ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
หน่วยงานนโยบายและยุทธศาสตร์ความมั่นคง
ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม เปิดรับสมัครพนักงานราชการ จ�ำนวน ๖๐ อัตรา ตั้งแต่วันที่ ๒๔ ธันวาคม ๒๕๕๗ ถึง ๓๐ มกราคม ๒๕๕๘ ดูรายละเอียดได้ที่ http://opsd.mod.go.th และ http://opsd.thaijobjob.com โทรศัพท์ ๐ ๒๒๕๗ ๗๒๓๐ ว า ร ส า ร ร า ย เ ดื อ น ส� ำ นั ก ง า น ป ลั ด ก ร ะ ท ร ว ง ก ล า โ ห ม ปีที่ ๒๔ ฉบับที่ ๒๘๖ เดือนมกราคม พ.ศ. ๒๕๕๘
www.lakmuangonline.com
พระราชด�ำรัส พระราชทานแก่ประชาชนชาวไทยในโอกาสขึ้นปีใหม่ พุทธศักราช ๒๕๕๘ วันพุธที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๗ ประชาชนชาวไทยทั้งหลาย บัดนี้ถึงวาระจะขึ้นปีใหม่ ข้าพเจ้าขอส่งความปรารถนาดี มาอวยพร แก่ทา่ นทุก ๆ คน ให้มคี วามสุข ความเจริญ ซึง่ เป็นสิง่ ทีท่ กุ คนปรารภปรารถนา. ในปีใหม่นี้ ขอให้ประชาชนชาวไทยตั้งใจให้เที่ยงตรงแน่วแน่ ไม่ว่าจะ ท�ำการสิง่ ใด ให้คดิ ให้ดี ให้รอบคอบและรอบด้าน เพือ่ ให้การกระท�ำนัน้ บังเกิดผล เป็นความสุขความเจริญที่แท้จริงและยั่งยืน ทั้งแก่ตนเองและประเทศชาติ. ขออานุภาพแห่งคุณพระรัตนตรัยและสิ่งศักดิ์สิทธิ์ จงคุ้มครองรักษา ท่านทุกคน ให้มีความสุขสวัสดี พร้อมด้วยพรอันเป็นมงคลทุกประการ.
พลเอก ศิริชัย ดิษฐกุล ปลัดกระทรวงกลาโหม เป็นประธานในการแถลงข่าวการจัดการแข่งขัน จักรยาน รายการ “ปัน่ เทิดไท้องค์ราชัน ๘๗ พรรษา ตลอดปี ๒๕๕๘” ณ ห้องบอลลูมซี ชั้น ๖ โรงแรม อมารี วอเตอร์เกท ประตูน�้ำ เมื่อ ๑๘ ธ.ค.๕๗
ว า ร ส า ร ร า ย เ ดื อ น ข อ ง ส� ำ นั ก ง า น ป ลั ด ก ร ะ ท ร ว ง ก ล า โ ห ม
ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ ผู้อำ�นวยการ
พล.อ.วันชัย เรืองตระกูล พล.อ.อ.สุวิช จันทประดิษฐ์ พล.อ.ไพบูลย์ เอมพันธุ์ พล.อ.ยุทธศักดิ์ ศศิประภา พล.อ.ธีรเดช มีเพียร พล.อ.ธวัช เกษร์อังกูร พล.อ.สัมพันธ์ บุญญานันต์ พล.อ.อู้ด เบื้องบน พล.อ.สิริชัย ธัญญสิริ พล.อ.วินัย ภัททิยกุล พล.อ.อภิชาต เพ็ญกิตติ พล.อ.กิตติพงษ์ เกษโกวิท พล.อ.เสถียร เพิ่มทองอินทร์ พล.อ.วิทวัส รชตะนันทน์ พล.อ.ทนงศักดิ์ อภิรักษ์โยธิน พล.อ.นิพัทธ์ ทองเล็ก พล.อ.สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์
พล.ต.ณภัทร สุขจิตต์
รองผู้อำ�นวยการ
พ.อ.ณัฐวุฒิ คล้ายโอภาส พ.อ.คงชีพ ตันตระวาณิชย์
ผู้ช่วยผู้อำ�นวยการ
พ.อ.ปณิธาน กาญจนวิโรจน์
กองจัดการ ผู้จัดการ
น.อ.ธวัชชัย รักประยูร
ประจำ�กองจัดการ
น.อ.กฤษณ์ ไชยสมบัติ น.ท.วิษุวัตร์ แสนคำ� ร.น. พ.ต.ไพบูลย์ รุ่งโรจน์
เหรัญญิก
พ.ท.พลพัฒน์ อาขวานนท์
ที่ปรึกษา พล.อ.ศิริชัย ดิษฐกุล ผู้ช่วยเหรัญญิก
พล.อ.อ.ทรงธรรม โชคคณาพิทักษ์ พล.อ.ไพชยนต์ ค้าทันเจริญ พล.ร.อ.ชุมนุม อาจวงษ์ ร.น. พล.อ.วิชิต ศรีประเสริฐ พล.อ.ชัยชาญ ช้างมงคล พล.อ.นพดล ฟักอังกูร พล.อ.อดุลยเดช อินทะพงษ์ พล.อ.ชัชวาลย์ ขำ�เกษม พล.อ.นิวัติ ศรีเพ็ญ พล.ท.สุวโรจน์ ทิพย์มงคล พล.ท.พฤษภะ สุวรรณทัต พล.ท.ดำ�รงศักดิ์ วรรณกลาง พล.ท.ชุติกรณ์ สีตบุตร พล.ท.นเรศรักษ์ ฐิตะฐาน พล.ท.ถเกิงกานต์ ศรีอำ�ไพ พล.ท.อดุลย์ศักดิ์ บุญวัฒนะกุล พล.ท.พรรณนพ ศักดิ์วงศ์ พล.ท.เดชา บุญญปาล พล.ท.นภนต์ สร้างสมวงษ์ พล.ต.ภราดร จินดาลัทธ พล.ต.ชวลิต สาลีติ๊ด
ร.ท.เวช บุญหล้า
ฝ่ายกฎหมาย
น.ท.สุรชัย สลามเต๊ะ
ฝ่ายพิสูจน์อักษร
พ.อ.หญิง วิวรรณ วรวิศิษฏ์ธำ�รง ร.อ.หญิง กัญญารัตน์ ชูชาติ ร.น. ร.ท.หญิง ประภาพันธ์ มูลละ
กองบรรณาธิการ บรรณาธิการ
น.อ.พรหมเมธ อติแพทย์ ร.น.
รองบรรณาธิการ
พ.อ.ทวี สุดจิตร์ พ.อ.สุวเทพ ศิริสรณ์
ผู้ช่วยบรรณาธิการ
พ.อ.หญิง ใจทิพย์ อุไพพานิช
ประจำ�กองบรรณาธิการ
น.ท.ณัทวรรษ พรเลิศ น.ท.วัฒนสิน ปัตพี ร.น. พ.ท.ชาตบุตร ศรธรรม พ.ต.หญิง สิริณี ศรประทุม พ.ต.จิโรจม์ ชินวัตร ร.อ.หญิง กัญญารัตน์ ชูชาติ ร.อ.หญิง ลลิดา ดรุนัยธร ร.ต.หญิง พัชรี ชาญชัยพิชิต ร.ต.วัชรเทพย์ ปีตะนีละผลิน จ.ส.อ.หญิง ปาลดา สมพงษ์ผึ้ง จ.อ.หญิง สุพรรัตน์ โรจน์พรหมทอง
น.ท.หญิง รสสุคนธ์ ทองใบ ร.น. พ.ท.ชุมศักดิ์ สมไร่ขิง น.ต.ฐิตพร น้อยรักษ์ ร.น. พ.ต.หญิง สมจิตร พวงโต ร.อ.ยอดเยี่ยม สงวนสุข ร.ต.ศุภกิจ ภาวิไล ร.ต.จิรวัฒน์ ถนอมธรรม ร.ต.หญิง กันยารัตน์ พุกพัก จ.ส.อ.สมหมาย ภมรนาค ส.อ.ธีร์นริศวร์ ขอพึ่งธรรม
บทบรรณาธิการ วารสารหลักเมือง ฉบับขึ้นปีใหม่ เดือนมกราคม ๒๕๕๘ ปีแห่งการเดินหน้าประเทศไทย และ ปฏิรูปประเทศ การเปลี่ยนแปลงในทุกมิติอย่างมีระบบ ได้ปรากฏให้เห็นและมีความชัดเจนขึ้น สิ่ง ที่เกิดขึ้นนี้ เริ่มปรากฎเป็นรูปธรรมตั้งแต่ในช่วงเดือนธันวาคม ปลายปี ๒๕๕๗ โดยที่เห็นชัดเจน และเป็นรูปธรรม ได้แก่ ราคาน�้ำมันที่ปรับลดลง จะด้วยราคาในตลาดโลกลดลง หรือปัจจัยอื่น ๆ ก็ตาม แต่นับเป็นเรื่องดีส่งท้ายปีเก่า...ต้อนรับปีใหม่ที่พวกเราคนไทย ได้รับกันถ้วนหน้า...ถือเป็น ของขวัญชิ้นใหญ่ที่รัฐบาลมอบให้ประชาชนนอกเหนือจากการที่ พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ได้มอบหมายให้ทุกกระทรวง ทบวง กรม รวมถึงรัฐวิสาหกิจ จัดกิจกรรม/โครงการ ในความรับผิดชอบมอบเป็นของขวัญปีใหม่ให้กับประชาชน ซึ่งในส่วนของกระทรวงกลาโหมได้จัด กิจกรรม/โครงการ ๓ เรื่องหลัก ประกอบด้วย การสร้างความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน การ ช่วยเหลือประชาชนและพัฒนาอาชีพ และในเรื่องของการให้บริการต่าง ๆ โดยร่วมท�ำพร้อมกันทุก หน่วยทั่วประเทศ บางแผนงาน/โครงการ เริ่มและจบโครงการไปแล้ว ในห้วงสัปดาห์สุดท้ายของปี ๒๕๕๗ ต่อกับสัปดาห์แรกของปี ๒๕๕๘ อาทิ การจัดกิจกรรมสัปดาห์ท�ำความสะอาดศาสนสถาน และแหล่งชุมชนร่วมกับประชาชนในพื้นที่ทั่วประเทศ การจัดตั้งจุดบริการและช่วยเหลือนักท่อง เที่ยวทั้งทางบกและทางน�้ำ การเปิดแหล่งท่องเที่ยวและพิพิธภัณฑ์ รวมถึงศูนย์การเรียนรู้ตามหลัก ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในหน่วยทหารให้ประชาชนเข้าเยีย่ มชมโดยไม่คดิ ค่าใช้จา่ ย เหล่านีเ้ ป็นต้น กล่าวถึงเรื่องดี ๆ ส่งท้ายปีเก่าต้อนรับปีใหม่ไปแล้ว ขอย้อนกลับไปพูดถึงเหตุการณ์ก่อการร้าย ที่ออสเตรเลีย และปากีสถาน นับเป็นเหตุสะเทือนขวัญอย่างมากที่จะต้องมาทบทวนกัน ในกรณี จับตัวประกันที่ซิดนีย์ เป็นการปฏิบัติการโดยคนที่ไม่ปกติ นิยมความรุนแรง โดยคน ๆ เดียว ขณะ ที่กลุ่มก่อการร้าย กราดยิงนักเรียนในโรงเรียนที่ปากีสถาน มีผู้เสียชีวิต กว่า ๑๔๐ คน มีที่มาที่ไป เกิดจากการต้องการ “แก้แค้น” ทหารปากีสถาน ทีก่ วาดล้างกลุม่ ก่อการร้าย กรณีการจับตัวประกัน ที่ซิดนีย์ อยู่ระหว่างการสอบสวน ซึ่งมีกระแสข่าวว่าผู้ก่อเหตุ เป็นบุคคลที่มีประวัติอาชญากรรม นิยมความรุนแรง ทางการอิหร่านขอให้ออสเตรเลีย ส่งตัวเป็นผู้ร้ายข้ามแดน แต่ยังอยู่ระหว่าง การสอบสวนว่าเหตุใดผู้ก่อการร้ายรายนี้จึงถูกละเลย อย่างไรก็ตาม เหตุการณ์ร้ายที่ออสเตรเลีย ได้สะท้อนให้เห็นถึงการให้เกียรติและยกย่องตัวประกัน ๒ คน ที่เสียชีวิตในเรื่องของความเสียสละ ซึ่งเป็นสิ่งที่สังคมโลกต้องการในห้วงเวลาปัจจุบัน
2
ปีที่ ๒๔ ฉบับที่ ๒๘๖ เดือนมกราคม พ.ศ. ๒๕๕๘
๔
๔
พระราชปณิธาน การอนุรักษ์ ทรัพยากรป่าไม้
๘
๙ แผ่นดินของการ ปฏิรปู ระบบราชการ (ตอนที่ ๒)
๑๘
๘
๑๕
๑๘
ระบบอาวุธเลเซอร์
๒๑
ก้าวส�ำคัญอีกครั้ง กับจรวด DTI-1G และ DTI-2
๒๔
The Growth at Guam
หลักการของ นายพลแพตตัน ตอนที่ ๒๙ (ตอนจบ)
๔๔
มหัศจรรย์ แห่งรอยยิ้ม "Miracle of smile"
๔๘ ๓๒
๒๔
เมืองส�ำคัญของพม่า ในสมัยราชวงศ์ ตองอู
๕๒
ยุทธศาสตร์ "สร้อยไข่มุก" ของจีน”
๒๘
ระบบส่งก�ำลังร่วม ทางอากาศความ แม่นย�ำสูง (Joint Precision Airdrop System, JPADS)
๔๐
๑๕
วันที่ระลึกคล้าย วันสถาปนากรม เสมียนตรา ครบ ๑๐๖ ปี
๓๖
๓๖
๒๘
“ความสุข Happiness”
๔๐
๔๔ “ฉลองปีใหม่
๕๔
อย่างไร ไม่ให้ ท�ำลายสุขภาพ”
๓๒
๖๒
รถถังหลัก เลียวปาร์ด-๒
๔๘
กิจกรรมสมาคม ภริยาข้าราชการ ส�ำนักงาน ปลัดกระทรวง กลาโหม
๕๒ ๖๒
ข้อคิดเห็นและบทความที่น�ำลงในวารสารหลักเมืองเป็นของผู้เขียน มิใช่ข้อคิดเห็นหรือนโยบายของหน่วยงานของรัฐ และมิได้ผูกพันต่อทางราชการแต่อย่างใด ส�ำนักงานเลขานุการส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ถนนสนามไชย เขตพระนคร กรุงเทพฯ ๑๐๒๐๐ โทร./โทรสาร ๐-๒๒๒๕-๘๒๖๒ http://61.19.220.3/opsd/sopsdweb/index_1.htm พิมพ์ที่ : แผนกโรงพิมพ์ กองบริการ ส�ำนักงานสนับสนุน ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ออกแบบ : บริษัท รุ่งศิลป์การพิมพ์ (๑๙๗๗) จ�ำกัด หลักเมือง มกราคม ๒๕๕๘
3
4
พลตรี ชัยวิทย์ ชยาภินันท์
พระราชปณิธาน การอนุรักษ์ ทรัพยากรป่าไม้ พลตรี ชัยวิทย์ ชยาภินันท์
"...การที่จะมีต้นน�้ำล�ำธารไปชั่วกาลนาน นั้น ส�ำคัญอยู่ที่การรักษาป่าและปลูกป่า บริเวณต้นน�้ำ ซึ่งบนยอดเขาและเนินสูงขึ้น ต้องมีการปลูกป่าโดยไม้ยืนต้นและปลูกไม้ ฟืน ซึ่งไม้ฟืนนั้น ราษฎรสามารถตัดไปใช้ได้ แต่ตอ้ งการมีการปลูกทดแทนเป็นระยะ ส่วน ไม้ยืนต้นนั้น จะช่วยให้อากาศมีความชุ่มชื้น เป็นขัน้ ตอนหนึง่ ของระบบการให้ฝนตกแบบ ธรรมชาติ ทัง้ ยังช่วยยึดดินบนภูเขาไม่ให้พงั ทลายเมื่อเกิดฝนตกอีกด้วย ซึ่งถ้ารักษา สภาพป่าไม้ไว้ให้ดแี ล้ว ท้องถิน่ ก็จะมีนำ�้ ไว้ใช้ ชั่วกาลนาน…"
หลักเมือง มกราคม ๒๕๕๘
พระราชด�ำรัสบางตอนของพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวที่ทรงพระราชทานแก่พสกนิกร เมื่ อ วั น ที่ ๑๔ เมษายน ๒๕๒๐ ณ อ�ำเภอ ชัยบาดาล จังหวัดลพบุรี ซึ่งเป็นที่ประจักษ์ต่อ สาธารณชนว่า พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว องค์ พ ระประมุ ข ของประเทศ ทรงมี พ ระ ราชปณิธานอย่างชัดเจนในเรื่องการอนุรักษ์ ทรั พ ยากรป่ า ไม้ โดยทรงชั ก ชวนให้ ร าษฎร มี ค วามตระหนั ก และมี ค วามคิ ด ในการดู แ ล รักษาและป้องกันรักษาสภาพป่าไม้ต้นน�้ำให้ อยู่ในสภาพดี เพื่อให้มีประชาชนในพื้นที่ใกล้ แหล่งน�้ำและประชาชนที่อยู่ในพื้นที่อื่นมีน�้ำ
5
เพียงพอต่อการอุปโภคและบริโภคได้ตลอด ไป ทั้งนี้เนื่องจาก ทรงมีพระราชด�ำริว่าป่า ไม้ คื อ ทรั พ ยากรที่ ส� ำ คั ญ ของชาติ เป็ น สิ่ ง ที่ ให้ประโยชน์แก่ประชาชนและประเทศชาติ ทั้งทางตรงและทางอ้อม หากประชาชนทุก คนมีความตระหนักที่จะช่วยกันรักษาความ สมดุลของสภาพแวดล้อมโดยเฉพาะในเรื่อง ของป่าไม้ต้นน�้ำ ก็ย่อมจะท�ำให้บังเกิดความ อุดมสมบูรณ์แก่ทรัพยากรป่าไม้ที่เป็นเสมือน หัวใจ และแหล่งน�้ำที่เป็นเสมือนสายโลหิตของ ประเทศ ทั้งยังเป็นการป้องกันภัยธรรมชาติ ซึ่งอาจน�ำความเสียหายอย่างร้ายแรงแก่ชีวิต และทรัพย์สินของประชาชน ในทางกลับกัน หากพิจารณาแล้ว สาเหตุส�ำคัญที่ก่อให้เกิดภัย ธรรมชาติได้นนั้ ส่วนหนึง่ มาจากการลักลอบตัด ไม้ท�ำลายป่าจนสร้างความเสียหายต่อสภาพ ป่าไม้ของชาติ ท�ำให้เกิดสภาวะการขาดสมดุล ของสภาพแวดล้อมจนขยายตัวสูงขึ้นจนเกิด เป็นอันตรายต่อชีวิตและทรัพย์สิน จากความส�ำคัญของป่าไม้ต้นน�้ำดังกล่าว พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว จึงพระราชทาน แนวพระราชด�ำริดา้ นการป่าไม้ให้แก่ประชาชน และส่วนราชการ โดยมีสาระส�ำคัญ รวม ๓ แนวทางที่สอดประสานกัน ดังนี้ แนวทางที่ ๑ : การอนุ รั ก ษ์ ป ่ า และสิ่ ง แวดล้อม เพื่อแก้ไขปัญหาการเสื่อมโทรมของ ทรัพยากรดิน น�้ำ และป่าไม้ ซึ่งทั้งสามสิ่งนี้มี ความสัมพันธ์กัน ต่างเอื้ออ�ำนวยประโยชน์ต่อ กันและกัน หากทรัพยากรอย่างหนึง่ อย่างใดถูก กระทบกระเทือน ก็ย่อมส่งผลกระทบต่อความ สมดุลทางธรรมชาติของทรัพยากรทัง้ สามสิง่ ไป ด้วย จึงพระราชทานแนวพระราชด�ำริในการ จัดการอนุรักษ์ป่าและสิ่งแวดล้อม ด้วยการ 6
รักษาป่าต้นน�้ำให้อยู่อย่างปลอดภัยจากการ รบกวนหรือเสีย่ งต่อความเสียหายทีเ่ กิดจากคน การบริหารจัดการน�้ำเพื่อการสร้างความชุ่มชื้น ในบริเวณพื้นที่อนุรักษ์คือ ต้นน�้ำ ล�ำธาร และ สิ่งแวดล้อม ที่ก่อประโยชน์ต่อสภาพน�้ำ การ จ่ายปันน�้ำ เพื่อแผ่ขยายความชุ่มชื้นแก่สภาพ แวดล้ อ มในพื้ น ที่ ด ้ ว ยจั ด สรรน�้ ำ ส� ำ หรั บ การ อุปโภค บริโภคและเพื่อการเกษตร และการ รักษาป่าชายเลน เพื่อเพิ่มความอุดมสมบูรณ์ แก่พื้นที่ท้ายน�้ำหรือชายฝั่งทะเล แนวทางที่ ๒ : การฟื้นฟูสภาพป่าและ การปลูกป่า พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ พระราชทานแนวพระราชด�ำริที่เป็นแนวคิด และวิ ธี ก าร กล่ า วคื อ การฟื ้ น ฟู ต ามหลั ก ธรรมชาติโดยถือหลักให้ธรรมชาติพลิกฟื้นตัว เอง การปลูกป่าทดแทนโดยมีเทคนิคในการ ปลูกป่า ด้วยการรักษาหน้าดินเอาไว้กับปลูก ต้นไม้ที่มีขนาดความสูงต่างระดับกัน ทั้งนี้ ควร เป็นต้นไม้ชนิดโตเร็วเพื่อเป็นไม้เบิกน�ำ ปลูก พันธ์ุพืชไม้ท้องถิ่น และพันธ์ุไม้ไม่ผลัดใบแทรก เข้าไปในป่า เพื่อรักษาความชุ่มชื้นของดิน แต่ หากบริ เ วณพื้ น ที่ ที่ เ ป็ น ภู เ ขาสู ง อาจใช้ พื ช ที่ มีเมล็ดน�ำไปปลูกไว้บนยอดเขาเพื่อให้ขยาย พันธ์ุเองตามธรรมชาติ โดยเริ่มแรกควรปลูก ต้นไม้ในบริเวณใกล้แหล่งเก็บน�้ำและพื้นที่ชุ่ม ชืน้ ก่อนแล้วค่อยขยายพืน้ ทีป่ ลูกออกไป เพือ่ ให้ เกิดประโยชน์จากน�้ำที่ไหลมาจากยอดเขาลงสู่ พื้นที่ตอนล่างให้ได้ประโยชน์สูงสุด แนวทางที่ ๓ : การพัฒนาเพื่อให้ชุมชน อยู ่ ร ่ ว มกั บ ป่ า อย่ า งยั่ ง ยื น พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ทรงมี พ ระราชด� ำ ริ ใ ห้ ค นอยู ่ ร่วมกับป่าได้ โดยทรงพยายามเปลี่ยนราษฎร จากสภาพผู้บุกรุกท�ำลายป่าให้กลายมาเป็น
ผู้อนุรักษ์ทรัพยากรป่า ด้วยทรงตระหนักถึง การพึ่งพาของคนและป่าอย่างยั่งยืน ด้วยการ จัดจ�ำแนกความเหมาะสมของการใช้ประโยชน์ ของที่ดินตามลักษณะโครงสร้างของดิน ควบคู่ ไปกับการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพด้วยการให้ ราษฎรปลูกพืชเศรษฐกิจเพื่อการพึ่งตนเอง ใน ขณะเดียวกัน ต้องส่งเสริมให้ราษฎรมีส่วนร่วม ในกิจกรรมการปลูกป่า และจัดการทรัพยากร ด้วยตนเอง กับส่งเสริมการศึกษาเพือ่ ให้ราษฎร มีความรู้ มีความส�ำนึกทางสังคม มีความส�ำนึก ในทางอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม และท้ายที่สุดจะ ต้องเสริมสร้างคุณธรรม สร้างจิตส�ำนึกงานด้าน อนุรักษ์ป่าไม้และต้นน�้ำล�ำธาร ทุกท่านทราบหรือไม่ว่า แนวพระราชด�ำริที่ เน้นการเสริมสร้างคุณธรรมและจิตส�ำนึก ถือ ได้ว่าเป็นปัจจัยส�ำคัญที่ดลบันดาลให้ต้นน�้ำ ล�ำธารของประเทศไทยยืนยงด�ำรงอยู่มาตราบ จนวันนี้ และมีแนวโน้มว่าจะคงอยูต่ อ่ ไปอีกเป็น เวลานาน ทั้งนี้ กระบวนการสร้างจิตส�ำนึกแก่ ราษฎรตามแนวพระราชด�ำรินั้น หาใช่เพียง แค่การพูด หรือการสอนเท่านั้น แต่พระราช กรณียกิจที่พระองค์ทรงบ�ำเพ็ญคือการลงมือ ท�ำให้ประชาชนสามารถเห็นได้ สามารถสัมผัส ได้ และบังเกิดประโยชน์ได้จริงจากความอุดม สมบูรณ์ของป่าไม้ พืน้ ดิน และแหล่งน�ำ ้ จากพระราชกรณี ย กิ จ ที่ ท รงบ� ำ เพ็ ญ ต่ อ ประเทศและพสกนิกรอย่างต่อเนื่องเป็นเวลา หลายสิ บ ปี ตั้ ง แต่ ก ารเสด็ จ พระราชด� ำ เนิ น เยี่ยมหน่วยงานต่างๆ และประชาชนในหลาก หลายพื้นที่อย่างเอาพระราชหฤทัยใส่ จึงทรง รับทราบถึงสภาพการท�ำงาน ชีวติ ความเป็นอยู่ ความทุกข์ ความสุข ของผู้ปฏิบัติงานและพสก นิกรของพระองค์ จึงเป็นบทพิสูจน์อันส�ำคัญที่ พลตรี ชัยวิทย์ ชยาภินันท์
พสกนิกรทั่วแผ่นดินต่างซาบซึ้งในพระเมตตา และพระมหากรุณาธิคุณที่มีต่อสยามประเทศ และสยามชน อันเป็นที่ประจักษ์ของทุกภาค ส่วนและทุกภาคประชาสังคม ที่ตระหนักรู้ถึง พระราชปณิธานอันยิ่งใหญ่ขององค์พระบาท สมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ที่ ท รงมี ต ่ อ แผ่ น ดิ น ผื น นี้ จนประสบผลเป็นความตระหนักร่วมกัน เป็นสิ่งยึดเหนี่ยวร่วมกันของชนในชาติ และ น�ำมาสู่การสร้างพลังความรัก พลังสามัคคีใน การประกอบกิจการงานอันเป็นประโยชน์ต่อ ประเทศไทยร่วมกัน ทัง้ นี้ ในวันที่ ๑๔ มกราคม ๒๕๓๒ พระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงลงพระปรมาภิไธย ในพระราชก� ำ หนดแก้ ไ ขเพิ่ ม เติ ม พระราช บัญญัตปิ า่ ไม้ พุทธศักราช ๒๔๘๔ และพระราช ก�ำหนดแก้ไขเพิ่มเติม พระราชบัญญัติอุทยาน แห่งชาติ พุทธศักราช ๒๕๐๔ โดยพระราช ก�ำหนดดังกล่าวได้เล็งเห็นความส�ำคัญว่าภัย ธรรมชาติที่เกิดขึ้นมานั้นเป็นส่วนหนึ่งมาจาก สาเหตุการลักลอบตัดไม้ท�ำลายป่า จ�ำเป็นต้อง ท�ำการรณรงค์อย่างต่อเนื่องและระยะยาวให้ ประชาชนได้เข้าใจและให้ความส�ำคัญในการ อนุรกั ษ์ทรัพยากรป่าไม้ ด้วยการสร้างจิตส�ำนึก ให้กับประชาชนเกี่ยวกับอันตรายที่อาจเกิด ขึ้ น จากการตั ด ไม้ ท� ำ ลายป่ า เพื่ อ ต้ อ งการ อนุรักษ์ป่าไม้ที่มีอยู่อย่างจ�ำกัดมิให้ถูกท�ำลาย ต่อไป พร้อมทั้งได้ก�ำหนดให้ห้วงปีพุทธศักราช หลักเมือง มกราคม ๒๕๕๘
๒๕๓๒ – ๒๕๓๕ เป็น ปีแห่งการป้องกันและ อนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ของชาติ ในเวลาต่อ มา คณะรัฐมนตรีได้มีมติ เมื่อวันที่ ๙ มกราคม ๒๕๓๓ ก�ำหนดให้วันที่ ๑๔ มกราคมของทุก ปีเป็น "วันอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้แห่งชาติ" เพื่อสร้างความตระหนักให้ประชาชนมีความ รู้สึกรักและหวงแหนทรัพยากรป่าไม้กับรู้คุณ ค่าในการใช้ไม้อย่างประหยัด ย่อมส่งผลให้ สามารถอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ไว้เป็นสมบัติ ของประชาชนทุกคนในชาติได้ตลอดไป และใน วันที่ ๑๔ มกราคม ๒๕๕๘ จะเป็นวันครบรอบ ๒๕ ปีแห่งการสถาปนา"วันอนุรักษ์ทรัพยากร ป่าไม้แห่งชาติ" ผูเ้ ขียนจึงใคร่ขอเชิญชวนพีน่ อ้ ง ประชาชนชาวไทยทุกคนร่วมร�ำลึกถึงความ ส�ำคัญของทรัพยากรป่าไม้ พื้นดินและแหล่ง น�้ำ กับตั้งใจที่จะร่วมกันอนุรักษ์ทรัพยากรอัน มีค่ายิ่งเหล่านี้เพื่อประโยชน์ของชาวไทยทุก คนและจะเป็นสมบัติอันล�้ำค่าที่เราจะร่วมกัน ส่งมอบสมบัตินี้แก่อนุชนรุ่นต่อ ๆ ไป เพื่อใช้ ประโยชน์และเก็บรักษาให้คงอยู่สืบไป พร้อม กันนี้ ขอให้สยามชนทุกท่านได้น้อมถวายพระ เกียรติแด่องค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวที่ ทรงมี พระราชปณิธานการอนุรักษ์ทรัพยากร ป่าไม้ ให้เป็นแบบอย่างและสร้างเป็นวิถีชีวิต ของคนในพืน้ ทีผ่ เู้ ป็นผูใ้ ช้ประโยชน์ทางตรงจาก ป่าไม้ต้นน�้ำล�ำธาร และประชาชนชาวไทยทุก คนผู้เป็นผู้รับประโยชน์จากความอุดมสมบูรณ์
ทางทรัพยากรธรรมชาติเหล่านี้ พร้อมกับร่วม กันถวายพระพรชัยมงคลว่า ขอองค์ พ ระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว จงทรงพระเจริญยิ่งยืนนาน
7
แผ่นดิน
ของการปฏิรูประบบราชการ
พระบาทสมเด็จ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช พระราชประวัติ พระปรีชาสามารถ ในการบริหารราชการแผ่นดิน (ตอนที่ ๒) ส�ำนักพัฒนาระบบราชการกลาโหม 8
ส�ำนักพัฒนาระบบราชการกลาโหม
ก
ารสร้างราชธานีแห่งใหม่ของไทย พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้า จุฬาโลกมหาราชมีพระราชด�ำริว่า ราชธานีซึ่งตั้งอยู่ ณ กรุงธนบุรีนั้นมีสภาพไม่ เหมาะที่จะเป็นศูนย์กลางของราชอาณาจักร อันถาวรได้ ด้วยเหตุที่มีพระราชญาณทัศน์ทรง คาดคะเนได้ว่า ไม่ช้าพม่าจะยกทัพมาตีไทยซึ่ง เพิ่งตั้งตัวขึ้นใหม่อีก กรุงธนบุรีประกอบด้วย อาณาเขตสองฝั่งแม่น�้ำเจ้าพระยามีลักษณะ เป็น “เมืองอกแตก” ท�ำนองเดียวกับเมือง พิษณุโลก ซึ่งพระองค์ทรงมีประสบการณ์ใน การป้องกันรักษามาเมื่อคราวศึกอะแซหวุ่นกี้ ซึ่ ง ล� ำ บากทั้ ง การล� ำ เลี ย งอาหารและอาวุ ธ ยุ ท ธภั ณ ฑ์ ตลอดทั้ ง การสั บ เปลี่ ย นทหาร และชาวเมืองให้เป็นเวรรักษาหน้าที่ป้องกัน พระนคร พระองค์ จึ ง มี พ ระราชด� ำ ริ ส ร้ า ง พระนครใหม่ ขึ้ น ทางฝั ่ ง ตะวั น ออก ซึ่ ง เป็ น ที่หัวแหลมฝั่งเดียว ใช้แม่น�้ำเจ้าพระยาเป็น คู เ มื อ งด้ า นทิ ศ ตะวั น ตกและทิ ศ ใต้ แล้ ว ขุ ด คลองขึ้นเป็นคูเมืองด้านทิศเหนือและตะวัน ออก ราชธานีใหม่นี้จะมีน�้ำล้อมรอบเช่นเดียว กั บ พระนครศรี อ ยุ ธ ยาซึ่ ง เป็ น ชั ย ภู มิ ที่ จ ะ รับศึกได้อย่างดี โปรดเกล้า ฯ ให้รื้อก�ำแพง และป้อมกรุงศรีอยุธยาน�ำอิฐมาสร้างก�ำแพง และป้อมปราการของราชธานีใหม่ เพื่อมิให้ กรุงศรีอยุธยาเป็นที่อาศัยของข้าศึกทรงพระ กรุณาโปรดเกล้า ฯ ขนานนามราชธานีใหม่ว่า “กรุงเทพมหานคร บวรรัตนโกสินทร์ ฯ” ให้ ต้องกับการที่เป็นเมืองสถิตแห่งองค์พระพุทธ มหามณีรัตนปฏิมากร” สรุปเหตุผลที่มีพระ ราชด�ำริย้ายราชธานี ดังนี้ หลักเมือง มกราคม ๒๕๕๘
๑) พระราชวังเดิมของกรุงธนบุรีคับแคบ : มี วั ด ขนาบอยู ่ ทั้ ง สองด้ า น คื อ วั ด อรุ ณ ราชวราราม (วัดแจ้ง) และวัดโมลีโลกยาราม (วัดท้ายตลาด) จึงยากแก่การขยายพระราชวัง ๒) ภูมิประเทศกรุงธนบุรีไม่เหมาะสม : เนื่ อ งจากฝั ่ ง ตะวั น ตกหรื อ ราชธานี เ ดิ ม เป็ น ท้องคุ้ง อาจถูกน�้ำกัดเซาะตลิ่งพังได้ง่าย ฝั่ง ตะวันออก (กรุงเทพ) เป็นแหลมพื้นดินจะงอก อยู่เรื่อย ๆ ๓) กรุงธนบุรีไม่เหมาะทางด้านท�ำเลที่ตั้ง ยุทธศาสตร์ : กล่าวคือ มีแม่น�้ำเจ้าพระยาผ่า กลางเสมือนเมืองอกแตก เมื่อใดข้าศึกยกทัพ มาตามล�ำน�้ำก็สามารถตีถึงใจกลางเมืองได้ง่าย ๔) ความไม่เหมาะสมในการขยายเมืองใน อนาคต : พื้นที่ฝั่งตะวันออกเป็นที่ราบลุ่มกว้าง ขวาง สามารถขยายตัวเมืองไปทางเหนือและ ตะวันออกได้ ภายในราชธานีใหม่ มีองค์ประกอบตาม ลักษณะของราชธานีกรุงศรีอยุธยา คือ จ�ำแนก ลักษณะ พื้นที่ออกได้ ๓ ส่วน คือ ๑) บริเวณพระราชวัง ประกอบด้วย วัง หลวง วั ง หน้ า วั ง ใน พระราชวั ง หลวงซึ่ ง พระราชทานนามว่า วัดพระศรีรตั นศาสดาราม รวมทั้งทุ่งพระสุเมรุ ท้องสนามหลวง มีความ ส� ำ คั ญ ประดุ จ ศู น ย์ ก ลางของราชธานี เป็ น ที่ ป ระดิ ษ ฐานปู ช นี ย วั ต ถุ อั น เป็ น หลั ก พระ มหานคร คือ พระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร เป็นที่ประทับขององค์พระมหากษัตริย์ และ เป็นศูนย์กลางของการบริหารราชการแผ่นดิน ๒) บริเวณที่อยู่อาศัยภายในก�ำแพงเมือง อาณาเขตก�ำแพงเมือง ประตูเมือง และป้อม
