ยอดพระกัณฑ์ไตรปิฎก พระคาถาชินบัญชร พาหุง มหากา พระในบ้าน คือ พ่อแม่

Page 1






คลาดเคราะห์ สะเดาะกรรม

ด้วยพลังแห่งพระพุทธมนต์

เล ่ WW ยี ง เช W. ียง L เพ C2 ียร U เพ .C อื ่ พ O ุทธ M ศา สน ์

การสวดมนต์ไหว้พระ จัดเป็นการสร้างกุศลประการหนึง่ ในพระพุทธศาสนา ที่เรียกว่า บุญกิริยาวัตถุ โดยในการสวดมนต์ไว้พระทุกครั้ง ขอให้ ท่านทราบเถิดว่า อย่างน้อยก็เป็นการทำ�บุญถึง ๒ อย่างไปพร้อมกัน คือ ภาวนามัย บุญทีเ่ กิดจากการเจริญภาวนา เพราะกิรยิ าทีเ่ ราท่องบ่น บทสวดมนต์ด้วยจิตเป็นสมาธินั้น ท่านเรียกว่า บริกรรมภาวนา อปจายนมัย บุญที่เกิดจากความอ่อนน้อมถ่อมตน เพราะกิริยาที่ เราน้อมกายลงก้มกราบไหว้พร้อมด้วยใจที่เลื่อมใสศรัทธาในคุณพระรัตนตรัย ก็แสดงให้เห็นถึงความเป็นคนมีความอ่อนน้อมถ่อมตนนั่นเอง ดังนั้น เมื่อการสวดมนต์คือการสร้างบุญคุณความดี ก็ย่อมมีอานิสงส์ แห่งบุญตอบแทนให้ผู้สวดมีความสุขกาย สบายจิต ชีวิตราบรื่นปลอดภัย หนังสือ ยอดกัณฑ์พระไตรปิฎก พระคาถาชินบัญชร พาหุง มหากาฯ เล่มนี้ ได้รวบรวมบทสวดมนต์ที่คนนิยมสวด เพื่อความเป็นสิริมงคลมาไว้ โดย มีบทสวดหลากหลาย เพือ่ ให้เกิดอานิสงส์ความทุกข์เบาบาง เคราะห์กรรมจางหาย ให้มีโชคลาภ เป็นต้น จึงเรียงบทสวดมนต์เป็นรูปเล่มดังที่ถือขณะนี้ ที่ส�ำ คัญ นำ�คำ�สอนบางตอนเรือ่ ง พระในบ้าน ของพระเดชพระคุณพระธรรมกิตติวงศ์ มาต่อท้าย ด้วยใจสำ�นึกเสมอว่า ความกตัญญูรู้คุณต่อท่านผู้มีคุณนั้น เป็น สิ่งสำ�คัญที่จะช่วยให้ผู้ปฏิบัติคลาดจากเคราะห์กรรมทั้งหลายได้แน่แท้ คุณความดีจากการจัดทำ�หนังสือเล่มนี้ ขอน้อมถวายเป็นพุทธบูชา ธรรมบูชา สังฆบูชา อาจริยบูชาแด่ท่านผู้ประพันธ์พระคาถาไว้ และขอ บุญกุศลที่ได้จากการสวดมนต์ตามที่แนะเป็นแนวทางไว้ โปรดอภิบาลคุ้มครอง ทุกท่านให้พ้นกรรมร้าย ความเจ็บอย่าได้ใกล้ ความไข้อย่าได้มี มีชีวิตอยู่เย็น เป็นสุขด้วยเทอญ. น.ธ.เอก, ป.ธ. ๖, พธ.บ., น.บ. รวบรวม/เรียบเรียง


เลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน์

พึ่ง

พาอะไรดี

ยามมีภัยเกิดแก่ชีวิต

เล ่ WW ยี ง เช W. ียง L เพ C2 ียร U เพ .C อื ่ พ O ุทธ M ศา สน ์

สัญชาตญาณรักตัวกลัวตาย มีอยู่ในทุกสรรพสิ่งที่มีชีวิต โดยเฉพาะ สิ่งมีชีวิตที่เรียกว่า คน และยิ่งรู้ว่าตนจะต้องมีเรื่องให้เกิดความเดือดร้อนกายใจ ก็แสวงหาวิธีที่ปัดเป่าบรรเทาให้ทุกข์ภัยห่างหายไปจากตน คนโบราณจึงได้ คิดวิธีการที่จะปลุกปลอบขวัญ เสริมสร้างกำ�ลังใจของคนที่ก�ำ ลังขวัญหนีดีฝ่อ เอาไว้มากมาย เช่น พิธีสืบชาตา เป็นต้น และข้อปฏิบัติสำ�คัญอย่างหนึ่งใน พิธีนั้น ก็ไม่พ้นการสวดมนต์ การสวดมนต์ เป็นการบูชาพระรัตนตรัยอย่างหนึ่ง ซึ่งแสดงออกด้วย การเปล่งวาจากล่าวสรรเสริญคุณของพระรัตนตรัย เพือ่ น้อมเอาคุณงามความดี ของท่านมาไว้ในใจตน ดังเหตุผลที่พระเดชพระคุณหลวงพ่อจรัญ ิตธมฺโม กล่าวอานิสงส์การสวดมนต์ไว้ว่า

“การสวดมนต์ไหว้พระ เป็นภาวนาเบื้องต้น สามารถทํำ�ให้เรามีสติเกี่ยวกับ พุทธานุสติ มีสติในการเจริญพุทธคุณ ธัมมานุสติ มีสติในการเจริญธรรมคุณ สังฆานุสติ มีสติในการเจริญสังฆคุณ แต่ที่สวดไม่ค่อยได้ผล เพราะไม่เจริญสติกัน เท่าไหร่ ก็ว่ากันไปตามที่จํำ�ได้ แต่มันไม่ซึ้งถึงใจ อาตมาถึงแนะให้สวดมนต์ทกุ วัน มันต้องมีสกั วันทีจ่ ติ เราเป็นสมาธิตง้ั มัน่ ผู้ใด สวดมนต์อยู่เป็นประจํำ� ท่านจะมีความสุขหลายประการ มีความสุขตลอดถึงลูกหลาน จะทํำ�กิจการงานใดก็สํำ�เร็จได้ดังประสงค์”

