถีโค้ง ขนาด ๑๕๕ มิลลิเมตร ชนิดระเบิดเอ็ม ๑๐๗ แล้ว เมื่อ ๑๒ กันยายน พ.ศ.๒๕๕๖ ซึ่งผลการยิงทดสอบเป็นไปตาม มาตรฐาน

ด� ำ เนิ น การบริ ห ารจั ด การศู น ย์ ป ระสานงาน เครือข่ายการวิจยั เพือ่ สนับสนุนการแก้ไขปัญหาการก่อความ ไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ภายใต้โครงการวิจัยและ พัฒนาทางด้านยุทโธปกรณ์และด้านหลักการ เพื่อสนับสนุน การแก้ ไ ขปั ญหาการก่ อ ความไม่ ส งบในพื้ น ที่ ๓ จั งหวัด ชายแดนภาคใต้ โดยสนับสนุนยุทโธปกรณ์พเิ ศษให้กบั หน่วย ในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้อย่างต่อเนื่อง

กองทัพบก

ด�ำเนินการสาธิตเกี่ยวกับระบบอาวุธยุทโธปกรณ์ ให้ผแู้ ทนหน่วยทีเ่ กีย่ วข้องได้รบั ทราบข้อมูล จ�ำนวน ๑๒ ครัง้ ได้แก่ ๑) ระบบค้นหาและก�ำหนดที่ตั้งอาวุธยิงสนับสนุนของ ฝ่ายตรงข้าม ๒) ระบบหุ่นยนต์สอดแนม ๓) ระบบควบคุม การปฏิบัติการของเรดาร์ แบบ AN/TPQ - 36 (V3) ร่วมกับ อากาศยานไร้นักบิน ๔) ระบบติดตามตัวด้วยเครื่องมือ หาพิกดั ด้วยดาวเทียม ๕) ระบบกล้องเล็งติดตัง้ กับอาวุธยิง ๖) หน้ากากป้องกันสารชีวะเคมี ๗) ระบบตรวจจับ/แจ้งเตือน ผู้บุกรุก ๘) ขีดความสามารถในการซ่อมบ�ำรุงเฮลิคอปเตอร์

ประจำ � ปี ง บประมาณ ๒๕๕๖

71

71


ด� ำ เนิ น โครงการสร้ า งเครื่ อ งบิ น กองทั พ อากาศ แบบที่ ๖ ต้นแบบ, โครงการทดสอบต้นแบบเครื่องบิน โครงการวิจัยการสร้างเครื่องฝึกบินจ�ำลองเครื่องบินกองทัพ อากาศแบบที่ ๖, โครงการวิจัยและพัฒนาจรวดอากาศสู่พื้น ขนาด ๒.๗๕ นิ้ว ชนิดดินขับฐานคู่, โครงการวิจัยและพัฒนา เป้าอากาศ, โครงการวิจัยและพัฒนาอากาศยานไร้นักบิน ขนาดเล็กส�ำหรับปฏิบัติการทางยุทธวิธี และโครงการวิจัย และพัฒนากล้องถ่ายภาพและระบบเชื่อมโยงสัญญาณภาพ (Video Down Link) ส�ำหรับอากาศยานไร้นักบิน

๒.๗ การวิจยั และพัฒนาโครงการขนาดใหญ่ ด้านยุทโธปกรณ์ เทคโนโลยีปอ้ งกันประเทศ และ ใช้งานทั่วไปแบบ ๑๗ ๙) ระบบเครื่องก�ำหนดต�ำบลที่อยู่เมื่อ อากาศยานประสบอุบตั เิ หตุ ๑๐) ระบบอุโมงค์ลมทางดิง่ ๑๑) ถ่ายทอดองค์ความรู้เทคโนโลยีป้องกันประเทศ

