Lm june279

Page 1


ว า ร ส า ร ร า ย เ ดื อ น ข อ ง ส� ำ นั ก ง า น ป ลั ด ก ร ะ ท ร ว ง ก ล า โ ห ม

ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ ผู้อำ�นวยการ

พล.อ.วันชัย  เรืองตระกูล พล.อ.อ.สุวิช  จันทประดิษฐ์ พล.อ.ไพบูลย์  เอมพันธุ์ พล.อ.ยุทธศักดิ์  ศศิประภา พล.อ.ธีรเดช  มีเพียร พล.อ.ธวัช  เกษร์อังกูร พล.อ.สัมพันธ์  บุญญานันต์ พล.อ.อู้ด  เบื้องบน พล.อ.สิริชัย  ธัญญสิริ พล.อ.วินัย  ภัททิยกุล พล.อ.อภิชาต  เพ็ญกิตติ พล.อ.กิตติพงษ์  เกษโกวิท พล.อ.เสถียร  เพิ่มทองอินทร์ พล.อ.วิทวัส  รชตะนันทน์ พล.อ.ทนงศักดิ์ อภิรักษ์โยธิน

พล.ต.ณภัทร  สุขจิตต์

รองผู้อำ�นวยการ

พ.อ.ณัฐวุฒิ  คล้ายโอภาส พ.อ.คงชีพ  ตันตระวาณิชย์

ผู้ช่วยผู้อำ�นวยการ

พ.อ.ปณิธาน กาญจนวิโรจน์

กองจัดการ ผู้จัดการ

น.อ.ธวัชชัย  รักประยูร

ประจำ�กองจัดการ

น.อ.กฤษณ์  ไชยสมบัติ น.ท.วิษุวัตร์ แสนคำ� ร.น.  พ.ต.ไพบูลย์  รุ่งโรจน์

ญญิก ที่ปรึกษา เหรั พ.ท.พลพัฒน์  อาขวานนท์

พล.อ.นิพัทธ์ ทองเล็ก พล.ร.อ.พลวัฒน์ สิโรดม ร.น. พล.อ.อ.ทรงธรรม โชคคณาพิทักษ์ พล.อ.สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์ พล.อ.สนธิศักดิ์ วิทยาเอนกนันท์ พล.อ.ไพชยนต์ ค้าทันเจริญ พล.อ.ชัชวาลย์ ขำ�เกษม พล.อ.สิรวุฒิ สุคันธนาค พล.อ.อภิชาต แสงรุ่งเรือง พล.อ.จิระ โกมุทพงศ์ พล.ท.อดุลยเดช อินทะพงษ์ พล.ท.พฤษภะ สุวรรณทัต พล.ท.ยุทธนา กล้าการยุทธ พล.ท.พันลึก สุวรรณทัต พล.ท.บรรเจิด เทียนทองดี พล.ท.ถเกิงกานต์ ศรีอำ�ไพ พล.ท.สุวโรจน์ ทิพย์มงคล พล.ท.พรรณนพ ศักดิ์วงศ์ พล.ท.พัชราวุธ วงษ์เพชร พล.ท.สรศักดิ์ ขาวกระจ่าง พล.ต.ทวี พฤกษาไพรบูลย์ พล.ต.สังสิทธิ์ วรชาติกุล

ผู้ช่วยเหรัญญิก ร.ท.เวช  บุญหล้า

ฝ่ายกฎหมาย

น.ท.สุรชัย  สลามเต๊ะ

ฝ่ายพิสูจน์อักษร

พ.อ.หญิง วิวรรณ  วรวิศิษฏ์ธำ�รง ร.อ.หญิง กัญญารัตน์  ชูชาติ ร.น. ร.ท.หญิง ประภาพันธ์  มูลละ

กองบรรณาธิการ บรรณาธิการ

น.อ.พรหมเมธ  อติแพทย์ ร.น.

รองบรรณาธิการ

พ.อ.ทวี  สุดจิตร์ พ.อ.สุวเทพ  ศิริสรณ์

ผู้ช่วยบรรณาธิการ

พ.อ.หญิง ใจทิพย์  อุไพพานิช

ประจำ�กองบรรณาธิการ น.ท.ณัทวรรษ  พรเลิศ น.ท.วัฒนสิน  ปัตพี ร.น. พ.ท.หญิง ณิชนันทน์  ทองพูล พ.ต.หญิง สิริณี  ศรประทุม พ.ต.หญิง สมจิตร  พวงโต ร.อ.หญิง อัญชลีพร  ชัยชาญกุล ร.อ.หญิง ลลิดา  ดรุนัยธร ร.ต.หญิง พัชรี  ชาญชัยพิชิต ร.ต.วัชรเทพย์  ปีตะนีละผลิน จ.ส.อ.หญิง ปาลดา สมพงษ์ผึ้ง ส.อ.ธีร์นริศวร์  ขอพึ่งธรรม

น.ท.หญิง รสสุคนธ์  ทองใบ ร.น. พ.ท.ชุมศักดิ์  สมไร่ขิง พ.ท.ชาตบุตร  ศรธรรม น.ต.ฐิตพร  น้อยรักษ์ ร.น. ร.อ.หญิง ณิชาภา  กุหลาบเพ็ชร์ ร.อ.ยอดเยี่ยม  สงวนสุข ร.ต.ศุภกิจ  ภาวิไล ร.ต.จิรวัฒน์  ถนอมธรรม จ.ส.อ.สมหมาย  ภมรนาค ส.อ.หญิง ศิริพิมพ์มา  กาญจนโรจน์


บทบรรณาธิการ วารสารหลักเมือง ฉบับเดือนมิถุนายน ๒๕๕๗ ต้องถือว่าระยะเวลาของการเข้าสู่การเป็น ประชาคมอาเซียนของประเทศในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เริ่มใกล้เข้ามาไม่เพียงแต่ ประเทศสมาชิกที่มีการเตรียมตัวเข้าสู่การเป็นประชาคมการเมืองและความมั่นคงประชาคม เศรษฐกิจและประชาคมสังคมและวัฒนธรรมเท่านั้นประเทศมหาอ�ำนาจในทุกภูมิภาคไม่ว่า จะเป็นสหรัฐอเมริกา สหภาพยุโรป จีน ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ รวมไปถึงอินเดีย ต่างจับตามองและ ให้ความส�ำคัญต่อการเข้าสู่การเป็นประชาคมอาเซียน ในระหว่างระยะเวลาที่ใกล้เข้ามาหลายประเทศในกลุ่มประเทศอาเซียนต่างก�ำลังเผชิญ กับปัญหาที่เกิดขึ้นในประเทศตนเอง ซึ่งมีปัจจัยสาเหตุ ความขัดแย้ง จากภายในประเทศ และบางประเทศก็มีปัจจัยปัญหาจากภายนอกประเทศ ซึ่งเป็นส่วนประกอบที่ส�ำคัญ อาทิ กรณีความขัดแย้งระหว่างสาธารณรัฐประชาชนจีน กับ เวียดนาม ที่ท�ำให้เกิดการเผาท�ำลาย กลุ่มธุรกิจอุตสาหกรรมที่ชาวจีนเป็นเจ้าของสถานประกอบการ มีผู้เสียชีวิตที่เป็นชาวจีน และชาวเวียดนาม ปัญหาความขัดแย้งเรื่องการอ้างกรรมสิทธิ์พื้นที่ทางทะเล และหมู่เกาะ ในทะเลจีนใต้ ซึ่งเหล่านี้ล้วนเป็นปัญหาที่เกิดขึ้นและท้าทายความพร้อมของประเทศในแถบ ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยเฉพาะกับประเทศไทยในขณะที่ก�ำลังมีการเปลี่ยนแปลง ว่าจะได้รบั ผลกระทบทางบวก หรือ ลบมากกว่ากันในทัง้ ๓ มิตขิ องการเป็นประชาคมอาเซียน

2


ปีที่ ๒๓ ฉบับที่ ๒๗๙ เดือนมิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๗

๓๖

๖๘ ปี ทรงเสด็จขึ้นครองสิริ ราชสมบัติ

เปิดประตูสู่เทคโนโลยี ป้องกันประเทศ ๑๘ เครื่องยิงลูกระเบิด อัตโนมัติ (Automated Mortar)

ส�ำนักงาน ปลัดกระทรวงกลาโหม จัดส่งก�ำลังพลเข้ารับการ ฝึกหลักสูตรส่งทางอากาศ

๓๘

หลักการของนายพล แพตตัน (ตอนที่ ๒๒)

๑๒

โครงการ จิตส�ำนึกรักเมืองไทย ประจ�ำปี ๒๕๕๗ (ปีที่ ๖)

๑๖

การหวนกลับมา ของสหรัฐอเมริกา.. สิ่งที่ "ประชาคม อาเซียน" ต้องจับตา มอง

๒๐

๒๔ โทรทัศน์ดิจิตอล ๒๖ ๒๘

ดุลยภาพทางการทหาร ของประเทศอาเซียน แนะน�ำอาวุธเพื่อน บ้านเครื่องบินฝึกขั้น ก้าวหน้าโจมตี ทีเอ-๕๐

๒๐

๔๖

วาระสุดท้ายของ ราชวงศ์อลองพญา

๕๐ “หนูอยากเป็นทหาร” ๕๒

๒๘ ๕๔

เยี่ยมชมโรงทหารหลัง แรกในประวัติศาสตร์ ชาติไทยและพิพิธภัณฑ์ ปืนใหญ่โบราณ

๓๖ ๔๓

๖๒

๔๖ ๖๒

๕๒

ร่างรัฐธรรมนูญฉบับแรก ในรัชกาลพระบาทสมเด็จ พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว An Outline of Change in the Form of Government

สาระน่ารู้ทางการแพทย์ “ตื่นตัว แต่ไม่ตื่นตระหนก รับมือไข้หวัดใหญ่ชนิด A”

๓๒

The Immortal Hercules : C-130 ขีดความสามารถและ ภารกิจที่เป็นอมตะของ Airlifer : C-130

๑๖

๒๔

การประกาศแผนความ มั่นคงของญี่ปุ่น

จิตส�ำนึกประชาธิปไตย

๑๒

๔๓

กิจกรรมสมาคมภริยา ข้าราชการส�ำนักงาน ปลัดกระทรวงกลาโหม

๕๔

ข้อคิดเห็นและบทความที่น�ำลงในวารสารหลักเมืองเป็นของผู้เขียน มิใช่ข้อคิดเห็นหรือนโยบายของหน่วยงานของรัฐ และมิได้ผูกพันต่อทางราชการแต่อย่างใด ส�ำนักงานเลขานุการส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ถนนสนามไชย เขตพระนคร  กรุงเทพฯ ๑๐๒๐๐ โทร./โทรสาร ๐-๒๒๒๕-๘๒๖๒ http://61.19.220.3/opsd/sopsdweb/index_1.htm พิมพ์ที่ : แผนกโรงพิมพ์ กองบริการ ส�ำนักงานสนับสนุน ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ออกแบบ : บริษัท รุ่งศิลป์การพิมพ์ (๑๙๗๗) จ�ำกัด หลักเมือง มิถุนายน ๒๕๕๗

3


๖๘ ปี

ทรงเสด็จขึ้นครองสิริราชสมบัติ 4

พลตรี ชัยวิทย์ ชยาภินันท์


ระชาชนชาวไทยจ�ำนวนไม่น้อย ที่ยังเข้าใจว่าวันที่ ๕ พฤษภาคม หรื อ วั น ฉั ต รมงคล คื อ วั น ที่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ทรงเสด็จขึ้นครองสิริราชสมบัติเป็นพระมหา กษัตริยพ์ ระองค์ที่ ๙ แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์ ทั้ ง นี้ เ พราะ วั น ที่ ๕ พฤษภาคมเป็ น วั น ที่ ราชการประกาศให้เป็นวันหยุดราชการเพื่อ ร�ำลึกถึงกาลอันเป็นมิ่งมหามงคลในพระราช พิธีบรมราชาภิเษกขององค์พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวในวันที่ ๕ พฤษภาคม ๒๔๙๓ แต่ยังมีเหตุการณ์ส�ำคัญอันเป็นมิ่งมหามงคล ก่อนหน้านีอ้ กี หนึง่ เหตุการณ์คอื วันทีท่ รงเสด็จ ขึน้ ครองสิรริ าชสมบัตเิ ป็นพระมหากษัตริยไ์ ทย เป็นวันแรกคือ วันที่ ๙ มิถุนายน ๒๔๘๙

ผู้เขียนใคร่ขออรรถาธิบายให้ท่านได้กรุณา รับทราบถึงความหมายของการเสด็จขึ้นครอง สิริราชสมบัติและพระราชพิธีบรมราชาภิเษก เพื่อความกระจ่างชัด ดังนี้ การเสด็จขึน้ ครองสิรริ าชสมบัติ หมายถึง กาลส�ำคัญที่พระมหากษัตริย์ข้ึนครองสิริราช สมบัติต่อจากพระมหากษัตริย์พระองค์ก่อน ทั้ ง นี้ เ พราะประเทศจะขาดองค์ พ ระประมุ ข ไม่ได้ ซึ่งเป็นไปตามหลักของความต่อเนื่อง ในการครองสิริราชสมบัติ ทั้งนี้ หากพระมหา กษัตริย์พระองค์ใหม่ยังไม่ทรงบรรลุนิติภาวะ หรือยังไม่ทรงเข้าพระราชพิธีบรมราชาภิเษก ก็ยังทรงพระนามว่า “สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว” และจะยั ง ไม่ ใ ช้ น พปฎลมหาเศวตฉั ต รหรื อ ฉัตร ๙ ชั้น อันเป็นเครื่องหมายแห่งความเป็น พระเจ้าแผ่นดิน พระราชพิธีบรมราชาภิเษก หมายถึง พระราชพิธีในการสถาปนาขึ้นเป็นพระมหา กษั ต ริ ย ์ อ ย่ า งสมบู ร ณ์ หรื อ พิ ธี ที่ จั ด ขึ้ น เพื่ อ หลักเมือง มิถุนายน ๒๕๕๗

รั บ รองฐานะความเป็ น ประมุ ข ของรั ฐ อย่ า ง เป็นทางการ หลังจากนั้น จึงทรงพระนามว่า “พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว” ในวั น ที่ ๙ มิ ถุ น ายน ๒๔๘๙ ได้ บั ง เกิ ด เหตุ ก ารณ์ ส� ำ คั ญ ๓ ประการ ในพระราช อาณาจั ก ร กล่ า วคื อ ในเวลาเช้ า ของวั น ดังกล่าว พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหา อานันทมหิดล เสด็จสวรรคตอย่างกะทันหัน ณ พระที่นั่งบรมพิมาน และในเวลาค�่ำของ วันเดียวกันนี้ (เวลา ๒๑.๐๐ น.) รัฐบาลเรียก ประชุมรัฐสภาเป็นการด่วน เพื่อแจ้งให้รัฐสภา ทราบเรื่ อ งการเสด็ จ สวรรคตของพระบาท สมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั อานันทมหิดล และสรรหา ผู้สืบราชสมบัติ ซึ่งที่ประชุมได้ลงมติถวายราช สมบั ติ ใ ห้ แ ก่ ส มเด็ จ พระอนุ ช าธิ ร าช เจ้ า ฟ้ า ภูมิพลอดุลยเดช ขึ้นสืบราชสมบัติ เป็น สมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ ๙ แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์ต่อไป โดยผู้เขียนได้ คัดลอกข้อความบางส่วนของการประชุมสภา

ในวันนั้นจากรายงานการประชุมรัฐสภา ครั้ง ที่ ๑-๑๐, ๙ มิถุนายน ๒๔๘๙ - ๑๒ สิงหาคม ๒๔๙๐, หน้า ๑ – ๒ (บางส่วน) เพื่อให้ท่าน ผู ้ อ ่ า นได้ รั บ ทราบถึ ง เหตุ ก ารณ์ ก ารประชุ ม รัฐสภา ดังนี้ “การขึ้นครองราชย์ของ เจ้าฟ้าภูมิพลอดุลยเดช โดยความเห็นชอบของรัฐสภา เมื่อพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันท มหิดลเสด็จสวรรคตในวันที่ ๙ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๘๙ แล้ว ในวันเดียวกันนั้นรัฐสภาก็ได้จัด ประชุ ม เพื่ อ เลื อ กพระมหากษั ต ริ ย ์ พ ระองค์ ใหม่ ต ามกฎมณเฑี ย รบาลว่ า ด้ ว ยการสื บ ราชสันตติวงศ์ พ.ศ. ๒๔๖๗ และประกอบด้วย ความเห็นชอบของรัฐสภา โดยในการประชุม รัฐสภา ครั้งที่ ๑ ระเบียบวาระที่ ๒ เมื่อวันที่ ๙ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๘๙ ณ พระที่นั่งอนันต สมาคม ฯลฯ 5


ไปศึกษาต่อ ณ มหาวิทยาลัยโลซาน ประเทศ สวิสเซอร์แลนด์ แต่ทรงเปลี่ยนสาขาวิชาที่ทรง ศึกษาจากวิศวกรรมศาสตร์ ไปเป็น นิติศาสตร์ และรั ฐ ศาสตร์ ซึ่ ง จ� ำ เป็ น ส� ำ หรั บ ต� ำ แหน่ ง ประมุขของประเทศ หลั ง จากทรงส� ำ เร็ จ การศึ ก ษาจึ ง ได้ เ สด็ จ นิวัติพระนครในเดือนมีนาคม ๒๔๙๓ ซึ่งใน วโรกาสที่ทรงบรรลุนิติภาวะแล้ว รัฐบาลไทย จึงได้จัดให้มีพระราชพิธีบรมราชาภิเษกของ องค์ พ ระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ขึ้ น ใน วันที่ ๕ พฤษภาคม ๒๔๙๓ จึงเป็นที่มาของ วันฉัตรมงคล ตลอดระยะเวลา ๖๘ ปี แห่ ง การครอง สิริราชสมบัติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ภู มิ พ ลอดุ ล ยเดชทรงมี พ ระมหากรุ ณ าธิ คุ ณ ต่อพสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอด พระองค์ มิได้เคยทรงละเลยต่อการสอดส่องดูแลทุกข์ สุขของราษฎร มิเคยทรงดูดายกับความทุกข์ การสืบราชสันตติวงศ์ในวาระที่ ๓ ต่อไป จากนั้นนายปรีดี พนมยงค์ นายกรัฐมนตรี ยากเดือดร้อนของประชาชน ไม่เคยทรงว่าง การประชุมในระเบียบวาระที่ ๓ รัฐบาล จึงขอให้สมาชิกรัฐสภาถวายพระพรชัยขอให้ เว้ น จากการคิ ด ค้ น หาหนทางปฏิ บั ติ แ ละวิ ธี แถลงเรื่องการสืบราชสันตติวงศ์โดยนัยแห่ง สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจงทรงพระเจริญ การเพื่ อ พั ฒ นาความกิ น ดี อ ยู ่ ดี ข องราษฎร กฎมณเฑียรบาลว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ โดย “ที่ประชุมได้ยืนขึ้น ของพระองค์ ทั้งนี้เพราะพระองค์ทรงมีพระ พระพุทธศักราช ๒๔๖๗ และขอความเห็น และเปล่งเสียงไชโย ๓ ครั้ง” ราชปณิ ธ านที่ จ ะสร้ า งน� ำ ให้ ร าษฎรได้ รั บ ชอบของรัฐสภาตามมาตรา ๙ แห่งรัฐธรรมนูญ ต่อมาประธานรัฐสภาแจ้งให้ทปี่ ระชุมทราบ ประโยชน์สุขเสมอมา ซึ่งพระราชด�ำรัสที่ทรง โดยนายทวี บุณยเกตุ ผู้สั่งราชการแทนนายก ว่า ตามมาตรา ๑๐ และมาตรา ๑๑ ของ ตรัสอยู่เสมอว่า ประชาชนไทยส่วนใหญ่ยัง รัฐมนตรี แถลงต่อที่ประชุมรัฐสภาว่า ตาม รัฐธรรมนูญ พ.ศ. ๒๔๘๙ ก�ำหนดให้สมาชิก ยากจน พระองค์ ต ้ อ งทรงต่ อ สู ้ กั บ ศั ต รู คื อ มาตรา ๙ ของรัฐธรรมนูญได้บัญญัติว่าการสืบ พฤฒสภาทีม่ อี ายุสงู สุด ๓ คน เป็นคณะผูส้ ำ� เร็จ ความยากจนของราษฎร จึงทรงแสวงหาวิธี ราชสมบัติให้เป็นไปโดยนัยแห่งกฎมนเทียร ราชการแทนพระองค์ชวั่ คราว ซึง่ ประกอบด้วย การทุกประการเพื่อต่อสู้กับความทุกข์ยากอยู่ บาลว่ า ด้ ว ยการสื บ ราชสั น ตติ ว งศ์ ซึ่ ง ตรง พระสุธรรมวินจิ ฉัย เจ้าคุณนนท์ราชสุวจั น์ และ ตลอดเวลาเพื่อให้ประชาชนของพระองค์ชนะ กับมาตรา ๙ ข้อ ๘ โดยนายทวีได้กล่าวถึง นายสงวน จูฑะเตมีย์ มีอายุสูงตามล�ำดับ และ ความยากจนให้ได้ ทีส่ ำ� คัญอีกประการหนึง่ ทรง กฎมณเฑียรบาลข้อดังกล่าวให้สมาชิกฟังว่า ให้ทั้งสามยืนขึ้นแสดงตัวต่อที่ประชุมรัฐสภา” ปฏิบัติพระองค์ให้เป็นแบบอย่างของผู้ที่มุ่งมั่น “ข้อ ๘ ถ้าแม้ว่าสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวไร้พระ แต่เนื่องจากในเวลาดังกล่าว องค์สมเด็จ ท�ำงานเพื่อประโยชน์ของส่วนรวมตลอดมา ราชโอรสและพระราชนัดดา ท่านก็ให้อัญเชิญ พระเจ้าอยู่หัวทรงยังมิได้บรรลุนิติภาวะ กอปร ทั้งยัง ทรงสอน ทรงสาธิต ให้ราษฎรเห็นวิธี สมเด็จพระอนุชาที่ร่วมพระราชชนนีพระองค์ กับ ยังทรงมีพระราชกิจด้านการศึกษา จึงทรง การอั น ประเสริ ฐ ในการพั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต ที่มีพระชนมายุถัดลงมาจากพระองค์สมเด็จ อ�ำลาประชาชนชาวไทย เสด็จพระราชด�ำเนิน เพื่อความอยู่ดีมีสุขดังจะเห็นได้จากหลักการ พระเจ้าอยู่หัว ขึ้นทรงราชย์สืบราชสันตติวงศ์” เมื่อมีความชัดเจนเช่นนี้ “รัฐบาลจึงเห็นว่าผู้ที่ สมควรจะสืบราชสันตติวงศ์ควรได้แก่สมเด็จ พระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพลอดุลยเดช เพราะฉะนั้นรัฐบาลจึงขอเสนอและขอความ เห็ น ชอบจากรั ฐ สภาตามมาตรา ๙ ของ รัฐธรรมนูญต่อไป” ประธานรั ฐ สภาจึ ง ขอมติ จ ากที่ ป ระชุ ม รัฐสภาว่า “ข้าพเจ้าขอความเห็นของรัฐสภา ถ้าท่านผู้ใดเห็นชอบด้วย ขอได้โปรดยืนขึ้น” ผลปรากฏว่า “สมาชิกยืนขึ้นพร้อมเพรียงกัน” เป็นอันว่ารัฐสภาลงมติให้สมเด็จพระเจ้า น้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพลอดุลยเดช ขึ้นทรง ราชย์สืบราชสันตติวงศ์เป็นพระมหากษัตริย์ สืบต่อจากพระเชษฐาธิราช โดย “มีผู้เห็นชอบเป็นเอกฉันท์” 6

พลตรี ชัยวิทย์ ชยาภินันท์


ด�ำเนินชีวิตที่ถูกต้องเหมาะสมด้วยพระบรม ราโชวาทในเรื่อง “ พออยู่ พอกิน ” และให้ จัดการกับเศรษฐกิจในรูปแบบ “ เศรษฐกิจ พอเพียง ” อีกทั้ง ยังทรงสอนคุณธรรมและ หลักการด�ำเนินชีวติ ด้วยการทรงเป็นแบบอย่าง ด้ ว ยพระองค์ เ อง และทรงพระราชทานข้ อ ธรรมะต่างๆ เช่น คุณธรรม ๔ ประการในการ รั ก ษาความสั ต ย์ ความจริ ง การรู ้ จั ก ข่ ม ใจ การรู้จักอดทน อดกลั้นและอดออมและการ รู้จักละวางความชั่ว ทรงสอนให้รู้รักสามัคคี รู้จักไขว่หาความรู้ ด�ำรงความเพียร และอีก นานัปการที่พระราชทานเพื่อพัฒนาคุณภาพ จิตใจให้เจริญขึ้นและหยั่งรากลึกในจิตใจพสก นิกรของพระองค์ และในวโรกาสที่จะบรรจบถึงกาลอันเป็น มิ่งมหามงคลในวันที่ ๙ มิถุนายน ๒๕๕๗ และ เป็นวโรกาสที่บรรจบครบรอบ ๖๘ ปี แห่งการ ครองสิริราชสมบัติขององค์พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ผู้เขียนใคร่ขอ เรียนเชิญมวลมหาชนชาวไทยทั่วหล้าทั้งที่อยู่ ในประเทศและทัว่ โลกร่วมกันบ�ำเพ็ญกรณียกิจ อันประกอบไปด้วยความดีทั้งทางกาย ทาง วาจา และทางใจ ถวายเป็ น พระราชกุ ศ ล น้อมเกล้าฯ ถวายเป็นพรชัยขอให้องค์พระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชทรงพระ เจริญยิ่งยืนนาน

หลักเมือง มิถุนายน ๒๕๕๗

7


ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม

จัดส่งก�ำลังพล เข้ารับการฝึกหลักสูตร ส่งทางอากาศ พันเอก คงชีพ ตันตระวาณิชย์

8

พันเอก คงชีพ ตันตระวาณิชย์


ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ได้มีพัฒนาการของหน่วยงานและ ก� ำ ลั ง พลตามเจตนารมณ์ ข อง พลเอก นิพทั ธ์ ทองเล็ก ปลัดกระทรวงกลาโหม ที่ต้องการให้ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม เป็ น “หน่ ว ยทหารชั้ น ดี ก� ำ ลั ง พลมี ประสิ ท ธิ ภ าพ” ในรอบ ๖ เดื อ นที่ ผ ่ า นมา อย่างต่อเนื่องและเป็นรูปธรรม โดยข้าราชการ ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหมได้ทยอยเข้า รั บ การฝึ ก เป็ น หน่ ว ยและการฝึ ก เป็ น บุ ค คล อย่ า งจริ ง จั ง เพื่ อ เสริ ม สร้ า งสมรรถนะและ ประสิทธิภาพของก�ำลังพล ตลอดจนเสริมสร้าง ส� ำ นึ ก และจิ ต วิ ญ ญาณมุ ่ ง สู ่ ค วามเป็ น ทหาร อาชีพร่วมกัน โดยท�ำการฝึกทั้งสภาพร่างกาย และจิตใจในเรื่องต่าง ๆ ประกอบด้วย การฝึก ทางวินัย การพัฒนาความรู้ความสามารถ และ การพัฒนาภาวะผู้น�ำ รวมทั้งการแสดงออกใน การปฏิบัติงานเป็นหน่วยร่วมกัน พร้อมกันนี้ ปลัดกระทรวงกลาโหมได้ขบั เคลือ่ นการบริหาร

หลักเมือง มิถุนายน ๒๕๕๗

9


งานตามนโยบาย โดยมุ่งสู่ผลสัมฤทธิ์โดยให้ หัวหน้าส่วนราชการได้แถลงผลงาน ในรอบ ๖ เดือนที่ผ่านมา ในงานตามความรับผิดชอบ ของแต่ละหน่วยงาน ทั้งงานตามนโยบายและ งานที่หน่วยริเริ่มขึ้น เพื่อมุ่งสู่การเป็น “หน่วย ทหารชั้นดี ก�ำลังพลมีประสิทธิภาพ” อย่าง เป็นรูปธรรม ในขณะเดียวกันปลัดกระทรวงกลาโหมได้ เปิดโอกาสในการพัฒนาก�ำลังพลระดับต่าง ๆ พร้อมกันไป โดยได้อนุมัติเปิดหลักสูตรส่งทาง อากาศของส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม เป็นครั้งแรก ส�ำหรับก�ำลังพลส�ำนักงานปลัด กระทรวงกลาโหมที่มีความพร้อมทั้งร่างกาย และจิตใจ เพื่อเข้ารับการทดสอบสมรรถภาพ ร่างกาย ให้ได้ตามมาตรฐานตามที่ก�ำหนด โดย มีก�ำลังพลสามารถทดสอบสมรรถภาพร่างกาย