ดังนั้น การสวดมนต์ ผู้ใดปฏิบัติเป็นประจำ� ทำ�ให้จิตใจน้อมเอียงไปใน ความดี คือ ทาน ศีล ภาวนา ได้ง่าย ทำ�ให้เกิดสิริมงคลกับตน ช่วยตัดความ วิตกกังวลฟุ้งซ่านหงุดหงิดใจ แม้ในยามมีภยันตรายหากได้ระลึกนึกถึงคุณพระรัตนตรัย ทำ�ให้ความสะดุ้งหวั่นไหวตกใจกลัวหายไปได้ เป็นอุปนิสัยนำ�ให้ถึง มนุษย์สมบัติ สวรรค์สมบัติ นิพพานสมบัติ สมปรารถนาทุกประการ

ยอดพระกัณฑ์ไตรปิฎก พระคาถาชินบัญชร 3 พาหุง มหากา พระในบ้าน คือ พ่อแม่


เลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน์

บูชา พระรัตนตรัย

จิตใจได้พึ่งอันสูงสุด

การสวดมนต์ คนโบราณท่านแนะให้สวดบูชาคุณพระรัตนตรัยก่อน

เล ่ WW ยี ง เช W. ียง L เพ C2 ียร U เพ .C อื ่ พ O ุทธ M ศา สน ์

เป็นเสมือนการไหว้ครู เพื่อเตรียมจิตให้พร้อมสำ�หรับรองรับคุณงามความดีอื่น ต่อไป คนเราเมื่อใจมีที่พึ่ง จึงไม่มีความหวั่นไหว แม้ในยามประสบภัยต่างๆ โดยสวดตามลำ�ดับ ดังนี้

บทบูชาพระรัตนตรัย

อิมินา สักกาเรนะ พุทธัง อะภิปูชะยามิ. อิมินา สักกาเรนะ ธัมมัง อะภิปูชะยามิ. อิมินา สักกาเรนะ สังฆัง อะภิปูชะยามิ.

บทกราบพระรัตนตรัย

อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ. (กราบ) ส๎วากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม ธัมมัง นะมัสสามิ. (กราบ) สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สังฆัง นะมามิ. (กราบ)

บทขอขมาพระรัตนตรัย วันทามิ พุทธัง สัพพัง เม โทสัง ขะมะถะ เม ภันเต. วันทามิ ธัมมัง สัพพัง เม โทสัง ขะมะถะ เม ภันเต. วันทามิ สังฆัง สัพพัง เม โทสัง ขะมะถะ เม ภันเต. ณฑ์ไตรปิฎก พระคาถาชินบัญชร 4 ยอดพระกั พาหุง มหากา พระในบ้าน คือ พ่อแม่


เลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน์

คำ�สมาทานศีล ๕ ปาณาติปาตา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ. อะทินนาทานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ. กาเมสุ มิจฉาจารา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ. มุสาวาทา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ. สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ.

เล ่ WW ยี ง เช W. ียง L เพ C2 ียร U เพ .C อื ่ พ O ุทธ M ศา สน ์

ชุมนุมเทวดา

ผะริต๎วานะ เมตตัง สะเมตตา ภะทันตา, อะวิกขิตตะจิตตา ปะริตตัง ภะณันตุ, สัคเค กาเม จะ รูเป คิริสิขะระตะเฏ จันตะลิกเข วิมาเน, ทีเป รัฏเฐ จะ คาเม ตะรุวะนะคะหะเน เคหะวัตถุมหิ เขตเต, ภุมมา จายันตุ เทวา ชะละถะละวิสะเม ยักขะคันธัพพะนาคา, ติฏฐันตา สันติเก ยัง มุนิวะระวะจะนัง สาธะโว เม สุณันตุ, ธัมมัสสะวะนะกาโล อะยัมภะทันตา. ธัมมัสสะวะนะกาโล อะยัมภะทันตา. ธัมมัสสะวะนะกาโล อะยัมภะทันตา.

บทนอบน้อมพระพุทธเจ้า นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ. (สวด ๓ จบ)

ยอดพระกัณฑ์ไตรปิฎก พระคาถาชินบัญชร 5 พาหุง มหากา พระในบ้าน คือ พ่อแม่


เลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน์

บทไตรสรณคมน์ พุทธัง ธัมมัง สังฆัง พุทธัง ธัมมัง สังฆัง พุทธัง ธัมมัง สังฆัง

สะระณัง สะระณัง สะระณัง สะระณัง สะระณัง สะระณัง สะระณัง สะระณัง สะระณัง

คัจฉามิ. คัจฉามิ. คัจฉามิ. คัจฉามิ. คัจฉามิ. คัจฉามิ. คัจฉามิ. คัจฉามิ. คัจฉามิ.

เล ่ WW ยี ง เช W. ียง L เพ C2 ียร U เพ .C อื ่ พ O ุทธ M ศา สน ์

ทุติยัมปิ ทุติยัมปิ ทุติยัมปิ ตะติยัมปิ ตะติยัมปิ ตะติยัมปิ

บทสรรเสริญพระพุทธคุณ

อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติ.

บทสรรเสริญพระธรรมคุณ ส๎วากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหีติ. ณฑ์ไตรปิฎก พระคาถาชินบัญชร 6 ยอดพระกั พาหุง มหากา พระในบ้าน คือ พ่อแม่


เลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน์

บทสรรเสริญพระสังฆคุณ

เล ่ WW ยี ง เช W. ียง L เพ C2 ียร U เพ .C อื ่ พ O ุทธ M ศา สน ์

สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ยะทิทัง จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลิกะระณีโย อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ.