ระบบเครื่องตรวจจับไอระเหยของสารประกอบวัตถุระเบิด และสารเสพติด ๑๒) ระบบเครื่องตรวจวัดแรงสั่นสะเทือน ของใบพั ด อากาศยานและการซ่ อ มปรั บ ปรุ ง โครงสร้ า ง อากาศยาน ๑๓) ระบบรวบรวมข้ อ มู ล จากบริ ก ารด้ า น สื่อสังคมออนไลน์ เพื่อความมั่นคง และ ๑๔) ชุดวิทยุสื่อสาร ย่านความถี่ 30 MHz ถึง 88 MHz ด� ำ เนิ น การปรั บ ปรุ ง แก้ ไ ขอ� ำ นาจหน้ า ที่ ข อง คณะกรรมการก� ำ หนดมาตรฐานยุ ท โธปกรณ์ ก องทั พ บก ซึ่ ง เดิ ม มี อ� ำ นาจหน้ า ที่ ใ นการพิ จ ารณารั บ รองมาตรฐาน ยุทโธปกรณ์ที่เป็นผลงานวิจัยและพัฒนาการทางทหาร โดย เพิม่ เติมอ�ำนาจหน้าทีใ่ นการรับรองมาตรฐานสิง่ ประดิษฐ์ทาง ทหารของกองทัพบกได้ดว้ ย และเพือ่ ให้การปฏิบตั เิ ป็นไปด้วย ความเรียบร้อย มีประสิทธิภาพ จึงได้แต่งตั้งคณะกรรมการ พิ จ ารณากลั่ นกรองสิ่งประดิษฐ์ทางทหาร เพื่อ พิ จ ารณา กลั่ น กรองสิ่ ง ประดิ ษ ฐ์ ท างทหารที่ มี ค วามเหมาะสม ในการผลิตทดลองใช้งาน และประเมินผลงานสิ่งประดิษฐ์ ทางทหาร เพื่อเสนอให้คณะกรรมการก�ำหนดมาตรฐาน ยุทโธปกรณ์กองทัพบก พิจารณารับรองมาตรฐานยุทโธปกรณ์ ก่อนที่จะน�ำเข้าสู่กระบวนการน�ำผลงานสิ่งประดิษฐ์ทาง ทหารผลิตใช้งานในต่อไป

72

ด�ำเนินโครงการวิจัยและพัฒนาระบบจรวดแบบ DTI - 1 (Phase II A) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อวิจัยพัฒนาและ สะสมองค์ความรู้ในการสร้างต้นแบบจรวดหลายล�ำกล้อง แบบ DTI - 1 ที่ได้มาตรฐาน ซึ่งมีการก่อสร้างโรงปฏิบัติการ วิจัยและพัฒนา ๑ (จังหวัดนครสวรรค์) และเริ่มด�ำเนินการ ก่อสร้างโรงปฏิบตั กิ ารวิจยั และพัฒนา ๒ (จังหวัดลพบุร)ี ซึง่ มี ผลการด�ำเนินการเป็นไปตามแผนงาน และได้แต่งตัง้ ผูป้ ฏิบตั ิ งานประจ�ำห้องปฏิบัติการวิจัยและพัฒนา ๒ ให้มีอ�ำนาจ หน้าที่ และรับผิดชอบในการควบคุมดูแล และบริหารสัญญา จ้างเหมาก่อสร้างปรับปรุงโรงปฏิบัติการวิจัยและพัฒนา ๒ จังหวัดลพบุรี

ผลการดำ�เนินงานของกระทรวงกลาโหม

72


ด�ำเนินโครงการวิจัยและพัฒนาระบบจรวดแบบ DTI - 1 (Phase II B) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อท�ำวิศวกรรม ย้อนกลับของต้นแบบรถยิง รถบรรทุก และลูกจรวด ให้ได้วิธี ผลิตชิ้นส่วนและอุปกรณ์ประกอบ รวมถึงกระบวนการผลิต พร้อมท�ำการทดสอบทดลองจนได้มาตรฐาน ในโครงการนี้ จะได้ต้นแบบรถยิงและรถบรรทุกอย่างละ ๑ คัน ซึ่งมีความ

ก้าวหน้าของงานการสร้างชิ้นส่วน รถจรวดและรถบรรทุก จรวดต้นแบบ ดังนี้ ๑) รถจรวดและรถบรรจุจรวด (Launcher & Loader) การสร้างชิ้นส่วน รถจรวดและรถบรรจุจรวด ต้นแบบแล้วเสร็จตามแผน ร้อยละ ๗๐ ติดตั้งท่อยิงจรวด แล้วเสร็จ วางแผนเตรียมการ ทดสอบระบบต่าง ๆ รถจรวด และรถบรรจุจรวด ๒) ลูกจรวด ได้ด�ำเนินการวิศวกรรม