10

พันเอก คงชีพ ตันตระวาณิชย์


ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน เข้ารับการฝึกในหลักสูตร ส่งทางอากาศ รุ่น ๒๘๓ ณ โรงเรียนสงคราม พิเศษ จ.ลพบุรี ระหว่างวันที่ ๗ เม.ย.๕๗ ถึง ๓ พ.ค.๕๗ รวมทั้งสิ้น ๑๑๖ คน เป็นชาย ๑๐๙ คน หญิง ๗ คน สามารถส�ำเร็จการฝึกทั้ง ๑๑๖ คน ทั้งนี้ได้รับการสนับสนุนจากกองทัพบกใน การฝึกสอนหลักสูตรและการสนับสนุนทาง อากาศจากกองทัพอากาศ ความส�ำเร็จในครั้ง นี้ นอกจากจะช่วยสร้างความเชื่อมั่นในตัวเอง ของก�ำลังพลแล้ว ยังเป็นการพัฒนาระเบียบ วินยั และภาวะผูน้ ำ� รวมทัง้ เป็นความภาคภูมใิ จ ของส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ตลอด จนครอบครั ว ในการ แสดงความมุ่งมั่นของ ความเป็นชายชาติทหารของก�ำลังพล เพื่อให้ สามารถปฏิบัติหน้าที่ราชการ ตามความรับ ผิดชอบ ตอบสนองนโยบายของปลัดกระทรวง กลาโหมในการเป็ น “หน่ ว ยทหารชั้ น ดี ก�ำลังพลมีประสิทธิภาพ”

หลักเมือง มิถุนายน ๒๕๕๗

11


โครงการ

จิตส�ำนึกรักเมืองไทย ประจ�ำปี ๒๕๕๗ (ปีที่ ๖)

พันตรีหญิง สมจิตร พวงโต

12

พันเอก ชัชชัย ภัทรนาวิก


ครงการจิ ต ส� ำ นึ ก รั ก เมื อ งไทย เป็ น อีกหนึ่งโครงการของส�ำนักงานปลัด กระทรวงกลาโหม ในการรณรงค์ สร้างจิตส�ำนึกในการป้องกันประเทศและรักษา ความมั่นคง มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างส�ำนึกและ การมีส่วนร่วมของประชาชนในการสนับสนุน งานความมั่นคงของชาติและความรับผิดชอบ ต่อสาธารณะ โดยมีเป้าหมายเป็นเยาวชนอายุ ไม่เกิน ๒๕ ปี ซึ่งเป็นพลังที่ส�ำคัญต่ออนาคต ของชาติ โครงการจิตส�ำนึกรักเมืองไทยเป็นโครงการ ต่อเนื่องของส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ด�ำเนินการโดยส�ำนักงานเลขานุการส�ำนักงาน ปลัดกระทรวงกลาโหมต่อเนื่องมาแล้ว ๕ ปี เริ่มด�ำเนินโครงการตั้งแต่ปี ๒๕๕๒ ภายใต้ โครงการสร้างจิตส�ำนึกในการป้องกันประเทศ และรั ก ษาความมั่ น คงของส� ำ นั ก งานปลั ด กระทรวงกลาโหม มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้าง จิตส�ำนึกของประชาชนในการป้องกันประเทศ และรักษาความมั่นคงของชาติ ด้วยการเสริม สร้างความรัก ความสามัคคีของคนในชาติผา่ น กิจกรรมต่าง ๆ รวมทั้งส่งเสริมการมีส่วนร่วม ของภาคส่วนต่าง ๆ ของสังคมในกิจกรรมที่ เป็นประโยชน์ต่อสังคม เพื่อเป็นส่วนหนึ่งของ การเสริมสร้างความปรองดองสมานฉันท์ของ คนในชาติ โดยเปิดโอกาสให้นักเรียน นิสิต นักศึกษาในสถาบันการศึกษาได้สร้างสรรค์ ผลงานในรูปแบบต่าง ๆ

หลักเมือง มิถุนายน ๒๕๕๗

13


ส� ำ หรั บ การด� ำ เนิ น โครงการจิ ต ส� ำ นึ ก รั ก เมืองไทยประจ�ำปี ๒๕๕๗ (ปีที่ ๖) เป็นการ สานต่อแนวความคิดและการด�ำเนินงานของปี ที่ผ่านมา โดยขยายผลสร้างการมีส่วนร่วมของ ภาคส่วนต่าง ๆ ของสังคมในการสร้างความรัก ความสามัคคีของคนในชาติ ด้วยการก�ำหนด หัวข้อการประกวดให้สอดรับกับสถานการณ์ ทางสังคมที่ต้องขับเคลื่อนร่วมกัน โดยในปี นี้ให้ความส�ำคัญกับ “การต่อต้านการทุจริต คอร์รัปชั่น” ซึ่งเป็นปัญหาใหญ่ของสังคมที่ จ�ำเป็นต้องให้ความร่วมมือกันแก้ปัญหาอย่าง เร่งด่วน ทั้งนี้การด�ำเนินโครงการได้ประสาน ความร่ ว มมื อ ร่ ว มกั บ ภาคส่ ว นต่ า ง ๆ อั น ประกอบด้วย สถาบันการศึกษา ทั้งจากส่วน กลางและส่วนภูมภิ าค ภาคสือ่ สารมวลชน ภาค เอกชน และ ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม โดย ส� ำ นั ก งานเลขานุ ก ารส� ำ นั ก งานปลั ด กระทรวงกลาโหม เป็นหน่วยงานหลักในการ ประสานงานและด�ำเนินการต่อกลุ่มเป้าหมาย เยาวชนในสถาบันการศึกษา ด้วยการปลูกฝัง แนวคิด ตลอดจนการสร้างส�ำนึกความรับผิด ชอบและการมีส่วนร่วมทางสังคมของเยาวชน ให้ร่วมแสดงออกผ่านกิจกรรมการประกวด ผลงานในรูปแบบต่าง ๆ

14

พันตรีหญิง สมจิตร พวงโต


การจั ด กิ จ กรรมการประกวด ความคิ ด สร้างสรรค์ต่าง ๆ ในหัวข้อ “คนรุ่นใหม่ ร่วม ต้ า นทุ จ ริ ต ” มี ก ลุ ่ ม เป้ า หมายเป็ น เยาวชน นั ก เรี ย น นิ สิ ต นั ก ศึ ก ษาทั่ ว ประเทศที่ อ ยู ่ ระหว่างการศึกษาอายุ ๑๖ - ๒๕ ปี ประกอบ ด้วย ๓ กิจกรรม ได้แก่ การประกวดโปสเตอร์ ประชาสัมพันธ์ สปอตโทรทัศน์ และสร้างสรรค์ บทเพลง โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อเปิดโอกาสให้ เยาวชนที่ มี ค วามสามารถได้ ถ ่ า ยทอดความ คิดและมุมมองการต่อต้าน การทุจริตอย่าง สร้างสรรค์ผ่านสื่อรณรงค์ที่โครงการก�ำหนด ทั้งนี้ ส�ำนักงานเลขานุการส�ำนักงานปลัด กระทรวงกลาโหมได้ประสานความร่วมมือ กับ สถาบันการศึกษา ภาคสือ่ สารมวลชน และภาค เอกชน ในการสนับสนุนการด�ำเนินโครงการ ดังกล่าว และ พลเอก สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์ รองปลัดกระทรวงกลาโหม กรุณาให้เกียรติ เป็ น ประธานในพิ ธี เ ปิ ด งานและแถลงข่ า ว โครงการฯ เมื่อวันอังคารที่ ๒๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗ ณ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติหอศิลปะ ถนนเจ้าฟ้า เขตพระนคร กรุงเทพ ฯ

หลักเมือง มิถุนายน ๒๕๕๗

15


การหวนกลับมาของ สหรัฐอเมริกา.. สิ่งที่ "ประชาคมอาเซียน" ต้องจับตามอง พันเอก ศนิ​ิโรจน์ ธรรมยศ

สิ่

งหนึ่งที่กลุ่มประเทศอาเซียนหรือ "สมาคมประชาชาติ แ ห่ ง เอเชี ย ตะวันออกเฉียงใต้" ก�ำลังจับตามอง อยู ่ ใ นขณะนี้ คื อ การหวนกลั บ มาสู ่ ภู มิ ภ าค นี้ของสหรัฐอเมริกา เพราะการหวนกลับมา 16

ในครั้งนี้ย่อมมีผลกระทบทั้งในด้านบวกและ ด้านลบต่อการรวมตัวเป็นประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) อย่างแน่นอน ทั้งนี้ เพราะปั จ จุ บั น รั ฐ บาลสหรั ฐ ฯ ได้ ก� ำ หนด นโยบาย "ปรับสมดุล" (Rebalancing Policy) ภายหลังจากทีท่ มุ่ เททรัพยากรจ�ำนวนมากมาย มหาศาลไปยั ง ภู มิ ภ าคตะวั น ออกกลางและ อัฟกานิสถาน ภายหลังจากเหตุการณ์ ๙/๑๑

ในปี พ.ศ.๒๕๔๔ ส่งผลให้ละเลยความสัมพันธ์ กับประเทศต่าง ๆ ในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิค นโยบายการปรับสมดุลในครั้งนี้ แม้สหรัฐฯ จะพยายามชี้แจงหลายครั้งว่า มิได้ต้องการ ควบคุมหรือถ่วงดุลอ�ำนาจกับจีน ที่นับวันจะมี อิทธิพลทั้งด้านการเมือง การทหาร เศรษฐกิจ และสังคมเพิ่มมากขึ้นในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิค หากแต่ ส หรั ฐ ฯ ต้ อ งการร่ ว มมื อ กั บ จี น และ ประเทศในภูมภิ าคนีใ้ นการพัฒนาความร่วมมือ ด้ า นต่ า ง ๆ โดยเฉพาะความร่ ว มมื อ ทาง ด้ า นการปฏิ บั ติ ก ารด้ า นมนุ ษ ยธรรมและ บรรเทาภัยพิบัติ ตลอดจนด้านการต่อต้านการ พันเอก ศนิ​ิโรจน์ ธรรมยศ


ก่ อ การร้ า ยซึ่ ง ถื อ เป็ น ผลประโยชน์ ร ่ ว มกั น (common interests) ของทุกประเทศและ เป็ น ขอบเขตที่ ทุ ก ประเทศสามารถร่ ว มมื อ กันได้โดยปราศจากความหวาดระแวงซึ่งกัน และกัน อย่างไรก็ตาม การที่สหรัฐฯ หวนกลับเข้า มามีบทบาทอีกครั้งในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิค มีสิ่งบ่งชี้ว่าสหรัฐฯ ก�ำลังมุ่งใช้อ�ำนาจในเชิง อ่อนโยน (soft power) แทนการแทรกแซง ทางการทหารเหมื อ นที่ เ คยเป็ น มาในอดี ต เพื่อหาหนทางปิดกั้นการแผ่ขยายของอ�ำนาจ ของจี น โดยอาศั ย ภารกิ จ การปฏิ บั ติ ก าร ด้ า นมนุ ษ ยธรรมและการบรรเทาภั ย พิ บั ติ เป็นเครื่องมือหลัก เริ่มจากการใช้ข้อตกลงใน ระดับทวิภาคี (bilateral agreement) กับ ประเทศพันธมิตรดั้งเดิมไม่ว่าจะเป็นญี่ปุ่นหรือ ฟิลิปปินส์ เป็นจุดเริ่มต้นในการประสานความ ร่วมมือ เช่น การปฏิบตั งิ านร่วมกันกับกองก�ำลัง ป้องกันตนเองของญี่ปุ่นในกรณีภัยพิบัติจาก แผ่นดินไหวและสึนามิ ภายใต้ชื่อ “ยุทธการ โทโมดาชิ” (Operation TOMODACHI) และ ปฏิ บั ติ ภ ารกิ จ ร่ ว มกั บ กองทั พ ฟิ ลิ ป ปิ น ส์ ใ น กรณีพายุซุปเปอร์ไต้ฝุ่น "ไห่เยี่ยน" โดยส่งเรือ บรรทุกเครื่องบิน "ยูเอสเอส จอร์ช วอชิงตัน"

หลักเมือง มิถุนายน ๒๕๕๗

(USS George Washington) เดินทางน�ำ ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมเข้าไปในพื้นที่ ประสบภัยเกือบจะในทันที ท�ำให้สามารถคาด การณ์ได้ว่าในอนาคตอันใกล้นี้ สหรัฐฯ จะยัง คงแสวงหาความร่วมมือในด้านการปฏิบัติการ เพือ่ มนุษยธรรมและบรรเทาภัยพิบตั ใิ นภูมภิ าค เอเชียแปซิฟิคต่อไป เพื่อเป็นช่องทางในการ เพิ่มบทบาทของตนเองให้มากขึ้นตามนโยบาย "ปรับสมดุล" ดังที่กล่าวมาข้างต้น

นอกจากการใช้ ภั ย พิ บั ติ แ ละการปฏิ บั ติ การด้านมนุษยธรรมเป็นหนทางในการหวน กลับคืนสู่ภูมิภาคนี้แล้ว สหรัฐฯ ยังมุ่งพัฒนา ความสั ม พั น ธ์ ด ้ า นการทหารกั บ ประเทศ พันธมิตรดั้งเดิมอย่างเห็นได้ชัด โดยเฉพาะ ความสัมพันธ์ระหว่างฟิลิปปินส์และสหรัฐฯ ทั้งนี้เพื่อสนับสนุนฟิลิปปินส์ในกรณีข้อพิพาท กับจีนเหนือหมู่เกาะสแปรตลีในทะเลจีนใต้ โดยเมื่อเดือนสิงหาคม พ.ศ.๒๕๕๔ สหรัฐฯ ได้มอบเรือตรวจการณ์ชายฝั่ง "เกรโกริโอ เดล พิลา่ ร์" และเรือตรวจการณ์ชายฝัง่ อีกล�ำหนึง่ ให้ กับกองทัพเรือฟิลิปปินส์ ท�ำให้เรือ "เกรโกริโอ เดล พิล่าร์" กลายเป็นเรือที่ใหญ่และทันสมัย ที่สุดในกองทัพเรือฟิลิปปินส์ขณะนี้ ส่ ว นความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งสหรั ฐ ฯ และ เวียดนาม ซึ่งเคยเป็นคู่สงครามในสมัยสงคราม เวี ย ดนามนั้ น สหรั ฐ ฯ ก็ หั น กลั บ ไปฟื ้ น ฟู ความสัมพันธ์ด้วยเช่นกัน ทั้งนี้เพราะสหรัฐฯ ตระหนักดีว่าจีนได้กลายเป็นภัยคุกคามส�ำคัญ ของเวียดนามในกรณีความขัดแย้งที่หมู่เกาะ พาราเซลและหมู ่ เ กาะสแปรตลี โดยเมื่ อ ปี พ.ศ.๒๕๕๕ สหรัฐฯ และเวียดนามได้ลง นามในแผนความร่วมมือทางด้านความมั่นคง ๕ ด้านประกอบด้วย ความมั่นคงทางทะเล,

17


การปฏิ บั ติ ก ารค้ น หาและกู ้ ภั ย , การปฏิ บั ติ การเพื่ อ สั น ติ ภ าพ, การปฏิ บั ติ ก ารเพื่ อ มนุษยธรรม และการบรรเทาภัยพิบัติ อีกทั้ง เมื่อประธานาธิบดีเตรือง ตัน ซัง (Truong Tan Sang) ของเวียดนามเดินทางไปเยือนสหรัฐฯ และได้เข้าพบประธานาธิบดีบารัก โอบามา ของสหรัฐฯ เมื่อเดือนกรกฎาคม พ.ศ.๒๕๕๖ ที่ ผ ่ า นมาได้ ท� ำ ให้ ค วามสั ม พั น ธ์ ข องทั้ ง สอง ประเทศกระชับแน่นแฟ้นมากยิ่งขึ้น จนถึงกับ มีการคาดการณ์กนั ว่าความสัมพันธ์ของทัง้ สอง ประเทศอาจจะได้รับการยกระดับเป็นหุ้นส่วน ทางยุทธศาสตร์ในอนาคตอันใกล้นี้ก็เป็นได้ ทางด้านความสัมพันธ์กับลาวซึ่งถือว่าเป็น ประเทศหนึ่งที่มีความใกล้ชิดกับจีนเป็นอย่าง มากนัน้ นางฮิลลารี่ คลินตัน (Hillary Clinton) เมือ่ ครัง้ ด�ำรงต�ำแหน่งรัฐมนตรีวา่ การกระทรวง ต่างประเทศของสหรัฐฯ ได้เดินทางมาเยือน ลาวเมื่อวันที่ ๑๑ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๕๕ นับ เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงต่างประเทศของ สหรัฐฯ คนแรกที่เยือนลาวในรอบ ๕๘ ปี การ เดินทางมาในครั้งนี้ สหรัฐฯ ได้เสนอการช่วย เหลื อ เพื่ อ พั ฒ นาและฟื ้ น ฟู ค วามสั ม พั น ธ์ กั บ ลาวใน ๒ ประเด็นหลักคือ ประการแรก การ ท�ำลายระเบิดจ�ำนวนมากมายมหาศาลสมัย 18

สงครามเวียดนามที่ยังหลงเหลืออยู่ในดินแดน ลาว โดยเฉพาะระเบิด "คลัสเตอร์" (Cluster) จ�ำนวนนับล้านลูกที่คาดว่าประมาณ ๑ ใน ๓ ยังไม่ระเบิดและฝังตัวกระจัดกระจายอยู่ใน พื้นที่ป่าเขา และประการที่สอง คือการค้นหา ซากศพของทหารสหรัฐฯ ที่เสียชีวิตหรือหาย สาปสูญในการปฏิบัติภารกิจในดินแดนของ ลาวระหว่างสงครามเวียดนาม นอกจากนี้สหรัฐฯ ยังได้ให้การสนับสนุน ลาวในการเข้าเป็นสมาชิกองค์กรการค้าโลก อีกด้วย ภายหลังจากที่ลาวพยายามมาเป็น เวลานานกว่า ๑๕ ปีแล้วแต่ไม่ประสบความ ส�ำเร็จ การสนับสนุนของสหรัฐฯ ในครั้งนี้ส่ง ผลให้ลาวสามารถเข้าเป็นสมาชิกองค์กรการ ค้าโลกได้ในวันที่ ๒ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๕๖ ที่ผ่านมา ซึ่งจะส่งผลให้ลาวมีการพัฒนาด้าน เศรษฐกิจอย่างมากในอนาคต ส�ำหรับพม่าหรือ "เมียนม่าร์" นั้น ภายหลัง จากที่ประธานาธิบดีโอบามาเดินทางไปเยือน เมื่อวันที่ ๑๙ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๕๕ เพื่อมุ่ง เปลี่ยนแปลงธรรมชาติทางการเมืองของพม่า ได้ส่งผลให้พม่ามีการปรับบทบาทของตนเอง ชัดเจนมากขึ้นเรื่อย ๆ ทั้งในระดับการเมือง ภายในประเทศและการเมืองระหว่างประเทศ

ดังจะเห็นได้จากการประชุม "เสวนาแชงกรีลา" (Shangri-la Dialogue) ณ ประเทศ สิงคโปร์ในปีเดียวกันที่พลโท ลา มิน (Hla Min) รัฐมนตรีกลาโหมของพม่าได้เปิดเผยต่อ ที่ประชุมถึงโครงการพัฒนานิวเคลียร์และการ พัฒนาอาวุธปล่อยน�ำวิถีแบบพื้นสู่อากาศของ พม่าว่าได้ยุติลงไประยะหนึ่งแล้ว อีกทั้งเมื่อ วันที่ ๒๒ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๕๕ ประธานาธิบดี เต็ง เส่ง แห่งพม่า ก็ได้ลงนามในข้อตกลงกับ ส�ำนักงานพลังงานปรมาณูระหว่างประเทศ หรือ ไอเออีเอ (IAEA : International Atomic Energy Agency) ซึ่ ง จะส่ ง ผลให้ พ ม่ า ต้ อ ง เปิดเผยข้อมูลนิวเคลียร์ทั้งหมดต่อไอเออีเอ เพื่อแสดงให้เห็นว่ารัฐบาลพม่าไม่มีโครงการ ที่จะผลิตอาวุธนิวเคลียร์ด้วยความช่วยเหลือ จากเกาหลีเหนือตามที่สหรัฐฯ และประเทศ ตะวันตกกล่าวอ้าง รวมทั้งพม่ายังได้ประกาศ ลดความสัมพันธ์กับเกาหลีเหนือลง ภายหลัง จากทีเ่ คยถูกกล่าวหาว่าทัง้ สองประเทศมีความ ร่วมมือทางด้านการทหารอย่างใกล้ชิด ความ เปลี่ยนแปลงเหล่านี้แสดงให้เห็นว่า การรุก ทางการทูตของสหรัฐฯ ดังกล่าวท�ำให้พม่ามี การเปลีย่ นแปลงพฤติกรรมของตนเองเพือ่ ก้าว ไปสูค่ วามยอมรับของนานาประเทศมากขึน้ อีก พันเอก ศนิ​ิโรจน์ ธรรมยศ


ทั้งยังส่งผลให้จีนสูญเสียความเป็นมหาอ�ำนาจ "ผูกขาด" ในพม่าลงอย่างเกือบจะสิ้นเชิง ทางด้ า นความสั ม พั น ธ์ ข องสหรั ฐ ฯ และ สิงคโปร์ ซึง่ นับเป็นพันธมิตรใกล้ชดิ และถือเป็น หุ้นส่วนด้านความมั่นคง (Security Partner) ระหว่างกัน สหรัฐฯ ก็ได้ขายเครื่องบินขับไล่ อเนกประสงค์แบบ ลอคฮีด มาร์ติน เอฟ-๓๕ (Lockheed Martin F-35) ซึ่งเป็นเครื่องบิน ขับไล่ยุคที่ ๕ (Fifth Generation) ของตนให้ กับกองทัพอากาศสิงคโปร์ ภายหลังจากที่ร่วม กันพัฒนาเครื่องบินขับไล่นี้มาตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๔๖ โดยความสนใจในการสั่งซื้อเครื่องบิน ขับไล่แบบ เอฟ-๓๕ ของสิงคโปร์เกิดขึ้นเพียง ไม่กี่สัปดาห์ หลังจากที่จีนได้เผยโฉมเครื่องบิน ขับไล่แบบ เจ-๓๑ (J-31) ซึ่งถูกออกแบบมา เพื่อแข่งขันกับเครื่องบินขับไล่แบบ เอฟ-๓๕ โดยเฉพาะ ดังที่ผู้เชี่ยวชาญด้านความมั่นคง คนหนึ่งของสหรัฐฯ กล่าวว่า ".. ทุกครั้งที่จีน ทดลองเครื่ อ งบิ น ขั บ ไล่ รุ ่ น ใหม่ มั น จะเป็ น เสมือนโทรศัพท์ปลุก (wake-up call) ประเทศ ต่าง ๆ รวมทั้งประเทศสิงคโปร์ ..” นอกจากสหรัฐฯ จะขายเครื่องบินขับไล่ แบบ เอฟ-๓๕ ให้สงิ คโปร์เพือ่ ใช้ในการถ่วงดุลย์ กับจีนแล้ว สิงคโปร์ยงั ได้เปิดฐานทัพเรือ "ชางงี" (Changi Naval Base : CNB) ซึ่งเป็นฐานทัพ เรื อ ล่ า สุ ด ของกองทั พ เรื อ สิ ง คโปร์ ให้ เ ป็ น จุดเทียบเรือของกองเรือที่ ๗ ของกองเรือสหรัฐฯ ภาคพื้นแปซิฟิคที่ส่งเรือรบต่าง ๆ เช่น เรือ ยูเอสเอส ฟรีดอม (USS Freedom) ซึง่ มีวงรอบ ปฏิ บั ติ ภ ารกิ จ ในภู มิ ภ าคเอเชี ย แปซิ ฟ ิ ค เป็ น ระยะเวลา ๘ เดือนตามนโยบาย "ปรับสมดุล" ของสหรัฐฯ โดยเรือเหล่านี้ได้ใช้ฐานทัพเรือ ชางงี เ ป็ น ท่ า เที ย บเรื อ เพื่ อ เติ ม น�้ ำ มั น และ ส่งก�ำลังบ�ำรุงตลอดระยะเวลาที่ประจ�ำการ อยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ส่งผล

หลักเมือง มิถุนายน ๒๕๕๗

ให้ฐานทัพเรือชางงีของสิงคโปร์กลายเป็นจุด ยุทธศาสตร์ที่มีความส�ำคัญอีกแห่งหนึ่งของ สหรัฐฯ ในภูมิภาคแห่งนี้ไปโดยปริยาย ส� ำ หรั บ กั ม พู ช าซึ่ ง เป็ น ประเทศที่ จี น พยายามสร้างความสัมพันธ์อย่างแน่นแฟ้น ทัง้ การให้เงินกูร้ ะยะยาวในการจัดซือ้ เครือ่ งบิน เฮลิคอปเตอร์แบบ แซด-๙ จ�ำนวน ๑๒ เครื่อง และการมอบรถบรรทุกทหารและรถพยาบาล จ�ำนวน ๒๕๖ คันพร้อมทั้งเครื่องแบบทหาร จ�ำนวน ๕๐,๐๐๐ ชุด คิดเป็นมูลค่า ๑๔ ล้าน เหรียญสหรัฐฯ ให้กับกองทัพกัมพูชามาแล้ว ทั้ ง นี้ เ พราะจี น ต้ อ งการใช้ กั ม พู ช าเป็ น ฐาน ในการถ่ ว งดุ ล กั บ ประเทศสมาชิ ก อาเซี ย น อื่น ๆ ที่ถูกสหรัฐฯ รุกทางการทูตอย่างรุนแรง ซึ่ ง สหรั ฐ ฯ เองก็ พ ยายามเดิ น นโยบายสาน สัมพันธ์ดา้ นการทหารอย่างต่อเนือ่ งกับกัมพูชา เช่นกัน เช่น การฝึกร่วมทางด้านการแพทย์ ทหาร (Military Medicine) กับกองพลน้อย

ที่ ๓๑ (Brigade 31) ในปี พ.ศ.๒๕๕๐ และ บริ จ าครถบรรทุ ก ทางทหารจ� ำ นวน ๕ คั น และเครื่องปั่นไฟ ๑ เครื่องให้กับกองพลน้อย ดั ง กล่ า วเพื่ อ ใช้ ใ นภารกิ จ ของหน่ ว ยอี ก ด้ ว ย รวมทั้งสนับสนุนครูฝึกจากชุดส่วนแยกกอง ก�ำลังสหรัฐฯ ภาคพื้นแปซิฟิค (U.S. Pacific Command Augmentation Team : PAT) ประจ�ำประเทศกัมพูชา เพื่อสนับสนุนการฝึก ของกองก�ำลังรบพิเศษต่อต้านการก่อการร้าย แห่งชาติของกัมพูชาตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๕๒ เป็นต้นมา นอกจากนี้ยังสนับสนุน ยุทโธปกรณ์ตา่ ง ๆ เช่น อาวุธประจ�ำกาย, อาวุธ ประจ�ำหน่วย, อุปกรณ์สื่อสารเพื่อสั่งการและ ควบคุ ม บั ง คั บ บั ญ ชาและอุ ป กรณ์ เ ก็ บ กู ้ วั ต ถุ ระเบิด มูลค่ากว่า ๖ ล้านเหรียญสหรัฐฯ หรือ กว่า ๑๘๐ ล้านบาทให้กับกองก�ำลังดังกล่าว อีกด้วย จากทีก่ ล่าวมาข้างต้นเป็นเพียงตัวอย่างของ การหวนกลับคืนสู่ภูมิภาคเอเชียแปซิฟิคของ สหรัฐฯ เพื่อถ่วงดุลย์อ�ำนาจกับจีน นับจาก นี้ ต ่ อ ไปประเทศสมาชิ ก อาเซี ย นจ� ำ เป็ น ต้ อ ง วางบทบาทและนโยบายด้ า นความสั ม พั น ธ์ ระหว่ า งประเทศของตนเองให้ ชั ด เจนและ ละเอียดอ่อนมากยิ่งขึ้น เพราะอาเซียนก�ำลัง จะกลายเป็นเวทีแห่งการถ่วงดุลย์อ�ำนาจ ทั้งนี้ เพื่อหลีกเลี่ยงความขัดแย้งที่อาจจะเกิดขึ้น ทั้ง ในกลุ่มประเทศสมาชิกด้วยกันเองและความ ขัดแย้งกับประเทศมหาอ�ำนาจขั้วหนึ่งขั้วใดใน อนาคต