ปราการสร้างขึ้นตามแนวคลองรอบกรุง ได้แก่ คลองบางล�ำพู หรือคลองโอ่งอ่าง ๓) บริเวณทีอ่ ยูอ่ าศัยภายนอกก�ำแพงเมือง เป็นพื้นที่เกษตรกรรม มีบ้านเรือนราษฎรตั้ง อยู่ด้านนอกของคลองรอบกรุง มีคลองขุด คือ คลองมหานาค ซึง่ ตัง้ ชือ่ ตามคลองทีม่ อี ยูใ่ นกรุง ศรีอยุธยา การสถาปนาพระราชวังหลวงเป็นพระ ราชฐานที่ประทับและศูนย์กลางการบริหาร ราชการแผ่นดิน พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก มหาราช ทรงพระกรุ ณ าโปรดเกล้ า ฯ ให้ พระยาวิ จิ ต รนาวี กั บพระยาธรรมาธิบ ดีเป็น แม่กอง สถาปนาพระราชวังหลวงแห่งใหม่ ณ ที่ดินอันเป็นที่ตั้งบ้านของพระยาราชาเศรษฐี ขุนนางเชื้อสายจีนและหมู่บ้านชาวจีน โดย พระราชทานที่ ดิ น ให้ พ ระยาราชาเศรษฐี น� ำ พวกจีนไปตั้งบ้านเรือนอยู่ใหม่ในที่สวน ตั้งแต่ คลองใต้วดั สามปลืม้ จนถึงคลองเหนือวัดส�ำเพ็ง เริ่ ม การก่ อ สร้ า งพระราชวั ง หลวงเมื่ อ วั น ที่ ๖ พฤษภาคม พุ ท ธศั ก ราช ๒๓๒๕ พร้อม กับการสร้างพระมหาปราสาทราชมณเฑียร สร้างพระอารามขึ้นในพระราชวังหลวงแล้ว อัญเชิญพระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร พระ แก้วมรกตมาประดิษฐาน สถาปนาเป็นพระ อารามหลวง พระราชทานนามว่า “วัดพระ ศรีรัตนศาสดาราม” พระราชวังหลวงที่สร้าง ขึ้นใหม่นี้ได้ถ่ายผังและโครงสร้างหลักมาจาก พระราชวังหลวงของกรุงศรีอยุธยาแสดงการ สืบต่อศูนย์กลางราชอาณาจักรของราชธานี 9
แห่งใหม่น้ีกล่าวคือ สร้างพระราชวังชิดแม่น�้ำ เจ้ า พระยา หั น หน้ า พระราชวั ง ขึ้ น เหนื อ น�้ ำ แม่น�้ำอยู่ด้านซ้ายของพระราชวัง ก�ำแพงเมือง ด้านข้างแม่น�้ำเป็นก�ำแพงพระราชวังชั้นนอก มีเนื้อที่ ๑๒๕ ไร่ ๒ งานรวมความยาวโดย รอบสี่ด้านของแนวก�ำแพง ทั้งหมด ๑,๙๑๐ เมตร ประกอบด้วยป้อมปราการและประตู พระราชวังโดยรอบ ภายในของพระราชวังหลวงแบ่งเขตพระ ราชฐานออกเป็น ๔ ส่วน คือ เขตพระราชฐาน ชั้นนอก ชั้นกลาง ชั้นใน และเขตพุทธาวาส คือวัดประจ�ำพระราชวังที่พระราชทานนาม ว่ า “วั ด พระศรี รั ต นศาสดาราม” การวาง ผังพระที่นั่งต่าง ๆ ก็เช่นกันกับพระที่นั่งใน พระราชวั ง กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยา คื อ หมู ่ พ ระมหา มณเฑียรตรงกับพระวิหารสมเด็จ พระที่นั่ง ดุสติ มหาปราสาทตรงกับพระทีน่ งั่ สุรยิ ามรินทร์ 10
วัดพระศรีรัตนศาสดารามตรงกับวัดพระศรี สรรเพชญ พระทีน่ งั่ องค์ตา่ ง ๆ ทีส่ ร้างขึน้ สมัยนี้ ล้วนเป็นทัง้ พระราชฐานทีป่ ระทับของพระมหา กษัตริย์ และประกอบการพระราชพิธีที่ส�ำคัญ เนื่องในการบริหารราชการแผ่นดิน กล่าวคือ พระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัยและพระที่นั่งดุสิต มหาปราสาทเป็นท้องพระโรงส�ำหรับเสด็จออก ว่าราชการแผ่นดิน ซึ่งการว่าราชการแผ่นดิน ในยุคนั้น คือภาพสะท้อนให้เห็นว่าพระมหา กษั ต ริ ย ์ ท รงด� ำ รงฐานะประธานของระบบ บริหารราชการแผ่นดิน พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬา โลกมหาราช “ทรงวางรากฐาน” ระบบบริหาร ราชการแผ่นดินและการสร้างประสิทธิภาพ ข้าราชการ “...ตัง้ ใจจะอุปถัมภก ยอยกพระพุทธศาสนา ป้ อ งกั น ขอบขั ณ ฑสี ม า รั ก ษาประชาชนแล มนตรี...” ค� ำ ร้ อ ยกรองนี้ เ ป็ น พระราชนิ พ นธ์ ใ น พระบาทสมเด็ จ พระพุ ท ธยอดฟ้ า จุ ฬ าโลก มหาราช จากเพลงยาวรบพม่าที่ท่าดินแดง พระราชนิ พ นธ์ เ มื่ อ เสด็ จ ราชการทั พ เมื อ ง กาญจนบุ รี ส ะท้ อ นพระราชปณิ ธ านของ พระองค์ว่า พระมหากษัตริยาธิราชแห่งสยาม ประเทศทรงเป็นนักปกครองและบริหาราชการ แผ่นดินด้วยหลัก ๓ ประการ คือ ๑) ท�ำนุบ�ำรุงฝ่ายพุทธจักร คือ พระพุทธ ศาสนาและคณะสงฆ์ให้บริสุทธิ์เที่ยงธรรม ๒) รักษาความมั่นคงและเสถียรภาพของ พระราชอาณาจักร
๓) บ� ำ รุ ง การอยู ่ ดี กิ น ดี และจิ ต ใจของ ประชาชน และการสร้ า งข้ า ราชการที่ มี ประสิทธิภาพ พระราชปณิธาน ๓ ประการนี้ อาจน�ำมา จัดโครงสร้างที่เชื่อมโยงกันเป็นรูปสามเหลี่ยม อั น จะน� ำ พาพระราชอาณาจั ก รสยามให้ มี ความเป็นเอกภาพและเสถียรภาพมั่นคง หาก ฝ่ายพุทธจักรมีความมั่นคงและบริสุทธิ์เที่ยง ธรรม จะสามารถเป็นหลักทางจิตวิญญาณให้ ฝ่ายอาณาจักรได้ เมื่อฝ่ายอาณาจักรมีความ มั่ น คงหมายถึ ง เสถี ย รภาพความมั่ น คงของ ขอบขัณฑสีมาพระราชปณิธานทั้ง ๓ ประการ จึงเป็นหัวใจส�ำคัญของการปกครองบ้านเมือง ของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก มหาราชในฐานะผู ้ น� ำ ที่ ท รงก� ำ หนดทิ ศ ทาง ของการปกครองบ้านเมืองและบริหารราชการ แผ่นดินชัดเจน ทรงมียุทธศาสตร์และกลยุทธ์ ของพระราชปณิธาน โดยทรงสร้างดุลยภาพ ของฝ่ายพุทธจักรและอาณาจักร เมื่อดุลยภาพ ของทั้งสองฝ่ายเกิดขึ้นในราชอาณาจักรแล้ว “ประชาชนแลมนตรี” หมายถึงประชาชนและ ข้าราชการ ย่อมได้รับประโยชน์สุขจากระบบ บริหารราชการแผ่นดินนัน้ ดังจะได้นำ� พระราช กรณียกิจทั้ง ๓ ประการมาแสดง ได้แก่ พระราชกรณียกิจการวางโครงสร้างการ ปกครองพระราชอาณาจักร แม้ว่าระบอบการปกครองเมื่อแรกสถาปนา กรุงรัตนโกสินทร์คงมีรูปแบบที่สืบเนื่องมาจาก กรุงศรีอยุธยา คือ แบ่งการปกครองออกเป็น ๔ ส่วน คือ การปกครองส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น และการปกครองประเทศราช ส�ำนักพัฒนาระบบราชการกลาโหม
สิ่งที่ควรพิจารณาคือโครงสร้างการปกครอง และบริ ห ารราชการแผ่ น ดิ น ในรั ช กาลที่ ๑ นั้น พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก มหาราชทรงมีพระบรมราโชบายในการวาง รากฐานและการพัฒนาระบบบริหารราชการ แผ่นดินอย่างไรที่ไม่เป็นการเอาอย่างระบบ บริหารราชการแผ่นดินสมัยกรุงศรีอยุธยา การปกครองส่วนกลาง พระมหากษั ต ริ ย ์ ท รงเป็ น ศู น ย์ ก ลางและ ประธานแห่งระบบการปกครองและบริหาร ราชการแผ่นดินทรงมีพระราชอ�ำนาจสูงสุด ในราชอาณาจักร ทรงมีฐานะทางพิธีการ ซึ่ง ก�ำหนดโดยพราหมณ์ประจ�ำราชส�ำนัก ทรง เป็นสมมติเทพ คือ เป็นอวตารของพระอิศวร และพระนารายณ์ พระเป็ น เจ้ า ในศาสนา พราหมณ์ ดั ง นั้ น จึ ง ทรงเป็ น ศู น ย์ ร วมแห่ ง อ� ำ นาจทั้ ง ปวงในแผ่ น ดิ น หากผู ้ ใ ดขั ด ขื น พระบรมราชโองการจะมี ค วามผิ ด ร้ า ยแรง เช่นเดียวกับการละเมิดอ�ำนาจของพระเป็น เจ้า คตินิยมที่ถือว่า พระมหากษัตริย์ทรงเป็น ประดุจดังเทพเจ้า ท�ำให้ต้องมีพิธีการและกฎ เกณฑ์ต่าง ๆ ให้องค์พระมหากษัตริย์มีความ เป็นเทพเจ้าแท้จริงในมนุษยโลกได้สะท้อนมา ในรูปของสถาปัตยกรรมในการก่อสร้างพระ ราชฐานทีป่ ระทับ งานประณีตศิลป์ในการสร้าง เครื่องราชูปโภค และราชประเพณีต่าง ๆ พระ มหากษัตริย์มีที่ประทับอยู่ในพระบรมมหาราช วังหรือทีเ่ รียกว่า วังหลวงอันเป็นศูนย์กลางของ ราชอาณาจักรและการบริหารราชการแผ่นดิน หลักเมือง มกราคม ๒๕๕๘
ทรงแต่งตั้งสมเด็จพระอนุชาธิราชด�ำรงพระ ยศเป็นสมเด็จกรมราชวังบวรสถานมงคล ใน ฐานะพระมหาอุปราชหรือที่เรียกว่า วังหน้า ทรงแต่งตั้งพระบรมวงศานุวงศ์ใกล้ชิดเป็นที่ โปรดปรานให้ดำ� รงพระยศเป็น กรมพระราชวัง บวรสถานภิมุข หรือที่เรียกว่า วังหลัง ทั้งพระ มหาอุ ป ราชและวั ง หลั ง เป็ น ปั จ จั ย ส� ำ คั ญ ใน โครงสร้างการบริหารราชการแผ่นดิน ซึ่งมี พระมหากษัตริย์เป็นองค์ประธาน ทั้งสองพระ องค์มีความรับผิดชอบในการช่วยราชการใน พระองค์ เมื่อมีพระบรมราชโองการหรือทรง ปรึกษาพระองค์ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ก�ำหนดให้ต�ำแหน่งขุนนางผู้ใหญ่ซึ่งมีหน้าที่รับ สนองพระบรมราชโองการไปปฏิบัติตามความ รับผิดชอบในหน้าที่ราชการแผ่นดินของตน ประกอบด้วย อัครมหาเสนาบดี ๒ ต�ำแหน่ง และเสนาบดี ๔ ต�ำแหน่ง ดังนี้ คือ ๑) อัครมหาเสนาบดี ประกอบด้วย ๑.๑) สมุ ห กลาโหม มี ห น้ า ที่ ถ วายให้ ค� ำ ปรึ ก ษาข้ อ ราชการฝ่ า ยทหารแก่ พ ระมหา กษัตริย์ ในขณะเดียวกันมีหน้าที่ดูแลกิจการ ทั้ ง ฝ่ า ยทหารและพลเรื อ นในหั ว เมื อ งฝ่ า ย ใต้ ทั้ ง หมด เป็ น การเปลี่ ย นแปลงที่ เ กิ ด ขึ้ น ในรั ช กาลที่ ๑ ผู ้ ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง มี ย ศและ ราชทินนามเป็น เจ้าพระยามหาเสนา ๑.๒) สมุหนายกมีหน้าที่ถวายค�ำปรึกษา ข้อราชการฝ่ายพลเรือนแก่พระมหากษัตริย์ ใน ขณะเดียวกันมีหน้าที่ดูแลกิจการทั้งฝ่ายทหาร และพลเรือนในหัวเมืองภาคกลาง หัวเมือง
ฝ่ายเหนือ และหัวเมืองทางภาคอีสานผู้ด�ำรง ต�ำแหน่งมียศและราชทินนามเป็นเจ้าพระยา จักรี 11
สารอวยพร เนื่องในโอกาสวันขึ้นปีใหม่ พุทธศักราช ๒๕๕๘ จาก พลเอก ประวิตร วงษ์สุวรรณ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม เนื่องในศุภวาระดิถีขึ้นปีใหม่ พุทธศักราช ๒๕๕๘ กระผมขอส่งความระลึกถึง ความห่วงใย และความ ปรารถนาดีมายังข้าราชการทหาร ลูกจ้าง และพนักงานราชการ ในสังกัดกระทรวงกลาโหมทุกท่านด้วยความ จริงใจ กระทรวงกลาโหม มีหน้าที่ในการรักษาเอกราชอธิปไตยและความมั่นคงของชาติ พิทักษ์ปกป้องเทิดทูน และรักษาไว้ซึ่งสถาบันพระมหากษัตริย์ ซึ่งขณะนี้ประเทศชาติก�ำลังต้องการความร่วมมือร่วมใจของทุกฝ่าย อย่างแท้จริงในการแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ที่สะสมมานานด้วยความฉับไวและรอบคอบ กระทรวงกลาโหมจึงมี ภาระส�ำคัญที่ต้องให้การสนับสนุนนโยบายของรัฐบาล คณะรักษาความสงบแห่งชาติ และสภาปฏิรูปแห่งชาติ โดยการจัดระเบียบสังคม การควบคุม การกระท�ำผิดกฎหมาย การสร้างความปรองดองสมานฉันท์ของคนใน ชาติ การแก้ไขและป้องกันปัญหายาเสพติด และการเร่งน�ำสันติสุขและความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ของประชาชนกลับมาสู่พื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ตลอดจนการเสริมสร้างความร่วมมือด้านความมั่นคง กับ ประเทศเพื่อนบ้านและประเทศสมาชิกอาเซียน เพื่อพร้อมรับมือกับสิ่งท้าทายที่เกิดขึ้นในอนาคต ได้อย่างมี ประสิทธิภาพ ในโอกาสอันเป็นมงคลนี้ กระผมขออ�ำนาจคุณพระศรีรัตนตรัย และสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลายในสากลโลก และเดชะพระบารมีแห่งองค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ โปรด ดลบันดาลพระราชทานพรให้ข้าราชการทหาร ลูกจ้าง และพนักงานราชการ ในสังกัดกระทรวงกลาโหมทุก ท่านพร้อมครอบครัว ประสพแต่ความสุขสวัสดิ์พิพัฒนมงคล สมบูรณ์พูนผลในสิ่งอันพึงปรารถนา เพื่อร่วมกัน ปฏิบัติหน้าที่ในการปกป้องพิทักษ์รักษาสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และการพัฒนาประเทศไทยให้ เจริญมั่นคงสถาพรสืบไป
พลเอก (ประวิตร วงษ์สุวรรณ) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม
12
ส�ำนักพัฒนาระบบราชการกลาโหม
สารอวยพร เนื่องในโอกาสวันขึ้นปีใหม่ พุทธศักราช ๒๕๕๘ จาก พลเอก ศิริชัย ดิษฐกุล ปลัดกระทรวงกลาโหม ในศุภวาระขึ้นปีใหม่ พุทธศักราช ๒๕๕๘ ผมขอส่งความสุข และความปรารถนาดี มายังข้าราชการ ลูกจ้าง พนักงานราชการในสังกัดส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ตลอดจนครอบครัวทุกท่าน ในปีนี้ ผมขอให้พวกท่านยึดมั่น พิทักษ์รักษา และเทิดทูนสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ การปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริยท์ รงเป็นประมุข และในฐานะทีเ่ ป็นทหาร และข้าราชการ ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว น้อมเกล้าน้อมกระหม่อมถวายความจงรักภักดี ด้วยการท�ำความดีและ น้อมน�ำพระราชด�ำรัสที่พระราชทานมาเป็นแนวทางในการปฏิบัติตน ทั้งในด้านการรู้รักสามัคคี ความมีวินัย ความซื่อสัตย์สุจริต และมีคุณธรรม รวมทั้ง ยึดถือกฎหมาย กฎ นโยบาย และแนวทางของคณะรักษา ความสงบแห่งชาติ (คสช.) นโยบายของรัฐบาล พร้อมทั้งนโยบายของรองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงกลาโหม เพื่อเตรียมพร้อมเข้าสู่ประชาคมการเมืองและ ความมั่นคงอาเซียน ตลอดจนสนับสนุน การรักษาความสงบเรียบร้อยของประเทศตามแนวทางของ คณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) ในการ จัดระเบียบสังคม และการสร้างความปรองดองของคนในชาติ รวมทั้งร่วมกันปฏิรูปประเทศตามแนวทาง ของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ เพื่อคืนความสุขให้คนในชาติ นอกจากนี้ ขอให้พวกท่านร่วมแรงร่วมใจในการปฏิบัติหน้าที่ด้วยความสมานฉันท์ และพัฒนา องค์ความรู้เพื่อความเจริญก้าวหน้าในชีวิตการท�ำงาน อันเป็นรากฐานแห่งการสร้างตนเองให้มีความมั่นคง มีความสุข มีเกียรติ และเป็นก�ำลังส�ำคัญในการพัฒนาชาติบ้านเมืองให้เจริญก้าวหน้าสืบไป ในโอกาสนี้ ผมขออาราธนาคุณพระศรีรัตนตรัยและสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลาย อีกทั้งเดชะพระบารมี อันแผ่ไพศาลแห่งองค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ได้โปรด ดลบันดาลพระราชทานพรให้ข้าราชการ ลูกจ้าง พนักงานราชการในสังกัดส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ทุกท่าน ตลอดจนครอบครัว จงประสบแต่ความสุข ความเจริญ มีสขุ ภาพพลานามัยสมบูรณ์แข็งแรง มีกำ� ลังกาย ก�ำลังใจ และสติปัญญาที่เข้มแข็ง ในการปฏิบัติงานตามหน้าที่ด้วยความรับผิดชอบ เพื่อน�ำมาซึ่งความเจริญ ก้าวหน้า ทั้งแก่ตนเองและประเทศชาติ อันเป็นที่รักยิ่งของพวกเราตลอดไป พลเอก (ศิริชัย ดิษฐกุล) ปลัดกระทรวงกลาโหม
หลักเมือง มกราคม ๒๕๕๘
13
สวัสดีปีใหม่ พุทธศักราช ๒๕๕๘
ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
วันที่ระลึกคล้ายวันสถาปนา กรมเสมียนตรา ครบ ๑๐๖ ปี กรมเสมียนตรา
ใ
นวันที่ ๑๘ มกราคมของทุกปี นอกจาก จะเป็นวันส�ำคัญเนื่องในโอกาสเป็น วันกองทัพไทยแล้ว ยังเป็นวันที่ส�ำคัญ เป็นพิเศษส�ำหรับข้าราชการกรมเสมียนตรา เนื่ อ งจากเป็ น วั น ที่ ร ะลึ ก คล้ า ยวั น สถาปนา กรมเสมียนตรา ตามประกาศกรมเสมียนตรา เรื่องวันที่ระลึกของกรมเสมียนตรา ลงวันที่ ๖ พฤศจิกายน ๒๕๑๒ โดยในวันที่ ๑๘ มกราคม ๒๕๕๘ นี้ จะมี อ ายุ ค รบ ๑๐๖ ปี นั บ เป็ น พระมหากรุณาธิคุณในพระบาทสมเด็จพระ จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวที่ทรงสถาปนาต�ำแหน่ง เสมียนตรา ขึน้ เป็นกองเสมียนตรา โดยได้จดั ตัง้ ขึ้น เมื่อ ๑๘ มกราคม ๒๔๕๒ มี “เสมียนตรา” เป็นผู้บังคับบัญชา ในปี ๒๔๕๖ ได้ยกฐานะ จาก “กองเสมียนตรา” เป็น “กรมเสมียนตรา” ต่อมา ในปี ๒๔๕๗ ได้เปลี่ยนนามจาก “กรม เสมียนตรา” เป็น “กรมเสมียนตราทหารบก” และเปลี่ยนชื่อต�ำแหน่ง “เสมียนตรา” เป็น “เจ้ า กรม” และในปี ๒๔๗๔ ได้ เ ปลี่ ย น นามหน่วยจาก “กรมเสมียนตราทหารบก” เป็น “กรมเสมียนตรา” จนถึงปัจจุบัน โดยเมื่อ ปี ๒๔๗๗ ได้มีการจัดส่วนราชการส�ำนักงาน ปลัดกระทรวงกลาโหมขึ้น และให้กรมเสมียน ตราสั ง กั ด ส� ำ นั ก งานปลั ด กระทรวงกลาโหม ปฏิบัติหน้าที่ในการวางหลักการกิจการก�ำลัง พลของกระทรวงกลาโหม และแนวทางการ ประพฤติปฏิบัติส�ำคัญของก�ำลังพลกระทรวง กลาโหม ตลอดจนงานที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ แบบ ธรรมเนียมทหาร กฎและข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง กับงานก�ำลังพลนับตั้งแต่บัดนั้นเป็นต้นมา นับตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน กรมเสมียนได้ มีเจ้ากรมเสมียนตรามาแล้วจ�ำนวน ๓๙ ท่าน ซึ่งได้สร้างคุณูปการให้แก่ข้าราชการในสังกัด กระทรวงกลาโหมมาโดยตลอด โดยเฉพาะ การดูแลในเรื่องสิทธิ ค่าตอบแทน การวาง แบบแผนด้านการก�ำลังพลเพื่อให้ข้าราชการ หลักเมือง มกราคม ๒๕๕๘
พลเอก นพดล ฟักอังกูร เจ้ากรมเสมียนตรา ทหารได้ รั บ สิ ท ธิ เ ท่ า เที ย มกั บ ข้ า ราชการใน สังกัดส่วนราชการอื่น ๆ รวมทั้งการพัฒนา ขี ด ความสามารถก� ำ ลั ง พลเพื่ อ รองรั บ ต่ อ สถานการณ์ความมั่นคงรูปแบบใหม่ที่เกิดขึ้น ในอนาคต ปัจจุบันภายใต้การน�ำของ พลเอก นพดล ฟักอังกรู เจ้ากรมเสมียนตรา ท่านที่ ๔๐ ยั ง คงมุ ่ ง มั่ น ที่ จ ะสานต่ อ ปณิ ธ านของอดี ต ผู ้ บั ง คั บ บั ญ ชา ตลอดจนพั ฒ นาการด� ำ เนิ น งานด้ า นการก� ำ ลั ง พลตามนโยบายของ พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี และหั ว หน้ า คณะรั ก ษาความสงบแห่ ง ชาติ พลเอก ประวิตร วงษ์สวุ รรณ รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม และ พลเอก ศิริชัย ดิษฐกุล ปลัดกระทรวงกลาโหม ในเรื่องการเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ การสร้างขวัญและก�ำลังใจในการปฏิบัติงาน ของก� ำ ลั ง พลบริ ห ารทรั พ ยากรบุ ค คลบน พื้นฐานของระบบคุณธรรม สร้างจิตส�ำนึกและ ยกระดับคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่ดี ให้กับผู้ใต้บังคับบัญชา
กรมเสมียนตราจึงได้กำ� หนดแนวทางในการ ด�ำเนินงานด้านการก�ำลังพลในปีงบประมาณ ๒๕๕๘ ตามบทบาทหน้ า ที่ แ ละภารกิ จ ใน ความรับผิดชอบ โดยยึดถือการปฏิบัติงานตาม ยุทธศาสตร์การป้องกันประเทศ ยุทธศาสตร์ ทหาร แผนแม่ บ ทการปรั บ ปรุ ง โครงสร้ า ง กระทรวงกลาโหม แผนพัฒนาส�ำนักงานปลัด กระทรวงกลาโหม แนวทางการปฏิ บั ติ ข อง กระทรวงกลาโหมในการรองรั บ การจั ด ตั้ ง ประชาคมอาเซียน และแผนปฏิบัติราชการ ของกระทรวงกลาโหมและส� ำ นั ก งานปลั ด กระทรวงกลาโหมเป็นกรอบแนวทางในการ ปฏิบตั งิ าน โดยมีงานส�ำคัญทีจ่ ะต้องด�ำเนินการ ๔ ประการ ได้แก่ การพัฒนางานยุทธศาสตร์ นโยบาย และ แผนการก� ำ ลั ง พลของกระทรวงกลาโหม และส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหมมุ่งเน้น การวางยุทธศาสตร์และแผนงานด้านก�ำลังพล เพื่ อ ก� ำ หนดแนวทางในการพั ฒ นาขี ด ความ สามารถและประสิทธิภาพของก�ำลังพล การ พั ฒ นาระบบงานก� ำ ลั ง พลเพื่ อ ให้ ส อดคล้ อ ง ต่อระบบโครงสร้างก�ำลังกองทัพสมัยใหม่และ การเข้าสู่ประชาคมอาเซียนอย่างเป็นระบบ โดยได้มีการวางแผนพัฒนาความร่วมมือด้าน การบริหารงานก�ำลังพลในปี ๒๕๕๘ ระหว่าง
15
กระทรวงกลาโหมและกระทรวงกลาโหม สหรัฐอเมริกา อาทิ การจัดการประชุมหารือ ร่วมกับผู้ช่วยทูตทหารสหรัฐอเมริกาประจ�ำ กรุงเทพมหานคร/หัวหน้าจัสแม็กไทยและคณะ ผู้เชี่ยวชาญจากสหรัฐอเมริกา การพัฒนาระบบบริหารจัดการก�ำลังพล มุ่งเน้นในเรื่องการพัฒนาระบบบริหารจัดการ งานก�ำลังพลทั้งระบบตั้งแต่การคัดสรร การ พั ฒ นาก� ำ ลั ง พลจนถึ ง การออกจากราชการ อาทิ การลดจ�ำนวนอัตราก�ำลังพลในแต่ละปี โดยเฉพาะก�ำลังพลสูงอายุในหน่วยก�ำลังรบ ซึง่ ก�ำหนดเป้าหมายในขั้นต้นที่อัตราร้อยละ ๒๐ ต่อปี โดยใช้การบริหารจัดการและการก�ำหนด แนวทางการรับราชการ การแก้ไขหลักเกณฑ์ และระเบียบค�ำสั่งที่เกี่ยวข้องให้ผู้บัญชาการ เหล่าทัพ สามารถลงนามในค�ำสั่งแต่งตั้งยศให้ กับก�ำลังพลของเหล่าทัพจากที่ต้องน�ำเรียน เพื่ อ ขออนุ มั ติ จ ากรั ฐ มนตรี ว ่ า การกระทรวง กลาโหม ซึ่งจะท�ำให้ก�ำลังพลได้ประดับยศเร็ว ขึ้นสร้างขวัญและก�ำลังใจโดยตรง การพัฒนาและปรับปรุงระบบค่าตอบแทน และสวัสดิการที่เหมาะสมมุ่งเน้นการปรับปรุง
และความเป็นไปได้ในการจัดตั้งร้านค้าปลอด ภาษีให้กับข้าราชการทหาร การจัดกิจกรรม ธงฟ้าราคาประหยัด การพั ฒ นาระบบเทคโนโลยี ส ารสนเทศ ด้านการก�ำลังพลมุ่งเน้นในเรื่อง การเชื่อมโยง ระบบข้อมูลด้านการก�ำลังพลแบบบูรณาการ การจัดท�ำระบบฐานข้อมูลรวม และการน�ำ ข้อมูลในระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ใน การบริหารจัดการก�ำลังพลให้เกิดประสิทธิภาพ เพิ่มมากขึ้น อาทิ การประสานงานและจัดหา ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศจากสาธารณรัฐ ประชาชนจีน ซึ่งจะช่วยให้ผู้บังคับบัญชามี ข้ อ มู ล ด้ า นก� ำ ลั ง พลที่ ทั น สมั ย และใช้ ใ นการ ตัดสินใจได้รวดเร็ว โดยคาดว่าประมาณเดือน มีนาคม ถึง เมษายน ๒๕๕๘ จะสามารถติดตั้ง ระบบได้ นอกจากนั้นยังได้ก�ำหนดงานที่ต้องด�ำเนิน การเป็นการเร่งด่วนตามนโยบายของผู้บังคับ บัญชาระดับสูง ได้แก่
เงินเพิ่มประเภทต่าง ๆ ของกระทรวงกลาโหม อย่างเป็นระบบ การปรับปรุงโครงสร้างเงิน เดื อ นให้ ส อดคล้ อ งกั บ แนวทางการบริ ห าร จั ด การด้ า นการก� ำ ลั ง พล และการพั ฒ นา ระบบสวัสดิการตามหลักสากล อาทิ การจัด ตั้ ง กองทุ น เพื่ อ น� ำ รายได้ ม าจั ด สวั ส ดิ ก ารให้ กับข้าราชการ ลูกจ้าง พนักงานราชการและ ครอบครัว การปรับปรุงระเบียบที่เกี่ยวข้องกับ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ เพื่อให้ข้าราชการใน สังกัดกระทรวงกลาโหมได้รับสิทธิเท่าเทียม กับข้าราชการพลเรือน การจัดสวัสดิการร้าน ค้าในลักษณะเดียวกับร้านค้าของต่างประเทศ หรือ Post Exchange (PX) เพื่อช่วยในเรื่อง ค่าครองชีพของข้าราชการ โดยได้ประสานกับ บริษัท คิงส์พาวเวอร์ จ�ำกัด เพื่อศึกษาแนวทาง
