เล ่ WW ยี ง เช W. ียง L เพ C2 ียร U เพ .C อื ่ พ O ุทธ M ศา สน ์
เล ่ WW ยี ง เช W. ียง L เพ C2 ียร U เพ .C อื ่ พ O ุทธ M ศา สน ์
เล ่ WW ยี ง เช W. ียง L เพ C2 ียร U เพ .C อื ่ พ O ุทธ M ศา สน ์
เล ่ WW ยี ง เช W. ียง L เพ C2 ียร U เพ .C อื ่ พ O ุทธ M ศา สน ์
เล ่ WW ยี ง เช W. ียง L เพ C2 ียร U เพ .C อื ่ พ O ุทธ M ศา สน ์
เล ่ WW ยี ง เช W. ียง L เพ C2 ียร U เพ .C อื ่ พ O ุทธ M ศา สน ์
คำนำ
เล ่ WW ยี ง เช W. ียง L เพ C2 ียร U เพ .C อื ่ พ O ุทธ M ศา สน ์
มนุษย์พยายามแสวงหาที่พึ่ง เพื่อคุ้มครองตนให้ พ้นจากอันตราย พ้นจากความทุกข์ จากความผิดหวัง ต่าง ๆ ตลอดถึงดลบันดาลสิง่ ทีต่ นปรารถนา โดยมุง่ ฝาก ความหวังไว้กับเทพเทวดาหรือสิ่งศักดิ์สิทธิ์ภายนอก จน มองข้ามที่พึ่งที่สำคัญไปอย่างน่าเสียดาย นั่นคือ ความดี พระพุทธเจ้าที่ทรงเป็นพระพุทธเจ้าได้ ก็เพราะ ทรงอาศัยความดีที่สร้างขึ้นด้วยพระองค์เอง ความดีจึง เป็นที่พึ่งที่ดีที่สุดสำหรับทุก ๆ ชีวิต เพราะความดีจะ นำพาชีวิตให้ปลอดภัยและเป็นสุข พุทธฤทธิ์ ชินบัญชร ปรารถนาจะให้พทุ ธศาสนิกชน ทุกท่าน ได้หันมาให้ความสำคัญกับการสร้างความดีด้วย การทำจิตให้สงบ นิง่ ผ่อนคลาย จากความสับสนวุน่ วาย เพราะจิตทีส่ งบย่อมเป็นจิตทีด่ งี าม จิตทีด่ งี ามย่อมนำแต่สิ่ง ที่ดีงามมาสู่ชีวิต และเป็นที่พึ่งได้ในทุกภพทุกชาติ สำนักพิมพ์เลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน์
¾
ปลุกใจให้ศรัทธา ก่อนสวดÀาวนา
4
เล ่ WW ยี ง เช W. ียง L เพ C2 ียร U เพ .C อื ่ พ O ุทธ M ศา สน ์
ระคาถาชิ น บั ญ ชรนี้ เจ้ า ประคุ ณ สมเด็ จ พระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี) แห่งวัดระฆังโฆสิตาราม (สมเด็จ ๕ แผ่นดิน แห่งกรุงรัตนโกสินทร์) ได้ค้นพบจากคัมภีร์ใบลานเก่าที่ตกทอดมาจากประเทศ ลังกา จารึกด้วยภาษาสิงหล เห็นว่าเป็นพระคาถาที่ทรง อานุภาพและมีความศักดิ์สิทธิ์ จึงได้นำมาดัดแปลงแก้ไข เพิ่ ม เติ ม เนื้ อ หาใหม่ ใ ห้ มี ค วามสมบู ร ณ์ ถู ก ต้ อ งตาม ฉันทลักษณ์ทางภาษาบาลีและให้เกิดความเป็นสิริมงคล แก่ผู้สวดภาวนาทุกประการ ชินบัญชร แปลว่า กรง หรือเกราะป้องกันของ พระชินสีห์ เป็นพระคาถาสวดอัญเชิญพระพุทธเจ้าผู้ ทรงพระคุณอันประเสริฐ ๒๘ พระองค์ มีพระพุทธเจ้า
¾