เรากราบไหว้พระ ถึงพระสุปฏิปันโน พระสุปฏิปันโน ก็เข้ามาสู่จิตใจเรา อย่าไปมองว่าพระองค์นั้นไม่ดี จงมองแต่พระ ในใจเราเถิด คนไหนเป็นอุบาสกอุบาสิกาที่แท้เขาจะไม่ตำ�หนิใคร และฝากข้อคิดเตือนใจท่านทั้งหลายว่า ใครตั้งใจทำ�ดี อย่าไปกังวลเรื่องปากคน ให้เราดีขนาดไหน หากไม่ถูกกิเลสเขา เขาไม่ชอบ ไม่เข้าใจ เขาก็ตำ�หนิ ดังนั้น ดี-ชั่ว ไม่ได้อยู่ที่เขาว่า อยู่ที่เราเองทั้งหมด เรารู้ของเราเอง โอวาทธรรม หลวงพ่อจรัญ ิตธมฺโม

ยอดพระกัณฑ์ไตรปิฎก พระคาถาชินบัญชร 7 พาหุง มหากา พระในบ้าน คือ พ่อแม่


เลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน์

ชนะ มารปลอดภัย

ด้วยเชื่อมั่นในพระพุทธคุณ

บทสวดคาถาพาหุง มหากาฯ นี้ มีคณ ุ านุภาพมาก เนือ่ งจากรวมเอา ชัยชนะต่างๆ ของพระพุทธเจ้ามาไว้ในบทนี้ มีหลายคนหลายท่านที่ล่วงพ้น ผ่านวิกฤตการณ์ความยุ่งยากในชีวิตด้วยการสวดคาถาบทนี้ โดยเฉพาะผู้ที่เป็น ศิษย์วัดอัมพวัน เนื่องจากหลวงพ่อจรัญ ิตธมฺโม ท่านแนะนำ�ให้ญาติโยมสวด เป็นประจำ�นั่นเอง

เล ่ WW ยี ง เช W. ียง L เพ C2 ียร U เพ .C อื ่ พ O ุทธ M ศา สน ์

พุทธชัยมงคลคาถา (พาหุง)

พาหุง สะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง ค๎รีเมขะลัง อุทิตะโฆระสะเสนะมารัง ทานาทิธัมมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต๑ ชะยะมังคะลานิ.

มาราติเรกะมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง ขันตีสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต๑ ชะยะมังคะลานิ.

นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง เมตตัมพุเสกะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต๑ ชะยะมังคะลานิ. ๑

คำ�ที่ขีดเส้นใต้ บางทีนิยมว่า ถ้าสวดให้แก่ตนเอง เปลี่ยน เต เป็น เม ทุกแห่ง ณฑ์ไตรปิฎก พระคาถาชินบัญชร 8 ยอดพระกั พาหุง มหากา พระในบ้าน คือ พ่อแม่


เลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน์

อุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะสุทารุณันตัง ธาวันติโยชะนะปะถังคุลิมาละวันตัง อิทธีภิสังขะตะมะโน ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต๑ ชะยะมังคะลานิ.

เล ่ WW ยี ง เช W. ียง L เพ C2 ียร U เพ .C อื ่ พ O ุทธ M ศา สน ์

กัต๎วานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต๑ ชะยะมังคะลานิ.

สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกะวาทะเกตุง วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันธะภูตัง ปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต๑ ชะยะมังคะลานิ.

นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิง ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปะยันโต อิทธูปะเทสะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต๑ ชะยะมังคะลานิ.

ทุคคาหะทิฏฐิภุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง พ๎รัห๎มัง วิสุทธิชุติมิทธิพะกาภิธานัง ญาณาคะเทนะ วิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต๑ ชะยะมังคะลานิ. ยอดพระกัณฑ์ไตรปิฎก พระคาถาชินบัญชร 9 พาหุง มหากา พระในบ้าน คือ พ่อแม่


เลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน์

เอตาปิ พุทธะชะยะมังคะละอัฏฐะคาถา โย วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที หิต๎วานะเนกะวิวิธานิ จุปัททะวานิ โมกขัง สุขัง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปัญโญ.

บทชัยปริตร (มหากา) หิตายะ สัพพะปาณินัง ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง โหตุ เต๑ ชะยะมังคะลัง. สัก๎ยานัง นันทิวัฑฒะโน ชะยัสสุ* ชะยะมังคะเล สีเส ปะฐะวิโปกขะเร อัคคัปปัตโต ปะโมทะติ. สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง สุยิฏฐัง พ๎รัห๎มะจาริสุ วาจากัมมัง ปะทักขิณัง ปะณิธี เต๑ ปะทักขิณา ละภันตัตเถ ปะทักขิเณ.

เล ่ WW ยี ง เช W. ียง L เพ C2 ียร U เพ .C อื ่ พ O ุทธ M ศา สน ์

มะหาการุณิโก นาโถ ปูเรต๎วา ปาระมี สัพพา เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ ชะยันโต โพธิยา มูเล เอวัง ต๎วัง วิชะโย โหหิ อะปะราชิตะปัลลังเก อะภิเสเก สัพพะพุทธานัง สุนักขัตตัง สุมังคะลัง สุขะโณ สุมุหุตโต จะ ปะทักขิณัง กายะกัมมัง ปะทักขิณัง มะโนกัมมัง ปะทักขิณานิ กัต๎วานะ

* คำ�ที่ขีดเส้นใต้ นิยมว่า ถ้าสวดให้ตนเอง เปลี่ยนเป็น เอวัง อะหัง วิชะโย โหมิ ชะยามิ ณฑ์ไตรปิฎก พระคาถาชินบัญชร 10 ยอดพระกั พาหุง มหากา พระในบ้าน คือ พ่อแม่


เลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน์

สัพพมงคลคาถา รักขันตุ สัพพะเทวะตา สะทา โสตถี ภะวันตุ เต.๑ รักขันตุ สัพพะเทวะตา สะทา โสตถี ภะวันตุ เต.๑ รักขันตุ สัพพะเทวะตา สะทา โสตถี ภะวันตุ เต.๑

เล ่ WW ยี ง เช W. ียง L เพ C2 ียร U เพ .C อื ่ พ O ุทธ M ศา สน ์

ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง สัพพะพุทธานุภาเวนะ ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง สัพพะธัมมานุภาเวนะ ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง สัพพะสังฆานุภาเวนะ

อิติปิโสเท่าอายุ + ๑

อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู อะนุตตะโร ปุรสิ ะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติ. การสวดบทอิติปิโส เท่าอายุ + ๑ หลวงพ่อจรัญ ิตธมฺโม วัดอัมพวัน ท่านกล่าวว่า ช่วยให้สมาธิจิตดีขึ้น ถ้าคนไหนเคราะห์ร้าย หรือดวงไม่ดี ให้สวดพระพุทธคุณสร้างพระเข้าตัว คือ นำ�ธรรมะเข้าตัว สามารถปัดเป่าเคราะห์ภัยร้ายๆ ให้ห่างหายไปได้

ยอดพระกัณฑ์ไตรปิฎก พระคาถาชินบัญชร 11 พาหุง มหากา พระในบ้าน คือ พ่อแม่


เลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน์

ตั้งตน ในเกราะความดี

นำ�ความรุง่ เรืองมาสูช่ วี ติ

พระคาถาชินบัญชร เจ้าประคุณสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี)

เล ่ WW ยี ง เช W. ียง L เพ C2 ียร U เพ .C อื ่ พ O ุทธ M ศา สน ์

ได้ค้นพบจากคัมภีร์ใบลานเก่า จึงมาแต่งใหม่ให้ถูกต้องตามฉันทลักษณ์ทาง ภาษาบาลี และให้มีอานุภาพคุ้มครองป้องกันภัยได้สารพัด เป็นเสน่ห์มหานิยม กับผู้พบเห็น และคาถาบทนี้จะมีอานุภาพศักดิ์สิทธิ์ยิ่งขึ้น หากว่าผู้สวดดำ�รง ชีวิตอยู่ในกรง หรือเกราะป้องกัน คือ พระสัทธรรมของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า

พระคาถาชินบัญชร

ปุตตะกาโม ละเภ ปุตตัง ธะนะกาโม ละเภ ธะนัง อัตถิ กาเย กายะญายะ เทวานัง ปิยะตัง สุตะวา. อิติปิ โส ภะคะวา ยะมะราชาโน ท้าวเวสสุวัณโณ มะระณัง สุขัง อะระหัง สุคะโต นะโม พุทธายะ. ๑. ชะยาสะนาคะตา พุทธา เชตะวา มารัง สะวาหะนัง จะตุสัจจาสะภัง ระสัง เย ปิวิงสุ นะราสะภา. ณฑ์ไตรปิฎก พระคาถาชินบัญชร 12 ยอดพระกั พาหุง มหากา พระในบ้าน คือ พ่อแม่


เลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน์

๒. ตัณหังกะราทะโย พุทธา อัฏฐะวีสะติ นายะกา สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง มัตถะเก เต มุนิสสะรา.

เล ่ WW ยี ง เช W. ียง L เพ C2 ียร U เพ .C อื ่ พ O ุทธ M ศา สน ์

๓. สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง พุทโธ ธัมโม ทะวิโลจะเน สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง อุเร สัพพะคุณากะโร.

๔. หะทะเย เม อะนุรุทโธ สารีปุตโต จะ ทักขิเณ โกณฑัญโญ ปิฏฐิภาคัส๎มิง โมคคัลลาโน จะ วามะเก.

๕. ทักขิเณ สะวะเน มัยหัง อาสุง อานันทะราหุลา กัสสะโป จะ มะหานาโม อุภาสุง วามะโสตะเก.

๖. เกสันเต ปิฏฐิภาคัส๎มิง สุริโย วะ ปะภังกะโร นิสินโน สิริสัมปันโน โสภิโต มุนิ ปุงคะโว. ยอดพระกัณฑ์ไตรปิฎก พระคาถาชินบัญชร 13 พาหุง มหากา พระในบ้าน คือ พ่อแม่


เลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน์

๗. กุมาระกัสสะโป เถโร มะเหสี จิตตะวาทะโก โส มัยหัง วะทะเน นิจจัง ปะติฏฐาสิ คุณากะโร.

เล ่ WW ยี ง เช W. ียง L เพ C2 ียร U เพ .C อื ่ พ O ุทธ M ศา สน ์

๘. ปุณโณ อังคุลิมาโล จะ อุปาลี นันทะสีวะลี เถรา ปัญจะ อิเม ชาตา นะลาเฏ ติละกา มะมะ. ๙. เสสาสีติ มะหาเถรา เอตาสีติ มะหาเถรา ชะลันตา สีละเตเชนะ

วิชิตา ชินะสาวะกา ชิตะวันโต ชิโนระสา อังคะมังเคสุ สัณฐิตา.

๑๐. ระตะนัง ปุระโต อาสิ ทักขิเณ เมตตะสุตตะกัง ธะชัคคัง ปัจฉะโต อาสิ วาเม อังคุลิมาละกัง.

๑๑. ขันธะโมระปะริตตัญจะ อาฏานาฏิยะสุตตะกัง อากาเส ฉะทะนัง อาสิ เสสา ปาการะสัณฐิตา. ณฑ์ไตรปิฎก พระคาถาชินบัญชร 14 ยอดพระกั พาหุง มหากา พระในบ้าน คือ พ่อแม่


เลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน์

๑๒. ชินาณา วะระสังยุตตา สัตตัปปาการะลังกะตา วาตะปิตตาทิสัญชาตา พาหิรัชฌัตตุปัททะวา.

