ทุกข์อย่างไร ไม่ให้ทุกข์

Page 1



ไมปลอย ไมวาง ทุกขไมบาง ปลอย วาง บางหนอ นัง่ นอนสบาย

พระธรรมเทศนา โดย : พระพรหมมังคลาจารย์ (ปญญานันทภิกขุ) วัดชลประทานรังสฤษฏ์

นำเสนอสาระ : สุภาพ หอมจิตร บรรณาธิการสาระ : ศักดิ์สิทธิ์ พันธุสัตย ออกแบบปก : อนุชิต คำซองเมือง บรรณาธิการศิลปะ : อนุชิต คำซองเมือง ภาพประกอบ : ภัทฬศิลปธอน โกศาวัรณ รูปเลม/จัดอารต : กัญนัฐ ทองโสม


คำนำสำนักพิมพ์

ความโกรธหากเกิดขึ้นกับใคร จะเป็นอารมณ์ร้ายทำลายทั้งร่างกาย และจิตใจให้เศร้าหมอง กระวนกระวายอยู่ไม่เป็นสุข เกิดความทุกข์ ทุกข์ เพราะกลุ้มใจ หาทางออกไม่เจอ ดังคำที่ว่า ความโกรธเหมือนจุดไฟเผาตัวเอง ลองคิดดู หากผู้บริหารประเทศชาติ บริหารด้วยความโกรธ ประเทศชาติจะ เป็นเช่นไร ถ้าประชาชนมีแต่ความโกรธและหวาดระแวงซึ่งกันและกัน ต่าง คนต่างอยู่ ไม่ลงรอยกัน จักเป็นอย่างไร คุณเป็นส่วนหนึ่งของสังคมที่จะช่วยลดความโกรธลงได้ด้วยการแสดง ความรักเมตตาสามัคคีต่อกัน เริ่มต้นที่ตัวเรา ครอบครัว โรงเรียน และ หน่วยงานหรือองค์กรต่างๆ ได้ช่วยกัน ลดความขัดแย้ง แข่งกันทำความดี ชีวีสดใส ใจเป็นสุข หนังสือ ทุกข์อย่างไร ไม่ให้ทุกข์ เล่มนี้ เป็นพระธรรมเทศนาของ พระเดชพระคุณ พระพรหมมังคลาจารย์ (หลวงพ่อปัญญานันทภิกขุ) อ่าน เข้าใจง่าย สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้เป็นอย่างดี จึงได้มอบหมายให้ อาจารย์สุภาพ หอมจิตร (น.ธ.เอก, ป.ธ.๗) เป็นผู้คัดสรรเนื้อหา พร้อมทั้ง จัดวรรคตอน ย่อหน้า คิดภาพประกอบ พร้อมกับทีมงานท่านอื่นๆ ที่ช่วย กันคิดสร้างสรรค์จนสำเร็จเป็นรูปเล่มดังที่ปรากฏนี้ เชิญชวนคนไทยใจดี ๖๐ ล้านคน ลดความโกรธด้วยการฝึกจิตพิชิต ใจไม่ให้เกิดความโกรธ และร่วมกันเผยแพร่หนังสือดีๆ เล่มนี้ แก่คนที่ท่านรัก และหวังดี แล้วชีวิตจะมีแต่ความสงบ เย็น และเป็นสุขตลอดไป (น.ธ.เอก, ป.ธ.๗) ผู้สรรค์สาระในนามคณาจารย์สำนักพิมพ์เลี่ยงเชียง

โปรดใช้เล่มนี้ให้คุ้มสุดคุ้ม & อ่านแล้ว -> แบ่งกันอ่านหลายท่านนะจ๊ะ

อ่านสิบรอบ ระดมสมองคิดสิบหน ฝึกฝนปัญญา พัฒนาการประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน จิตรู้เท่าทันสรรพสิ่ง ฉลาดใช้ เฉลียวคิด ชีวิตจักสนุก สงบ เย็น สำนักพิมพ์เลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน์ ปรารถนาให้ทุกครอบครัวมีความสุข