การพิทักษ์รักษาและปกป้องสถาบันพระ มหากษัตริย์โดยมุ่งเน้นการแสดงออกถึงความ จงรักภักดีและเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ อาทิ โครงการอุปสมบทเฉลิมพระเกียรติ การ ลงนามถวายพระพรเป็นประจ�ำทุกเดือน
16
การปรับปรุงโครงสร้างก�ำลังกองทัพให้ เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมด้านความมั่นคง รูปแบบใหม่มุ่งเน้นการปรับขนาดอัตราก�ำลัง พลให้ เ หมาะสมกั บ ภารกิ จ และการพั ฒ นา บุคลากรของกระทรวงกลาโหมและการพัฒนา
กรมเสมียนตรา
หน่วยงานให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ อาทิ การจัดท�ำระบบข้าราชการพลเรือนกลาโหม การปรั บ ปรุ ง โครงการเกษี ย ณอายุ ร าชการ ก่อนก�ำหนด การน�ำก�ำลังพลไปท�ำกิจกรรม ทั ศ นศึ ก ษาเพื่ อ สั ง คมในสถานที่ ต ่ า งๆ เช่ น พิพิธภัณฑ์การประปา สวนสัตว์ดุสิต เมือง โบราณ ล่องเรือชมอ่าวมหาชัย ดูวาฬบลูด้า พิพิธภัณฑ์ช้างเอราวัณ บริษัท เอพี ฮอนด้า จํากัด และสวนหลวง ร.๙ เป็นต้น การสนั บ สนุ น รั ฐ บาลในการเข้ า สู ่ ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน มุ่งเน้นการวางกรอบแนวทางไปสู่ความร่วมมือ ด้านงานก�ำลังพลระหว่างกระทรวงกลาโหม อาเซียน การเตรียมความพร้อมและประสาน ความร่วมมือด้านการก�ำลังพลกับกลุ่มประเทศ ในอาเซียน และการพัฒนาการฝึกและศึกษา การใช้ภาษาอังกฤษของก�ำลังพลในกองทัพ อาทิ การทดสอบการใช้ ทั ก ษะและความรู ้ ทางภาษาอังกฤษของข้าราชการในส�ำนักงาน ปลัดกระทรวงกลาโหม การสัมมนาเชิงปฏิบัติ การเรื่องการปรับปรุง กฎ ระเบียบค�ำสั่ง เพื่อ รองรับการเป็นประชาคมอาเซียน หลักเมือง มกราคม ๒๕๕๘
การสนั บ สนุ น การรั ก ษาความสงบ เรี ย บร้ อ ยของประเทศตามแนวทางของ คณะรักษาความสงบแห่งชาติ มุ่งเน้นการ สร้างจิตส�ำนึกและยกระดับคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่ดีให้กับผู้ใต้บังคับบัญชา อาทิ การปลู ก ฝั ง ค่ า นิ ย มคนไทย ๑๒ ประการ ให้กับก�ำลังพลและครอบครัวของส�ำนักงาน ปลัดกระทรวงกลาโหม การจัดท�ำโปสเตอร์ รณรงค์การเดินทางในช่วงเทศกาลส�ำคัญของ ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม เพื่อมอบให้ กับประชาชนเป็นของขวัญปีใหม่ การพบปะ ก� ำ ลั ง พลเป็ น ประจ� ำ ทุ ก เดื อ นเพื่ อ ถ่ า ยทอด นโยบาย แนวทางการปฏิบัติงาน ติดตามการ ด�ำเนินงานและรับฟังความคิดเห็นของก�ำลัง พล เพื่อให้การด�ำเนินงานของกรมเสมียนตรา เป็นไปตามนโยบายที่ก�ำหนด ซึ่งได้ใช้โอกาสนี้ ในการมอบเครื่องอุปโภคบริโภคเพื่อช่วยใน เรื่องค่าครองชีพให้กับก�ำลังพลอีกด้วย ในช่ ว งเวลาแห่ ง การปฏิ รู ป ประเทศไทย ที่ ค ณะรั ก ษาความสงบแห่ ง ชาติ แ ละรั ฐ บาล ชั่วคราวได้เข้ามาบริหารประเทศ นับว่าเป็น โอกาสอั น ดี ข องกระทรวงกลาโหมที่ จ ะได้ มี
โอกาสในการปฏิรปู ในด้านต่าง ๆ โดยเฉพาะใน เรื่องของงานด้านการก�ำลังพล ซึ่งกรมเสมียน ตรามุ ่ ง มั่ น ที่ จ ะพั ฒ นาและปรั บ ปรุ ง ระบบ งานด้านการก�ำลังพลของกระทรวงกลาโหม เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ก�ำลังพลได้รบั สิทธิ ประโยชน์สูงสุด ภายใต้การพัฒนาศักยภาพ และปฏิ บั ติ ภ ารกิ จ ที่ ไ ด้ รั บ มอบหมายอย่ า ง เต็ ม ก� ำ ลั ง ความสามารถ ตามคติ พ จน์ ข อง เจ้ า กรมเสมี ย นตรา “ท� ำ ตามนโยบายของ ผู้บังคับบัญชาให้ดีที่สุด รวดเร็ว และเปลี่ยน วิกฤตให้เป็นโอกาส”
17
ระบบอาวุธเลเซอร์ พลเรือตรี ด๊อกเตอร์ สหพงษ์ เครือเพ็ชร ผู้อ�ำนวยการศูนย์วิจัยและพัฒนาการทหาร กรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกลาโหม
สื
บ เนื่ อ งจากข่ า วไทยรั ฐ ออนไลน์ เกี่ยวกับเรื่อง ระบบอาวุธเลเซอร์ เมื่ อ วั น ศุ ก ร์ ที่ ๑๒ ธั น วาคม ๒๕๕๗ ศูนย์วิจัยและพัฒนาการทหาร กรม วิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี ก ลาโหม ซึ่ ง เป็นหน่วยงานของส�ำนักงานปลัดกระทรวง กลาโหม ที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการด�ำเนินงาน วิจัยและพัฒนา และก�ำลังด�ำเนินงานวิจัยรวม ถึงการพัฒนาบุคลากรเกีย่ วกับทางด้านเลเซอร์ จึงอยากจะขอน�ำเรื่องราวเกี่ยวกับระบบอาวุธ เลเซอร์หรือแสงมรณะ (Death Ray) มาเล่า สู่กันฟัง เพราะปัจจุบันเลเซอร์มีการประยุกต์ ใช้งานมากมาย ตั้งแต่ในชีวิตประจ�ำวัน เช่น เครื่องอ่านรหัสสินค้า เครื่องเล่น DVD ด้าน การแพทย์ ที่ใช้เลเซอร์ในการรักษาตา ผ่าตัด ด้านอุสาหกรรมที่ท�ำให้วงจรอิเล็กทรอนิกส์มี ขนาดเล็กลงจนท�ำให้อุปกรณ์ ต่างมีขนาดเล็ก 18
กะทัดรัด กินกระแสไฟน้อยมาก ตลอดจนทาง ด้านการทหารที่ใช้เลเซอร์ในการวัดระยะทาง การน�ำร่อง เช่น เลเซอร์ไจโรสโคป (Laser Gyroscope) การแสดงภาพสนามรบสามมิติ (Holographic display) ตลอดจนใช้เป็นอาวุธ มรณะ (Death Ray) ระบบอาวุ ธ เลเซอร์ LaWS (Laser Weapon System) ที่ทางไทยรัฐน�ำมาลงเป็น เพียงส่วนหนึ่งของระบบอาวุธเลเซอร์ที่ทาง สหรั ฐ อเมริ ก าน� ำ มาเผยแพร่ ยั ง มี อี ก หลาย ระบบที่จะกล่าวถึงในที่นี้ เช่น ระบบ THEL, MTHEL, ABL และ LADS เป็นต้น แนวความคิ ด ที่ จ ะน� ำ แสงเลเซอร์ ม า ประยุ ก ต์ ใ ช้ ง านในการเป็ น แสงเพชฌฆาต ได้ เ กิ ด ขึ้ น ตั้ ง แต่ เ ลเซอร์ ถู ก ประดิ ษ ฐ์ ขึ้ น ใน ปี ค.ศ. ๑๙๖๐ ดังจะเห็นได้จากภาพยนตร์ Star War เนื่องจากคุณสมบัติของแสงเลเซอร์
ที่ ส� ำ คั ญ สามประการ คื อ เป็ น แสงสี เ ดี ย ว (monocromaticity) เป็ น ล� ำ แสงขนาน (directionality) และมีความพร้อมเพรียง ภายในล� ำ แสงสู ง (coherency) ล� ำ แสงที่ ขนานและความถี่เดียวสามารถที่จะรวมแสง แล้ว ท�ำให้มีความหนาแน่นพลังงานมากขึ้น เป็ น หลายล้ า นเท่ า ที่ บ ริ เ วณจุ ด รวมแสงได้ อย่างสบาย หากจี้ไปที่ใดที่หนึ่งเป็นเวลาพอ สมควร บริเวณนั้นจะมีอุณหภูมิสูงขึ้นอย่าง มากจนท�ำให้เสียหายได้ ในทางอุตสาหกรรม ใช้ประโยชน์ในการตัดวัสดุต่าง ๆ เช่น โลหะ พลาสติก ผ้า ส่วนในทางทหารเราใช้เป็นอาวุธ ท�ำลาย โดยจะท�ำลายบริเวณทีม่ คี วามอ่อนไหว ที่สุด เช่น บริเวณหัวจรวด หรือส่วนควบคุมที่ เป็นวงจรอิเล็กทรอนิกส์ ข้ อ ได้ เ ปรี ย บของอาวุ ธ เลเซอร์ ต ่ อ อาวุ ธ ธรรมดา (kinetic weapons) ที่เราใช้อยู่ พลเรือตรี ด็อกเตอร์ สหพงษ์ เครือเพ็ชร
ปัจจุบัน เช่น ปืน จรวด หรือลูกระเบิด คือ ค.ศ.๑๙๙๖ และสิ้นสุดในปี ค.ศ.๒๐๐๕ ระบบ ๑.) อาวุธแสงไม่มีวิถีโค้งที่เกิดจากแรงโน้มถ่วง นี้มีสองรุ่น คือ ระบบที่ตั้งอยู่กับที่ (THEL) โลก เนื่องจากแสงไม่มีน�้ำหนักเช่น ลูกปืน หรือ กับ ระบบเคลื่ อ นที่ ไ ด้ (Mobile THEL) ซึ่ ง จรวด ท�ำให้สามารถเล็งตรงไปยังเป้าหมาย วั ต ถุ ป ระสงค์ ข องการออกแบบระบบนี้ คื อ ได้โดยไม่ต้องเผื่อวิถี ๒.) ใช้พลังงานแสงเป็น ติ ด ตามและท� ำ ลายลู ก จรวดปื น ใหญ่ ช นิ ด ตัวท�ำลายเป้าหมายโดยตรง (direct energy Katyusha ลูกกระสุนปืนใหญ่ ลูกปืน ค. และ weapon) ไม่ต้องใช้พลังงานจากวัตถุระเบิด เครื่องบินระดับต�่ำ เป็นตัวไปสร้างแรงกระท�ำให้เกิดการเสียหาย ระบบ THEL ใช้ เ ลเซอร์ เ คมี ช นิ ด อีกต่อหนึ่ง (kinetic energy weapon) ๓.) Deuterium Fluoride ตัวกลางเลเซอร์เกิด อาวุธแสงมีความเร็วสูงกว่าลูกปืนหรือจรวด จากการท�ำปฏิกิริยาเคมีระหว่าง Ethylene หลายแสนเท่า (ความเร็วแสง ๓๐๐,๐๐๐,๐๐๐ และก๊ า ซ Nitrogen Trifluoride ให้ แ สง เมตรต่อวินาที ส่วนความเร็วเสียงประมาณ ความยาวคลื่น ๓.๘ ไมครอน (หนึ่งไมครอน ๓๔๔ เมตรต่อวินาที) ท�ำให้แสงสามารถท�ำลาย เท่ากับหนึ่งในล้านเมตร) ซึ่งเป็นย่านใต้แดงที่ เป้าหมายได้ภายในเวลาอันรวดเร็ว ๔.) ไม่ต้อง ตามนุษย์ไม่สามารถมองเห็นได้ ระบบ THEL ใช้ดินขับ เช่น ลูกปืนหรือจรวด เพราะแสง ใช้เวลาออกแบบและสร้าง ๔ ปี (ค.ศ.๑๙๖๖เลเซอร์ เ ป็ น เพี ย งการเปลี่ ย นพลั ง งานไฟฟ้ า ๒๐๐๐) และทดสอบภาคสนามอีก ๕ ปี (ค.ศ. เป็นพลังงานแสง ตราบใดที่ยังมีกระแสไฟฟ้า ๒๐๐๐-๒๐๐๕) ระหว่างท�ำการทดสอบ ระบบ ป้อนให้กบั ระบบตราบนัน้ ก็มแี สงออกไปใช้งาน สามารถท�ำลายจรวดได้ ๔๖ ลูก เป็นจรวด สหรัฐอเมริกาได้ด�ำเนินการวิจัยและพัฒนา Katyusha เสีย ๒๘ ลูก ลูกปืนใหญ่ธรรมดา อาวุธเลเซอร์ตั้งแต่ทศวรรษ ๑๙๖๐ อย่างต่อ ๕ ลูก ลูกปืน ค. ๑๐ ลูก และที่เหลือเป็นจรวด เนื่อง ปัจจุบันมีโครงการต่างๆ มากมายทั้งที่ อื่นๆ ความใหญ่โตของระบบ THEL ท�ำให้ไม่ ส�ำเร็จเป็นผลิตภัณฑ์และอยู่ในขั้นสาธิต ได้แก่ เหมาะที่จะใช้งานจริง จึงเกิด THEL รุ่นที่สอง ระบบ Tactical High Energy Laser ขึ้น เรียกว่า Mobile THEL หรือ MTHEL ซึ่ง เป็นระบบที่ติดตั้งบนรถบรรทุกขนาดใหญ่ (THEL) เป็ น ระบบอาวุ ธ เลเซอร์ ที่ เ กิ ด จากการ ระบบ Airborne Laser (ABL) พั ฒ นาร่ ว มกั น ระหว่ า งสหรั ฐ อเมริ ก าโดย เป็ น ระบบอาวุ ธ เลเซอร์ ที่ ใ ช้ เ ลเซอร์ เ คมี บริษัท Northrop Grumman กับรัฐอิสราเอล เช่ น กั น แต่ เ ป็ น ชนิ ด อ็ อ กซิ เ จนไอโอดายน์ โดยกระทรวงกลาโหม โครงการนี้เริ่มต้นในปี (Chemical Oxygen Iodine Laser) หรือ
COIL ขนาดก� ำ ลั ง งานล้ า นวั ต ต์ บรรทุ ก ใน เครื่องบิน Boeing 747-400F ออกแบบมา เพื่อท�ำลายจรวดข้ามทวีป (Tactical Ballistic Missile หรื อ TBM) ขณะอยู ่ ในช่วงขาขึ้น (Boost Phrase) โครงการนี้เริ่มต้นในปี ค.ศ. ๒๐๐๔ และประสบความส�ำเร็จในการทดสอบ ภาคสนามในปี ค.ศ.๒๐๑๐ สามารถท�ำลาย จรวดได้ ๒ ลูกส�ำเร็จ การด� ำ เนิ น งานประกอบด้ ว ยบริ ษั ท ยั ก ษ์ ใหญ่ ๓ บริษัท คือ ๑.) บริษัท Boeing ซึ่งรับ ผิดชอบในส่วนของตัวเครื่องบิน ระบบบริหาร จั ด การสงคราม การประกอบและทดสอบ ระบบ ๒.) บริษัท Northrop Grumman รับ ผิดชอบระบบเลเซอร์พลังงานสูงในการท�ำลาย และเลเซอร์พลังงานต�่ำที่ใช้ในการชี้เป้าและ หาข้อมูลอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับการยิง และ ๓.) บริษัท Lockheed Martin รับผิดชอบในส่วน ระบบควบคุมการยิง และการควบคุมทิศทาง ล�ำแสง ระบบ ABL ประกอบด้วยเลเซอร์ ๔ ตัว ระบบออปติ ก ชนิ ด ปรั บ ตั ว ได้ (Adaptive Optic) เซ็นเซอร์ต่าง ๆ และคอมพิวเตอร์ ควบคุมการยิงส�ำหรับหาต�ำแหน่งจรวด ติดตาม จรวด และท�ำลายจรวด ระบบท�ำงานดังนี้ ๑. เซ็นเซอร์ความร้อน (IR sensor) จะ ค้ น หาความร้ อ นที่ ป ล่ อ ยออกมาจากจรวด ข้ามทวีป ในขั้นที่ก�ำลังขึ้นสู่ท้องฟ้า (Boost phase) และส่งข้อมูลไปยังระบบติดตามเป้า ด้วยแสงเลเซอร์
ระบบ Tactical High Energy Laser (THEL)
หลักเมือง มกราคม ๒๕๕๘
19
ระบบ Airborne Laser System (ABL) ๒. ระบบติ ด ตามเป้ า ด้ ว ยแสงเลเซอร์ (laser tracking system) จะติดตามจรวด และส่งข้อมูลต่าง ๆ เกี่ยวกับเป้า เช่น ระยะ ทาง ความเร็ว และความสูง เป็นต้น ๓. ระบบเลเซอร์ชี้เป้า (laser pointing system) จะสแกนเป้า แล้วค�ำนวณหาจุดที่ เหมาะสมที่สุดส�ำหรับยิงแสงเลเซอร์พลังงาน สูงใส่ ๔. ระบบ Bacon Illuminator Laser จะส่งแสงเลเซอร์ไปยังเป้าหมายเพื่อค�ำนวณ ค่าผันผวนของบรรยากาศระหว่างทาง ข้อมูล นี้ จ ะถู ก ส่ ง ไปยั ง ระบบออปติ ก ที่ ป รั บ ตั ว ได้ ระบบ Laser Area Defense Sytem (LADS)
20
(Adaptive Optic) เพื่ อ ควบคุ ม การรวม แสงเลเซอร์ พ ลั ง งานสู ง ให้ เ ป็ น ไปอย่ า งมี ประสิทธิภาพที่สุด ๕. ระบบออปติ ก ที่ ป รั บ ตั ว ได้ ท� ำ จาก กระจกที่เปลี่ยนรูปได้ (Deformable Mirrors) เพื่อแก้ค่าการผันผวนของบรรยากาศ ๖. เลเซอร์ COIL จะส่งล�ำแสงเลเซอร์ พลังงานสูงเป็นล้านวัตต์ไปยังเป้า ผ่านทางหัว เครื่องบิน ๗. ล�ำแสงเลเซอร์พลังงานสูงจะเจาะผ่าน ผิวจรวดที่เป็นเป้าหมายเพื่อท�ำให้จรวดหมด
สภาพหรือระเบิด (ขึ้นอยู่กับต�ำแหน่งที่ล�ำแสง โฟกัส) การท�ำงานของระบบทัง้ หมดถูกควบคุมโดย คอมพิวเตอร์ควบคุมการยิงและใช้ลูกเรือเพียง แค่ ๖ คนเท่านั้น ระบบ Laser Area Defense (LADS) เป็ น ระบบอาวุ ธ ที่ ถู ก พั ฒ นาโดยบริ ษั ท Raytheon สหรัฐอเมริกา เพื่อแทนที่ระบบ Phalanx CIWS ที่ใช้ส�ำหรับป้องกันตัวระยะ สั้นจากจรวดระดับต�่ำ เช่น cruise missile ระบบประกอบด้วย ไฟเบอร์เลเซอร์ขนาด ก�ำลังงาน ๒๐ กิโลวัตต์ จากห้องวิจัยกองทัพ อากาศ (Air Force Research Laboratory) และ beam director ที่มีฐานส�ำหรับติดตั้ง บนระบบ Phalanx เดิม จากการทดสอบยิง เลเซอร์กับลูกปืน ค. ขนาด ๖๐ มม. ในสภาพ แวดล้อมจริง โดย AFRL เลเซอร์สามารถท�ำลายลูกปืน ค. ได้อย่าง ประสิทธิภาพ และคาดว่าจะท�ำลายได้ที่ระยะ มากกว่า ๕๕๐ เมตร
พลเรือตรี ด็อกเตอร์ สหพงษ์ เครือเพ็ชร
ก้าวส�ำคัญอีกครั้งกับจรวด DTI-1G และ DTI-2
สถาบันเทคโนโลยีป้องกันประเทศ (องค์การมหาชน) กระทรวงกลาโหม กับการวิจัยและพัฒนาจรวดหลาย ล�ำกล้องเพื่อตอบสนองความต้องการ ของกองทัพ สถาบันเทคโนโลยีป้องกันประเทศ (องค์การมหาชน)
หลักเมือง มกราคม ๒๕๕๘
21
จ
รวดและอาวุธน�ำวิถีเป็นศักยภาพ ด้านการป้องกันประเทศเชิงรุกที่ ส� ำ คั ญ ของทุ ก เหล่ า ทั พ แต่ ก าร จัดหาจรวดเพื่อน�ำเข้าประจ�ำการนั้นต้องใช้ งบประมาณสูงมากการซ่อมบ�ำรุงไม่สามารถ ท�ำได้เอง อีกทั้งยังไม่สามารถน�ำมาใช้ในการ ฝึกได้มากนักเนื่องจากมีราคาแพง มีอายุใช้ งานจ�ำกัด สภากลาโหมจึงได้อนุมัติแผนแม่บท การวิ จั ย และพั ฒ นาจรวดเพื่ อ ความมั่ น คง เมื่อปี ๒๕๔๙ และต่อมามีการจัดตั้งสถาบัน เทคโนโลยีป้องกันประเทศ (องค์การมหาชน) ภายใต้ ก ารก� ำ กั บ ดู แ ลของรั ฐ มนตรี ว ่ า การ กระทรวงกลาโหม เพื่อรองรับภารกิจการวิจัย พัฒนาโครงการจรวดและอาวุธน�ำวิถี ด้วยการ รับถ่ายทอดเทคโนโลยีจากมิตรประเทศและ พัฒนาต่อยอดความรูด้ ว้ ยการพึง่ พาตนเองเพือ่ เสริมสร้างความมั่นคงของชาติตอบสนองเหล่า ทัพในภารกิจปัองกันภัยคุกคามที่เปลี่ยนแปลง อย่างต่อเนื่อง ที่ผ่านมา สทป. ได้ด�ำเนินการโครงการวิจัย และพัฒนาระบบจรวดหลายล�ำกล้องระยะยิง ไกลแบบไม่น�ำวิถี DTI-1 ที่ได้รับการถ่ายทอด เทคโนโลยีจากมิตรประเทศมอบต้นแบบให้ กับ กองทัพบก เมื่อปี ๒๕๕๔ และได้วิจัยและ พัฒนาสร้างต้นแบบรถยิงและรถบรรจุจรวด แล้ ว เสร็ จ และเตรี ย มการประกอบลู ก จรวด เพื่อส่งมอบให้กับกองทัพบกตาม MOU ใน ปี ๒๕๕๗ กองทั พ บกมี ค วามต้ อ งการระบบจรวด หลายล�ำกล้องแบบน�ำวิถีที่มีความแม่นย�ำสูง มาใช้งาน แต่จากการประเมินของ สทป.พบ ว่า การวิจัยระบบน�ำวิถีตั้งแต่ต้นอาจต้องใช้ เวลานานจนอาจไม่สามารถตอบสนองความ ต้องการของกองทัพบกได้อย่างทันท่วงที สทป. 22
จึงพิจารณาทางเลือกในการรับการถ่ายทอด เทคโนโลยีบางส่วนจากมิตรประเทศ และน�ำมา สู่ข้อตกลงการวิจัยพัฒนาโดยการรับถ่ายทอด เทคโนโลยีน�ำวิถีจากมิตรประเทศและรวมถึง สทป. ได้ใช้องค์ความรู้ที่มีอยู่เดิมของนักวิจัย ในการต่อยอดให้ระบบมีความสมบูรณ์ และ จะส่งมอบต้นแบบที่รู้จักกันในชื่อ DTI-1G ให้ กับกองทัพบกในปี ๒๕๖๐ การด�ำเนินการพัฒนาจรวดหลายล�ำกล้อง DTI-1G นั้นจะแบ่งเป็น ๒ ระยะคือ ระยะที่ ๑ เป็นการรับการถ่ายทอดเทคโนโลยีจากมิตร ประเทศผ่านการฝึกอบรมในเทคโนโลยีส�ำคัญ เช่น เทคโนโลยีการออกแบบระบบน�ำวิถี การ สร้างต้นแบบรถฐานยิงจรวดและรถบรรทุก จรวด การประกอบรวมลูกจรวด การฝึกอบรม
การใช้งาน การปรนนิบัติบ�ำรุง การยิงทดสอบ และการตรวจรับเอกสารคูม่ อื ทางเทคนิคต่าง ๆ ส่วนในระยะที่ ๒ นัน้ เป็นการจัดหา Chasis และการออกแบบสร้ า งเกราะป้ อ งกั น ห้ อ ง โดยสาร (Amour Cabin) เพื่อน�ำไปพัฒนา ต้นแบบรถฐานยิงจรวดและรถบรรทุกจรวด การพั ฒ นาโรงงานประกอบรวมต้ น แบบลู ก จรวด (GAT) การจัดหาเครื่องมือที่จ�ำเป็นเพื่อ เตรียมท�ำวิศวกรรมย้อนกลับ เพื่อด�ำเนินการ ส่งมอบจรวดหลายล�ำกล้อง DTI-1G ให้กับ กองทัพบกจ�ำนวน ๓ ระบบภายในปี ๒๕๖๐ ต่อไป นอกจากจรวดหลายล�ำกล้องแบบน�ำวิถแี ล้ว กองทัพบกยังมีความต้องการยุทโธปกรณ์จรวด ระยะยิงปานกลาง โดยให้ สทป.ด�ำเนินการ
สถาบันเทคโนโลยีป้องกันประเทศ (องค์การมหาชน)
วิจัยและพัฒนาจรวดสมรรถนะสูงขนาด ๑๒๒ มิลลิเมตร ส�ำหรับติดตั้งบนรถสายพาน พร้อม ระบบอ� ำ นวยการยิ ง และรถบรรทุ ก /บรรจุ ลูกจรวดจะน�ำเข้ารับรองมาตรฐานจากคณะ กรรมการรับรองมาตรฐานยุทโธปกรณ์กองทัพ บก ก่อนทีจ่ ะส่งมอบต้นแบบให้กบั กองทัพ เป็น รายระบบตั้งแต่ปี ๒๕๕๘ เป็นต้นไป การพัฒนาจรวดสมรรถนะสูงขนาด ๑๒๒ มิลลิเมตรหรือที่รู้จักกันในชื่อของ DTI-2 นั้น เป็นการด�ำเนินการโดยใช้เทคโนโลยีของนัก วิจัยไทยทั้ง ๑๐๐% ตั้งแต่การออกแบบไป จนถึงการทดสอบยิงจะด�ำเนินการโดยนักวิจัย ชาวไทยของ สทป. ซึ่งใช้ประสบการณ์ที่ได้รับ จากการวิจยั ในโครงการต่าง ๆ ทีผ่ า่ นมาในอดีต ทั้งนี้ จรวด DTI-2 จะมีระยะยิงทั้งหมด ๓ ระยะคือ ระยะยิง ๑๐ กิโลเมตร ระยะยิง ๓๐ กิโลเมตร และระยะยิง ๔๐ กิโลเมตร โดยเริ่ม หลักเมือง มกราคม ๒๕๕๘
ท�ำการวิจัยจรวด DTI-2 ระยะยิง ๑๐ กิโลเมตร ก่อนเพือ่ ใช้เป็นจรวดฝึก จากนัน้ ในขัน้ ต่อไปจะ ท�ำการพัฒนาจรวด DTI-2 ระยะยิง ๓๐ และ ๔๐ กิโลเมตรตามล�ำดับ ก่อนที่จะก้าวไปสู่ จรวด DTI-2 แบบน�ำวิถี ระยะยิง ๔๐ กิโลเมตร โดยการด�ำเนินงานทั้งหมดจะเน้นการใช้วัสดุ ในประเทศเป็นหลัก และองค์ประกอบหลัก ของจรวดเช่น ส่วนขับเคลื่อน ดินขับ ตัวจรวด และชุดพวงหางนั้น ได้รับการวิจัยและพัฒนา ขึ้น ณ โรงปฏิบัติการวิจัยและพัฒนาของ สทป. ที่ จังหวัดนครสวรรค์และจังหวัดลพบุรี ในส่วน หัวรบนั้น สทป. ได้ร่วมมือกับ ศูนย์อ�ำนวย การสร้างอาวุธ ศูนย์การอุตสาหกรรมป้องกัน ประเทศและพลังงานทหาร ส�ำนักงานปลัด กระทรวงกลาโหม ในการออกแบบหัวรบโดย ใช้เครื่องมือที่ศูนย์อ�ำนวยการสร้างอาวุธมีอยู่ แล้วเป็นฐานในการพัฒนา
DTI-2 มีแผนงานที่ส�ำคัญดังนี้ ๑. การวิจัยรถฐานยิงจรวด DTI-2 แบบ ลากจูง มีชดุ ท่อยิงแบบกระเปาะ (Pod) จ�ำนวน ๒๐ ท่อยิง รวม ๒ ชุด ท�ำการยิงโดยตั้งขาหยั่ง ควบคุมการยิงด้วยระบบไฮดรอลิค สามารถ ท�ำการปรับมุมทิศมุมยิงได้ ๒. การพัฒนาท่อรองในเพื่อให้สามารถ ท�ำการยิงจรวด DTI-2 ขนาด ๑๒๒ มิลลิเมตร ที่ มีขนาดเล็กกว่าได้จากท่อยิงจรวดขนาด ๓๐๒ มิลลิเมตร โดยท�ำการยิงจากรถฐานยิง DTI-1 ๓. การวิจัยพัฒนาโปรแกรมค�ำนวณหลัก ฐานการยิง ส�ำหรับยิงจรวด DTI-2 ๔. การปรับปรุงเพิม่ สมรรถนะจรวดหลาย ล�ำกล้องแบบ ๓๑ หรือ จลก.๓๑ โดยการติด ตั้งชุดท่อยิงจรวดขนาด ๑๒๒ มิลลิเมตรพร้อม ระบบอ�ำนวยการยิงบนรถสายพานล�ำเลียงพล Type-85 ของ จลก.๓๑ เพื่อพัฒนาเป็นรถฐาน ยิงจรวดสายพานแบบอัตตาจร ๕. การวิ จั ย และพั ฒ นารถฐานยิ ง จรวด DTI-2 ขนาด ๑๒๒ มิลลิเมตร อัตตาจร พร้อม ระบบอ�ำนวยการยิง การด�ำเนินการวิจัยพัฒนาเพื่อตอบสนอง กองทั พบกดังกล่าวข้างต้น จึงน�ำมาซึ่งการ ลงนามความร่ ว มมื อ ระหว่ า งกองทั พ บกกั บ สถาบันเทคโนโลยีป้องกันประเทศ (องค์การ มหาชน) กระทรวงกลาโหม ในวั น นี้ โดย พลโท ธารี วุฒิพานิช เจ้ากรมสรรพาวุธทหาร บก เป็นผู้แทนผู้บัญชาการทหารบก ในการลง นามความร่วมมือกับ พลเอก สมพงศ์ มุกดาสกุล ผูอ้ ำ� นวยการสถาบันเทคโนโลยีปอ้ งกันประเทศ หลังจากนี้ สทป. จะเริ่มท�ำการทดสอบและ ปรับปรุงจรวด โดยเฉพาะจรวดแบบ DTI-2 ให้ ดียิ่งขึ้น ซึ่งยังต้องท�ำการทดสอบอีกมากก่อนที่ จะพร้อมผลิตเข้าประจ�ำการต่อไป แต่ภายใต้ การสนับสนุนอย่างต่อเนื่อง สทป. เชื่อมั่นว่า จะสามารถด�ำเนินการวิจัย และพัฒนาต้นแบบ ระบบจรวดและอาวุธน�ำวิถีที่มีมาตรฐาน เป็น ที่ ย อมรั บ ของกองทั พ เพื่ อ เป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ใน การยกระดั บ ขี ด ความสามารถในการพึ่ ง พา ตนเอง สร้างความเข้มแข็งให้กับอุตสาหกรรม ป้องกันประเทศของประเทศไทยและภายใต้ กรอบความร่วมมือของประชาคมอาเซียนได้ อย่างยั่งยืน เพื่อแสดงให้เห็นว่า วันนี้ คนไทย สามารถพัฒนาอาวุธเพื่อใช้งานได้เอง ท�ำให้ ประเทศลดการพึ่ ง พาเทคโนโลยี จ ากต่ า ง ประเทศ ท�ำให้กองทัพสามารถใช้จรวดที่ผลิต ขึ้นในประเทศไทยโดยไม่ติดข้อจ�ำกัดเรื่องการ ส่งออกอาวุธ และสามารถต่อยอดเทคโนโลยี เพื่อน�ำไปสู่การพัฒนาจรวดแบบอื่นที่จะช่วย สร้างความมั่นคงให้กับประเทศต่อไป
23
ยุทธศาสตร์
"สร้อยไข่มุก" ของจีน พันเอก ศนิโรจน์ ธรรมยศ
24
พันเอก ศนิโรจน์ ธรรมยศ
ยุ
ทธศาสตร์ "สร้อยไข่มุก" (String of Pearls) เป็ น งานวิ จั ย ทาง ยุ ท ธศาสตร์ ข องนาวาอากาศโท ค ริ ส โ ต เ ฟ อ ร ์ เ จ เ พี ย ร ์ สั น (Christopher J. Pehrson) นายทหารแห่ง กองทัพอากาศสหรัฐฯ ที่ได้เขียนขึ้นเมื่อเดือน กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๔๙ และได้รับการตีพิมพ์ โดยวิทยาลัยการสงคราม กองทัพบกสหรัฐฯ เป็นงานวิจัยที่อธิบายถึงการสร้างเส้นทางทาง ทะเลและเมืองท่าต่าง ๆ ของจีนที่เรียงราย
