แหล่มหาชาติ พระเวสสันดร

Page 1


สำนักพิมพเลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน

นำเสนอสาระ : พิเชฐ ศิลปสุพรรณ บรรณาธิการสาระ : ศักดิ์สิทธิ์ พันธุสัตย ออกแบบปก : อนุชิต คำซองเมือง บรรณาธิการศิลปะ : อนุชิต คำซองเมือง ภาพประกอบ : จิตรกรรมฝาผนังวัดพุทธบูชา รูปเลม/จัดอารต : ทศพร ธรรมกุล


การเทศนมหาชาติ คือ การเทศนเลาเรื่องประวัติการบำเพ็ญมหาทานบารมี ของพระสัมมาสัมพุทธเจา เมื่อครั้งเสวยพระชาติเปนพระเวสสันดรโพธิสัตว ซึ่งเปน พระชาติสุดทายกอนที่จะมาอุบัติเปนเจาชายสิทธัตถะ และออกบวชบำเพ็ญเพียร ตรัสรูเปนพระสัมมาสัมพุทธเจาของเราทั้งหลาย ประวัติการเทศนมหาชาติเกิดขึ้นมาตั้งแตสมัยกรุงสุโขทัย และสืบทอดตอกัน มาจนถึงยุคกรุงรัตนโกสินทร เปนประเพณีงานบุญที่คนไทยทั่วทุกภาคใหความสำคัญ และจัดขึ้นเปนประจำทุกปในชวงเทศกาลออกพรรษา แมวาในปจจุบันความสนุกสนาน และกลิ่นอายมนตขลังของการเทศนมหาชาติจะลดนอยลงไปมาก เมื่อเทียบกับสมัย รุนปูยาตายายก็ตาม แตก็ยังเปนที่นายินดีอยูบางที่มีหลายหนวยงานทั้งภาครัฐและ เอกชน ไดออกมารวมมือกันอนุรักษเพื่อสานตอประเพณีที่สำคัญนี้ใหมีอายุยืนยาว ตอลมหายใจออกไปอีก หนังสือ แหลมหาชาติ (เวสสันดรชาดก) เลมนี้ ประกอบดวย ๑. บทเทศนแหลที่ประพันธขึ้นใหม โดยทานพระอาจารยพิเชฐ ศิลปสุพรรณ พระนักเทศนที่มีชื่อเสียงและเปนที่ยอมรับของพุทธศาสนิกชนทั่วไป แบงออกเปน ๑๔ ตอน คือ ตอนที่ ๑ วาดวยปฐมเหตุที่ทำใหพระพุทธเจาแสดงเวสสันดรชาดก และอีก ๑๓ ตอนตามเนื้อหาของเวสสันดรชาดก ๑๓ กัณฑ ๒. เรื่องเลาโดยยอพรอมสาระขอคิด และอานิสงสของแตละกัณฑ ๓. ภาคผนวก สรุปสาระสำคัญและประเด็นความรูที่นาสนใจ บางประเด็น ยังเปนขอถกเถียงกัน เพื่อผูอานสามารถนำไปคิดตอยอดใหเกิดประโยชนแกตนได ในการจัดพิมพครั้งนี้ ไดมอบซีดีแหลเสียงของทานอาจารยพิเชฐ ศิลปสุพรรณ มาดวย เพื่อใหทานผูอานที่ตองการฟงเสียงแหลจะไดฟงไปดวย ครบรสทั้งการอาน และการฟง อนึ่ง ก็เพื่อใหทานที่ตองการฝกหัดเทศนแหล สามารถเปดฟงและฝก แหล ไดดวย อันจะเปนการชวยกันอนุรักษเทศนมหาชาติใหคงอยูตอไป ดวยความปรารถนาดี

Êӹѡ¾ÔÁ¾ àÅÕè§àªÕ§ à¾ÕÂÃà¾×è;ط¸ÈÒʹ


กอนจะมาถึงวันนี้บอกตามตรงวา “คอยดวยความหวัง” อยากเห็นรูปเลม ของหนังสือที่เปนเรื่องแหลที่ยาวมากในเรื่องเดียว ใชเวลาเขียนเดือนเศษ (ไมไดเขียน ทุกวัน) แตพอมาลอกใหสละสลวย ๓ เดือน ความสำเร็จตรงนี้ตองยกใหกับทาง คุณมณฑจิตตเกษม จงพิพัฒนยิ่ง และ สำนักพิมพเลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน ที่มีความดีอยูมากที่สุด และทางคณาจารย ของสำนั กพิมพ เลี่ยงเชียงชวยกันปรุงรสให เข มขน ครบทุกรส แหลเรื่อง “พระเวสสันดร” เปนพระชาติสุดทาย (ใน ๑๐ ชาติ) ของ พระพุทธเจา ที่ชาวพุทธรูจักและคุนเคย พูด (เขียน) มากไปคงอานไมสนุก พลิก (เปด) ไปอานในเลมดีกวานะจะ ขอเจริญพร

¾ÃоÔર ÍμÔªâ (ÈÔÅ»ŠÊؾÃó)


ปฐมเหตุและความเปนมาของเทศนมหาชาติ ประวัติความเปนมาและอานิสงสของการฟงเทศนมหาชาติ ปฐมเหตุเวสสันดร กัณฑที่ ๑ ทศพร กัณฑที่ ๒ หิมพานต กัณฑที่ ๓ ทานกัณฑ กัณฑที่ ๔ วนประเวศน กัณฑที่ ๕ ชูชก กัณฑที่ ๖ จุลพน กัณฑที่ ๗ มหาพน กัณฑที่ ๘ กุมาร กัณฑที่ ๙ มัทรี กัณฑที่ ๑๐ สักกบรรพ กัณฑที่ ๑๑ มหาราช กัณฑที่ ๑๒ ฉกษัตริย กัณฑที่ ๑๓ นครกัณฑ ภาคผนวก

๕ ๖ ๘ ๑๔ ๒๑ ๓๒ ๕๐ ๖๐ ๗๑ ๗๖ ๘๔ ๑๐๔ ๑๑๙ ๑๒๘ ๑๓๘ ๑๔๕ ๑๕๔


สำนักพิมพเลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน

»°ÁàËμØáÅФÇÒÁ໚¹ÁҢͧ à·È¹ ÁËÒªÒμÔ เนื้อความเดิมของเวสสันดรชาดก เปนภาษาบาลีมีปรากฏในคัมภีร พระไตรปฎกบาลี เลมที่ ๒๘ ซึ่งเปนพระพุทธพจนแท เนื้อหาเปนบทรอยกรอง หรือคาถา ตอมาจึงไดมีการแปลออกมาเปนภาษาไทยตั้งแตสมัยกรุงสุโขทัยเปน ราชธานี ครั้นตอมาในยุคกรุงศรีอยุธยา สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ไดโปรดเกลาฯ ใหประชุมบรรดานักปราชญราชบัณฑิต แตงเวสสันดรชาดกเปนคำกลอน ความในพระราชพงศาวดารจดหมายเหตุกลาวไววา แตงขึ้นเมื่อปขาล จุลศักราช ๘๔๔ ตรงกับพุทธศักราช ๒๐๒๕ ทั้งนี้ก็ดวยมีพระราชประสงคที่จะโนมนาว จิตใจของประชาชนพลเมืองใหสนใจในเวสสันดรชาดกมากยิ่งขึ้น ตอมารัชสมัยของพระเจาทรงธรรม ระหวางพุทธศักราช ๒๑๔๔-๒๑๗๐ ก็ไดโปรดเกลาฯ ใหแตงมหาชาติคำหลวงขึ้นอีกชุดหนึ่ง ครั้นมาถึงยุคกรุงรัตนโกสินทร มีนักปราชญราชบัณฑิต เจาขุนมูลนาย ตลอดถึงเจาฟาเจาแผนดิน เห็นความสำคัญของเวสสันดรชาดก และไดทรงแปล ตลอดถึงแตงเปนสำนวนเทศนาโวหารหลายทาน อาทิเชน พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๔), สมเด็จ พระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส, เจาพระยาพระคลัง (หน), สมเด็จพระสังฆราชเจา กรมหลวงชินวรสิริวัฒน, พระเทพโมลี (กลิ่น), พระยาธรรมปรีชา (บุญ), ขุนวรรณวาทวิจิตร เปนตน ซึ่งพระนิพนธและบทประพันธเหลานั้น กระทรวงศึกษาธิการไดประกาศ ใหเปนหนังสืออานกวีนิพนธแทบทั้งสิ้น