ปลุกใจให้ศรัทธา ก่อนสวดÀาวนา
4
เล ่ WW ยี ง เช W. ียง L เพ C2 ียร U เพ .C อื ่ พ O ุทธ M ศา สน ์
ระคาถาชิ น บั ญ ชรนี้ เจ้ า ประคุ ณ สมเด็ จ พระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี) แห่งวัดระฆังโฆสิตาราม (สมเด็จ ๕ แผ่นดิน แห่งกรุงรัตนโกสินทร์) ได้ค้นพบจากคัมภีร์ใบลานเก่าที่ตกทอดมาจากประเทศ ลังกา จารึกด้วยภาษาสิงหล เห็นว่าเป็นพระคาถาที่ทรง อานุภาพและมีความศักดิ์สิทธิ์ จึงได้นำมาดัดแปลงแก้ไข เพิ่ ม เติ ม เนื้ อ หาใหม่ ใ ห้ มี ค วามสมบู ร ณ์ ถู ก ต้ อ งตาม ฉันทลักษณ์ทางภาษาบาลีและให้เกิดความเป็นสิริมงคล แก่ผู้สวดภาวนาทุกประการ ชินบัญชร แปลว่า กรง หรือเกราะป้องกันของ พระชินสีห์ เป็นพระคาถาสวดอัญเชิญพระพุทธเจ้าผู้ ทรงพระคุณอันประเสริฐ ๒๘ พระองค์ มีพระพุทธเจ้า
เล ่ WW ยี ง เช W. ียง L เพ C2 ียร U เพ .C อื ่ พ O ุทธ M ศา สน ์
พระนามว่าตัณหังกร เป็นต้น พระอสีติมหาสาวก ๘๐ รูปผูม้ คี ณ ุ วิเศษแตกต่างกันไป และอัญเชิญพระสูตรต่าง ๆ ที่ถือว่าเป็นพระพุทธมนต์อันศักดิ์สิทธิ์ และมีอานุภาพให้ คุณในด้านต่าง ๆ มาสถิตทีเ่ ส้นผม ศีรษะ กลางกระหม่อม และทุ ก ส่ ว นร่ า งกายของผู้ ภ าวนา เพื่ อ ให้ อ านุ ภ าพ แห่งพระพุทธเจ้า พระสาวก และพระสูตรนั้น ช่วยเป็น เกราะคุ้มกันภัยอันตรายต่าง ๆ มิให้เข้าทำร้ายได้ พระคาถาชินบัญชรนี ้ ผู้สวดภาวนาอยู่เป็นประจำ สม่ำเสมอ ย่อมได้รบั อานิสงส์มากมาย ๑๐๘ ประการ ดังคำ ทีว่ า่ “ฝอยท่วมหลังช้าง” คือไม่อาจพรรณนาได้หมด ด้วย อานุภาพแห่งพระพุทธเจ้าทุกพระองค์ พระอรหันตสาวก ๘๐ รวมถึงพลานุภาพแห่งพระสูตรทัง้ หลาย ทีไ่ ด้อญ ั เชิญ มาสถิตทั่วสรรพางค์กายแล้ว ย่อมทำให้สรรพสิริมงคล ทัง้ หลายไหลรวมเข้าทัว่ ทุกเซลล์ของร่างกาย ทำให้รา่ งกาย ปราศจากโรคภัย ปัญญาผ่องใส จิตใจเบิกบาน ความ จำเป็นเลิศ เรียนเก่ง ทุกข์โศกโรคภัย ความอาภัพอับโชค เคราะห์ร้าย รวมถึงศัตรูหมู่มารทั้งหลายจะไม่กล้ำกราย แคล้วคลาดปลอดภัยทัง้ ทางบก ทางน้ำ หรือทางอากาศ 5
เล ่ WW ยี ง เช W. ียง L เพ C2 ียร U เพ .C อื ่ พ O ุทธ M ศา สน ์