เปรียบเสมือน "สร้อยไข่มุก" โดยเรียงเป็นแนว ยาวจากอ่าวเปอร์เซีย ผ่านมหาสมุทรอินเดีย ตั้งแต่อิหร่าน ปากีสถาน ศรีลังกา บังคลาเทศ เมี ย นม่ า ร์ แล้ ว เข้ า สู ่ ม หาสมุ ท รแปซิ ฟ ิ ค ที่ ช่องแคบมะละกา ผ่านกัมพูชา หมูเ่ กาะสแปรตลี และหมู่เกาะพาราเซลในทะเลจีนใต้ ก่อนที่จะ เข้าสู่แผ่นดินจีนที่เกาะไหหนาน (ไหหล�ำ) และ ท่าเรือเซี่ยงไฮ้ในที่สุด นับเป็นเส้นทางล�ำเลียง น�้ำมันและพลังงานต่าง ๆ ส�ำหรับจีนเพื่อใช้ ในการพัฒนาประเทศของตน แม้รัฐบาลจีน จะได้ออกแถลงการณ์เมื่อเดือนมีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ ปฏิ เ สธว่ า แนวยุ ท ธศาสตร์ "สร้ อ ย ไข่มุก" ดังกล่าวนี้ "ไม่มีมูลความจริงเลยแม้แต่ น้อย" (totally groundless) ดังนั้นบทความ ฉบับนี้จะขอน�ำเสนอรายละเอียดทั้งสองมุม มองของยุทธศาสตร์ "สร้อยไข่มุก" โดยได้เพิ่ม เติมข้อมูล "ไข่มุก" ที่เกิดขึ้นใหม่อีกหลายแห่ง นับตั้งแต่ยุทธศาสตร์นี้ได้เขียนขึ้นเมื่อเกือบสิบ ปีที่ผ่านมา ไข่มุกเม็ดแรกของจีนในมหาสมุทรแปซิฟิค เริ่มต้นที่เกาะไหหล�ำ ซึ่งจีนได้ก่อสร้างฐานทัพ เรื อ ที่ มี ขี ด ความสามารถในการรองรั บ เรื อ ด�ำน�้ำไว้ที่เกาะแห่งนี้ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ ใช้ เ ป็ น ฐานทั พ ในการส่ ง ก� ำ ลั ง เข้ า ควบคุ ม ดินแดนต่างๆ ในทะเลจีนใต้ เช่น หมู่เกาะ พาราเซลและหมูเ่ กาะสแปรตลี ซึง่ ก�ำลังเป็นข้อ พิพาทระหว่างจีนกับประเทศต่างๆ ประกอบ ด้วย เวียดนาม ฟิลิปปินส์ มาเลเซีย บรูไนและ ไต้หวัน อยู่ในขณะนี้ ไข่มุกเม็ดต่อมาคือเกาะ "วู้ดดี้" (Woody Island) หรือที่จีนเรียกว่า "ยงซิง” (Yongxing) ซึ่งเป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดในหมู่เกาะพาราเซล หลักเมือง มกราคม ๒๕๕๘
และเป็นพื้นที่พิพาทระหว่างจีนกับเวียดนาม จนกระทั่งในปี พ.ศ.๒๕๑๗ ได้เกิดการปะทะ กั น อย่ า งรุ น แรงระหว่ า งกองทั พ เรื อ จี น และ กองทัพเรือเวียดนามใต้ (เหตุการณ์นี้เกิดขึ้น ก่อนที่ประเทศเวียดนามใต้จะล่มสลาย) ท�ำให้ จีนสามารถครอบครองหมู่เกาะพาราเซลได้ ทั้งหมด ปัจจุบันจีนได้ท�ำการก่อสร้างสนาม บินที่เกาะ "วู้ดดี้" แห่งนี้ โดยเป็นสนามบินที่ มีทางวิ่งยาว ๒,๗๐๐ เมตร สามารถรองรับ เครื่องขับไล่ความเร็วสูงแบบ ซุคคอย ซู-๓๐ ได้ ปัจจุบันจีนใช้สนามบินแห่งนี้เป็นเส้นทาง หลักในการขนส่งสิ่งของและยุทโธปกรณ์จาก เกาะไหหล�ำและจีนแผ่นดินใหญ่เข้าสู่หมู่เกาะ พาราเซล นอกจากนี้จีนได้ก่อสร้างท่าเรือซึ่งมี ขีดความสามารถรองรับเรือที่มีระวางขับน�้ำได้ ๕,๐๐๐ ตันที่เกาะ "วู้ดดี้" แห่งนี้ เพื่อใช้เป็น เส้นทางส่งก�ำลังบ�ำรุงอีกเส้นทางหนึ่งควบคู่ไป กับการขนส่งทางอากาศ เกาะแห่งนี้นอกจาก จีนจะใช้ในการควบคุมพื้นที่หมู่เกาะพาราเซล แล้ว ยังใช้เป็นฐานปฏิบัติการส�ำหรับหมู่เกาะ สแปรตลีอีกด้วย ไข่มุกเม็ดต่อมาคือ ฐานทัพเรือ "เรียม" ของ กัมพูชาบริเวณอ่าวไทย แม้จะไม่ได้มีการระบุ ว่าเป็นหนึ่งในไข่มุกของจีนอย่างเป็นทางการ ก็ตาม แต่จีนก็ได้ให้การสนับสนุนกัมพูชาทั้ง ด้านเงินทุน บุคลากรและเทคโนโลยีในการ ปรับปรุงฐานทัพเรือ "เรียม" แห่งนี้ เช่น การ สร้างอู่ซ่อมเรือจ�ำนวน ๑ แห่ง, สร้างอู่ลอย ขนาด ๖๐๐ ตัน จ�ำนวน ๑ แห่ง, ท�ำการก่อ สร้างสถานีเรดาห์ท่ีเกาะตัง ในบริเวณอ่าวไทย รวมทัง้ ให้การช่วยเหลือกองทัพเรือกัมพูชาด้วย การต่อเรือตรวจการณ์แบบ พี ๒๐ ซี ให้อีก 25
๓ ล�ำ ท�ำให้จีนมีความสัมพันธ์ที่ดีกับกัมพูชา จนถึงระดับที่สามารถใช้ฐานทัพเรือ "เรียม" เป็นท่าเทียบเรือของตนในอ่าวไทยได้ จากมหาสมุทรแปซิฟิคผ่านเข้าสู่มหาสมุทร อินเดียทางช่องแคบ "มะละกา" จีนได้ท�ำการ วางไข่ มุ ก เม็ ด ต่ อ ไปของตนลงในพื้ น ที่ ข อง ประเทศเมียนม่าร์ ด้วยการทุ่มงบประมาณ จ� ำ น ว น ม ห า ศ า ล ใ น ก า ร ก ่ อ ส ร ้ า ง นิ ค ม อุตสาหกรรมท่าเรือน�้ำลึก "จ้าวผิ่ว" (Kyaukpyu) หรือ "จาวพยู" ส่วนจีนเรียกว่า "เจียวเพียว" ตั้งอยู่ในรัฐ "ยะไข่" หรือ "อาระกัน" บริเวณ ด้ า นตะวั น ตกของประเทศติ ด กั บ ประเทศ บั ง คลาเทศ นั บ เป็ น "ไข่ มุ ก " เม็ ด แรกของ จี น ในมหาสมุ ท รอิ น เดี ย นิ ค มอุ ต สาหกรรม ท่ า เรื อ น�้ ำ ลึ ก แห่ ง นี้ ถื อ ว่ า เป็ น เขตเศรษฐกิ จ พิเศษ (Special Economic Zone) ของ เมียนม่าร์ มีขนาดใหญ่กว่า ๗๐,๐๐๐ ไร่ ใช้เงิน ลงทุนมากกว่านิคมอุตสาหกรรมท่าเรือน�้ำลึก ทวายที่ ไ ทยก� ำ ลั ง พยายามด� ำ เนิ น การอยู ่ ที่ส�ำคัญคือนิคมอุตสาหกรรมท่าเรือน�้ำลึกแห่ง นี้ได้ก่อสร้างเสร็จเรียบร้อยแล้ว และเริ่มเปิดใช้ งานเมื่อปลายปี ค.ศ.๒๐๑๔ ที่ผ่านมานี้ นิคมอุตสาหกรรมท่าเรือน�้ำลึก "จ้าวผิ่ว" ประกอบด้วยท่าเรือน�้ำลึกที่สามารถรองรับ เรือสินค้าขนาด ๓๐๐,๐๐๐ ตันได้ และมีพื้นที่ ส�ำหรับการตั้งนิคมอุตสาหกรรมรอบ ๆ ท่าเรือ น�้ำลึก นอกจากนี้ยังมีการวางท่อส่งน�้ำมันดิบ และท่ อ ส่ ง ก๊ า ซธรรมชาติ ร ะยะทางยาวกว่ า ๑,๑๐๐ กิโลเมตรจากท่าเรือน�้ำลึก "จ้าวผิ่ว" ตรงขึน้ ไปยังรัฐฉานทางตอนเหนือของประเทศ มุ่งสู่จุดผ่านแดนที่ด่านมูเซ (Muse) แล้วข้าม ไปยังด่านรุ่ยลี่ (Ruili) ในมณฑลยูนนานของ จีน ท่อส่งน�้ำมันนี้มีขีดความสามารถในการ ส่งน�้ำมันดิบเป็นปริมาณกว่า ๒๒ ล้านตันต่อ ปีและส่งก๊าซธรรมชาติอีกจ�ำนวนมหาศาล ส่ง ผลให้การขนส่งน�้ำมันและก๊าซธรรมชาติของ 26
ด้วยทุนจ�ำนวนกว่า ๒,๐๐๐ ล้านเหรียญสหรัฐฯ มีนิคมอุตสาหกรรมขนาดใหญ่รอบท่าเรือแห่ง นี้เรียกว่า "เมืองท่าโคลอมโบ" (Colombo Port City) ซึ่งจะเปิดด�ำเนินการเต็มรูปแบบ ในปี พ.ศ.๒๕๕๘ และในปี พ.ศ.๒๕๕๗ ที่ผ่าน มา เรือด�ำน�้ำ "ฉางเซิง-๒” (Changzheng-2) และเรือรบ "ฉางซิงเตา" (Chang Xing Dao) ของจีน รวมทั้งเรือรบอีกจ�ำนวนหนึ่งได้เข้า จอดเทียบท่าที่ท่าเรือแห่งนี้อย่างน้อย ๒ ครั้ง ระหว่ า งการเดิ น ทางไปปฏิ บั ติ ภ ารกิ จ ปราบ ปรามโจรสลัดในอ่าวเอเดน ประเทศโซมาเลีย ท่ามกลางความไม่พอใจของอินเดีย ที่ได้ส่ง หนั ง สื อ ประท้ ว งศรี ลั ง กาถึ ง ๒ ครั้ ง ต่ อ การ อนุญาตให้เรือรบจีนเข้าเทียบท่า แม้ทางการ จีนจะออกแถลงการณ์ผ่านทางส�ำนักข่าว "ชิน หัว" เมื่อวันที่ ๕ พฤศจิกายนที่ผ่านมาว่าการ เข้าเทียบท่าดังกล่าว เป็นกิจกรรมที่ไม่มีสิ่งใด จีน ลดการพึ่งพาเส้นทางเดินเรือผ่านช่องแคบ ผิดปกติ นอกจากการส่งก�ำลังบ�ำรุงตามวงรอบ "มะละกา" อันเป็นการสถาปนาความมั่นคง เท่านั้นเอง อีกทั้งจีนก็ไม่มีแนวความคิดที่จะใช้ ด้านพลังงานของจีนในเมียนม่าร์ขึ้นอย่างถาวร ศรีลังกาเป็นฐานทัพเรือของตนแต่อย่างใด แต่ ไข่มุกเม็ดต่อมาของจีนคือท่าเรือ "จิตตะ การเข้าเทียบท่าของเรือรบจีนในครั้งนี้ ก็เป็น กอง" ของบังคลาเทศ ซึ่งเป็นเมืองท่าเศรษฐกิจ สิ่งบอกเหตุที่ชัดเจนว่า ท่าเรือ "ฮัมบันโตตา" ที่ ส� ำ คั ญ ที่ สุ ด แห่ ง หนึ่ ง ในอ่ า วเบงกอล โดย ในนครโคลอมโบได้กลายเป็นหนึ่งใน "ไข่มุก" จี น ได้ ทุ ่ ม เทงบประมาณกว่ า ๕,๐๐๐ ล้ า น ตามยุทธศาสตร์ "สร้อยไข่มุก" ของจีนไปโดย เหรียญสหรัฐฯ ผ่านทางบริษัท ไช่น่า ฮาร์ ปริยายแล้ว เบอร์ คอมพานี (China Harbor Company) ไ ข ่ มุ ก ที่ ส� ำ คั ญ ที่ สุ ด อี ก เ ม็ ด ห นึ่ ง ใ น เพื่อปรับปรุงท่าเรือน�้ำลึกแห่งนี้ รวมไปถึงการ ยุทธศาสตร์ "สร้อยไข่มุก" ของจีนคือ ท่าเรือ ก่อสร้างอุโมงค์ลอดใต้แม่น�้ำจิตตะกองตาม น�้ำลึก "กวาดาร์" (Gwadar) ในทะเลอารเบียน โครงการทางด่วนจีน – บังคลาเทศที่เชื่อมมา ของปากีสถาน ซึ่งอยู่ห่างจากช่องแคบ "ฮอร์ จากชายแดนของประเทศเมียนม่าร์อีกด้วย มุซ" เพียง ๓๓๐ กิโลเมตร และเป็นเสมือน การปรั บ ปรุ ง ท่ า เรื อ "จิ ต ตะกอง" ในครั้ ง นี้ เมืองท่าที่คุมเส้นทางเข้าออกอ่าวเปอร์เซียของ รัฐบาลบังคลาเทศยืนยันว่าเป็นการพัฒนาขึ้น เรือสินค้าต่างๆ โดยจีนได้ทุ่มเทงบประมาณ เพื่อเป็นท่าเรือพาณิชย์เป็นส�ำคัญ โดยมีจุด กว่า ๑๒,๐๐๐ ล้านเหรียญสหรัฐฯ ผ่านบริษัท มุ่งหมายที่จะพัฒนาให้มีความทันสมัยเทียบ ไชน่า โอเวอร์ซีส์ พอร์ท โฮลดิ้ง คอมพานี เท่ากับท่าเรือพาณิชย์ของสิงคโปร์ ตลอดจนยัง (China Overseas Port Holding Company) ยืนยันว่า บังคลาเทศไม่มีความมุ่งหมายที่จะใช้ เพื่ อ พั ฒ นาท่ า เรื อ น�้ ำ ลึ ก แห่ ง นี้ นิ ต ยสาร ท่าเรือแห่งนี้เป็นฐานทัพเรือของจีนแต่อย่างใด วอลล์สตรีท เจอร์นลั ได้ระบุวา่ จีนได้ลงนามกับ ทั้งนี้เพราะบังคลาเทศเป็นประเทศเพื่อนบ้าน รัฐบาลปากีสถานเพื่อเข้าควบคุมการบริหาร ที่มีความสัมพันธ์อันดีกับอินเดียมาโดยตลอด ท่าเรือแห่งนี้ทั้งหมดตั้งแต่เดือนกันยายน พ.ศ. จึงพยายามที่จะไม่ให้การพัฒนาท่าเรือ "จิตตะ ๒๕๕๔ ท�ำให้จีนมีอ�ำนาจเต็มในการบริหาร กอง" กลายเป็นปัญหาด้านความมั่นคงระหว่าง จัดการท่าเรือแห่งนี้ เพื่อผลประโยชน์ร่วมกัน บังคลาเทศและอินเดีย แม้อินเดียจะจับตามอง ของทั้งสองประเทศ โดยเฉพาะจีนวางแผนที่ อยู่ด้วยความไม่สบายใจอย่างมากก็ตาม จะก่อสร้างท่อส่งน�้ำมันจากท่าเรือ "กวาดาร์" เส้ น ทางของสร้ อ ยไข่ มุ ก ที่ เ ชื่ อ มต่ อ จาก ริมทะเลอารเบียน แล้ววางท่อขึ้นไปทางทิศ ท่าเรือ "จิตตะกอง" จะมุง่ หน้าสูไ่ ข่มกุ เม็ดต่อไป เหนือของดินแดนปากีสถาน ก่อนที่จะมุ่งหน้า นั่นคือ ท่าเรือ “ฮัมบันโตตา” (Humbantota) เข้าไปในดินแดนของจีนทางด้านตะวันตก เส้น หรือที่มีชื่อเดิมว่า "มากัมปุระ" (Magampura) ทางท่อส่งน�้ำมันนี้จะคล้ายกับท่อส่งน�้ำมันที่ ในนครโคลอมโบของศรีลังกา เป็นท่าเรือน�้ำ จีนด�ำเนินการในท่าเรือ "จ้าวผิ่ว" ในประเทศ ลึกที่ลึกที่สุดของศรีลังกา ซึ่งจีนได้อาศัยความ เมี ย นม่ า ร์ ซึ่ ง จะส่ ง ผลให้ ก ารขนส่ ง น�้ ำ มั น สัมพันธ์ด้านเศรษฐกิจระหว่างจีนและศรีลังกา ดิบจากอ่าวเปอร์เซียไปยังประเทศจีน ไม่มี เป็ น ปั จ จั ย หลั ก ในการเชื่ อ มประสานความ ความจ�ำเป็นต้องขนส่งทางเรือผ่านช่องแคบ สัมพันธ์ดา้ นการทหารของทัง้ สองประเทศ โดย "มะละกา" อันยาวไกลอีกต่อไป นอกจากนี้ยังมี บริษัทเอกชนของจีนได้เข้าพัฒนาท่าเรือแห่งนี้ แนวความคิดที่จะเชื่อมต่อท่อส่งน�้ำมันดิบจาก พันเอก ศนิโรจน์ ธรรมยศ
ประเทศอิหร่านเข้าสู่ท่อส่งน�้ำมันในประเทศ ปากีสถานที่ท่าเรือน�้ำลึก "กวาดาร์" แห่งนี้อีก ด้วย ซึ่งจะยิ่งอ�ำนวยความสะดวกต่อการขนส่ง น�้ำมันของจีนเป็นอย่างมาก ดังนั้นหากศึกษายุทธศาสตร์ "สร้อยไข่มุก" ของจีน โดยเฉพาะในมหาสมุทรอินเดียอย่าง ละเอียดแล้ว จะเห็นได้ว่ายุทธศาสตร์นี้จัดตั้ง ขึ้นด้วยเหตุผลทางความมั่นคงด้านพลังงาน และเพื่อต้องการรักษาเส้นทางเศรษฐกิจทาง เรือของจีนเป็นหลัก และแทบจะไม่มีเหตุผล ทางด้าน "การเป็นภัยคุกคามทางด้านความ มั่นคงหรือด้านการทหาร" เข้ามาเกี่ยวข้อง เลย ทั้งนี้เพราะจีนต้องการความมั่นคงในเส้น ทางการขนส่ง "น�้ำมัน" และ "ก๊าซธรรมชาติ" ตลอดจนพลังงานต่าง ๆ เช่น "ถ่านหิน" เพื่อน�ำ ไปใช้ในการพัฒนาประเทศตามแนวทาง "ความ ฝันของชนชาติจีน" (Chinese Dream) ที่มีเป้า หมายในการสร้างจีนให้เป็นสังคมที่มั่งคั่ง ในปี พ.ศ.๒๕๖๔ ซึ่งเป็นปีแห่งการครบรอบ ๑๐๐ ปี ของการก่อตั้งพรรคคอมมิวนิสต์จีน ตลอดจน ก้าวไปสู่ความเป็นประเทศที่พัฒนาแล้วในปี พ.ศ.๒๕๙๒ ซึ่งเป็นวาระครบรอบ ๑๐๐ ปีของ การก่อตั้งสาธารณรัฐประชาชาชนจีนนั่นเอง ปั จ จุ บั น จี น บริ โ ภคทรั พ ยากรธรรมชาติ จ� ำ นวนมหาศาลเพื่ อ ใช้ ใ นการขั บ เคลื่ อ น เศรษฐกิจ เช่น ในปี พ.ศ.๒๕๕๒ จีนใช้พลังงาน จากถ่านหินเกือบครึ่งหนึ่งของถ่านหินทั้งโลก และในช่วงปี พ.ศ.๒๕๕๔ - ๒๕๕๗ จีนกลาย เป็นประเทศที่น�ำเข้าน�้ำมันอันดับหนึ่งของโลก หรือมากกว่า ๑๑ ล้านบาร์เรลต่อวัน นอกจาก นี้ จี น ยั ง น� ำ เข้ า น�้ ำ มั น จากทวี ป แอฟริ ก าเป็ น จ�ำนวนถึง ๑ ใน ๓ ของจ�ำนวนน�้ำมันทั้งหมด ที่ ใ ช้ ใ นการพั ฒ นาประเทศ โดยเฉพาะในปี พ.ศ.๒๕๕๔ จีนน�ำเข้าน�้ำมัน ก๊าซธรรมชาติ และสินค้าอื่น ๆ จากแอฟริกาเป็นจ�ำนวนกว่า ๑๖๖,๐๐๐ ล้านเหรียญสหรัฐฯ หรือประมาณ ห้าล้านล้านบาท เป็นต้น เส้นทางการขนส่งพลังงานน�้ำมันและก๊าซ ธรรมชาติของจีนในขณะนี้ ต้องใช้การขนส่ง ทางเรื อ จากอ่ า วเปอร์ เ ซี ย ผ่ า นมหาสมุ ท ร
หลักเมือง มกราคม ๒๕๕๘
อินเดีย เข้าสู่ช่องแคบมะละกา ผ่านทะเลจีนใต้ ของมหาสมุ ท รแปซิ ฟ ิ ค ก่ อ นที่ เ ข้ า สู ่ ท ่ า เรื อ เซี่ยงไฮ้ นับเป็นเส้นทางการขนส่งที่ยาวไกล กว่า ๑๐,๐๐๐ กิโลเมตร เต็มไปด้วยความสุ่ม เสี่ยงทั้งจากระยะทางอันยาวไกลและจากการ "ผูกขาด" ในการใช้เส้นทางช่องแคบ "มะละกา" และ "ทะเลจีนใต่้" เพียงช่องทางเดียว หากเกิด วิกฤติการณ์ใด ๆ ขึน้ ทีช่ อ่ งแคบ "มะละกา" หรือ บริเวณ "ทะเลจีนใต้" จนเรือสินค้าไม่สามารถ แล่นผ่านไปได้ การขนส่งน�้ำมันและพลังงานที่ จีนใช้ในการพัฒนาประเทศย่อมหยุดต้องชะงัก ลงและจะก่อให้เกิดปัญหาทางเศรษฐกิจอย่าง ไม่มีทางหลีกเลี่ยงได้ นั่ น จึ ง เป็ น สาเหตุ ห นึ่ ง ที่ ท� ำ ให้ จี น ต้ อ งหา แหล่งพลังงานจากรัสเซียเพื่อลดความสุ่มเสี่ยง ในการพึ่งพาพลังงานที่ต้องขนส่งผ่านช่องแคบ มะละกา ด้วยการลงนามข้อตกลงความร่วมมือ ด้านก๊าซธรรมชาติจ�ำนวน ๔๐๐,๐๐๐ ล้าน ดอลล่าห์ (๑๓.๒ ล้านล้านบาท) กับรัสเซีย โดย ในสัญญาฉบับนี้รัสเซียมีพันธะที่จะต้องส่งก๊าซ ธรรมชาติให้จีน ปีละ ๓๘,๐๐๐ ล้านลูกบาศก์ เมตร เป็นเวลานานถึง ๓๐ ปี ดั ง นั้ น ในห้ ว งเวลาที่ ผ ่ า นมาจะเห็ น ได้ ว ่ า จีนก�ำลังหาหนทางเพื่อลดความเสี่ยงทางด้าน พลังงานของตนที่ต้องขนส่งผ่านเส้นทางอัน ยาวไกลและผ่านช่องทางที่จ�ำกัด จีนจึงมุ่งหวัง ที่จะใช้ยุทธศาสตร์ "สร้อยไข่มุก" เป็นเส้นทาง ล� ำ เลี ย งน�้ ำ มั น และก๊ า ซธรรมชาติ ข องตนอี ก เส้นทางหนึ่งขึ้นมาทดแทนนัั่นเอง นอกจากนี้ การที่หลายฝ่ายยังคงวิตกกังวลว่าจีนก�ำลังก่อ "เมฆหมอกของสงคราม" ขึ้นในทะเลอารเบียน อ่าวเบงกอล ทะเลอันดามันของมหาสมุทร อินเดีย ตลอดจนในทะเลจีนใต้ และทะเลจีน ตะวันออกของมหาสมุทรแปซิฟิค โดยมีคู่กรณี ต่างๆ มากมาย เช่น อินเดีย ออสเตรเลีย ญี่ปุ่น ไต้หวัน เวียดนาม ฟิลิปปินส์ มาเลเซีย บรูไน อินโดนีเซียและสิงคโปร์ โดยมีมหาอ�ำนาจคือ สหรัฐฯ เป็นผู้ให้การสนับสนุน ความกั ง วลเหล่ า นี้ ดู แ ทบจะไม่ มี ค วาม เป็นไปได้เลยในอนาคตอันใกล้นี้ เพราะจีน
ตระหนักดีว่า การพัฒนาเศรษฐกิจของตนนั้น จะต้ อ งกระท� ำ โดยปราศจากข้ อ ขั ด แย้ ง ทาง สงคราม เนื่องจากจีนเคยมีประสบการณ์ใน การพั ฒ นาเศรษฐกิ จ ท่ า มกลางสงครามมา แล้ว นั่นคือสงคราม "สั่งสอน" ระหว่างจีน และเวียดนามในสมัยของประธานาธิบดีเติ้ง เสี่ ย ว ผิ ง โดยเมื่ อ ครั้ ง กองทั พ เวี ย ดนามรุ ก เข้าไปในกัมพูชานั้น จีนซึ่งถือว่าเป็นประเทศ ที่ ใ ห้ ก ารสนั บสนุ น รั ฐบาลเขมรแดงได้แสดง ความไม่พอใจ ด้วยการเปิดฉากการรุกเข้าไป ทางตอนเหนื อ ของประเทศเวี ย ดนามในวั น ที่ ๑๗ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๒๒ โดยก�ำลังของ จีนประกอบด้วยทหารราบจากภูมิภาคทหาร คุนหมิง, ภูมิภาคทหารเฉิงดู, ภูมิภาคทหาร หวู ฮั่ น และภู มิ ภ าคกวางโจว จ� ำ นวนกว่ า ๒๐๐,๐๐๐ นาย สนับสนุนด้วยรถถังจ�ำนวน มาก การรบเป็นไปอย่างรุนแรงและนองเลือด โดยเฉพาะการรบทีจ่ งั หวัด "เคา บาง", “ลาว ไค” และ “ลาง ซอน” ทางตอนเหนือของเวียดนาม การรบครั้งนี้ทั้งสองฝ่ายสูญเสียอย่างหนัก ในขณะเดียวกันจีนมีความกังวลอย่างมากว่า สงครามจะขยายวงกว้ า งออกไปจนถึ ง ขั้ น ที่ สหภาพโซเวียตเข้าร่วมในสงครามซึ่งเป็นสิ่ง ที่จีนไม่ต้องการ ท�ำให้การรุกของจีนก็หยุดลง ในวันที่ ๖ มีนาคม โดยให้เหตุผลว่าประตูสู่ กรุงฮานอยเปิดออกส�ำหรับจีนแล้ว ท�ำให้จีน บรรลุวัตถุประสงค์ในการบุกครั้งนี้ จึงถอนทัพ มุ ่ ง หน้ า ข้ า มพรมแดนกลั บ ประเทศ ผลของ สงครามครั้งนี้ท�ำให้จีนต้องสูญเสียงบประมาณ ไปมากกว่า ๓,๔๐๐ ล้านหยวนและส่งผลให้ แผนพัฒนาเศรษฐกิจของผู้น�ำจีน เติ้ง เสี่ยวผิว ในปี พ.ศ.๒๕๒๒ – ๒๕๒๓ ประสบปัญหาอย่าง หนักและต้องล่าช้าออกไป นับเป็นบทเรียนครัง้ ส�ำคัญของจีน จึงอาจกล่าวได้ว่ายุทธศาสตร์ "สร้อยไข่มุก" ของจีนในปัจจุบัน ยังไม่ถือว่าเป็นภัยคุกคาม ด้านความมัน่ คงส�ำหรับภูมภิ าคต่างๆ ที่ "ไข่มกุ " แต่ละเม็ดได้ถูกจัดวางไว้แต่อย่างใด เพราะ แท้จริงแล้วเส้นทางตามแนว "สร้อยไข่มุก" คือ เส้นทางขนส่งพลังงานเพื่อการพัฒนาประเทศ ของจีนหรือที่จีนเรียกว่า "เส้นทางสายไหมทาง ทะเล" (the Maritime Silk Road) แม้ว่าใน อนาคต "ไข่มกุ " เหล่านีอ้ าจจะได้รบั การเจียรไน และพัฒนาให้เป็นฐานทัพเรือของจีนเพื่อสนับ สนุนสความเป็ นกองเรื อน�้ำลึก (Blue Sea Navy) ก็ตาม แต่ก็ยังต้องอาศัยระยะเวลาอีก ยาวนานกว่าจะก้าวไปถึงจุดดังกล่าว เพราะ ณ เวลานี้จีนต้องการพัฒนาเศรษฐกิจของตนให้ ประสบความส�ำเร็จ อันจะน�ำมาซึ่งความมั่งคั่ง และเศรษฐกิจที่มั่นคง เฉกเช่นเดียวประเทศ ต่าง ๆ ทั่วโลกนั่นเอง 27
The Growth at Guam G นาวาอากาศเอก ปิยะพันธ์ ขันถม Air Force Magazine December 18, 2013 By : Rebecca Grant
“เมื่ อ ...กลาโหมสหรั ฐ ก� ำ ลั ง เพิ่ ม ความ เข้มข้นการปฎิบตั กิ ารทางทหารทัง้ ก�ำลังทาง อากาศและก�ำลังทางเรือ โดยมี Anderson AFB ที่ Guam เป็นศูนย์ปฎิบัติการ” 28
uam เกาะกลางแปซิฟิคซึ่งมีเกาะ บริ เ วณใกล้ เ คี ย งทางตอนเหนื อ (Northern Marinas) กับอีกสอง เกาะคือ Tinian และ Saipan ถือว่าอยู่ภายใน อธิ ป ไตยของสหรั ฐ ฯ ที่ ไ ม่ มี ป ั ญ หาการอ้ า ง สิทธิทับซ้อนกับประเทศคู่กรณีอื่นใดในย่านนี้ เฉพาะเกาะ Guam เองแล้วเป็นเกาะที่มีพื้นที่ ขนาด ๒๒๐ ตารางไมล์ และอยูห่ า่ งจาก Hawai ทางตะวันตกถึง ๓,๙๐๐ ไมล์ และเป็นทีต่ งั้ ของ Anderson AFB และ Submarine Port ของ USNAV อันมีประวัติศาสตร์ที่เกี่ยวเนื่องใน สงครามมาอย่างยาวนาน ตั้งแต่สงครามโลก ครั้งที่สอง สงครามเวียดนามและสงครามเย็น
ในช่วงสิบปีที่ผ่านมา สหรัฐฯ ได้แสดงให้ ชาวโลกเห็นถึงการปรับวางก�ำลังทัง้ ทางอากาศ และทางเรือที่ Guam อย่างเด่นชัด โดยเฉพาะ ก�ำลังนาวิกโยธินนั้น สหรัฐฯ ได้วางแผนย้าย บางส่วนของก�ำลังทางอากาศนาวิกโยธินและ หน่วยทหารนาวิกโยธินจาก Okinawa เข้ามา ประจ�ำการที่ Guam ยุทธศาสตร์ทางทหาร ครั้งนี้ถูกตอกย�้ำให้เกิดความชัดเจนมากยิ่งขึ้น เมื่อ Obama ประธานาธิบดีสหรัฐฯ ในช่วง สมัยทีส่ องของเขา ได้ประกาศนโยบายการต่าง ประเทศว่า จะต้องสร้างสมดุลใหม่ในเอเชียแปซิฟิค(Obama’Asia-Pacific Rebalance) เพื่อสกัดกั้นการขยายอิทธิพลของมหาอ�ำนาจ นาวาอากาศเอก ปิยะพันธ์ ขันถม
ที่ก�ำลังร�่ำรวยอย่างรวดเร็วในยุคนี้คือจีน ทั้ง ในภูมิภาคที่เป็นแผ่นดินและในทะเลจีนใต้ ใน มุมมองอีกมุมหนึ่งที่นักยุทธศาสตร์ทางทหาร ได้เรียกนโยบายนี้ให้ดูดีขึ้น คือการสร้างโครง ข่ายในการป้องกันในดินแดนอันเป็นด่านหน้า สุดของสหรัฐฯ ทางตะวันออก ในอดีต Guam ถูกยึดครองโดยอาณาจักร สเปน เพื่อเป็นจุดพักกองเรือล่าอาณานิคม โดยมีฐานตั้งอยู่ที่ Orote Penninsula ทาง ตะวันตกเฉียงใต้ของ Guam แต่สเปนก็ได้ใช้ งานในช่วงสั้น ๆ แค่ในช่วงปี ๑๙๒๑-๑๙๓๑ เนื่องจากไม่สามารถสู้ค่าใช้จ่ายในการดูแลได้ จนล่วงเข้าถึงปี ๑๙๔๑ เกาะ Guam จึงได้ ถูกยึดครองอย่างเด็ดขาดโดยจักรวรรดิญี่ปุ่น เพื่อเป็นศักดิ์สงครามที่ส�ำคัญในสงครามโลก ครั้ ง ที่ ส องของญี่ ปุ ่ น เอง แต่ ใ นเวลาไม่ น าน สมรภูมิรบบนหมู่เกาะที่ห่างไกลกลางแปซิฟิค โดยเฉพาะที่ Tinian และ Saipan นี้ทวีความ หลักเมือง มกราคม ๒๕๕๘
ดุเดือดมากขึ้น จากความพยายามในการยึด ครองหมู่เกาะแห่งนี้โดยสหรัฐฯ ซึ่งเล็งเห็น ความส�ำคัญทางยุทธศาสตร์ไม่แพ้กัน และอาจ หมายถึงความอยู่รอดของสหรัฐฯในอนาคต ด้วยเช่นกัน ในที่สุดผู้ครอบครองที่แท้จริงก็ คือสหรัฐฯ ซึ่งประกาศชัยชนะเด็ดขาดเมื่อ ๒๐ ส.ค.๑๙๔๔ โดยมีกองก�ำลังสหรัฐฯเริ่มต้นที่ ก�ำลังกองทัพอากาศที่ ๒๐ ซึ่งประจ�ำการด้วย เครื่องบินทิ้งระเบิด B-29 (Superfortress) ซึ่ง กองก�ำลังที่บุกเบิกการก่อสร้างพื้นฐานในช่วง เริ่มต้นคือ Naval Seabees และ US Army Construction Battalion
เมื่อสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่สองและภาย หลังวัน V-J Day หรือ Victory over Japan Day ซึ่งตรงกับ 18 Dec,1945 สหรัฐฯได้ย้าย ฐานก�ำลังทุกอย่างมาไว้ที่เกาะ Guam เพียง แห่ ง เดี ย ว เพื่ อ ให้ เ กิ ด ความกระชั บ ในการ บัญชาการและซ่อมบ�ำรุง ในเวลาต่อมาเมื่อ สหรัฐฯเข้าสู่สงครามเวียดนามอย่างเต็มตัว ฐานทัพอากาศที่ Guam นี้ก็คลาคล�่ำไปด้วย เครื่องบินรบ ชั้นน�ำในยุคนั้น โดยฉพาะ เครื่อง บินไอพ่นสกัดก้น (Interceptors) และที่โด่ง ดังสร้างความหวาดผวาแก่ชาวอินโดจีนจนถึง ทุกวันนี้คือ บ.ทิ้งระเบิดขนาดใหญ่แบบ B-52 29
Projection) ฐานปฏิบัติการเดิมนั้น กลับไม่ เพียงพอรองรับต่อการปฏิบัติการหรือภารกิจ ที่เพิ่มขึ้นเสียแล้ว สหรัฐฯ จึงต้องหันกลับมา ทบทวนและพัฒนาขีดความสามารถของฐาน ปฏิบัติการที่ Guam และ Northern Marinas Island คือ Tinian และ Saipan อีกครั้ง หนึ่ง ซึ่งนักการทหารคาดการณ์ว่าในอนาคต คงต้ อ งเรี ย กจุ ด ยุ ท ธศาสตร์ แ ห่ ง นี้ ว ่ า The Guam-Tinian Axis ตามความส�ำคัญที่ทวีข้ึน นอกจากนั้น สหรัฐฯจะน�ำ Global Hawks ซึ่งมีภารกิจ ISR (Intelligence,Surveilance and Reconnaissance) เข้าประจ�ำการที่ Anderson AFB ในระดับที่ Data On line ได้ ในโอกาสต่อไป ความต่ อ เนื่ อ งในการพั ฒ นาที่ ต ามมาคื อ สหรัฐฯได้ตั้งกองบินที่ ๓๖ (36th Wing) ที่ Anderson AFB ที่ Guam ซึ่งเป็นสนามบิน ปฏิ บั ติ ก ารหน้ า ไม่ มี เ ครื่ อ งบิ น ประจ� ำ การ เป็นการเฉพาะ แต่ต้องมีขีดความสามารถใน การสนับสนุนการเคลื่อนย้ายก�ำลังทางอากาศ (Deployment) ได้ เ หมาะสมกั บ ก� ำ ลั ง ทาง อากาศทุกรูปแบบภารกิจในแปซิฟิค ซึ่งได้เห็น คุณภาพของแนวคิดนี้แล้วจากความตึงเครียด ในคาบสมุทรเกาหลีปี ๒๐๐๔ ในยุคนี้การมา เยือน Guam ไม่ใช่แค่ B-52 เท่านั้น แต่ยัง เป็นการมาของ Stealth Bomber แบบ B-2 อีกด้วย หนักเข้าไปอีกของการแสดงก�ำลังของ สหรัฐฯ คือในปี ๒๐๑๐ มีการ Deployment ของ Global Hawk Block 30s, F-15Cs และ F-22s พวกนี้ถือได้ว่าเป็นเทคโนโลยีขั้นสูงของ ก�ำลังทางอากาศ และยังไม่นับรวมการ Data Link ในรูปแบบต่าง ๆ กับห้วงอวกาศ ซึ่งแอบ สนับสนุนอยู่ในระยะที่แสนไกล Guam ในยุ ค ปั จ จุ บั น ภายใต้ น โยบาย Pivot Pacific เพื่อสร้างสมดุลใหม่ในภูมิภาค (America’s Pacific Air and Sea Power 30