เล ่ WW ยี ง เช W. ียง L เพ C2 ียร U เพ .C อื ่ พ O ุทธ M ศา สน ์

๑๓. อะเสสา วินะยัง ยันตุ อะนันตะชินะเตชะสา วะสะโต เม สะกิจเจนะ สะทา สัมพุทธะปัญชะเร.

๑๔. ชินะปัญชะระมัชฌัมหิ วิหะรันตัง มะหีตะเล๑ สะทา ปาเลนตุ มัง สัพเพ เต มะหาปุริสาสะภา. ๑๕. อิจเจวะมันโต ชินานุภาเวนะ ธัมมานุภาเวนะ สังฆานุภาเวนะ สัทธัมมานุภาวะปาลิโต ๑

สุคุตโต สุรักโข ชิตูปัททะโว ชิตาริสังโค ชิตันตะราโย จะรามิ ชินะปัญชะเรติ.

อ่านว่า มะ-ฮี-ตะ-เล

ยอดพระกัณฑ์ไตรปิฎก พระคาถาชินบัญชร 15 พาหุง มหากา พระในบ้าน คือ พ่อแม่


เลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน์

สร้าง มงคลให้เกิดในตน

จะประสบผลดีทุกอย่าง

มงคล หมายถึง เหตุให้ถงึ ความดี, สิง่ ทีน่ �ำ ความสุขความเจริญมาให้

เล ่ WW ยี ง เช W. ียง L เพ C2 ียร U เพ .C อื ่ พ O ุทธ M ศา สน ์

อาจแบ่งออกเป็นได้ ๒ อย่าง ตามความเชื่อของแต่ละคน คือ มงคลเสก หมายถึง วัตถุอะไรๆ ที่ได้รับการเสกเป่าจากผู้มีวิทยาคม, มงคลสร้าง หมายถึง วิธีสร้างเหตุให้ถึงความดีมีความสุขความเจริญก้าวหน้า ดังบทสวดที่ท่านกำ�ลัง จะสวดลำ�ดับต่อไปนี้ ที่ท่านชี้แนะวิธีสร้างมงคลด้วยการไม่คบคนพาล เป็นต้น เรือ่ ยไปจนถึงการฝึกหัดใจให้หา่ งไกลจากกิเลสนัน่ แล หากทำ�ได้ชวี ติ จะมีแต่มงคล

บทมงคลสูตร

อะเสวะนา จะ พาลานัง ปูชา จะ ปูชะนียานัง ปะฏิรูปะเทสะวาโส จะ อัตตะสัมมาปะณิธิ จะ พาหุสัจจัญจะ สิปปัญจะ สุภาสิตา จะ ยา วาจา

ปัณฑิตานัญจะ เสวะนา เอตัมมังคะละมุตตะมัง. ปุพเพ จะ กะตะปุญญะตา เอตัมมังคะละมุตตะมัง. วินะโย จะ สุสิกขิโต เอตัมมังคะละมุตตะมัง.

ณฑ์ไตรปิฎก พระคาถาชินบัญชร 16 ยอดพระกั พาหุง มหากา พระในบ้าน คือ พ่อแม่


เลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน์

ปุตตะทารัสสะ สังคะโห เอตัมมังคะละมุตตะมัง. ญาตะกานัญจะ สังคะโห เอตัมมังคะละมุตตะมัง. มัชชะปานา จะ สัญญะโม เอตัมมังคะละมุตตะมัง. สันตุฏฐี จะ กะตัญญุตา เอตัมมังคะละมุตตะมัง. สะมะณานัญจะ ทัสสะนัง เอตัมมังคะละมุตตะมัง. อะริยะสัจจานะ ทัสสะนัง เอตัมมังคะละมุตตะมัง. จิตตัง ยัสสะ นะ กัมปะติ เอตัมมังคะละมุตตะมัง.

เล ่ WW ยี ง เช W. ียง L เพ C2 ียร U เพ .C อื ่ พ O ุทธ M ศา สน ์

มาตาปิตุอุปัฏฐานัง อะนากุลา จะ กัมมันตา ทานัญจะ ธัมมะจะริยา จะ อะนะวัชชานิ กัมมานิ อาระตี วิระตี ปาปา อัปปะมาโท จะ ธัมเมสุ คาระโว จะ นิวาโต จะ กาเลนะ ธัมมัสสะวะนัง ขันตี จะ โสวะจัสสะตา กาเลนะ ธัมมะสากัจฉา ตะโป จะ พ๎รัห๎มะจะริยัญจะ นิพพานะสัจฉิกิริยา จะ ผุฏฐัสสะ โลกะธัมเมหิ อะโสกัง วิระชัง เขมัง เอตาทิสานิ กัต๎วานะ สัพพัตถะมะปะราชิตา สัพพัตถะ โสตถิง คัจฉันติ ตันเตสัง มังคะละมุตตะมันติ.