การเริèมต้นและวิธีสวด ก่อนสวด ให้อาบน้ำชำระร่างกายให้สะอาด แต่งตัวให้สุภาพ เรี ย บร้ อ ย นำพานดอกไม้ ห รื อ พวงมาลั ย ขึ้ น บู ช าพระรั ต นตรั ย จากนั้นให้กราบลง ๓ ครั้ง ตั้งจิตระลึกถึงพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ และดวงวิญญาณของเจ้าประคุณสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี) เมื่อจิตนิ่งดีแล้วเริ่มสวดตั้งแต่ บทกราบพระรัตนตรัย เป็นต้นไป จนถึง บทขออโหสิกรรม ตามลำดับ ขณะสวดภาวนาให้เปล่งเสียง ดังพอประมาณ ชัดเจน มีสติอยู่กับบทสวด ยิ้มนิด ๆ ในความรู้สึก ให้สวดภาวนาช้า ๆ ไม่ต้องเร่งรีบให้จบ ให้นึกภาพตามบทสวด เช่น บทสวดกล่าวถึงพระพุทธเจ้า ๒๘ พระองค์สถิตที่กลางกระหม่อม ก็ ให้หลับตานึกภาพพระพุทธเจ้าทั้ง ๒๘ พระองค์ลงมาสถิตที่กลาง กระหม่อมของตน ทำให้กระหม่อมมีพลังสว่างรุ่งเรืองด้วยรัศมีแห่ง พระพุทธเจ้า เมื่อทำได้ดังนี้ จะได้ผลดีเป็นอย่างยิ่ง 6
พระพุทธ
เล ่ WW ยี ง เช W. ียง L เพ C2 ียร U เพ .C อื ่ พ O ุทธ M ศา สน ์
พระธรรม พระสงฆ์
บทกราบพระรัตนตรัย ñ อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา,
พระผู้มีพระภาคเจ้า เป็นพระอรหันต์, ดับเพลิงกิเลสเพลิงทุกข์สิ้นเชิง, ตรัสรู้ชอบได้โดยพระองค์เอง; ๑
เป็นบทไหว้ครูก่อนสวดมนต์ หรือประกอบพิธีกรรมทางศาสนา.
7
พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ.
ข้าพเจ้าอภิวาทพระผู้มีพระภาคเจ้า, ผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน. (¡ÃÒº)
Êîวากขาโตñ ภะคะวะตา ธัมโม,
เล ่ WW ยี ง เช W. ียง L เพ C2 ียร U เพ .C อื ่ พ O ุทธ M ศา สน ์
พระธรรม เป็นธรรมที่พระผู้มีพระภาคเจ้า, ตรัสไว้ดีแล้ว;
ธัมมัง นะมัสสามิ.
ข้าพเจ้านมัสการพระธรรม. (¡ÃÒº)
สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
พระสงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้า, ปฏิบัติดีแล้ว;
สังฆัง นะมามิ.
ข้าพเจ้านอบน้อมพระสงฆ์. (¡ÃÒº)
๑
8
อ่านว่า สะหวาก-ขา-โต. (สะ ออกเสียง อะ กึง่ มาตรา).
เล ่ WW ยี ง เช W. ียง L เพ C2 ียร U เพ .C อื ่ พ O ุทธ M ศา สน ์
บทนมัสการพระพุทธเจ้าñ (ว่า ๓ จบ)
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต,
ขอนอบน้อมแด่พระผูม้ พี ระภาคเจ้า, พระองค์นนั้ ;
อะระหะโต,
ซึ่งเป็นผู้ไกลจากกิเลส;
สัมมาสัมพุทธัสสะ.
ตรัสรู้ชอบได้โดยพระองค์เอง. (ว่า ๓ จบ)
๑
ว่าด้วยการนอบน้อมต่อพระพุทธเจ้า เพือ่ ระลึกถึงพระคุณ ๓ ประการ คือ พระปัญญาคุณ, พระบริสุทธิคุณ และพระมหากรุณาคุณ.