19


การประกาศแผนความมั่นคง ของญี่ปุ่น ส�ำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ ส�ำนักนโยบายและแผนกลาโหม

ลัง จากญี่ ปุ ่ นพ่า ยแพ้ ในสงคราม โลกครั้งที่ ๒ เมื่อปี พ.ศ.๒๔๘๘ อ�ำนาจและบทบาทของกองทัพ ญี่ ปุ ่ น ได้ ถู ก จ� ำ กั ด และควบคุ ม อย่ า งใกล้ ชิ ด ตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่ง ญี่ปุ่น ส่ง ผลกระทบโดยตรงต่อการก�ำหนดยุทธศาสตร์ ความมั่นคงแห่งชาติ และการด�ำเนินนโยบาย ความมั่นคงต่าง ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งนโยบาย ด้ า นการทหาร เป็ น ผลให้ ญี่ ปุ ่ น ไม่ ส ามารถ ก� ำ หนดยุ ท ธศาสตร์ แ ละนโยบายด้ า นความ มั่ น คงได้ อ ย่ า งอิ ส ระ เนื่ อ งจากจะเป็ น การ ขั ด แย้ ง กั บ รั ฐ ธรรมนู ญ ของญี่ ปุ ่ น ส่ ง ผลให้ 20

ที่ผ่านมานโยบายการรักษาความมั่นคงของ ญี่ปุ่นถูกจ�ำกัดให้อยู่ในกรอบของรัฐธรรมนูญ และแนวทางปฏิ บั ติ เ พื่ อ รั ก ษาความมั่ น คง ของญี่ ปุ ่ น ทั้ ง นี้ เมื่ อ ๑๗ ธั น วาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ นายชิ น โซ อาเบะ นายกรั ฐ มนตรี ญี่ปุ่น ได้ประกาศแผนความมั่นคงชุดใหม่ที่ ประกอบด้ ว ย ยุ ท ธศาสตร์ ค วามมั่ น คงแห่ ง ชาติ (National Security Strategy : NSS) โครงการป้ อ งกั น ประเทศระยะกลาง (Mid - Term Defense Program : MDP) และ แนวทางโครงการป้องกันประเทศ (National Defense Program Guideline : NDPG) ที่

หลายประเทศในภู มิ ภ าควิ ต กกั ง วลต่ อ ท่ า ที ของ ญี่ ปุ ่ น โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง สาธารณรั ฐ ประชาชนจีน (สปจ.) ที่ออกแถลงการณ์ต�ำหนิ แผนฯ ดั ง กล่ า วของ ญี่ ปุ ่ น ว่ า เป็ น ความ พยายามจะขยายอิทธิพลทางทหารในภูมิภาค สมุดปกขาวรายประจ�ำปี (Annual White Paper) ว่ า ด้ ว ยนโยบายความมั่ น คงของ ประเทศญี่ปุ่น (Defense of Japan 2013) ได้ระบุถึงสถานการณ์บริเวณคาบสมุทรเกาหลี สปจ. และสนธิ สั ญ ญาความมั่ น คงระหว่ า ง ญี่ปุ่น - สหรัฐอเมริกา (สหรัฐฯ) (Japan - U.S. Security Treaty) โดยกล่าวถึง การเดินทางไป ส�ำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ ส�ำนักนโยบายและแผนกลาโหม


ตรวจเยี่ยมหน่วยทหารต่าง ๆ อย่างต่อเนื่อง ของผู้น�ำสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชน เกาหลี (เกาหลีเหนือ) แสดงให้เห็นถึงการให้ ความส�ำคัญและความเป็นผู้ควบคุมกองทัพ อย่างเบ็ดเสร็จ จากพฤติกรรมที่ยั่วยุด้วยการ พัฒนาและทดลองอาวุธนิวเคลียร์ เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๕๖ รวมทั้งการยิงจรวดที่อ้างว่าเป็นการ ด�ำเนินการเพื่อกิจการดาวเทียมเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๕๕ ที่ผ่านมา ถือเป็นความก้าวหน้าทาง เทคโนโลยีในการพัฒนาอาวุธนิวเคลียร์อีกขั้น หนึ่งของเกาหลีเหนือที่ส่งผลกระทบต่อความ มั่นคงของภูมิภาคและของโลก ในขณะที่ สปจ. ได้แสดงบทบาทในระดับภูมภิ าคและระดับโลก โดยการปรั บ ปรุ ง กองทั พ ให้ มี ค วามทั น สมั ย อย่างรวดเร็ว และไม่เปิดเผยข้อมูลของอาวุธ ยุทโธปกรณ์ การเพิ่มกิจกรรมทางทหาร โดย เฉพาะด้านทะเลจีนตะวันออกบริเวณหมู่เกาะ เซนกากุ/เตียวหยู ที่ ญี่ปุ่น และ สปจ. ต่างอ้าง กรรมสิทธิ์ ท�ำให้เกิดการเผชิญหน้ากันหลาย ครั้ง ส่งผลให้เกิดความตึงเครียด กระทบต่อ ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศในภูมภิ าคเอเชีย ตะวั น ออกอย่ า งชั ด เจนซึ่ ง สนธิ สั ญ ญาความ มั่นคงระหว่าง ญี่ปุ่น - สหรัฐฯ จะเป็นส่วน ส� ำ คั ญ ที่ ท� ำ ให้ เ กิ ด ความมั่ น คงขึ้ น ในภู มิ ภ าค เอเชีย - แปซิฟิค โดยกองก�ำลังของสหรัฐฯ ที่ประจ�ำการอยู่ในภูมิภาคนี้ นอกจากจะร่วม ปกป้องญี่ปุ่นแล้ว ยังเป็นการป้องปรามที่ส่ง ผลต่อความมั่นคงในภูมิภาคด้วย นายชิ น โซฯ นายกรั ฐ มนตรี ญ่ี ปุ ่ น สั ง กั ด พรรค Liberal Democratic Party (LDP) ได้ รับชัยชนะจากการเลือกตั้งทั่วไป เมื่อปลายปี พ.ศ.๒๕๕๕ ได้ที่นั่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร หลักเมือง มิถุนายน ๒๕๕๗

จ�ำนวน ๒๙๔ ที่นั่ง จากทั้งหมด ๔๘๐ ที่นั่ง ระหว่างการหาเสียงเลือกตั้ง นายชินโซฯ ซึ่ง มีแนวคิดชาตินิยมได้ชูประเด็นให้ญี่ปุ่น กลับ มาเป็นประเทศที่เข้มแข็งทางด้านการทหาร เพื่อท�ำให้ดุลอ�ำนาจมีความเหมาะสมต่อการ ขยายอิทธิพลของ สปจ. และการคุกคามของ เกาหลี เ หนื อ นายชิ น โซฯ เข้ า รั บ ต� ำ แหน่ ง เมื่อ ๒๖ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๕๕ เป็นการเข้า รับต�ำแหน่ง นายกรัฐมนตรีครั้งที่สอง (ครั้ง แรกระหว่างปี พ.ศ.๒๕๔๙ - ๒๕๕๐) และได้ กล่าวสุนทรพจน์เมื่อ ๑ มกราคม พ.ศ.๒๕๕๗ สรุ ป ได้ ว ่ า รั ฐ ธรรมนู ญ ญี่ ปุ ่ น ฉบั บ ปั จ จุ บั น

ที่ ป ระกาศใช้ ม าตั้ ง แต่ สิ้ น สุ ด สงครามโลก ครัง้ ที่ ๒ อาจได้รบั การแก้ไขในอีก ๖ ปีขา้ งหน้า (ภายในปี พ.ศ.๒๕๖๓) เพื่อให้ญี่ปุ่น สามารถ ฟื้นฟูสถานะได้อย่างสมบูรณ์และจะเป็นก�ำลัง ส�ำคัญในการสร้างสันติภาพ เสถียรภาพ ทั้งใน ระดับภูมิภาคและระดับโลก การที่ญี่ปุ่น จะยก ระดับกองก�ำลังป้องกันตนเองเป็นกองทัพจะ เป็นการสร้างดุลอ�ำนาจและความมีเสถียรภาพ ให้แก่เอเชีย สอดคล้องกับการประชุมรัฐมนตรี ว่าการกระทรวงกลาโหม และ รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงการต่างประเทศ สหรัฐฯ - ญี่ปุ่น เมื่อ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๕๖ ณ กรุงโตเกียว ที่ ทั้งสองฝ่ายได้ประกาศยกระดับความร่วมมือ ด้านการป้องกันประเทศระหว่างกัน โดยจะ ทบทวนแนวทางปฏิ บั ติ ข องความร่ ว มมื อ ที่ ผ่านมา จะให้ความส�ำคัญกับการป้องกันภัย คุกคามต่อความมั่นคงทางไซเบอร์ รวมทั้งจะ น�ำระบบเรดาร์ป้องกันขีปนาวุธไปติดตั้ง ที่ ฐานทัพอากาศทางตะวันตกของญี่ปุ่น ทั้งนี้ สหรัฐอเมริกา มีจดุ มุง่ หมายทีจ่ ะสร้างพันธมิตร ที่สมดุลและมีศักยภาพมากยิ่งขึ้น ยุทธศาสตร์ความมั่นคงแห่งชาติของญี่ปุ่น มีจุดมุ่งหมายเพื่อการดูแลรักษาความสงบสุข และความมั่นคง รวมทั้งการสร้างความมั่นใจ ในความอยู่รอดปลอดภัยเป็นความรับผิดชอบ ของรัฐบาล ซึ่งญี่ปุ่นได้ให้ความส�ำคัญกับผล ประโยชน์ ข องชาติ ใ นระยะยาว สนั บ สนุ น การสร้ า งสั น ติ ภ าพ เสถี ย รภาพ และความ เจริญรุ่งเรืองของภูมิภาค ทั้งนี้ เพื่อสามารถ บรรลุวัตถุประสงค์ดังกล่าว ญี่ปุ่นควรด�ำเนิน บทบาทเชิงรุกผ่านนโยบาย “สันติวิธีเชิงรุก” (Proactive Contribution to Peace) ภายใต้

21


ความร่วมมือกับนานาชาติ ทั้งทางการทูตและ การป้องกันประเทศ ส่งเสริมมาตรการต่าง ๆ อย่ า งครอบคลุ ม และมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ สร้ า ง ความเข้าใจอย่างถ่องแท้ในการด�ำเนินนโยบาย ทั้งภายในและต่างประเทศ รวมทั้งขยายความ ร่วมมือในหลากหลายมิติอย่างเหมาะสม โดยมี สภาความมั่นคงแห่งชาติ (National Security Council) เป็นหน่วยประเมินและทบทวน เพื่อ ปรับปรุงยุทธศาสตร์ให้สอดคล้องกับสภาวะ แวดล้อมด้านความมัน่ คงทีเ่ ปลีย่ นแปลงไปจาก บทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญและแนวทางปฏิบัติ เพือ่ รักษาความมัน่ คงของญีป่ นุ่ ทีผ่ า่ นมา ส่งผล ให้การใช้ก�ำลังในการป้องกันประเทศเป็นไป อย่างจ�ำกัดอยู่ในลักษณะของมาตรการเชิงรับ และส่งผลโดยตรงต่อการก�ำหนดยุทธศาสตร์

22

ด้านความมั่นคงมาโดยตลอด ทั้งนี้จากสภาวะ แวดล้อมและภัยคุกคามด้านความมั่นคงที่เกิด ขึ้น ทั้งจากการแผ่อิทธิพลและปัญหาความขัด แย้งเรื่องการอ้างกรรมสิทธิ์ในทะเลจีนตะวัน ออก กับ สปจ. รวมทั้งปัญหาอาวุธนิวเคลียร์ เกาหลีเหนือ ประกอบกับปัจจุบัน สหรัฐฯ ซึ่ง เป็นพันธมิตรที่ใกล้ชิดประกาศยกระดับความ ร่วมมือด้านการป้องกันประเทศกับญี่ปุ่น ดัง นั้น จึงเป็นห้วงเวลาที่ผู้น�ำญี่ปุ่นที่มีแนวคิด ชาติ นิ ย ม เห็ น ว่ า ญี่ ปุ ่ น ควรจะมี ยุ ท ธศาสตร์ ด้ า นความมั่ น คงที่ อ าจกล่ า วได้ ว ่ า เป็ น การ เปลี่ยนแปลงหลักนิยมในการป้องกันประเทศ ครั้ ง ส� ำ คั ญ เพื่ อ ให้ มี ค วามเหมาะสมกั บ ภั ย คุ ก คามที่ ญี่ ปุ ่ น เผชิ ญ อยู ่ ใ นขณะนี้ ด้ ว ยการ เสริมสร้างความเป็นพันธมิตรระหว่าง ญี่ปุ่น

กับสหรัฐฯ พัฒนาขีดความสามารถและเพิ่ม บทบาทของญี่ ปุ ่ น ในเวที ร ะหว่ า งประเทศ ตลอดจนเสริมสร้างความร่วมมือด้านความ มั่นคงกับมิตรประเทศ เพื่อน�ำมาซึ่งเสถียรภาพ และความสงบสุ ข ของประเทศต่ า ง ๆ โดย เฉพาะในภูมิภาคเอเชีย - แปซิฟิค การเพิม่ บทบาทและศักยภาพของกองก�ำลัง ป้องกันตนเองของญี่ปุ่น ถือได้ว่าเป็นความ ร่วมมือด้านความมั่นคงระหว่างสหรัฐอเมริกา กั บ ญี่ ปุ ่ น ที่ ส อดคล้ อ งกั บ ยุ ท ธศาสตร์ ก าร หวนคื น สู ่ ภู มิ ภ าคเอเชี ย - แปซิ ฟ ิ ก ของ สหรัฐอเมริกา แสดงให้เห็นถึงบทบาทที่ส�ำคัญ ของสหรัฐอเมริกา ต่อสถานการณ์ความมั่นคง ในภูมิภาคเอเชีย - แปซิฟิค ด้วยการเชื่อมโยง กองก� ำ ลั ง ของสหรั ฐอเมริ ก า กับ การพัฒ นา ศั ก ยภาพของกองก� ำ ลั ง ป้ อ งกั น ตนเองของ ญี่ปุ่น เพื่อเป็นการสกัดกั้นและป้องปรามการ แผ่อิทธิพลของ สปจ. ในภูมิภาค ทั้งนี้ มีความ เป็นไปได้ที่ สปจ. จะมีมาตรการตอบโต้ที่จะ ก่ อ ให้ เ กิ ด ความตึ ง เครี ย ดเพิ่ ม มากขึ้ น นอก เหนือจาก การประกาศเขตพิสูจน์ทราบการ ป้องกันภัยทางอากาศในทะเลจีนตะวันออก เมื่อ ๒๓ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๕๖ ที่ผ่านมา ยุทธศาสตร์ความมั่นคงแห่งชาติของญี่ปุ่น ได้ สร้างความวิตกกังวลต่อประเทศเพื่อนบ้านทั้ง สาธารณรัฐเกาหลี และ สปจ. ที่เป็นคู่ขัดแย้ง กรณีปัญหาการอ้างกรรมสิทธิ์เหนือหมู่เกาะใน ทะเลจีนตะวันออก ตลอดจนความหวาดระแวง ในการเพิม่ บทบาทของกองก�ำลังป้องกันตนเอง ของ ญี่ปุ่น อาจจะเป็นชนวนท�ำให้เกิดความขัด แย้งขนาดใหญ่

ส�ำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ ส�ำนักนโยบายและแผนกลาโหม


ทั้งนี้ ในการด�ำเนินยุทธศาสตร์ฯ ดังกล่าว ญี่ ปุ ่ น จะต้ อ งสร้ า งความเข้ า ใจ และความ ร่ ว มมื อ โดยใกล้ ชิ ด ระหว่ า งองค์ ก รต่ า ง ๆ ภายในประเทศ รวมทั้งหลีก เลี่ยงการสร้าง ปั ญ หาความขั ด แย้ ง กั บ ประเทศเพื่ อ นบ้ า น โดยไม่จ�ำเป็น ด้วยการให้ความส�ำคัญต่อการ เสริ มสร้างความร่วมมือด้านความมั่นคงกับ มิตรประเทศ เช่น รัสเซีย อินเดีย เครือรัฐ ออสเตรเลีย (อต.) และอาเซียน มากยิ่งขึ้น ความสัมพันธ์ระหว่างอาเซียน - ญี่ปุ่น ที่มี มาอย่างยาวนาน ครอบคลุมมิติต่าง ๆ ทั้งทาง ด้านการเมือง ความมั่นคง สังคม เศรษฐกิจ และวั ฒ นธรรม ในรู ป แบบของการจั ด ตั้ ง กองทุน การจัดท�ำความตกลงการค้าเสรี และ แผนยุทธศาสตร์ ความร่วมมือเศรษฐกิจ ๑๐ ปี ระหว่างอาเซียน - ญี่ปุ่น แสดงถึงการให้ความ ส�ำคัญในการพัฒนาความร่วมมือกับอาเซียน มาโดยล� ำ ดั บ และจากกรณี ก ารประกาศ ยุทธศาสตร์ความมั่นคงแห่งชาติของญี่ปุ่น เมื่อ ๑๗ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๕๖ ที่ผ่านมา แม้จะมี ความเสีย่ งต่อการขยายความขัดแย้งในภูมภิ าค เอเชียตะวันออกก็ตาม แต่ผลประโยชน์รว่ มกัน ทางเศรษฐกิจที่มีมูลค่าสูง ท�ำให้ประเทศต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องจะพยายามหลีกเลี่ยงความขัดแย้ง เพื่อรักษาไว้ซึ่งเสถียรภาพและความมั่นคงของ ภูมิภาค ทั้งนี้ญี่ปุ่นจะกระจายความเสี่ยงด้าน การค้าการลงทุนทางเศรษฐกิจของประเทศ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกมาสู่ภูมิภาคเอเชีย ตะวั น ออกเฉี ย งใต้ ม ากขึ้ น ซึ่ ง นั บ เป็ น ผล ประโยชน์ที่เกิดขึ้นโดยตรงต่ออาเซียน ดังนั้น อาเซียนควรแสดงบทบาทที่ชัดเจนในการเป็น แกนกลางสนับสนุนให้เกิดการเชื่อมโยงความ ร่วมมือด้านความมัน่ คงระหว่างญีป่ นุ่ กับประเทศ มหาอ�ำนาจอื่นทั้งในและนอกภูมิภาค รวมถึง การขยายกรอบความร่วมมือไปสู่ความร่วม มือด้านอื่น ๆ นอกกรอบอาเซียน ซึ่งจะท�ำให้ หลักเมือง มิถุนายน ๒๕๕๗

อาเซี ย นมี บ ทบาทมากขึ้ น กว่ า ที่ เ ป็ น อยู ่ ใ น เวทีโลก ส�ำหรับประเทศไทยทีญ ่ ปี่ นุ่ ให้การสนับสนุน ต่อการด�ำรงความเป็นศูนย์กลางของอาเซียน มาอย่างต่อเนือ่ ง และ ถูกกล่าวถึงในยุทธศาสตร์ ความมั่นคงแห่งชาติของญี่ปุ่นว่าประเทศไทย เป็ น หนึ่ ง ในเครื อ ข่ า ยพั น ธมิ ต รที่ ส� ำ คั ญ ต่ อ ความมั่นคงของญี่ปุ่นในภูมิภาค เช่นเดียวกับ สาธารณรัฐเกาหลี อต. และฟิลิปปินส์ จะต้อง ด� ำ รงการมี ป ฏิ สั ม พั น ธ์ กั บ ญี่ ปุ ่ น ทั้ ง ทางด้ า น เศรษฐกิจและความมั่นคงผ่านกิจกรรมต่าง ๆ อาทิ การช่วยเหลือด้านมนุษยธรรม การบรรเทา สาธารณภัย การวิจัยและพัฒนา การพัฒนา โครงสร้างพื้นฐาน เป็นต้น ทั้งนี้ ในการก�ำหนด บทบาท/ท่ า ที ต ้ อ งเป็ น ไปด้ ว ยความโปร่งใส ค�ำนึงถึงการรักษาสมดุลแห่งความสัมพันธ์ที่ ไม่ส่งผลกระทบต่อความไว้เนื้อเชื่อใจ หรือก่อ ให้เกิดความหวาดระแวงกับ สปจ. เพราะอาจ กล่าวได้วา่ ยุทธศาสตร์ความมัน่ คงแห่งชาติของ ญี่ปุ่นก็คือ ยุทธศาสตร์ความมั่นคงของสหรัฐฯ นั่นเอง 23


โทรทัศน์ดิจิตอล พันเอก วรชัย อินทะกนก

กิ

จ การโทรทั ศ น์ แ ละวิ ท ยุ ข อง ประเทศไทย มี แ ผนการเปลี่ ย น ระบบการรั บ สั ญ ญาณโทรทั ศ น์ จากระบบอนาล็ อ กเป็ น ระบบดิ จิ ต อลในปี ที่ผ่านมา โดยมีเป้าหมายให้ ๒๒ ล้านครัว เรือนสามารถรับชมสัญญาณ และปิดระบบ อนาล็อกลงในปี พ.ศ.๒๕๖๐ ทั้งนี้เพื่อให้มีการ ใช้คลื่นความถี่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และ จัดแบ่งให้ภาคประชาชนได้ใช้คลื่นความถี่ใน กิจการโทรทัศน์ตามเจตนารมณ์ของกฎหมาย ซึ่ ง คณะกรรมการกิ จ การกระจายเสี ย งและ กิจการโทรทัศน์ (กสท.) ได้แบ่งช่องโทรทัศน์ ออกเป็ น ๔๘ ช่ อ ง ซึ่ ง ประกอบด้ ว ยช่ อ ง ธุรกิจ ๒๔ ช่องบริการ (ได้จากการประมูล) ช่ อ งบริ ก ารสาธารณะ และบริ ก ารชุ ม ชน อย่างละ ๑๒ ช่อง (ได้จากการยื่นค�ำขอโดยมี หลักเกณฑ์ตามที่ กสทช. ก�ำหนด) คณะกรรมการกิ จ การกระจายเสี ย งและ กิจการโทรทัศน์ (กสท.) ได้เริ่มทดลองทดสอบ การออกอากาศทีวีดิจิตอล ๒๔ ช่อง ซึ่งเป็น ทางเลือกใหม่ให้กับประชาชนแล้วเมื่อวันที่ ๑ เม.ย.๕๗ ที่ผ่านมา มีก�ำหนดเวลาทดสอบ สั ญ ญาณจ� ำ นวน ๒๔ วั น และในวั น ที่ ๒๕ เม.ย. กสท. จะออกใบอนุญาตทีวีดิจิตอลให้ แต่ ล ะช่ อ งไปด� ำ เนิ น การออกอากาศตามผั ง ทีเ่ สนอภายใน ๓๐ วัน โดยในวันที่ ๒๕ พ.ค. ๕๗ จะเป็นการเริ่มออกอากาศอย่างเป็นทางการ ส�ำหรับพื้นที่ครอบคลุมในการออกอากาศ นั้น ภายในปี ๕๗ จะครอบคลุม ๒๓ จังหวัด ส่วนในปี ๕๘ จะมีโครงข่ายครอบคลุมพื้นที่ 24

๓๙ จังหวัด และถึงปี ๕๙ จะครอบคลุมพื้นที่ ประมาณร้อยละ ๙๕ ของจ�ำนวนประชากร ของประเทศไทย ในส่วนของโครงข่ายที่ให้บริการ จ�ำนวน ๕ โครงข่าย ซึ่งประกอบด้วยช่อง ๕ ที่ได้รับ ใบอนุญาต ๒ โครงข่าย ไทยพีบีเอส อสมท. และกรมประชาสัมพันธ์อย่างละ ๑ โครงข่าย

กสท. ก� ำ หนดให้ ทุ ก โครงข่ า ยจะต้ อ งเริ่ ม ให้บริการได้ตั้งแต่วันที่ ๑ เม.ย. เป็นต้นไป และด้ ว ยกฎ Must Carry (การเผยแพร่ สั ญ ญาณทางเคเบิ้ ล หรื อ ดาวเที ย ม) ซึ่ ง จะมี ผลบังคับใช้ควบคู่กัน ทางบริษัทไทยคม ได้ จัดเรียง ๓๖ ช่องทีวีดิจิตอล เพื่อให้ผู้ชมใน ระบบ C-Band สามารถรับชมได้ พันเอก วรชัย อินทะกนก


ดิจิตอลทีวี คือระบบการส่งสัญญาณ แบบใหม่ที่ใช้ระบบดิจิตอลในการส่ง และ รับสัญญาณจากเสาส่งไปยังทีวีตามบ้าน

วิธีที่ 1

แค่ซื้อกล่อง

DVB-T2 Set-top Box มาติดตั้งคู่กับทีวีเดิมแค่นี้ ก็ดูได้แล้วล่ะคร้าบบ

วิธีที่ 2

ภาพและเสียงที่เราเห็นจึงคมชัดกว่าเดิมหลายเท่า แถมมีช่องเพิ่มให้ดูฟรีทีวีกันถึง 48 ช่อง

ท�ำไมเราต้องเปลี่ยน?

ด้วยข้อตกลงของกลุ่มสมาชิก AEC ประเทศไทยจึง ต้องเริ่มใช้ดิจิตอลทีวี เหมือนประเทศอื่น ๆ

ต่างกับระบบเดิมซึ่งเป็น ระบบอนาล็อก ยิ่งไกล จุดส่งสัญญาณ ความคมชัดของภาพก็จะลดลง และมีปัญหาสัญญาณรบกวน

แล้วต้องเปลี่ยนเลยป่ะ?