·Øก¢์Í‹ҧäà äม‹ãËŒ·Øก¢์

ñ

ญาติโยมพุทธบริษัททั้งหลาย ณ บัดนี้ ถึงเวลาที่จะได้ฟงปาฐกถาธรรม๒ อั น เป็ น หลั ก คำสอนในทางพระพุ ท ธศาสนาแล้ว ขอให้ทุกท่านจงอยู่ในอาการ อันสงบเรียบร้อย ตั้งอกตั้งใจฟงเรื่องที่จะ นำมากล่าวสู่กันฟงต่อไป (

ถือศีลฟงธรรมกันเป็นจำนวนมาก

วันนีเ้ ป็นวันพระตรงกับวันอาทิตย์ พวกญาติโยมพุทธบริษัทจึงได้มาประชุม

)*

คนเรานี้ตามปกติก็คลุกคลีอยู่กับการงานในชีวิตประจำวัน งานที่เรา กระทำอยู่เป็นประจำนั้นย่อมเป็นเหตุให้มีความสุขบ้าง ทุกข์บ้างสลับสับเปลี่ยน กันไป บางคราวก็มีความสุขมากจนลืมตัว บางคราวมีความทุกข์มากก็ลืมตัว เหมือนกัน คือ ลืมไปว่าตนกำลังเป็นทุกข์อยู่แล้ว ก็ไม่ได้หาเหตุของความทุกข์นั้น เพื่อจะแก้ไขบำบัดไม่ให้เหตุเช่นนั้นเกิดขึ้นอีกต่อไป


สØ¢ ·Øก¢์«éำÃÍ àพÃÒÐËŧมัÇàมÒ

ปกติของเราซึ่งเป็นมนุษย์นั้น มักจะลืมบ่อยๆ อาการที่ลืมเช่นนั้น ในภาษาธรรมะเรียกว่า เป็นโมหะ๑

4

เวลาใดเปนสุข ก็ลืมไป เวลาใดเปนทุกข์ ก็ลืมไป เรียกว่า ลืมทั้งสองด้าน เป็นความหลงใหลมัวเมา ไม่เข้าใจชัดเจน ตามความเป็นจริงในเรื่องนั้นๆ จึงเป็นเหตุให้ประวัติซ้ำรอย เรามีความสุขซ้ำ มีความทุกข์ซ้ำกันอยู่ตลอดไป

สำนักพิมพเลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน


ÇันพÃÐ ค×Í Çัน·ำ´Õ

เพราะฉะนั้น ในทุกศาสนาจึงมีวันไว้วันหนึ่ง เรียกว่า “วันพระ”๑

“วันพระ” ก็คือ วันสำหรับให้คนเข้าใกล้พระ

ฟงเรื่องของพระ เอาคำสอนของพระมาเป็นกระจก คอยส่องดูความประพฤติ การปฏิบัติของเรา ว่ามีความผิดชอบอย่างไร ทำอย่างนี้แล้วจะเกิดอะไรขึ้นในชีวิตของเราบ้าง เราควรจะหาทางปองกันแก้ไขในเรื่องเช่นนี้ประการใดบ้าง

ทุกขอยางไร ไมใหทุกข

5


¶×ÍÍØâºส¶ àพ×èÍคŒนËÒคÇÒม¨Ãิ§¢Í§ªÕÇิµ

คนในสมัยโบราณก็มคี วามทุกข์เหมือนกับทีเ่ รามี ก็แสวงหาทางพ้นทุกข์ ด้วยการปลีกตัวออกไปจากบ้านเรือนในบางครั้งบางคราวเช่นกัน การถืออุโบสถ๑ นั้นก็คือ การปลีกตัวออกไปจากครอบครัว ไปอยู่ใน ที่เงียบ เพื่อจะได้มีเวลาศึกษาเรื่องความจริงของชีวิต เช่น ความสุ ข ความทุกข์ มั นเกิดขึ้นมาได้อย่างไร ? มี อะไรเปนเครื่องหล่อเลี้ยง เราจะหลี กเลี่ยง หรือต่อสู้ กั บสิ่งเหล่านั้นอย่างไรบ้าง ? เพราะฉะนั้น เมื่อเรามี โอกาสมาถือศีลฟงธรรมในวันอุโบสถ ก็ควรใช้เวลาว่างนั่งสำหรับนึกคิด พิจารณา นั่งคนเดียว พูดกับตัวเอง