9
เล ่ WW ยี ง เช W. ียง L เพ C2 ียร U เพ .C อื ่ พ O ุทธ M ศา สน ์
สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี)
วัดระฆังโฆสิตาราม เขตบางกอกน้อย กรุงเทพฯ สมเด็จ ๕ แผ่นดิน (พ.ศ. ๒๓๓๑-๒๔๑๕) 10 ในรัชสมัยรัชกาลที่ ๑ ถึงรัชกาลที่ ๕
พระคาถาชินบัญชร๑
สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี) ปุตตะกาโม ละเภ ปุตตัง ธะนะกาโม ละเภ ธะนัง อัตถิ กาเย กายะญายะ เทวานัง ปิยะตัง สุตะวา.
เล ่ WW ยี ง เช W. ียง L เพ C2 ียร U เพ .C อื ่ พ O ุทธ M ศา สน ์
ผู้ ป รารถนาบุ ต ร พึ งได้ บุ ต ร ผู้ ป รารถนา ทรัพย์พึงได้ทรัพย์ บัณฑิตได้ฟังมาว่า ความเป็น ที่รักที่ ชอบใจของเหล่าเทวดาและมนุษย์มีอยู่ใน กาย (เรา) เพราะรู้ได้ด้วยกาย.
บทนี้ใช้สวดภาวนาเพื่อรำลึกถึงพระคุณของ เจ้าประคุณสมเด็จฯ แต่ งขึ้นเพิ่มเติมภายหลัง.
๑
บัญชร แปลว่า กรง, เกราะ, หน้าต่าง ชิน แปลว่า ผู้ชนะมาร หมายถึงพระพุทธเจ้า ชินบัญชร จึง หมายถึง กรง, เกราะของพระพุทธเจ้า.
11
Àาวนามนต์คาถาว่า เล ่ WW ยี ง เช W. ียง L เพ C2 ียร U เพ .C อื ่ พ O ุทธ M ศา สน ์
อิติปิ โส ภะคะวา ยะมะราชาโน ทŒาวเวสสุวัณโณ มะระณัง สุขัง อะระหัง สุคะโต นะโม พุทธายะ
บทนี้เป็นมนต์คาถาที่ยกขึ้นเพื่อใช้ภาวนา ให้จิตราบเรียบ สงบนิ่ง ก่อนเริ่มสวดพระคาถา ชินบัญชร Ë¹Ñ § Ê× Í ´Õ ´Õ à Å‹Á¹Õé ÁÕäÇŒµÑ¡ ºÒµÃÂÒÁàªŒÒ ä´Œ¼ ÅÒ¹ÔÊ §Ê ´Õ¹Ñ¡ áÅ
12
13
เล ่ WW ยี ง เช W. ียง L เพ C2 ียร U เพ .C อื ่ พ O ุทธ M ศา สน ์
เล ่ WW ยี ง เช W. ียง L เพ C2 ียร U เพ .C อื ่ พ O ุทธ M ศา สน ์
ชนะมารด้วยบารมี ๑๐
ในวันเพ็ญขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๖ ก่อนพุทธศักราช ๔๕ ปี พระมหาบุ รุ ษ ประทั บ นั่ ง ณ ใต้ ต้ น พระศรี ม หาโพธิ์ ณ ตำบล อุรุเวลาเสนานิคม แคว้นมคธ (เมืองคยา ประเทศอินเดียในปัจจุบัน) ทรงชนะพญามารและเสนามารที่ยกพลเข้ามาผจญ ด้วยบารมี ๑๐๑ และได้บรรลุพระอรหันตสัมมาสัมโพธิญาณ ณ ที่นั้น. ๑
บ ารมี ๑๐ ได้แก่ ทาน ศีล เนกขัมมะ ปัญญา วิริยะ ขันติ สัจจะ อธิษฐาน เมตตา อุเบกขา อ่านเพิ่มเติมได้จากหนังสือเรียนนักธรรมชั้นโท ฉบับมาตรฐาน บูรณาการชีวิต วิชาธรรมวิภาค (๒๕๕๐) : สำนักพิมพ์เลี่ยงเชียง
14
๑. ชะยาสะนาคะตาñ ¾Ø·¸Ò เชตะวา มารัง สะวาหะนัง จะตุสัจจาสะภัง ระสัง เย ปิวิงสุ นะราสะภา.