นาวาอากาศเอก ปิยะพันธ์ ขันถม
A Target,Too การเข้ามาของกองก�ำลังต่าง ๆ ของสหรัฐฯ ที่ Guam นี้ ใช่ว่าจะไร้อุปสรรคขวากหนาม ปราศจากเรื่องที่ไม่ต้องระแวง ภัยคุกคามที่ ตั้งป้อมเป็นอริกับสหรัฐฯอย่างชัดเจนตามบท วิเคราะห์ทางทหารคือ จีนและลูกน้องที่แสน เชื่องอย่างเกาหลีเหนือ เครื่องบินทิ้งระเบิด แบบ H-6 ของจีน สามารถจัดระยะยิงขีปนาวุธ โจมตี Guam ได้อย่างสบาย และในปี ๒๐๐๙ ปรากฏชัดแจ้งว่า เกาหลีเหนือได้ประจ�ำการ ขีปนาวุธ Musudan ที่มีรัศมีการยิงได้ไกล กว่า ๑,๘๐๐ ไมล์ ซึ่งหมายถึง Okinawa, Guam และ Alaska จะอยู่ในพื้นที่สังหารของ Masudan ที่ Guam ในการป้องกันตนเองของสหรัฐฯ ต่ อ ภั ย คุ ก คามของขี ป นาวุ ธ นั้ น สหรั ฐ ฯ ได้ วางแผนติดตั้งระบบ Air Defense ชั้นยอด แบบ THAAD (Terminal High-Altitude Area Defense) รวมไปถึงระบบ Land-Based Missile System และ Missiles Interceptor System ซึ่งถ้ามองในภาพรวมแล้ว น่าจะเรียก ระบบทั้ง Offensive and Defensive ของ สหรัฐฯ ที่ Guam อยู่ในระดับ NCC (Network Centric Combat) ได้อย่างไม่ผิดเพี้ยนนัก ส�ำหรับประเทศที่มีทุกอย่าง
Tinian Again Tinian เป็ น เกาะหนึ่ ง ของ Northern Marinas Island มีพื้นที่เพียง ๓๙ ตารางไมล์ อยู่ทางตอนเหนือของ Guam ไปอีก ๑๐๐ ไมล์ ในช่วงต้นปี ๑๙๔๐ ภายใต้การยึดครอง ของญี่ปุ่นนั้น สนามบินบนเกาะ Tinian ถูกใช้ เพื่อเป็นศูนย์บัญชาการทางอากาศในภูมิภาค และเป็นจุดผ่องถ่ายการเคลื่อนย้ายของกอง ก�ำลังญี่ปุ่น แต่ในเวลาต่อมา Tinian ก็ต้อง ตกเป็นของสหรัฐฯใน สิงหาคม ๑๙๔๔ ในยุค สงครามโลกครั้งที่สองนั้น สนามบิน Tinian ได้กลายเป็นบ้านของ เครื่องบินทิ้งระเบิดแบบ B-29 มากมายถึง ๒๖๙ เครื่อง เลยทีเดียว ซึ่ง นักบินหนุม่ ของ กองทัพอากาศสหรัฐฯ ต้องบิน กันไกลถึง ๑,๘๐๐ ไมล์ เพื่อไปโจมตีทิ้งระเบิด ยังเกาะญี่ปุ่น ในทางกลับกันแล้ว ในทางการ ส่งก�ำลังบ�ำรุง Tinian ก็เป็นที่เก็บสะสมน�้ำมัน จ� ำ นวนมหาศาลด้ ว ยเช่ น กั น เพื่ อ สนั บ สนุ น 269B-29s ความหลังที่หยุดโลกในเรื่องของความเศร้า โศกและหยุดสงครามโลกครัง้ ทีส่ องในเรือ่ งของ ความขัดแย้งนั้น สนามบิน Tinian โดย 20th Wing ได้ส่ง Modified B-29 : Enola Gay ขึ้น ปฏิบัติภารกิจที่พวกเขาเรียกว่า “The most tearsome military operation of all time” น�ำระเบิดนิวเคลียร์ลูกแรก “Little Boy” ไป หลักเมือง มกราคม ๒๕๕๘
ทิง้ ทีเ่ มืองฮิโรชิมา เมือ่ ๖ สิงหาคม ๑๙๔๕ และ อีกสามวันต่อมาเป็นหน้าที่ของ “Fat Man” ลูกที่สองที่เมือง นางาซากิ เป็นการปิดฉาก สงครามโลกครั้งที่สองโดยสิ้นเชิง และยังมีผล ให้โลกหวาดกลัวและระมัดระวังกันมาก ใน การบริหารข้อพิพาทไม่ให้ขยายความรุนแรง เกิดเป็นสงครามขนาดใหญ่ จนกระทั่งทุกวันนี้
Into the Future ในปัจจุบัน บทบาทของสนามบิน Tinian มี มากขึ้น รองรับการฝึกต่าง ๆ ทางทหาร ภายใต้ นโยบายการต่ า งประเทศใหม่ ข องรั ฐ บาล สหรั ฐ ฯ ตั ว อย่ า งการฝึ ก แบบ Warefare Training ที่ ส� ำ คั ญ คื อ Geiger Fury และ Forager Fury ซึ่งเป็นการฝึกที่มี Marine Corps เป็ น พระเอก ประกอบก� ำ ลั ง ด้ ว ย F/A-18Ds (Hornets, KC-130J, MV-22s (Ospreys) และ CH-46s นอกจากนั้นยังมีการ ฝึกที่ USAF เป็นเจ้าภาพคือ Cope North ซึ่ง ล่าสุดคือ Cope North Feb 2103 เป็นการ ฝึกร่วมของ กองทัพอากาศสามชาติพันธมิตร คือ สหรัฐฯ (USAF), ออสเตรเลีย (RAAF) และญี่ปุ่น (JASDF) โดยผลสัมฤทธิ์ของ Cope North นัน้ มุง่ เน้นไปที่ HA/DR :Humanitarian Assistance/Diaster Relief Operations ส�ำหรับเกาะที่สองของ Northern Marinas Island คือ Saipan นั้น จะเป็นล�ำดับถัดไปใน การพัฒนา ซึ่งในขณะนี้อยู่ในช่วงการศึกษา ความเป็นไปได้ โดยที่ ทอ.สหรัฐฯ มุ่งการใช้ งานไปทีก่ ารเป็นคลังเชือ้ เพลิงขนาดใหญ่ควบคู่ ไปกับ Guam ที่ครองต�ำแหน่งคลังส�ำรองเชื้อ เพลิงที่ใหญ่ที่สุดของ USAF อยู่ในขณะนี้ ที่ Guam นอกเหนือจากแผนการพัฒนา ก�ำลังทางอากาศ ในฐานะที่เป็นเกาะหลักของ ทั้งหมดสามเกาะแล้ว ก�ำลังทางเรือก็จะได้รับ
การพัฒนาควบคู่กันไปด้วย ซึ่งฐานทางก�ำลัง ทางเรือใหญู่อยู่ที่ Apra Port, Guam จะท�ำให้ มีขีดความสามารถรับและให้บริการ เรือด�ำน�้ำ, เรือพิฆาต, เรือประจัญบาน และเรือสะเทิน น�้ำสะเทินบก อีกทั้งเสริมก�ำลังนาวิกโยธินให้ มากขึ้นด้วย การพั ฒ นาทางการทหารของสหรั ฐ ฯที่ Guam คงเป็นเรื่องที่ต้องเดินหน้า เนื่องจาก เป็ น งานนโยบายหลั ก ด้ า นการต่ า งประเทศ ซึ่งการทหารของสหรัฐฯจ�ำเป็นต้องเปิดแผน รองรับ อย่างไรก็ตาม ทั่วโลกก็ได้แต่หวังว่า ความขัดแย้งใด ๆ ที่จะเกิดขึ้น ขอให้ยุติกันได้ ด้วยสันติวิธี “No more the most tearsome military operation of all time”
31
ดุลยภาพทางการทหารของประเทศอาเซียน
รถถังหลักเลียวปาร์ด-๒ พลเอก ทรงพล ไพนุพงศ์
32
พลเอก ทรงพล ไพนุพงศ์
ก
องทัพบกอินโดนีเซียน�ำรถถังหลัก เลียวปาร์ด-๒เอ๔ (Leopard-2A4) เข้าประจ�ำการ ๑๐๓ คัน เป็นรถ ถังที่เกินความต้องการของกองทัพบกเยอรมัน พร้ อ มด้ ว ยรถสนั บ สนุ น การรบอี ก ๑๐ คั น ประกอบด้วย รถกู้ซ่อม ๔ คัน, รถวางสะพาน (AVLB) ๓ คัน และรถทหารช่าง ๓ คัน พร้อม ด้ ว ยรถรบทหารราบแบบ มาร์ เ ดอร์ - ๑เอ๓ (Marder-1A3) รวม ๔๒ คัน เป็นเงิน ๒๑๖ ล้าน ยูโร กองทัพบกอินโดนีเซียรับมอบรถถังเลียว ปาร์ด-๒เอ๔ ชุดแรก รวม ๒ คัน พร้อมด้วยรถ รบทหารราบมาร์เดอร์-๑เอ๓ (Marder-1A3) รวม ๒ คัน เมื่อวันที่ ๒๓ กันยายน พ.ศ.๒๕๕๖ กองทัพบกอินโดนีเซียจะได้รับมอบรถถังครบ ตามโครงการในเดือนสิงหาคม พ.ศ.๒๕๕๗ พร้อมทั้งเครื่องช่วยฝึกพลประจ�ำรถถังแบบ เลียวปาร์ด-๒เอ๔ จะช่วยให้การฝึกพลประจ�ำ รถถังใหม่มคี วามสะดวกมากยิง่ ขึน้ โดยสามารถ ท�ำการฝึกตลอดเวลา เป็นการฝึกภายในรถถัง
สมัยไม่สามารถจะต่อสู้กับรถถังหลักรุ่นใหม่ แบบที - ๗๒ (T-72) ปื น ใหญ่ ร ถถั ง ล� ำ กล้ อ ง เรียบขนาด ๑๒๕ มิลลิเมตร) ของอดีตสหภาพ โซเวียต ข้อมูลหลักส�ำคัญคือขนาดยาว ๙.๙๗ เมตร กว้าง ๓.๗๕ เมตร สูง ๓.๐ เมตร น�้ำหนัก ๕๕.๑ ตัน เครือ่ งยนต์ ดีเซล เอ็มทียู ๘๗๓ เคเอ๕๙๑ ก�ำลังขนาด ๑,๕๐๐ แรงม้า ความเร็วบน ถนน ๗๒ กิโลเมตรต่อชั่วโมง ระยะปฏิบัติการ ๕๕๐ กิโลเมตร ปืนใหญ่รถถังล�ำกล้องเรียบ ขนาด ๑๒๐ มิลลิเมตร (L44 และลูกกระสุนปืน ใหญ่ ๔๒ นัด) ปืนกลเบาขนาด ๗.๖๒ มิลลิเมตร (MG-3A1 รวม ๒ กระบอก พร้อมลูกกระสุน ๔,๗๕๐ นัด), ความจุเชื้อเพลิง ๑,๒๐๐ ลิตร และพลประจ�ำรถ ๔ นาย (ผู้บังคับรถ, พลยิง, พลยิงผูช้ ว่ ย และพลขับ) ประจ�ำการกองทัพบก เยอรมันตะวันตกชุดแรกเมื่อวันที่ ๒๕ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๒๒ ต่อมาน�ำเข้าประจ�ำการเพิ่มอีก รวมทั้งสิ้น ๕ ครั้ง รวม ๑,๘๐๐ คัน
รถถังหลักเลียวปาร์ด-๒เอ๔ น�้ำหนัก ๕๕.๑๕ ตัน เครื่องยนต์ดีเซล ขนาด ๑,๕๐๐ แรงม้า ความเร็วบนถนน ๗๒ กิโลเมตรต่อชั่วโมง ปืนใหญ่ขนาด ๑๒๐ มิลลิเมตร (L44) และพลประจ�ำรถ ๔ นาย (ในภาพรถถังเลียวปาร์ด กองทัพบกอินโดนีเซีย) จ�ำลองและลดการสึกหรอของรถถังได้อย่าง มากโดยไม่ตอ้ งท�ำการวิง่ จริง (ประหยัดชิน้ ส่วน ซ่ อ ม) พร้ อ มทั้ ง ยั ง ประหยั ด น�้ ำ มั น เชื้ อ เพลิ ง (สป.๓) ได้เป็นจ�ำนวนมาก รถถังหลักแบบเลียวปาร์ด-๒ (Leopard-2) กองทั พ บกเยอรมั น ตะวั น ตกพั ฒ นาขึ้ น ในปี พ.ศ.๒๕๑๓ ได้สร้างรถถังต้นแบบขึ้นจ�ำนวน ๑๗ คัน เพื่อท�ำการทดสอบขีดความสามารถ ทางด้านต่าง ๆ ทางด้านเทคนิคและทางยุทธวิธี ได้นำ� เข้าประจ�ำการปี พ.ศ.๒๕๒๒ เพือ่ ทดแทน รถถังหลักรุ่นเก่าแบบเลียวปาร์ด-๑ ติดตั้งปืน ใหญ่รถถังขนาด ๑๐๕ มิลลิเมตร ก�ำลังจะล้า หลักเมือง มกราคม ๒๕๕๘
รถถังหลักเลียวปาร์ด-๒ ประจ�ำการอย่าง แพร่ ห ลายทั่ ว โลก ๓,๔๘๐ คั น รวม ๑๗ ประเทศ มีการผลิตออกมาประจ�ำการในรุ่น ท�ำการรบรวม ๑๐ รุ่น รุ่นหลักที่ส�ำคัญคือ เลียวปาร์ด-๒เอ๔ มียอดผลิต ๒,๑๒๕ คัน และ รุ่นเลียวปาร์ด-๒เอ๖ ปรับปรุงให้มีขีดความ สามารถในการรบมากยิ่งขึ้น เปลี่ยนปืนใหม่ เป็นรุ่นแอล๕๕ (L55) รวมทั้งปรับปรุงป้อม ปืนใหม่เพื่อลดอันตรายจากการถูกยิงจากทาง ด้านหน้า น�้ำหนักเพิ่มขึ้นใหม่เป็น ๖๑.๗ ตัน ประเทศในทวีปยุโรปที่เป็นสมาชิกกองก�ำลัง นาโต (NATO) น�ำรถถังหลักเข้าประจ�ำการ 33
รถถังหลักเลียวปาร์ด-๒เอ๔ กองทัพบกอินโดนีเซียประจ�ำการรวม ๑๐๓ คัน จัดซื้อ มาจากประเทศเยอรมัน รับมอบครบตามโครงการในปี พ.ศ.๒๕๕๗ ประกอบด้วย เดนมาร์ค (๕๗), เนเธอร์แลนด์ (๔๔๕), นอร์เว (๕๒), โปรตุเกส (๓๗), สเปน (๓๒๗), กรีซ (๑๘๓) และตุรกี (๓๕๔) รถถังหลักเลียวปาร์ด-๒ ปฏิบัติการทาง ทหารครั้งแรกที่โคโซโว (Kosovo) รุ่นเลียว ปาร์ด-๒เอ๔ และเอ๕ โดยกองทัพบกเยอรมัน ต่อมาปฏิบัติการทางทหารในกองก�ำลังไอฟอร์ (IFOR) ที่บอสเนีย (Bosnia) ระหว่าง พ.ศ. ๒๕๓๘-๒๕๓๙ โดยกองทัพบกเนเธอร์แลนด์ใช้ รถถังหลักรุ่นเลียวปาร์ด-๒เอ๔ และเอ๕ พื้นที่ ปฏิบัติการอยู่ทางด้านตะวันตกเฉียงใต้ กองก� ำ ลั ง ไอซาฟ (ISAF) โดยกองทั พ บกแคนาดาร่ ว มกั บ กองก� ำ ลั ง นานาชาติ ใ น อัฟกานิสถาน ห้วงเดือนธันวาคม พ.ศ.๒๕๔๙ พื้นที่ปฏิบัติการบริเวณเมืองคันดาฮาร์ เป็น รุ่นเลียวปาร์ด-๒เอ๖ (Leopard-2A6) รวม ๒๐ คัน พร้อมด้วยรถกู้ซ่อม ๓ คัน ต่อมา
รถถังหลักเลียวปาร์ด-๒เอ๔ กองทัพบกอินโดนีเซีย ได้รบั มอบรถถังชุดแรก วันที่ ๒๓ กันยายน พ.ศ.๒๕๕๖
รถถังเลียวปาร์ด-๒เอสจี (Leopard-2SG) กองพันรถถังที่ ๔๘ กองทัพบกสิงคโปร์ ขณะท�ำการฝึกเป็นหน่วยยานเกราะในรหัส เอ็กซ์พีเอส ๒๑๐๓ (Exercise Panzer Strike 2103) เป็นการฝึกนาน ๓ สัปดาห์ จบการฝึกในวันที่ ๒๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ 34
กองทัพบกเดนมาร์คส่งรถถังหลักเลียวปาร์ด -๒เอ๕ (Leopard-2A5) เข้าปฏิบัติการใน อั ฟ กานิ ส ถานพื้ น ที่ ป ฏิ บั ติ ก ารอยู ่ ที่ จั ง หวั ด เฮลมันด์ (Helmand) ทางตอนใต้ของประเทศ ซึ่งมีสภาพของอากาศในอัฟกานิสถานที่แตก ต่างจากพื้นที่การรบในยุโรปอย่างมาก เป็น พื้นที่ทะเลทรายแห้งแล้งพร้อมทั้งมีฝุ่นทราย เป็นจ�ำนวนมาก และพื้นที่การรบสูงกว่าระดับ น�้ำทะเลมากกว่า ๔,๐๐๐ เมตร กองทัพบกสิงคโปร์ประจ�ำการด้วยรถถัง หลักเลียวปาร์ด-๒ รุ่นเลียวปาร์ด-๒เอ๔ รวม ๙๖ คัน (เป็นอะไหล่ ๓๐ คัน) เมื่อวันที่ ๑๑ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๔๙ จากประเทศเยอรมัน ท�ำการปรับปรุงใหม่ให้ทันสมัยก่อนที่จะน�ำเข้า ประจ�ำการในกองทัพบกสิงคโปร์มีชื่อเรียกว่า ใหม่ว่ารุ่นเลียวปาร์ด-๒เอสจี (Leopard-2SG)
พร้อมทั้งกองทัพบกเยอรมันได้ท�ำการฝึกให้ กับก�ำลังพลของกองทัพบกสิงคโปร์ เพื่อให้ สามารถปฏิบัติงานกับรถถังหลักเลียวปาร์ด -๒เอ๔ ได้เป็นอย่างดีพร้อมระบบส่งก�ำลังซ่อม บ�ำรุงในปี พ.ศ.๒๕๕๐ รับมอบเข้าประจ�ำการ ในปี พ.ศ.๒๕๕๑ เพื่อประจ�ำการ ทดแทนรถ ถังเบารุ่นเก่าแบบเอเอ็มเอ็กซ์-๑๓ (AMX-13) ประจ�ำการ ๓๕๐ คัน (ได้ปรับปรุงใหม่ในปี พ.ศ.๒๕๓๗) ประจ�ำการที่กองพันรถถังที่ ๔๘ ค่ายสุไหจีดอง (Sungei Gedong Camp) ต่อ มาน�ำเข้าประจ�ำการเพิม่ เติมรวมประจ�ำการทัง้ สิ้น ๑๘๒ คัน เป็นรถถังรุ่นเลียวปาร์ด-๒ เอสจี กองทัพบกสิงคโปร์ท�ำการฝึกรถถังเลียว ปาร์ด-๒เอสจี (Leopard-2SG) เป็นหน่วยกอง ร้อยรถถังทางยุทธวิธีที่ประเทศเยอรมัน ใช้รถ ถังเข้าร่วมท�ำการฝึก ๑๔ คัน จากกองพันรถถัง ที่ ๔๘ (กองร้อยที่ ๒) กรมยานเกราะสิงคโปร์ (SAR) ร่วมกับกองพันรถถังเยอรมันที่ ๓๓ ใน พลเอก ทรงพล ไพนุพงศ์
รถถังหลักแบบเลียวปาร์ด-๒เอสจี (Leopard-2SG) กองทัพบกสิงคโปร์ น�ำเข้าประจ�ำการ ๑๘๒ คัน ประจ�ำการกองพันรถถังที่ ๔๘
ปืนใหญ่รถถังเลียวปาร์ด-๒เอสจี (Leopard-2SG) ปืนหนัก ๑,๑๙๐ กิโลกรัม ยาว ๕.๒๘ เมตร และความเร็วลูกกระสุนปืน ๑,๕๘๐-๑,๗๕๐ เมตรต่อวินาที หลักเมือง มกราคม ๒๕๕๘
รหัส เอ็กซ์พีเอส ๒๐๑๓ (Exercise Panzer Strike 2103) เป็นการฝึกครั้งที่ห้า ในรหัสนี้ เป็นการฝึกนาน ๓ สัปดาห์ แบ่งการฝึกออก เป็น ๔ ขั้นตอน การฝึกที่ส�ำคัญคือ การฝึกยิง กระสุนจริงและการฝึกด�ำเนินกลยุทธ์ของกอง ร้อยรถถัง โดยรถถังสิงคโปร์ ๘ คัน ท�ำการ ฝึก ร่วมกับรถถังเยอรมันแบบเลียวปาร์ด-๒เอ๖ รวม ๔ คัน เป็นผลให้กองร้อยรถถังของสิงคโปร์ ท� ำ การฝึ ก ได้ อ ย่ า งเต็ ม ขี ด ความสามารถ ที่ ประเทศสิ ง คโปร์ ส ามารถท� ำ การยิงปืนใหญ่ รถถังได้ในระยะ ๘๐๐ เมตร แต่ที่เยอรมัน จะท�ำการยิงปืนใหญ่รถถังได้ในระยะ ๒,๕๐๐ เมตร เป็ น ผลให้ พ ลประจ� ำ รถถั ง สิ ง คโปร์ มี ความคุ้นเคยกับรถถังเลียวปาร์ด-๒เอสจี มาก ยิ่งขึ้น ภายใต้สภาพการฝึกที่มีสภาพแวดล้อม ใกล้ เ คี ย งความจริ ง มากที่ สุ ด การฝึ ก ยุ ติ ล ง วันที่ ๒๑ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๕๖ กองทั พ บกสิ ง คโปร์ ท� ำ การฝึ ก เป็ น หน่ ว ย ยานเกราะกับกองทัพบกออสเตรเลีย (กรม ยานเกราะที่ ๑) เมืองดาร์วิน โดยกองพันรถถัง ที่ ๔๘ กรมยานเกราะสิงคโปร์ (SAR) มีก�ำลัง ทหาร ๑๐๐ นาย ระหว่างวันที่ ๒-๑๕ กันยายน พ.ศ.๒๕๕๖ 35
เปิดประตูสู่เทคโนโลยีป้องกันประเทศ (ตอนที่ ๒๕)
ระบบส่งก�ำลังร่วมทางอากาศ ความแม่นย�ำสูง (Joint Precision Airdrop System, JPADS)
36
สถาบันเทคโนโลยีป้องกันประเทศ (องค์การมหาชน)
จ
ากที่ เ คยกล่ าวกัน ว่าการส่งก�ำลัง เป็นเรื่องที่เกิดขึ้นในพื้นที่ส่วนหลัง เป็ น หลั ก แนวความคิ ด ในการ ปฏิบัติจะมุ่งเน้นที่การสนับสนุนหน่วยด�ำเนิน กลยุ ท ธ์ ใ ห้ ส ามารถด� ำ รงสภาพและบรรลุ ภารกิจที่ได้รับมอบหมาย แต่ปัจจุบันในสภาพ แวดล้อมของสงครามการต่อต้านการก่อการ ร้าย (Global War on Terrorism) ปฏิบัติการ ส่งก�ำลังต้องด�ำเนินการในลักษณะของปฏิบัติ การรบมากขึ้น เพราะนอกจากจะต้องรบกับ ระยะทางและเวลาแล้ว ปฏิบัติการส่งก�ำลังยัง ต้อง “เอาชนะ” ก�ำลังข้าศึกทีห่ นั มาเลือกระบบ การส่งก�ำลังที่สนับสนุนปฏิบัติการทางทหาร เป็นเป้าหมายหลัก ซึ่งวิธีการที่ใช้มีตั้งแต่การ ใช้ระเบิดแสวงเครื่อง การซุ่มโจมตี หรือแม้แต่ การเข้าตีที่ตั้งทางการส่งก�ำลังด้วยเหตุนี้การ ส่งก�ำลังทางอากาศจึงเป็นอีกทางเลือกหนึ่ง ส�ำหรับปฏิบัติการทางทหารในปัจจุบัน การส่ง ก�ำลังทางอากาศมีประวัตมิ ายาวนาน แต่ทผี่ า่ น มาปฏิบัติการดังกล่าวต้องประสบกับปัญหา หลายประการตั้งแต่ อากาศยานและหน่วย ภาคพื้นที่รอรับสิ่งอุปกรณ์ต่างต้องเสี่ยงจาก หลักเมือง มกราคม ๒๕๕๘
37
การทดสอบระบบ JPADS น�ำส่งสิ่งอุปกรณ์หนัก ๑๐,๐๐๐ ปอนด์ จากเครื่อง C-17 ณ สนามทดสอบ ประเทศสหรัฐอเมริกา
การโจมตีของฝ่ายตรงข้าม สิ่งอุปกรณ์ไม่ถึงมือ ผู้รับ หรือต้องเสียเวลาในการหา ซึ่งหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องต่างพยายามหาทางปรับปรุงแก้ไข ให้ดีขึ้นมาโดยตลอด และมีการวิจัยและพัฒนา ระบบส่งก�ำลังทางอากาศที่อย่างต่อเนื่อง และ ผลงานวิจัยและพัฒนาที่ได้รับการบรรจุเข้า ประจ�ำการในกองทัพสหรัฐอเมริกาล่าสุดคือ ระบบส่งก�ำลังร่วมทางอากาศความแม่นย�ำสูง (Joint Precision Airdrop System, JPADS)
JPADS เป็ น ระบบส่ ง ก� ำ ลั ง ทางอากาศที่ รวมเอาระบบสองระบบเข้ า ด้ ว ยกั น ระบบ แรกคือระบบ Precision and Extended Glide Airdrop System (PEGASYS) ของกอง ทัพบกสหรัฐ ซึ่งเป็นระบบที่ใช้ร่มติดตั้งด้วย อุ ป กรณ์ น� ำ ทาง (Airborne Guidance Unit) ที่ ท� ำ งานร่ ว มกั บ ระบบระบุ ต� ำ แหน่ ง (Global Positioning System, GPS) ระบบ ที่สองคือ ระบบส่งก�ำลังทางอากาศแม่นย�ำสูง
อุ ป กรณ์ น� ำ ทางที่ ท� ำ งานร่ ว มกั บ ระบบระบุ ต� ำ แหน่ ง (GPS-based Airborne Guidance Unit) 38
(Precision Airdrop System, PADS) ของกอง ทัพอากาศสหรัฐซึ่งเป็นระบบคอมพิวเตอร์ที่ ช่วยค�ำนวณจุดปล่อยร่มจากเครื่องบินที่ระดับ ความสูงมาก ๆ ส่วนประกอบหลักของ JPADS ได้แก่ ร่ม อุปกรณ์บังคับทิศทาง (Electro-mechanical Steering Actuators) อุปกรณ์นำ� ทางทีท่ ำ� งาน ร่ ว มกั บ ระบบระบุ ต� ำ แหน่ ง (GPS-based Airborne Guidance Unit) อุปกรณ์ประมวล ผลสภาพอากาศวางแผน และควบคุมการส่ง และแผงบรรทุกสัมภาระ (Pallet) คุณลักษณะ เด่นของระบบคือ สามารถน�ำส่งสิง่ อุปกรณ์ทาง อากาศสูเ่ ป้าหมายได้อย่างแม่นย�ำ รวดเร็ว และ ปลอดภัยต่ออากาศยานที่น�ำส่ง JPADS ได้รับ การออกแบบให้ใช้กับอากาศยานเฉพาะรุ่น สามารถปล่อยสิ่งอุปกรณ์จากระดับความสูง ประมาณ ๗ กิโลเมตร โดยอยูห่ า่ งจากเป้าหมาย ได้ไกลประมาณ ๘ กิโลเมตร ซึ่งความแม่นย�ำ อยู ่ ใ นระดั บ ที่ มี ข นาดไม่ ใ หญ่ เ กิ น กว่ า สนาม ฟุตบอลน�ำ้ หนักของสิง่ อุปกรณ์ทรี่ ะบบสามารถ ส่งได้อยู่ที่ ๒.๗ - ๔.๕ ตัน หลักการท�ำงานของ ระบบจะอาศัยอุปกรณ์น�ำทางที่คอยก�ำหนด ทิศทางให้ร่มน�ำสิ่งอุปกรณ์ “ร่อน” เข้าสู่เป้า หมาย ซึ่ ง การท� ำ งานทั้ ง หมดจะเป็ น ไปโดย อัตโนมัติทันทีที่ร่มถูกปล่อยจากอากาศยาน โดยผู้ปล่อย/ส่ง และผู้รับ สามารถติดตามดู ต�ำแหน่งได้โดยตลอดและสามารถด�ำรงการ ติดต่อสื่อสารท�ำให้สามารถเปลี่ยนแปลงค�ำสั่ง หรือให้ข้อมูลสภาพอากาศล่าสุดผ่านดาวเทียม จากสถานีควบคุมไปยังระบบ JPADS ขณะทีอ่ ยู่ สถาบันเทคโนโลยีป้องกันประเทศ (องค์การมหาชน)
การทดสอบระบบ JPADS น�ำส่งสิง่ อุปกรณ์ลงเป้าหมาย หลายแห่งในคราวเดียว ในระหว่างการ “ร่อน” (glide) เข้าสู่เป้าหมาย ได้ ปัจจุบันระบบ JPADS ได้ผ่านการทดสอบ และน� ำเข้ า ประจ� ำการและปฏิ บั ติ ภ ารกิ จ ใน ประเทศอัฟกานิสถาน ซึ่งผลการปฏิบัติงานที่ ผ่านมาบรรลุภารกิจได้ทั้งหมด ส� ำ หรั บ การพั ฒ นาต่ อ ไปในอนาคตนั้ น ผู ้ พั ฒ นาโครงการวางแผนที่ จ ะพั ฒ นาให้ อากาศยานปล่อย JPADS ห่างจากเป้าหมาย ได้ถึง ๒๕ กิโลเมตร และสามารถส่งสิ่งอุปกรณ์ ได้ ห ลายขนาดน�้ ำ หนั ก ซึ่งน�้ำหนัก มากที่สุด ตั้งเป้าหมายไว้ที่ ๑๓.๖ ตัน (ตู้คอนเทนเนอร์ ขนาด ๑๐ ฟุต) และที่ส�ำคัญคือขนาดน�้ำหนัก ไม่เกิน ๒๕ กิโลกรัม ซึ่งมีความจ�ำเป็นอย่าง มากส� ำ หรั บ การสนั บ สนุ นภารกิจของหน่ว ย ปฏิบัติการพิเศษ นอกจากนี้ยังสามารถปล่อย สิ่งอุปกรณ์ลงยังเป้าหมายหลายเป้าหมายห่าง กันถึง ๓๐ กิโลเมตร ได้ในคราวเดียว เห็ น ได้ ชั ด ว่ า แนวความคิ ด เรื่ อ งการส่ ง ก�ำลังบ�ำรุงทางอากาศมีมานานแล้ว และด้วย เทคโนโลยีที่ก้าวหน้าในปัจจุบันสามารถสร้าง ระบบนี้ได้เป็นผลส�ำเร็จซึ่งขีดความสามารถ ดังกล่าวช่วยให้สามารถลดความเสี่ยงที่อาจ จะเกิ ด ขึ้ น กั บ ขบวนยานพาหนะ ก� ำ ลั ง ภาค พื้นที่รอรับสิ่งอุปกรณ์ และอากาศยานที่น�ำ ส่ง นอกจากนี้ระบบยังมีส่วนช่วยเพิ่มระดับ
ระบบ JPADS ระบบส่งสิง่ อุปกรณ์ทาง อากาศส�ำหรับอนาคต หลักเมือง มกราคม ๒๕๕๘
คอมพิวเตอร์ควบคุม สัง่ การ และประมวลผลข้อมูลสภาพอากาศ ของ ระบบ JPADS
JPADS ขณะถู ก ปล่ อ ยออกจาก อากาศยาน C-130 ส�ำหรับภารกิจใน ประเทศอัฟกานิสถาน
แนวความคิ ด ในการน� ำ ส่ ง สิ่ ง อุปกรณ์ ไปยังเป้าหมายหลายแห่งใน คราวเดียวของ JPADS
อัตราเร็วของการสนับสนุน และแบ่งเบาการ จราจรระหว่ า งที่ ตั้ ง ทางการส่ ง ก� ำ ลั ง ไปยั ง ฐานปฏิ บั ติ ห รื อ หน่ ว ยที่ ก� ำ ลั ง ปฏิ บั ติ ภ ารกิ จ ในพื้นที่ห่างไกล/ยากต่อการเข้าถึง ประเด็น ที่น่าสนใจของโครงการนี้คือ การผนวกรวม งานวิจัยจากสองหน่วยงานให้สามารถท�ำงาน ประสานสอดคล้องกันได้ แม้ว่าแนวความคิด ในการออกแบบของทั้ ง สองระบบโดยสอง หน่วยงานจะไม่ได้มีความเชื่อมโยงกันแต่แรก ก็ตาม แต่เมื่อน�ำมาผนวกรวมเข้าด้วยกันจะ สามารถเกิดนวัตกรรมใหม่ที่มีประสิทธิภาพ และประสิทธิผลกว่าเดิม ซึ่งโครงการลักษณะ
นี้ น อกจากจะต้ อ งอาศั ย การท� ำ งานร่ ว มกั น ของนักวิจัยและพัฒนาแล้ว ผู้บริหารโครงการ ในภาพรวมมี ส ่ ว นส� ำ คั ญ อย่ า งมาก ตั้ ง แต่ การพิจารณาน�ำองค์ความรู้มาต่อยอด การ พัฒนาแนวความคิด และแนวทางการด�ำเนิน การ สทป. ในฐานะหน่วยวิจัยและพัฒนาของ กระทรวงกลาโหมเล็งเห็นถึงความส�ำคัญนี้ จึง ได้พยายามแสวงหาความร่วมมือ และสร้าง เครื อ ข่ า ยจากทุ ก ภาคส่ ว น เพื่ อ ให้ ส ามารถ บริ ห ารจั ด การ พั ฒ นา และใช้ ป ระโยชน์ องค์ ค วามรู ้ และทรั พ ยากรของชาติ ใ ห้ เ กิ ด ประโยชน์สูงสุด 39
หลักการของ
นายพลแพตตัน ตอนที่ ๒๙ (ตอนจบ) พลโท เด่นดวง ทิมวัฒนา 40
ความกลัว ฆ่าคนได้มากกว่าความตาย เมื่อผมได้ยินนายพลแพตตัน พูดเป็นครั้ง แรกว่ า “ความกลั ว ฆ่ า คนได้ ม ากกว่ า ความ ตาย” ผมยิ้ม เพราะผมไม่เข้าใจความหมาย ที่แท้ของมัน พอผมได้ยินประโยคนี้ในภายหลัง ผมก็ สั ง เกตว่ า บรรดาก� ำ ลั ง พลเงี ย บกั น หมด ผมสงสัยว่าบรรดาก�ำลังพลเหล่านั้นจะเข้าใจ อย่างไรกันบ้างในค�ำพูดเช่นนั้นของท่าน ผม ไม่เคยได้ยินรัฐมนตรีท่านใดเคยพูดเรื่องชีวิต