แหล ม หาชาติ เวสสั น ดรชาดก

»ÃÐÇÑμÔ¤ÇÒÁ໚¹ÁÒ áÅÐÍÒ¹ÔÊ§Ê ¢Í§¡Òÿ˜§à·È¹ ÁËÒªÒμÔ การเทศนมหาชาติ มีมาตั้งแตสมัยกรุงสุโขทัยและกรุงศรีอยุธยา เดิมที แตงเปนภาษามคธประกอบดวยคาถาพันหนึ่ง ซึ่งเรียกวา คาถาพัน ตอมามีการ แตงเปนภาษาไทยในรูปแบบของรายยาว การเทศนมหาชาตินั้น นิยมจัดเปนการทำบุญประจำป โดยจัดเปน พระราชพิธีอยางหนึ่ง จัดเปนพิธีเทศนของราษฎรอยางหนึ่ง ซึ่งถาจัดเปนพระราชพิธี จะจัดขึ้นในระหวางเดือน ๑๑ เดือน ๑๒ และเดือนอาย สวนในภาค ประชาชนทั่วไปนิยมจัดขึ้นในชวงออกพรรษา (เดือน ๑๑) ทางอีสานเรียกวา เอาบุญพระเหวด การฟงเทศนมหาชาตินี้ เปนที่นิยมกันมาตั้งแตโบราณ ทั้งในชนชั้น ระดับสูง เจาฟาเจาแผนดิน เจาขุนมูลนาย ตลอดถึงชนชั้นระดับชาวบานทั่วไป สิ่งที่ทำใหเทศนมหาชาติเปนที่นิยมประการแรกอยูที่ทวงทำนองของการเทศน ที่สนุกสนาน ไพเราะเพราะพริ้ง จับใจ มีทั้งโศกเศราเคลาน้ำตา และความอิ่มเอม ในธรรม และที่สำคัญคือตองการรับอานิสงสของการฟงเทศนมหาชาติ ที่กลาว


สำนักพิมพเลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน

ไววา หากผูใดสามารถฟงเทศนมหาชาติ ๑๓ กัณฑจบภายในวันเดียว จะไดรับ อานิสงสที่ยิ่งใหญ ดังที่ทานกลาวไวในฎีกามาลัยสูตรวา ผูที่ไดฟงเทศนมหาชาติจบทั้ง ๑๓ กัณฑในวันเดียว และบูชากัณฑ เทศนดวยดอกไม ธูป เทียน อยางละ ๑,๐๐๐ เทาจำนวนพระคาถานั้นแลว จะไดรับอานิสงส ๕ ประการ คือ ๑. จะไดไปเกิดในศาสนาของพระศรีอาริยเมตไตรย ซึ่งจะมาตรัสรูเปน พระพุทธเจาในอนาคตกาล โดยในสมัยแหงศาสนาของพระศรีอาริยเมตไตรยนั้น ไดกลาวพรรณนาไวอยางวิเศษวา “หญิงสาวจะมีรูปรางหนาตาที่สวยสดงดงาม เสมอกันไปหมดทุกคนจนกระทั่งลงจากเรือนแลวจำกันไมได แมน้ำลำคลอง สายหนึ่งๆ จะแบงเปน ๒ ฝาย โดยมีน้ำไหลขึ้นมาฝายหนึ่งและไหลลงฝายหนึ่ง ทำใหน้ำเต็มตลิ่งอยูเสมอ พื้นแผนดินก็ไมขรุขระ หรือเปนหลุมเปนบอ มีแต ความราบเรียบเสมอกันไปทั้งหมด” และยังมีสิ่งที่วิเศษอีกหลายประการดวยกัน ๒. จะไดไปสูสุคติโลกสวรรค เสวยทิพยสมบัติอันโอฬารมั่งคั่ง ๓. จะไมไปบังเกิดในอบายภูมิ หลังจากสิ้นชีวิตไปแลว ๔. จะเปนผูมีโชคลาภและไดยศถาบรรดาศักดิ์ มีแตความสุขสมหวัง ในชีวิต ๕. จะไดบรรลุมรรค ผล นิพพาน เปนพระอริยบุคคลในอนาคตกาล


แหล ม หาชาติ เวสสั น ดรชาดก

»°ÁàËμØàÇÊÊѹ´Ã

(วาดวยเหตุการณกอนการแสดงเวสสันดรชาดก)

ตอนที่ ๑ ขอเกริ่นกลอนกลาวเรื่องราวเกากอน ตัวอาตมนี้จะเปนวณิพก ไมใชอาตมนี้จะอวดดีอวดเดน อยาเพิ่งคอนแคะและดวนชิงชัง ดวยแรงบันดาลงานที่ใจรัก ตามรอยเบื้องบาทพระศาสดา ผมจึงรอยกรองทำนองกลอนแหล ลีลาหลากรสแบบบทคำกลอน

เรื่องพระเวสสันดรสุนทรชาดก จะขอหยิบยกมาเลาใหฟง รูตัววาเปนนักเทศนรุนหลัง ที่เทศนก็หวังเสริมสรางศรัทธา และยึดตามหลักพุทธศาสนา เพราะเห็นคุณคาเรื่องพระเวสสันดร สอดแทรกกระแสธรรมะอุทาหรณ เนื้อถอยสุนทรคงไวตามเดิม


สำนักพิมพเลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน

ยกแบบบทครูเปนคูตำรับ เนื้อในสลับสนุกมาเพิ่ม ขาดตกก็หาเอามาตอเติม ถาทานสงเสริมเชิญตามถนัด ครั้งองคภูมีพระศรีสรรเพชญ พระองคเสด็จกรุงกบิลพัสดุ ทรงเปรมปราโมทยโปรดสรรพสัตว ในพุทธาวาสนิโครธาราม โปรดศากยราชพระญาติปริวัตร ฝนโบกขรพรรษตกภิกษุทูลถาม พระพุทธองคซึ่งทรงทราบความ จึงตรัสเทศนตามเรื่องพระเวสสันดร ยอดยิ่งดวยญาณพระอรหันตลวนลวน นับหารอยถวนพระองคสั่งสอน ปฏิสัมภิทามหาบวร ประเสริฐสุนทรดวยพระทรงญาณ มีพระกัสสปเถระเปนตน มีพระอานนทเปนปริโยสาน อุปลักษณขิตจิตนาการ กำหนดประมาณพันคาถามี ผุสสะตีวะระวัณณาเภติ ปฐมอาทิเปนบทดังนี้ ไดเมื่อยอดยิ่งพระมิ่งโมลี บรรลุธรรมที่วิเศษยอดธรรม พระองคตรัสเหตุเทศนธรรมจักร โปรดปญจวัคคียหาเลิศล้ำ ไดโกณฑัญญะละทุกขเห็นธรรม พระองคทรงสำราญพระฤทัย เสด็จไปราชคฤหโดยลำดับ แลวทรงประทับสิ้นเหมันตสมัย พระเวฬุวันที่พระวิหารใน พระเถระไดนำทางดำเนิน พระองคเสด็จมาในครั้งนั้น ลวนพระอรหันตนาสรรเสริญ สองหมื่นงดงามตามรอยบาทเดิน เสด็จดำเนินกบิลพัสดุบุรี ครั้งแรกพระองคที่ทรงเสด็จ องคพระสรรเพชญทรงประทับที่ ใกลกับริมฝงมหานที พระองคเปรมปรีดิ์สำราญพระทัย