ยอดพระกัณฑ์ไตรปิฎก พระคาถาชินบัญชร 17 พาหุง มหากา พระในบ้าน คือ พ่อแม่


เลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน์

จะ

เป็นคนมีเสน่ห์น่ารักใคร่ ถ้าได้ตั้งตนในเมตตาธรรม

เล ่ WW ยี ง เช W. ียง L เพ C2 ียร U เพ .C อื ่ พ O ุทธ M ศา สน ์

มนต์บทนี้ มีอานุภาพด้านเป็นเมตตามหาเสน่ห์ ผูใ้ ดสวดอยูเ่ ป็นประจำ� จะทำ�ให้เป็นทีร่ กั ของคนทัว่ ไป ศัตรูทเ่ี คยคิดร้ายจะกลับใจมาเป็นมิตรกัน ดังครัง้ พุทธกาลที่พระพุทธองค์ประทานมนต์บทนี้ให้ภิกษุที่เข้าไปบำ�เพ็ญเพียรตาม ป่าเขา ทำ�ให้เทวดาที่เคยมุ่งร้ายหันกลับมาให้ความคุ้มครองแก่ภิกษุเหล่านั้น ปัจจุบันแม้เวลาไปต่างถิ่นฐาน คนก็นิยมสวดบทนี้ก่อนนอนเพื่อขอขมาเจ้าที่ เจ้าทางให้คุ้มครองรักษาตน

กะระณียะเมตตะสูตร (ย่อ)

เมตตัญจะ สัพพะโลกัส๎มิง มานะสัมภาวะเย อะปะริมาณัง อุทธัง อะโธ จะ ติริยัญจะ อะสัมพาธัง อะเวรัง อะสะปัตตัง ติฏฐัญจะรัง นิสินโน วา สะยาโน วา ยาวะตัสสะ วิคะตะมิทโธ เอตัง สะติง อะธิฏเฐยยะ พ๎รัห๎มะเมตัง วิหารัง อิธะมาหุ ทิฏฐิญจะ อะนุปะคัมมะ สีละวา ทัสสะเนนะ สัมปันโน กาเมสุ วิเนยยะ เคธัง นะ หิ ชาตุ คัพภะเสยยัง ปุนะเรตีติ. ณฑ์ไตรปิฎก พระคาถาชินบัญชร 18 ยอดพระกั พาหุง มหากา พระในบ้าน คือ พ่อแม่


เลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน์

จะ ไม่สะดุ้งฝันร้าย

ถ้ามีพระรัตนตรัยเป็นที่พึ่ง

เล ่ WW ยี ง เช W. ียง L เพ C2 ียร U เพ .C อื ่ พ O ุทธ M ศา สน ์

พระพุทธมนต์บทนี้ เป็นคาถาที่โบราณาจารย์แต่งขึ้น โดยอ้างเอาคุณ ของพระรัตนตรัย มาช่วยบำ�บัดลางสังหรณ์ในทางร้ายๆ เมือ่ สวดบทนีย้ อ่ มชักนำ� ใจให้เลื่อมใสในคุณพระรัตนตรัย เป็นโอกาสได้คิดทำ�บุญกุศล มีการให้ทาน รักษาศีล เจริญภาวนา บุญกุศลที่ทำ�นี้เอง จะช่วยปกปักรักษาปัดเป่าลางร้าย นั้นให้หมดไป

อะภะยะปะริตตัง

ยันทุนนิมิตตัง อะวะมังคะลัญจะ โย จามะนาโป สะกุณัสสะ สัทโท ปาปัคคะโห ทุสสุปินัง อะกันตัง พุทธานุภาเวนะ วินาสะเมนตุ. ยันทุนนิมิตตัง อะวะมังคะลัญจะ โย จามะนาโป สะกุณัสสะ สัทโท ปาปัคคะโห ทุสสุปินัง อะกันตัง ธัมมานุภาเวนะ วินาสะเมนตุ. ยันทุนนิมิตตัง อะวะมังคะลัญจะ โย จามะนาโป สะกุณัสสะ สัทโท ปาปัคคะโห ทุสสุปินัง อะกันตัง สังฆานุภาเวนะ วินาสะเมนตุ. ยอดพระกัณฑ์ไตรปิฎก พระคาถาชินบัญชร 19 พาหุง มหากา พระในบ้าน คือ พ่อแม่


เลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน์

ความ เจ็บไข้บรรเทาหาย

ด้วยใช้โพชฌังคปริตรพิชิตโรค

เล ่ WW ยี ง เช W. ียง L เพ C2 ียร U เพ .C อื ่ พ O ุทธ M ศา สน ์

พระพุทธมนต์บทนี้ เป็นคาถาทีท่ า่ นกล่าวถึงอานิสงส์การเจริญโพชฌงค์ ๗ ว่าเป็นองค์ธรรมนำ�ไปสู่การหลุดพ้นจากการเวียนว่ายได้เกิดอย่างแน่แท้ แต่น�ำ มาแต่งให้เป็นคำ�ตั้งสัจกิริยา ให้มีอานุภาพในการรักษาโรคภัยไข้เจ็บ เรียกว่า บทโพชฌังคปริตร

โพชฌังคปริตร

โพชฌังโค สะติสังขาโต วิริยัมปีติปัสสัทธิ- สะมาธุเปกขะโพชฌังคา มุนินา สัมมะทักขาตา สังวัตตันติ อะภิญญายะ เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ เอกัส๎มิง สะมะเย นาโถ คิลาเน ทุกขิเต ทิส๎วา เต จะ ตัง อะภินันทิต๎วา เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ ๑

ธัมมานัง วิจะโย ตะถา โพชฌังคา จะ ตะถาปะเร สัตเตเต สัพพะทัสสินา ภาวิตา พะหุลีกะตา นิพพานายะ จะ โพธิยา โสตถิ เต๑ โหตุ สัพพะทา. โมคคัลลานัญจะ กัสสะปัง โพชฌังเค สัตตะ เทสะยิ โรคา มุจจิงสุ ตังขะเณ โสตถิ เต๑ โหตุ สัพพะทา.

คำ�ที่ขีดเส้นใต้ นิยมว่าถ้าสวดให้ตนเอง เปลี่ยน เต เป็น เม ณฑ์ไตรปิฎก พระคาถาชินบัญชร 20 ยอดพระกั พาหุง มหากา พระในบ้าน คือ พ่อแม่


เลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน์

เอกะทา ธัมมะราชาปิ จุนทัตเถเรนะ ตัญเญวะ สัมโมทิต๎วา จะ อาพาธา เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ ปะหีนา เต จะ อาพาธา มัคคาหะตะกิเลสา วะ เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ

เคลัญเญนาภิปีฬิโต ภะณาเปต๎วานะ สาทะรัง ตัมหา วุฏฐาสิ ฐานะโส โสตถิ เต๑ โหตุ สัพพะทา. ติณณันนัมปิ มะเหสินัง ปัตตานุปปัตติธัมมะตัง โสตถิ เต๑ โหตุ สัพพะทา.