ถ้าติดตั้งจานดาวเทียม อยู่แล้วก็รับสัญญาณดิจิตอล ได้ทันทีและจะมีช่องทีวี เพิ่มขึ้น 48 ช่อง

วิธีที่ 3 ซื้อทีวีรุ่นใหม่ ที่มีตัวรับสัญญาณ Digital Tuner DVB-T2 ในตัว ก็สามารถรับสัญญาณได้โดยตรง

โดยจะส่งสัญญาณคู่กับระบบเดิมต่อไป และเลิกใช้ระบบ อะนาล็อกแบบถาวร ในปี พ.ศ.2563 หรือจนกว่าจะ สามารถรับสัญญาณดิจิตอลได้ครบ 100% นะครับ

การเลือกรับชมโทรทัศน์ดิจิตอลมี ๓ ทาง เลือกคือ ๑. ทีวีรุ่นเดิม + กล่องรับสัญญาณระบบ ดาวเที ย มไทยคมหรื อ เคเบิ้ ล ที่ มี อ ยู ่ แ ล้ ว จะ สามารถรับได้เลย โดยดึงสายสัญญาณออก แล้วเสียบเข้าไปใหม่เพื่อให้กล่องท�ำการเรียง ช่องสัญญาณและรับชมทีวีดิจิตอลได้ ๒. ทีวีระบบเดิม + กล่องรับสัญญาณ Set Top Box (DVB T2) + เสาหนวดกุ้งหรือก้าง ปลาที่มีอยู่เดิม ๓. ที วี รุ ่ น ใหม่ ซึ่ ง เป็ น ระบบดิ จิ ต อลแล้ ว (IDTV: DVB-T2) + เสาหนวดกุ้งหรือก้างปลา กสทช. มี แ ผนที่ จ ะจั ด สรรช่ อ งบริ ก าร สาธารณะ ประเภทที่ ๒ เพื่อความมั่นคงของ รัฐ (ช่อง ๘) ให้กับ กห. ที่มีอ�ำนาจหน้าที่ ตามกฎหมายดังต่อไปนี้

๑. การพิ ทั ก ษ์ รั ก ษา ปกป้ อ งสถาบั น พระมหากษัตริย์ ๒. การพิทักษ์รักษาเอกราชอธิปไตย และ บูรณภาพแห่งดินแดน ๓. การรักษาความสงบเรียบร้อยภายใน ประเทศ ทั้ ง นี้ กรมเทคโนโลยี ส ารสนเทศและ อวกาศกลาโหม ได้ เ ตรี ย มความพร้ อ มทั้ ง บุคลากร การดูงานสถานีโทรทัศน์ช่องต่าง ๆ ฝึ ก อบรมการผลิ ต รายการ จั ด เตรี ย มห้ อ ง Studio รวมถึงร่วมหารือแลกเปลี่ยนความรู้ กับองค์กรที่มีประสบการณ์เกี่ยวกับทีวีดิจิตอล และประสานงานอย่างใกล้ชิดกับ ททบ.๕ ใน การเป็นพี่เลี้ยงจัดตั้งสถานี เพื่อรองรับการเป็น เจ้าของสถานีโทรทัศน์ดิจิตอลเพื่อความมั่นคง ของรัฐในอนาคตตามที่ กสทช. ก�ำหนด ซึง่ การ มีช่องสถานีโทรทัศน์เพื่อความมั่นคง จะเป็น ศักยภาพของเหล่าทัพ มีเป้าหมายที่จะน�ำมา ใช้เป็นเครื่องมือในการปลูกฝังจิตส�ำนึกและ อุดมการณ์ให้กับเยาวชนและคนในชาติให้มี ส่วนร่วม โดยมีกระทรวงกลาโหม เป็นหลัก ในการบังคับทิศทาง และใช้เป็นเครื่องมือใน การแปลงยุ ท ธศาสตร์ ไ ปสู ่ ก ารปฏิ บั ติ อ ย่ า ง มีประสิทธิภาพ ทั้งนี้ กสทช. ได้ก�ำหนดให้ ช่องความมั่นคงดังกล่าวยังเป็นเพียง ๑ ใน ๒ ช่อง ที่สามารถหารายได้เท่าที่เพียงพอต่อการ ประกอบกิจการ มีความคล้ายคลึงกับช่องธุรกิจ ที่ได้มาจากการประมูล

หลักเมือง มิถุนายน ๒๕๕๗

25


จิตส�ำนึกประชาธิปไตย พลตรี ชัยวิทย์ ชยาภินันท์

26

พลตรี ชัยวิทย์ ชยาภินันท์


สั

งคมไทยในปัจจุบัน ต่างกล่าวถึง ค� ำ ว่ า ประชาธิ ป ไตยในมุ ม มองที่ แตกต่ า งกั น โดยส่ ว นใหญ่ แ ล้ ว มั ก จะเป็ น การใช้ ว าทกรรมเพื่ อ สร้ า งความ ได้ เ ปรี ย บทางการเมื อ ง หรื อ ใช้ เ พื่ อ ฉกฉวย ประโยชน์ จ ากคนในชาติ แ ละประเทศชาติ จนน� ำ มาสู ่ ค วามขั ด แย้ ง ทางความคิ ด และ การแตกแยกของคนในสังคม ซ�้ำร้ายกว่านั้น ยังเป็นการเปิดโอกาสให้กลุ่มผู้ไม่หวังดีเข้า มาสร้างความวุ่นวายและสร้างความเสียหาย ให้แก่ประเทศ มี ค วามพยายามของนั ก เคลื่ อ นไหวที่ จะแสดงวาทกรรมว่ า ตนเองมี จิ ต ส� ำ นึ ก ใน ประชาธิปไตย โดยอ้างเหตุผลว่า ประชาธิปไตย คือผลพวงจากเสียงของประชาชนส่วนใหญ่ใน ประเทศที่ส่งผ่านทางกระบวนการเลือกตั้งจึง ท�ำให้สามารถเข้ามาบริหารราชการแผ่นดินได้ อย่างถูกต้อง ชอบธรรม จนไม่ได้ค�ำนึงถึงสิทธิ และเสียงของประชาชนส่วนน้อยที่ปราศจาก โอกาสในการแสดงออกต่อการบริหารราชการ แผ่นดิน จริงอยู่การที่ประชาชนส่วนใหญ่มอบความ ไว้วางใจในการเข้ามาบริหารราชการแผ่นดิน ท่านผู้นั้นพึงจะต้องมีความตระหนักในเรื่อง ความซื่อสัตย์สุจริต ความถูกต้องชอบธรรม ความโปร่งใส การรักษาประโยชน์ของพี่น้อง ประชาชนและรั ก ษาผลประโยชน์ ข องชาติ รวมทั้ ง จะต้ อ งมี ค วามรั บ ผิ ด ชอบต่ อ การ ปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ข องท่ า น ซึ่ ง สิ่ ง เหล่ า นี้ ถื อ เป็ น จริยธรรมขั้นพื้นฐานของนักการเมืองที่ดี อีก ทั้ง หากพิจารณาในลึกลงไปอีก การที่หลาย ท่านอาสาเข้ามาเป็นผู้แทนของปวงชนชาว ไทย สิ่งที่ถือว่าเป็นสัตยาบรรณในการปฏิบัติ หน้าที่คือการสร้างความเข้มแข็งให้แก่ประเทศ ควบคู่ไปกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตของพี่น้อง ประชาชนชาวไทยให้อยู่ในสถานะที่ดีมีเกียรติ มีศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ขั้นพื้นฐาน หลักเมือง มิถุนายน ๒๕๕๗

สิ่งส�ำคัญที่สุด ท่านจะต้องปฏิบัติภารกิจ ที่ท่านประกาศไว้ต่อพี่น้องประชาชน และจะ ต้องตระหนักในข้อสังเกตและข้อท้วงติงของ ประชาชนที่เป็นเสียงส่วนน้อย โดยจะต้อง วางภาวะจิตใจให้เป็นกลางกับระลึกไว้เสมอ ว่ า ข้ อ ท้ ว งติ ง นั้ น อาจมี เ หตุ ผ ล เพื่ อ เป็ น การ ปรับปรุงการปฏิบัติภารกิจให้บังเกิดความถูก ต้อง สมบูรณ์ และเป็นที่ยอมรับได้ของคนใน สังคมทุกฝ่าย เมื่อเป็นเช่นนี้ หน้าที่อันทรง เกียรติของท่านคือ การปฏิบตั หิ น้าทีต่ ามอาณัติ ที่ แ ถลงต่ อ ประชาชนและเปิ ด ใจให้ ก ว้ า งใน การรับทราบข้อท้วงติงเพื่อน�ำมาใช้ประโยชน์ ในการท� ำ หน้ า ที่ ข องผู ้ แ ทนปวงชนชาวไทย เพื่ อ ให้ บ รรลุ ถึ ง สั ต ยาบรรณที่ ท ่ า นได้ แ สดง ไว้ต่อสาธารณชน สิ่งนี้จึงถือว่าเป็นจิตส�ำนึก ประชาธิปไตยที่แท้จริง การแสดงวาทกรรมว่ า ท่ า นเป็ น ผู ้ ที่ ประชาชนส่วนใหญ่มอบความไว้วางใจเข้ามา ปฏิบัติงานแล้วจะท�ำสิ่งใดก็ได้โดยปราศจาก ความซื่อสัตย์สุจริต ปราศจากความถูกต้อง ชอบธรรม และมองข้ า มจริ ย ธรรมอั น พึ ง มี ของนักการเมือง จนสร้างความเสียหายแก่ เศรษฐกิจ สังคม และท�ำลายภาพลักษณ์อัน ดีของระบอบประชาธิปไตยในประเทศ โดย กล่ า วอ้ า งเสี ย งส่ ว นใหญ่ แ ละด� ำ เนิ น การที่ ปราศจากความซื่อสัตย์สุจริต กับไม่ค�ำนึงถึง เสียงส่วนน้อยที่ท้วงติงด้วยเหตุผล ซ�้ำยังดื้อดึง ที่จะเอาชนะคะคานโดยอ้างวลีว่า เป็นองค์กร ที่ประชาชนเลือกตั้งเข้ามา แล้วจะท�ำอะไรก็ได้ นั้น ก็ไม่ผิดกับลักษณะที่เรียกว่า พวกมากลาก ไป ซึ่งจะน�ำเข้าไปสู่วังวนของความแตกแยก ทางความคิ ด ที่ รุ น แรงมากขึ้ น จนเกิ ด เป็ น สามัคคีเภทหรือการแตกสามัคคีของประชาชน ในชาติที่รุนแรง หากยังถือว่า การกล่าวอ้างว่าเสียงส่วน ใหญ่ เ ป็ น การบรรลุ ค วามส� ำ เร็ จ และชั ย ชนะ ของคนในชาติที่อยู่ท่ามกลางซากปรักหักพัง ของบ้านเมืองและประเทศชาติ สิ่งนี้หรือคือ จิตส�ำนึกประชาธิปไตย ! 27


ดุลยภาพทางการทหารของประเทศอาเซียน

แนะน�ำอาวุธเพื่อนบ้าน เครื่องบินฝึกขั้นก้าวหน้า โจมตี ทีเอ-๕๐ พลเอก ทรงพล ไพนุพงศ์

28

พลเอก ทรงพล ไพนุพงศ์


อ งทั พ อากาศอิ น โดนี เ ซี ย เตรี ย ม การรั บ มอบเครื่ อ งบิ น ฝึ ก ไอพ่ น ขั้นก้าวหน้ารุ่นใหม่แบบ ทีเอ-๕๐ (TA-50 Golden Eagle) ชุดแรกในปี พ.ศ. ๒๕๕๗ ทีไ่ ด้จดั ซือ้ มาจากประเทศเกาหลีใต้ เมือ่ วันที่ ๒๕ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๕๔ จ�ำนวน ๑๖ เครื่อง เป็นเงิน ๔๐๐ ล้านเหรียญสหรัฐ เพื่อ จะประจ�ำการทดแทนเครื่องบินฝึกไอพ่นขั้น ก้าวหน้ารุน่ เก่าแบบ ฮอร์ค ๕๓ (Hawk Mk.53) ที่ประจ�ำการมาตั้งแต่ปี พ.ศ.๒๕๒๓ จ�ำนวน ๑๖ เครื่อง ผลิตจากประเทศอังกฤษ ประจ�ำ การที่ฝูงบิน ๑๕ ชวาตะวันออก เป็นฐานทัพ อากาศหลั ก ของกองทั พ อากาศอิ น โดนี เ ซี ย ประจ�ำการด้วยเครื่องบินทางทหารทันสมัย รวม ๓ ฝูงบิน ประกอบด้วย ฝูงบิน ๓ ประจ�ำ การเครื่องบินขับไล่ เอฟ-๑๖เอ/บี บลอค ๑๕ หลักเมือง มิถุนายน ๒๕๕๗

โอซียู, ฝูงบิน ๑๔ ประจ�ำการเครื่องบินขับไล่ เอฟ-๕อี/เอฟ และฝูงบิน ๑๕ เครื่องบินฝึก ไอพ่น ฮอร์ค ๕๓ ได้รับมอบเครื่องบินชุดแรก ในต้นปี พ.ศ.๒๕๕๗ เรียกว่าทีเอ-๕๐ไอ (TA50I) จนครบโครงการในปี พ.ศ.๒๕๕๘ เพื่อ ฝึกนักบินใหม่ให้ก้าวสู่เครื่องบินขับไล่รุ่นที่ทัน สมัยกว่าคือเอฟ-๑๖เอ/บี ประจ�ำการรวม ๑๐ เครื่อง และรอรับมอบเครื่องบินขับไล่ เอฟ๑๖ซี/ดี บลอค ๒๕ จ�ำนวน ๒๔ เครื่อง เป็น เครื่องบินเก่าของกองทัพอากาศสหรัฐอเมริกา ที่อินโดนีเซียต้องปรับปรุงใหม่เป็นเงิน ๗๕๐ ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา รอการรับมอบชุด แรกในปี พ.ศ.๒๕๕๘ เครื่องบินฝึกไอพ่นขั้นก้าวหน้าพัฒนาขึ้นใน ปี พ.ศ.๒๕๓๕ เรียกว่าโครงการเคทีเอ็กซ์-๒ (KTX-2) เพื่อทดแทนเครื่องบินฝึกไอพ่นรุ่นเก่า 29


ภาพกราฟิกส์ฐานทัพอากาศอินโดนีเซียที่ส�ำคัญทั้งที่เกาะชวา สุมาตรา และเกาะบอเนียว เป็นประเทศที่มีพื้นที่กว้างใหญ่และควบคุม  จุดยุทธศาสตร์ทางทะเลที่ส�ำคัญของโลก เครื่องบินรบจึงมีความส�ำคัญยิ่ง แบบที-๓๘ (T-38) และแบบเอ-๓๗ (A-37) ที่ ก�ำลังจะหมดอายุการใช้งาน ของกองทัพอากาศ เกาหลีใต้ (ROKAF) และเตรียมนักบินเพื่อจะ ท�ำการบินขับเครื่องบินขับไล่แบบเคเอฟ-๑๖ (KF-16) และเอฟ-๑๕เค (F-15K) เป็นการพัฒนา ร่วมกับสหรัฐอเมริกา (บริษัท ลอคฮีด มาร์ติน ถือหุ้นรวม ๑๓%) มีชื่อเรียกว่าที-๕๐ โกลเดน อีเกิล (T-50 Golden Eagle) เครื่องบินต้นแบบ ขึน้ ท�ำการบินครัง้ แรกเดือนสิงหาคม พ.ศ.๒๕๔๕ เครื่องบินฝึกไอพ่นชนิดสองที่นั่ง ที-๕๐ ข้อมูล ที่ส�ำคัญคือ เครื่องบินขนาดยาว ๑๓.๑๔ เมตร ช่วงปีก ๙.๔๕ เมตร สูง ๔.๙๔ เมตร น�้ำหนัก ปกติ ๖,๔๗๐ กิโลกรัม น�้ำหนักบินขึ้นสูงสุด ๑๒,๓๐๐ กิโลกรัม เครื่องยนต์ เทอร์โบแฟน จีอี เอฟ-๔๐๔ ให้แรงขับขนาด ๑๑,๙๒๕ ปอนด์ (ใช้สันดาปท้าย ๑๗,๗๐๐ ปอนด์ เครื่องยนต์ จีอี เอฟ ๔๐๔ บริษัท ซัมซุง เกาหลีใต้ ได้ซื้อลิขสิทธิ์ มาท�ำการผลิตในประเทศ) ความเร็วสูงสุด ๑.๕ มัค พิสัยบินไกล ๑,๘๕๑ กิโลเมตร เพดานบิน สูง ๑๔,๖๓๐ เมตร (48,000 ฟุต) และเรดาร์ เอเอ็น/เอพีจี-๖๗(AN/APG-67 ตรวจจับเป้า หมายในระยะ ๑๔๘ กิโลเมตร) แต่เพื่อผลทาง ด้านการตลาด ผูผ้ ลิตจึงได้เพิม่ ภารกิจใหม่ให้สามารถท�ำการ โจมตีเบาได้ ด้วยการติดตั้งระบบอาวุธเพิ่มคือ ปืนกลอากาศขนาด ๒๐ มิลลิเมตร(ชนิดสาม ล�ำกล้อง) ติดตั้งอาวุธภายนอกล�ำตัวได้ ๗ จุด (น�้ำหนักรวม ๓,๗๔๐ กิโลกรัม) ตามภารกิจ บินที่ได้รับมอบ ประกอบด้วยระเบิดมาตรฐาน แบบเอ็มเค.๘๒ ขนาด ๕๐๐ ปอนด์ และแบบ เอ็มเค.๘๓ ขนาด ๑,๐๐๐ ปอนด์) ลูกระเบิดแบบ เจแดม (JDAM น�ำวิถีด้วยระบบ จีพีเอส. ระยะ 30

เครือ่ งบินฝึกไอพ่นทีน่ งั่ คูข่ นั้ ก้าวหน้าแบบที-๕๐ โกลเดนอีเกิล (T-50 Golden Eagle) ที่พัฒนาร่วมกันของเกาหลีใต้กับสหรัฐอเมริกา ต่อมาได้ขายให้กับ อินโดนีเซีย อิรัก และ ฟิลิปปินส์ ไกลประมาณ ๒๘ กิโลเมตร มีด้วยกันหลาย ขนาดคือ ๕๐๐, ๑,๐๐๐ และ ๒,๐๐๐ ปอนด์) ภารกิ จ โจมตี ภ าคพื้ น ดิ น ติ ด ตั้ ง จรวดน� ำ วิ ถี โจมตีแบบเอจีเอ็ม-๖๕ มาเวอร์ริค (น�ำวิถีด้วย อินฟราเรด และแสงเลเซอร์ ระยะยิงไกล ๒๒ กิโลเมตร) ภารกิจต่อสู้ทางอากาศได้ติดตั้ง จรวดน�ำวิถีพิสัยใกล้ อากาศ-สู่-อากาศ แบบ เอไอเอ็ม-๙ ไซไวเดอร์ (น�้ำหนักรวม ๘๕.๓ กิโลกรัม หัวรบหนัก ๙.๔ กิโลกรัม น�ำวิถีด้วย

อินฟราเรด ความเร็ว ๒.๕ มัค และระยะยิงไกล ๑-๓๕ กิโลเมตร ขึ้นกับรุ่นของลูกจรวดน�ำวิถี ที่ใช้ยิง) พร้อมทั้งได้ติดตั้งเรดาร์ใช้ควบคุม การยิงแบบอีแอล/เอ็ม (EL/M-2032 น�้ำหนัก ๑๐๐ กิโลกรัม และระยะไกล ๑๕๐ กิโลเมตร) ปัจจุบันนี้เกาหลีใต้ได้ผลิตเครื่องบินฝึกไอพ่น ขั้นก้าวหน้าที-๕๐ (T-50) ประกอบด้วย ที-๕๐ (T-50) รวม ๕๐ เครื่อง, ทีเอ-๕๐(TA-50) รวม ๒๒ เครือ่ ง และเอฟเอ-๕๐ (FA-50) อยูร่ ะหว่าง พลเอก ทรงพล ไพนุพงศ์


เครือ่ งบินฝึกไอพ่นทีน่ งั่ คูข่ นั้ ก้าวหน้าแบบที-๕๐ (T-50) สามารถใช้ในภารกิจขับไล่เบาโดย  ติดตัง้ จรวดน�ำวิถี อากาศ-สู-่ อากาศ พิสยั ใกล้แบบ เอไอเอ็ม-๙ ไซไวเดอร์ ได้ ๒ นัด ทีป่ ลาย ปีกทั้งสองข้าง น�ำวิถีด้วยอินฟราเรด ความเร็ว ๒.๕ มัค และระยะยิงไกล ๑-๓๕ กิโลเมตร ผลิตให้กองทัพอากาศอิรัก รวม ๒๔ เครื่อง ราคา ๑.๑ พันล้านเหรียญสหรัฐ ที่ได้ลงนาม เมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ.๒๕๕๖ จะได้รับมอบ ในเดือนเมษายน พ.ศ.๒๕๕๙ เรียกว่า ที-๕๐ ไอคิว (T-50IQ) กองทัพอากาศเกาหลีใต้จดั ซือ้ เครือ่ งบินฝึก ไอพ่นขั้นก้าวหน้าแบบ ที-๕๐ ชุดแรกจ�ำนวน ๒๕ เครื่อง เมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ.๒๕๔๖ ได้รับมอบเครื่องบินระหว่างปี พ.ศ.๒๕๔๘ ๒๕๕๒ ต่อมาได้ปรับปรุงจากรุน่ ฝึกขัน้ ก้าวหน้า ให้เป็นรุ่นที่มีขีดความสามารถในการรบสูงขึ้น เป็นรุ่นขับไล่โจมตี (FA-50) จ�ำนวน ๔ เครื่อง เมื่อปี พ.ศ.๒๕๕๑ ในปี พ.ศ.๒๕๕๕ กองทัพ อากาศเกาหลีใต้ได้สั่งซื้อเครื่องบินรุ่นขับไล่ โจมตี เอฟ/เอ-๕๐ จ�ำนวน ๒๐ เครื่อง จะได้รับ มอบและจบโครงการในปี พ.ศ.๒๕๕๗ ปัจจุบัน นี้กองทัพอากาศเกาหลีใต้ประจ�ำการด้วย

เครื่องบิน รุ่น ที-๕๐ (T-50) รวม ๕๐ เครื่อง รุ่นที-๕๐บี (T-50B) รวม ๑๐ เครื่อง รุ่นที เอ-๕๐ (TA-50) รวม ๒๒ เครื่อง และรุ่น เอฟ เอ-๕๐ (FA-50) รวม ๖๐ เครื่อง (อยู่ระหว่าง การสั่งซื้อ) กองทัพอากาศฟิลิปปินส์มีโครงการจัดซื้อ เครื่องบินขับไล่รุ่นใหม่เข้าประจ�ำการจ�ำนวน หนึ่ ง ฝู ง บิ น เนื่ อ งจากขณะนี้ ก องทั พ อากาศ ฟิลิปปินส์ไม่มีเครื่องบินขับไล่ประจ�ำการ ปลด เครื่องบินขับไล่รุ่นเก่าแบบเอฟ-๕เอ/บี เมื่อ เดือนกันยายน พ.ศ.๒๕๔๘ ประกอบกับมีข้อ จ�ำกัดทางด้านงบประมาณ และมีข้อพิพาท ปัญหาหมู่เกาะสแปรตลีย์ (ในทะเลจีนใต้) กับ ประเทศเพื่อนบ้านอีก ๕ ประเทศ มีความ จ�ำเป็นเร่งด่วนของโครงการนี้ เมื่อวันที่ ๑๙ ตุ ล าคม พ.ศ.๒๕๕๖ ผู ้ น� ำ ทั้ ง สองประเทศ

เครือ่ งบินฝึกไอพ่นทีน่ งั่ คูข่ นั้ ก้าวหน้าที-๕๐ (T-50) ใช้สเี ทาพราง ด้านข้างติดตัง้ ลูกระเบิด  เพือ่ จะใช้ในภารกิจโจมตีภาคพืน้ ดิน พัฒนาเป็นรุน่ ขับไล่โจมตีเบาเอฟเอ-๕๐ (FA-50) ผลิต โดยบริษัท เคเอไอ (KAI: Korea Aerospace Industries) ประเทศเกาหลีใต้ คือเกาหลีใต้และฟิลิปปินส์ได้ลงนามเอ็มโอ ยู (MOU) กองทัพอากาศฟิลิปปินส์มีความ ต้องการเครื่องบินรุ่นเอฟ/เอ-๕๐ (F/A-50) จ�ำนวน ๑๒ เครื่อง ราคาประมาณ ๔๖๔ ล้าน เหรียญสหรัฐ กองทัพอากาศฟิลิปปินส์ลงนาม ในสัญญาสั่งซื้อเมื่อวันที่ ๒๘ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๗

เครือ่ งบินฝึกไอพ่นทีน่ งั่ คูข่ นั้ ก้าวหน้าที-๕๐ (T-50) เครือ่ งบินยาว ๑๓.๑๔ เมตร ช่วงปีก  ๙.๔๕ เมตร สูง ๔.๙๔ เมตร นำ�้ หนักบินขึน้ สูงสุด ๑๒,๓๐๐ กิโลกรัม เครือ่ งยนต์ เทอร์โบ แฟน จีอี เอฟ-๔๐๔ ให้แรงขับขนาด ๑๗,๗๐๐ ปอนด์ (ใช้สนั ดาปท้าย) ความเร็วสูงสุด ๑.๕ มัค พิสยั บิน ๑,๘๕๑ กิโลเมตรต่อชัว่ โมง และเพดานบินสูง ๑๔,๖๓๐ เมตร (๔๘,๐๐๐ ฟุต) หลักเมือง มิถุนายน ๒๕๕๗

31


The Immortal Hercules : C-130 ขีดความสามารถ และภารกิจที่เป็นอมตะของ Airlifer : C-130 From : Air Force Magazine,August 2004 Writer : Walter J.Boyne ผู้เรียบเรียง : นาวาอากาศเอก ปิยะพันธ์ ขันถม

32

นาวาอากาศเอก ปิยะพันธ์ ขันถม


วั

นที่ ๒๓ สิงหาคม ๑๙๕๔ เวลา ๑๔.๔๕ ช่วงบ่ายทีม่ หี มอกบาง ๆ ทีส่ นามบิน ทดสอบของ Lockheed เมื อ ง Burbank, Southern California เครื่องบิน ขนส่งต้นแบบ (Phototype) ของ ทอ.สหรัฐฯ ก�ำลังได้รับการบินทดสอบขีดความสามารถ ที่ ไ ด้ รั บ การออกแบบ เพื่ อ รองรั บ ภารกิ จ ของก�ำลังทางอากาศตามความต้องการของ ทอ.สหรัฐฯ ท่ามกลางความคาดหวังที่ค่อน ข้างมั่นใจของ Lockheed ว่า เครื่องบินขนส่ง ทางทหารแบบนี้จะต้องได้รับการตอบสนองที่ ดีและมียอดการสั่งสร้างจาก ทอ.สหรัฐฯ มาก ถึง ๑๐๐ ล�ำเลยทีเดียว เป็ น เรื่ อ งที่ ไ ม่ เ คยเกิ ด ขึ้ น มาก่ อ นใน ประวั ติ ก ารจั ด หาหรื อ สั่ ง ผลิ ต เครื่ อ งบิ น จาก ทอ.สหรัฐฯ สายการผลิต C-130 จ�ำนวน ๑๐๐ เครื่องเกิดขึ้นในช่วงต้น ๆ ของการเปิดตัวและ มี ก ารสั่ ง ผลิ ต มี อ ย่ า งต่ อ เนื่ อ งติ ด ต่ อ กั น เป็ น หลักเมือง มิถุนายน ๒๕๕๗

เวลานานหลายทศวรรษกว่าห้าสิบปีตั้งแต่ยุค แรก จนกระทั่งถึงปี ๒๐๐๔ นั้น Lockheed ได้ ส่งมอบเจ้ายักษ์มากกว่า ๒,๒๖๒ เครื่องให้แก่ ลูกค้า ๖๐ ประเทศ นอกจากนั้น Lockheed ยังเพลินกับการผลิต C-130 ที่พัฒนาขึ้นมาอีก ระดับเป็น C-130J อีกถึง ๗๑ เครื่อง ตามใบสั่ง ของลูกค้าทั้ง ทอ.สหรัฐฯเองและมิตรประเทศ C-130 ได้รบั การออกแบบมาเพือ่ เป็นเครือ่ ง บิ น ยุ ท ธวิ ธี ส ารพั ด ประโยชน์ ท างทหารและ พลเรือน ในรูปแบบของเครื่องบินขนส่งหรือ ล�ำเลียง (Airlifter) จะเรียกว่าเป็น “ม้าใช้” หรือ “ม้างาน” ก็ย่อมได้ เพราะมันเป็นเช่นนั้น จริงๆ นับตั้งแต่ ทิ้งระเบิด,ขนส่งพัสดุอุปกรณ์, ทิ้งร่ม, EW (Electronics warfare), ติดตาม ภูเขาน�้ำแข็ง, ดับไฟป่า, ติดตามพายุเฮอริเคน, อพยพผู้คนหนีภัยสงครามหรือความไม่สงบ ต่างๆ, เป็นป้อมปืนทางอากาศ, บ.เติมเชือ้ เพลิง, บ.ของหน่วยปฏิบัติการพิเศษ, บ.ควบคุมและ บั ง คั บ บั ญ ชา(Airborne command and control) หรือแม้กระทั่งสามารถลงจอดบน เรือบรรทุกเครื่องบินที่เป็นฐานบินลอยน�้ำซึ่ง ไปได้ทุกภูมิภาค ความสุดยอดของ C-130 จะ เห็นได้จากทุกจุดที่มีปัญหาและต้องการแก้ไข หรือความช่วยเหลือทางทหารขนาดใหญ่และ รวดเร็ว จะต้องมี C-130 เข้าไปเป็นส่วนแรก ๆ ที่เข้าร่วมปฏิบัติงานด้วยเสมอ ๆ Hercules : C-130 เริ่มเข้ามามีบทบาท แสดงตนอย่างเป็นทางการในสงครามเกาหลี สามารถท�ำภารกิจได้ครอบคลุมและตอบสนอง ความต้องการทางยุทธการได้อย่างดีเยี่ยม การ เข้ามาของ C-130 ในสงครามเกาหลีเป็นการ เข้ามาในจังหวะที่ดี ที่เครื่องบินล�ำเลียงทาง ทหารรุ่นพี่ท่ีเริ่มชราภาพหรือขีดความสามารถ ไม่ ถึ ง ขั้ น นั้ น เริ่ ม ร่ ว งโรยไปเช่ น Fairchild C-119 และรุ่นมหากาพย์ยุคสงครามโลกครั้ง ที่สองอย่าง Douglas C-47 และ Curtiss C-46