ตอนที่ ๒ ราชคฤหมาถึงซึ่งกบิลพัสดุ ตั้งหกสิบโยชนกำหนดโดยนัย

หนทางเลาะลัดไมใชใกลใกล พระองคมิไดทรงรีบลีลา


๑๐

แหล ม หาชาติ เวสสั น ดรชาดก

เสด็จระยะทางวันละโยชน ก็บรรลุถิ่นกบิลพัสดุพารา ความทราบมาถึงซึ่งวงศพระญาติ พระญาติวงศก็ทรงเปรมปรีดิ์ จึงแตงพระองคทรงพระภูษา ชวนทัศนาดูคางดงาม ถึงนิโครธารามานิเวศน บรมวงศองคประยูรญาติ พระญาติทั้งหลายเขาพระทัยผิด พระองคพึ่งจะเจริญวัย จะอภิวันทนั้นไมควรแน นั่งหลังชวนกันไมนอมวันทา พระญาติทุกองคทรงมานะทั้งหมด ใหปราศจากจิตทิฐิถือตน มีอภิญญาตรงดำรงเสด็จ ลอยสูนภากาศดวยอำนาจฌาน เปลงประกายอันฉัพพรรณรังสี อยางพระยมกปาฏิหาริยทรง สมเด็จพระเจาสุทโธทนะ ทรงทอดพระเนตรเห็นเหตุฉับพลัน ขาแตอริยะพระผูมีพระภาคเจา พระพี่เลี้ยงฝายในไดเชิญมา พระบาททั้งคูอยูเหนือเกลาดาบส บริสุทธิ์เลื่อมใสไมมีมลทิน วันแรกนาขวัญที่ทองสนามหลวง เชิญเสด็จพระองคลงสูทองนา

เพื่อจะไดโปรดมวลสัตวลวงหนา เมื่อถึงวันวิสาขปุณณมี พระโลกนาถเสด็จถึงนี่ ใหแตงสถานที่นิโครธาราม พรอมเครื่องบูชาพระองคลนหลาม ทูลเสด็จตามนาวาชลชาติ พระโลกเชษฐประทับเหนืออาสน ถือมานะราชขึ้นในพระทัย สมเด็จพระสิทธัตถะสดใส พระอายุไดคราวบุตรนัดดา ใหบุตรนั่งแตไหวอยูขางหนา พระศาสดาทราบในกมล ควรตถาคตทรมานสักหน พระผูทรงพลเขาจตุตถฌาน พระศรีสรรเพชญแสดงปาฏิหาริย พระบาทระรานตองเศียรพระวงศ ดุจแสงสุรียรุงพิศวง ครั้งที่พระองคแสดงอัศจรรย ซึ่งเปนพุทธพระบิดานั้น ยกกรอภิวันทสรรเสริญเดชา เมื่อทรงพระเยาววัยชันษา จะใหวันทาดาบสชฎิล ขานอมประณตเคารพไมสิ้น ทวยเทพองคอินทรแซซองวันทา พี่เลี้ยงทั้งปวงจัดรมไมหวา เงาสุริยาไมบายไปตาม


สำนักพิมพเลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน

๑๑

ตอนที่ ๓ บังพระองคอยูดูดุจดังกลด อีกทั้งครั้งนี้ที่ทรงเห็นงาม องคสมเด็จพระพุทธโลกนาถ พระศรีสรรเพชญก็เสด็จลง ขณะนั้นฟาทั่วหลามืดหมน เปนทอธารไหลใสดวยสีชาติ มิตองการใหกายถูกเปยกฝน เปนฝนประหลาดนาอัศจรรยใจ พระวงศศากยะไดทอดพระเนตร ตางทรงปราโมทยเอื้อนโอษฐตรัสมา บันดาลใหเห็นเปนธรรมชาติ ตรัสแลวกราบกมบังคมภูมี ฝายพระอรหันตนั้นมีสองหมื่น ไมเคยทัศนานาอัศจรรยจัง องคพระสรรเพชญเสด็จมาสู เมื่อทรงตรัสถามทราบความกอนเคย ฝนโบกขรพรรษอัศจรรยนั้น เหตุการณกอนนี้ก็เคยมีมา ภิกษุทั้งหลายใครจักทราบเรื่อง พระองคตรัสความตามเหตุทุกตอน

ขานอมประณตเปนคำรบสาม ทูลถวายความอภิวาททุกองค เมื่อปราบพระญาติไดดังประสงค จากอากาศทรงประทับเหนืออาสน ยังทอธารฝนโบกขรพรรษ บริสุทธิ์สะอาดแมหญิงชายใด รางกายแหงตนก็หาเปยกไม ตกลงแลวไหลใตพื้นพสุธา ไดเห็นเปนเหตุอัศจรรยนักหนา เหตุการณกอนหนานี้ไมเคยมี เปนเพราะอำนาจพระชินสีห เสด็จจรลีกลับพระราชวัง ตางกลาวชมชื่นกันไมหยุดยั้ง เสมือนหนึ่งดังกับครั้งนี้เลย ที่ประชุมรูทรงเอื้อนโอษฐเอย พระองคเฉลยพุทธฎีกา ตกจากสวรรคในครั้งนี้วา ทรงวิสัชนาเรื่อง “พระเวสสันดร” ทูลขอตอเนื่องเรื่องในกาลกอน เนื้อถอยสุนทรไพเราะจับใจ


๑๒

แหล ม หาชาติ เวสสั น ดรชาดก

à¹×éͤÇÒÁ䢻°ÁàËμØàÇÊÊѹ´Ã สมัยหนึ่ง เมื่อครั้งพระผูมีพระภาคเจาทรงตรัสรูพระอนุตรสัมมาสัมโพธิญาณและเสด็จประทับประกาศพระศาสนาอยู ณ เมืองราชคฤห พระเจา สุทโธทนะพุทธบิดาไดสงกาฬุทายีอำมาตยพรอมบริวารมาทูลเชิญพระองค เสด็จเมืองกบิลพัสดุ (บานเกิด) กาฬุทายีอำมาตยพรอมบริวารมาถึงพระเชตวัน ขณะพระพุทธองค กำลังแสดงธรรม เมื่อฟงธรรมจบลงทั้งหมดไดบรรลุพระอรหันต ครั้นถึงวสันตฤดู ไดเขากราบทูลอาราธนาพระผูมีพระภาคเจาเสด็จเมืองกบิลพัสดุ ตามคำทูลเชิญ ของพระเจาสุทโธทนะพุทธบิดา จึงพรอมดวยภิกษุสงฆ ๒ หมื่นรูปเสด็จสูกรุง กบิลพัสดุ ระยะทางจากเมืองราชคฤหถึงเมืองกบิลพัสดุนั้นนับได ๖๐ โยชน ใชเวลาเดินทาง ๒ เดือนก็บรรลุถึงที่หมาย ฝายพระเจาสุทโธทนะพุทธบิดาและเหลาพระประยูรญาติ ไดสรางวัด นิโครธารามไวสำหรับเปนที่ประทับ แลประชุมกันเพื่อรอรับเสด็จ ณ ที่นั้น เหลา พระประยูรญาติที่มีอายุมาก คิดวาตนมีอายุมากกวาสิทธัตถะ การที่จะใหตนทำ ความเคารพนั้นไมควร จึงรับสั่งใหเจาศากยะที่มีอายุนอยทำความเคารพ สวน พวกตนจะอยูดานหลัง พระผูมีพระภาคทรงทราบเหตุดังนั้นแลว เพื่อจะทำลายทิฐิความถือ ของเหลาประยูรญาตินั้น จึงทรงเขาจตุตถฌาน แสดงอิทธิปาฏิหาริยลอยขึ้นสู อากาศ พรอมกับเปลงพระฉัพพรรณรังสีสวางไสวไปทั่วนภากาศเปนที่อัศจรรย จากนั้นจึงเหาะกลับมาประทับนั่งบนพระพุทธอาสนตามเดิม ลำดับนั้น พระเจาสุทโธทนะพุทธบิดาไดถวายบังคมแดพระผูมีพระภาคเจา พรอมกับตรัสวา เมื่อครั้งที่พระองคประสูติได ๗ วัน อสิตดาบสเขาเยี่ยม และทำนายพระลักษณ ครั้นอสิตดาบสไดเห็นพระลักษณก็กมกราบถวายความ เคารพ หมอมฉันก็ไดไหวพระองคดวย นั่นเปนครั้งแรก ตอมาในวันวัปปมงคล


สำนักพิมพเลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน

๑๓

แรกนาขวัญ หมอมฉันเห็นเงาไมหวาที่พระองคประทับไมไดเคลื่อนไหวไปตาม แสงอาทิตย หมอมฉันจึงถวายบังคมเปนครั้งที่ ๒ มาบัดนี้ การถวายบังคม ครั้งนี้นับเปนครั้งที่ ๓ เหลาพระประยูรญาติที่มีทิฐิมานะ ครั้นทอดพระเนตรเห็นพระเจาสุทโธทนะแสดงความเคารพ ประกอบกับความอัศจรรยใจในพระปาฏิหาริยที่ทรง แสดง ตางก็พรอมใจกันถวายความเคารพดวยความเลื่อมใสหมดทุกพระองค ลำดับนั้น ฝนโบกขรพรรษก็ไดโปรยปรายลงมาสรางความอัศจรรย ทั้ง แกภิกษุและเหลาประยูรญาติที่ประชุมกันอยู ณ ที่นั้นเปนอันมาก ลำดับนั้น พระผูมีพระภาคเจาตรัสวา ฝนโบกขรพรรษนี้ใชจะตกในสมาคมนี้อยางเดียวไม แตเคยตกมาแลวในอดีตกาล พระภิกษุสาวกจึงกราบทูลใหพระองคทรงเลา พุทธองคจึงยก เวสสันดรชาดก ขึ้นแสดงตามลำดับตั้งแตตนจนจบ เนื้อความที่พระองคทรงเลานั้นเปนคำบาลีมีปรากฏในพระไตรปฎก บาลีเลมที่ ๒๘ รวมทั้งหมด ๑,๐๐๐ คาถา ตอมานักปราชญไดแปลออกมาเปน บทรอยกรอง แบงเนื้อหาออกเปน ๑๓ กัณฑ๑ ดังจะไดเลาไปตามลำดับตอไป

๑ กัณฑ แปลวา ตอน, วรรค, บท หมายถึง เนื้อความตอนหนึ่ง, วรรคหนึ่ง, หรือบทหนึ่ง


๑๔

แหล ม หาชาติ เวสสั น ดรชาดก

¡Ñ³± ·Õè ñ ·È¾Ã

วาดวยพร ๑๐ ประการของพระนางผุสดี

อดีตกาลผานมานานที่สุด อุบัติขึ้นในโลกนับเปนโชคดี ยังมีกษัตริยครองราชยสุขศรี รูปโฉมวิไลสวยไมเปนรอง มีองคกษัตริยครองราชยเขตขันธ ตางไปมาสูอยูเปนประจำ คือไมแกนจันทนนั้นแดงสดสี พระธิดาทั้งสองทรงตรองอยูนาน พี่สาวแจงประสงคตอองคปตุราช ขอบดแกนจันทนนั้นเปนผงทา

ครั้งองคพระพุทธวิปสสี ทุกคนจึงมีธรรมนำคุมครอง เมืองพันธุมดีมีธิดาอยูสอง ทั้งพี่ทั้งนองศรัทธาทางธรรม เมืองอยูติดกันไมเคยลวงล้ำ ก็จึงไดนำของบรรณาการ และสุวรรณมาลีมีคามหาศาล จึงถวายเปนทานพุทธบูชา ขออนุญาตพระบิดาวา ฝายพระนองยาก็ศรัทธาตาม


สำนักพิมพเลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน

จึงเอาดอกไมใหนายชางประดิษฐ ธิดาองคใหญน้ำใจงดงาม แลวตั้งสัจจะอธิษฐานวา สวนนองนุชเจาเยาวมารี ธิดาองคใหญนั้นครั้นสิ้นชีพแลว นาม “ผุสดี” มเหสีอินทรา จะตองผลัดพรากจากทิพยสถาน ตรัสกับผุสดีวาศรีสุนทร ขอใหขาฯ ไดเกิดในปราสาท มีพระราชอาณาจักรกวางไกล พรนี้เปนปฐมใหสมปรารถนา เหมือนตาเนื้อทรายเกิดไดขวบป ขอใหคิ้วดกดำเปนมันงามระยับ พรนี้ขอสามโปรดตามสนอง พระพรนี้ขอเปนขอที่สี่ ขอพระโอรสปรากฏเกียรติทรง เมื่อขาพระองคทรงพระครรภโอรส มีครรภโอรสงามงดตระการ ขอถันทั้งสองของขาพระบาท แมพระกุมารเสวยทุกนาที ขอใหเสนผมมีเปนสีดำขลับ ประดุจปกแหงแมลงคอมทอง พรแปดนี้ใหไดสมฉะนี้ ละเอียดเปนละอองดั่งทองคำทา

๑๕

เปนเครื่องประดับติดพระอุระอราม โรยแกนจันทนตามคันธกุฎี ใหเปนพุทธมารดาของพระชินสีห เอาสุวรรณมาลีเปนพุทธบูชา เกิดในเมืองแกวดาวดึงสา เมื่อนิมิตปรากฏแกบังอร ทาวมัฆวานทราบเหตุอัปสร จงเลือกเอาพรสิบประการไป เมืองมัททราชอันทรงศักดิ์ใหญ ชมพูทวีปใหปวงชนไดอยูดี ขอใหดวงตาทั้งสองดำเปนสี พระพรขอนี้เปนคำรบรอง เหมือนสรอยสลับกับคอยูงทอง ใหสมใจตองตามเจตจำนง ชื่อ “ผุสดี” ขานี้ประสงค พรหาพระองคจงโปรดประทาน อยาใหปรากฏครรภนูนเปนฐาน พรหกประทานแกขาผุสดี อยาใหวิปลาสหยอนยานจากที่ พรขอเจ็ดนี้ขอใหสมปอง สลวยสลับหนึ่งไมมีสอง ระยับชวนมองแกผูทัศนา ขอใหวรรณฉวีผุดผองไรฝา พรเกานี้หนาใหสมดังคิด


๑๖

แหล ม หาชาติ เวสสั น ดรชาดก

คนโทษคับขันอันจะพินาศ ขอใหปลอยไปใหพนความผิด ดวยพระพรนี้มีครบสิบขอ ทาวองคสักกะจึงโปรดประทาน

เปนดวยพระราชอาญาชีวิต ดวยกำลังจิตของปญญาญาณ ผุสดีทูลขอจงโปรดสงสาร พรสิบประการใหสมมโนมัย

àÃ×èͧ‹͡ѳ± ·Õè ñ ·È¾Ã เนื้อความในกัณฑทศพรนี้ ไดกลาวถึงอัตชีวประวัติของพระนางผุสดี ตั้งแตอดีตชาติเคยเกิดเปนพระธิดาองคโตของพระเจาพันธุมะ ผูครองเมือง พันธุมดี ในสมัยของพระพุทธเจาพระนามวา วิปสสี ครั้งนั้น มีกษัตริยจากเมืองอื่นสงเครื่องบรรณาการมาถวายพระเจา พันธุมดีอันประกอบดวยของ ๒ สิ่ง คือ ๑. ไมจันทนแดง ๒. สุวรรณมาลี (พวงดอกไมที่ทำดวยทองคำ) พระเจาพันธุมดีไดมอบของทั้งสองอยางนั้นใหแก พระธิดาอันเปนสุดที่รัก โดยมอบไมจันทนแดงใหกับพระธิดาองคโต และมอบ สุวรรณมาลีใหแกพระธิดาองคเล็ก ฝายพระธิดาทั้งสอง เมื่อไดรับของบรรณาการนั้นแลวดำริวา ของเหลานี้ หากเก็บไวเปนสมบัติสวนตัวก็จะครอบครองไดไมนาน เพราะเมื่อตายไปแลวก็ เอาไปไมได ควรที่จะถวายเปนพุทธบูชาแกพระสัมมาสัมพุทธเจาพระนามวา วิปสสี เพื่อเปนการตอเติมบุญใหกับตนเองตอไปในภพหนา ครั้นคิดดังนั้น พระธิดาองคโตจึงรับสั่งใหชางบดจันทนแดงเปนผง ละเอียดแลวหอใสผาที่ทำดวยทองคำนำไปถวายแดพระพุทธเจาสวนหนึ่ง อีก สวนหนึ่งโปรยรอบพระคันธกุฎี ทำใหมีกลิ่นหอมอบอวลไปทั่วบริเวณ และ ไดตั้งความปรารถนาตอพระพักตรของพระพุทธเจาวา “ดวยอานิสงสแหงการ ถวายจันทนแดงเปนพุทธบูชาในครั้งนี้ ขอใหหมอมฉันไดเปนพุทธมารดาของ พระพุทธเจาเชนกับพระองค สักพระองคหนึ่งในอนาคตกาลดวยเถิด”


สำนักพิมพเลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน

๑๗

พระวิปสสีสัมมาสัมพุทธเจา ทรงสดับความปรารถนาของพระนาง เชนนั้นแลว จึงสองพระญาณกำหนดรูเหตุในอนาคตกาล แลวทรงพยากรณวา พระนางจะไดเปนพระมารดาของพระพุทธเจาพระนามวาโคดมในอนาคต ยังความปลื้มปติแกนางยิ่งนัก สวนพระธิดาองคเล็ก รับสั่งใหชางทองนำสุวรรณมาลีไปทำเปนดอกไม สำหรับกลัดประดับที่อก เสร็จแลวหอดวยผาที่ทำดวยทองคำ นำไปถวายเปน พุทธบูชาเชนกันพรอมกับอธิษฐาน “ขอใหพระนางมีเครื่องประดับเชนกับที่ถวาย พระพุทธเจานี้ในทุกๆ ชาติ จนกวาจะบรรลุพระอรหันต” พระธิดาทั้งสอง เมื่อสิ้นพระชนมจากชาตินั้นแลวไดไปเกิดในสวรรค และทองเที่ยวเวียนวายตายเกิดในวัฏสงสารตราบนานเทานั้น จนมาถึงกาลของ พระพุทธเจาพระนามวากัสสปะ ทั้งสองไดเกิดเปนพระธิดาของพระเจากิกี ใน เมืองพาราณสี โดยพระธิดาองคโตไดเกิดเปนธิดาองคโต มีพระนามวา สุธัมมา แตเนื่องจากวาพระนางมีผิวพรรณที่งดงามนาสัมผัส ชาวเมืองจึงมักเรียก พระนางวา ผุสดี (ผูมีผิวงดงามนาสัมผัส) สวนพระธิดาองคเล็กไดเกิดเปนธิดา องคเล็กเชนเดิม พระนามวา อุรัจฉทา (ผูมีเครื่องประดับที่อก) ในชาตินี้ พระธิดาทั้งสองยังมีความเลื่อมใสศรัทธาในพระพุทธศาสนา เหมือนเมื่อครั้งที่บังเกิดในกาลแหงพระพุทธเจาพระนามวาวิปสสี เจาหญิงอุรัจฉทา ไดบรรลุเปนพระโสดาบันตั้งแตอายุ ๑๖ พรรษา ภายหลังไดสดับพระธรรม เทศนาจากพระพุทธเจา ไดบรรลุพระอรหันตและออกบวชเปนภิกษุณี สิ้นสุด การเวียนวายตายเกิดในชาตินี้ ฝายเจาหญิงสุธัมมา หรือเจาหญิงผุสดี ไดตั้งมั่นในการประกอบกรรมดี ตางๆ หลายประการ มีทาน ศีล ภาวนาเปนตนจนตลอดชีวิต ครั้นสิ้นพระชนมก็ บังเกิดเปนมเหสีของพระอินทร บนสวรรคชั้นดาวดึงส เสวยทิพยสมบัติอยูจนสิ้น อายุขัยจะตองมาบังเกิดในโลกมนุษย แตกอนที่จะจุติลงมา พระนางไดขอพร จากพระอินทรผูเปนพระสวามี ๑๐ ประการ ดังนี้


๑๘

แหล ม หาชาติ เวสสั น ดรชาดก

๑. ขอใหไดประทับในปราสาท๑ของกษัตริยแหงนครสีพี ๒. ขอใหมีดวงเนตรคมงามและดำขลับดั่งนัยนตาลูกเนื้อทราย ๓. ขอใหคิ้วดกดำสนิทและโคงงอนดั่งสรอยคอนกยูง ๔. ขอใหไดนามวา “ผุสดี” ดังเดิม เพื่อเปนอนุสรณแหงความหลัง ๕. ขอใหมีพระโอรสที่ทรงพระเกียรติเหนือกษัตริยทั้งปวงและมีใจบุญ ๖. ขอใหพระครรภงามไมปองนูนดั่งสตรีสามัญ ในเวลาทรงครรภ ๗. ขอใหมีถันสมสวน ไมหยอนคลอยไปตามวัย ๘. ขอใหเสนพระเกศาดำขลับ แมถึงวัยชราก็อยาไดหงอก ๙. ขอใหผิวพรรณงดงาม เปลงปลั่งเนียนใส ดุจทองคำธรรมชาติ ๑๐. ขอใหมีอำนาจปลดปลอยนักโทษประหารใหพนโทษได ทาวสักกเทวราช เมื่อไดสดับคำขอพรจากพระนางผุสดีอัครมเหสีแลว ก็ทรงใครครวญดวยพระญาณ ในขณะนั้นเอง พระองคก็ทรงทอดพระเนตรเห็น เหตุการณในอดีตชาติของพระนางที่เคยเกิดเปนพระราชธิดาองคโตของพระเจา พันธุมะ ในสมัยแหงศาสนาของพระวิปสสีสัมมาสัมพุทธเจาอยางชัดเจน จึง ประทานพรใหตามที่พระนางทูลขอทุกประการ

ÊÒøÃÃÁáÅТŒÍ¤Ô´ พร คือสิทธิที่ใหเลือกเอาไดตามใจชอบ แตเปนสิทธิที่ตองอยูในวิสัยที่ ผูใหควรจะใหได และผูรับควรจะรับได ไมใชจะใหหรือรับไดทุกอยาง ถาพรนั้น อยูนอกเหนือวิสัยของผูให ก็จะเกิดความอึดอัดลำบากใจ เพราะใหไมไดตามที่ ผูขอตองการ หรือถาใหไปแลวอาจจะเกิดความเดือดรอนเสียหาย หรือเปน เยี่ยงอยางที่ไมดีแกคนอื่นๆ ได ๑ คำวา ประทับในปราสาท หมายถึง ไดนอนเคียงคูในหองนอน ซึ่งหมายถึงไดอภิเษกสมรสเปน อัครมเหสี


สำนักพิมพเลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน

๑๙

เหตุนั้น ทาวสักกเทวราชจึงตองพิจารณาดวยความรอบคอบกอนที่จะ ตัดสินใจใหพรทั้ง ๑๐ ประการแกพระนางผุสดี โดยที่เมื่อใหไปแลว จะไมตอง เกิดความเสียใจภายหลังวา ไมนาใหพรเชนนั้นเลย ดังเชนพระผูมีพระภาคเจา เมื่อจะประทานพรแกสงฆสาวกหรือใครๆ ก็ตาม พระองคจะตรัสถามกอน เสมอวา ที่ขอพรเชนนั้นดวยตองการอะไร หรือเพื่อประโยชนอันใด เมื่อทรงแน พระทัยแลววาพรที่ถูกขอนั้นดีงาม และเกิดประโยชนแกผูขอและผูให รวมทั้ง แกสังคมสวนรวมดวย จึงจะประทาน เชนพรที่ประทานแกพระอานนทเถระ นางวิสาขามหาอุบาสิกา หรือหมอชีวกโกมารภัจจ เปนตน อนึ่ง พรทั้ง ๑๐ ประการที่พระนางผุสดีทูลขอนี้ เมื่อกลาวโดยสรุปแลว สามารถรวมเขาในวัตถุประสงคหลักๆ ๔ ประการ คือ ๑. พรขอที่ ๑ เพื่อใหมีทรัพยสมบัติมั่งคั่ง ๒. พรขอที่ ๒, ๓, ๖, ๗, ๘, ๙ เพื่อใหมีรูปรางสวยงาม ๓. พรขอที่ ๔ เพื่อใหมีชื่อที่ไพเราะ ๔. พรขอที่ ๕ และ ๑๐ เพื่อใหมีอำนาจวาสนาและชื่อเสียงเกียรติยศ เปนที่เคารพนับถือของคนทั่วไป อีกอยาง การทำบุญกุศลนั้น ถาปรารถนาจะใหสำเร็จสมประสงค ตอง ตั้งจิตอธิษฐาน วางเปาหมายชีวิตเอาไวใหแนนอนมั่นคง ทั้งนี้ ความปรารถนา จะสำเร็จสมดังตั้งใจหรือไมนั้น ตองประกอบดวยคุณสมบัติ ๓ ประการคือ ๑. ตองกระทำความดี ๒. ตองรักษาความดีนั้นไว ๓. ตองหมั่นเพิ่มพูนความดีนั้นใหมากยิ่งขึ้น