เล ่ WW ยี ง เช W. ียง L เพ C2 ียร U เพ .C อื ่ พ O ุทธ M ศา สน ์

คาถาป้องกันภัย ๑๐ ทิศ

คาถานี้นิยมสวดเพื่อป้องกันอันตรายจากอำ�นาจลี้ลับ สัตว์ร้าย ปีศาจ พระกรรมฐานสายหลวงปูม่ น่ั ท่านนิยมสวดเวลาออกธุดงค์ตามป่า

๑) บูรพารัส๎มิง พระพุทธะคุณัง บูระพารัส๎มิง พระธัมเมตัง บูรพารัส๎มิง พระสังฆานัง ทุกขะโรคะภะยัง วิวัญชัยเย สัพพะทุกข์ สัพพะโศก สัพพะโรค สัพพะภัย สัพพะเคราะห์ เสนียดจัญไร วิวัญชัยเย สัพพะธะนัง สัพพะลาภัง ภะวันตุ เม รักขันตุ สุรักขันตุ ฯ ๒) อาคเนย์รัส๎มิง... ๓) ทักษิณรัส๎มิง... ๔) หรดีรัส๎มิง... ๕) ปัจฉิมรัส๎มิง... ๖) พายัพรัส๎มิง... ๗) อุดรรัส๎มิง... ๘) อีสานรัส๎มิง... ๙) อากาศรัส๎มิง... ๑๐) ปฐวีรัส๎มิง... * ข้อ ๒-๑๐ ทีเ่ หลือสวดเหมือนข้อ ๑ เปลีย่ นเฉพาะทีข่ ดี เส้นใต้

ยอดพระกัณฑ์ไตรปิฎก พระคาถาชินบัญชร 21 พาหุง มหากา พระในบ้าน คือ พ่อแม่


เลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน์

บทบารมี ๓๐ ทัศ คาถานีเ้ ป็นบทสวดทีค่ รูบาเจ้าศรีวชิ ยั ใช้สวดภาวนาเป็นประจำ� คนทัว่ ไป จึงนิยมนำ�มาสวดเพือ่ ให้เกิดเสน่หเ์ ป็นเมตตามหานิยม เสริมบารมีชวี ติ ให้กบั ตนเอง

เล ่ WW ยี ง เช W. ียง L เพ C2 ียร U เพ .C อื ่ พ O ุทธ M ศา สน ์

ทานะปาระมี สัมปันโน ทานะอุปะปาระมี สัมปันโน ทานะปะระมัตถะปาระมี สัมปันโน เมตตา ไมตรี กะรุณา มุทิตา อุเบกขา ปาระมี สัมปันโน อิติปิ โส ภะคะวา ฯ สีละปาระมี สัมปันโน สีละอุปะปาระมี สัมปันโน สีละปะระมัตถะปาระมี สัมปันโน เมตตา ไมตรี กะรุณา มุทิตา อุเบกขา ปาระมี สัมปันโน อิติปิ โส ภะคะวา ฯ เนกขัมมะปาระมี สัมปันโน เนกขัมมะอุปะปาระมี สัมปันโน เนกขัมมะปะระมัตถะปาระมี สัมปันโน เมตตา ไมตรี กะรุณา มุทติ า อุเบกขา ปาระมี สัมปันโน อิตปิ ิ โส ภะคะวา ฯ ปัญญาปาระมี สัมปันโน ปัญญาอุปะปาระมี สัมปันโน ปัญญาปะระมัตถะปาระมี สัมปันโน เมตตา ไมตรี กะรุณา มุทิตา อุเบกขา ปาระมี สัมปันโน อิติปิ โส ภะคะวา ฯ วิริยะปาระมี สัมปันโน วิริยะอุปะปาระมี สัมปันโน วิรยิ ะปะระมัตถะปาระมี สัมปันโน เมตตา ไมตรี กะรุณา มุทิตา อุเบกขา ปาระมี สัมปันโน อิติปิ โส ภะคะวา ฯ ขันติปาระมี สัมปันโน ขันติอุปะปาระมี สัมปันโน ขันติปะระมัตถะปาระมี สัมปันโน เมตตา ไมตรี กะรุณา มุทิตา อุเบกขา ปาระมี สัมปันโน อิติปิ โส ภะคะวา ฯ สัจจะปาระมี สัมปันโน สัจจะอุปะปาระมี สัมปันโน ณฑ์ไตรปิฎก พระคาถาชินบัญชร 22 ยอดพระกั พาหุง มหากา พระในบ้าน คือ พ่อแม่


เลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน์

เล ่ WW ยี ง เช W. ียง L เพ C2 ียร U เพ .C อื ่ พ O ุทธ M ศา สน ์

สัจจะปะระมัตถะปาระมี สัมปันโน เมตตา ไมตรี กะรุณา มุทิตา อุเบกขา ปาระมี สัมปันโน อิติปิ โส ภะคะวา ฯ อะธิฏฐานะปาระมี สัมปันโน อะธิฏฐานะอุปะปาระมี สัมปันโน อะธิฏฐานะปะระมัตถะปาระมี สัมปันโน เมตตา ไมตรี กะรุณา มุทติ า อุเบกขา ปาระมี สัมปันโน อิตปิ ิ โส ภะคะวา ฯ เมตตาปาระมี สัมปันโน เมตตาอุปะปาระมี สัมปันโน เมตตาปะระมัตถะปาระมี สัมปันโน เมตตา ไมตรี กะรุณา มุทิตา อุเบกขา ปาระมี สัมปันโน อิติปิ โส ภะคะวา ฯ อุเปกขาปาระมี สัมปันโน อุเปกขาอุปะปาระมี สัมปันโน อุเปกขาปะระมัตถะปาระมี สัมปันโน เมตตา ไมตรี กะรุณา มุทติ า อุเบกขา ปาระมี สัมปันโน อิตปิ ิ โส ภะคะวา ฯ ทะสะปาระมี สัมปันโน ทะสะอุปะปาระมี สัมปันโน ทะสะปะระมัตถะปาระมี สัมปันโน เมตตา ไมตรี กะรุณา มุทิตา อุเบกขา ปาระมี สัมปันโน อิติปิ โส ภะคะวา ฯ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ, ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ, สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ, นะมามิหัง ฯ