ประจำ � ปี ง บประมาณ ๒๕๕๖

73

73


ย้อนกลับ ส�ำหรับส่วนหัวรบ (Warhead) ท่อจรวดและ ส่วนหาง แล้วเสร็จ (Uncharged Moter, Tail Section and Direct Parts) รวมทั้งได้ติดตั้งเครื่องจักร ระบบหล่อเย็น ดินระเบิด ณ โรงงานผลิตกระสุนปืนใหญ่ ศูนย์อ�ำนวยการ สร้ า งอาวุ ธ ศู น ย์ ก ารอุ ต สาหกรรมป้ อ งกั น ประเทศและ พลั ง งานทหาร แล้ ว เสร็ จ รวมทั้ ง จุ ด ทดสอบภาคสถิ ต ย์ ของจรวด BFS เพื่อปรับหาค่าสูตรดินขับ ด�ำเนินโครงการพัฒนาสนามยิงทดสอบจรวดและ อาวุธน�ำวิถี (D9) โดยมีวตั ถุประสงค์เพือ่ ศึกษาความเป็นไปได้ ในการพัฒนาสนามยิงทดสอบจรวดและอาวุธน�ำวิถีระยะ ใกล้และระยะปานกลางภายในประเทศ โดยมีความคืบหน้า ดังนี้ ๑) เตรียมร่างแผนการด�ำเนินงานเพื่อตอบสนองต่อ เงื่อนไขในการอนุมัติให้ใช้พื้นที่ของกองทัพเรือ ๒) ประสาน Swedish Space Corporation (SSC) สวีเดน และจัดท�ำ ก�ำหนดการประชุมหารือแผนความร่วมมือในการพัฒนาขีด ความสามารถด้านการทดสอบอาวุธของสถาบันเทคโนโลยี ป้องกันประเทศ (องค์การมหาชน) เมื่อ ๑๙ - ๒๐ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๕๕ ๓) ด�ำเนินการศึกษาเกี่ยวกับผลกระทบต่อ สิ่งแวดล้อม (Environmental Impact Assessment : EIA) ในพื้นที่ของกองทัพเรือ และ ๔) จัดท�ำแผนการด�ำเนินงาน และแผนงบประมาณ ประจ�ำปี ๒๕๕๗

74

ผลการดำ�เนินงานของกระทรวงกลาโหม

74


ด�ำเนินโครงการวิจัยและพัฒนาระบบจรวดหลาย ล�ำกล้องแบบน�ำวิถี DTI - 1G เป็นการวิจยั และพัฒนาทีร่ บั การ ถ่ายทอดเทคโนโลยีระบบจรวดน�ำวิถีจากมิตรประเทศเป็น บางส่วน และใช้องค์ความรูท้ มี่ อี ยูเ่ ดิมต่อยอดให้ระบบมีความ สมบูรณ์ โดยได้ลงนามในสัญญาจ้างวิจัยปรับปรุงต้นแบบ ห้องโดยสารรถบรรทุกชุดท่อปฏิบัติการ เมื่อ ๒๘ กันยายน พ.ศ.๒๕๕๕ และลงนามในสัญญาซื้อขายรถยนต์บรรทุก ทางทหารระบบขับเคลื่อน ๘ x ๘ ล้อ ส�ำหรับติดตั้งชุดท่อ ปฏิบัติการและส�ำหรับขนชุดท่อปฏิบัติการ ด� ำ เนิ น โครงการวิ จั ย และพั ฒ นาระบบจรวด สมรรถนะสูง แบบ DTI - 2 เป็นการวิจยั และพัฒนาจรวดน�ำวิถี หลายล�ำกล้องซึ่งสถาบันฯ เป็นผู้ออกแบบและพัฒนาระบบ จรวด โดยท�ำการต่อยอดองค์ความรู้จากระบบจรวดหลาย ล�ำกล้องแบบ DTI - 1 ที่ได้รับการถ่ายทอดเทคโนโลยีจาก มิตรประเทศ ซึ่งเริ่มการผลิตลูกจรวด ณ ศูนย์วิทยาศาสตร์ และพัฒนาระบบอาวุธ กองทัพอากาศ ด�ำเนินโครงการวิจยั และพัฒนาอากาศยานไร้คนขับ แบบปี ก นิ่ง เป็น การวิจัยและพัฒนาต้น แบบอากาศยาน ไร้คนขับแบบปีกนิ่ง (Fixed Wing UAV) พร้อมทั้งอุปกรณ์ ทีเ่ กีย่ วเนือ่ ง ได้แก่ ระบบสือ่ สารข้อมูลและภาพระบบอุปกรณ์ ถ่ายภาพ ระบบควบคุมการบิน ระบบการรับส่งสัญญาณ ระบบการจัดเก็บสัญญาณวีดิทัศน์ และระบบเสาอากาศ ติดตามต�ำแหน่งภาคพื้น ประจำ � ปี ง บประมาณ ๒๕๕๖