๒๐

แหล ม หาชาติ เวสสั น ดรชาดก

เหตุที่เทวดาจะจุติมีอยู ๖ ประการ คือ ๑. อายุขยะ = หมดอายุ ตองจุติขึ้นไปอยูในภพภูมิที่สูงกวาเดิม ๒. ปุญญขยะ = หมดบุญ ตองลงมาอยูในภพภูมิที่ต่ำกวาเดิม ๓. อุภยขยะ = หมดทั้งบุญทั้งอายุพรอมกัน ๔. อธิมุตติมรณะ = ยังไมถึงเวลาจุติ แตอธิษฐานขอไปเกิดใน มนุษยโลกเพื่อชวยเหลือมวลมนุษยชาติ ๕. มโนปโทสิกะ = เกิดความโกรธมาก เพราะอิจฉาสมบัติของ เทวดาตนอื่น ๖. อาหารขยะ = มัวเสพกามเพลินจนลืมกินอาหารทิพย ทำใหรางกายออนลาจนจุติ ลางบอกเหตุที่เทวดาจะจุติ ๑. ดอกไมที่ประดับวิมานเหี่ยวแหง ๒. เครื่องทรงเศราหมอง ๓. เหงื่อไหลออกจากรักแรผิดปกติ ๔. ผิวพรรณไมผองใส ๕. จิตใจหงุดหงิด เบื่อหนายวิมานที่อยูอาศัย


สำนักพิมพเลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน

¡Ñ³± ·Õè ò ËÔÁ¾Ò¹μ

วาดวยการพรรณนาความงามของปาหิมพานต

ตอนที่ ๑ พระผุสดีทรงศรีเลิศลักษณ จุติลงมาจากสุราลัย ในราชวงศองคมเหสี ครบทศมาสพระราชกัญญา พระญาติทั้งหลายถวายนามให เมื่อไดบรรลุอายุสิบหกพลัน ไดเสวยสิริสุริยราช เจากรุงสญชัยในพิภพสีพี

รับพรทาวสักกะประทานให ปฏิสนธิในพระครรภมารดา มัททราชเทวีสมปรารถนา ประสูติธิดางามผองผิวพรรณ “ผุสดี” ไดสมดังพรนั้น เจาสญชัยนั้นหมั้นเปนพระราชินี เปนคูพระบาทขัตติยะศรี สวนทาวโกสียสหัสนัยน

๒๑


๒๒

แหล ม หาชาติ เวสสั น ดรชาดก

องคเทพราชาก็มานึกถึง พรทั้งเกานั้นก็พลันสมใจ เรานี้ควรจะลงไปประสิทธิ์ เสด็จครรไลไปสูวิมาน ครั้นถึงจึงทูลมูลเหตุไปวา พรอมเทพหกหมื่นจึงทรงรับทูล จึงทรงจุติจากพิมานมาศ พระผุสดีเปรมปรีดิ์อาทร ลงสูครรภภรรยาอำมาตย ฤกษงามยามปลอดก็คลอดจากครรภ เธอครบกำหนดถวนทศมาส จึงทูลขอพระราชสวามี ทรงใหจัดแจงแตงนคเรศ ประดับประดาดุจสุราลัย ธงมยุรฉัตรพัดโบกบังสูรย ประทักษิณรอบขอบเขตพารา ตางมาคาขายชุมนุมไมขาด พระผุสดีทรงประชวรพระครรภ หนอพุทธพงศองคโพธิสัตว ลืมพระเนตรขอทรัพยจับจายเปนทาน

ผุสดีซึ่งขอพรเอาไว ยังลูกแกวไซรที่เธอตองการ ใหเธอสัมฤทธิ์สมตามแกนสาร นิวาสสถานหนอพุทธางกูร อาราธนาพุทธไอศูรย หนอพุทธางกูรจากทิพยอัมพร ปฏิสนธิชาติในครรภสมร หมูเทพนิกรจุติพรอมกัน เปนสหชาติหกหมื่นแมนมั่น ก็ตรงกับวันพระผุสดี เสด็จประพาสชมบุรีศรี ทาวจอมสีพีไมขัดพระทัย เหมือนทิพยนิเวศนสวางไสว หอมลอมพรอมไปดวยราชกัญญา ดุริยางคประยูรแหลอมพรอมหนา ไปตามมรรคาพอคาพรอมกัน ลมกัมมัชวาตก็มาพาดผัน พระนางก็พลันประสูติกาล เสด็จอุบัติจากอุทรสถาน พระมารดานั้นใหพันตำลึง

ตอนที่ ๒ ฝายประยูรวงศทรงสโมสร ประสูติตรอกพอคาตางมาคำนึง

ถวายนามเวสสันดรดวยความซาบซึ้ง ยังมีอีกหนึ่งคชาฉัททันต


สำนักพิมพเลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน

ทองเที่ยวอยูทางในกลางอากาศ ไวโรงชางตนมงคลอนันต ตั้งชื่อทันทีกุญชรที่เห็น เปนชางมาสูคูบารมี หนอวงศพุทธนั้นปรารถนา หมายเอาจาคะผลมหาทาน จึงเปลื้องเครื่องทรงแตงองคเทพไท สิ้นทั้งเกาครั้งหวังเพื่อบุญญา พระชนมายุลุแปดพรรษา ทรงพระดำริเพื่อบริจาคทาน แมยาจกใดอยากไดเนื้อเลือด แลกโพธิญาณอันเกริกเกรียงไกร แมธรณีครื้นฟนกัมปนาท เอนเอียงจะลมเสียงลมอึงอล สัตวเล็กใหญนกสะทกสะทาน สาครกึกกองเปนฟองสะเทือน นาคเลนน้ำชูหัวอยูสลอน เสียงกึกกองไปในแดนดงดาน พระเวสสันดรวัยไดครบสิบหก เจากรุงสญชัยตั้งในมนา จึงขอมัทรีผูมีศีลศักดิ์ ราชาภิเษกเปนเอกประเทือง สืบสันติวงศอยางองคกษัตริย ศาลาโรงทานแจกคนจนพลาง มัทรีทรงครรภพลันประสูติโอรส เมื่อเวนไดระยะพระนางมัทรี

๒๓

พาลูกขาวสะอาดวิลาสเฉิดฉัน ปวงชนเขตขันธพิชัยสีพี ปจจัยนาเคนทรคูบุรีศรี มิ่งขวัญโมลีงามสุดประมาณ จะขามโอฆาหวงแหงสงสาร เมื่อพระชนมานไดหาพรรษา ทรงประทานใหนางนมทั่วหนา ในกาลขางหนาคือพระโพธิญาณ สถิตแทนมหาไสยาสนสถาน รัตนะอลังการภูษาวิไล ก็จะยอมเชือดบริจาคให เกิดอัศจรรยไดขึ้นในบัดดล เขาสิเนรุราชก็โกลาหล ทั่วฟาสากลสะทึกสะเทือน อากาศบันดาลจักรวาลลั่นเลื่อน ฝูงปลาคลาเคลื่อนโดดดิ้นเลนธาร ชางชูงวงงอนรองกองถิ่นถาน เทพทุกวิมานโปรยทิพยโมทนา รอบรูสิ้นตกศาสตรทั้งสิบแปดทา ดวยปรารถนาจะใหครองเมือง ศิริเลิศลักษณวิไลลือเลื่อง นางกำนัลเนืองหกพันพระนาง ปกครองสมบัติพรอมทั้งจัดสราง ไพรฟาตางตางพากันเปรมปรีดิ์ พระญาติทั้งหมดถวายนาม ชาลี ประสูติกุมารีผองศรีโสภา


๒๔

แหล ม หาชาติ เวสสั น ดรชาดก

ตอนที่ ๓ สหชาติโยธามาแหหอมลอม ทรงกุญชรผานโรงทานศาลา เมืองกลิงคราฐเกิดวิบัติฝนแลง ปวงชนแสนขัดภัยพิบัติกระพือ ปวงชนพรอมมูลทูลสาสนประกาศ ทาวเธอถือศีลยินดีอุทิศตน ชาวเมืองก็พาทูลวามีกษัตริย ทาวเธอมีคูบุญคชกุญชร ถาใครมีไวอยูในประเทศ กราบทูลธิบดีผูปรีชาชาญ ฝายพราหมณแปดคนดั้นดนตามวิถี ถึงกรุงสีพีก็เฝารอเวลา เมื่อแสงสุรียสองสีอราม ทรงตื่นบรรทมสรงสุคนธธาร มงกุฎประดับสำหรับกษัตริยแลว ดุริยางคดังกวาเสียงทั้งปวง สวนวณิพกยาจกมากหนา พราหมณทิชาชาติกลิงคราฐบุรี พราหมณทานตองการใดทานจงแจง กลิงคราฐฝนขาดเข็ญใจ พระองคไดฟงชางโสมนัส ไมทรงขัดของไมตองขัดเคือง ทรงหลั่งอุทกตกมือพราหมณนั้น ขอใหสำเร็จสรรเพชญโพธิญาณ