Birth of a Program วันที่ ๒ ก.พ.๑๙๕๑ ทอ.สหรัฐฯได้เปิดให้ มีการแข่งขันเพื่อเป็นผู้ผลิตเครื่องบินล�ำเลียง ทางทหารขึ้ น โดยมี บ ริ ษั ท ชั้ น น� ำ เข้ า ร่ ว ม มากมายเช่น Lockheed,Boeing, Douglas และ Fairchild โดย ทอ.สหรัฐฯก�ำหนดความ ต้องการขีดความสามารถจากการศึกษาบท เรียนจากอดีต และแนวโน้มในอนาคตของการ ใช้เครื่องบินประเภทนี้

In the Beginning ความต้ อ งการส� ำ คั ญ ที่ เ ครื่ อ งบิ น ล� ำ เลี ย ง แบบใหม่จะต้องมีคือ ๑. สามารถบรรทุกทหารราบได้ ๙๒ คน หรือทหารพลร่มเต็มยศพร้อมรบ โดยมีรัศมี ปฏิบัติการไกลถึง ๑,๑๐๐ ไมล์ ๒. ใช้ ค วามยาวของทางวิ่ ง ไม่ ม ากและ สามารถขึ้น/ลงได้ถ้าสนามบินนั้นอยู่ในสภาพ ที่จะท�ำการขึ้น/ลงได้ ไม่ว่าจะเป็นดินธรรมดา ดิ น ลู ก รั ง ท้ อ งทุ ่ ง ที่ เ ต็ ม ไปด้ ว ยหญ้ า หรื อ แม้ กระทั่งพื้นทรายหาด ๓. สามารถเกาะอากาศได้ที่ความเร็ว ๑๒๕ น็อต เพื่อการทิ้งลงทางอากาศและลงสนาม ในมุมที่ชันมากๆ ส�ำหรับพื้นที่การลงสนามที่มี ภูมิประเทศเป็นอุปสรรค ๔. สามารถเปิดประตูท้ายเครื่องเพื่อการ ทิ้งสัมภาระยุทโธปกรณ์ขนาดใหญ่ได้ และเปิด ประตูข้างเพื่อทิ้งนักโดดหรือพลร่ม ๕. สามารถบรรทุกเครื่องยนต์ เครื่องจักร กล อาวุธปืนใหญ่หรือรถยนต์ได้ ๖. สามารถบินได้ด้วยเครื่องยนต์ที่เหลือ แม้เครื่องยนต์เสียหนึ่งเครื่องได้และในสภาพ ที่บรรทุกเต็มพิกัด ตามขี ด ความสามารถที่ ต ้ อ งการของ ทอ.สหรัฐฯนี้ Lockheed ได้ออกแบบมาลงตัว

33


และ The 314th TCW, Stewart AFB, Tenn. ซึง่ เป็นส่วนประกอบก�ำลังร่วมทีส่ ำ� คัญกับก�ำลัง การโจมตีทางอากาศ (The Composite Air Strike Force) เมื่ อ มี ก ารออกตั ว รั บ ใช้ ช าติ อ ย่ า งเป็ น ทางการ Hercules เริ่มสร้างเสริมเกียรติภูมิ ของความเป็น Real Airlifter ขึ้นมาอย่าง รวดเร็ ว ที่ ใ ดมี ค วามยุ ่ ง ยากใจที่ ต ้ อ งใช้ ก าร ปฏิ บั ติ ก ารทางทหารเข้ า ช่ ว ยและต้ อ งการ Lockheed ได้สร้างเครื่องต้นแบบขึ้นสอง ความรวดเร็วหวังผลได้ C-130 จะต้องมีส่วน เครื่องที่โรงงานในเมือง Burbank ในช่วงนี้ เกี่ ย วข้ อ งอยู ่ ด ้ ว ยทุ ก ครั้ ง ไป อย่ า งเช่ น ในปี Hercules ยังถูกเรียกว่า YC-130 เครื่องต้น ๑๙๕๘ เกิ ด ความวุ ่ น วายขนาดใหญ่ ภ ายใน แบบเครือ่ งทีส่ องเป็นเครือ่ งแรกทีข่ นึ้ ท�ำการบิน เลบานอน Camille Chamoun ประธานาธิบดี ทดสอบภาคอากาศที่สนามบินเมือง Burbank ของเลบานอน ได้ร้องขอความช่วยเหลือจาก โดยทดสอบในทุ ก ขี ด ความสามารถที่ ท� ำ ได้ สหรัฐฯ เพื่อปราบความไม่สงบภายใน สหรัฐฯ เป็นเวลาถึง ๖๑ นาที แล้วบินกลับไปลงที่ จึงจัดเต็มให้ตามประสงค์ และท�ำให้เกิดปฏิบัติ สนามบิน Edwards AFB, Calif เพื่อรอการ การ ๑๑ วันของ C-130 ล�ำเลียงพัสดุอุปกรณ์ บินทดสอบขัน้ สูงขึน้ ต่อไป เมือ่ กระบวนการบิน ช่ ว ยเหลื อ ตามค� ำ ขอมากถึ ง แปดล้ า นปอนด์ ทดสอบอย่างเอาจริงเอาจังสมบูรณ์ ผลการบิน เข้ า ไปในเลบานอนเพราะว่ า เป็ น เครื่ อ งบิ น ทดสอบ YF-130 สร้างความตื่นเต้นภาคภูมิใจ ล�ำเลียงอเนกประสงค์ทางยุทธวิธีของ C-130 แก่ Lockheed เป็นอันมาก เนื่องจากพวกเขา ดังนั้นจึงเป็นเรื่องปกติที่ย่อมต้องเกิดการสูญ มองเห็นอนาคตที่สดใสยาวนานของ C-130 เสียในยุทธบริเวณ ครั้งแรกเกิดขึ้นในวันที่ ๒ ในสายการผลิต YC-130 ผ่านการทดสอบทุก ก.ย.๑๙๕๘ นักบิน Mig-17s รุมกินโต้ะยิง ความต้องการของ ทอ.สหรัฐฯ และมี Pay C-130AII ซึ่งเป็นเครื่องท�ำงานด้านการข่าว Load มากถึง ๔๐,๐๐๐ ปอนด์ สมความเป็น ตกเหนือ Soviet Armania ลูกเรือ ๑๗ คน ได้ Hercules จริง ๆ ทอ.สหรัฐฯประกาศสั่งผลิต เดินทางเข้าเฝ้าพระเจ้าของพวกเขาทันที การ C-130 จ�ำนวนเจ็ดตัวแรกก่อน Lockheed จึง สูญเสียขนาดใหญ่เกิดขึ้นในสงครามเวียดนาม ได้ย้ายโรงงานไปที่เมือง Marietta, Ga ซึ่งเป็น ช่วงปี ๑๙๖๕ - ๑๙๗๒ มียอดสูญเสียถึง ๕๐ สายการผลิต B-47 ที่ก�ำลังจะปิดอยู่แล้ว จึง เครื่อง เป็นการสูญเสียจากการรบจริง ๆ มีส่วน เป็นช่วงเวลาที่เหมาะสมอย่างยิ่งกับสายการ น้อยมากที่สูญเสียจากอุบัติเหตุ ในเวียดนาม ผลิตใหม่ของ C-130 ภายหลังจากนั้นมีการ C-130 สามารถเข้าถึงทุกสภาพของสมรภูมิ ประกาศผลการบินทดสอบอย่างเป็นทางการ ทุกการร้องขอ ท�ำให้แนวหน้าและแนวหลังใกล้ ทอ.สหรั ฐ ฯได้ เ พิ่ ม ยอดการสั่ ง ผลิ ต จาก ๗ ชิดกันมากขึ้น เร็วขึ้น แม่นย�ำขึ้น และบางครั้ง เครื่องเป็น ๗๕ เครื่องทันที ต้องท�ำหน้าที่เป็น ป้อมปืนลอยฟ้า (Gunship C-130 ได้เริ่มเข้าประจ�ำการในระบบ TAC : AC-130 : Spectre) ยิงกดและท�ำลายข้าศึก (Tactical Air Command) ของ ทอ.สหรัฐฯ ในที่ซึ่งทหารราบยังเข้าไม่ถึง ใน ธ.ค.๑๙๕๖ โดยเข้าประจ�ำการที่ The 463rd สมรภู มิ ที่ ต ้ อ งกล่ า วขานเป็ น ต� ำ นานของ Troop Carrier Wing, Ardmore AFB, Okla. การรบในเวียดนามคือที่เมือง Khe Sanh ใน ที่เครื่องบินที่ดูงุ่มง่ามเทอะทะในตอนที่สร้าง เสร็จเมื่อเดือน มิ.ย.๑๙๕๑ มีชื่อว่า Model 82 ทั้ง ๆ ที่ Lockheed เองมีความช�ำนาญในเรื่อง การออกแบบและสร้างเครื่องบินที่ดูสวยงาม เช่น Vega, P-38 และ Constellation แต่พวก เขา Lockheed ก็เป็นผูช้ นะการแข่งขันในทีส่ ดุ

On to Georgia

34

ต้นปี ๑๙๖๘ นายพล Vo Nguyen Giap ของ กองทัพเวียดนามเหนือ ได้ระดมก�ำลังทหาร เข้าล้อมค่ายทหารนาวิกโยธินของสหรัฐฯ ซึ่ง มีทหารอยู่ ๖,๐๐๐ นาย หมายว่าจะบดขยี้ ให้แหลกราญโดยรวดเร็วหรือยอมจ�ำนนตก เป็นเชลยสงครามจ�ำนวนมาก เพื่อหวังผลการ สร้างขวัญก�ำลังใจแก่ทหารของตนและเป็นการ โฆษณาชวนเชื่อแก่ฝ่ายตรงข้ามไปด้วยในตัว ก่อนที่จะมีการบุกใหญ่ลงใต้เพื่อรวมประเทศ ต่อไป ทุกอย่างไม่เป็นดั่งใจของนายพลเวียดนาม เหนือคนนี้ แต่กลับยังสร้างความท้อแท้ในการ รบแก่ทหารของตนเอง นาวิกโยธินสามารถ ต่อสู้ต้านทานการล้อมกรอบโจมตีได้นานถึง ๗๐ วัน พวกเขาจะอยู่ได้นานขนาดนี้ไม่ได้ ถ้า ไม่ได้รับการส่งก�ำลังบ�ำรุงที่รวดเร็ว พอเพียง และทันเวลา ตามหลักการส่งก�ำลังบ�ำรุงทุก ประการ (Logistic Principles) จาก C-130s เป็นหลายร้อยเที่ยวบินที่เสี่ยงตาย ยุทธวิธีการ บินล�ำเลียงขั้นเทพของเหล่า Airlifers นี้ พวก เขาบินที่ความสูงต�่ำ ๕๐๐ - ๘๐๐ ฟุตเหนือ ภูมิประเทศบินเข้าหาสนามบินหรือเป้าหมาย ถ้ า ลงสนามได้ พ วกเขาจะใช้ เ ทคนิ ค การบิ น แบบ Assault Landind ผ่อนก�ำลัง ย.มารอบ เดินเบา ปักหัวดิ่ง ในมุมที่ชันมาก จัดท่าทาง ของเครื่องให้พร้อมในการลงสนามในเวลาที่ รวดเร็ว สั่งเปิดแฟลบและกางฐานล้ออย่าง ต่ อ เนื่ อ ง สมาธิ ทุ ก อย่ า งของนั ก บิ น อยู ่ ที่ จุ ด แปะ การเตือนมือที่แม่นย�ำต่อคันบังคับเพื่อ บังคับเครื่องให้แตะพื้น ในจุดที่เล็งไว้แล้ว เมื่อ ล้อสัมผัสพื้นเท้าและการใช้เบรกของนักบิน ต้องสัมพันธ์กันอย่างกลมกลืน มือขวาที่ก�ำ คันบังคับเครื่องยนต์ต้องพร้อมที่จะ Reverse Engines ใช้ก�ำลังเครื่องยนต์หน่วงเครื่องบิน ให้ช้าลง เพียงกระบวนท่าที่รวดเร็วแต่แม่นย�ำ เท่านี้ C-130 ก็ใช้ทางวิ่งไม่มากนักในการลง สนาม ทางวิ่งที่เหลืออยู่ถ้ายาวพอ พวกเขาก็ สามารถที่จะวิ่งขึ้นต่อไปได้ถ้าต้องการ แต่ถ้า

นาวาอากาศเอก ปิยะพันธ์ ขันถม


พวกเขาไม่ต้องการที่จะลงสนามหรือลงไม่ได้ จริงๆ ที่ความสูงต�่ำขนาดนี้ C-130 จะท�ำการ ทิ้งลงทางอากาศแทน ภารกิจการเป็นป้อมปืนเหิรฟ้าของ AC-130 (Spectre) นัน้ เริม่ ครัง้ แรกทีเ่ มือง Nha Trang ใน ก.ย.๑๙๖๗ เริ่มด้วยติดตั้งปืนกลอากาศขนาด ๒๐ มม.อ�ำนาจการยิงในหนึ่งนาที ครอบคลุม พื้ น ที่ ข นาดหนึ่ ง สนามฟุ ต บอล ผลงานของ AC-130 เป็นที่พอใจของ ทอ.สหรัฐฯ มาก จึง สั่งสร้างเพิ่มขึ้นอีก ๒๘ เครื่องเพื่อภารกิจเป็น Gunship โดยเฉพาะ และ 11AC-130 สุดท้าย ของการสั่งสร้างครั้งนี้ติดปืนใหญ่ขนาด ๑๐๕ มม. (Howitzer) ให้หน�ำใจไปเลย นอกเหนือจากการเป็น Gunship แล้ว ใน ภารกิจทิ้งระเบิดพร้อมกันขนาดใหญ่ที่เรียก กันว่า “Mother of all bombs” C-130s จ�ำนวนหลายร้อยเที่ยวบินรวมกันเรียกตัวเอง

ว่า “The Herk” เริ่มท�ำภารกิจ “Operation Commando Vault” ในช่วงต้นปี ๑๙๖๘ ซึ่ง ในสงครามเวียดนามเรียกว่า การบุกเทศกาล เต็ท (The Tet Offensive) The Herk เข้าทิ้ง ระเบิดตามป่าเขาแหล่งซุม่ ซ่อนพลางก�ำลังของ ทหารเวียดนามเหนือและเวียดกง ในด้านการรวบรวมข่าวสารทีเ่ ป็นประโยชน์ ต่อยุทธการแล้ว 10C-130 A-II-LM ได้รับการ ดัดแปลงมาเพื่อท�ำภารกิจนี้ โดยประจ�ำการ ที่ The 7407th Combat Support Wing ซึ่ ง ในปั จ จุ บั น C-130 รุ ่ น นี้ ท� ำ ภารกิ จ EW (Electronic Warfare) และเรียกว่า EC-130 และยังท�ำงานร่วมกับ บ.แจ้งเตือนทางอากาศ ยุคใหม่ E-3 (Airborne Battlefield Warning and Control System Aircraft) และนอกจาก นั้นยังมี EC-130 : Commando Solo แยก ตัวท�ำภารกิจเพื่อการปฏิบัติการทางจิตวิทยา EC-130 รุ่นนี้ติดตั้งระบบถ่ายทอดวิทยุและ โทรทั ศ น์ ก� ำ ลั ง ส่ ง สู ง แทรกซึ ม กระจายการ ชวนเชื่อไปทุกพื้นที่ที่ต้องการ KC-130 เป็ น รุ ่ น ที่ เ ป็ น บ.เติ ม เชื้ อ เพลิ ง กลางอากาศ (Tanker) เริ่มจากการริเริ่มของ ก�ำลังนาวิกโยธินสหรัฐฯ (Marine Corps) ใน ปี ๑๙๖๐ เพื่อเติมเชื้อเพลิงกลางอากาศให้กับ หลักเมือง มิถุนายน ๒๕๕๗

เฮลิคอปเตอร์ นอกจากนั้นยังมีรุ่นของ C-130 ท�ำภารกิจที่เฉพาะลงไปเช่น HC-130H เป็น ทั้ ง บ.ควบคุ ม สั่ ง การและเติ ม น�้ ำ มั น กลาง อากาศ, HC-130P เป็น บ.ค้นหาและช่วยชีวิต, MC-130E (Combat Talon I), MC-130H (Combat Talon II) เป็น บ.ส�ำหรับปฏิบัติ การพิเศษและสามารถรับการเติมน�้ำมันกลาง อากาศจาก Tanker อื่นได้ มีอุปกรณ์พิเศษ เพิ่ม เติม มากมายเช่ น เครื่ อ งตรวจจั บความ ร้อน, อุปกรณ์ช่วยชีวิต, เติมน�้ำมันให้แก่ ฮ.ได้ สามารถบินแทรกซึมที่ความสูงต�่ำ ไปยังพื้นที่ ที่ยากในการเข้าถึง, WC-130 เป็น บ.ส�ำรวจ สภาพอากาศ, LC-130 Ski equipped version ส�ำหรับใช้ในแถบขั้วโลกเหนือและใต้

The new generation of C-130 เพราะความเป็นอมตะกว่าครึง่ ศตวรรษของ C-130 อันเป็นที่ยอมรับอย่างเอกฉันท์ ในทุก สงครามและยามสงบ ในทุกภูมิภาคของโลก ในทุกสภาพทุรกันดาร ถ้าต้องการความช่วย เหลือ C-130 คือตัวเลือกทีด่ ที สี่ ดุ ตลอดมา ของ ทุกสัญชาติ ศาสนา เมื่อ C-130 เดินทางเข้า ยุคดิจิตอล การเปลี่ยนแปลงย่อมต้องเกิดขึ้น แต่ยังคงคุณลักษณะของความเป็น C-130 อยู่ อย่างครบถ้วน และ C-130J ก็คือทายามยุค ใหม่ ด้วยขุมพลังเครื่องยนต์ Turboprop ที่ มีก�ำลังแรงขึ้น เงียบขึ้นด้วยใบพัดหกกลีบ ตัด การหวีดหวิวเสียดหูออกไป

เมื่ อ ไซ่ ง ่ อ นใกล้ แ ตก มี ก ารอพยพหนี ภั ย ครั้งใหญ่ และการอพยพที่น่าเหลือเชื่อส�ำหรับ C-130 เกิดขึน้ เมือ่ ๒๙ เม.ย.๑๙๗๕ ทีส่ นามบิน Ton Son Nhut ผู้อพยพแออัดยัดเยียดในห้อง โดยสารของ C-130A จ�ำนวน ๔๕๒ คน ใน ห้องบังคับการบินอีก ๓๓ คน บ.มีสภาพรับ น�้ำหนักเกินเกือบ ๒๐,๒๐๐ ปอนด์ Hercules ล�ำนี้ เร่งเครื่องและเคลื่อนตัวอย่างขี้เกียจเพื่อ จะพยายามวิ่งขึ้นให้ได้ในระยะทาง ๙,๐๐๐ ของสนามบิน ประตูท้ายของเครื่องปิดได้พอดี ที่เครื่องถึงท้ายทางวิ่ง แต่ C-130 ยกตัวเกาะ อากาศไม่ได้ที่ระยะทางสุดพิกัดนี้ เครื่องบินยัง โซซัดโซเซอยู่บนทางวิ่ง เหมือนก�ำลังตะกาย อากาศ และวิ่งเตลิดเปิดเปิงต่อไปตามทางวิ่งที่ ไม่ปกติ ซึ่งเป็นทางวิ่งเผื่อไว้ท้ายทางวิ่งที่เรียก กันง่าย ๆ คือ Overrun เพิ่มขึ้นไปอีก ๑,๐๐๐ ฟุต เครื่องจึงเริ่มเกาะอากาศอย่างเชื่องช้า จะ ขึ้นหรือตก เป็นตายเท่ากัน เสียงสวดภาวนา ระงมแข่งกับเสียงเครื่องยนต์ ในที่สุดพวกเขา ก็รอดแบบปาฏิหาริย์ Hercules ค่อย ๆ เกาะ อากาศเกีย่ วความสูงได้ทลี่ ะนิดในมุมทีล่ าดมาก ถ้ามีต้นไม้ใหญ่หรืออาคารขนาดสองชั้นดักรอ เก็บตกอยู่ข้างหน้า พวกเขาคงสงบอย่างสิ้น เชิง บทสวดเป็นร้อยรอบก็ชว่ ยพวกเขาไม่ได้ ใน ที่สุดตลอดการบินระทึกสี่ชั่วโมงของสายการ บินปลากระป๋องล�ำนี้ C-130A ได้มาลงที่สนาม บินอู่ตะเภา ประเทศไทย ด้วยความปลอดภัย “Peace or War”. Wherever and Whenever at any regions. WE are big thanks for all types of Hercules.

Long Takeoff at Tan SonNhut : The Fall of Saigon 35


เปิดประตูสู่เทคโนโลยีป้องกันประเทศ ๑๘

เครื่องยิงลูกระเบิดอัตโนมัติ (Automated Mortar)

ครื่ อ งยิ ง ลู ก ระเบิ ด (Mortar) หรื อ ที่มักเรียกกันว่า “ปืนครก” จัดเป็น ระบบอาวุธทีม่ มี านานมากกว่า ๒๐๐ ปี ด้วยคุณลักษณะที่มีขนาดกะทัดรัด แม่นย�ำ สูง และมีอ�ำนาจการท�ำลาย ท�ำให้เครื่องยิง ลูกระเบิดยังคงเป็นระบบอาวุธที่ส�ำคัญจ�ำเป็น ส�ำหรับทหารราบทั่วโลก ระบบอาวุธนี้ยิงลูก ระเบิดเป็นวิถีโค้งสู่เป้าหมายในระยะใกล้ ๆ โดยอาวุธประเภทนี้จะประกอบด้วยล�ำกล้อง ส�ำหรับให้ทหารหย่อนลูกระเบิดลงไป เข็มแทง 36

ชนวนตรงส่วนท้ายของล�ำกล้องจะกระทบกับ จอกกระทบแตก (detonator) ของลูกระเบิด แล้วยิงลูกระเบิดสู่เป้าหมาย มุมยิงที่ใช้จะอยู่ ระหว่าง ๔๕ ถึง ๘๕ องศา ท�ำให้ลูกระเบิด เคลื่ อ นที่ สู ่ เ ป้ า หมายในระยะใกล้ เครื่ อ งยิ ง ลูกระเบิดมักถูกใช้ในสถานการณ์ที่ไม่สามารถ สนับสนุนด้วยการยิงจากปืนใหญ่ได้ ลูกระเบิด ที่ยิงจะมีขนาดตั้งแต่ ๖๐ มม. ถึง ๑๒๐ มม. พัฒนาการของเครื่องยิงลูกระเบิดจะเป็นเรื่อง ของน�้ ำ หนั ก ที่ เ บากว่ า เดิ ม มี ค วามแม่ น ย� ำ

และอ�ำนาจการท�ำลายที่สูงกว่าเดิม ล่าสุดคือ การท� ำ ให้ ร ะบบอาวุ ธ นี้ ส ามารถท� ำ งานโดย อัตโนมัติ เพื่อลดความสูญเสียพลประจ�ำ โดย แนวความคิดในการออกแบบให้ระบบอาวุธนี้ ท�ำงานได้โดยอัตโนมัติจะมุ่งเน้นในเรื่องของ การป้อนลูกระเบิดอัตโนมัติ และการเล็งเป้า หมายอัตโนมัติ ตลอดจนการน�ำไปติดตั้งบน ยานพาหนะขนาดเล็กเพื่อความคล่องแคล่วใน การเคลื่อนที่ (mobility)

สถาบันเทคโนโลยีป้องกันประเทศ (องค์การมหาชน) กระทรวงกลาโหม


Dragon Fire หรือ TDA 2R2M Rifled 120 mm Mortar Syste ความยาวล�ำกล้อง Barrel Length : ๑๑๐ นิ้ว น�้ำหนัก Weight : ๓,๒๐๐ ปอนด์ ความเร็วปากล�ำกล้อง Muzzle Velocity : ๑,๒๒๕ ฟุตต่อวินาที ระยะยิงหวังผล Effective Range : ๒๗,๐๐๐ ฟุต อัตราเร็วในการยิง Rate of Fire : ๔ นัดต่อนาที

EIMOS เป็น ระบบเครือ่ งยิงลูกระเบิดขนาด ๘๑ มม. / ๖๐ มม. ทีผ่ นวกรวมคุณสมบัตสิ ำ� คัญ ๓ ประการได้ แ ก่ ความคล่ อ งแคล่ ว ในการ เคลื่อนที่สูง อ�ำนาจการยิง (ที่ต่อเนื่อง) และขีด ความสามารถตอบสนองต่อภัยคุกคามได้อย่าง รวดเร็ว โดย EIMOS มีคุณลักษณะเด่นดังนี้ ๑)  สามารถผนวก (Integrate) เป็นส่วน หนึ่งของรถรบขนาดเบา ๔x๔ ได้เกือบทุกรุ่น ทุกแบบ ๒)  มีระบบเล็งอัตโนมัติ ๓)  มีที่เก็บกระสุนบนรถ ท�ำให้มีอิสระใน การปฏิบัติภารกิจ ประเทศไทยเรามีขีดความสามารถในการ ผลิตลูกระเบิดใช้เองมานานแล้ว การวิจัยและ พัฒนาเครื่องยิงลูกระเบิดอัตโนมัตินั้นอยู่ใน ขีดความสามารถที่ท�ำได้ โดยในการวิจัยและ พั ฒ นาระบบอาวุ ธ ประเภทนี้ ค วรพิ จ ารณา ถึงความสามารถในการผนวกใช้เครื่องยิงลูก ระเบิดระบบดังกล่าวนี้เข้ากับระบบย่อยอื่น ๆ ได้ ซึ่งนับว่าเป็นแนวความคิดที่ควรพิจารณา

CARDOM 81 mm Mortar System ของอิสราเอล ระยะยิง Range : 7,000-8,000 meter ขนาดกว้างปากล�ำกล้อง Calibre : 120/81mm smoothbore and rifled อัตราเร็วในการยิงสูงสุด Max rate of fire : ๑๖ นัดต่อนาที มุมส่าย Traverse (deg) : ๓๖๐ องศา เวลาเตรียมยิงนัดแรก Shoot of first round : น้อยกว่า ๓๐ วินาที

EIMOS

Dragon Fire หรือ TDA 2R2M Rifled 120 mm Mortar System เป็นความร่วมมือกัน ระหว่างบริษัท Picatinny Arsenal กับบริษัท Thomson Daimler-Benz Aerospace (TDA) ของสหรัฐอเมริกา ระบบอาวุธนี้มีระยะ ยิงไกลสุด ๙ กม. สามารถสั่งค�ำนวณต�ำแหน่ง ที่ยิง ภายใน ๓-๕ วินาทีแล้วปรับทิศทางและ มุมยิงอัตโนมัติ แมกกาซีนภายในระบบสามารถ เก็บลูกระเบิดพร้อมยิงจ�ำนวน ๓๓ ลูก ระบบ อาวุธนี้สามารถลากจูงด้วยรถรบขนาดเล็ก ๔ ล้อ หรือติดตั้งบนยานเกราะเบา (LAV) หรือ บรรทุกภายในเครื่องบิน V-22 Osprey ได้ CARDOM 81 mm Mortar System ของ อิสราเอล ได้ถูกพัฒนาขึ้นให้มีระบบอัตโนมัติ ซึ่งผู้ตรวจการณ์หน้าสามารถส่งข้อมูลดิจิตอล ที่ตั้งของเป้าหมายไปยังระบบอาวุธ แล้วระบบ จะปรั บ ทิ ศ ทางและมุ ม ยิ ง อั ต โนมั ติ จากนั้ น พลประจ�ำจะสามารถหย่อนลูกระเบิดเพื่อยิงสู่ เป้าหมายได้อย่างแม่นย�ำ

ถึงส�ำหรับการออกแบบระบบอาวุธใด ๆ ก็ตาม ในอนาคต เนื่องจากปัจจุบันได้มีการออกแบบ ระบบอาวุธใหม่ ๆ ตลอด ในขณะเดียวกัน กองทัพส่วนใหญ่ยังคงมีระบบอาวุธเดิมที่ยัง สามารถใช้งานได้ดีอยู่ การที่สามารถน�ำระบบ อาวุธทีม่ อี ยูเ่ ดิมมาผนวกใช้กบั ระบบอาวุธแบบ ใหม่ที่เข้าประจ�ำการ จะสามารถช่วยลดค่าใช้ จ่าย และนับเป็นการใช้ประโยชน์สูงสุดจาก ระบบอาวุธนั้น ๆ สถาบันเทคโนโลยีป้องกัน ประเทศซึ่งเป็นหน่วยงานวิจัยและพัฒนาของ กระทรวงกลาโหมจึงมุ่งเน้นที่การต่อยอดองค์ ความรู ้ และการใช้ ท รั พ ยากรที่ ใ ช้ ก ารผลิ ต ตลอดจนการผนวกระบบที่ มี อ ยู ่ เ ดิ ม เข้ า กั บ งานวิจัยและพัฒนายุทโธปกรณ์ต้นแบบ ดังที่ ปรากฏให้เห็นในผลงานที่ผ่านๆมา เช่น จรวด หลายล�ำกล้อง DTI-1 และอากาศยานไร้นักบิน ขึ้นลงทางดิ่งแบบ V-TOL เป็นต้น