75

75


ด�ำเนินโครงการวิจยั และพัฒนาอากาศยานไร้นกั บิน ขึ้น - ลง ทางดิ่ง เป็นการวิจัยและพัฒนาต้นแบบอากาศยาน ไร้นกั บินขึน้ - ลง ทางดิง่ แบบ Full Scale จ�ำนวน ๒ ล�ำ พร้อม อุปกรณ์ที่เกี่ยวเนื่อง จ�ำนวน ๔ ระบบ ได้แก่ ระบบสื่อสาร ข้อมูลและภาพ ระบบอุปกรณ์ถา่ ยภาพ ระบบควบคุมการบิน และระบบรับส่งอากาศยานไร้นักบิน ขึ้น - ลง ทางดิ่งบนเรือ

กองทัพเรือ

โครงการวิจัยพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อการทหารและความมั่นคง ที่เพิ่มขีดความสามารถของ กองทัพอย่างเป็นรูปธรรม จ�ำนวน ๓ โครงการ ได้แก่ ๑) โครงการ

76

วิจัยระบบเฝ้าตรวจและรายงานเคลื่อนที่ ๒) โครงการวิจัย หุ่นยนต์ตรวจค้นวัตถุต้องสงสัย UGV และอุปกรณ์ระบบการ ยิงส�ำหรับหุ่นยนต์ และ ๓) โครงการการอบรมและพัฒนา บุ ค ลากรในหน่ ว ยก� ำ ลั ง รบให้ มี ค วามคุ ้ น เคยในการใช้ อากาศยานไร้นกั บิน (UAV) แบบปีกนิง่ และปีกหมุน และจัดท�ำ โครงการวิจัยร่วมกับหน่วยงานภายนอก จ�ำนวน ๓ โครงการ ได้แก่ ๑) โครงการวิจัยสร้างต้นแบบอากาศยานไร้นักบินขึ้น - ลง ทางดิ่ง ซึ่งได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากสถาบัน เทคโนโลยีป้องกันประเทศ ๒) โครงการวิจัยการป้องกัน เชิงรุก ซึ่งได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากส�ำนักงาน

ผลการดำ�เนินงานของกระทรวงกลาโหม

76


คณะกรรมการวิจยั แห่งชาติ และ ๓) โครงการผลิตและซ่อมแซม ใบจักรเรือแบบ Voith Schneider เพื่อทดแทนการน�ำเข้า ซึ่งร่วมทุนวิจัยกับส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย

กองทัพอากาศ

๓. พั ฒ นาและเสริ ม สร้ า งความ ร่วมมือระหว่างประเทศ (ข้อ ๒.๓) มาตรา ๗๗

จัดท�ำบันทึกข้อตกลงความร่วมมือด้านการวิจัย และพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อความมั่นคงของประเทศ ระหว่าง กองทัพอากาศกับสถาบันเทคโนโลยีปอ้ งกันประเทศ (องค์การ มหาชน) และจัดท�ำบันทึกข้อตกลงความร่วมมือด้านการวิจยั และพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อความมั่นคงของประเทศ ระหว่าง กองทัพอากาศกับสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณ ทหารลาดกระบัง

๒.๘ การพัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐานและการ ช่วยเหลือประชาชน