๑
เล ่ WW ยี ง เช W. ียง L เพ C2 ียร U เพ .C อื ่ พ O ุทธ M ศา สน ์
พระพุทธเจ้าผู้องอาจในหมู่ชน ประทับ ณ ชัยอาสน์บัลลังก์๒ ทรงชนะพญามาร๓ ผู้พรั่งพร้อม ด้วยเสนามารแล้ว เสวยอมตรสô คือ อริยสัจ ๔ ประการ อันทำให้ผู้รู้แจ้งข้ามพ้นจากทุกข์ทั้งปวง เป็นผู้องอาจได้. บางฉบับเป็น ªÐÂÒÊÐ¹Ò¡ÐµÒ แปลได้ความหมายเหมือนกัน. ชัยอาสน์บัลลังก์ หมายถึง ที่ประทับใต้ต้นพระศรีมหาโพธิ์ใน วันตรัสรู้. ๓ พญามาร ได้ แ ก่ พญาวสวั ต ดี ม าร อี ก นั ย หนึ่ งได้ แ ก่ กิ เ ลส กองใหญ่ คือ โลภะ โทสะ โมหะ. ô อ่านว่า อะ-มะ-ตะ-รด หมายถึง รสแห่งพระธรรมที่เป็นอมตะ รสแห่งสัจธรรมความจริงที่ไม่มีวันตาย, เสวยอมตรส โดยใจความ หมายถึง ทรงรู้แจ้งธรรมในอริยสัจ ๔ คือ ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค ยังพระองค์ให้พบความสุข คือพระนิพพานอันนิรันดร์. ๒
15
เล ่ WW ยี ง เช W. ียง L เพ C2 ียร U เพ .C อื ่ พ O ุทธ M ศา สน ์
ขออัญเชิญพระพุทธเจ้า ๒๘ พระองค์มาสถิตที่กลางกระหม่อม พระพุทธเจ้า ๒๘ พระองค์ทรงประกอบด้วยคุณอัน ยิ่ ง มี ค วามเป็ น พระอรหั น ต์ เ ป็ น ต้ น เมื่ อ สถิ ต ที่ ก ลาง กระหม่อมอวัยวะที่เป็นศูนย์กลางแห่งชีวิต ย่อมมีพลัง นำพาชีวิตให้ยึดมั่นในความดี พ้นจากสรรพอันตรายและ ความทุกข์ทั้งมวล. 16
๒. ตัณหังกะราทะโย พุทธา อัฏฐะวีสะติ นายะกา สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง มัตถะเก เต มุนิสสะรา.
๑
เล ่ WW ยี ง เช W. ียง L เพ C2 ียร U เพ .C อื ่ พ O ุทธ M ศา สน ์
พระพุทธเจ้า ๒๘ พระองค์ñ มีพระผู้ทรง พระนามว่ า ตั ณ หั ง กร เป็ น ต้ น ขออั ญ เชิ ญ พระพุทธเจ้า ผูเ้ ป็นจอมมุนที กุ พระองค์มาประดิษฐาน ณ กลางกระหม่อมของข้าพเจ้า. ๑. พระตัณหังกร ๒. พระเมธังกร ๓. พระสรณังกร ๔. พระ ทีปังกร ๕. พระโกณฑัญญะ ๖. พระมังคละ ๗. พระสุมนะ ๘. พระเรวตะ ๙. พระโสภิตะ ๑๐. พระอโนมทัสสี ๑๑. พระ ปทุมะ ๑๒. พระนารทะ ๑๓. พระปทุมุตตระ ๑๔. พระสุเมธะ ๑๕. พระสุ ช าตะ ๑๖. พระปิ ย ทั ส สี ๑๗. พระอั ต ถทั ส สี ๑๘. พระธัมมทัสสี ๑๙. พระสิทธัตถะ ๒๐. พระติสสะ ๒๑. พระผุสสะ ๒๒. พระวิปสั สี ๒๓. พระสิข ี ๒๔. พระเวสสภู ๒๕. พระกกุสนั ธะ ๒๖. พระโกนาคมนะ ๒๗. พระกัสสปะ ๒๘. พระโคตมะ (องค์ปัจจุบัน) และจะเสด็จอุบัติขึ้นในอนาคต อีกหนึ่งพระองค์ คือ พระศรีอริยเมตไตรย.