ระยะยิง Range : ๖,๐๐๐ เมตร มุมส่าย Traverse (deg) : ๓๖๐ องศา อัตราเร็วในการยิงสูงสุด Max rate of fire : ๑๒ นัดต่อนาที หลักเมือง มิถุนายน ๒๕๕๗

37


หลั ก การของนายพลแพตตั น (ตอนที่ ๒๒) พลโท เด่นดวง ทิมวัฒนา 38

พลโท เด่นดวง ทิมวัฒนา


จงอย่าสู้รบ ถ้าไม่ได้อะไรจากชัยชนะนั้น ผมจ�ำค�ำอธิบายของนายพลแพตตันได้ “มีการต่อสูม้ ากมายเหลือเกินทัง้ ในสงคราม และในชีวิตการเป็นพลเรือนที่ไม่ได้รับชัยชนะ การต่อสู้ทุกครั้งเราต้องได้ชัยชนะ ไม่งั้นก็ไม่ ต้องต่อสู้ดีกว่า เราจะไม่ตั้งรับ เราจะโจมตี เสมอ ในชีวิตพลเรือนนั้นมันไม่มีผลส�ำหรับ การต่อสู้เลยไม่ว่าอากาศจะเป็นอย่างไรหรือ เคยเป็นอย่างไร มันไม่ได้ประโยชน์อะไรมาก นักที่จะเป็นฝ่ายที่ถูกต้องเท่านั้น การท�ำถูกใน เรือ่ งทีไ่ ม่สำ� คัญมันก็เป็นเรือ่ งทีไ่ ม่สำ� คัญเช่นกัน มันไม่ได้ประโยชน์อะไรทีจ่ ะทายถูกว่า ใครเป็น นักฟุตบอลที่ยอดเยี่ยมที่สุด แน่นอนมันจ�ำเป็น ที่จะต้องยอมรับว่าเป็นผู้ผิด มีการต่อสู้กี่ครั้งที่ คุณเคยหลีกเลี่ยงเมื่อตอนคุณยังเป็นเด็ก โดย ปฏิเสธการต่อสู้หากไม่ได้อะไรจากการต่อสู้ ครั้งนั้น ผมรู้ดีตอนที่พวกเราเป็นเด็กเราต่อสู้ เพื่อความสนุกสนานจากการต่อสู้นั้น! สงคราม ไม่ใช่เรื่องสนุก เราจะไม่ต่อสู้ในสมรภูมิเพื่อ ความสนุกสนาน” เพื่ อ ให้ บ รรลุ เ ป้ า หมาย นายพลแพตตั น จะเปลี่ยนจากเรื่องชีวิตพลเรือนมาเป็นเรื่อง สงคราม ในการยกตัวอย่าง ท่านได้แนะน�ำว่า หลักเมือง มิถุนายน ๒๕๕๗

39


“เอาละ.... ทุกครั้งที่พวกเราเข้าใกล้ข้าศึก เราคาดได้เลยว่าเขาจะยิงมา เราต้องการให้เขา ยิงใส่เรา! เราจะได้รู้อย่างไรล่ะว่าเขาอยู่ที่ไหน ถ้าเขาไม่ยิงมา? เราจะต้องค้นหาที่อยู่ของเขา ให้พบ และเราจะด�ำรงการเคลื่อนที่ ซึ่งนั่นจะ ท�ำให้เขายิงเราไม่ถูก เราจะไม่เคลื่อนที่ตรง เข้าหาข้าศึก แม้จะเป็นทางที่สะดวกที่สุด เรามี ความเร็วทีจ่ ะเคลือ่ นทีไ่ ปยังด้านหลังแนวข้าศึก มันโดดเดี่ยวขณะอยู่หลังแนวข้าศึก แต่นั่นคือ ที่ที่เราจะเอาชนะสงครามได้ ประชาชนหลัง แนวจะยิงใส่เราไม่มากนัก เพราะพวกเขาไม่มี อาวุธหนักใด ๆ ถ้าเราอยู่หลังแนวข้าศึก ข้าศึก จะไม่ยิงเข้าใส่เรา เพราะพวกมันกลัวจะยิงถูก ญาติพี่น้องของตนเอง ไม่มีทหารคนใดชอบที่ จะยิงกันในบ้านเกิด เราจะเข้าไปในที่นั้นและ จัดการทุกสิ่งทุกอย่างเท่าที่จะท�ำได้ แต่เราจะ ไม่ยอมเสียเวลาในการยึดพื้นที่ เราจะตั้งรับก็ ต่อเมื่อเราได้ประโยชน์ในการฆ่าข้าศึกเท่านั้น หนทางที่จะชนะสงครามได้รวดเร็วที่สุดก็คือ ตัดขาดข้าศึกออกจากการส่งก�ำลังบ�ำรุง เรา เป็นหน่วยที่พร้อมทุกอย่างในตัวเอง เรามีทุก สิ่งทุกอย่างที่จ�ำเป็นเพียงพอที่จะอยู่หลังแนว นั่นได้หลายวันทีเดียว เราสามารถยึดน�้ำมัน เชือ้ เพลิงทีไ่ หนก็ได้ถา้ เราต้องการ เราจะไม่หว่ ง ที่อยู่อย่างโดดเดี่ยว เพราะว่าเราจะรบตะลุย กลับไปหาหน่วยทหารฝ่ายเดียวกัน แผนการ 40

พลโท เด่นดวง ทิมวัฒนา


ที่ดีที่สุดคือ ก่อกวนข้าศึกจนหน่วยทหารฝ่าย เดี ย วกั น สามารถตามมาทั น ไม่ มี อ ะไรที่ ไ ป ได้รวดเร็วกว่าความส�ำเร็จ เมื่อเราพบข้าศึก ขณะเราเคลือ่ นทีเ่ ราจะท�ำให้ขา้ ศึกวิง่ ด้วยไม่วา่ กลางคืนหรือกลางวัน เราจะมุ่งหน้าไปโดยไม่ หยุด เราจะไม่หยุดพักขณะที่ก�ำลังมีชัยชนะ” นายพลแพตตันจะหยุดเป็นพัก ๆ และดูว่า พวกเสนาธิการจะคัดค้านความคิดของท่าน หรือไม่ “เราจะมุ่งหน้าต่อไป ไม่ว่าเราจะมีอาหาร พอหรื อ ไม่ เราสามารถกิ น รองเท้ า ของเรา สายเข็มขัด หรืออะไรก็ได้ เราจะเป็นเหมือน กับทหารม้าลาดตระเวน เราจะหาอาหารตาม พื้นดิน เราจะยึดอาหาร และน�้ำมันเชื้อเพลิง จากข้ า ศึ ก ไอ้ เ ปรตที่ น ่ า สงสารพวกนั้ น จะ ไม่มีอาหารส�ำหรับตัวเอง เพราะเราจะซัดให้ เกลี้ยง พวกมันอาจจะคิดว่าก�ำลังปิดล้อมเรา อยู่ เราจะสอนให้ไอ้พวกลูกไม่มีพ่อได้ส�ำนึก ว่า การปิดล้อมเรานั้นเป็นหนทางสู่ความตาย อย่างแน่นอนของพวกมัน ขณะที่เราถูกปิด ล้อมเราสามารถยิงได้ทุกทิศทุกทาง และต้อง ยิงถูกข้าศึก” หลักการนี้ได้แสดงเป็นที่ประจักษ์ในการ รบที่เดอะบัลจ์ (Battle of the Bulge) (การ ยุทธ์ในบริเวณตอนเหนือของประเทศฝรั่งเศส ที่เยอรมนีรุกโต้ตอบผ่านป่าเอเดนส์ทะลุแนว จนโป่งออกมาเป็นรูปก้นถุง) เมื่อหน่วยทหาร อเมริกันถูกปิดล้อม พวกเยอรมันบอกให้ยอม แพ้ แต่ผู้บังคับหน่วยทหารอเมริกันตอบด้วย ค�ำพูดที่โด่งดังว่า “ไอ้บ้า (NUTS)!” ด้วยการ สนับสนุนทางอากาศและการมุ่งหน้าเข้ามา ช่วยเหลือของนายพลแพตตัน พวกเยอรมัน ก็ ไ ด้ เ รี ย นรู ้ ว ่ า ไม่ ไ ด้ ป ระโยชน์ อ ะไรเลยจาก การล้อมกรอบหน่วยทหารอเมริกัน ด้วยการ โจมตีจากนายพลแพตตัน พวกเยอรมันมักจะ ตื่นตกใจเสมอ พวกเขาไม่รู้ว่าจะถูกโจมตีจาก ทิศทางไหน

หลักเมือง มิถุนายน ๒๕๕๗

นายพลแพตตั น มั ก จะสนั บ สนุ น ความคิ ด ของตนโดยยกเอาค�ำกล่าวมาจากคัมภีร์ไบเบิ้ล ผมจ�ำได้ที่ท่านได้อ้างว่า “อย่าโยนไข่มุกให้แก่ พวกหมู” อาจจะยากที่จะมองเห็นว่ามันถูก น�ำมาเปรียบเทียบกับการสงครามได้อย่างไร แต่ผมก็จ�ำค�ำกล่าวของท่านได้ “ถ้าสงครามนั้นมีค่า เราจะเข้าไปร่วมและ ต้องชนะ แต่ถา้ มันไม่มคี า่ เราจะไม่เข้าไปให้ถกู ยิงเล่นโดยไม่มีเหตุผล คัมภีร์ไบเบิ้ลสอนเราว่า อย่าโยนไข่มุกให้กับพวกหมู ผมไม่เคยเห็นหมู ตัวไหนใส่สร้อยไข่มุก! เราจะไม่ยอมเสียเวลา กับเรื่องหมูสกปรก เราจะฆ่าข้าศึกในสถานที่ ที่เราฆ่าพวกมันได้ง่าย ๆ และในสถานที่ที่เรา จะได้ประโยชน์สูงสุดจากชัยชนะนั้น ๆ เรา จะไม่ฆ่าเพียงเพราะเราต้องการฆ่าคนเท่านั้น

เราจะไม่ยอมเปลืองเวลาไปสู้รบในสงคราม ที่ ข ้ า ศึ ก ต้ อ งการสู ้ เราจะสู ้ ร บเมื่ อ มั น อยู ่ ใ น เงื่อนไขของเรา และเราจะต้องชนะ” นายพลแพตตัน ได้สรุปว่า “พวกคุณทราบ ดีว่า ถ้าเราจัดการกับหน่วยทหารที่ดีที่สุดของ พวกมันได้ และถล่มพวกมันจนราบคาบ หน่วย อื่น ๆ ก็จะโยนปืนทิ้งและยอมแพ้ เพราะฉะนั้น เราต้องฆ่าผู้น�ำทางการทหารของฝ่ายข้าศึก” บ่ อ ยที เ ดี ย วที่ น ายพลแพตตั น เปิ ด เผยความ ตั้งใจส่วนตัวของท่านว่า ท่านอยากจะต่อสู้กับ ผู้น�ำสูงสุดของฝ่ายข้าศึกตัวต่อตัว และชัยชนะ นั้นจะเป็นผลการตัดสินสงคราม ผมจ�ำรอยยิ้ม แบบเด็ก ๆ ของท่านได้ขณะที่ท่านพูดว่า “ไม่ ต้องห่วงหรอก ผมจะฆ่าไอ้ลูกไม่มีพ่อนั้นให้ได้ ไม่ว่ามันจะอัดผมนับครั้งไม่ถ้วนก็ตาม!” พวก เราทุกคนทราบดีว่า ปืนพกของนายพลแพต ตั น จะถู ก ใช้ ใ นการสั ง หารนายพลเยอรมั น ที่ ชื่อ รอมเมล การคาดการณ์ของนายพลแพตตันถูกต้อง ภาพถ่ายเหตุการณ์ในสงครามโลกครั้งที่สอง แสดงให้เห็นถึงหน่วยทหารเยอรมันซึง่ มีจำ� นวน เป็นพัน ๆ คน โยนปืนเล็กยาวทิ้ง และยอม แพ้ ขณะที่ไม่มีหน่วยทหารอเมริกันหน่วยใด ที่ยอมรับความพ่ายแพ้ และยอมจ�ำนน!

41


พลโท เด่นดวง ทิมวัฒนา


ร่างรัฐธรรมนูญฉบับแรก ในรัชกาลพระบาทสมเด็จ พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว

An Outline of Change in the Form of Government จุฬาพิช มณีวงศ์

ารที่พระบาทสมเด็จพระปกเกล้า เจ้ า อยู ่ หั ว ทรงให้ มี ป ระกาศ พระราชกฤษฎี ก า การสื บ ราช สันตติวงศ์ ณ ที่ประชุมเสนาบดีสภา เมื่อวัน ที่ ๒๑ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๔๕๓ ก�ำหนดให้ ต�ำแหน่งรัชทายาทสืบทอดต่อกันตามล�ำดับ พระชนมายุ ข องสมเด็ จ พระเจ้ า น้ อ งยาเธอ ร่ ว มพระบรมราชชนนี จนกว่ า พระองค์ จ ะ มีพระราชโอรส ท�ำให้พระองค์ทรงเป็นพระ มหากษัตริย์พระองค์แรกในพระบรมราชวงศ์ จักรีที่ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ท�ำพระราช พินัยกรรมไว้เป็นลายลักษณ์อักษร โดยเป็น หลักเมือง มิถุนายน ๒๕๕๗

พระราชบันทึกสั่งเสนาบดีกระทรวงวัง เรื่อง การสืบราชสันตติวงศ์มีพระราชประสงค์ให้ สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอเจ้าฟ้าประชาธิปก ศั ก ดิ เ ดชน์ กรมหลวงสุ โ ขทั ย ธรรมราชา เสด็จขึ้นครองราชย์ แต่หากพระองค์จะทรง มี พ ระราชโอรส ก็ โ ปรดเกล้ า ฯ ให้ ส มเด็ จ พระเจ้าน้องยาเธอฯ ทรงส�ำเร็จราชการแทน พระองค์ ร ะหว่ า งที่ พ ระเจ้ า แผ่ น ดิ น ยั ง ทรง พระเยาว์ ทั้ ง นี้ ปรากฏว่ า สมเด็ จ พระเจ้ า น้องยาเธอร่วมพระบรมราชชนนีเสด็จทิวงคต และสิ้นพระชนม์ล่วงไปถึง ๒ พระองค์ ดังนั้น แม้ ส มเด็ จ ฯ เจ้ า ฟ้ า ประชาธิ ป กศั ก ดิ เ ดชน์

กรมหลวงสุโขทัยธรรมราชาจะไม่เคยมีพระ ประสงค์ จ ะเสด็ จ ขึ้ น ครองราชย์ แต่ เ มื่ อ พระบาทสมเด็ จ พระมงกุ ฎ เกล้ า เจ้ า อยู ่ หั ว เสด็ จ สวรรคตในคื น วั น ที่ ๒๕ พฤศจิ ก ายน ๒๔๖๘ สมเด็จพระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราช เทวี มี ป ระสู ติ ก าลพระราชธิ ด า ที่ ป ระชุ ม พระบรมวงศานุวงศ์ เสนาบดี ข้าราชการชั้น ผู ้ ใ หญ่ เ ห็ น ชอบตามกฎมณเฑี ย รบาล และ พระราชพิ นั ย กรรม ประกอบกั บ พระบรม วงศานุวงศ์ทุกพระองค์ ทรงพร้อมจะถวาย ความช่วยเหลือในการบริหารราชการแผ่นดิน อย่ า งเต็ ม ความสามารถ พระองค์ จึ ง เสด็ จ 43


ขึ้ น ครองราชย์ เ ป็ น สมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว เจ้าฟ้าประชาธิปกศักดิเดชน์ กรมหลวงสุโขทัย ธรรมราชา และมี พิ ธี บ รมราชาภิ เ ษก วั น ที่ ๒๕ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๔๖๘ ทรงพระนามว่า พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาประชาธิปก พระปกเกล้ า เจ้ า อยู ่ หั ว รั ช กาลที่ ๗ แห่ ง พระบรมราชวงศ์จักรี แต่ เ ดิ ม พระบาทสมเด็ จ พระปกเกล้ า เจ้าอยู่หัว มิได้ทรงคิดว่าจะได้รับราชสมบัติ เนื่องจากทรงมี พระเชษฐาชั้นสมเด็จเจ้าฟ้า หลายพระองค์ จึ ง ทรงศึ ก ษามาทางด้ า น วิชาการทหาร ตั้งพระราชหฤทัยที่จะสนอง คุณประเทศชาติด้านการทหาร แต่เนื่องจาก ในเวลาต่อมาทรงเป็นสมเด็จพระอนุชาร่วม เสด็จสมเด็จพระบรมราชชนนี พระองค์สดุ ท้าย ของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ยังด�ำรงพระชนม์ชีพในขณะนั้น ดังนั้น ในปี พ.ศ.๒๔๖๗ จึงทรงเริ่มศึกษาวิชาการปกครอง และการบริหารราชการแผ่นดินอย่างจริงจัง จากหนังสือ ที่เป็นหลักราชการแผ่นดิน และ หนังสือราชการต่าง ๆ ซึง่ เป็นพระราชกรณียกิจ ที่ เ จ้ า พระยามหิ ธ ร (ลออ ไกรฤกษ์ ) ราชเลขาธิการ เลือกสรรน�ำขึน้ ทูลเกล้าฯ ถวาย ให้ทอดพระเนตร ทรงพระราชอุตสาหะ ศึกษา อย่างละเอียดลึกซึ้ง ในบรรดาหนังสือทีท่ รงศึกษา พระราชด�ำรัส ของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั เรื่ อ ง การเปลี่ ย นแปลงแก้ ไ ขการปกครอง แผ่ น ดิ น เป็ น เรื่ อ งที่ ท รงโปรดที่ สุ ด พ.ศ. ๒๔๗๐ จึงโปรดเกล้าฯ ให้พิมพ์พระราชทาน แก่พระบรมวงศานุวงศ์ และข้าราชการ มีพระ ราชด�ำริในท้ายพระราชนิพนธ์ค�ำน�ำว่า เป็น แนวทางในการเปลี่ยนแปลงการปกครองที่ดี ควรถือเป็นแบบอย่างต่อไป ดังนี้ “พระบาทสมเด็จพระพุทธเจ้าหลวง ทรง เล็งเห็นการภายหน้าอย่างชัดเจน และทราบ การที่ ล ่ ว งไปแล้ ว เป็ น อย่ า งดี ได้ ท รงพระ ราชด�ำริตริตรองโดยรอบคอบ ได้ทรงเลือก ประเพณีการปกครองทั้งของไทยเราและต่าง ประเทศประกอบกัน ด้วยพระปรีชาสามารถ อันยวดยิ่ง ได้ทรงจัดการเปลี่ยนแปลงวิธีการ ปกครองเป็นล�ำดับมา ล้วนเหมาะกับเหตุการณ์ และเหมาะกับเวลา ไม่ช้าเกินไปไม่เร็วเกินไป 44

พวกเราผู ้ เ ป็ น พระบรมวงศานุ ว งศ์ และ ข้าทูลละอองธุลีพระบาทผู้มีความจงรักภักดี และรู้สึกในพระมหากรุณาธิคุณ แห่งพระบาท สมเด็จพระพุทธเจ้าหลวงอยู่ทุกขณะจิต ควร ตั้งใจด�ำเนินรอยตามพระยุคลบาทตามแต่จะ ท�ำได้ ควรพยายามแลดูการล่วงหน้า แต่ก็ ควรเหลียวหลังดูประเพณี และหลักการที่ล่วง ไปแล้วด้วยเหมือนกัน ใน ๒ อย่างนี้ก็พอจะ ท�ำได้ มียากอยู่เพียงจะเลือกเวลาให้เหมาะสม อย่าให้ช้าเกินไปหรือเร็วเกินไป ข้อนี้แลยาก ยิ่งนัก นอกจากมีสติปัญญาแล้วยังต้องมีโชคดี ประกอบด้วย แต่ถ้าเราท�ำการใด ๆ ไปโดยมี ความสุจริตในใจ แลโดยเต็มความสามารถแล้ว ก็ต้องนับว่าได้พยายามท�ำการงานตามหน้าที่ จนสุดก�ำลังแล้ว...”

เมื่อเสด็จขึ้นครองราชย์ทรงให้ความส�ำคัญ กั บ การเมื อ งการปกครอง และทรงด� ำ เนิ น ตามพระราชด�ำริที่ทรงศึกษามาในรัชกาลก่อน ทั น ที ด้ ว ยทรงเชื่ อ มั่ น ในคุ ณ ประโยชน์ ข อง ระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยว่ามี ความเหมาะสมกับนิสยั รักอิสรภาพของคนไทย และไม่ชอบการกดขี่บีบบังคับ โดยทรงเริ่มจาก การพัฒนาการเมืองของประเทศก่อน แนวทางพระราชด�ำริในการพัฒนาประเทศ ทางด้ า นการเมื อ งนี้ แบ่ ง เป็ น ๒ ระดั บ คื อ แนวทางแรก เป็นการพัฒนาจากเบื้องบนลง สู่เบื้องล่าง หมายถึง การก่อตั้งสถาบันบริหาร ทางการปกครองและพัฒนาสถาบันที่มีอยู่แล้ว ให้ด�ำเนินการบริหารบ้านเมืองตามแนวทาง ประชาธิปไตย เป็นการฝึกหัดและวางรากฐาน

ด้วยเหตุที่พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้า อยู่หัวได้ทรงศึกษาการปกครองแผ่นดินทั้งใน อดีต และจากประสบการณ์ในรัชกาลพระบาท สมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ต้องประทับ เป็น ประธานในที่ ประชุ มเสนาบดี ทรงพระ ราชวิ นิ จ ฉั ย ข้ อ ราชการส� ำ คั ญ ๆ ในหลาย โอกาส นอกจากนี้ ยังทรงพระราชอุตสาหะ ศึกษาระบอบปกครองและการเมืองของนานา ประเทศ ทั้งในยุโรป อเมริกา และเอเชีย ท�ำให้ พระองค์ ท รงมี พ ระปรี ช าสามารถและพระ วิจารณญาณกว้างไกล ทรงพยายามทุกวิถีทาง ที่จะพัฒนาระบอบการปกครองและการเมือง ของประเทศไทย ให้เจริญก้าวหน้าเท่าเทียมกับ นานาอารยประเทศ ทรงริเริ่มที่จะน�ำประเทศ ไปสู่ระบอบการปกครองระบอบประชาธิปไตย อย่างมีแบบแผน โดยมีพระราชด�ำริว่า การ ปกครองระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ก�ำลัง จะพ้นสมัย ประเทศไทยก�ำลังเจริญก้าวหน้า อย่างไม่หยุดยั้งทุกด้าน การปกครองประเทศ จึงน่าจะอยูใ่ นความรับผิดชอบของบุคคลหลาย ฝ่ายร่วมกัน โดยเฉพาะประชาชนในชาติ ควรมี ส่วนรู้เห็นในกิจการเหล่านี้ด้วย

ทั้งจะได้อุปถัมภ์แก่รัฐสภา ซึ่งจะมีในโอกาส ต่อไป แนวทางที่สอง คือการพัฒนาจากเบื้อง ล่างขึ้นสู่เบื้องบน ให้ความรู้และเปิดโอกาสให้ ราษฎรได้มีส่วนร่วมในการปกครองตนเอง เริ่ม ตั้งแต่การปกครองท้องถิ่นตามแบบเทศบาล ซึ่งเป็นหน่วยเล็ก ๆ ก่อน และเมื่อประชาชนมี ความรู้ทางการปกครองและการเมืองมากขึ้น จึงพระราชทานอ�ำนาจทางการปกครองขึ้นมา ตามล�ำดับ และเมื่อถึงโอกาสสมควรแล้ว ก็จะ ได้พระราชทานรัฐธรรมนูญเปลี่ยนแปลงการ ปกครองเป็นระบอบประชาธิปไตย พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรง มี พ ระราชวิ นิ จ ฉั ย ว่ า ลั ก ษณะการปกครอง ระบอบประชาธิปไตยที่เหมาะกับประเทศไทย คื อ ระบอบประชาธิ ป ไตยแบบมี พ ระมหา กษัตริย์เป็นประมุข เนื่องจากประเทศไทยมี การปกครองระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ซึ่งมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข ทรงอ�ำนาจ สูงสุดมาเป็นเวลานาน มีลักษณะการปกครอง หลายอย่ า งเป็ น แบบของประชาธิ ป ไตย จึ ง เป็นลักษณะการเมืองแบบผสม เมื่อไม่อาจ ท�ำให้ประชาชนนิยมการปกครองแบบเก่าได้ จุฬาพิช มณีวงศ์


แน่นแฟ้นเหมือนเดิม และยังไม่อาจเปลี่ยน การปกครองเป็ น แบบอื่ น ในขณะนั้ น ได้ ก็ควรเตรียมการที่จะเป็นการปกครองระบอบ ประชาธิปไตยที่มีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข โดยเร็วที่สุด ต้องเร่งให้การศึกษาแก่ประชาชน มีความส�ำนึกทางการเมืองพอที่จะทราบถึงผล ประโยชน์ที่แท้จริงของตน ซึ่งจะช่วยป้องกันมิ ให้ประชาชนถูกชักจูงหรือปลุกระดมไปในทาง ที่ผิดทรงแต่งตั้งที่ปรึกษาราชการชั้นสูงขึ้นมา คณะหนึ่ง เรียกว่า อภิรัฐมนตรีสภา ประกอบ ด้วยพระบรมวงศ์ผู้ใหญ่ทรงคุณวุฒิเชี่ยวชาญ ราชการสาขาต่าง ๆ ๕ พระองค์ ท�ำหน้าที่ เป็นที่ปรึกษาราชการในพระองค์และราชการ แผ่นดิน จนถึงปี พ.ศ.๒๔๗๕ เมื่อเปลี่ยนแปลง การปกครองโดยคณะราษฎร์ ในวั น ที่ ๒๔ มิถุนายน แล้วจึงประกาศยกเลิกอภิรัฐมนตรี สภา เมื่อวันที่ ๑๔ กรกฎาคม พ.ศ.๒๔๗๕ นอกจากนี้ ยังทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ ตราพระราชบัญญัติองคมนตรีสภาขึ้น ในปี พ.ศ.๒๔๗๐ กฎหมายฉบับนี้เองมีผลให้มีสภา ทางการเมืองขึ้น แม้ขณะนั้นยังอยู่ในระบอบ ราชาธิปไตย ทรงด�ำรงฐานะอยู่เหนือกฎหมาย แต่ก็ทรงยอมลดฐานะแลพระราชอ�ำนาจของ พระองค์ลงโดยปริยาย แม้สภานี้จะไม่ได้เป็น สภาของผู้แทนที่ราษฎรเลือกตั้งเข้ามา แต่ก็ ถือว่าเป็นเวทีการเมืองในระบอบประชาธิปไตย เวที แ รกของประเทศไทย พระราชบั ญ ญั ติ องคมนตรีสภาประกอบด้วย กรรมการ ๔๖ คน ทรงพระกรุ ณ าโปรดเกล้ า ฯ แต่ ง ตั้ ง จากผู ้ มี ความรูค้ วามสามารถ ด�ำรงอยูใ่ นต�ำแหน่งคราว ละ ๓ ปี มีพระราชประสงค์ให้สภากรรมการ องคมนตรี เป็นสภาทดลองและฝึกหัดปลูกฝัง วิธีการของระบบรัฐสภาต่อไป พระบาทสมเด็ จ พระปกเกล้ า เจ้ า อยู ่ หั ว ทรงมีพระราชปณิธานที่จะเห็นประเทศไทย มี ก ารปกครองในระบอบประชาธิ ป ไตยใน รั ช กาลของพระองค์ ทรงพระราชอุ ต สาหะ ให้มีการพัฒนาการเมืองอย่างมีขั้นตอนและ หลักเมือง มิถุนายน ๒๕๕๗