ด�ำเนินการปฏิบตั ภิ ารกิจในการบรรเทาสาธารณภัย โดยปฏิบัติภารกิจช่วยเหลือผู้ประสบภัยในพื้นที่รับผิดชอบ อย่างเต็มขีดความสามารถ และแจ้งเตือนให้ฝ่ายต่าง ๆ ใน ศูนย์บรรเทาสาธารณภัยกองทัพบกเตรียมพร้อมให้ความ ช่วยเหลือแก่ประชาชน ด�ำเนินการแก้ไขปัญหายาเสพติด โดยจัดท�ำแผน งานป้องกันแก้ไขปัญหายาเสพติดกองทัพอากาศ ปี ๒๕๕๕ จัดกิจกรรมปราบปรามยาเสพติด และกิจกรรมบ�ำบัดผู้ติด ยาเสพติด ด� ำ เนิ น การจั ด เครื่ อ งบิ น สนั บ สนุ น โครงการฝน หลวง, เตรียมและด�ำรงความพร้อมในการปฏิบัติงานช่วย เหลือประชาชนเมื่อเกิดสาธารณภัยหรือภาวะคับขันให้เป็น ผลอย่างรวดเร็ว ทันเหตุการณ์ รวมถึงสนับสนุนการแก้ปญ ั หา ของชาติตามนโยบายรัฐบาล

การเสริ ม สร้ า งความร่ ว มมื อ ด้านความมั่นคงกับประเทศเพื่อนบ้าน มิตรประเทศ และองค์การระหว่างประเทศ เข้าร่วมการประชุมยุทธศาสตร์ด้านการป้องกัน ประเทศ ระหว่างกระทรวงกลาโหมไทยกับกระทรวงกลาโหม สหรัฐอเมริกา เมื่อ ๑๖ - ๒๒ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๕๕ เพื่อร่วม หารือกับผู้ช่วยรัฐมนตรีกระทรวงกลาโหมสหรัฐอเมริกา และผู้แทนกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐอเมริกา เกี่ยวกับ แนวทางการด�ำเนินความร่วมมือทางทหารที่เกี่ยวข้องกับ ผลประโยชน์ของทั้งสองประเทศ เข้าร่วมการสัมมนาเชิงปฏิบตั กิ าร ณ Asia - Pacific Center for Security Studies (APCSS) เรือ่ ง “US Strategic Rebalance to the Asia - Pacific” ณ เมืองโฮโนลูลู มลรัฐฮาวาย สหรัฐอเมริกา เมื่อ ๒๓ - ๒๗ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๕ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อมุ่งเน้นเกี่ยวกับการเสริมสร้าง ความรู ้ ค วามเข้ า ใจในสภาพแวดล้ อ มและนโยบายความ ร่วมมือ รวมทั้งนโยบายและยุทธศาสตร์ใหม่ของส�ำนักงาน รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน)

เข้าร่วมการประชุม Tokyo Defense Forum (TDF) ครั้ ง ที่ ๑๗ ณ กรุ ง โตเกี ย ว ประเทศญี่ ปุ ่ น เมื่ อ ๓๐ ตุลาคม - ๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ ประจำ � ปี ง บประมาณ ๒๕๕๖

77

77


ให้ผู้แทนจากหน่วยงานด้านการป้องกันประเทศ ในภูมิภาค เอเชีย - แปซิฟิก ได้มีโอกาสหารือ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น และประสบการณ์เกี่ยวกับความร่วมมือทางทหารระหว่าง ประเทศโดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง ในการรั บ มื อ กั บ ภั ย คุ ก คาม ในภูมิภาค เข้าร่วมการประชุม Seoul Defence Dialogue ครั้งที่ ๑ ณ กรุงโซล เกาหลีใต้ เมื่อ ๑๔ - ๑๖ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๕๕ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเสริมสร้างความสัมพันธ์ ระหว่างประเทศในภูมิภาคเอเชีย - แปซิฟิก ซึ่งจะเป็น ประโยชน์ ต ่ อ การพั ฒ นาความร่ ว มมื อ ด้ า นความมั่ น คง ในภูมิภาค

โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ ส่ ง เสริ ม ความสั ม พั น ธ์ ท างทหาร ระหว่ า งกระทรวงกลาโหมทั้ ง สองประเทศให้ แ น่ น แฟ้ น ยิ่งขึ้น และเป็นการเสริมสร้างความร่วมมือด้านความมั่นคง ในระดับยุทธศาสตร์

ด�ำเนินการด้านความร่วมมือด้านอุตสาหกรรม ป้องกันประเทศกับกระทรวงกลาโหมอาเซียน ดังนี้ ๑. การพิจารณาร่างขอบเขตของงาน (Terms Of Reference : TOR) เพื่อเป็นกรอบในการด�ำเนินงานของ ASEAN Defense Industry Collaboration (ADIC) ซึ่ง ได้จัดท�ำเป็นร่างขอบเขตงานของฝ่ายกระทรวงกลาโหมไทย เรียบร้อยแล้ว และได้เสนอให้ที่ประชุม ASEAN Defense เข้ า ร่ ว มการประชุ ม หารื อ ทวิ ภ าคี กั บ รองนายก Industry Collaboration (ADIC) ครั้งที่ ๒ เมื่อ ๒๙ - ๓๑ รัฐมนตรี/รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงกลาโหมกัมพูชา รัฐมนตรี มีนาคม พ.ศ.๒๕๕๖ ณ เกาะลังกาวี ประเทศมาเลเซีย ว่ า การกระทรวงกลาโหมสหรัฐ อเมริกา รัฐ มนตรี ว ่า การ เพื่อพิจารณาต่อไป กระทรวงพลังงานบรูไน (ผูแ้ ทนกระทรวงกลาโหมบรูไน) โดย ๒.  การเสนอโครงการความร่วมมือให้ประเทศสมาชิก ปลัดกระทรวงกลาโหมได้พบหารือทวิภาคีกับปลัดกระทรวง กระทรวงกลาโหมอาเซียนพิจารณา ประกอบด้วย การร่วม กลาโหมสิงคโปร์ เมื่อ ๑๕ - ๑๖ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๕๕ ผลิตอาวุธ กระสุน วัตถุระเบิด โดยใช้โรงงานผลิตอาวุธของ ซึ่งมีผลการประชุมที่ส�ำคัญ คือ ๑) เพื่อแลกเปลี่ยนมุมมองใน ศูนย์การอุตสาหกรรมป้องกันประเทศและพลังงานทหาร ประเด็นด้านการทหารและความมั่นคง โดยมีอาเซียนเป็น เป็นฐานการผลิต ศูนย์กลางในการด�ำเนินการเพื่อป้องกันการแทรกแซงของ เข้าร่วมการประชุมรัฐมนตรีกลาโหมอาเซียนอย่าง ประเทศมหาอ�ำนาจ ๒) บทบาทของสหรัฐอเมริกาในภูมภิ าค ไม่เป็นทางการ (ASEAN Defence Ministers’ Meeting เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในการสนับสนุนให้เกิดสันติภาพ Retreat : ADMM Retreat) และการประชุมรัฐมนตรีกลาโหม ความมัน่ คงและความเจริญรุง่ เรืองของอาเซียน ๓) กระทรวง อาเซียนกับรัฐมนตรีกลาโหมประเทศคู่เจรจา ครั้งที่ ๒ (2nd กลาโหมบรูไนพร้อมทีจ่ ะเข้าร่วมในการทีไ่ ทยจะเป็นเจ้าภาพ ASEAN Defence Ministers’ Meeting - Plus: 2nd ADMM ร่วมกับสาธารณรัฐเกาหลี ในการฝึกซ้อมบรรเทาภัยพิบัติ - Plus) เมื่อ ๒๖ - ๓๐ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๕๖ ณ กรุงบันดาร์ (Disaster Relief Exercise : DiREx) ในกรอบ ASEAN เสรีเบกาวัน ประเทศบรูไนดารุสซาลาม โดยมีวัตถุประสงค์ Regional Forum (ARF) และ ๔) ความร่วมมืออย่างเป็น เพื่อรับทราบพัฒนาการและความคืบหน้าของความร่วมมือ รูปธรรมของคณะท�ำงานผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านในกรอบ ทางทหารของกระทรวงกลาโหมประเทศสมาชิกอาเซียน ASEAN Defence Ministers - Meeting Plus (ADMM-Plus) และระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียนกับกระทรวงกลาโหม ในปี พ.ศ.๒๕๕๖ ประเทศคู่เจรจาที่ด�ำเนินการผ่านกลไกการประชุมในกรอบ เข้าร่วมการประชุมหารือด้านการทหารในระดับ ADMM และ ADMM - Plus รวมทั้งแลกเปลี่ยนความคิดเห็น เจ้าหน้าที่อาวุโสกับกระทรวงกลาโหมสาธารณรัฐอินเดีย ในมุมมองสถานการณ์ด้านความมั่นคงและด้านการป้องกัน (Thailand - India High Level Defence Dialogue) เมื่อ ประเทศของภูมิภาค นอกจากนี้ รัฐมนตรีกลาโหมอาเซียน ๑๗ - ๒๐ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๕๖ ณ ศาลาว่าการกลาโหม ได้ร่วมกันพิจารณาและให้การรับรองเอกสารแนวความคิด