6

สำนักพิมพเลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน


พÙ´กัºคนÍ×èนมันÂØ‹§ พÙ´กัºµัÇàͧ´ÕกÇ‹Ò เราพูดกับคนอื่นนั้น เราพูดกันมานานแล้ว แล้วพูดกับคนอื่นนี่มันยุ่ง มีเรื่องกระทบกระเทือนกันในด้านจิตใจ เราควรหันมาพูดกับตัวเอง เหมือน พระในสมัยโบราณเวลาท่านไปบำเพ็ญสมณธรรม๑อยู่ในปา ถ้าหากว่าความคิด ไม่ดีเกิดขึ้น เช่น พูดว่า

“เจ้าอยากจะมีความทุกข์หรือ ? เจ้าอยากจะตกนรกหรือ ? เจ้าอยากจะตกในที่ชั่วที่ต่ำหรือ ? ความคิดอย่างนี้จึงมารบกวนเจ้า รูปร่างหน้าตาความเปนอยู่เจ้านี้ ไม่เหมาะสมกับความคิดอย่างนี้ คนที่อยู่ในปาเงียบๆ ไม่ควรจะคิดสิ่งที่เศร้าหมองใจอย่างนี้” ท่านเตือนตัวเอง บอกกับตัวเอง ในรูปอย่างนี้ เมื่อบอกอย่างนั้น ความคิดที่ไม่ดี คือมาร๒นั้นก็หายไป เพราะว่า มารนั้น ถ้าเรารู้จักหน้าตามัน มันก็อยู่ไม่ได้ แต่ถ้าเราไม่รู้จักหน้าตามัน ไม่รู้ว่ามันเป็นมารที่เข้ามาขัดขวางแทรกแซง ในชีวิตของเรา เราก็หลงรักมัน ชอบใจมัน ทุกขอยางไร ไมใหทุกข

7


คÇÒมà¨ÃิÞกÒ 㨠µŒÍ§ãËŒสม´ØÅ

โลกเราในสมัยนี้ มีความเจริญในด้านฝายกายอย่างชนิดที่เรียกว่า ล้นเหลือ เจริญจนล้นโลกเข้าไปแล้ว แต่ว่าความเจริญในด้านฝายจิตนั้น ยังมีอยู่น้อยเต็มที

เพราะ ความเจริญฝายกาย และฝายจิตไม่สมดุลกัน มนุษย์เราจึงเอียงไปในทางร้าย ทำอะไรออกนอกลู่นอกทาง อันเปนเหตุให้เกิดความทุกข์ ความเดือดร้อนบ่อยๆ