หลักเมือง มกราคม ๒๕๕๘
หลังความตายในแบบง่าย ๆ และตรงเป็นขวาน ผ่าซากแบบนี้เลย ทุกวันนีเ้ มือ่ ผมพูดถึงหลักการนี้ หลาย ๆ คน คิดว่ามันเป็นหลักการโง่ ๆ เหมือนกับที่ผมเคย คิดตอนที่ผมได้ยินครั้งแรก มีคนหนึ่งโต้ตอบ ผมว่า “ความตาย ก็คือ ความตาย มิใช่หรือ?” แต่ความตายไม่ใช่ความตายส�ำหรับนายพล แพตตั น ด้ ว ยความมุ ่ ง มั่ น ที่ จ ะท� ำ ลายความ กลัว ความตายก็คือช่วงหนึ่งของวงจรแห่งชีวิต
ปรัชญาทั้งหมดของนายพลแพตตัน ส่วนมาก จะอยู่ในประโยคนี้ “พวกขี้ขลาดจะตายเป็น พัน ๆ ครัง้ ” ผมจ�ำค�ำพูดของนายพลแพตตันได้ “คนขี้ขลาดจะลงนรกเสมอ เพราะมันต้องทน ทุกข์ทรมานเป็นพัน ๆ ครั้งในแต่ละวัน คนกล้า จะตายเพียงหนเดียวเท่านั้น!” ท่านได้อธิบาย ต่อไปว่า “เมื่อคุณมีความมุ่งมั่นที่จะต่อสู้เพื่อ บางสิ่งบางอย่างจนกระทั่งตาย มันไม่มีความ ตายหรอก ความตายเป็นเพียงช่วงหนึ่งของ วงจรแห่งชีวิต” พวกทหารได้ เ ล่ า กั น หลายต่ อ หลายเรื่ อ ง ว่ า อะไรจะเกิ ด ขึ้ น เมื่ อ นายพลแพตตั น ตาย ไป ทหารทุกคนรู้ว่านายพลแพตตันต้องการ อุ ทิ ศ ตนในสนามรบ พวกเรารั ก ท่ า นเพราะ ท่านห่วงใยพวกเราทุกคนมาก ไม่มีใครคาด ว่าท่านจะมีชีวิตตราบจนนิรันดร์ เรื่องเล่าบาง เรื่องเกี่ยวกับการตายของท่านได้เริ่มขึ้นหลาย ปี ก่อนที่ท่านจะได้รับอุบัติเหตุจนถึงแก่กรรม มีอยู่เรื่องหนึ่งเล่าว่า นายพลแพตตัน ได้ ตายไปและได้ถามนักบุญปีเตอร์ (สาวกองค์ หนึ่งในจ�ำนวน ๑๒ องค์ของพระเยซู) ว่าท่าน จะพบพระเจ้าได้ที่ไหน เมื่ออยู่ต่อหน้าพระเจ้า นายพลแพตตันก็ระเบิดโพล่งว่า “มันเป็นความคิดนรกแบบไหนกัน ที่ให้ผม ตายด้วยอุบัติเหตุทางรถยนต์ ผมได้อ้อนวอน และสวดมนต์ถึงพระองค์ให้เอาชีวิตของผมใน สมรภูมิ พระองค์ช่างไม่มีความคิดเลยที่เอา
41
ชีวิตผมจากอุบัติเหตุทางรถยนต์โง่ ๆ แบบนี้ มันเป็นการตายส�ำหรับชายชาติทหารชนิดไหน กัน? จงสั่งให้ผมลงนรกเถอะ! ผมไม่สามารถ เผชิญหน้ากับบรรดาทหารที่กล้าหาญของผม หรอก ที่ต่าง ๆ ในสวรรค์นี่เป็นของพวกเขา” พระเจ้าได้ตรัสตอบว่า “ถ้าเธอต้องการลง นรกก็สามารถจัดการให้ได้!” นายพลแพตตัน ท�ำท่าวันทยาหัตถ์ ชิดส้น เท้า กลับหลังหัน แล้วก็เดินจากไป พระเจ้าทรงเรียกท่านไว้อีก “นายพลแพตตัน ก่อนที่จะให้ตามค�ำร้อง ของเธอซึ่ ง เป็ น เรื่ อ งใหญ่ ฉั น ว่ า เธอกลั บ ไป พิจารณาใหม่ และอยู่กับพวกเราบนนี้เถอะ” นายพลแพตตัน ได้โต้ตอบว่า “ผมไม่ได้เป็น ของที่นี่ ผมจะลงนรก!” พระเจ้าทรงขอร้องว่า “ฉันไม่ต้องการให้เธอลงนรก ฉันต้องการ ให้เธออยู่กับเราที่นี่ ถ้าเธอลงนรก ไม่กี่สัปดาห์ หรอกที่เธอคงจะตะลุยพวกซาตานจนเรียบ ดับไฟนรกจนหมดสิ้นและประชาชนของฉันก็ จะละทิ้งสวรรค์ แล้วก็ลงไปอยู่กับเธอ อยู่ที่นี่ เถอะนะ เพื่อเห็นแก่สวรรค์!” นายพลแพตตัน ชักลังเลใจ ดังนั้นพระเจ้า จึงตรัสเสริมว่า “และฉันจะอนุญาตให้เธอแต่งเครื่องแบบ ของเธอได้ทุกเวลาที่เธอต้องการ!” มี อี ก เรื่ อ งหนึ่ ง ที่ เ กี่ ย วกั บ ความตายของ นายพลแพตตัน ทีบ่ รรดาทหารชอบเล่าสูก่ นั ฟัง ก่อนที่ท่านจะเสียชีวิต เรื่องเล่าว่า นายพลแพตตันได้ตายไป และก�ำลังกดกริ่ง ที่หน้าประตูสวรรค์ เมื่อไม่มีใครมาเปิดประตู 42
ท่านก็ทุบประตูด้วยก�ำปั้นของท่าน ในที่สุด เซนต์ปีเตอร์ก็มาที่ประตู แต่งกายในชุดเสื้อ คลุมแบบโรมัน และสวมรองเท้าแตะแบบที่ บาทหลวงทั้งหลายสวมกัน นายพลแพตตันก็ระเบิดออกมาว่า “ท�ำไมท่านไม่ประจ�ำที่ประตูนี่? ไม่รู้หรือ ไงว่าท่านมีหน้าที่อย่างไร? ท่านเคยอ่านคัมภีร์ ไบเบิ้ลบ้างหรือเปล่า? ท่านทราบดีนี่ว่าท่าน ต้องอยู่ที่ประตูนี่ตลอดยี่สิบสี่ชั่วโมงในแต่ละ วั น แล้ ว นี่ มั น เครื่ อ งแบบชนิ ด ไหนกั น ? ผม รบกวนเวลานอนหลับของท่านหรือเปล่า? ดู เท้าของท่านซี่! ท่านไม่สามารถวิ่งหนึ่งไมล์ด้วย รองเท้าแตะทีบ่ อบบางอย่างนีแ้ น่ แล้วนีม่ ดี โกน ของท่านอยู่ไหนล่ะ? หรือว่าท่านอยากจะเพาะ พันธ์ยุ งุ ทีเ่ คราของท่าน? เน็คไทของท่านไปไหน เสียล่ะ? แล้วหมวกเหล็กท่านล่ะ มันอยู่ไหน?” เรื่ อ งเล่ า ไม่ มี ที่ สิ้ น สุ ด เสี ย งหั ว เราะของ บรรดาก�ำลังพลแสดงถึงความจงรักภักดีที่พวก เขามีต่อผู้บังคับบัญชา ความคิดของนายพลแพตตันเกี่ยวกับความ ตายไม่คอ่ ยจะเหมือนกับที่ เชอร์ชลิ ล์ได้พดู ในปี พ.ศ.๒๔๘๔ (ค.ศ.๑๙๔๑) ว่า “มั น สนุ ก ที่ จ ะมี ชี วิ ต อยู ่ และก็ ส นุ ก ที่ จ ะ ตายไป” ประโยคนี้สัมพันธ์กับความคิดของนายพล แพตตันที่ว่า ทั้งการมีชีวิตและการตาย มันก็มี ความหมายเท่า ๆ กัน ผมจ�ำค�ำกล่าวของนายพลแพตตัน ในเรื่อง ความกลัว ได้ “ความกลัว ท�ำให้พวกเราแข็งแรงขึ้น ทุก ครั้ ง ที่ เ ราเอาชนะความกลั ว ประการหนึ่ ง ได้
เราก็จะมีความกลัวมากขึ้น เราสามารถรับมือ กับความกลัวชนิดไหนก็ได้ ถ้าเราไม่กลัวตาย พวกเราบางคนตายเพราะความกลัว แต่ก็ยัง หายใจอยู่ต่อไปเรื่อยๆ อีกหลายปีทีเดียว การ มีชีวิตมันมีความหมายมากกว่าการได้หายใจ อยู่เท่านั้น ความตายเป็นห้วงเวลาที่ดีที่สุดของ วงจรแห่งชีวิต!” “ปัญหาใหญ่ของพวกเราก็คือ เราไม่เข้าใจ ชีวิตหลังความตาย ความสุขทั้งมวลแห่งชีวิตก็ คือการหาโอกาสที่จะเสริมสร้างความศรัทธา ให้ได้พอเพียงที่จะท�ำลายความกลัวทั้งหมด ของตนเอง นั่นละเป็นเหตุผลที่ท�ำไมการพนัน ถึงน่าสนุกและตื่นเต้นมาก รูปแบบการพนัน ที่ ตื่ น เต้ น สุ ด ยอดก็ คื อ การสู ้ ร บกับ ศัตรูผู้ซึ่ง ต้องการฆ่าพวกคุณ คุณต้องเดิมพันการพนันนี้ ด้วยชีวิต ไม่ชีวิตคุณก็เป็นชีวิตของข้าศึก ไม่มี การพนันใดที่จะมีเดิมพันมากกว่านี้อีกแล้ว! ถ้าไม่มีสงครามให้มนุษย์ได้เดิมพัน เราก็ต้องมี บางสิ่งบางอย่างทดแทน พวกเราทั้งหมดก�ำลัง เดิมพันว่า เราจะสามารถผลักดันเรื่องความ ตายให้เป็นเรื่องรอง ก่อนที่เราพร้อมที่จะตาย ความกลัวท�ำให้พวกเราพยายามหนักขึ้น มัน ก็เหมือนกับก�ำลังแข่งรถหรือแข่งเรือเร็ว มัน เสี่ยง และน่ากลัวที่จะแข่งขันเกมที่น่าตื่นเต้น แบบนั้น มันมักจะสนุกเสมอเมื่อมีใครวิ่งไล่ หรือเดิมพันว่าจะมีใครไล่คุณทัน สงครามเป็น สิ่งที่ตื่นเต้นสูงสุดแห่งชีวิตเพราะว่าทหารต้อง เสี่ยงชีวิตอย่างสูง มันคือรูปแบบการเดิมพัน สุดยอดในทุกวันนี้ มันสนุกกว่ามากที่จะไล่จับ และท�ำลายศัตรู แทนที่จะมานั่งกลัวอยู่ในหลุม บุคคลและรอคอยให้ข้าศึกมาจัดการตะเพิด พลโท เด่นดวง ทิมวัฒนา
คุณให้ไปอยู่ในภพหน้า!” ในสงครามโลกครั้ ง ที่ ส องโลกต้ อ งการผู ้ บังคับบัญชาผู้ซึ่งทราบดีว่า สงคราม หมายถึง การฆ่าคน นายพลแพตตันเป็นผู้บังคับบัญชา ชนิดนี้ ส�ำหรับนายพลแพตตันแล้ว สงคราม ไม่ใช่การต่อสู้เพื่อการเมือง ไม่ใช่วิธีแก้ปัญหา คนตกงาน ไม่ใช่โอกาสในการตั้งส�ำนักงาน ทางการเมือง และก็ไม่ใช่วธิ แี ก้ปญ ั หาเศรษฐกิจ เฉพาะท้องถิ่น สงครามหมายถึง คนต้องถูก ฆ่า ข้าศึกถูกฆ่าเร็วเท่าไร สงครามก็จบได้เร็ว เมื่อนั้น อาวุ ธ ที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพสู ง สุ ด ของนายพล แพตตันไม่ใช่รถถัง แต่คือทหารแต่ละคน ผู้ซึ่ง ได้รับการฝึกอบรมจนปราศจากความหวาด กลัวโดยสิ้นเชิง ก�ำลังพลของนายพลแพตตัน รักความตื่นเต้นของสมรภูมิและชื่นชอบความ สามารถที่จะเผชิญหน้ากับความตาย นายพล แพตตันเชื่ออย่างจริงจังว่า ความตื่นเต้นที่สุด แห่งชีวิตคือ การตาย อย่างไรก็ตามไม่มีใครที่ ผมเคยรู้จักจะร้องไห้มากเท่ากับนายพลแพต ตัน ส�ำหรับนายพลแพตตัน การสู้รบกับข้าศึก หมายถึงว่า มันจะสิ้นสุดที่ประชาชนของทั้ง สองฝ่ายจะถูกฆ่า นี่ถ้าท่านไม่ยับยั้งการบุก ตะลุยเข้าไปในใจกลางประเทศเยอรมนีแล้ว สงครามอาจสิ้นสุดลงก่อนที่ได้จบจริง ๆ หลาย เดือนก่อนหน้านั้นก็เป็นได้ เมื่อสงครามสิ้นสุด นายพลแพตตันเป็นคนแรกที่ให้อภัยแก่ข้าศึก ท่านเป็นคนแรกที่ซัดจมูกข้าศึกคนใหม่ นั่นก็ คือปัญหาการน�ำความสงบสุขมาสู่ทวีปยุโรป ท่านได้จบั ปัญหานีม้ าชิดจมูกอย่างน้อยสามสิบ ปีก่อนหน้าที่ผู้น�ำทางการเมืองจะน�ำหลักการ เผชิญหน้ากับความจริงของนายพลแพตตัน มาประยุกต์ใช้ นายพล จอร์ช เอส.แพตตัน จูเนียร์ (George S.Patton,Jr.) เสียชีวิตเมื่อ ๒๑ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๘๘ (ค.ศ.๑๙๔๕) เนื่องจากกระดูกคอหัก
หลักเมือง มกราคม ๒๕๕๘
จากอุบัติเหตุทางรถยนต์ ท่านได้รับการฝังใน ลักเซมเบิร์ก เช่นเดียวกับก�ำลังพลของท่าน ท่านได้รับการฝังในหลุมศพพร้อมด้วยแท่นหิน และไม้กางเขนแบบเดียวกับหลุมศพของทหาร คนอืน่ ๆ ทุกคน ไม่มอี กั ขระใดทีไ่ ม้กางเขนระบุ ว่านายพลแพตตัน คือ ผู้บัญชาการกองทัพบก ที่ ๓ ที่ไม้กางเขนมีค�ำจารึกไว้เพียงว่า “พลเอก ๐๒๖๐๕ : กองทัพบกที่ ๓” นายพลแพตตั น แม้ จ ะสิ้ น ชี วิ ต ก็ ไ ม่ เ คย ท�ำตัวเหนือก�ำลังพล ท่านได้ร่วมชีวิตอย่าง เสมอกันกับก�ำลังพลทั้งที่ขณะมีชีวิต หรือจะ ตายไปก็ตาม หลั ก การของนายพลแพตตั น ทั้ ง หมดนั้ น หลั่งไหลเข้ า สู ่ จิต ใจของผมขณะก� ำ ลั ง ขั บรถ อยู่คนเดียวบนถนนในมลรัฐโอกลาโฮมา เมื่อ ปี พ.ศ.๒๕๑๘ (ค.ศ.๑๙๗๕) จากโวหารบางค�ำ ที่ล่องลอยมาตามปุยเมฆและคลื่นวิทยุ เพราะ ผมก�ำลังเปิ ด วิ ท ยุ ฟ ั ง รายการจากสถานี วิ ท ยุ แห่ ง หนึ่ ง ในเมื อ งซี แ อทเทิ ล มลรั ฐ วอชิ ง ตั น โฆษกสถานีก�ำลังวิจารณ์เรื่องการเสื่อมสลาย ของหัวหน้าเผ่าชาวอินเดียนในซีแอทเทิล ค�ำ กล่าวของหัวหน้าเผ่าอินเดียนช่างเหมือนกับ ที่นายพลแพตตัน เคยพูด ผมจึงจดมันไว้ใน แผนที่ เพื่อจะได้จดจ�ำได้ทุกๆ ค�ำพูด เมื่อผม ได้เอ่ยค�ำกล่าวเหล่านี้ ผมก็มองไปว่านายพล แพตตันได้รวบรวมสติปญ ั ญาแห่งกาลเวลาเป็น ร้อย ๆ ปี มาถ่ายทอดเป็นหลักการดังที่ท่านได้ มอบให้แก่ก�ำลังพล
ค�ำพูดของหัวหน้าเผ่าอินเดียน ก็คือ “ไม่ มี ค วามตาย นอกจากการเปลี่ ย น วิถีแห่งชีวิตเท่านั้น คนตาย ใช่ว่าจะไร้ซึ่ง อ�ำนาจ!” นายพลแพตตั น ได้ เ ปลี่ ย นวิ ถี แ ห่ ง ชี วิ ต ไป แล้ว หลักการของท่านยังคงทรงพลังอ�ำนาจ ไปตลอดกาล จบบริบูรณ์
43
มหัศจรรย์แห่งรอยยิ้ม "Miracle of smile" แผนกเผยแพร่ฯ
แ
ม้ ส ถานการณ์ บ ้ า นเมื อ งในยุ ค ปัจจุบนั จะวุน่ วายและแตกต่างจาก สมัยก่อนมาก จนท�ำให้เราอาจเห็น รอยยิ้มจากคนไทยได้น้อยลง แต่ถึงอย่างนั้น นานาประเทศก็ยังยกให้ไทยเป็นสยามเมือง ยิ้มอยู่ดี และเพราะอยากเห็นคนไทยมีรอยยิ้ม ให้กันมากขึ้น เราจึงขอน�ำสาระดี ๆ มาให้ทุก คนได้รู้กันว่า ยิ้มเข้าไว้เถอะค่ะ เพราะมันมี ประโยชน์ต่อชีวิตและสุขภาพของเรามากมาย เลยทีเดียว ท่ า นทราบหรื อ ไม่ ว ่ า ใบหน้ า ของคนเรา นั้นประกอบด้วยกล้ามเนื้อถึง ๔๔ มัด ที่ช่วย ควบคุมการแสดงออกได้มากกว่า ๕,๐๐๐ แบบ ด้วยกัน และหลาย ๆ แบบนั้น คือ “การยิ้ม” 44
เมื่อคุณพบเห็นผู้คนท�ำเรื่องเปิ่น ๆ หรือ ขายหน้า คุณหัวเราะ เมื่อคุณรอดจากด่าน ตรวจของต�ำรวจแบบไม่โดนใบสั่ง คุณยิ้มอย่าง มีชัย และเมื่อคุณประสบความส�ำเร็จในเรื่อง งานเรื่องเรียนหรืออะไร ๆ เป็นไปตามที่คุณ หวังอยู่ นั่นก็เป็นสาเหตุที่ท�ำให้คุณยิ้มได้เช่น เดียวกัน การยิ้มนั้นเป็นเรื่องธรรมชาติในการ แสดงออกถึงความสุขของมนุษย์ แต่รู้หรือไม่ ว่า เพียงแค่การยิ้ม ก็สามารถกระตุ้นให้สมอง ส่ ว นหน้ า ซ้ า ยหลั่ ง สารแห่ ง ความสุ ข ออกมา แม้ว่าการยิ้มนั้นจะเกิดจากการฝืนยิ้มก็ตามที นี่คือความมหัศจรรย์ของการยิ้มที่คุณอาจ จะคาดไม่ถึง จากผลของการส�ำรวจ และการ ทดลองมากมายจากนานาประเทศ
ได้มีจิตแพทย์จ�ำแนกการยิ้มได้เป็น ๓ แบบ คือ ยิ้มจริงใจ ยิ้มเสแสร้ง ยิ้มเศร้า ๑. ยิม้ จริงใจ คือ ยิม้ ทีเ่ ปีย่ มล้นไปด้วยความ รู้สึกที่ดีงาม เป็นการแสดงความรู้สึกทางด้าน บวกอย่างแท้จริงจะปรากฏขึ้น หลังจากได้รับ รู้สภาวะของอารมณ์ซึ่งรวมทั้งความยินดีจาก สิ่งกระตุ้น ทางตา หู จมูก ลิ้น การสัมผัส อย่าง รักใคร่ก็สามารถเรียกรอยยิ้มอย่างจริงใจออก มาได้ รอยยิ้มอย่างจริงใจนี้สามารถเกิดขึ้นได้ เมื่อหายจากเจ็บปวดจากแรงกดดันที่อึดอัด ได้เหมือนกัน ยิ้มอย่างจริงใจนี้ นอกจากจะใช้กล้ามเนื้อ ยิ้มตามปกติคือ กล้ามเนื้อขากรรไกรแล้ว ยัง ใช้กล้ามเนื้อรอบดวงตาอีกด้วย ผลของการ แผนกเผยแพร่ฯ
ยิ้มจริงใจท�ำให้ร่างกายผลิตฮอร์โมน "ความ สุข" (เอนเดอร์ฟิน) ออกมา ซึ่งฮอร์โมนนี้จะ ไปออกฤทธิ์ท�ำให้ม่านตาขยายตัว และตามี ประกายของความสุขที่เราเรียกว่า "ตายิ้ม" ซึ่ง ตานีเ้ องจะแสดงออกถึงความรัก ความเป็นมิตร และความอบอุ่น ๒. ยิ้มเสแสร้ง ก็คือรอยยิ้มที่ประดิษฐ์ขึ้น โดยเจตนาจะท�ำให้ผู้อื่นเข้าใจผิดท�ำให้ผู้อื่น คิดว่า เรารู้สึกว่าอย่างนั้นจริง ๆ ทั้ง ๆ ที่ไม่ใช่ ยิ้ ม เสแสร้ ง คื อ การเจตนาที่ จ ะพยายาม กระตุ้นให้เกิดอารมณ์ความรู้สึกในด้านดี ยิ้ม เสแสร้ ง จะปรากฏบนใบหน้ า นานกว่ า ยิ้ ม จริงใจ ผู้เชี่ยวชาญด้านโรคจิตหลายคนเห็นว่า การหัวเราะเป็นตัวการที่จะปลดปล่อยความ ตึ ง เครี ย ด หรื อ ความตื่ น เต้ น ที่ มี ม ากจนเกิ น ไป การหัวเราะช่วยปรับความสมดุล ให้อยู่ใน สภาวะปกติ แม้วา่ จริง ๆ แล้วมันอาจจะไม่ตลก เลยก็ตาม เหตุผลที่เราชอบหัวเราะอีกอย่าง หนึ่งก็เพราะ เวลาหัวเราะเราต้องยิ้มก่อนและ ใบหน้าที่มีรอยยิ้ม ย่อมน่าดูกว่าใบหน้าบึ้งตึง ดุร้าย การหัวเราะจึงเป็นอีกขั้นหนึ่ง ของการ ยิม้ นัน่ เอง คุณสามารถยิม้ ไปโดยไม่ตอ้ งหัวเราะ แต่เป็นไปไม่ได้ที่จะหัวเราะโดยไม่ยิ้ม คนที่สามารถยิ้มและหัวเราะอย่างจริงใจก็ เหมือนกับก�ำลังพูดว่า "ฉันไม่ได้มีเจตนาร้าย อะไรนะ ฉันเป็นมิตรนะ ฉันอยู่ข้างเธอนะ" คนที่สามารถยิ้มและหัวเราะในสถานการณ์ที่
หลักเมือง มกราคม ๒๕๕๘
เป็นอันตรายจริง ๆ นั้นก็คือ คนที่เป็นอัจฉริยะ โดยแท้ เพราะเท่ากับเขาก�ำลังพูดว่า "ฉันไม่ กลัวหรอก" ๓. ยิ้มเศร้า มนุษย์เราเป็นทุกข์เพราะเรา ท�ำตัวเองเป็นทุกข์ และเรายังท�ำให้ผู้อื่นเป็น ทุกข์อีกด้วย คนที่หัวเราะมาก ๆ จะมีชีวิต ยืนนาน คนที่มีความสุขจะมีอายุยืนกว่าคนที่ อมทุกข์ การที่จะให้มีสุขภาพดีอยู่เสมอ จ�ำเป็น จะต้องมีการแบ่งปัน คนทีร่ จู้ กั หัวเราะ ก็คอื คน ที่รู้จักแบ่งปันนั่นเอง "ดร.อาหาร ดร.เงียบ และ ดร.รื่นเริง" เป็น ผู้เชี่ยวชาญยารักษาที่ดีที่สุดในโลก การรักษา เยียวยานั้น ต้องมาจากภายในและเรานั่นเอง และที่จะมีอ�ำนาจรักษาตัวเองได้ การหัวเราะ มั ก จะเกิ ด พร้ อ มกั บ การเปลี่ ย นแปลงของ ร่างกายไปในทางที่ดีที่ใคร ๆ ก็เห็นได้ชัด เช่น นัยน์ตาเป็นประกาย บุคลิกสดใส การร้องไห้ จึงนับว่าเป็นการบ�ำบัดอย่างหนึ่ง ช่วยลบล้าง ความทุกข์หรือเกิดจากทั้งหัวเราะทั้งร้องไห้ จะมีส่วนผสมทางเคมีแตกต่างจากน�้ำตาที่เกิด จากผงเข้าตา น�้ำตาที่เกิดจากอารมณ์ภายใน จะมีสารช่วยลดความเจ็บปวดอยู่ด้วย ซึ่งจะ ผลิตออกมาในปริมาณมากเป็นพิเศษ เพื่อช่วย ให้ เ ราเอาชนะความเจ็ บ ปวดและความโศก เศร้าได้ คนที่พยายามยิ้มและหัวเราะอยู่เสมอ แม้จะรู้สึกเป็นทุกข์อยู่ภายใน ก็ยังสามารถ เปลี่ยนแปลงอารมณ์เป็นไปในทางดีได้ จะมี
ความสุขขึ้นทั้งสมองและจิตใจ ใครด�ำเนินชีวิตอย่างหวาดกลัวตลอดเวลา มักจะป่วยบ่อย ๆ ความกลัวสามารถท�ำให้ ส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกายจับแข็งจนเลือด และฮอร์ โ มนกั บ สิ่ ง บ� ำ รุ ง ร่ า งกายไปเลี้ ย งไม่ ถึง การหัวเราะ จะช่วยให้มันละลายแล้วเริ่ม ท�ำงานตามปกติต่อไป คนที่เป็นทุกข์เนื่องจาก มีความกลัวอยู่ตลอดเวลา ร่างกายจะผลิตสาร อะดรีนาลินออกมามากเกินไป และไหลเวียน ไปทั่วร่างกายตลอดเวลาท�ำให้ล้มเจ็บได้ ความ กลั ว สามารถลดได้ ด ้ ว ยการเผชิ ญ หน้ า กั บ สาเหตุนั้น ๆ และการหัวเราะก็เป็นวิธีเผชิญ หน้ า กั บ ความกลั ว ที่ ดี ที่ สุ ด เป็ น อาวุ ธ ที่ มี ประสิทธิภาพที่สุด ถ้าเราเรียนรู้ที่จะหัวเราะให้ มากขึ้น ในไม่ช้าความกลัวก็จะค่อย ๆ หมดไป วิธีดูว่ายิ้มอย่างไหนจึงจะเหมาะส�ำหรับคุณ ก็คือ ลองยืนหน้ากระจกเงา แล้วแสดงสีหน้า แบบต่างๆ ทั้งยิ้มและบึ้ง สังเกตว่า สีหน้าแบบ ไหนที่ท�ำให้คุณดูอ่อนวัยลง มีชีวิตชีวา มีเสน่ห์ ขึ้น แต่ละคนจะมีรอยยิ้มเป็นเอกลักษณ์ของ ตัวเองแตกต่างกันออกไป รอยยิ้มที่ค้างอยู่บนใบหน้านานเกินไป จะ ดูเหมือนกับหุ่นยนต์ หรือยิ้มเสแสร้ง คุณควร จะมีรอยยิ้มที่จริงใจจะดีกว่า เพราะถ้ายิ้มเส แสร้งของคุณเด่นชัดเกินไป ผู้คนก็จะไม่เชื่อถือ บางครั้งคนอื่นจะตัดสินเราที่เสียงมากกว่า รูปร่างหน้าตา ดังนั้นเราควรจะพูดด้วยรอย
45
เหตุผลที่ควร...ยิ้ม
ยิม้ บนใบหน้าเวลาตอบโทรศัพท์ คนทีอ่ ยูป่ ลาย สายอีกข้างหนึ่ง ไม่เห็นรอยยิ้มกับประกายตา อันแวววาวของคุณหรอก แต่คุณต้องใส่มัน ลงไปในน�้ำเสียง มาพูดโทรศัพท์ด้วยรอยยิ้ม กันดีกว่า วิ ธี มี ร อยยิ้ ม อั น สดใส เพี ย งแต่ หั ด ยิ้ ม ให้ บ่อยๆ เท่านั้นแหละ ยิ่งคุณยิ้มมากเท่าไหร่ ก็ ยิ่งเป็นที่ชื่นชอบของคนอื่น แต่รางวัลพิเศษ แท้ จ ริ ง ก็ คื อ คุ ณ จะค่ อ ยมี ค วามสุ ข มากขึ้ น ควบคู่ไปด้วย รู้คุณค่าของการยิ้มและวิธีใช้ มันให้เกิดประโยชน์แก่ตนเอง รอยยิ้มเปรียบ เสมือนดวงประทีป
ข้อดีของการยิ้ม ๑. การยิ้มช่วยเปลี่ยนแปลงภาวะอารมณ์ เมื่อใดก็ตามที่คุณรู้ สึกท้อแท้ เศร้าใจ ก็ให้ ลองยิ้ ม ถื อ เป็ น โอกาสดี ใ นการที่ จ ะช่ ว ย เปลี่ ย นแปลงอารมณ์ ข องคุ ณ ให้ ดี ขึ้ น “การ ยิ้ม” จะช่วยเปลี่ยนแปลงอารมณ์ของคุณ ๒. การยิ้มคือการกระจายความสุข เมื่อ ใครสักคนสร้างรอยยิ้มบนใบหน้า พวกเขาก็ได้ ท�ำให้ห้องที่มืดหม่นดูสว่างไสว อีกทั้งยังช่วย เปลี่ยนแปลงอารมณ์ของผู้อื่นให้ดีขึ้น และท�ำ 46
บรรยากาศเต็มไปด้วยความสุข รอยยิ้มของ คนคนหนึ่งย่อมน�ำมาซึ่งความสุข และรอยยิ้ม ย่อมดึงดูดคนทั้งหลายให้อยากอยู่ใกล้ชิดคุณ ๓. การยิ้ ม ช่ ว ยบรรเทาความเครี ย ด ความเครี ย ดมั ก จะแสดงออกมาทางใบหน้ า และการยิ้มจะช่วยปกป้องเราจากการดูเศร้า หมอง เหนื่อยล้า เมื่อคุณเกิดความเครียด ให้ ลองสร้ า งรอยยิ้ ม บนใบหน้ า ความเครี ย ดที่ มีอยู่ย่อมลดลง และท�ำให้คุณสามารถท�ำสิ่ง ต่างๆ ได้ดียิ่งขึ้น ๔. การยิ้มช่วยเพิ่มระบบภูมิคุ้มกัน การยิ้ม จะช่วยท�ำให้ระบบภูมิคุ้มกันในตัวคุณท�ำงาน ดีขึ้น เมื่อคุณยิ้ม ระบบการท�ำงานก็จะพัฒนา ดีขึ้น อาจเป็นเพราะว่าคุณรู้สึกผ่อนคลายมาก ขึ้น อีกทั้ง “การยิ้ม” ยังสามารถป้องกันการ เกิดไข้และไข้หวัดได้อีกด้วย ๕. การยิ้มจะช่วยหลั่งสารเอ็นโดรฟิน สาร แก้ปวดตามธรรมชาติ และสารซีโรโทนิน (สาร ทางประสาท) ออกมา จากการศึกษาค้นคว้า พบว่า “รอยยิ้ม” จะช่วยหลั่งสารดังกล่าว อัน เป็นสาเหตุที่ท�ำให้เรารู้สึกดี ดังนั้น “การยิ้ม” ก็ถือเป็นยารักษาโรคแบบธรรมชาติ
เมื่ อ เปรี ย บเที ย บการยิ้ ม กั บ การแสดง สีหน้าแบบอื่น เช่น โกรธ เศร้า เคร่งขรึม วิตก กังวล ฯลฯ แล้ว จะพบว่า การยิ้มใช้กล้ามเนื้อ ใบหน้าน้อยกว่าการแสดงสีหน้าแบบอื่นมาก การยิ้มจึงเป็นเรื่องที่ง่ายกว่า ใช้พลังงานน้อย กว่า และท�ำให้ ใบหน้า ดูดีกว่าการแสดงสีหน้า แบบอื่น ๆ ด้วย แล้วรู้ไหมว่า เรา "ยิ้ม" เพื่อ อะไรกัน เพื่อให้กล้ามเนื้อบนใบหน้าของคุณได้ ท�ำงานซะบ้าง ถ้าคุณยิม้ ให้เขา มีหรือเขาจะไม่ยมิ้ ตอบคุณ อย่างน้อยคุณจะได้ให้เขาช่วยเตือนว่ามี เศษผักสีเขียวมรกต ยังคงสนุกสนานในปากคุณ การยิ้มเป็นการเริ่มต้นแห่งมิตรภาพที่ดี ที่สุด ถ้าคุณไม่ยอมยิ้ม แล้วใครจะได้เห็นล่ะ ว่า คุณมีลักยิ้มที่น่ารักที่สุด เมื่อคุณท�ำผิดแล้วโดนจับได้ การแก้ตัวก็ มีแต่จะกลายเป็นเรื่องใหญ่ แต่การยิ้มเจื่อน ๆ แบบว่า แย่จัง! คุณจะดูเหมือนพวกที่ส�ำนึกผิด แล้วใครล่ะ จะกล้าโกรธคุณลง ยิ้มสวย ๆ จะท�ำให้คนหน้าตาธรรมดา ๆ ดูดีข้ึนจนน่าประหลาดใจ การยิ้มในวันที่อ่อนล้า หรือเซ็งสุด ๆ ใน ชีวิต จะช่วยกระตุ้นให้คุณรู้สึกดีขึ้น ถ้าคุณพูดไม่เก่ง ลีลาไม่เด็ด ให้ยิ้มมาก ๆ เป็นการชดเชย รอยยิ้มเป็นสัญญาณบอกใคร ๆ ว่าคุณ พร้อมจะเปิดใจแล้ว ยิ้มดี ๆ เพียงครั้งเดียวดีกว่าค�ำพูดนับ แสนค�ำ ยิ้มเกิดขึ้นได้อย่างไร รอยยิ้ม เกิดจากการ ท�ำงานของกล้ามเนือ้ ๒ มัดใหญ่ คือ ไซโกเมติก เมเจอร์ ( Zygomatic major) ที่จะช่วยดึงมุม ปาก ให้ยกขึน้ ไปหาโหนกแก้ม และออร์บคิ วิ ลา ริส ออคิวไล (Orbicularis Oculi) ที่จะช่วยดึง เนื้อแก้มและเบ้าตาให้ยกขึ้น ยิ้มมีผลต่อร่างกายอย่างไร จากการศึกษา พบว่า เมื่อกล้ามเนื้อใบหน้าเคลื่อนไหวจนเกิด เป็นรอยยิ้ม จะส่งผลท�ำให้โลหิตแดง ที่ไปเลี้ยง สมองมีอุณหภูมิลดลง จะท�ำให้เกิดความรู้สึก สบายและผ่อนคลาย ซึ่งจะตรงข้ามกับการท�ำ หน้านิ่วคิ้วขมวด ที่การเคลื่อนไหวของกล้าม เนือ้ ใบหน้า จะท�ำให้สมองมีอณ ุ หภูมสิ งู ขึน้ และ เกิดความรู้สึกไม่สบาย นอกจากนี้ ในขณะที่คนเรายิ้ม หัวใจจะเต้น ช้าลง ความดันโลหิตลดลง ระบบต่าง ๆ ใน ร่างกายจะผ่อนคลาย ต่อมหมวกไต จะท�ำงาน น้อยลง ฮอร์โมนอะดรีนาลีน ซึ่งเป็นฮอร์โมน แห่งความเครียดจะถูกขับออกมาน้อยลงด้วย การยิ้มจึงช่วยลดความเครียดได้ แผนกเผยแพร่ฯ
การยิ้มมีความสัมพันธ์กับความสุขอย่างไร เป็นที่สงสัยกันมากว่า คนเรามีความสุขแล้ว จึงยิ้ม หรือยิ้มก่อนแล้วจึงมีความสุข ท�ำให้ นักวิชาการต้องท�ำการศึกษาวิจัยในเรื่องนี้ให้ ถ่องแท้ลงไป และผลที่ได้ก็พบว่าเป็นไปได้ทั้ง สองอย่าง นั่นคือ เมื่อคนเรารู้สึกมีความสุข เราจะแสดงออกทางสีหน้าด้วยรอยยิ้ม แต่ก็มี บางคนเหมือนกันที่ชอบเก็บกดอารมณ์ของตน เวลามีความสุขก็ยังพยายามบังคับสีหน้าให้ดู เคร่งขรึม ซึ่งต้องใช้กล้ามเนื้อใบหน้ามากกว่า เสียพลังงานมากกว่า และท�ำให้ไม่สามารถ มีความสุขได้อย่างเต็มที่ ในทางตรงข้าม แม้ คนเราจะยังไม่รู้สึกมีความสุข แต่เมื่อยิ้มแล้ว สักพัก จะรู้สึกว่าอารมณ์ดีขึ้นและมีความสุข ได้เช่นกัน