78

ผลการดำ�เนินงานของกระทรวงกลาโหม

78


ด�ำเนินการขยายความร่วมมือกับกองทัพเรือใน ใหม่ จ�ำนวน ๒ ฉบับ คือ ๑) ร่างเอกสารแนวความคิดว่าด้วย การเปลี่ยนผ่านประธานร่วมของคณะท�ำงานผู้เชี่ยวชาญ ภูมิภาค และกองทัพเรือมิตรประเทศ รวมทั้งองค์กรระหว่าง และ ๒) ร่างเอกสารแนวความคิดของคณะท�ำงานผูเ้ ชีย่ วชาญ ประเทศในทุก ๆ ด้าน เช่น การประชุม/สัมมนา/การศึกษา ด้ า นการปฏิ บั ติ ก ารทุ ่ น ระเบิ ด เพื่ อ มนุ ษ ยธรรม รวมทั้ ง ที่กองทัพเรือมีส่วนร่วม โดยเร่งรัดปรับปรุง ขยายความ ได้มีการลงนามในร่างปฏิญญาร่วม จ�ำนวน ๑ ฉบับ คือ ร่วมมือเดิมทีม่ อี ยูใ่ ห้มกี ารพัฒนากรอบการด�ำเนินการให้มาก ร่างปฏิญญาร่วมบันดาร์เสรีเบกาวันของการประชุมรัฐมนตรี ยิ่งขึ้น รวมถึงให้หน่วยริเริ่มความร่วมมือใหม่ในการสร้าง กลาโหมอาเซี ย นกั บ รั ฐ มนตรี ก ลาโหมประเทศคู ่ เ จรจา ความไว้เนื้อเชื่อใจ สร้างสันติภาพ เสถียรภาพ ความมั่นคง ครั้งที่ ๒ และเสริมบทบาทของกองทัพเรือ ในการเป็นเจ้าภาพจัดการ ผู ้ บั ญ ชาการทหารบก ได้ เ ดิ น ทางเยื อ นมลรั ฐ ประชุมเวทีระหว่างประเทศทั้งในระดับทวิภาคีและพหุภาคี ฮาวาย สหรัฐอเมริกา อย่างเป็นทางการ ตามค�ำเชิญของ รวมทั้งเสริมสร้างความสัมพันธ์และความมั่นคงทางทะเล พลโท ฟรานซิส เวียร์ซินสกี้ ผู้บัญชาการกองก�ำลังทางบก ระหว่างกองทัพเรือในภูมิภาค และกองทัพเรือมิตรประเทศ สหรัฐอเมริกา ประจ�ำภาคพืน้ แปซิฟกิ และเดินทางเยือนญีป่ นุ่ โดยการจัดเรือเข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อสร้างความร่วมมือ เมื่อ ๕ - ๘ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๕๕ ตามค�ำเชิญของ กับกองทัพเรือในภูมิภาค และกองทัพเรือมิตรประเทศ ร่วมประชุมวางแผนขั้นต้น การฝึก ARF DIREX พลเอก เออิจิ คิมิซูกะ ผู้บัญชาการกองก�ำลังป้องกันตนเอง ทางบกของญี่ปุ่น โดยหารือถึงแนวทางในการขยายขอบเขต 2013 (Asian Region Forum Disaster Relief Exercise ความร่วมมือในด้านการฝึก การศึกษา และการแลกเปลี่ยน 2013) กั บ มิ ต รประเทศในอาเซี ย น และชาติ ใ น North การเยือนระหว่างก�ำลังพลของทั้งสองประเทศในทุกระดับ Atlantic Treaty Organization (NATO) เมื่อ ๑๔ - ๑๖ และยังได้พบปะและให้โอวาทกับนายทหารนักเรียน และ มกราคม พ.ศ.๒๕๕๖ โดยกระทรวงการต่างประเทศ และ นักเรียนนายร้อยไทยที่ก�ำลังศึกษาในญี่ปุ่นอีกด้วย กระทรวงการต่างประเทศสาธารณรัฐเกาหลี เป็นเจ้าภาพ ร่วมการประชุม