โทโส โกธะสะมุฏฐาโน : โทสะ มีความโกรธเปนสมุฏฐาน (ขุ.ชา.ทสก. ๒๗/๒๓๗) 8

สำนักพิมพเลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน


มͧŒÍนสำÃǨµน àพ×èÍÇั´¼ÅคÇÒม´Õ ถ้าหากว่าเราทั้งหลายที่เป็นคนสนใจในด้านธรรมะ จะคิดช่วยตนเอง... ช่วยตนเองกันก่อน เรื่องคนอื่นนั้นไว้ค่อยพูดกันทีหลัง เพราะคนเมื่อมีการช่วยตัวเองแล้ว ก็ช่วยคนอื่นไปในตัวด้วย ทำตน ให้ดี... แล้วก็ช่วยให้คนอื่นดีไปด้วยในตัวเหมือนกัน แต่ถ้าไม่มีการช่วยตัวเองให้ก้าวหน้าในทางดีทางงาม ไม่ปรับปรุงตน ให้ดีแล้ว ก็เป็นการกระทบกระเทือนต่อบุคคลอื่นตลอดไป เพราะฉะนั้น เบื้องต้นนี้เราจึงควรจะได้ตรวจดู ความคิดนึกของเรา ในวันที่ครบรอบป รอบเดือนเช่นนี้ เช่นว่า ในวันเพ็ญกลางเดือน๑ ครบรอบ เดือนหนึ่ง เราก็ควรได้พิจารณาดูว่า

รอบที่ผ่านมานี้เปนอย่างไร ? การกระทำของเราเปนอย่างไร ? ทิฐิ คือความเห็นของเราเปนอย่างไร ? การพูดการทำของเราอยู่ในรูปใดบ้าง ? ให้พิจารณาดู ªÇ¹¤Ô´

ÁÕ¤¹¨Ó¹Ç¹äÁ‹¹ŒÍ·Õè໚¹·Ø¡¢ à¾ÃÒФÇÒÁâ¡Ã¸ ÁÒª‹Ç¤¹ä·Â öð Ōҹ¤¹ ãËŒàÍÒª¹Ð¤ÇÒÁâ¡Ã¸ ´ŒÇ¡ÒÃᨡ˹ѧÊ×ÍàÅ‹Á¹ÕéãËŒà¢Ò䴌͋ҹ áÅÐàÍÒª¹Ð¤ÇÒÁâ¡Ã¸´ŒÇµÑÇàͧ

ทุกขอยางไร ไมใหทุกข

9


Çั´¼ÅคÇÒม´Õ พÖ§Çั´´ŒÇ “¸ÃÃมД

ทีนี้การพิจารณานั้นต้องเอา หลักธรรมะ เข้ามาจับ คือความดีในหลัก ธรรมะนั้นมีอยู่ เราก็เอาความดีนั้นมาวางลง แล้วเอาตัวเราไปเปรียบเทียบกับ หลักธรรมะอันนั้นว่า

“ความคิด ความอ่าน ของเราในเวลานี้ เข้ากับหลักธรรมะ ได้หรือไม่ ? ถ้าเห็นว่าเข้ากันได้ เราก็ควรจะสบายใจ มีปต๑ิ มีปราโมทย์๒ มีความสุขในทางใจ เพราะได้กระทำ คุณงามความดีเรื่อยมา”

10

สำนักพิมพเลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน


พº»Ðสิè§äม‹´Õ...µŒÍ§ÃÕºáกŒä¢

แต่ถ้าพิจารณาดูแล้ว รู้สึกตัวว่า มีข้อบกพร่องหลายสิ่งหลายประการ อันเกิดจากการกระทำทางกาย ทางวาจา หรือแม้แต่ความคิด ความนึก อันเกิดอยู่ในใจของเรานั้น เป็นความบกพร่อง เป็นความเสียหาย ก็ให้รู้สึกว่าชีวิตนี้ไม่มีค่า สมกับเรามีอายุขนาดนี้ มีฐานะมีความเป็นอยู่ในโลกอย่างนี้ ก็ควรจะได้มีการปรับปรุง เปลี่ยนแปลงให้มันก้าวหน้าต่อไป ในทางที่ถูกในทางที่ชอบในหลักธรรม ถ้าเราหมั่นคิดหมั่นเตือนตัวเอง ดังนี้ การกระทำของเราก็จะดีขึ้น ªÇ¹¤Ô ´