ยอดพระกัณฑ์ไตรปิฎก คาถาบทนี้ เป็นพุทธมนต์ศักดิ์สิทธิ์ ผู้ใดสวดภาวนาอยู่เป็นประจำ� ทุกค่�ำ เช้าไซร้ ชีวติ จะไม่ตกต่�ำ เทวดาก็รว่ มอนุโมทนาคอยรักษาให้ปลอดภัย

๑. อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง วะตะ โส ภะคะวา. อิติปิ โส ภะคะวา สัมมาสัมพุทโธ วะตะ โส ภะคะวา. อิตปิ ิ โส ภะคะวา วิชชาจะระณะสัมปันโน วะตะ โส ภะคะวา. ยอดพระกัณฑ์ไตรปิฎก พระคาถาชินบัญชร 23 พาหุง มหากา พระในบ้าน คือ พ่อแม่


จากรุ่นสู่รุ่น จากยุคสู่ยุค ไม่หยุดยั้งการพัฒนา สร้างสรรค์สื่อธรรม รังสรรค์สังคม อุดมปัญญาบารมี จากพุทธศักราช ๒๔๕๙ โรงพิมพ์เลี่ยงเชียง ดำ�รงความเพียรเพื่อพุทธศาสน์ ต่อไป ไม่สิ้นสุด เพื่อจรรโลงพระพุทธศาสนา พัฒนาไม่หยุดยั้ง แตกหน่อ กิ่งก้านสาขา เป็น

บริษัท สำ�นักพิมพ์เลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน์ จำ�กัด และแตกหน่อต่อไป พัฒนาสังคมให้มั่นคงสงบสุข เจริญรุ่งเรืองยิ่งขึ้น ตกทอด เป็นมรดกธรรม มรดกความดี จนถึงลูก หลาน เหลน ลื่อ ลืบ ลืด สืบไป

ปรับความเชื่อเพื่อพ่อแม่ ผู้รวบรวมเคยเห็นชาวจีนเผากระดาษเงิน กระดาษ ทอง เพื่ อ ให้ พ่ อ แม่ ใช้ ใ นปรโลก ตามความเชื่ อ และถื อ เป็ น ประเพณี ที่ ส อนให้ ลู ก ให้ ห ลานกตั ญ ญู กตเวทีอย่างหนึ่ง ซึ่งก็ทำ�ได้ และขอแนะนำ�ให้ท่านสร้างกระดาษบุญ กระดาษธรรม อุทิศไปให้ท่าน จะดียิ่งกว่าไหม ? เพราะกระดาษนี้ไม่ต้องเผา (เรากตัญญูกตเวทีต่อธรรมชาติ) แต่ส่งบุญให้ท่านผู้ล่วงลับ ได้อิ่มทิพย์อย่างไม่มีวันหมด อีกทั้งผู้ส่งบุญยังได้รับบุญอีกด้วย การส่งบุญด้วยกระดาษบุญ กระดาษธรรม ก็คือการสร้างหนังสือธรรมะให้เป็นทาน ช่วย เผยแผ่หนังสือสือ่ ธรรมะ ร่วมปลูกฝังคุณธรรมแก่เยาวชนหรือประชาชนทัว่ ไป อันจะเป็นอานิสงส์มหาศาล เพราะอ่านแล้วทำ�ดี มีสุข ได้บุญทันตาเห็นในชาตินี้และติดตามตัวไปยังภพหน้าอีกด้วย

ท่านผู้ประสงค์จะเผยแผ่หนังสือเล่มนี้ หรือหนังสือเล่ม

อื่นๆ เป็นธรรมทาน โปรดติดต่อ : สำ�นักพิมพ์เลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน์ ๑๐๕/๗๕ ถนนประชาอุทิศ ซอย ๔๕ แขวงบางมด เขตทุ่งครุ กรุงเทพฯ ๑๐๑๔๐

http://WWW.LC2U.COM, http://WWW.พุทธะ.COM (พิมพ์ชอ่ื ไทย จำ�ง่าย ใช้ดี ไม่มลี มื อย่าลืม พุทธะ.com นะจ๊ะ) E-mail : LC2YOU@GMAIL.COM, LC2YOU@HOTMAIL.COM, ซื้อหนังสือ โทร. ๐๒-๘๗๒-๗๒๒๗, ๐๒-๘๗๒-๘๒๒๘, ๐๒-๘๗๒-๙๘๙๘,

๐๒-๒๒๑-๑๐๕๐, ๐๒-๒๒๑-๔๔๔๖ เผยแผ่เป็นธรรมทาน โทร. ๐๒-๘๗๒-๘๘๗๓, ๐๒-๘๗๒-๙๑๙๑, ๐๒-๘๗๒-๘๑๘๑, ๐๒-๘๗๒-๘๐๘๐, ๐๒-๘๗๒-๕๙๗๘ ๏ พิมพ์ที่ : โรงพิมพ์เลี่ยงเชียง ๒๒๓ ถนนบำ�รุงเมือง แขวงสำ�ราญราษฎร์ เขตพระนคร กรุงเทพฯ ๑๐๒๐๐ โทร. ๐๒-๒๒๓-๘๙๗๙ (ระวัง! อย่าเข้าผิดร้าน)






Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.