สร้ า งสถาบั น การเมื อ งขึ้ น ขณะที่ ส ถาบั น การเมืองก�ำลังด�ำเนินการไปตามขั้นตอน ได้ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เตรียมการร่าง รัฐธรรมนูญอันเป็นกฎหมายสูงสุดในระบอบ การปกครองประชาธิ ป ไตยไปพร้ อ มกั น ใน ครั้งแรกทรงมีพระราชด�ำริว่าจะพระราชทาน ในวาระพระราชพิ ธี ฉ ลองกรุ ง เทพมหานคร ครบรอบ ๑๕๐ ปี พ.ศ.๒๔๗๕ การเตรียม พระราชทานรัฐธรรมนูญนี้เป็นไปอย่างเปิด เผย ดังพระราชด�ำรัสที่พระราชทานสัมภาษณ์ แก่หนังสือพิมพ์ในประเทศสหรัฐอเมริกา เมื่อ ปี พ.ศ.๒๔๗๔ ในการนี้โ ปรดเกล้ า ฯ ให้ พ ระยาศรี วิ ส าร วาจา (เทียนเลี้ยง ฮุนตระกูล) ปลัดทูลฉลอง กระทรวงการต่างประเทศ ผู้ส�ำเร็จเนติบัณฑิต จากประเทศอั ง กฤษ และนายเรมอนด์ บี สตีเวนส์ ที่ปรึกษากระทรวงการต่างประเทศ เป็นกรรมการร่างรัฐธรรมนูญเสร็จในวันที่ ๙ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๗๔ โดยร่างรัฐธรรมนูญฉบับ นีร้ า่ งเป็นภาษาอังกฤษ ชือ่ ว่า “An Outline of Change in the Form of Government” ก�ำหนดรูปแบบของการปกครอง ความสัมพันธ์ ระหว่างอ�ำนาจบริหาร และนิติบัญญัติ ตลอด จนการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไว้ ด้วย พระมหากษัตริยท์ รงแต่งตัง้ นายกรัฐมนตรี ขึ้ น รั บ ผิ ด ชอบต่ อ พระองค์ ใ นงานบริ ห าร ทั้งปวงของรัฐบาล พร้อมกันนี้พระยาศรีวิสาร วาจา และนายเรมอนด์ บี สตีเวนส์ ได้ศึกษา สถานการณ์และสภาพสังคมไทยโดยละเอียด มี บั น ทึ ก ความเห็ น กราบบั ง คมทู ล มี ส าระ ส�ำคัญว่า “การที่ เ ปลี่ ย นระบอบการปกครองเป็ น ประชาธิปไตย โดยพระราชทานรัฐธรรมนูญ เป็นกฎหมายสูงสุดนั้น จะต้องพิจารณาถึงการ จุดให้มกี ารเลือกตัง้ และการทีต่ อ้ งมีสภาผูแ้ ทน ราษฎรด้วย ประชาชนจึงจ�ำเป็นต้องมีความรู้ และความเข้าใจต่อการปกครองระบบใหม่นี้ พอสมควร มิฉะนั้นแล้ว แทนที่จะเป็นผลดีก็จะ

กลับเป็นผลร้าย เพราะผูท้ ไี่ ด้รบั การเลือกตัง้ จะ มีคุณสมบัติทางการเมืองไม่พอ” ความเห็นนี้สอดคล้องกับพระราชด�ำริของ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งมี พระราชประสงค์ให้มีการเตรียมการเป็นขั้นๆ เพื่อให้การศึกษาทางการเมืองกับประชาชน โปรดให้สง่ ส�ำเนาร่างรัฐธรรมนูญและความเห็น ของผู้ร่างน�ำเข้าประชุมในอภิรัฐมนตรีสภา แต่ ไม่ปรากฏว่ามีการพิจารณาเรื่องนี้กันอย่างไร จึ ง ไม่ มี ก ารพระราชทานรั ฐ ธรรมนู ญ ในพระ ราชพิธีฉลองพระนครครบ ๑๕๐ ปี ในเดือน เมษายน พ.ศ.๒๔๗๕ เมื่อเปิดสะพานพระพุทธ ยอดฟ้า วันที่ ๕ เมษายน พ.ศ.๒๔๗๕ ผ่านมา ไม่ถึง ๓ เดือน วันที่ ๒๔ มิถุนายน พ.ศ.๒๔๗๕ การปฏิวัติก็อุบัติขึ้น พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว และ สมเด็จพระนางเจ้าร�ำไพพรรณี พระบรมราชินี ทรงเห็ น ว่ า คนไทยไม่ ค วรล้ า งผลาญกั น เอง เพียงจะสงวนพระราชอ�ำนาจไว้ ในวันที่ ๒๗ มิถุนายน พ.ศ.๒๔๗๕ โปรดให้คณะราษฎรเข้า เฝ้าทูลเกล้าฯ ถวายร่างธรรมนูญการปกครอง แผ่นดินสยามชั่วคราว ทรงลงพระปรมาภิไธย พระราชทานธรรมนู ญ การปกครองแผ่ น ดิ น สยามชั่วคราว พ.ศ.๒๔๗๕ แก่พสกนิกรของ พระองค์ และต่อมาในวันที่ ๑๐ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๗๕ ทรงลงพระปรมาภิไธยพระราชทาน รัฐธรรมนูญฉบับถาวร หลังจากทรงเห็นว่าการปกครองบ้านเมือง มิได้เป็นประชาธิปไตยอย่างแท้จริง จึงทรง ตัดสินพระราชหฤทัยสละราชสมบัติ ในวันที่ ๒ มีนาคม ๒๔๗๗ ดังความในพระราชหัตถเลขา “ข้าพเจ้ามีความเต็มใจทีจ่ ะสละอ�ำนาจอันเป็น ของข้าพเจ้าอยู่แต่เดิมให้แก่ราษฎรโดยทั่วไป แต่ข้าพเจ้าไม่ยินยอมยกอ�ำนาจทั้งหลายของ ข้าพเจ้าให้แก่ผู้ใดคณะใดโดยเฉพาะเพื่อใช้ อ�ำนาจนั้นโดยสิทธิขาด และโดยไม่ฟังเสียงอัน แท้จริงของประชาราษฎร” 45


วาระสุดท้ายของราชวงศ์อลองพญา พลเอก ทรงพล ไพนุพงศ์

พระเจ้าธีบอ (Thibaw Min) ทรงครองราชย์นาน ๗ ปี กับอีก ๕๙ วัน ก็ต้องแพ้ในสงคราม พม่า - อังกฤษ ครั้งที่ ๓ เมื่อปี พ.ศ.๒๔๒๘ อังกฤษมหาอ�ำนาจทางทหารแห่งยุโรปและก้าวขึน้ เป็นมหาอ�ำนาจทางทหารของโลกมีความก้าวหน้าด้านเทคโนโลยีทางทหาร ด้านปืนคาบศิลา ปืนใหญ่ และเรือรบ พร้อมทั้งมีบทเรียนจากการรบในอินเดียนาน ๘๘ ปี และการรบในอัฟกานิสถานนาน ๔๒ ปี(เป็นผลให้อังกฤษต้องชะลอ การเข้ายึดครองพม่า หลังจากสงคราม พม่า - อังกฤษ ครั้งที่ ๒) สนามรบของเอเชียที่ทหารอังกฤษยังไม่คุ้นเคยกับสภาพอากาศและสภาพ ภูมิประเทศ เป็นการสิ้นสุดอาณาจักรพม่าในยุคที่สาม ที่ครั้งหนึ่งได้ก้าวขึ้นสู่จุดสูงสุดของอ�ำนาจทางทหารแห่งอุษาคเนย์ มีกองทัพยิ่งใหญ่ ที่สุดในภูมิภาคนี้.................บทความนี้ กล่าวถึงวาระสุดท้ายของราชวงศ์อลองพญา

๑. สถานการณ์ทั่วไป กองทัพอังกฤษได้นำ� บทเรียนจากการรบใน ครั้งที่ ๑ ท�ำการรบทางบกเป็นหลักจึงเคลื่อน กองทัพรุกไปข้างหน้าได้ช้าและทหารเจ็บป่วย มากจากไข้ป่าจึงใช้เวลานาน ๑ ปี กับอีก ๑๑ เดือน และการรบครั้งที่ ๒ ท�ำการรบนาน ๗ เดือน ได้ท�ำการปรับปรุงด้านด�ำเนินกลยุทธ์ ใหม่ในการรบด้วยวิธีรุก และน�ำมาใช้ในการ รบที่เรียกว่า สงคราม พม่า - อังกฤษ ครั้งที่ ๓ ห่างจากสงคราม พม่า - อังกฤษ ครั้งที่ ๑ เป็น 46

เวลานาน ๖๑ ปี และห่างจากสงคราม พม่าอังกฤษ ครั้งที่ ๒ นาน ๓๓ ปี กองทัพอังกฤษ ใช้เส้นหลักการรุกทางเรือเป็นหลักที่ท�ำการรุก ขึ้นไปทางต้นแม่น�้ำอิระวดีจึงมีความรวดเร็วใน การเคลื่อนที่เพิ่มมากขึ้น เป็นการรบที่ใช้เวลา นานรวมทัง้ สิน้ ๑๑ วัน กองทัพอังกฤษยึดครอง กรุงมัณฑะเลย์ได้ในวันที่ ๒๘ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๒๘ เป็นศูนย์กลางของอ�ำนาจที่กษัตริย์ แห่งอาณาจักรพม่าสัง่ การ เป็นผลให้อาณาจักร

พม่าในยุคที่สามต้องพ่ายแพ้ในสงครามที่เรียก ว่าสงคราม พม่า - อังกฤษ ครั้งที่ ๓ พร้อมทั้ง เป็นการสิ้นสุดการปกครองของราชวงศ์อลอง พญาที่ ช าวสยามรู ้ จั ก หรื อ ราชวงศ์ ค องบอง (Konbaung) ทีย่ งิ่ ใหญ่ในอดีต มีประวัตศิ าสตร์ ทางทหารร่ ว มกั น กั บ ชาวสยามในแผ่ น ดิ น อยุธยาตอนปลาย แผ่นดินธนบุรี และแผ่นดิน รัตนโกสินทร์ตอนต้น พลเอก ทรงพล ไพนุพงศ์


๒. หลังสงคราม พม่า - อังกฤษ พระเจ้าธีบอ (Thibaw Min) ทรงอยู่ใน ราชสมบัติพม่าแห่งกรุงมัณฑะเลย์ เป็นเวลา นาน ๗ ปี กับอีก ๕๙ วัน กองทัพอังกฤษเชิญ กษั ต ริ ย ์ พ ม่ า เสด็ จ พร้ อ มด้ ว ยข้ า ราชบริ พ าร บางส่วนไปยังขบวนเรือ จากปากแม่น�้ำไปยัง ทะเลอั น ดามั น สู ่ เ มื อ งบอมเบย์ ช ายฝั ่ ง ทะเล อาระเบียน (Arabian Sea) ทางด้านตะวันตก ของอินเดีย พระเจ้าธีบอ (Thibaw Min) ทรงมี พระราชโอรส ๒ พระองค์ (ไม่ปรากฏพระนาม สองพระองค์ ) และพระธิ ด า ๖ พระองค์ (ไม่ปรากฏพระนามหนึง่ พระองค์) พระเจ้าธีบอ (Thibaw Min) และพระนางศุภยาลัต ทรงมี พระธิดารวม ๔ พระองค์ ประกอบด้วย เจ้าหญิง เมียะพยาจี (Myat Mibayagyi ประสูติเมื่อ พ.ศ.๒๔๒๓), เจ้าหญิงเมียะพยาลัต (Myat Phaya Lat ประสูติเมื่อ วันที่ ๔ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๒๖), เจ้าหญิงเมียะพยา (Myat Phaya ประสูติเมื่อ วันที่ ๗ มีนาคม พ.ศ.๒๔๒๙) และ เจ้าหญิงเมียะพยากเล (Myat Phaya Galay ประสูติเมื่อ พ.ศ.๒๔๓๐) พระเจ้าธีบอ (Thibaw Min) สวรรคต เมื่ อ วั น ที่ ๑๙ ธั น วาคม พ.ศ.๒๔๕๘ พระ ศพของพระองค์ ถู ก ฝั ่ ง ไว้ ใ กล้ ๆ สุ ส านของ ชาวคริ ส ต์ ที่ เ มื อ งบอมเบย์ อิ น เดี ย พระ ต�ำหนักที่เคยประทับอยู่ในสภาพที่ทรุดโทรม ปัจจุบันรัฐบาลอินเดียได้อนุมัติงบประมาณ เพื่อท�ำการปรับปรุงใหม่ หลังจากที่พระเจ้า ธีบอ (Thibaw Min) สวรรคตแล้ว พระราช ธิดาพระองค์โตเจ้าหญิงเมียะพยาจี (Myat Mibayagyi) ยั ง คงประทั บ อยู ่ ที่ อิ น เดี ย จน

พระเจ้าธีบอ (Thibaw Min) พร้อมด้วยราชวงศ์ ขณะที่ทรงประทับอยู่ที่เมืองรัตนคีรี ใกล้กับเมืองบอมเบย์ อินเดีย

พระเจ้าธีบอ (Thibaw Min) ขณะทรงประทับอยู่ที่เมืองรัตนคีรี ใกล้กับเมืองบอมเบย์ อินเดีย พร้อมด้วยข้าราชส�ำนัก (ภาพถ่ายนี้ ถ่ายขึ้นก่อน พ.ศ.๒๔๔๓) หลักเมือง มิถุนายน ๒๕๕๗

สิ้ น พระชนม์ ปี พ.ศ.๒๔๙๐, เจ้า หญิงเมียะ พยาลัต (Myat Phaya Lat) ยังคงประทับ อยู่ที่อินเดีย จนสิ้นพระชนม์ที่เมืองกาลิมปง อินเดีย เมื่อวันที่ ๔ เมษายน พ.ศ.๒๔๙๙, เจ้าหญิงเมียะพยา (Myat Phaya) ได้เสด็จ กลับพม่าพร้อมกับพระราชมารดา ทรงประทับ อยู่ที่เมืองร่างกุ้ง พระนางสิ้นพระชนม์ เมื่อ วันที่ ๒๑ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๐๕ และเจ้าหญิง เมี ย ะพยากเล (Myat Phaya Galay) สิ้ น พระชนม์ ที่ เ มื อ งเมาะล� ำ เลิ ง หรื อ เมื อ ง 47


พระนางศุภยาลัต (Supayalat) พระมเหสีของพระเจ้าธีบอ (Thibaw Min) ขณะที่  ทรงบวชี มะละแหม่ง (ซึ่งปัจจุบันคือเมืองเอกของรัฐ มอญ) เมื่อ พ.ศ.๒๔๗๘ พระนางศุภยาลัตทรง ประทับอยู่ที่เมืองร่างกุ้งที่อังกฤษจัดถวายให้ นาน ๑๐ ปี พระนางทรงสิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ ๒๔ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๔๖๘ ขณะมีพระชนมายุ ได้ ๖๕ พรรษา และพระนางอเลนันดอ (พระ ราชมารดาของพระนางศุภยาลัต พระนามจริง ว่าสิ่นพยูมาชิน (Hsinbyumashin) มีความ หมายว่านางพญาช้างขาว) ทรงเป็นพระมเหสี ต�ำหนักกลางในพระเจ้ามินดง (Mindon Min) ได้เสด็จกลับสู่พม่าก่อน และทรงประทับอยู่ที่ เมืองมะละแหม่งจนสิ้นพระชนม์ หลังสงคราม พม่า - อังกฤษ ครั้งที่ ๑ อังกฤษได้รับชัยชนะ ได้น�ำเงินรูปีอินเดียเข้าไป ใช้ ใ นเมื อ งท่ า พม่ า ที่ อั ง กฤษเข้ า ครอบครอง (อังกฤษยึดได้เมืองอาระกันและเมืองตะนาวศรี การปกครองขึ้ น ตรงต่อเบงกอลของอังกฤษ เป็ น เมื อ งท่ า หลั ก ที่ ส� ำ คั ญ ด้ า นชายฝั ่ ง ทะเล

48

อันดามัน ที่ใช้ติดต่อค้าขายกับต่างอาณาจักร) หลังสงคราม พม่า - อังกฤษ ครั้งที่ ๒ อังกฤษ ได้ รั บ ชั ย ชนะเข้ า ครอบครองพม่ า ตอนล่ า ง (ยึ ด ได้ เ มื อ งพะโคหรื อ หงสาวดี ขึ้ น ตรงต่ อ ข้าหลวงอังกฤษที่อินเดีย) ได้เปิดธนาคารที่ เมืองย่างกุ้ง เมืองอักยับ และเมืองเมาะล�ำเลิง พม่าได้ย้ายเมืองหลวงจากเดิมเมืองอมรปุระ ไปยั ง เมื อ งหลวงแห่ ง ใหม่ คื อ กรุ ง มั ณ ฑะเลย์ (พระเจ้ามินดงเป็นผู้สร้างเมืองหลวงแห่งใหม่ ขึน้ เมือ่ ปี พ.ศ.๒๔๐๐) เมือ่ อังกฤษชนะสงคราม พม่า - อังกฤษ ครั้งที่ ๓ ก็สามารถครอบครอง พม่าทั้งอาณาจักร พร้อมทั้งผนวกน�ำพม่าเข้า เป็นเพียงมณฑลหนึ่งของอินเดีย อังกฤษได้ ยกเลิกการปกครองดั้งเดิมของพม่า ยุบสภา ลุ ต ดอร์ และราชส� ำ นั ก พร้ อ มทั้ ง จั ด ระบบ ราชการของพม่าใหม่ตามแบบการปกครอง ของอังกฤษที่อินเดีย ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับ ด้านศาล ด้านต�ำรวจ ด้านภาษี และผู้บริหาร เป็นชาวอังกฤษ

กู่มณฑปบรรจุพระอัฐิของพระนางศุภยาลัต (Supayalat) อยู่ห่างทางด้านใต้ของ  พระเจดีย์ ชเวดากองประมาณ ๒๐๐ เมตร สร้างเป็นกู่ทรงมณฑปยอดปราสาทแบบพม่า

พลเอก ทรงพล ไพนุพงศ์


๓. บทสรุป กองทั พ อั ง กฤษชนะในสงคราม พม่า อั ง กฤษ ครั้ ง ที่ ๓ เป็ น ผลให้ พ ระเจ้ า ธี บ อ (Thibaw Min) แห่งราชวงศ์อลองพญาต้อง เสด็จไปประทับอยู่ที่เมืองรัตนคีรี ใกล้กับเมือง บอมเบย์ อินเดีย จนสิ้นพระชนม์ด้วยวัย ๕๖ พรรษา พระองค์ทรงประทับอยู่ที่เมืองรัตน คีรีนานถึง ๓๐ ปี ราชวงศ์บางส่วนได้ประทับ อยู่ที่อินเดียต่อไปและบางส่วนได้เสด็จกลับสู่ พม่า เป็นห้วงหนึ่งของประวัติศาสตร์พม่าที่ ก้าวเข้าสู่ยุคตกต�่ำที่สุดของอาณาจักรในยุค ล่าอาณานิคมจากมหาอ�ำนาจทางทหารจาก ทวีปยุโรป

พระต�ำหนักที่พระเจ้าธีบอ (Thibaw Mim) เคยประทับที่เมืองรัตนคีรี อยู่ทางใต้  ของเมืองบอมเบย์ อินเดีย หลักเมือง มิถุนายน ๒๕๕๗

49


“หนูอยากเป็นทหาร” พันเอกหญิง วันดี โตสุวรรณ

อ่านมาถึงตรงนีอ้ ย่าแปลกใจนะคะว่า เด็ก ๆ มาเรียนหลักสูตรค่ายภาษา แต่ท�ำไมไม่เอ่ย ถึงการเรียนทางด้านภาษาเลย จริง ๆ แล้ว ในการจั ด หลั ก สู ต รในลั ก ษณะนี้ นอกเหนื อ จากการให้ ค วามรู ้ ท างด้ า นภาษาแล้ ว สิ่ ง ส� ำ คั ญ ในการจั ด หลั ก สู ต รให้ แ ก่ บุ ต รหลาน ข้ า ราชการที่ ท ่ า นปลั ด กระทรวงกลาโหมได้ กรุ ณ าด� ำ ริ ใ ห้ ห น่ ว ยงานในสั ง กั ด กระทรวง กลาโหมได้จัดกิจกรรมให้แก่บุตรหลานของ ทหารนั้น ก็เพื่อเป็นสวัสดิการอย่างหนึ่งให้แก่

นี่

เป็นค�ำพูดของน้องน�้ำฟ้า นักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ ๕ ซึ่งเป็นลูกสาว ของข้าราชการสังกัดส�ำนักงานปลัด กระทรวงกลาโหมที่เข้ามาอบรมหลักสูตรค่าย ภาษาภาคฤดู ร ้ อ น ที่ ก รมวิ ท ยาศาสตร์ แ ละ เทคโนโลยีกลาโหมจัดขึน้ ในช่วงวันที่ ๒๑ – ๒๕ เมษายน ๒๕๕๗ เพื่อส่งเสริมให้บุตรหลานของ ข้าราชการและลูกจ้างสังกัดกระทรวงกลาโหม ได้เพิ่มพูนความรู้และทักษะในการพัฒนาการ ใช้ภาษาอังกฤษและภาษาจีนเพื่อรองรับการ เข้าสู่ประชาคมอาเซียน ในช่วงหยุดพักภาค ฤดูร้อน น้องน�้ำฟ้าจะเหมือนเพื่อน ๆ อีกหลายคน ที่อยู่กับคุณย่าที่ต่างจังหวัดและจะได้มีโอกาส มาอยู่กับพ่อแม่ก็เพียงช่วงภาคฤดูร้อน น�้ำฟ้า บอกว่า ตื่นเต้นมากที่ได้มาเรียนที่ ศูนย์ภาษา ต่างประเทศ ร่วมกับเพื่อน ๆ อีก ๕๐ กว่า ชีวิต น้องน�้ำฟ้าบอกว่า “หนูเห็นพี่ ๆ เขาแต่ง เครื่องแบบและเวลาเดินทางสวนกัน เขาแสดง ความเคารพกัน บางคนก็ยืนตรง บางคนก็โค้ง ค�ำนับ ทุกคนมีระเบียบวินัยมากเลยค่ะ โตขึ้น หนูอยากเป็นทหารค่ะ เขาให้หนูเป็นไหมคะ” ระหว่างทีน่ อ้ งน�ำ้ ฟ้าถามอาจารย์วนั ดี หนุม่ ต้าร์ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ซึ่งมีทั้งคุณพ่อ และคุณแม่ เป็นทหารทัง้ คู่ รีบตอบแทนอาจารย์ วันดีวา่ “ได้ซิ ก็ตอ้ งเรียนให้เก่ง ๆ นะ เป็นทหาร 50

เป็นได้ทงั้ หลายอย่าง เป็นนักรบ เป็นหมอทหาร เป็นพยาบาล ครู นักบิน วิศวกร นักการทูต นักบัญชี นักกฎหมาย และเลขานุการ ก็ได้ แต่ ที่ส�ำคัญเราต้องจงรักภักดีต่อพระมหากษัตริย์ และท�ำคุณงามความดีให้แก่ส่วนรวม ต้องเสีย สละเพื่อรักษาอธิปไตยของชาติ” อาจารย์วันดีได้ยินน้องต้าร์พูดแบบนี้ ถึง กับอึ้งไปเลย รู้สึกประทับใจความคิดของต้าร์ มากว่าเด็กตัวแค่นยี้ งั มีความคิดทีด่ ี ๆ น่าชืน่ ชม จริง ๆ เลยมีแนวคิดขึ้นมาทันทีที่ขอให้เด็ก ๆ เขียนเรียงความสั้น ๆ ในหัวข้อ “ถ้าคุณเป็น ทหาร คุณท�ำอะไรให้แก่กองทัพ” ค�ำตอบส่วน ใหญ่ที่สรุปได้มีดังนี้ ๑. อยากไปเป็นทหารลาดตระเวนตามแนว ชายแดนเพื่อป้องกันประเทศ ๒. อยากช่วยประชาชนที่เดือดร้อนจากภัย พิบัติและอุทกภัยต่าง ๆ ๓. อยากสร้างเสื้อเกราะกันระเบิดให้กับ เพื่อน ๆ นักเรียนในพื้นที่สามจังหวัดชายแดน ภาคใต้ ๔. อยากเป็นหมอทหารไปรักษาพลทหาร ที่บาดเจ็บ ๕. อยากเป็นพยาบาลที่โรงพยาบาลค่าย ๖. อยากสร้างเครื่องบินรบ เรือด�ำน�้ำ รถถัง ปืนเลเซอร์ เป็นต้น

ครอบครัวที่ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายเพิ่มเติมใน การส่งบุตรหลานไปเรียนพิเศษในช่วงภาคฤดู ร้อน นอกจากนี้ ยังเป็นการส่งเสริมความใกล้ ชิดของครอบครัวทหาร การส่งเสริมให้เยาวชน ได้เรียนรู้ และซึมซับวัฒนธรรมการเป็นทหารที่ ดี การมีระเบียบ วินัย ตลอดจนการสร้างความ ตระหนักรู้ถึงความสามัคคี การสร้างความรัก ความอบอุ่น การเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ซึ่งกันและกัน ที่ส�ำคัญท�ำให้เขาเหล่านั้น มีความประทับใจ ในบุพการีที่ได้ปฏิบัติหน้าที่อันทรงเกียรติใน ฐานะที่เป็นทหารไทย ส่วนกิจกรรมทางด้านภาษานั้น ปีนี้เราได้ จัดอย่างเข้มข้นทีเ่ น้นการเรียนรูเ้ พือ่ การสือ่ สาร เสริมการกล้าพูด การแสดงออก ส่งเสริมให้ สร้างแนวคิดในเชิงสร้างสรรค์และที่ส�ำคัญคือ การท�ำงานเป็นทีม อย่างเช่น ๑. วิชาภาษาอังกฤษ เราได้รบั การสนับสนุน วิทยากรจาก มร.แอนดรูว์ บิกส์ ผู้เชี่ยวชาญ ในการสอนภาษาอังกฤษ ได้มากิจกรรมการ เรียนภาษาอังกฤษ เช่น การออกเสียงที่เด็ก ไทยมักจะมีปัญหา เช่น เสียง th ที่จะต้องฝึก แลบลิ้นแล้วพ่นลม ได้แก่ thin, think, thank, through, three เสียงค�ำลงท้ายที่เด็กไทยไม่ ออกเสียง เช่น box ต้องออกเสียงว่า บ๊อกสึ แต่เรามักจะออกเสียงแค่ บ๊อก ค�ำว่า milk เราควรออกเสียง มิวคึ แต่เราออกเสียงแค่ มิว พันเอกหญิง วันดี โตสุวรรณ


ดังนั้น ในวันนั้นคุณครูฝรั่งและคณะ พากันงัด ปากเด็ก ๆ ท�ำให้เด็ก ๆ ออกเสียงได้ดีขึ้นเยอะ (ที่พูดแบบนี้ไม่ได้โม้นะคะ เด็ก ๆ เขาท�ำได้ จริง ๆ ค่ะ ลองออกเสียงค�ำเหล่านี้ด้วยการ ออกเสียงค�ำลงท้ายดูซิคะ gun (กันนึ) crab (เคร็บบึ) bench (เบ็นเชอะ) หรือ look (ลุคคึ) เป็นต้น นอกจากการออกเสียงแล้ว มีการสอน ให้เด็ก ๆ ฝึกใช้ส�ำนวนที่ใช้บ่อย ๆ ในการ สื่อสาร การทักทาย การขอโทษ เช่น How are you doing? Nice to meet you. Pardon me. Can you repeat it?. Sorry, I don’t understand what you said. Can I help you? Excuse me. การเรียนคณิตศาสตร์ เป็นภาษาอังกฤษ ตลอดจนการเล่นเกมส์เพื่อ เสริมสร้างความคิดสร้างสรรค์อีกมากมาย ในวิชาภาษาจีน มีเด็ก ๆ หลายคนมีพนื้ ฐาน ความรู้อยู่แล้วบ้าง ท�ำให้การสอนได้รวดเร็ว มากยิง่ ขึน้ เด็ก ๆ เรียนรูค้ ำ� ศัพท์ ประโยคภาษา จีนง่าย ๆ เช่น คุณสบายดีไหม (หนี่ห่าวมะ) ขอบคุณ (เซียเซีย) ลาก่อน (จ้ายเจี้ยน)ฉัน ชื่อ...... (หว่อเจี๋ยว.....) คุณชื่ออะไร (หนิน เจี้ยวเสิ่นเมอหมิงจื้อ) คุณพูดภาษาจีนได้ไหม (หนินฮุ่ยเจี่ยงอิงหยู่มะ) ฉันไม่เข้าใจ (หว่อปู้ฮุ่ย ฮั่นหยู่) เป็นต้น เผลอแป๊บเดียว ก็จบหลักสูตรในวันศุกร์ ที่ ๒๕ เมษายน ๒๕๕๗ ในวันพิธีปิดเด็กทั้ง สองกลุ่มทั้งนักเรียนชั้นประถมและมัธยมตั้ง แถวเข้ารับใบประกาศนียบัตร ในการผ่านการ อบรมหลักสูตรค่ายภาษาภาคฤดูร้อนประจ�ำปี ๒๕๕๗ เด็ก ๆ มีสีหน้าและแววตาที่สดใส เขา ร่วมกันร้องเพลงขอบคุณผู้ใหญ่ใจดี ขอบคุณ คุ ณ ครู ขอบคุ ณ พี่ ๆ ที่ ค อยดู ง านทั้ ง ความ ปลอดภัย อาหารการกินทั้งอาหารว่างและ อาหารกลางวัน และสัญญาว่าจะน�ำความรู้ที่ ได้รับ ไปท�ำให้ได้คะแนนวิชาภาษาอังกฤษและ ภาษาจีน ให้ดีขึ้น และยังคงยืนยันว่า “โตขึ้น หนูจะเป็นทหาร” See you next year. หลักเมือง มิถุนายน ๒๕๕๗

ฝากโครงสร้างของ Tense ทั้ง ๑๒ ไปให้ เด็ก ๆ ด้วยคะ Present Tense (เหตุการณ์ในปัจจุบัน) [1.1] S + Verb 1 + …… (บอกความจริงที่ เกิดขึ้นง่าย ๆ ตรง ๆ ไม่ซับซ้อน). I play football everyday. (ฉันเล่น ฟุตบอลทุกวัน) [Present] [1.2] S + is, am, are + Verb 1 ing + …(บอกว่าเดี๋ยวนี้ก�ำลังเกิดอะไรอยู่). I am playing football now. (ฉันก�ำลัง เล่นฟุตบอลในขณะนี้) [1.3] S + has, have + Verb 3 + …. (บอก ว่าได้ท�ำมาแล้วจนถึงปัจจุบัน). I have played for two hours. (ฉันเล่น ฟุตบอลมาเป็นเวลาสองชั่วโมงแล้ว) [1.4] S + has, have + been + Verb 1 ing + …(บอกว่าได้ท�ำมาแล้วและก�ำลังท�ำ ต่อ ไปอีก). I have been playing football for an hour. (ฉันเล่นฟุตบอลมาเป็นเวลาหนึ่งชั่วโมง แล้วและจะเล่นต่อ) Past Tense (อดีต) [2.1] S + Verb 2 + ….. (บอกเรื่องที่เคย เกิดมาแล้วในอดีต). I played football yesterday. (ฉันเล่น ฟุตบอลเมื่อวานนี้) [Past] [2.2] S + was, were + Verb 1 + … (บอกเรื่องที่ก�ำลังท�ำอยู่ในอดีต). I was playing football yesterday evening. (ฉันก�ำลังเล่นฟุตบอลอยู่เมื่อเย็น วานนี้) [2.3] S + had + verb 3 + … (บอกเรื่อง ที่ท�ำมาแล้วในอดีตในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง). I had played football when it rained yesterday. (ฉันเล่นฟุตบอลเสร็จพอดี ก่อนที่ ฝนจะตกเมื่อวานนี้) [2.4] S + had + been + verb 1 ing + …(บอกเรื่องที่ท�ำมาแล้วอย่างต่อเนื่องไม่หยุด).