ทุกขอยางไร ไมใหทุกข

11


µักàµ×ÍนµัÇàͧ ·ำä´Œ·ัé§à´çกáÅмٌãËÞ‹

ในเรื่องการตักเตือนตัวเองนี้ ทำได้ทั้งเด็กและผู้ใหญ่ เช่น หนูเด็กๆ ที่กำลังเป็นนักเรียน มีความจำเป็นมากที่จะต้องเตือน จะต้องหมั่นเตือนตัวเอง หมั่นสำรวจตัวเอง ควรจะสำรวจบ่อยๆ ทุกเจ็ดวัน เช่น วันอาทิตย์เป็นวันหยุดเรียน เราควรจะได้มีการสำรวจตรวจสอบชีวิตที่ ผ่านมา เอาแบบฝึกหัดที่เราทำในรอบ ๗ วันมาตรวจดูว่า การเรียนของเรา เป็นอย่างไร วิชาคำนวณ วิชาวิทยาศาสตร์ ภาษา และวิชาอื่นๆ ที่เรียนอยู่เป็น ประจำนั้น เป็นอย่างไรบ้าง

“เรามีความรู้ ความก้าวหน้าสมชั้นไหม ? หรือว่าเรามีความรู้หย่อนอยู่” แบบฝกหัดที่เราทำ ในรอบหนึ่งสัปดาห์นั้น มีการกระทำถูกเท่าไร ? มีการกระทำผิดไปเท่าไร ? ˹ѧÊ×Í ·Ø¡¢ Í‹ҧäà äÁ‹ãËŒ·Ø¡¢ ñ àÅ‹Á ẋ§¡Ñ¹Í‹Ò¹ ñ𠤹 à¼×èÍἋẋ§»˜¹¤ÇÒÁÊآ䴌 ñð𠤹 ˹ѧÊ×Í ñð,ððð àÅ‹Á ẋ§»˜¹¤ÇÒÁÊآ䴌 ñ,ððð,ðð𠤹 ËÇÁÊÌҧ¤ÇÒÁÊØ¢ ʹѺʹع¡ÒþÔÁ¾ (ÂÔ觾ÔÁ¾ ÁÒ¡ ÂÔ觶١ÁÒ¡) µÔ´µ‹Í â·Ã. ðò-ø÷ò-ùñùñ, ðò-ø÷ò-øñøñ, ðò-ø÷ò-õù÷ù, ðò-òòñ-ñðõð

12

สำนักพิมพเลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน


ข้อที่ทำถูกนั้น ก็ดูว่าที่ถูกนั้นเป็นอย่างไร ? ที่ผิดก็ต้องดูเหมือนกัน ดูให้รู้ว่าข้อที่ผิดนั้นมันผิดตรงไหน ? บางที ก็ ผิ ด ลงไปได้ เช่น เขียนเลข ๔ เป็นเลข ๕ ซึ่งมันอยู่ใกล้กัน ถ้ า เราไม่ ป ระมาท ตรวจสอบดูเสียก่อน ก็จะได้ มีการปรับปรุงแก้ไขและทำให้ เรียบร้อยดีงามขึ้น ทุกขอยางไร ไมใหทุกข

13


ªÕÇิµµŒÍ§พั²นÒ·ัé§กÒÂáÅÐã¨ãËŒàสมÍÀÒคกัน

ในด้านความประพฤติก็เหมือนกัน เราควรจะได้ตรวจสอบดูว่า ในรอบ ๗ วันที่ผ่านมานี้ เรามีความประพฤติอย่างไร ? ถูกครูว่า ครูดุกี่ครั้งกี่หน ? ถูกครูติเตียนเรื่องความเป็นอยู่ของเรา อย่างไรบ้าง ? เราจะต้องพิจารณาตรวจสอบ ถ้าหากพบความบกพร่อง ความไม่ดีไม่งาม อันเกิดจากการกระทำของเราแล้ว เราก็จะได้จำไว้

ความอ้วนพีทางกายมีขึ้น ก็ให้มีความอ้วนทางใจ ความอ้วนทางใจ ก็คือ

การอ้วนธรรมะ มีหลักความงาม ความดีไว้หล่อเลี้ยงจิตใจ มีธรรมะของพระพุทธเจ้าเป็นเครื่องคุ้มครองจิตใจ ทั้งภายนอกและภายใน ชีวิตของเราจะมีราคายิ่งขึ้น