17
พระพุทธ
เล ่ WW ยี ง เช W. ียง L เพ C2 ียร U เพ .C อื ่ พ O ุทธ M ศา สน ์
พระธรรม
พระสงฆ์
พุทธที่หัว ธรรมที่ตา สงฆ์ที่อก
พระพุทธเจ้า เป็นบรมครูผู้ชี้นำทางที่ประเสริฐสุด เมื่อ สถิตที่ศีรษะย่อมมีพลังชี้นำความคิดให้ดีงาม พระธรรม เป็น ประดุจแสงสว่างกำจัดความมืดมนแห่งกิเลส เมื่อสถิตที่ดวงตา แล้ ว ย่ อ มทำให้ เ กิ ด ดวงตาเห็ น ธรรม รู้ แจ้ ง ทุ ก ข์ ต ามเป็ น จริ ง พระสงฆ์ ศึกษาพระธรรมจนรู้แจ้งและนำไปบอกต่อแก่มหาชน เมื่อสถิตที่หน้าอก ย่อมทำให้เกิดพลังอาจหาญในการทำความดี ตามคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า และแบ่งปันความสุขแก่ผู้อื่น 18
๓. สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง พุทโธ ธัมโม ทะวิโลจะเน สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง อุเร สัพพะคุณากะโร.
๑
เล ่ WW ยี ง เช W. ียง L เพ C2 ียร U เพ .C อื ่ พ O ุทธ M ศา สน ์
ขออัญเชิญพระพุทธเจ้าñ ประดิษฐานบน ศีรษะ พระธรรม๒ อยู่ที่ดวงตาทั้งสอง พระสงฆ์ó ผูเ้ ป็นบ่อเกิดความดีทกุ อย่าง อยูท่ อี่ กของข้าพเจ้า.
พระพุทธเจ้า คือ ผู้ที่ตรัสรู้ชอบด้วยพระองค์เองแล้วสอน ผู้อื่นให้รู้แจ้งตาม. ๒ พระธรรม คือ คำสอนของพระพุทธเจ้า มีอานุภาพรักษา ผู้ที่ปฏิบัติตามไม่ให้ตกไปในที่ชั่ว เช่น อบายภูมิ เป็นต้น. ๓ พระสงฆ์ คือ หมู่สาวกที่ปฏิบัติดี ปฏิบัติชอบตามคำสั่ง สอนของพระพุทธเจ้าแล้วสอนผู้อื่นให้รู้ตาม. 19
เล ่ WW ยี ง เช W. ียง L เพ C2 ียร U เพ .C อื ่ พ O ุทธ M ศา สน ์
ประวัติสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี) เจ้าประคุณสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี) ถือกำเนิดในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช (รัชกาลที ่ ๑) ณ บ้าน 61
เล ่ WW ยี ง เช W. ียง L เพ C2 ียร U เพ .C อื ่ พ O ุทธ M ศา สน ์
ไก่จ้น อำเภอท่าเรือ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เมื่อวันพฤหัสบดี ขึ้น ๑๒ ค่ำ เดือน ๕ ป‚วอก ตรงกับวันที่ ๑๗ เมษายน พ.ศ. ๒๓๓๑ บิดาไม่ ปรากฏนาม มารดาชื่อ เกตุ ในกาลต่อมาบิดา มารดาของท่ า นได้ ย้ า ยครอบครั ว มาอยู่ ที่ ต ำบล ไชโย จังหวัดอ่างทอง และในตอนที่ท่านเริ่มจะนั่ง ได้ก็ได้ย้ายครอบครัวอีกครั้งหนึ่งโดยมาตั้งถิ่นฐาน อยู่ที่บางขุนพรหม จังหวัดพระนครในสมัยนั้น หลังจากได้ยา้ ยครอบครัวมาอยูท่ บี่ างขุนพรหม แล้ว เด็กชายโตได้เรียนอักษรสมัยกับท่านเจ้าคุณ อรัญญิก (ด้วง) เจ้าอาวาสวัดอินทร์ในสมัยนั้น เมื่ออายุได้ ๑๒ ป‚ เด็กชายโตได้บรรพชาเป็น สามเณรที่วัดอินทร์ โดยมีท่านเจ้าคุณบวรวิริยเถร (อยู่) เป็นพระอุปัชฌาย์ และได้ย้ายไปอยู่วัดระฆัง เพื่ อ เรี ย นพระปริ ยั ติ ธ รรม สามเณรโตเป็ น ผู้ มี 62