ประจำ � ปี ง บประมาณ ๒๕๕๖

79

79


ร่วมการฝึกร่วม/ผสม คอบร้าโกลด์ ๑๓ เมื่อ ๑๑ - ๑๒ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๕๖ โดยมีผู้แทนทหารประเทศ ในอาเซียนเข้าร่วมฝึก ประกอบด้วย สาธารณรัฐสิงคโปร์ สาธารณรั ฐ เกาหลี ประเทศมาเลเซี ย และสาธารณรั ฐ อินโดนีเซีย นอกจากนี้ ยังด�ำรงความร่วมมือกับประเทศ ต่าง ๆ อย่างต่อเนื่อง ทั้งการแลกเปลี่ยนการเยี่ยมเยือน ของผู้บังคับบัญชาระดับต่าง ๆ การฝึกหัดศึกษา และการ ปฏิบัติการร่วมในโอกาสต่าง ๆ

ด�ำเนินความร่วมมือด้านความสัมพันธ์กบั ผูช้ ว่ ยทูต ทหารต่างประเทศประจ�ำกรุงเทพมหานคร และกับกองทัพ อากาศมิตรประเทศ รวมทั้งจัดก�ำลังพลเข้าร่วมปฏิบัติหน้าที่ สังเกตการณ์ทางทหารในสาธารณรัฐซูดาน และจัดตั้งคณะ กรรมการอาเซียนกองทัพอากาศ ซึ่งอยู่ระหว่างการจัดท�ำ ยุทธศาสตร์กองทัพอากาศเพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน พ.ศ. ๒๕๕๖ - ๒๕๖๕

80

ผลการดำ�เนินงานของกระทรวงกลาโหม

80


ขอขอบคุณ - - - - - - - - - -

สำ�นักงานรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม กรมราชองครักษ์ กองบัญชาการกองทัพไทย กองทัพบก กองทัพเรือ กองทัพอากาศ สำ�นักนโยบายและแผนกลาโหม สำ�นักงบประมาณกลาโหม องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก สถาบันเทคโนโลยีป้องกันประเทศ (องค์การมหาชน)

จัดทำ�โดย สำ�นักงานเลขานุการสำ�นักงานปลัดกระทรวงกลาโหม

ในศาลาว่าการกลาโหม ถนนสนามไชย แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพ ๑๐๒๐๐ โทรศัพท์ ๐ ๒๒๒๕ ๘๒๖๒ โทรสาร ๐ ๒๒๒๕ ๘๒๖๒

พิมพ์ที่ : บริษัท รุ่งศิลป์การพิมพ์ (๑๙๗๗) จำ�กัด

๕๕๕ หมู่ ๑๒ ถนนพุทธมณฑล สาย ๕ ตำ�บลไร่ขิง อำ�เภอสามพราน จังหวัดนครปฐม ๗๓๒๑๐ โทรศัพท์ ๐ ๒๘๑๑ ๗๗๗๘, ๐ ๑๘๑๑ ๗๗๗๐ โทรสาร ๐ ๒๘๑๑ ๗๗๑๕


ผลการด�ำเนินงานของกระทรวงกลาโหม ประจ�ำปี ๒๕๕๖

http://opsd.mod.go.th


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.