14

สำนักพิมพเลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน


คน¨ÐกŒÒÇËนŒÒ µŒÍ§พั²นÒµัé§áµ‹à´çก ถ้าเราอ่านดูประวัติคนสำคัญๆ ที่เขาเติบโตเป็นผู้ใหญ่ มีชื่อเสียง เป็น “นัก” ในเรื่องอะไรต่างๆ เช่น นักวิทยาศาสตร์ นักปราชญ์ นักอะไรก็ตามที เถอะ ที่เขาเป็นคนสำคัญๆ นั้น เราลองศึกษาชีวประวัติเขาดูจะพบว่าคนเหล่านี้ “ดีมาแต่เด็ก” คือ

ขอให้หนูๆ ที่เป็นนักเรียน จำใส่ใจไว้แล้วก็เอาไปคิดคอยเตือน ตัวเองไว้เสมอ

ทุกขอยางไร ไมใหทุกข

15


ËมัèนสำÃǨµÃǨ´Ù ¨ÐÃÙŒนิสัµัÇàͧ ทุกคืนเวลาก่อนนอน ต้องตรวจว่า

16

เป็นเรื่องที่เราควรพิจารณา ควรตรวจสอบ ถ้าได้ตรวจสอบอยู่ อย่างนี้บ่อยๆ แล้วชีวิตของเด็กก็ เป็นชีวิตที่น่ารักน่าเอ็นดู เมื่ อ เติ บ โตขึ้ น เป็ น ผู้ ใ หญ่ ก็ จ ะได้ ท ำคุ ณ ประโยชน์ แ ก่ ช าติ บ้านเมืองต่อไป ทั้ ง นี้ ไ ด้ พู ด ถึ ง เรื่ อ งเตื อ นใจ เล็กน้อยก่อน แล้วก็จะได้พูดต่อจาก วันก่อนที่พูดค้างไว้ คือในวันก่อนนี้ ได้พูดถึงเรื่องจิตของเรานี่เอง สำนักพิมพเลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน


สØ¢ ·Øก¢์ Ãัก ªั§ àกิ´¨ÒกกÒûÃاᵋ§ วันนี้จึงใคร่จะพูดเกี่ยวกับในเรื่องของจิตหรือใจของเราอีกสักเล็กน้อย คือว่า อาการของจิตที่มันเกิดความรัก เกิดความชัง เกิดความหลง เกิดความ โกรธ เกิดความเกลียดอะไรต่างๆ ถ้าแบ่งเป็นประเภทแล้ว ก็แบ่งเป็นสองส่วน คือ ประเภททีเ่ ป็น “กุศล”๑ และ “อกุศล”๒ ซึง่ เป็นเรือ่ งของการปรุงแต่ง ไม่ใช่มตี วั ตนทีแ่ ท้จริงอะไร มันเกิดเพราะการปรุงแต่งของสิ่งทั้งหลาย เพราะว่าร่างกายของเรานี้ หรือในชีวิตตัวตน ของเรานี้ โดยสมมตินี้มันเป็นประตูที่จะนำสิ่ง ภายนอกเข้าไปคือ

เรามีตาสำหรับดูรูป มีหูสำหรับฟังเสียง มีจมูกสำหรับดมกลิ่น มีลิ้นสำหรับลิ้มรส มีกายและมีประสาททั่วร่างกาย ที่จะคอยรับรู้เรื่องอะไรต่างๆ ที่มากระทบทางกาย

ทุกขอยางไร ไมใหทุกข

17


ทีนี้เมื่อ ตาเห็นรูป, ใจพลอยรั พลอยรับรู้ ๓ อย่างนี้มารวมตัวกันเข้าท่านเรียกตาม ภาษาธรรมะว่า เกิดผัสสะ