เล ่ WW ยี ง เช W. ียง L เพ C2 ียร U เพ .C อื ่ พ O ุทธ M ศา สน ์
ปฏิภาณเป็นเลิศ มีความจำยอดเยี่ยม สามารถ แปลและจดจำพระไตรปิฎกได้อย่างแม่นยำ ความ ทราบถึงพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย (รัชกาลที่ ๒) ขณะดำรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จ เจ้าฟ้ากรมขุนอิศรสุนทร ทรงชื่นชมและได้พระ ราชทานเรื อ กั ญ ญาหลั ง คาแซงไว้ เ ป็ น พาหนะ ประจำตัว นับว่าเป็นเกียรติแก่สามเณรโตอย่างยิ่ง เพราะเรื อ ชนิ ด นี้ เ ป็ น เรื อ ของผู้ ที่ ด ำรงตำแหน่ ง เทียบเท่าพระองค์เจ้าทีเดียว เมื่ อ มี อ ายุ ค รบอุปสมบท พระบาทสมเด็ จ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช (รัชกาลที่ ๑) ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สามเณรโตอุปสมบท ในพระบรมราชานุเคราะห์เป็นนาคหลวง ณ พระ อุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม (วัดพระแก้ว) พระบรมมหาราชวัง โดยมี สมเด็จพระสังฆราช (สุก) เป็นพระอุปชั ฌาย์ ได้รบั ฉายาว่า “พÚรหÚมรíส”ี 63
เล ่ WW ยี ง เช W. ียง L เพ C2 ียร U เพ .C อื ่ พ O ุทธ M ศา สน ์
ต่อมาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า- เจ้าอยูห่ วั (รัชกาลที ่ ๔) ได้รบั พระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานสมณศักดิ์ที่ “พระธรรมกิตติ” และ ได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าฯ เลื่อนสมณศักดิ์เป็น พระราชาคณะชั้นผู้ใหญ่ที่ “พระเทพกระวี” ในป‚ พ.ศ. ๒๓๙๗ จากนั้นในป‚ พ.ศ. ๒๔๐๗ จึงได้รับ พระกรุณาโปรดเกล้าฯ ขึ้นเป็นสมเด็จพระราชา คณะที่ “สมเด็จพระพุฒาจารย์” ในรัชสมัย รัชกาลที ่ ๕ เมือ่ ป‚ พ.ศ. ๒๔๑๕ เจ้าประคุณสมเด็จฯ ท่านได้ดูแลการก่อสร้างหลวง พ่อโตที่วัดบางขุนพรหมใน (วัดอินทรวิหาร) แล้ว อาพาธด้ ว ยโรคชรา และได้ ถึ ง แก่ ม รณภาพใน วันเสาร์ แรม ๒ ค่ำเดือน ๘ ตรงกับวันที ่ ๒๒ มิถนุ ายน พุทธศักราช ๒๔๑๕ สิริรวมอายุได้ ๘๔ ป‚ ๖๔ พรรษา. 64
เล ่ WW ยี ง เช W. ียง L เพ C2 ียร U เพ .C อื ่ พ O ุทธ M ศา สน ์
เล ่ WW ยี ง เช W. ียง L เพ C2 ียร U เพ .C อื ่ พ O ุทธ M ศา สน ์
เล ่ WW ยี ง เช W. ียง L เพ C2 ียร U เพ .C อื ่ พ O ุทธ M ศา สน ์
เล ่ WW ยี ง เช W. ียง L เพ C2 ียร U เพ .C อื ่ พ O ุทธ M ศา สน ์