อายุยืนยาวด้วยการ ยิ้มมากขึ้น มีภาษิต กล่าวว่า "ทุกรอยยิ้มช่วยให้คุณ เยาว์วัยขึ้นอีกหนึ่งวัน" ข้อความนี้มีความจริง อยู่ด้วย อย่ามองข้ามผลประโยชน์ของการ ยิ้ม การบ่งบอกความรู้สึกออกมาง่ายๆ บน ใบหน้าเช่นนี้อาจส่งผลที่ทรงพลังต่ออารมณ์ ความรู้สึกและสุขภาพ การยิ้มช่วยให้สุขภาพ จิตและสุขภาพกายดีขึ้น เพิ่มความเชื่อมั่นใน ตนเอง ช่วยให้เข้ากันได้ดีกับเพื่อนมิตรและ คนแปลกหน้า
ฮอร์โมนความเครียด ซึ่งท�ำให้ภูมิต้านทานลด ลง และท�ำให้ชราภาพเร็วขึ้น ความเครียดที่ สะสมนานๆ เป็นเหตุให้มีภาวะเสี่ยงสูงขึ้นต่อ ปัญหาสุขภาพนับไม่ถ้วน เช่น โรคหัวใจ ความ ดันโลหิตสูง และเบาหวาน เมื่อเราหัวเราะและ ยิ้ม ร่างกายจะหลั่งสารเอ็นโดรฟิน ซึ่งช่วย คลายความเครียดและเบาเทาความเจ็บปวด โดยธรรมชาติ จึงลดผลกระทบของคอร์ติซอล นี่เองคนที่ร่าเริงเบิกบานจึงมีความเครียดน้อย กว่า และมีสุขภาพที่ดีกว่าด้วย การหัวเราะเต็ม ที่มีประโยชน์อย่างยิ่งต่อปอด ระบบภูมิคุ้มกัน มี ป ระโยชน์ ม ากมายจากการยิ้ ม การ และช่วยเผาผลาญแคลอรี่ด้วย หัวเราะ และการนึกคิดในแง่บวก เมื่อเราท�ำ นอกจากนี้การลดความเครียดยังช่วยระบบ หน้าบึ้ง หรือเก็บกดความรู้สึกในแง่ลบไว้มากๆ ย่อยอาหาร ควบคุมระดับน�้ำตาลในเลือด ลด อาทิเช่น ความโกรธ และความกลัว ร่างกาย ความดันโลหิต ท�ำให้รู้สึกสงบ และช่วยให้อายุ ของเราจะหลั่งคอร์ติซอลออกมามากขึ้น เป็น ยืนยาวขึ้น
การยิม้ ช่วยลดความเครียด
หลักเมือง มกราคม ๒๕๕๘
ทราบไหมว่า...เมื่อไม่นานมานี้นักวิทยาศาสตร์ชาวอเมริกันได้ท�ำการศึกษาภาพถ่าย เก่า ๆ ของทีมเบสบอล และพบว่าผู้เล่นที่ยิ้ม ในภาพมีอายุยืนกว่าจริง ผู้ที่ยิ้มใหญ่มีอายุโดย เฉลี่ย ๗๙.๙ ปี ผู้ท่ียิ้มน้อยมีอายุโดยเฉลี่ย ๗๕ ปี ส่วนผู้ที่ไม่ย้ิมมีอายุโดยเฉลี่ย ๗๒.๙ ปี มีข้อ แตกต่าง ๗ ปี ระหว่างผู้เล่นที่ย้ิมแฉ่ง กับผู้เล่น ที่สีหน้าเฉยเมย
ยิ้มมากขึ้น ปฏิสัมพันธ์ดีขึ้น รอยยิ้มจุดโลกให้สว่างไสว คนที่ยิ้มแย้ม มักจะมีเพื่อนมิตรรอบข้าง เรียนหนังสือและ ท�ำงานเก่ง เมือ่ เรายิม้ คนอืน่ ก็จะเห็นว่าเราเป็น กันเอง น่าดึงดูดใจ และควบคุมสถานการณ์ ได้เป็นอย่างดี คนที่ชอบยิ้มมักจะมีคนเข้าไป ทักทายและพูดคุย มากกว่าคนที่หน้าบึ้ง ผล การศึกษาของมูลนิธิทันตสาธารณสุขที่อังกฤษ แสดงว่า จริง ๆ แล้วการยิ้มท�ำให้คุณมีท่าทาง และรูส้ กึ มีความสุขมากขึน้ ดร.ไนเจล คาร์เตอร์ ผูบ้ ริหารของมูลนิธิ กล่าวว่า "เป็นเวลานานแล้ว ที่เราให้ความสนใจกับข้อเท็จจริงที่ว่าการยิ้ม ช่วยเพิ่มพูนความสุข ทั้งแก่ตนเองและคนรอบ ข้าง จึงเป็นการดีที่มีข้อสนับสนุนยืนยันจาก ผลการศึกษาทางวิชาการดังกล่าว การยิ้มแย้ม แจ่ มใสจะเสริ มสร้ า งความเชื่ อ มั่น เป็นการ ผูกมิตร และช่วยให้ประสบความส�ำเร็จในงาน อาชีพ"
47
เมืองส�ำคัญของพม่า ในสมัยราชวงศ์ตองอู พลเอก ทรงพล ไพนุพงศ์
เจดีย์ชเวสิกอง (Shwezigon Pagoda) สร้างขึ้นโดย พระเจ้าอโนรธา ปฐมกษัตริย์ราชวงศ์พุกาม รูปร่างทรง ระฆังคว�่ำแบบมอญ ได้รับการบูรณะหลายครั้ง
48
พลเอก ทรงพล ไพนุพงศ์
๑. กล่าวทั่วไป
อาณาจักรพม่าเป็นอาณาจักรใหญ่แห่งลุ่มแม่น�้ำอิรวดี มีประวัติศาสตร์อันยาวนาน บางห้วงเวลามีกษัตริย์ที่ยิ่งใหญ่ทรงอานุภาพสามารถรวบรวมเมืองต่าง ๆ ตลอดแนวลุ่ม อาณาจักรพม่าก้าวขึน้ สูอ่ ำ� นาจสูงสุดถึงสาม แม่นำ�้ อิรวดี ด้วยก�ำลังทหารทีเ่ ข้มแข็งให้เป็นหนึง่ เดียว มีกองทัพขนาดใหญ่ได้ขยายอ�ำนาจสู่ ยุ ค ประกอบด้วย ยุคที่หนึ่ง ราชวงศ์พุกาม, ยุค อาณาจักรข้างเคียงตามลุม่ แม่นำ�้ เจ้าพระยาและแม่นำ�้ โขง เป็นผลให้พม่าเป็นอาณาจักรขนาด ใหญ่เป็นมหาอ�ำนาจแห่งอุษาคเนย์...........บทความนี้ กล่าวถึงเมืองส�ำคัญของอาณาจักร ที่สอง ราชวงศ์ตองอู และยุคที่สาม ราชวงศ์ คองบอง แต่เมืองที่มีความเจริญมาตั้งแต่ใน พม่าในสมัยราชวงศ์ตองอู อดีตส่วนใหญ่จะมีที่ตั้งอยู่ตามแนวแม่น�้ำขนาด ใหญ่ซึ่งจะมีความส�ำคัญในการเพาะปลูก พม่า มี แ ม่ น�้ ำ สายหลั ก ที่ ส� ำ คั ญ ยิ่ ง คื อ แม่ น�้ ำ อิ ร วดี (Irrawaddy) มีความยาว ๑,๖๐๐ กิโลเมตร ต้น แม่น�้ำเกิดจากเทือกเขาที่มีหิมะปกคลุมไหลมา เป็นแม่น�้ำมาลี (Mali) และแม่น�้ำมาย (N’mai) ไหลมารวมกันเกิดเป็นแม่น�้ำอิรวดี ทางตอน เหนื อ สุ ด ของอาณาจั ก รพม่ า ไหลมาที่ เ มื อ ง พะโค ไหลลงสู่ที่ราบตอนกลางของอาณาจักร สู่เมืองแปร และไหลผ่านที่ราบกว้างใหญ่เรียก ว่าบริเวณสามเหลี่ยมปากแม่น�้ำอิรวดี มีความ กว้างประมาณ ๒๔๐ เมตร เมืองต่างๆ ตาม แนวแม่ น�้ ำ อิ ร วดี จึ ง มี ค วามรุ ่ ง เรื อ งขึ้ น อย่ า ง รวดเร็วจากผลผลิตทางการเกษตร โดยขึ้นกับ เจ้าเมืองที่ปกครองและการขึ้นครองอ�ำนาจ ของเจ้าเมืองต่าง ๆ มีก�ำลังกล้าแข็ง
๒. เมืองส�ำคัญสมัย ราชวงศ์ตองอู หลั งจากการล่มสลายของราชวงศ์พุกาม เป็นผลให้พม่าอ่อนก�ำลังลงต่างก็เป็นอิสระต่อ กัน และไม่มีเจ้าเมืองใดที่เข้มแข็งที่จะรวบรวม อาณาจักรให้เป็นหนึ่งเดียวได้ ๒.๑ ตองอู (Taungoo) ตองอูเป็นเมืองเก่าสร้างขึ้นตั้งแต่ราชวงศ์ พุกามเรืองอ�ำนาจ ต่อมาในปี พ.ศ.๑๘๓๐ ตองอู ตกเป็ น หั ว เมื อ งของกรุ ง อั ง วะ มีการแย่งชิง อ�ำนาจระหว่างเมืองต่าง ๆ จนในที่สุดกรุง อังวะก็เสื่อมอ�ำนาจลง จุดเริ่มต้นของอาณาจักรพม่าในยุคที่สอง เป็นเมืองขนาดเล็กได้สถาปนาเป็นราชธานี โดยพระเจ้าเมงจีโย (Mingyinyo) เป็นปฐม กษัตริย์ราชวงศ์ตองอู เมื่อปี พ.ศ.๒๐๒๙ เมือง ตองอู (เกตุมดี) ตัง้ อยูบ่ นฝัง่ แม่นำ�้ สะโตง (ตัง้ อยู่ ระหว่างแม่น�้ำอิรวดี และแม่น้�ำสาละวิน เป็น แม่น�้ำขนาดใหญ่) พระเจ้าเมงจีโยทรงสร้าง ให้ราชธานีมีขนาดใหญ่อย่างรวดเร็วมีก�ำแพง เมืองล้อมรอบพระนคร พระองค์ทรงเป็นนัก ปกครองที่ดี ต่อมามีชาวพม่าอพยพ (ผลจาก กองทัพไทใหญ่เข้ายึดครองกรุงอังวะ เพื่อหนี ความขัดแย้ง) มาอาศัยอยู่ที่เมืองตองอูเป็น จ�ำนวนมาก เมืองตองอูจึงกลายเป็นศูนย์กลาง ของชาวพม่าแห่งใหม่บริเวณลุ่มแม่น�้ำสะโตง พระเจ้าเมงจีโยทรงครองราชย์ระหว่างปี พ.ศ. ๒๐๒๙ - ๒๐๗๔ เป็นระยะเวลานาน ๔๕ ปี หลักเมือง มกราคม ๒๕๕๘
49
๒.๒ อังวะ (Innwa) เมืองอังวะตั้งขึ้นในปี พ.ศ.๑๙๐๗ หลังจาก การล่มสลายของราชวงศ์พุกาม แต่เป็นเมืองที่ ยากจะป้องกันจากการรุกรานของศัตรู ต่อมา พ.ศ.๒๐๗๐ ถูกกองทัพไทใหญ่เข้ายึดครอง มี การแย่งชิงความเป็นใหญ่แต่ไม่มีเมืองใดที่มี ความสามารถทีจ่ ะรวมอาณาจักรเป็นหนึง่ เดียว ได้ จึงเป็นห้วงเวลาที่มีการรบนานประมาณ กว่า ๑๐๐ ปี
ภาพกราฟิ ก ส์ แ ม่ น�้ ำ อิ ร วดี (ตาม ลูกศรชี้) เป็นแม่น�้ำสายหลักที่ส�ำคัญ ของอาณาจักรพม่าที่ช่วยให้การเพาะ ปลูกได้ผลดีน�ำความรุ่งเรืองมาสู่เมือง ต่าง ๆ ตลอดแนวลุ่มน�้ำและไหลลงทะเล อันดามัน
ภาพกราฟิกส์เมืองต่างๆ ของอาณา จั ก รพุ ก าม ระหว่ า งปี พ .ศ.๑๒๘๗๑๕๕๒ เมืองตองอู (ลูกศรชี้ ตอนกลาง) เมืองเมาะตะมะ (ลูกศรชี้ ตอนบน) และ เมืองพุกาม (ลูกศรชี้ด้านบน)
ทรงวางรากฐานที่ดีจะให้อาณาจักรพม่าในยุค ที่สองแห่งราชวงศ์ตองอูก้าวขึ้นสู่จุดสูงสุดของ อ�ำนาจ แต่เมืองตองอูต้องท�ำศึกกับอาณาจักร ข้ า งเคี ย งทั้ ง มอญ ยะไข่ (อาระกั น ) และ สยามแห่งกรุงศรีอยุธยา กองทัพใหญ่สยาม แห่งกรุงศรีอยุธยาได้เข้าล้อมเมืองตองอูในปี
พ.ศ.๒๑๔๒ แต่เมืองตองอูมีคูเมืองกว้างและ ลึกมากเป็นผลให้กองทัพสยามต้องขุดคลอง ระบายน�้ ำ ออก (พม่ า เรี ย กว่ า คลองสยาม) กองทัพสยามล้อมเมืองตองอูนานสองเดือน เมื่อขาดแคลนเสบียงอาหารก็ได้ถอนกองทัพ กลับในที่สุดราชวงศ์ตองอูก็ถึงกาลล่มสลาย
แผนทีส่ มัยอาณาจักรพุกาม (ลูกศรชี้ ด้ า นบนคื อ เมื อ งพุ ก าม) เรื อ งอ� ำ นาจ ครอบครองเมืองต่าง ๆ ตามแนวลุ่ม แม่น�้ำอิรวะดี (ลูกศรชี้ ด้านล่างคือเมือง เมาะตะมะ) 50
อาณาจักรพุกาม (ลูกศรชี้ ด้านบน) และเมืองยะไข่หรือ อาระกัน (ลูกศรชี้ ด้านซ้ายมือ) เป็นเมืองท่าทางทะเล
๒.๓ พุกาม (Pagan/Bagan) ราชวงศ์พุกามสถาปนาขึ้นในปี พ.ศ.๑๕๘๗ เป็นราชธานีแห่งแรกของอาณาจักรพม่าตอน เหนือในสมัยพระเจ้าอโนรธา ตั้งอยู่ริมแม่น�้ำ อิรวดี ต่อมาพระองค์ทรงรวมพม่าให้เป็นหนึ่ง เดียว ประกอบด้วย ยะไข่ พม่าตอนล่าง ไทใหญ่ และมอญ (ตีได้เมืองสะเทิมในปี พ.ศ.๑๖๒๐) พระองค์ทรงครองราชย์ระหว่างปี พ.ศ.๑๕๘๗ - ๑๖๒๐ เป็นระยะเวลานาน ๓๓ ปี ความ เจริญรุ่งเรืองและยิ่งใหญ่ในอดีตยังคงมีซาก โบราณเหลืออยูม่ าจนถึงปัจจุบนั นีค้ อื ซากเจดีย์ มีจ�ำนวนไม่น้อยกว่า ๕,๐๐๐ แห่ง เนื่องจาก พื้ น ที่ บ ริ เ วณนี้ มี ฝ นตกน้ อ ยกว่ า ปกติ ม ากจึ ง เสื่อมสลายช้ากว่าปกติ ราชวงศ์พุกามล่มสลาย เพราะการรุกรานของกองทัพมองโกลของจักร พรรดิกุบไลข่าน (Kublai Khan) ในปี พ.ศ. ๑๘๓๐ เมื อ งพุ ก ามเป็ น ที่ ตั้ ง ของเจดี ย ์ ช เวสิ ก อง (Shwezigon Pagoda) เป็ น มหาเจดี ย ์ ที่ บรรจุพระเขี้ยวแก้ว และพระสารีริกธาตุของ พระพุทธเจ้า โดยอัญเชิญมาจากลังกา สร้าง โดยพระเจ้าอโนรธา ภายหลังทรงยกกองทัพ ไปตีเมืองมอญได้แล้วทรงกวาดต้อนชาวมอญ ประกอบด้วย ช่างฝีมือ และนักปราชญ์ มาที่ เมืองพุกามเป็นผลให้รูปร่างของเจดีย์ชเวสิกอง มี รู ปร่ า งทรงระฆั ง คว�่ ำ แบบมอญ ได้รับ การ บูรณะในสมัยต่อมาอีกหลายครั้ง ปัจจุบันมี ความสูงประมาณ ๕๓ เมตร ๒.๔ หงสาวดี (Hanthawaddy/Bago) พะโคหรือหงสาวดีในอดีตเป็นราชธานีของ อาณาจักรมอญมาตั้งแต่ปี พ.ศ.๑๙๐๘ ก่อน ที่จะเป็นราชธานีของพม่าในสมัยของพระเจ้า ตะเบงชะเวตี้ในปี พ.ศ.๒๐๘๒ เมืองหงสาวดี เจริญรุ่งเรืองถึงจุดสูงสุดเป็นศูนย์กลางของ อ�ำนาจของราชวงศ์ตองอูของอาณาจักรพม่า ในยุคที่สอง หลังจากการสวรรคตของพระเจ้า บุเรงนองเป็นผลให้ราชวงศ์ตองอูเริ่มเสื่อมลง ในที่ สุ ด ก็ ถู ก กองทั พ ยะไข่ เ ข้ า โจมตี แ ละเผา ท�ำลาย ต่อมาเมืองอังวะก็กลายเป็นราชธานี แห่งใหม่ของอาณาจักรพม่า หงสาวดี เ ป็ น ที่ ต้ั ง ของพระธาตุ ช เวมอดอ (พระธาตุมุเตา) เป็นเจดีย์เก่าแก่ที่สร้างขึ้นมา พลเอก ทรงพล ไพนุพงศ์
ราชวงศ์พกุ ามแห่งพม่าในยุคทีห่ นึง่ ก้าวขึน้ สูจ่ ดุ สูงสุดของอ�ำนาจ ยัง คงมีซากเจดียจ์ ำ� นวนมากทีย่ งั คงเหลืออยูท่ เี่ มืองพุกามทีแ่ สดงถึงความ รุ่งเรืองในอดีต ตั้งแต่สมัยมอญเรืองอ�ำนาจ ได้มีการบูรณะ และปรับปรุงขึ้นอีกหลายครั้ง ภายในเจดีย์เชื่อ ว่าบรรจุพระบรมสารีริกธาตุของพระพุทธเจ้า พระธาตุ ช เวมอดอ (พระธาตุ มุ เ ตา) โด่ ง ดั ง ในประวั ติ ศ าสตร์ เ มื่ อ เจ้ า ชายตะเบงชะเวตี้ ใช้ท�ำพิธีเจาะพระกรรณที่นี่ (เหตุการณ์ทาง ประวัติศาสตร์ครั้งนี้ทราบไปถึงกรุงศรีอยุธยา และชื่อพระธาตุมุเตาเป็นที่รู้จักของชาวกรุง ศรีอยุธยาตั้งแต่นั้นมา) พระเจ้าบุเรงนองได้ สร้ า งฉั ต รถวายเพิ่ ม เติ ม อีก หลายชั้น จนพระ มหาธาตุสูงเพิ่มมากขึ้นและทรงถอดยอดมณี ที่ ป ระดั บ ยอดมงกุ ฎ ของพระองค์ ถ วายเป็ น พุ ทธบู ช าสู ง สุ ด ก่ อนที่ พ ระเจ้าบุเรงนองจะ ออกท�ำศึกจะทรงสักการะขอพรจากพระธาตุ ชเวมอดอ (พระธาตุมุเตา) ทุกครั้ง ๒.๕ เมาะตะมะ (Mottama) เมาะตะมะอดีตเป็นราชธานีของอาณาจักร มอญมาตั้งอยู่ปากแม่น�้ำบนฝั่งเหนือของแม่น�้ำ สาละวิ น โดยมอญตั้ ง ตั ว เป็ น อิ ส ระในสมั ย พระเจ้าฟ้ารั่วปี พ.ศ.๑๘๓๐ ต่อมาพญาอู่ซึ่ง ครองราชย์ระหว่างปี พ.ศ.๑๘๙๖ - ๑๙๒๘ ได้ย้ายราชธานีจากเมืองเมาะตะมะไปตั้งที่กรุง หงสาวดี ในปี พ.ศ.๒๐๖๒ โปรตุเกสมาตัง้ สถานี การค้าที่เมืองเมาะตะมะเป็นผลให้การค้าขาย ของมอญเจริญรุ่งเรืองอย่างรวดเร็ว พระเจ้าตะเบงชะเวตี้กษัตริย์องค์ที่สอง แห่งราชวงศ์ตองอู ได้ขยายอ�ำนาจโดยการเข้า ยึดเมืองเมาะตะมะอย่างโหดเหี้ยมหลังจากที่ ได้ล้อมเมืองอยู่นานถึง ๗ เดือน ต่อมาปี พ.ศ. ๒๐๙๒ ใช้เมืองเมาะตะมะเป็นที่ชุมนุมกองทัพ เพือ่ จะเข้าตีอาณาจักรสยามแห่งกรุงศรีอยุธยา เนื่องจากเป็นเส้นทางที่เหมาะสมที่จะเข้าตีได้ อย่างรวดเร็วไปทางทิศเหนือผ่านทางด่านแม่ ละเมา เข้าสู่เมืองเชียงใหม่และมุ่งลงใต้สู่กรุง ศรีอยุธยา และไปทางทิศใต้เข้าสู่ด่านเจดีย์ สามองค์ เข้าสู่เมืองกาญจนบุรีและมุ่งสู่กรุง หลักเมือง มกราคม ๒๕๕๘
พระมหาธาตุเจดียช์ เวมอดอ (Shwemawdaw Paya) สร้างขึ้นในยุคที่มอญเรืองอ�ำนาจได้รับการปฏิสังขรณ์ หลายครั้ง (ชาวสยามรู้จักในชื่อพระธาตุมุเตา)
ศรีอยุธยา และเมืองเมาะตะมะจะเป็นเมือง ที่กองทัพจากกรุงศรีอยุธยาจะต้องเข้าตีและ ยึ ด เป็ น ฐานทั พ ส่ ว นหน้ า ก่ อ นที่ จ ะเข้ า ตี ก รุ ง หงสาวดีต่อไป พ.ศ.๒๑๔๒ กองทัพใหญ่สยามจากกรุง ศรีอยุธยาเข้ายึดเมืองเมาะตะมะเพื่อเข้าตีกรุง หงสาวดี แ ห่ ง ราชวงศ์ ต องอู และได้ เ ดิ น ทั พ เข้าล้อมกรุงหงสาวดีหลังจากที่กองทัพยะไข่ ได้เผาเมืองแล้วพร้อมทั้งได้ถอนกองทัพออก จากเมื อ ง กรุ ง หงสาวดี ไ ด้ รั บ ความเสี ย หาย อย่ า งมาก กองทั พ สยามตั้ ง ค่ า ยพั ก ใกล้ กั บ พระธาตุชเวมอดอ (พระธาตุมุเตา) ต่อมาก องทัพใหญ่สยามจึงได้ยกกองทัพติดตามพม่า ที่ถอนตัวไปยังเมืองตองอูที่อยู่ทางตอนเหนือ ประมาณ ๑๙๒ กิโลเมตร เส้นทางเดินทัพที่ ยากและล�ำบาก กองทัพสยามเข้าล้อมเมือง ตองอูอยู่นานถึง ๒ เดือน กองทัพสยามจาก กรุงศรีอยุธยาก็ถอนทัพกลับในปี พ.ศ.๒๑๔๓ ๒.๖ ยะไข่ (Arakan) ยะไข่ ห รื อ อาระกั น เป็ น เมื อ งมี ป ระวั ติ ศาสตร์ อั น ยาวนาน มี ท ่ า เรื อ ส� ำ คั ญ ในการ ค้าขายจึงมีความรุ่งเรือง จึงมักจะเป็นเมือง อิสระ ต่อมาพระเจ้าอโนรธาปฐมกษัตริย์แห่ง ราชวงศ์พุกามได้ขยายอ�ำนาจลงใต้ได้เข้ายึด ครองเมืองยะไข่ เมื่อราชวงศ์พุกามล่มสลาย เป็นผลให้อาณาจักรยะไข่เป็นอิสระช่วงระยะ เวลาหนึง่ ปี พ.ศ.๑๙๔๗ พม่าได้เข้ามายึดครอง ยะไข่ จากที่เมืองยะไข่มีท่าเรือส�ำคัญที่มีผล ประโยชน์จากการค้ามากมายจึงเป็นที่หมาย ปองของอาณาจั ก รข้ า งเคี ย งที่ มี อ� ำ นาจทาง ทหารเข้มแข็ง ทั้งอาณาจักรพม่า อาณาจักร มอญ และอาณาจักรเบงกอลสลับกันไป ต่อ มามีชาวยุโรปคือโปรตุเกสน�ำเรือเข้ามาค้าขาย พร้ อ มทั้ ง อาวุ ธ ปื น ที่ ทั น สมั ย เป็ น ผลให้ เ มื อ ง ยะไข่มีความวุ่นวายอยู่ตลอดเวลา
อาณาจักรหงสาวดีแห่งราชวงศ์ตองอู ก้าวขึน้ สูจ่ ดุ สูงสุด มีอาณาเขตกว้างใหญ่ จึ ง เป็ น มหาอ� ำ นาจทางทหารแห่ ง อุ ษ า คเนย์ (ลูกศรชีล้ ำ� ดับกลางคือเมืองตองอู จุ ด เริ่ ม ต้ น ของราชวงศ์ ต องอู ) เมื อ ง หงสาวดี (ลูกศรชี้ด้านล่างเป็นราชธานี ล�ำดับที่สองของราชวงศ์ตองอู) เมือง พุกาม (ลูกศรชี้ด้านบนเป็นราชธานีของ ราชวงศ์พุกาม) พ.ศ.๒๓๒๗ พระเจ้าโบดอพญา (Bodawpaya) แห่งราชวงศ์อลองพญา ได้ส่งกองทัพ พม่าเข้าตีเมืองยะไข่และสามารถเข้ายึดครอง เมืองได้
๓. บทสรุป เมืองส�ำคัญของพม่ามีความเจริญรุ่งเรือง มีที่ตั้งอยู่ตามแนวลุ่มน�้ำหลักที่ส�ำคัญ สามารถ ท�ำการเพาะปลูกได้ผลอย่างดี มีการค้าขาย เจริญรุ่งเรือง ต่อมามีการค้าขายกับโปรตุเกส พร้อมทั้งรับซื้อปืนคาบศิลาเป็นผลให้หลาย เมืองขนาดใหญ่ในพม่ามีอาวุธที่ทันสมัยในยุค นัน้ เข้าประจ�ำการ จึงมีอำ� นาจทางทหารมากขึน้ จึ ง น� ำ มาสู ่ ก ารขยายอ� ำ นาจสู ่ เ มื อ งใกล้ เ คี ย ง หรืออาณาจักรใกล้เคียง บางห้วงของเวลาก็ มี ป ระวั ติ ศ าสตร์ ร ่ ว มกั น กั บ สยามอาณาจั ก ร เพื่อนบ้านทางด้านตะวันออก 51
“ความสุข Happiness” พันเอกหญิง วันดี โตสุวรรณ
ส
วั ส ดี ป ี ใ หม่ ค ่ ะ ขอให้ ทุ ก ท่ า นมี ความสุขนะคะ ค�ำว่า “ความสุข” ถึงจะเป็นค�ำสั้น ๆ แต่ดูเหมือนว่า ปัจจุบันนี้ค�ำนี้มีค่าทางใจส�ำหรับทุกคนจริง ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งประชาชนชาวไทยที่ก�ำลัง รอความสุขกลับคืนมาให้ประเทศไทยตามเพลง “คื น ความสุ ข ให้ ป ระเทศไทย” ที่ ป ระพั น ธ์ เนื้อร้องโดยท่านพลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรั ฐ มนตรี แ ละเรี ย บเรี ย งค� ำ ร้ อ งและ ท�ำนองโดย นายวิเชียร ตันติพิมลพันธ์ุ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ นิยามว่า ค�ำว่า ความสุข หรือ สุข เป็น ค�ำนาม หมายถึง “ความสบายกายสบายใจ... คื อ ความรู ้ สึ ก หรื อ อารมณ์ ป ระเภทหนึ่ ง มี 52
หลายระดับตั้งแต่ความสบายใจเล็กน้อยหรือ ความพอใจจนถึงความเพลิดเพลินหรือเต็มไป ด้วยความสนุก” นอกจากนี้ ศูนย์สุขภาวะทาง จิต คณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้ อธิบายเกี่ยวกับ ความสุข ไว้อย่างเช่น ๑. สภาวะที่บุคคลรับรู้ว่าตนเองได้ท�ำในสิ่ง ที่ตนต้องการและท�ำได้ส�ำเร็จ มีความเป็นตัว ของตัวเอง มีความภาคภูมใิ จในการกระท�ำของ ตน มีความคิดเชิงบวก มีความกระตือรือร้น ในการด�ำเนิ น ชี วิต ที่ จ ะน� ำ ไปสู ่ ก ารมี สุข ภาพ ที่ดี การพัฒนาตน การมีสัมพันธภาพที่ดีกับคน รอบข้างและสังคม สามารถด�ำเนินชีวิตอย่าง พอเพียงและมีใจที่สงบ
๒. การได้ท�ำในสิ่งที่ต้องการ เช่น มีอิสระ ที่จะเลือกทางเดินชีวิตของตัวเอง เลือกท�ำสิ่ง ต่าง ๆ ได้ตามที่ตัวเองต้องการ ไม่ต้องฝืนใจ ท�ำสิ่งที่ไม่ต้องการ ๓. การมีความสัมพันธ์ที่ดี เช่น สามารถ แบ่งปันความรู้สึกกับคนที่ใกล้ชิดได้ กล้าที่จะ รักและไว้ใจผู้อื่น มีคนที่รักอย่างจริงใจ ได้รับ การยอมรับจากคนใกล้ชิด ๔. การมีจิตใจที่สงบ เช่น มีจิตใจที่มั่นคง ไม่ ห วั่ น ไหวต่ อ ความเปลี่ ย นแปลงง่ า ย ๆ สามารถรับมือกับทุกสิ่งได้เป็นอย่างดี ๕. การพั ฒ นาตน เช่ น มี เ ป้ า หมายใน ชี วิ ต มี ค วามหวั ง ในการด� ำ รงชี วิ ต รู ้ สึ ก ว่ า ประสบการณ์ชีวิตในแต่ละวันมีคุณค่า เรียนรู้ จากชีวิตที่ผ่านมา ๖. การคิดเชิงบวก เช่น ไม่ว่าจะล้มเหลว บ่อยแค่ไหนก็ไม่คิดจะยอมแพ้ มองหาสิ่งดี ๆ ที่ อยูใ่ นสถานการณ์ตา่ ง ๆ ไม่ยอมแพ้กบั อุปสรรค ๗. การมีสุขภาพกายและจิตที่ดี รู้สึกภูมิใจ ในสิ่งที่เป็น ร่าเริงแจ่มใส ไม่เจ็บป่วยบ่อย ๆ ดังนั้นปีใหม่นี้ หวังว่าท่านผู้อ่านทั้งหลาย จะได้มีความสุขตามที่เกริ่นมานะคะ ส�ำหรับ ผู้เขียนแล้ว การคิดเชิงบวก ไม่ว่าเราจะต้อง ฝ่าฟันอุปสรรคใด ๆ ก็ตาม เป็นการให้ก�ำลังใจ ตัวเองเสมอ หากเรามองทุกสิง่ ทุกปัญหามีทาง แก้ เราจะมีความสุข หากเราไม่พอใจใคร ไม่ เข้าใจใคร เราก็นึกแต่สิ่งดี ๆ ของเขาเราก็จะมี ความสุข ดังนัน้ ฉบับนีเ้ รามาร้องเพลง คืนความ สุขให้ประเทศไทย และมาฝึกแปลเป็นภาษา อังกฤษกันค่ะ แถมเพลงขอใจเธอแลกเบอร์โทร ของหญิงลีมาร้องเพลงไปเต้นไปด้วยค่ะ พันเอกหญิง วันดี โตสุวรรณ
เพลง คืนความสุขให้ประเทศไทย Return Happiness to Thailand วันที่ชาติและองค์ราชา When the Nation, the King มวลประชาอยู่มาพ้นภัย and the People are facing crisis, ขอดูแลคุ้มครองด้วยใจ We ask the permission to take care of the country นี่คือค�ำสัญญา It’s our promise. วันนี้ชาติเผชิญพาลภัย ไฟลุกโชนขึ้นมาทุก ครา When the Nation is on fire, ขอเป็นคนที่เดินเข้ามา we asked to interfere… ไม่อาจให้สายไป before it’s too late. * เพื่อน�ำรักกลับมา We’ll bring love back [to the Nation] ต้องใช้เวลาเท่าไร no matter how long it takes โปรดจงรอได้ไหม Can you please wait… จะข้ามผ่านความบาดหมาง for the conflict to pass? ** เราจะท�ำตามสัญญา We’ll keep our promises. ขอเวลาอีกไม่นาน It won’t be long. แล้วแผ่นดินที่งดงามจะคืนกลับมา and the beautiful nation will return เราจะท�ำอย่างซื่อตรง We’ll act with honours. ขอแค่เธอจงไว้ใจและศรัทธา Please have faith [in us]. แผ่นดินจะดีในไม่ช้า The country will get well again. ขอคืนความสุขให้เธอ ประชาชน We’ll bring happiness back to you, the People. วันนี้ต้องเหน็ดเหนื่อยก็รู้ Today we know we’re tired จะขอสู้กับอันตราย but we’ll brave the dangers ชาติทหารไม่ยอมแพ้พ่าย นี่คือค�ำสัญญา Soldiers’ pride is not to give up…this is a promise วันนี้ชาติเผชิญพาลภัย ไฟลุกโชนขึ้นมาทุก ครา When the Nation is on fire, ขอเป็นคนทีเ่ ดินเข้ามา ไม่อาจให้สายไป we asked to interfere…before it’s too late. แผ่นดินจะดีในไม่ช้า หลักเมือง มกราคม ๒๕๕๘
The country will get well soon. ความสุขจะคืนมา..ประเทศไทย Happiness will return…to Thailand. ที่ ม า http://www.chiangmaicity news.com/news.php?id=4001 เพลง ขอใจเธอแลกเบอร์โทร นักร้อง หญิงลี ศรีจุมพล I want to get your heart by exchanging your phone number. แวบเดียวแค่ดู ก็ท�ำให้รู้ว่าเธอนะโดนหัวใจ Just a minute to watch letting me know you beat my heart. อยากบอกเหลือเกินว่าเธอน่ารักแค่ไหน Wanna tell pretty much how cute you are ! จริตมากไปกลัวมันไม่ดีไม่งาม So many actions are not nice. ก็เลยเก๊กฟอร์ม ท�ำเป็นอ้อมค้อมท�ำเป็นว่า ดูเฉยเมย Just act indirectly like not care. จนเธอมาขอเบอร์โทรเข้าทางแล้วเอ๋ย Until he asked my telephone number to be as my way. อยากบอกจังเลย ถึงบ้านให้รีบโทรหา Wanna tell him arrive to home and call up me in sudden. เบอร์โทรอื่น จะได้ยินเสียงรอสาย Other telephone numbers might hear the ringtone sound. แบบ แบบ แบบ ว่าให้รอ Let us to wait. แต่เบอร์นี้ จะได้ยินเสียงใจบอกว่า… But, You will hear the voice from my telephone number that ...