ประยูรญาติพรอมถวายนาม กัณหา องคกษัตรากิตติศัพทระบือ ขาวของก็แพงขาดปจจัยซื้อ ไมมีอะไรซื้อเพราะความยากจน เจากลิงคราฐฟงเรื่องขัดสน ครบเจ็ดวันฝนก็ยังขาดตอน เสวยสมบัติพิชัยเชตุดร แมนำมาตอนประสูติกาล ฝนตกทุกเขตทั่วถิ่นสถาน แตงพราหมณาจารยไปขอชางมา สูกรุงสีพีมิไดรอชา พระเวสสันดรมาบริจาคทาน สาดสองฟาครามสีเงินฉาบฉาน ทรงอาภรณกาญจนวิจิตรทับทรวง กุมพระขรรคแกวทรงชางตนหลวง ดุจดังแดนสรวงสุดแสนยินดี ตางก็เดินมารับทานอึงมี่ ก็นอมเกศีถวายพรชัย พราหมณจึงชี้แจงทูลความถวาย ขอชางตนไปเปนมงคลเมือง จึงไดทรงตรัสมอบชางทรงเครื่อง ควาญชางคูเมืองเครื่องอลังการ ดวยพระทัยมั่นหวังพุทธเปนฐาน ในอนาคตกาลเบื้องหนาโนนมี


สำนักพิมพเลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน

ฝายพวกชาวเมืองทราบเรื่องใหชาง จึงฟองความเจาลนเกลาสีพี ทำผิดกิจใหญใหชางคชสาร คชสารมีไวในพระนคร

แกพราหมณนั้นตางแคนเคืองเต็มที่ วาแลบัดนี้พระเวสสันดร ใหชางคูบานแกพราหมณเดือดรอน แตพระเวสสันดรทำผิดกฎเมือง

ตอนที่ ๔ เจากรุงสญชัยไดฟงดาลเดือด ไมควรประหารดวยการแคนเคือง จึงสั่งใหนายนักการทหาร เจากรุงสญชัยพระปตุเรศ พระเวสสันดรไดสดับสาร พระองคมิไดมีพระทัยขัดเคือง พาหาหทัยนัยเนตรทั้งคู แลกพระโพธิญาณอันตั้งพระทัย นักการทูลแนะและชี้ตำแหนง จึงตรัสสั่งงานนักการประจำ มัทรีทรัพยพี่ที่ใหแกเจา จงฝงเอาไวเปนขุมทรัพยอยางดี จึงทูลภัสดาวาทรัพยสมบัติ มัทรีเอยเจานั้นจงเขาใจ อีกทั้งลูกรักสายใจสุดสวาท พระบิดามารดารักษาประจำ ดูแลมั่นคงจงปฏิบัติ จะรับเจานั้นเปนราชกัญญา

๒๕

ดูหรือสายเลือดชางไมรูเรื่อง ฝายพวกชาวเมืองทูลใหเนรเทศ จงนำเอาสาสนในการแจงเหตุ ใหเนรเทศออกไปจากเมือง ที่นายนักการทูลใหทราบเรื่อง หมายจะปลดเปลื้องบริจาคไป เราจะเชือดชูออกเปนทานให ประหารก็ไดไมคิดทอทำ เขาวงกตแหลงประเสริฐเลิศล้ำ ใหเราไดบำเพ็ญทานบารมี อีกทั้งทรัพยเกามาแตกรุงศรี พระนางมัทรีฉงนพระทัย พระองคใหจัดฝงไวที่ไหน ถวายทรัพยใหผูทรงศีลธรรม เจาอยาประมาทใหภัยกรายกล้ำ จงอยากระทำเคืองขัดอัธยา แลถากษัตริยใดปรารถนา ขอเจาจงอยาอาลัยพี่เลย


๒๖

แหล ม หาชาติ เวสสั น ดรชาดก

มัทรีสดับรับฟงสารนั้น เสด็จพี่ไฉนกลาวคำไมเคย ไยทาวเธอจึงถึงตรัสฉะนี้ ดวยเหตุอันใดโปรดไดประทาน เจาพี่ไมโปรดโกรธมัทรีหรือ กอนนั้นไมอาจตรัสใหอาดูร จะละพระองคใหทรงเสด็จเดี่ยว เยี่ยงอยางที่ไหนธรรมเนียมไมมี ถึงเกลาปกเกศทุเรศไรญาติ ขาพระบาทจะตามเสด็จไป

พระทัยเธอพรั่นสุดที่จะเอย โปรดจงเฉลยสนองโองการ จะเสด็จจรลีไปสูไพรสาณฑ มัทรีทราบสารจึงไดกราบทูล มาตรัสดื้อดื้อใหเสียเสื่อมสูญ ไมใชประยูรหรืออยางมัทรี ไปในปาเปลี่ยวประการฉะนี้ ขาบาทมัทรีไมละพระองคไป จะบุกปาชัฏรกสักเพียงไหน เอาชีวิตถวายใหแทนพระคุณ

ตอนที่ ๕ จะละสามีหมอมฉันยอมมิได จนหมดสิ้นเหลือกินเกลือเจือจุน แมจะยากแคนสุดแสนไมคิด หากไมอนุญาตใหขาบาทมัทรี คงดีกวาอยูใหผูคนเยย วารวมผัวแตแคยามสบาย จะเอาแตสุขสนุกไฉน ขอยอมรับใชอยูในอรัญ ที่มีงางอนแสนงามสงา ทุงทาลุมลาดดื่นดาษดงดอน ขาฯ พระบาทก็ขอพาลูกรัก แตเบื้องปฤษฎางคอยูขางพระทัย

แมจะยากไรใหโลกหยุดหมุน จะสนองคุณสิ้นบุญมัทรี ขอเอาชีวิตรองเบื้องบาทศรี จะกออัคคีเผาตัวใหตาย คำพูดเปรียบเปรยของคนทั้งหลาย เมื่อผัวทุกขหายไมทุกขดวยกัน ระรื่นอยูในเวียงไอศวรรย ดุจนางชางอันติดตามกุญชร เที่ยวอยูในปาไมยอมทิ้งถอน ติดตามทุกตอนอาทรเรื่อยไป ทั้งสองผองพักตรอยูขางเคียงใกล มีทุกขมีภัยตายแทนพระองค


สำนักพิมพเลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน

มัทรีพรรณนาในปาประเทศ เมื่อเสด็จไปอยูในแดนดง จะรองขับกลอมพรอมหนาอาศรม สวนขามัทรีนี้เก็บสุมามาลย สองดรุณฟอนรำดูสำราญจิต มีแตสนุกเปนสุขลำพอง ทาวเธอจะปลื้มลืมเรื่องสมบัติ ฟงเสียงหรีดหริ่งกวางวิ่งไลกัน ทอดพระเนตรเห็นเปนพิศวง ละมั่งมหิงสโคสิงโตคะนอง น้ำคางก็ตกขึ้นพรมพื้นยอดหญา สลับซับซอนซอกซอนชวนชม แมกไมชอุมเปนพุมไสว บุปผชาติออกดอกทั่วพงพี สมเด็จมัทรีสุรียราช ถวายพระสวามีศรีสุริยวงศ

๒๗

ถึงหิมเวศนที่นาลุมหลง ก็จะไดทรงฟงสองกุมาร เสนาะรื่นรมยบริเวณสถาน มารอยเรียงสานเปนสะอิ้งทอง ไมรูที่จะคิดถึงความหมนหมอง พระทัยคะนองทุกคืนทุกวัน ลุมหลงพนัสชมสัตวไพรสัณฑ พญาฉัททันตนำโขลงลงคลอง ในดอนแดนดงกระทิงเที่ยวทอง วิหคลำพองถลาเลนลม ควรทัศนาดูนางามสม เสียงไพรระงมเหมือนเสียงดนตรี ธรรมชาติมองไปนาชมทุกที่ หอมกลิ่นมาลีไปทั่วพฤกษพง ชมพนาวาสดวยพระประสงค เพราะเจตจำนงเพื่อพระสวามี