I had been playing football when it rained yesterday. (ฉันเพิ่งเล่นฟุตบอลเสร็จ หมาด ๆ ฝนก็ตกเมื่อวานนี้) Future Tense (อนาคต) [3.1] S + will, shall + verb 1 + …. (บอก เรื่องที่จะเกิดขึ้นในอนาคต) I will play football tomorrow. (ฉันจะ เล่นฟุตบอลวันพรุ่งนี้) [3.2] S + will, shall + be + Verb 1 ing + …. (บอกว่าอนาคตนั้น ๆ ก�ำลังท�ำอะไรอยู่). I will be playing football tomorrow morning. (ฉันคงจะก�ำลังเล่นฟุตบอลในวัน พรุ่งนี้เช้า) [3.3] S + will, shall + have + Verb 3 +…(บอกเรื่องที่จะเกิดหรือส�ำเร็จในช่วงเวลา ใดเวลาหนึ่ง). I will have played football by the time you pick me up. (ฉันคงจะเล่นฟุตบอลเสร็จแล้ว ตอนที่คุณ มารับฉัน) [3.4] S + will, shall + have + been + verb 1 ing + .... (บอกเรื่องที่จะท�ำอย่างต่อ เนื่องในเวลาใดเวลาหนึ่งในอนาคตและจะท�ำ ต่อไปเรื่อยข้างหน้า). I will have been playing football for an hour when you pick me up. (ฉันคงจะเล่นฟุตบอลเสร็จหมาด ๆ ตอนที่ คุณมารับฉัน)

51


สาระน่ารู้ทางการแพทย์

“ตื่นตัว แต่ไม่ตื่นตระหนก รับมือไข้หวัดใหญ่ชนิด A”

ส�ำนักงานแพทย์ ส�ำนักงานสนับสนุนส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม

ากสถานการณ์ที่มีการยืนยันการ ระบาดของโรคไข้หวัดนกเอช ๗ เอ็ น ๙ (H7N9) ที่ ส าธารณรั ฐ ประชาชนจีน โดยพบว่าเป็นครั้งแรกที่หวัด นกสายพันธุ์ H7N9 ท�ำให้มนุษย์เสียชีวิต ซึ่ง ขณะนี้ในจีนมีทั้งผู้ป่วยที่เสียชีวิตแล้ว พบผู้ ป่วยยืนยันการติดเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่ชนิด A (H7N9) ณ วันที่ ๒๖ เม.ย. ๕๗ จ�ำนวน ๔๒๗ ราย เสียชีวิต ๖๘ ราย ก�ำลังรักษาพยาบาล อยู่ และรักษาหายแล้ว โดยคณะกรรมการ สาธารณสุขและวางแผนครอบครัวแห่งชาติ จีนแถลงว่ายังไม่พบหลักฐาน ที่แสดงว่าไข้ หวัดนก H7N9 ระบาดจากคนสู่คน แต่ก็ก�ำลัง วิเคราะห์ว่าการติดต่อที่เกิดระหว่างสัตว์ปีกสู่ คนในครั้งนี้จะน�ำไปสู่การติดต่อระหว่างคนสู่ คนได้หรือไม่ เรามาเรียนรูถ้ งึ เชือ้ ไวรัสสายพันธุ์ A (H7N9) กัน เชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่ มี ๓ ชนิด คือ ชนิด A, B และ C ซึ่งเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่ ชนิด A และ B ในมนุษย์ มักเป็นสาเหตุให้เกิดการระบาด 52

ตามฤดูกาล โดยแหล่งรังโรคตามธรรมชาติของ เชื้อไข้หวัดใหญ่ ชนิด A คือ นก อย่างไรก็ตาม เชือ้ ไวรัสไข้หวัดใหญ่ ชนิด A สามารถท�ำให้เกิด การติดเชือ้ ได้ในมนุษย์ นก สัตว์เลีย้ งลูกด้วยนม และสัตว์อื่น ๆ ได้ เชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่ ชนิด A แบ่งออกเป็น ๒ ชนิดย่อย ตามชนิดของโปรตีน บนผิวของเชื้อไวรัส คือ Hemagglutinin (HA) และ Neuraminidase (NA) ซึ่งประกอบด้วย HA จ�ำนวน ๑๖ ชนิดย่อย (H1-16) และ NA จ�ำนวน ๙ ชนิดย่อย (N1-9) โดยสามารถเกิด การผสมผสานระหว่างโปรตีน HA และ NA ชนิดย่อยต่าง ๆ ได้หลากหลายรูปแบบ เชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่ ชนิด A H7 สามารถ แบ่งได้เป็น ๙ สายพันธุ์ (เช่น H7N1-9) โดย ส่วนใหญ่เชื้อไวรัส H7 ที่พบทั่วโลก พบอยู่ ในนกป่าและสัตว์ปีก แต่การพบเชื้อไวรัส H7 ในมนุษย์เป็นเรื่องที่พบได้ไม่บ่อยนัก อย่างไร ก็ตาม เคยพบมีการรายงานว่า มีการติดเชื้อ ไวรัส H7 ในบุคคลที่มีการสัมผัสโดยตรงกับ นกที่ติดเชื้อ ส�ำนักงานแพทย์ ส�ำนักงานสนับสนุนส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม


อาการหลั ก ของการติ ด เชื้ อ ไวรั ส ไข้ ห วั ด นกสายพันธุ์ H7N9 ในคน ผู้ป่วยส่วนใหญ่ มี อาการปอดอั ก เสบเฉี ย บพลั น โดยมี อ าการ ประกอบด้วย มีไข้สูงเฉียบพลัน ไอ และอาการ ติดเชื้อระบบทางเดินหายใจ ในระยะแรกของ การเกิดโรคจากนั้น ๕ - ๗ วันนับจากวันเริ่ม ป่ ว ย ผู ้ ป ่ ว ยจะมี อ าการปอดอั ก เสบรุ น แรง ได้แก่ อาการหายใจล�ำบาก และอาจพัฒนาไป สู่กลุ่มอาการทางเดินหายใจล�ำบากเฉียบพลัน (Acute Respiratory Distress Syndrome) อย่างรวดเร็ว และเสียชีวิตในที่สุด การติดเชื้อไวรัสไข้หวัดนกสายพันธุ์ H7N9 ในคน ซึง่ มีความเป็นไปได้วา่ อาจจะมาจากสัตว์ ปีก และมีการพัฒนามาสู่การติดเชื้อในสัตว์ เลี้ยงลูกด้วยนม เชื้อไวรัสไข้หวัดนกสายพันธุ์ H7N9 แตกต่างจากเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่สาย พันธุ์ H1N1 และ H5N1 เนื่องจากเป็นคนละ สายพั น ธุ ์ กั น แม้ ว ่ า จะเป็ น เชื้ อ ไข้ ห วั ด ใหญ่ ชนิด A เหมือนกัน โดยเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่ สายพันธุ์ H1N1 อาจจ�ำแนกได้เป็นชนิดที่ปกติ จะติ ด เชื้ อ ในคน หรื อ ชนิ ด ที่ ป กติ จ ะติ ด เชื้ อ ในสัตว์ ส่วนเชือ้ ไวรัสไข้หวัดนกสายพันธุ์ H7N9 และ H5N1 ส่วนใหญ่เป็นเชื้อไวรัสที่ติดเชื้อ ในสัตว์ แต่บางครั้งก็ติดเชื้อในคนได้ เชือ้ ไวรัสไข้หวัดนกสายพันธุ์ H7N9 สามารถ ติดต่อจากคนสู่คนได้หรือไม่ ซึ่งในขณะนี้ยังไม่ แน่ชัดว่าเชื้อไวรัสนี้ติดต่อมาจากนกได้อย่างไร รวมทั้ ง ยั ง ไม่ พ บความเชื่ อ มโยงทางระบาด วิทยาระหว่างผู้ป่วย ซึ่งการสอบสวนโรคยังคง ด�ำเนินการอย่างต่อเนื่อง แต่จนถึงขณะนี้ ยัง ไม่พบการติดเชื้อจากการตรวจเลือดผู้สัมผัส อย่างไรก็ตามยังไม่สามารถตัดความเป็นไปได้

หลักเมือง มิถุนายน ๒๕๕๗

ของการติดต่อระหว่างคนสู่คนออกได้ จนกว่า จะมีความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับลักษณะของเชื้อ ไวรัสและผลจากการสอบสวนโรค วิธีการป้องกันการติดเชื้อไวรัสไข้หวัดนก สายพันธุ์ H7N9 โรคไข้หวัดใหญ่หรือไข้หวัด นก เป็นโรคติดเชื้อทางเดินหายใจเฉียบพลัน สามารถป้องกันได้โดยการล้างมือ การป้องกัน การติด เชื้ อ ในระบบทางเดิ น หายใจ การรั บ ประทานอาหารปลอดภัย และการรักษาสุข อนามัย อันได้แก่ การล้างมือด้วยน�ำ้ และสบู่ ทัง้ ก่อน ระหว่าง และหลังเตรียมอาหาร ก่อนรับประทานอาหาร หลังจากเข้าห้องน�้ำ และหลังจากสัมผัสสัตว์ รวมทั้งเมื่อมือสกปรก ควรปิดจมูกและปากด้วยกระดาษทิชชู หรือผ้าเช็ดหน้าขณะที่ไอหรือจาม เพื่อหลีก เลี่ยงการแพร่เชื้อไวรัสต่าง ๆ ไปยังบุคคลอื่น อยู่ในสถานที่มีอากาศถ่ายเทได้สะดวก รับประทานอาหารที่ถูกสุขลักษณะ ดูแลรักษาร่างกายให้แข็งแรงอยู่เสมอ

สามารถป้องกันตัวเอง ได้อย่างไร? โรคติดเชื้อทางเดินหายใจ เช่น โรคไข้หวัด ใหญ่ สามารถป้องกันได้โดยการล้างมือ และ ควรปิดจมูกและปากด้วยกระดาษทิชชูหรือ ผ้าเช็ดหน้าขณะที่ไอหรือจาม นอกจากนี้ควร หลีกเลีย่ งจากการสัมผัสสัตว์ปกี ทีป่ ว่ ยและตาย ส�ำหรับการเดินทางระหว่างประเทศยังสามารถ เดินทางได้ตามปกติ ไม่จ�ำเป็นต้องจ�ำกัดการ เดินทาง ผู้ที่จะเดินทางไปต่างประเทศ ให้หลีก เลี่ยงการสัมผัสกับสัตว์ปีก รวมทัง้ นกธรรมชาติ และหากผู้เดินทางมีอาการคล้ายโรคไข้หวัด ใหญ่ เช่น มีไข้ ไอ ปวดเมื่อยตามร่างกาย และ เคยสัมผัสสัตว์ปกี หรือผูป้ ว่ ยปอดบวม ให้ไปพบ แพทย์พร้อมแจ้งประวัติสัมผัสโรค บุคลากรทางการแพทย์ มีความเสีย่ งต่อการ ติดเชื้อไวรัสไข้หวัดนกสายพันธุ์ H7N9 สูงกว่า บุคคลทั่วไป เนื่องจากบุคลากรสาธารณสุขมี โอกาสที่ จ ะสั ม ผั ส กั บ ผู ้ ป ่ ว ยที่ ติ ด เชื้ อ สู ง กว่ า บุ ค คลทั่ ว ไป จึ ง มี ค วามเสี่ ย งต่ อ การติ ด เชื้ อ ไวรัสไข้หวัดนกสายพันธุ์ H7N9 สูงกว่า ดัง นั้ น ควรใช้ ม าตรการป้ อ งกั น ควบคุ ม การติ ด เชื้อที่เหมาะสมในการวินิจฉัยและรักษาผู้ป่วย หากได้รับข้อมูลผู้ป่วยสงสัยการติดเชื้อไข้หวัด นกสายพันธุ์ H7N9 ควรใช้มาตรการป้องกัน การแพร่ ก ระจายเชื้ อ ทั่ ว ไปและมาตรการ ป้องกันการติด เชือ้ จากฝอยละออง (Standard precaution plus droplet precaution) ใน การป้องกันการติดเชื้อ เช่น การล้างมือก่อน และหลังสัมผัสผู้ป่วยหรือสัมผัสเชื้อโรค, การ

ใส่หน้ากากอนามัยชนิด N95 เป็นต้น เชื้อไวรัส ไข้หวัดใหญ่มี ๓ ชนิด คือ ชนิด A, B และ C (ชนิด A, B จะพบในคน) ส�ำหรับไวรัสไข้หวัด นกสายพันธ์ุ AH7 สามารถแบ่งได้เป็น ๙ สาย พันธุ์ คือ H7N1-9 แต่จากการรายงานยังไม่ พบการติดเชื้อไข้หวัดใหญ่ชนิด H7N9 มาก่อน

ค�ำถามที่พบบ่อย และตอบข้อสงสัย รับประทานเนื้อหมูหรือไก่ได้หรือไม่ ไก่หรือหมูที่ปรุงสุก (มากกว่า ๗๐ องศา) สามารถรับประทานได้อย่างปลอดภัย ส�ำหรับ สัตว์ที่ป่วยหรือป่วยตายไม่ควรจะรับประทาน

ไปตลาดสดปลอดภัยหรือไม่ หากต้องไปตลาดสดให้หลีกเลี่ยงการสัมผัส สัตว์ที่มีชีวิตรวมทั้งอุปกรณ์ที่บรรจุสัตว์ หาก ท� ำ ฟาร์ ม สั ต ว์ ต ้ อ งมิ ใ ห้ เ ด็ ก เข้ า ใกล้ สั ต ว์ ป ่ ว ย ให้เลี้ยงสัตว์แต่ละชนิดให้ห่างจากกัน และ รายงานหากมีสัตว์ตายผิดปกติ สัตว์ที่ตายให้ ท�ำลาย

มีวัคซีนส�ำหรับไวรัสไข้หวัดนก A(H7N9) หรือยัง ขณะนี้ยังไม่มีวัคซีนส�ำหรับไวรัสไข้หวัดนก A(H7N9) แต่ได้มีการเก็บเชื้อต้นแบบส�ำหรับ การท�ำวัคซีนแล้ว

การรักษาไข้หวัดนก A(H7N9) จากการทดลองในห้ อ งปฏิ บั ติ ก ารพบว่ า สามารถใช้ยา oseltamivir and zanamivir รักษา A(H7N9) ได้แต่ต้องรีบให้ตั้งแต่เริ่มป่วย

เชื้อนี้จะท�ำให้เกิดการระบาดทั่วโลก หรือไม่ เชื้ อ ไข้ ห วั ด นกทุ ก ชนิ ด สามารถท�ำให้เกิด การระบาดไปทั่วโลกได้ แต่ความเป็นไปได้ยัง ไม่ทราบ

ไปเที่ยวเมืองจีนปลอดภัยหรือไม่ จ�ำนวนผู้ป่วยที่รายงานมีไม่มาก องค์การ อนามั ย โลกจึ ง ยั ง ไม่ มี ค� ำ เตื อ นในการเที่ ย ว เมืองจีน

53




พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร เสด็จออกแทน พระองค์ ณ อาคารใหม่สวนอัมพร พระราชทานพระราชวโรกาสให้นายทหารชั้นนายพลและนายต�ำรวจชั้นนายพล ที่ได้รับพระราชทานยศสูงขึ้น ประจ�ำปี ๒๕๕๗ เฝ้าทูลละอองพระบาทถวายสัตย์ปฏิญาณ โดยมี พลเอก นิพัทธ์ ทองเล็ก ปลัดกระทรวงกลาโหมและผู้บัญชาการเหล่าทัพร่วมพิธี เมื่อ ๑๐ พ.ค.๕๗

นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม พร้อมด้วย พลเอก นิพัทธ์ ทองเล็ก ปลัดกระทรวงกลาโหม ผู้บัญชาการเหล่าทัพ และนายทหารชั้นผู้ใหญ่ของส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ร่วมงานสโมสรสันนิบาตเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว เนื่องในวันฉัตรมงคล ณ หอประชุมกองทัพเรือ เมื่อ ๕ พ.ค.๕๗ 56


พลเอก นิพทั ธ์ ทองเล็ก ปลัดกระทรวงกลาโหม เป็นประธานในการจัดงานมหกรรมการประกวดพระเครือ่ งพระบูชาไทย และเหรียญคณาจารย์ ของคณะนักเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า รุ่นที่ ๒๕ ณ ห้องพินิตประชานาถ ภายในศาลาว่าการกลาโหม เมื่อ ๒๒ เม.ย.๕๗

พลเอก นิพัทธ์ ทองเล็ก ปลัดกระทรวงกลาโหม เป็นประธานในพิธีมอบทุนการศึกษาส�ำหรับบุตร ข้าราชการ ลูกจ้าง และพนักงานราชการ ของส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ประจ�ำปีการศึกษา ๒๕๕๗ ณ ห้องพินิตประชานาถ ภายในศาลาว่าการกลาโหม เมื่อ ๗ พ.ค.๕๗ หลักเมือง มิถุนายน ๒๕๕๗

57


พลอากาศเอก ทรงธรรม โชคคณาพิทกั ษ์ รองปลัดกระทรวง กลาโหม เป็นประธานฝ่ายกระทรวงกลาโหม ร่วมกับส�ำนักงาน คณะกรรมการการพั ฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.) ด� ำ เนิ น การจัดการประชุมเจรจาค�ำรับรองการปฏิบัติราชการของ กระทรวงกลาโหม และส่ ว นราชการในสั ง กั ด กระทรวง กลาโหม ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๗ ณ ห้องสุรศักดิ์ มนตรี ภายในศาลาว่าการกลาโหม เมื่อ ๒ พ.ค.๕๗

พลเอก ภัสสร อิศรางกูร ณ อยุธยา เป็นผู้แทนปลัดกระทรวงกลาโหม รับมอบเงินสนับสนุนจากการท่าเรือแห่งประเทศไทย เพือ่ จัดซื้อชุดนิรภัย ส�ำหรับเก็บกู้วัตถุระเบิดและเสื้อเกราะกันกระสุน ส�ำหรับผู้ปฏิบัติงาน ๓ จังหวัดชายแดนใต้ ณ การท่าเรือแห่งประเทศไทย เมื่อ ๑๖ พ.ค.๕๗ 58


พลเอก ชัชวาลย์ ข�ำเกษม เจ้ากรมเสมียนตรา เป็ น ประธานในพิ ธี ป ฐมนิ เ ทศ หลั ก สู ต รการ ฝึกอบรมข้าราชการบรรจุใหม่ชั้นสัญญาบัตร ของส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม รุ่นที่ ๑ ประจ� ำ ปี ง บประมาณ ๒๕๕๗ ณ ห้ อ งพิ นิ ต ประชานาถ ภายในศาลาว่าการกลาโหม เมื่อ ๒๓ เม.ย.๕๗

พลโท กิตติ์ คิ้มวงษ์ษา รองเจ้ากรมเสมียนตราและคณะ ถวายเงินสดคงเหลือตามบัญชีการมอบ “กฐินพระราชทาน กห. ประจ�ำปี ๒๕๕๖” แด่พระเทพวิริยาภรณ์ รองเจ้าคณะกรุงเทพมหานคร/เจ้าอาวาสวัดหัวล�ำโพง ณ วัดหัวล�ำโพง เมื่อ ๑ พ.ค.๕๗ หลักเมือง มิถุนายน ๒๕๕๗

59


พลโท พัชราวุธ วงษ์เพชร เจ้ากรมการอุตสาหกรรมทหาร ศูนย์การอุตสาหกรรมป้องกันประเทศและพลังงานทหาร เยี่ยมชมการเรียนการสอน ภาษาอังกฤษของบุตรหลานข้าราชการกรมการอุตสาหกรรมทหารฯ ณ ห้องเรียนภาษาอังกฤษ ชั้น ๓ อาคารกองบัญชาการกรมการอุตสาหกรรม ทหารฯ เมื่อ ๓๐ เม.ย.๕๗ พลโท ถเกิงกานต์ ศรีอ�ำไพ เจ้ า กรมวิ ท ยาศาสตร์ แ ละ เทคโนโลยี ก ลาโหม เป็ น ประธานในพิธีเปิดการอบรม หลั ก สู ต รค่ า ยภาษาภาคฤดู ร้ อ น ประจ� ำ ปี ง บประมาณ ๒๕๕๗ ณ ห้องประชุมชั้น ๔ อาคารส�ำนักงานปลัดกระทรวง กลาโหม (แจ้งวัฒนะ)

พลตรี ทวี พฤกษาไพรบูลย์ ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานตรวจสอบภายในกลาโหม/ประธานอนุกรรมการตรวจประเมินผลกิจกรรม ๕ส ส�ำนักงาน ปลัดกระทรวงกลาโหม ตรวจเยี่ยมคณะกรรมการตรวจสอบประเมินผลกิจกรรม ๕ส ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ของกรมพระธรรมนูญ และส�ำนักงานตรวจสอบภายในกลาโหม เมื่อวันที่ ๑๙ - ๒๐ พ.ค.๕๗ 60


พลตรี ณภัทร สุขจิตต์ เลขานุการส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม เป็นประธานในโครงการ “ครอบครัวอบอุ่น ต้านภัยยาเสพติด” ประจ�ำ ปีงบประมาณ ๒๕๕๗ เพื่อให้ข้าราชการส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหมและครอบครัวตระหนักถึงภัยยาเสพติดและร่วมกันเป็นเครือข่ายป้องกัน ยาเสพติดในชุมชนที่พักอาศัย ณ โรงแรมสวนบวกหาด อ�ำเภอชะอ�ำ จังหวัดเพชรบุรี ระหว่างวันที่ ๒๔ - ๒๕ เม.ย.๕๗

ส�ำนักงานเลขานุการส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม จัดเจ้าหน้าที่บรรยายการเยี่ยมชมโรงทหารหน้าหลังแรกในประวัติศาสตร์ชาติไทยและ พิพิธภัณฑ์ปืนใหญ่โบราณให้แก่ประชาชนที่สนใจ บริเวณด้านหน้าอาคารศาลาว่าการกลาโหม หลักเมือง มิถุนายน ๒๕๕๗

61


กิจกรรมสมาคมภริยาข้าราชการส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ทันตแพทย์หญิง รัตนาวดี ทองเล็ก นายกสมาคมภริยาข้าราชการส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม และคณะกรรมการสมาคมฯ ร่วมโครงการ “ดูแลห่วงใย ใส่ใจ ผู้สูงอายุ” โดยจัดกิจกรรมชุดแพทย์เคลื่อนที่และให้ความรู้ด้านทันตกรรม, การแสดงดนตรี, การเลี้ยงอาหารกลางวัน รวมทั้งการมอบเงินและสิ่งของส�ำหรับการดูแลผู้สูงอายุ ณ ศูนย์พัฒนาการจัดสวัสดิการสังคมผู้สูงอายุ เมื่อ ๒ พ.ค.๕๗

62


สมาคมภริ ย าข้ า ราชการส� ำ นั ก งานปลั ด กระทรวงกลาโหม จัดกิจกรรมจ�ำหน่ายสินค้า อุปโภคบริโภคในราคาประหยัดกว่า ๑๐๐ รายการให้กับก�ำลังพลของส�ำนักงานปลัด กระทรวงกลาโหม อาทิ ข้าวสาร อาหารแห้ง ต่าง ๆ และสินค้าเบ็ดเตล็ด ณ บริเวณด้าน ข้ า งกระทรวงกลาโหม และส� ำ นั ก งานปลั ด กระทรวงกลาโหม (แจ้งวัฒนะ) เมื่อ ๑ พ.ค.๕๗

หลักเมือง มิถุนายน ๒๕๕๗

63


คณะกรรมการสมาคมภริ ย าข้ า ราชการ ส� ำ นั ก งานปลั ด กระทรวงกลาโหม ลงนาม ถวายพระพรและถวายแจกันดอกไม้ เนื่อง ในวั น คล้ า ยวั น ประสู ติ พระเจ้ า หลานเธอ พระองค์ เ จ้ า ที ป ั ง กรรั ศ มี โ ชติ ณ พระราช วังศุโขทัย เมื่อ ๒๙ เม.ย. ๕๗

ทันตแพทย์หญิง รัตนาวดี ทองเล็ก นายกสมาคมภริยาข้าราชการส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม และคณะกรรมการสมาคมฯ ร่วมงาน วันคล้ายวันสถาปนาส�ำนักงานแพทย์ ส�ำนักงานสนับสนุนส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ครบรอบ ๙ ปี และออกหน่วยแพทย์และทันตกรรม เคลื่อนที่ให้แก่ พระภิกษุ สามเณร และประชาชนทั่วไป พร้อมทั้งมอบแว่นสายตา และเครื่องอุปโภคบริโภค ณ ศาลาการเปรียญ วัดมหาธาตุ ยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรวิหาร เมื่อ ๗ พ.ค.๕๗ 64


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.