ท่านก�ำลังเข้าสู่บริการรับฝาก หัวใจ You are coming to the heart service. ลงทะเบียนฝากไว้ตัวเอากลับไป ใจให้เก็บ รักษา Register to bring back my heart to keep. ยอมจ�ำนนเธอแล้ววันนี้แค่แรก เห็นหน้า Give in you since we first met. ฝากไว้กับฉันนะหัวใจของเธอ แลกเบอร์ โทร โอ๊ะ โอ โอย Keep your heart with me to exchange our telephone numbers. ใจคงขาดหวิว หากเธอโดนซิวเพราะมีมือดี โฉบไป My heart will break if you are grasped by the others. รักแรกของฉัน ไม่รู้มีอีกเมื่อไร My first love don't know when to happen. เอาใจแลกใจ อย่างนี้ไว้ก่อนและดี So, Exchange our hearts as this way before happening. เบอร์โทรอื่น จะได้ยินเสียงรอสาย Other telephone numbers might hear the ringtone sound. แบบ แบบ แบบ ว่าให้รอ Let us to wait. แต่เบอร์นี้ จะได้ยินเสียงใจบอกว่า… But, You will hear the voice from my telephone number that ... ที่มา http://mooksongtranslation. blogspot.com/2014/01/blog-post_7. html
53
สาระน่ารู้ทางการแพทย์
อิ น เดี ย หรื อ เนปาลพร้ อ มญาติ ผู ้ ใ หญ่ ห รื อ เด็กเล็ก เป็นระยะเวลา ๑๐ วัน ผูท้ มี่ โี รคประจ�ำ ตัวควรจะสอบถามแพทย์ประจ�ำตัวของท่าน ว่าสามารถเดินทางไกลได้หรือไม่ ถ้าได้ก็ต้อง เตรียมยาประจ�ำตัวที่ใช้ทุกวันไปให้พร้อม ซึ่ง มีความส�ำคัญพอ ๆ กับพาสปอร์ตเลยทีเดียว นอกเหนือจากนั้นอาจต้องขอใบรับรองแพทย์ จากแพทย์ประจ�ำตัวว่ามีโรคประจ�ำตัวใดบ้าง รับประทานยาใดอยู่ หรือแพ้ยาใดหรือไม่และ เบอร์ติดต่อฉุกเฉินของแพทย์ประจ�ำตัว หรือ ส�ำนักงานแพทย์ ส�ำนักงานสนับสนุน ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม สถานพยาบาลนั้น ๆ หากตั้งครรภ์ ควรให้สูตินรีแพทย์พิจารณา ว่า การตัง้ ครรภ์ของท่านไม่มปี ญ ั หา และไม่เสีย่ ง ทศกาลคริสต์มาส และปีใหม่ หลายท่าน ให้ผู้ป่วยรับประทานเพื่อเป็นการปฐมพยาบาล ต่อการแท้ง หรือคลอดก่อนก�ำหนด รวมถึง คงเตรียมตัววางแผนเฉลิมฉลอง กลับ ก่อนพาผู้ป่วยไปพบแพทย์เพื่อหาสาเหตุและ ต้องขอใบรับรองแพทย์ รับรองอายุครรภ์และ บ้านต่างจังหวัด เดินทางท่องเที่ยวทั้ง ให้การรักษาที่เหมาะสมต่อไป ค� ำ เตื อ นไม่ เ ดิ น ผ่ า นเครื่ อ งเอกซเรย์ เ พื่ อ ยื่ น ในประเทศ หรือต่างประเทศเพราะเป็นวันหยุด ผู ้ ป ่ ว ยโรคหลอดเลื อ ดสมองและหลอด ให้เจ้าหน้าที่สายการบินทราบ โดยใบรับรอง ต่ อ เนื่ อ งหลายวั น แต่ อ ย่ า สนุ ก เพลิ น จนลื ม เลือดหัวใจ ควรหลีกเลี่ยงอาหารที่มีไขมันสูง แพทย์ไม่ควรขอนานเกิน ๑ สัปดาห์ก่อนการ ดูแลสุขภาพตัวเองมิเช่นนั้น ตอนหลังเทศกาล เช่น ขาหมู ไข่แดง อาหารประเภททอด หอย เดิ น ทางในบางประเทศ อาจพบโรคติ ด ต่ อ ผ่านไป สารพันโรคภัยอาจแวะมาเยี่ยมเยียน ปลาหมึก เป็นต้น เพราะระดับไขมันในเลือดทีส่ งู ได้ เช่น ไวรัสตับอักเสบ เอ, ไทฟอยด์, ไข้กาฬ ท่ า นได้ วั น นี้ ส� ำ นั ก งานแพทย์ ส� ำ นั ก งาน จะส่ ง ผลให้ เ กิ ด ภาวะหลอดเลื อ ดอุ ด ตั น ง่ า ย หลังแอ่น, ไข้หวัดใหญ่ เป็นต้น ท่านควรพบ สนับสนุน ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ขึ้น แม้ทานยาลดระดับไขมันอยู่เสมอหากไม่ แพทย์เพื่อรับค�ำปรึกษาเรื่องการฉีดวัคซีนซึ่ง จึงมีเกร็ดความรู้ดี ๆเกี่ยวกับการฉลองปีใหม่ ควบคุมอาหารด้วย อาจท�ำให้อาการของโรค ต้องฉีดก่อนเดินทางเป็นระยะเวลานานพอที่ แบบสนุกสนาน และไม่ท�ำลายสุขภาพตัวเอง เป็นมากขึ้นได้ จะกระตุ้นให้ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกันก่อนการ มาฝากกัน นอกจากการรับประทานอาหารทีเ่ หมาะสม เดินทาง หากสถานที่ที่ไปทุรกันดาร ห้องน�้ำไม่ วิธีการดูแลตนเองในเรื่องอาหารตลอดจน กับโรคแต่ละโรคแล้ว การบริโภคอาหารและ เพียงพอ มีปัญหาเรื่องความสะอาดน�้ำดื่ม ท่าน ข้อควรระวังในการรับประทานช่วงที่ต้องร่วม น�้ำที่สุก สะอาดก็เป็นสิ่งส�ำคัญต่อสุขภาพเช่น อาจต้องเตรียมน�้ำดื่มบรรจุขวดแอลกอฮอล์ งานปาร์ตี้ สังสรรค์บ่อย ๆ ว่า หากไม่สามารถ เดียวกัน ควรเลือกรับประทานอาหารที่ปรุงสุก ฆ่าเชื้อ แผ่นท�ำความสะอาด กระดาษช�ำระ หลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารหรือการดื่ม ใหม่ ๆ หลีกเลีย่ งอาหารสุก ๆ ดิบ ๆ หรืออาหาร หน้ากากอนามัย อาหารแห้งที่บรรจุหีบห่อ เครื่องดื่มสังสรรค์ได้ในช่วงเทศกาล ผู้ป่วยที่มี แปลก ๆ ที่ไม่เคยรับประทานมาก่อน เพราะ อย่างดีไปด้วย ควรเตรียมยาสามัญประจ�ำบ้าน โรคประจ�ำตัวต่าง ๆ ควรมีการดูแลเรือ่ งอาหาร อาจท�ำให้เกิดอาการแพ้ ท้องเสีย อาเจียนและ ให้ครอบคลุม อาการผื่นแพ้ ไข้หวัด เจ็บคอ และสุขภาพดังนี้ ติดเชื้อรุนแรงได้ ท้องเสีย อุปกรณ์ท�ำแผลให้เพียงพอกับจ�ำนวน ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ควรหลีกเลี่ยง ส่ ว นใครที่ มี แ ผนว่ า จะไปท่ อ งเที่ ย วช่ ว ง คณะผู้ร่วมเดินทาง และหาข้อมูลของสถาน อาหารรสเค็ม หลีกเลี่ยงกิจกรรมที่อาจท�ำให้ วันหยุดยาว ๆ ก็ควรเตรียมตัวดูแลสุขภาพให้ พยาบาลในบริเวณที่จะไป หากเกิดเหตุไม่คาด ความดันโลหิตสูงขึ้น เช่น การสังสรรค์ต่อเนื่อง พร้อมก่อนเดินทางไปเที่ยวโดยค�ำนึงถึงปัจจัย คิด ควรมีประกันสุขภาพ เมือ่ ท่านต้องเดินทาง อดนอน พักผ่อนไม่เพียงพอ หลัก ๔ อย่าง คือ โดยเฉพาะการเดิ น ทางไปต่ า งประเทศรวม ผู้ป่วยโรคเบาหวาน ควรหลีกเลี่ยงอาหาร ๑. ไปเที่ยวที่ไหน ระยะเวลาในการเดิน ถึงสอบถามหากเกิดเหตุการณ์เจ็บป่วย และ ประเภทแป้ง หรือเครื่องดื่มที่มีรสหวาน เช่น ทางเป็นอย่างไร เช่น ไปทะเลหรือภูเขา โดย จ�ำเป็นต้องเดินทางกลับก่อนก�ำหนดท่านจะ น�้ำอัดลม ไวน์หวาน หากรับประทานอาหาร รถโดยสาร หรือเดินทางไปต่างประเทศ โดย ได้ลดปัญหาความกังวลเรือ่ งการรักษาพยาบาล มากขึ้น อาจจ�ำเป็นต้องมีการปรับขนาดยา เครื่องบิน และค่าใช้จ่าย โดยเฉพาะยาฉีดอินซูลินตามค�ำแนะน�ำของ ๒. สถานที่ ที่ จ ะไปถึ ง มี ส ภาพอย่ า งไร ระหว่างการเดินทาง ควรระมัดระวังความ แพทย์ หากมีภาวะเจ็บป่วยทีท่ ำ� ให้รบั ประทาน ในเรื่องของที่พัก ความสะอาด อากาศ ความ สะอาดของอาหาร น�้ ำ ดื่ ม อุ ป กรณ์ ที่ ใ ช้ รั บ อาหารได้น้อยลงอาจจ�ำเป็นต้องปรับลดขนาด สะดวกสบาย บริการสาธารณสุข อาหาร น�ำ้ ดืม่ ประทานอาหาร และความสะอาดของ “มือ” ยาลงควบคู่ไปกับการตรวจระดับน�้ำตาลปลาย ๓. สภาพร่างกายของตนเองเป็นอย่างไร เป็นส�ำคัญ อาหารใดที่ไม่คุ้นเคย หรือไม่แน่ใจ นิ้ ว ด้ ว ยตนเองบ่ อ ยขึ้ น เพื่ อ เฝ้ า ระวั ง ระดั บ โรคประจ�ำตัวที่เป็นอยู่ ยาประจ�ำตัว ขณะนี้ ในขั้นตอนการปรุงอาหารหรือความสะอาด น�้ ำ ตาลในเลื อ ดที่ อ าจสู ง หรื อ ต�่ ำ ผิ ด ปกติ จ น มีภาวะสุขภาพอื่นใดอีกหรือไม่ เช่น ตั้งครรภ์ ควรหลีกเลี่ยง รวมถึงระมัดระวังต่อการเกิด เป็นอันตรายต่อชีวิตได้ นอกจากนี้ผู้ป่วยและ ๔. หากเดินทางร่วมเป็นคณะ จ�ำเป็นต้อง อุบตั เิ หตุ ทีส่ ำ� คัญ ขอให้มี “สติตดิ ตัว อยูเ่ สมอ” ญาติที่ดูแลควรมีความรู้เบื้องต้นในการแก้ไข ทราบปัญหาของผู้ร่วมทาง โดยเฉพาะหาก ส�ำหรับผู้ที่มีโรคประจ�ำตัว เช่น เบาหวาน ภาวะผิดปกติต่าง ๆ เช่น เมื่อผู้ป่วยมีอาการ เป็นผูส้ งู อายุ และเด็กเล็กหรือผูม้ โี รคประจ�ำตัว ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ หรือโรคอื่น ๆ น�้ำตาลในเลือดต�่ำ เช่น ใจสั่น หน้ามืดคล้าย เรื้อรัง ว่าดูแลตนเองได้หรือว่าต้องมีผู้ช่วยหรือ ควรใส่ใจดูแลสุขภาพตนเองในช่วงเทศกาล จะเป็นลม ตรวจระดับน�้ำตาลปลายนิ้วผู้ป่วย ผู้ดูแล หรือต้องจัดเตรียมสิ่งใดเป็นพิเศษ เช่น มากเป็ น พิ เ ศษเนื่ อ งจากทุ ก ปี ที่ ผ ่ า นมามี พบว่าระดับน�้ำตาลในเลือดต�่ำ หากยังรู้สึกตัวดี อาหารเฉพาะ รถเข็น เปลนอน ยกตัวอย่าง การรณรงค์เพื่อลดอุบัติเหตุทางถนนในช่วง ควรหาน�้ำหวาน น�้ำผลไม้ ๑ แก้วหรือลูกอม เช่น หากต้องเดินทางไปต่างประเทศ ไปพม่า เทศกาลโดยเฉพาะ “เมาไม่ขับ” เนื่องจากการ
“ฉลองปีใหม่อย่างไร ไม่ให้ทำ� ลายสุขภาพ”
เ
54
ส�ำนักงานแพทย์ ส�ำนักงานสนับสนุน ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
ดื่มสุราเป็นสาเหตุหลักอันดับหนึ่งของการเสีย ชีวิตในช่วงเทศกาลของทุกปี แต่ยังมีโรคที่มิได้ เกิดจากอุบัติเหตุอีกหลายโรคที่หลายคนอาจ มองข้ า มและละเลยเพราะคาดไม่ ถึ ง ว่ า โรค เหล่านี้คร่าชีวิตคนไทยในปีหนึ่ง ๆ ไม่น้อย เลยทีเดียว เหตุเพราะปัจจุบันคนไทยมีอายุ ยื น ขึ้ น โดยมี อ ายุ ขั ย เฉลี่ ย ประมาณ ๗๓ ปี ซึ่ ง เพิ่ ม ขึ้ น จากในอดี ต ที่ ค นไทยมี อ ายุ ขั ย เฉลี่ยเพียง ๕๐ ปีอันเป็นผลจากการพัฒนา ระบบสาธารณสุ ข ที่ ดี ขึ้ น ท� ำ ให้ ค นไทยมี คุ ณ ภาพชี วิ ต ที่ ดี ขึ้ น แน่ น อนว่ า เมื่ อ มี อ ายุ ยื น ยาวขึ้ น โรคภั ย ไข้ เ จ็ บ ย่ อ มมาพร้ อ มกั บ อายุที่มากขึ้นนั้น โดยเฉพาะโรคเรื้อรังต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลื อ ดสมองหรื อ โรคหั ว ใจเป็ น ต้ น ดังนั้นการใส่ใจให้ความส�ำคัญต่อโรคเหล่านี้ อย่ า งต่ อ เนื่ อ งจะสามารถลดความสู ญ เสี ย และท�ำให้ผู้ที่เป็นโรคเหล่านี้มีโอกาสได้เฉลิม ฉลองเทศกาลแห่งความสุขร่วมกับครอบครัว เพื่อนฝูงอย่างพร้อมหน้า ข้อแนะน�ำในการดูแลสุขภาพส�ำหรับผู้ที่มี โรคประจ�ำตัวอย่างง่าย ๆ แต่ควรจ�ำให้ขึ้นใจ ในช่วงเทศกาลปีใหม่นี้ ได้แก่ ๑. ส� ำ รวจ ตรวจเช็ ก สุ ข ภาพให้ พ ร้ อ ม หากมีโรคประจ�ำตัว อาทิเช่น ความดันโลหิต สูงหรือเบาหวานเป็นทุนเดิมควรควบคุมความ ดันโลหิตและระดับน�้ำตาลให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ โดยการทานยาหรือฉีดยาอย่างสม�่ำเสมอ หาก ยั ง ควบคุ ม ความดั น โลหิ ต หรื อ ระดั บ น�้ ำ ตาล ในเลือดไม่ได้ควรปรึกษาแพทย์ ส�ำหรับโรค อื่น ๆ เช่น โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง ควรปรึกษาแพทย์ก่อนออกเดินทางเสมอเพื่อ ประเมินความเสี่ยงและรับค�ำแนะน�ำเกี่ยวกับ การปฏิบัติตัวที่เหมาะสม ๒. ตรวจสอบระบบประกั น สุ ข ภาพ หรือความคุ้มครองเมื่อเจ็บป่วยหรือประสบ ภั ย แน่ น อนว่ า ในระหว่ า งเทศกาลเฉลิ ม ฉลองที่มีวันหยุดต่อเนื่องหลายวันนั้นอาจเกิด เหตุการณ์ไม่คาดฝันต่าง ๆ ได้ไม่ว่าจะเป็น อุบัติเหตุหรือการเจ็บป่วยรุนแรง และมักเกิด ปัญหาเสมอ ๆ ในเรื่องของการตรวจสอบสิทธิ การคุ้มครองต่าง ๆ ทั้งการเจ็บป่วยที่เกิดขึ้นใน ประเทศและต่างประเทศเนื่องจากเป็นวันหยุด ต่อเนื่องยาวท�ำให้การติดต่อประสานงานเป็น ไปอย่างยากล�ำบากหากไม่ได้เตรียมตัวตรวจ สอบสิทธิเงื่อนไขการคุ้มครองหรือบุคคลที่จะ ติดต่อได้ไว้ล่วงหน้า ดังนั้นก่อนออกเดินทาง จึงควรมีการตรวจสอบ เตรียมเอกสารประกัน ภัยช่องทางการติดต่อบุคคลต่าง ๆ ไว้ให้พร้อม เสมอเพื่อให้การติดต่อประสานงานเป็นไปได้ อย่างรวดเร็วเมื่อเกิดเหตุการณ์ดังกล่าวขึ้น ๓. พกสมุดประจ�ำตัวผู้ป่วยไปด้วยเสมอ บ่ อ ยครั้ ง ที่ ผู ้ ป ่ ว ยมั ก เกิ ด โรคภัยไข้เจ็บ หรือ หลักเมือง มกราคม ๒๕๕๘
อุ บั ติ เ หตุ ต ่ า ง ๆ ระหว่ า งการเดิ น ทางหรื อ การเฉลิมฉลองในเทศกาล บางครั้งเป็นการ เจ็บป่วยรุนแรงผู้ป่วยไม่สามารถให้ข้อมูลแก่ แพทย์ ไ ด้ การมี ส มุ ด ประจ� ำ ตั ว ผู ้ ป ่ ว ยที่ ร ะบุ รายละเอียดการรักษา สถานพยาบาลประจ�ำ ข้อมูลเกี่ยวกับโรคทั้งหมดที่เป็น รวมทั้งเบอร์ โทรศัพท์หรือที่อยู่ผู้ที่จะติดต่อได้กรณีฉุกเฉิน เหล่านี้ย่อมเป็นประโยชน์ต่อผู้ป่วยในการที่ แพทย์จะได้ให้การรักษาอย่างถูกต้อง ส่งผล ให้ ก ารรั ก ษาเป็ น ไปได้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ รวดเร็ว และต่อเนื่อง ๔. พกยาประจ�ำตัวไปด้วยเสมอ การลืม น�ำยาประจ�ำตัวไปด้วยในขณะเดินทาง หรือ ร่วมงานสังสรรค์ต่าง ๆ เป็นสาเหตุที่พบได้ บ่อย ที่ท�ำให้ผู้ป่วยต้องเข้ารับการรักษาใน โรงพยาบาลเนื่องจากโรคบางชนิดจ�ำเป็นต้อง ทานยาให้ตรงเวลา เพื่อรักษาระดับยาให้คงที่ การลืมทานยาแม้เพียงมื้อเดียว อาจส่งผลให้ อาการของโรคก�ำเริบขึ้น อาทิ เช่นโรคลมชัก บางโรคอาจเกิดภาวะดือ้ ยา หากรับประทานยา ไม่ต่อเนื่อง เช่น วัณโรค โรคเอดส์ เป็นต้น หรือ แม้แต่โรคเบาหวานเองการขาดยาโดยเฉพาะ ยาฉีดอินซูลินในผู้ป่วยเบาหวานที่จ�ำเป็นต้อง ฉี ด อิ น ซู ลิ น อาจท� ำ ให้ ผู ้ ป ่ ว ยเกิ ด ภาวะระดั บ น�้ำตาลในเลือดสูงวิกฤตจนถึงขั้นเสียชีวิตได้ บางครั้งแม้ไม่ลืมน�ำยาติดตัวใส่กระเป๋าไปแล้ว ก็อาจยังประสบปัญหายาหายบ้าง กระเป๋าหาย บ้าง โดยเฉพาะการเดินทางระยะทางไกล ๆ ดัง นั้นการมียาส�ำรองพกติดตัวอีกชุดหนึ่ง จะช่วย ลดโอกาสการขาดยาได้ นอกเหนือจากการไม่ลืมน�ำยาประจ�ำตัวไป ด้วยแล้ว การเก็บรักษายาอย่างถูกวิธีก็เป็นสิ่ง ส�ำคัญที่จะคงประสิทธิภาพของยาไว้ ยาบาง ชนิดมักต้องเก็บให้พ้นแสงหรือความร้อน เช่น ยาโรคหัวใจ ยาบางชนิดห้ามเก็บในที่เย็นจัด หรือบริเวณที่มีการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิบ่อย โดยเฉพาะยาฉีด เช่น อินซูลนิ การเก็บรักษายา ที่ไม่ถูกต้อง เช่น การเก็บยาไว้ในรถยนต์ที่จอด ตากแดด หรือแช่ในตูเ้ ย็นทีอ่ ณ ุ หภูมไิ ม่คงทีอ่ าจ ท�ำให้ยาเสื่อมสภาพไม่สามารถน�ำมาใช้ได้อีก การเตรียมยาสามัญประจ�ำบ้านเช่นยาลดไข้ ยาลดน�้ำมูก ยาแก้ปวดท้อง ผงเกลือแร่ติดตัว ไปด้วยในกรณีทตี่ อ้ งเดินทางไกล ๆ อาจช่วยลด ภาระการหาซื้อยาและท�ำการรักษาเบื้องต้นได้ การน� ำ ยาเหล่ า นี้ ติ ด ตั ว ไปขณะเดิ น ทาง โดยเฉพาะการเดินทางด้วยเครื่องบินโดยสาร ควรมีใบรับรองแพทย์ก�ำกับการใช้ยาติดตัวไป ด้วย ในกรณีที่เป็นยาฉีดหรือยารับประทาน ปริมาณมากเพื่อป้องกันปัญหาการเข้าใจผิด เกี่ยวกับการพกพายาตามมาตรการการรักษา ความปลอดภัยของสถานทีต่ า่ ง ๆ ในกรณีทตี่ อ้ ง เดินทางไกล ๆ มีการเปลี่ยนแปลงเวลาไปมาก เช่น การเดินทางไปยุโรป หรือสหรัฐอเมริกา
ผูป้ ว่ ยทีจ่ ำ� เป็นต้องใช้ยาตรงตามเวลาสม�ำ่ เสมอ อาจเกิดปัญหาเรื่องเวลาที่เปลี่ยนไปกับการ ใช้ยาได้โดยเฉพาะผู้ป่วยเบาหวานที่ต้องใช้ ยาฉี ด อิ น ซู ลิ น ดั ง นั้ น ก่ อ นออกเดิ น ทางควร ปรึกษาแพทย์ที่ให้การดูแลรักษาประจ�ำว่าควร ปรับเปลี่ยนการใช้ยาอย่างไรให้เหมาะสมใน ระหว่างการเดินทางนั้น การดูแลบาดแผลเป็นเรื่องส�ำคัญอีกเรื่อง หนึ่งซึ่งไม่ควรมองข้าม เพราะในช่วงเทศกาล ที่มีการสังสรรค์ หรือการเดินทางย่อมมีโอกาส เกิดบาดแผลมากขึ้น ทั้งจากของมีคมบาด การ พลัดตกหกล้ม ดังนั้นควรส�ำรวจร่างกายอยู่ เสมอว่ามีบาดแผลเกิดขึ้นหรือไม่โดยเฉพาะ ผู้ป่วยที่มีระบบประสาทรับความรู้สึกผิดปกติ เช่นผู้ป่วยเบาหวาน หรือโรคหลอดเลือดสมอง ซึ่ ง บางครั้ ง อาจเกิ ด บาดแผลได้ โ ดยไม่ รู ้ ตั ว เพราะหากละเลยอาจท�ำให้บาดแผลติดเชื้อ และลุกลามได้ หากพบบาดแผลเหล่านี้ควร พบแพทย์เพื่อท�ำความสะอาดบาดแผลอย่าง ถูกต้อง รับประทานยาปฏิชีวนะกรณีบาดแผล เสี่ยงต่อการติดเชื้อและอาจจ�ำเป็นต้องได้รับ วัคซีนป้องกันบาดทะยักในบางราย ข้อแนะน�ำจากแพทย์ในการดูแลสุขภาพ ช่วงเทศกาล รักษาร่างกายให้แข็งแรง พักผ่อน นอน หลับให้เพียงพอ ทานอาหารสุ ก ปรุ ง ใหม่ สะอาด ระมั ด ระวั ง ความสะอาดของน�้ ำ ดื่ ม การปน เปื ้ อ นสิ่ ง สกปรกรวมทั้ ง การผสมสารเสพติด (หากไปเที่ยวนอกบ้าน) ไม่ ค วรบริ โ ภคของมึ น เมา บริ โ ภคยา หรือสารที่ให้สติ ความระแวดระวังตน ความ สามารถในการตัดสินใจลดลง มีสติ รูต้ วั อยูเ่ สมอ ควรฝึกให้มกี ารสังเกต และรับรู้ต่อเหตุการณ์ผิดปกติที่อาจก่อให้เกิด อันตรายแก่ตน ควรหลีกเลี่ยงสถานที่แออัด หรือเกิด โรคระบาด จะเห็ น ได้ ว ่ า หลั ก การการดู แ ลสุ ข ภาพ ในช่ ว งเทศกาลไม่ ใ ช่ เ รื่ อ งยาก เพี ย งแค่ เ รา เอาใจใส่ เตรียมพร้อมและดูแลรักษาตัวเอง อย่างเหมาะสม โดยอาศัยหลักในการปฏิบัติ ๕ ประการง่าย ๆ คือ ตรวจสภาพ (สุขภาพ) ตรวจสอบ (ความคุ้มครอง) พกสมุด (ประจ�ำ ตัวผู้ป่วย) พกยา และรักษาตัว หากปฏิบัติได้ ครบดังนี้แล้วเทศกาลปีใหม่ที่ใกล้จะมาถึงนี้ ย่อมจะเป็นเทศกาลแห่งความสุขที่ทุกท่านจะ ได้เฉลิมฉลอง ส่งความสุข และเริ่มต้นปีใหม่ ๒๕๕๘ ด้วยสุขภาพใจสุขภาพกายที่สมบูรณ์ อย่างแน่นอน
55
สมเด็ จ พระบรมโอรสาธิ ร าชฯ สยามมกุ ฎ ราชกุ ม าร เสด็ จ พระราชด� ำ เนิ น ประกอบพิ ธี ต รึ ง หมุ ด ธงและพระราชทานธงชั ย เฉลิมพลให้แก่หน่วยทหารในสังกัดกระทรวงกลาโหม ณ พระอุโบสถ วัดพระศรีรตั นศาสดารามและพระทีน่ งั่ ชุมสาย บริเวณสนามหน้าศาลา สหทัยสมาคม ในพระบรมมหาราชวัง โดยมี พลเอก ประวิตร วงษ์สวุ รรณ รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม พลเอก อุ ด มเดช สี ต บุ ต ร รั ฐ มนตรี ช ่ ว ยว่ า การกระทรวงกลาโหม และ ผู้บัญชาการทหารบก พลเอก ศิริชัย ดิษฐกุล ปลัดกระทรวงกลาโหม พร้ อ มด้ ว ยผู ้ บั ญ ชาการเหล่ า ทั พ ร่ ว มพิ ธี ณ พระบรมมหาราชวั ง เมื่อ ๗ ธ.ค.๕๗
พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี และหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ พลเอก อุดมเดช สีตบุตร รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหมและผู้บัญชาการทหารบก พลเอก ศิริชัย ดิษฐกุล ปลัดกระทรวงกลาโหม ร่วมพิธีถวายสัตย์ปฏิญาณเป็นข้าราชการที่ดี และพลังของแผ่นดิน เนื่องในโอกาสเฉลิมพระชนมพรรษา ๕ ธันวาคม ๒๕๕๗ ณ ตึกสันติไมตรี ท�ำเนียบรัฐบาล เมื่อ ๓ ธ.ค.๕๗
พลเอก ศิริชัย ดิษฐกุล ปลัดกระทรวงกลาโหม พลเอก อุดมเดช สีตบุตร รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม และ ผู้บัญชาการทหารบก พร้อมด้วยผู้บัญชาการเหล่าทัพ ร่วมพิธี สวนสนามและถวายสั ต ย์ ป ฏิ ญ าณตนของทหารรั ก ษา พระองค์ เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา พระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงเจริญพระชนมพรรษา ๘๗ พรรษา ณ มณฑลพิธีท้องสนามหลวง เมื่อ ๒ ธ.ค.๕๗ 56
พลเอก ศิริชัย ดิษฐกุล ปลัดกระทรวงกลาโหม เป็นประธานในพิธีเฉลิมพระเกียรติพระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสวันเฉลิม พระชนมพรรษา ๘๗ พรรษา ๕ ธันวาคม ๒๕๕๗ และพิธีถวายสัตย์ปฏิญาณเพื่อเป็นข้าราชการ ที่ ดี แ ละพลั ง ของแผ่ น ดิ น โดยมี รองปลั ด กระทรวงกลาโหมและหั ว หน้ า หน่ ว ยขึ้ น ตรง ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ร่วมพิธี ณ ห้อง พินิตประชานาถ ภายในศาลาว่าการกลาโหม เมื่อ ๓ ธ.ค.๕๗
พลเอก ประวิตร วงษ์สวุ รรณ รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีวา่ การกระทรวง กลาโหม ให้การต้อนรับ นายมาร์ก แอนดรูว์ เจฟฟรีย์ เคนต์ ( Mark Andrew Geoffrey Kent ) เอกอัครราชฑูตสหราชอาณาจักรประจ�ำประเทศไทย ในโอกาส เข้าเยี่ยมค�ำนับและหารือข้อราชการ ณ ห้องรับรองรัฐมนตรีว่าการกระทรวง กลาโหม เมื่อ ๔ ธ.ค.๕๗
หลักเมือง มกราคม ๒๕๕๘
57
พลเอก ศิ ริ ชั ย ดิ ษ ฐกุ ล ปลั ด กระทรวง กลาโหม นางพรวิมล ดิษฐกุล นายกสมาคมภริยา ข้ า ราชการส� ำ นั ก งานปลั ด กระทรวงกลาโหม พร้อมด้วย รองปลัดกระทรวงกลาโหมและภริยา หัวหน้าหน่วยขึ้นตรงส�ำนักงานปลัดกระทรวง กลาโหม ร่ ว มลงนามถวายพระพรพระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเนื่องในโอกาสวันเฉลิม พระชนมพรรษา ๘๗ พรรษา ๕ ธันวาคม ๒๕๕๗ ณ ภายในพระบรมมหาราชวัง เมื่อ ๕ ธ.ค.๕๗ พลอากาศเอก ทรงธรรม โชคคณาพิ ทั ก ษ์ รองปลัดกระทรวงกลาโหม น�ำคณะนายทหาร ชั้นผู้ใหญ่ของส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม แสดงความยิ น ดี ต ่ อ พลเอก ศิ ริ ชั ย ดิ ษ ฐกุ ล ปลัดกระทรวงกลาโหม ในโอกาสทีไ่ ด้รบั พระบรม ราชโองการโปรดเกล้ า ฯ พระราชทานยศ พลเรือเอก พลอากาศเอก และแต่งตั้งเป็นนาย ทหารพิเศษ ประจ�ำกรมนักเรียนนายร้อยรักษา พระองค์ โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า ประจ� ำ กรมนั ก เรี ย นนายเรื อ รั ก ษาพระองค์ โรงเรี ย นนายเรื อ และประจ� ำ กรมนั ก เรี ย น นายเรืออากาศรักษาพระองค์ โรงเรียนนายเรือ อากาศ พร้อมทั้งอวยพรและขอรับพร เนื่องใน โอกาสวันขึ้นปีใหม่ พุทธศักราช ๒๕๕๘ ณ ห้อง สุรศักดิ์มนตรี ภายในศาลาว่าการกลาโหม เมื่อ ๒๖ ธ.ค.๕๗
58
รองปลัดกระทรวงกลาโหมและหัวหน้าหน่วยขึน้ ตรงส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ร่วมงานสโมสรสันนิบาตเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ณ บริเวณสนามหญ้าหน้าตึกไทยคู่ฟ้า ท�ำเนียบรัฐบาล เมื่อ ๗ ธ.ค.๕๗
พลเอก ไพชยนต์ ค้าทันเจริญ รองปลัดกระทรวง กลาโหม ให้การต้อนรับ พ.อ.Desmond D.Walton เจ้า หน้าที่อาวุโสกระทรวงกลาโหมสหรัฐอเมริกา, ผู้ช่วยทูต ทหารสหรัฐอเมริกาประจ�ำประเทศไทยและหัวหน้าคณะ ที่ปรึกษาทางการทหารของสหรัฐอเมริกา ในโอกาสเข้า เยี่ยมค�ำนับและหารือข้อราชการ ณ ห้องกัลยาณไมตรี เมื่อ ๑๖ ธ.ค.๕๗
หลักเมือง มกราคม ๒๕๕๘
59
พลเอก วิชิต ศรีประเสริฐ รองปลัดกระทรวงกลาโหม เป็นประธานในพิธีวันคล้ายวันสถาปนาศูนย์วิจัยและพัฒนาการทหาร กรมวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีกลาโหม ณ ห้องอเนกประสงค์ ชัน้ ๒ อาคารศูนย์วจิ ยั และพัฒนาการทหาร กรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกลาโหม เมือ่ ๒๕ พ.ย.๕๗
กรมเสมี ย นตรา จั ด กิ จ กรรมบริ จ าคโลหิ ต เนื่องในโอกาสเฉลิมพระชนมพรรษา พระบาท สมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ๕ ธั น วาคม ๒๕๕๗ ณ ห้องสุรศักดิ์มนตรี ภายในศาลาว่าการกลาโหม เมื่อ ๒๗ พ.ย.๕๗
60
ส�ำนักงานเลขานุการส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม จัดการอบรมหลักสูตรพิธีกรเพื่อการประชาสัมพันธ์ เพื่อพัฒนาบุคลากรของส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ให้มีความรู้ความสามารถ และสนับสนุนกิจกรรมด้าน งานพิธีการและการประชาสัมพันธ์ของส�ำนักงานปลัด กระทรวงกลาโหม ณ ห้องประชุมส�ำนักงานเลขานุการฯ ชั้น ๓ ในศาลาว่าการกลาโหม เมื่อ ๑๑ - ๑๒ ธ.ค.๕๗
ส� ำ นั ก งานเลขานุ ก ารส� ำ นั ก งานปลั ด กระทรวง กลาโหม จัดการฝึกอบรมหลักสูตรเจ้าหน้าที่ถ่ายรูป เพื่ อ การประชาสั ม พั น ธ์ เ พื่ อ พั ฒ นาศั ก ยภาพของ บุ ค ลากรด้ า นการถ่ า ยภาพของส� ำ นั ก งานปลั ด กระทรวงกลาโหม ณ ห้องหลักเมือง ๒ ภายในศาลา ว่าการกลาโหม เมื่อ ๒๔ พ.ย.๕๗
หลักเมือง มกราคม ๒๕๕๘
61
กิจกรรมสมาคมภริยาข้าราชการส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
นางพรวิมล ดิษฐกุล นายกสมาคมภริยาข้าราชการส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม พร้อมด้วยอุปนายกสมาคมฯ ร่วมเดินริ้วขบวนอัญเชิญ เครื่องราชสักการะ และร่วมพิธีถวายราชสดุดีเฉลิมพระเกียรติงาน ๕ ธันวามหาราช ประจ�ำปี ๒๕๕๗ โดยมี พลเอก ประยุทธ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี และภริยา พลเอก ศิริชัย ดิษฐกุล ปลัดกระทรวงกลาโหม ร่วมพิธี ณ มณฑลพิธีท้องสนามหลวง เมื่อ ๕ ธ.ค.๕๗
นางพรวิมล ดิษฐกุล นายกสมาคมภริยาข้าราชการส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม พร้อมด้วย อุปนายกสมาคมฯ ร่วมลงนามถวายพระพร พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ณ ศาลาศิริราช ๑๐๐ ปี โรงพยาบาลศิริราช เมื่อ ๙ ธ.ค.๕๗ 62
นางพรวิ ม ล ดิ ษ ฐกุ ล นายกสมาคมภริ ย า ข้ า ราชการส� ำ นั ก งานปลั ด กระทรวงกลาโหม พร้อมด้วย อุปนายกสมาคมฯ ร่วมกิจกรรมจัด เลี้ยงอาหารแก่ประชาชนผู้ยากไร้ และพิธีถวาย ราชสดุดีเฉลิมพระเกียรติ เนื่องในโอกาสวันเฉลิม พระชนมพรรษาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ๕ ธันวาคม ๒๕๕๗ ณ สโมสรต�ำรวจ เมือ่ ๒ ธ.ค.๕๗
นางพรวิ ม ล ดิ ษ ฐกุ ล นายกสมาคม ภริยาข้าราชการส�ำนักงานปลัดกระทรวง กลาโหม พร้อมด้วย อุปนายกสมาคมฯ ร่วม จัดกิจกรรมนิทรรศการเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องใน โอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๘๗ พรรษา ๕ ธันวาคม ๒๕๕๗ ณ มณฑล พิธีท้องสนามหลวง ระหว่างวันที่ ๓๐ พ.ย. - ๖ ธ.ค.๕๗ หลักเมือง มกราคม ๒๕๕๘
63
นางพรวิมล ดิษฐกุล นายกสมาคมภริยาข้าราชการส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม พร้อมด้วยอุปนายกสมาคมฯ เยี่ยมเละมอบสิ่งของให้กับ สถานสงเคราะห์คนชราเฉลิมราชกุมารี (หลวงพ่อเปิ่นอุปถัมภ์) จังหวัดนครปฐม เมื่อ ๒๘ พ.ย.๕๗
นางพรวิมล ดิษฐกุล นายกสมาคมภริยาข้าราชการส�ำนักงานปลัดกระทรวง กลาโหม พร้อมด้วยอุปนายกสมาคมฯ เข้าร่วมชมงานการแสดงแบบเสื้อและ ผลิตภัณฑ์ศิลปาชีพ ประจ�ำปี ๒๕๕๗ ณ อาคารเวทีใหม่ สวนอัมพร พระราชวัง ดุสิต เมื่อ ๑๑ ธ.ค.๕๗
64
พระราชด�ำรัส พระราชทานแก่ประชาชนชาวไทยในโอกาสขึ้นปีใหม่ พุทธศักราช ๒๕๕๘ วันพุธที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๗ ประชาชนชาวไทยทั้งหลาย บัดนี้ถึงวาระจะขึ้นปีใหม่ ข้าพเจ้าขอส่งความปรารถนาดี มาอวยพร แก่ทา่ นทุก ๆ คน ให้มคี วามสุข ความเจริญ ซึง่ เป็นสิง่ ทีท่ กุ คนปรารภปรารถนา. ในปีใหม่นี้ ขอให้ประชาชนชาวไทยตั้งใจให้เที่ยงตรงแน่วแน่ ไม่ว่าจะ ท�ำการสิง่ ใด ให้คดิ ให้ดี ให้รอบคอบและรอบด้าน เพือ่ ให้การกระท�ำนัน้ บังเกิดผล เป็นความสุขความเจริญที่แท้จริงและยั่งยืน ทั้งแก่ตนเองและประเทศชาติ. ขออานุภาพแห่งคุณพระรัตนตรัยและสิ่งศักดิ์สิทธิ์ จงคุ้มครองรักษา ท่านทุกคน ให้มีความสุขสวัสดี พร้อมด้วยพรอันเป็นมงคลทุกประการ.
พลเอก ศิริชัย ดิษฐกุล ปลัดกระทรวงกลาโหม เป็นประธานในการแถลงข่าวการจัดการแข่งขัน จักรยาน รายการ “ปัน่ เทิดไท้องค์ราชัน ๘๗ พรรษา ตลอดปี ๒๕๕๘” ณ ห้องบอลลูมซี ชั้น ๖ โรงแรม อมารี วอเตอร์เกท ประตูน�้ำ เมื่อ ๑๘ ธ.ค.๕๗
ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
หน่วยงานนโยบายและยุทธศาสตร์ความมั่นคง
ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม เปิดรับสมัครพนักงานราชการ จ�ำนวน ๖๐ อัตรา ตั้งแต่วันที่ ๒๔ ธันวาคม ๒๕๕๗ ถึง ๓๐ มกราคม ๒๕๕๘ ดูรายละเอียดได้ที่ http://opsd.mod.go.th และ http://opsd.thaijobjob.com โทรศัพท์ ๐ ๒๒๕๗ ๗๒๓๐ ว า ร ส า ร ร า ย เ ดื อ น ส� ำ นั ก ง า น ป ลั ด ก ร ะ ท ร ว ง ก ล า โ ห ม ปีที่ ๒๔ ฉบับที่ ๒๘๖ เดือนมกราคม พ.ศ. ๒๕๕๘
www.lakmuangonline.com