การประชุมพร้อมกันทั้ง ๓ เรื่องนี้ เกิดเป็น ผัสสะ

แล้วต่อจากนั้น ก็เกิดอาการ เวทนา ขึ้นในใจของเรา มีความสุข มีความทุกข์ หรือบางทีก็มเฉยๆ ีเฉยๆ

18

แล้วต่อจากนั้น ก็มีความอยากได้ในเรื่องนั้น อยากจะมี อยากจะเป็น หรืออยากไม่มีไม่เป็น

สำนักพิมพเลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน


·Øก¢์àพÃÒÐäม‹ä´Œ´ัè§ã¨

ความอยากของมนุษย์เรา เมื่อรวมแล้วย่อๆ สั้นๆ สำคัญที่สุด มันมี ๒ เรื่องเท่านั้นเอง

วันหนึ่งๆ นี้ เราต้องดิ้นรนกับเรื่องอย่างนี้มากมาย ในของบางอย่างเราชอบใจ เราก็อยากจะดึงเข้ามาให้เป็นของเรา ให้อยู่กับเรา ทุกขอยางไร ไมใหทุกข

19


แต่ถ้าหากว่าสิ่งใดเราไม่ชอบใจ เราก็เกิดการผลักดันเพื่อให้สิ่งนั้นออก ห่างจากตัวเรา ถ้ามันไม่ออกไป เราก็เกิดความทุกข์ เพราะสิ่งนั้นไม่ได้ดังใจ แม้ในเรื่องที่เราอยากจะเอาเข้ามานี่มันก็เหมือนกัน ถ้าหากว่าไม่ได้ ดังใจ มันก็เป็นทุกข์ เมื่อไม่ได้ดังใจเรา เราก็เป็นทุกข์ มีความเดือดร้อน

20

สำนักพิมพเลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน


ÍÇิªªÒ นำพÒãËŒàกิ´·Øก¢์

คนทีเ่ กิดความทุกข์ในเรือ่ งนี้ ก็เพราะความโง่เขลาเป็นมูลฐาน ภาษา ธรรมะท่านเรียกว่า “อวิชชา”๑ คือ ความไม่รชู้ ดั ในความเป็นจริงในเรือ่ งนัน้ ๆ เหมือนกับไฟเทียนทีเ่ ราจุดบูชาพระ มันลุกเป็นเปลวอยู่ได้ ก็เพราะยังมี ไส้ น้ำมัน ถ้าไส้กับน้ำมันยังพร้อมอยู่ มันก็ยังเป็นเปลวไฟอยู่ เราดูไฟแล้วก็นึกว่าเป็นของแท้ของจริง แต่ความจริงนั้นเป็นเรื่องปรุง เรื่องแต่ง ไม่ควรเข้าไปยึดถือว่าเป็นตัวเป็นตนอะไรนัก ในเรื่องเกี่ยวกับชีวิตของเรานี้ก็เหมือนกัน เรื่องรูป เราก็เห็นว่ามันปรุงแต่ง ไม่มีอะไรเปนตัวที่แน่นอน มันมีอาการประกอบกันเข้าเท่านั้น

ทุกขอยางไร ไมใหทุกข

21


ÂÖ´กÒÂäม‹ÃŒÒÂà·‹ÒÂÖ´ã¨

ทีนี้เรื่องของ “ใจ” สำคัญนักหนา พระผู้มีพระภาคตรัสว่า “ยึดถือร่างกายเป็นตนนั้นยังไม่ร้าย แต่ยึดถือใจเป็นตนนี้ร้ายนักหนา เพราะยึดถือใจเป็นตนนั้นมันจะหลอกเราตลอดเวลา ทำให้เกิดความยุ่งอยู่ใน ทางจิตของเราตลอดเวลา” พระพุทธพจน์ข้อนี้ เป็นเครื่องชี้ให้เห็นว่า

แม้ใจก็ไม่มีอะไรเปนตัวตนที่แท้จริง มันเปนเรื่องประกอบกันเข้า เกิดดับๆ อยู่ตลอดเวลา

22

สำนักพิมพเลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.