àÃ×èͧ‹͡ѳ± ·Õè ò ËÔÁ¾Ò¹μ เนื้อความกัณฑนี้ ไดกลาวถึงเหตุการณตั้งแตพระนางผุสดีเทพธิดาจุติ ลงมาเกิดยังโลกมนุษย เปนพระราชธิดาของพระเจามัททราช ผูค รองนครสาคละ แหงแควนมัททะ ซึ่งมีเมืองสาคละเปนเมืองหลวง เมื่อทรงเจริญวัยมีพระชนมายุ ได ๑๖ พรรษา ก็ไดอภิเษกเปนพระอัครมเหสีของพระเจาสญชัย ผูครองนคร เชตุดรแหงแควนสีพี และไดประสูติพระโอรสพระนามวา “เวสสันดร” ในระหวาง เสด็จเลียบพระนครมาถึงถนนพอคากลางตลาด


๒๘

แหล ม หาชาติ เวสสั น ดรชาดก

ในวันประสูติ ไดเกิดเหตุอัศจรรยขึ้น คือ พระโอรสลืมพระเนตรทันที ที่ประสูติ และไดยื่นมือขอทรัพยกับพระมารดาเพื่อใหทาน อนึ่ง ในวันที่ ประสูตินั้น ภรรยาของอำมาตย ๑๖,๐๐๐ นายก็ไดใหกำเนิดบุตรพรอมกัน และ ยังมีเหตุอัศจรรยอีกอยางหนึ่งคือ ในวันที่ประสูตินั้นมีชางพังเชือกหนึ่งพาลูก ชางเผือกที่มีลักษณะเปนมงคลมาไวที่โรงชางหลวง พระเจาสญชัยโปรดชาง เชือกนี้มาก ทรงขนานพระนามใหวา ปจจัยนาค ถือเปนชางตนคูบุญบารมีของ พระเวสสันดร พระเวสสันดรราชกุมารมีพระทัยโนมไปในการบริจาคทานตั้งแตทรง พระเยาว ไมวาผูใดทูลขอสิ่งใดก็จะประทานใหตามตองการโดยไมนึกเสียดาย แมกระทั่งทรงรำพึงวา ทรัพยภายนอกเราไดบริจาคมามากแลวแตความปรารถนา ที่จะใหไมเคยเต็ม อยากจะทดลองบริจาคศีรษะ หัวใจ ดวงตา เลือด และเนื้อ เปนทานบาง หากวามีผูใดตองการ ซึ่งขณะนั้นมีพระชนมายุเพียง ๘ พรรษา ยังแผนดินใหหวั่นไหวเปนอัศจรรย ตอมาพระชนมายุได ๑๖ พรรษา ทรงอภิเษกกับพระนางมัทรี พระราชธิดาของพระมาตุลา (ลุงผูเปนพระเชษฐาของพระนางผุสดี) จากนั้น พระราชบิดา จึงทรงสละราชสมบัติใหปกครองแทน หลังจากขึ้นครองราชยพระองคทรง บริจาคทานวัน ๖,๐๐๐,๐๐๐ กหาปณะ ไมนานก็มีพระราชโอรส ๑ องค พระนามวา ชาลี และพระราชธิดา ๑ องคพระนามวา กัณหา สมัยหนึ่ง เมืองกาลิงคะเกิดทุพภิกขภัย เกิดขาวยากหมากแพงเพราะ ฝนฟาไมตกตองตามฤดูกาล เปนเหตุใหชาวเมืองตองอดอยากพากันเขาเฝา พระราชา เรียกรองใหหาวิธีแกปญหาภัยแลงโดยเร็ว พระเจากาลิงคะทรงทำพิธี ขอฝนดวยการสมาทานอุโบสถศีล บวงสรวงแกเทพเทวาแตก็ไมเปนผล ลำดับนั้น มีผูเสนอใหไปขอชางปจจัยนาคชางมงคลจากกษัตริยแหงแควนสีพี เพราะชางนั้น เปนชางมงคลหากไดมาอยูในเมืองก็จะทำใหฝนตก ขาวกลาอุดมสมบูรณ พระเจากาลิงคะ ไดสงพราหมณ ๘ คนเปนราชทูตไปทูลขอชางปจจัยนาคจากพระเวสสันดร ซึ่งพระองคก็ยอมประทานใหแตโดยดี


สำนักพิมพเลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน

๒๙

การบริจาคชางที่เปนสัตวคูบานคูเมืองครั้งนี้ สรางความไมพอใจแก ชาวเมืองเปนอยางมาก จึงพากันไปเขาเฝาพระเจาสญชัยกราบทูลใหเนรเทศ พระเวสสันดรออกจากเมืองไปอยูที่เขาวงกตเสีย พระเจาสญชัยไมอาจขัดมติ ของชาวเมืองไดจึงจำพระทัยใหพระเวสสันดรออกจากเมือง พระนางมัทรี ครั้นทรงทราบวาพระสวามีถูกเนรเทศใหไปอยูเขาวงกต ก็ขอติดตามเสด็จไปดวยพรอมกับพระราชโอรสและพระราชธิดา พระเวสสันดร ตรัสหามดวยทรงตระหนักถึงความยากลำบากและเภทภัยอันตรายตางๆ ในปา พระนางมัทรีจึงไดตรัสพรรณนาถึงความงดงามของธรรมชาติและความรื่นรมย แหงปาหิมพานต เชน มีสัตวนานาพันธุ ดอกไม ลูกไมหลากหลายพันธุใหชื่นชม ตื่นตาตื่นใจ หากพระนางกับพระราชโอรสพระธิดาเสด็จตามไปดวย จะไดชี้ชวน ใหดูเปนที่สนุกสนาน ทั้งเสียงหัวเราะของเด็กจะชวยใหคลายความเหงาไดบาง เวลาที่คิดถึงพระราชบิดาพระราชมารดา พระเวสสันดรครั้นทรงสดับคำของ พระนางมัทรีในพระทัยก็คลายความกังวล และยินดีที่จะใหพระนางและ พระโอรส พระธิดาตามเสด็จไปเขาวงกตดวย คำวา หิมพานตกัณฑ จึงหมายถึง กัณฑหรือตอนที่วาดวยการพรรณนา ถึงความสวยงามแหงปาหิมพานต ที่พระนางมัทรีทูลแกพระเวสสันดรเพื่อให พระองคคลายความกังวลและยินดีใหพระนางพรอมพระโอรสและพระธิดาตาม เสด็จไปยังเขาวงกตดวยนั่นเอง

ÊÒøÃÃÁáÅТŒÍ¤Ô´ ผูนำที่ดีที่ควรยึดถือเอาเปนแบบอยาง ตองประกอบดวยคุณธรรมของ หัวหนา คือ


๓๐

แหล ม หาชาติ เวสสั น ดรชาดก

๑. จะตองรูจักเสียสละความสุขสวนตัว ทุมเทในการปฏิบัติหนาที่ ซึ่ง ตนเองรับผิดชอบอยู ยอมสละแมกระทั่งชีวิตเพื่อใหสมกับที่ไดรับความไววางใจ จากผูที่เลือกสรรตนใหเปนผูนำของเขา ไมใชอาสาเปนผูนำหรือผูปกครองคนอื่น เพียงเพื่อหวังผลประโยชนแกตนเองหรือพวกพองเทานั้น และการที่จะตัดสินใจ ทำอะไรลงไป ก็ควรพิจารณาใหละเอียดรอบคอบ เพื่อปองกันไมใหเกิดความ เสียหายหรือเกิดความเดือดรอนขึ้นในภายหลัง และเพื่อใหผลของการตัดสินใจ นั้นไดมาซึ่งประโยชนสุขแกผูใตบังคับบัญชาอยางเต็มที่ ดังในมหากปชาดกที่ พญาวานรผูเปนหัวหนา เปนผูมีจิตเมตตากรุณา หวังประโยชนสุขของเหลาวานร ที่เปนบริวาร ถึงกับยอมเสียสละทอดตัวเปนสะพานเพื่อใหเหลาวานรไดหนีพน อันตรายจากลูกธนูของพลแมนธนูของพระราชา โดยไมคำนึงถึงชีวิตของตนเลย แมแตนอย ๒. จะตองฟงเสียงสวนมากของประชาชน และกระทำตามความตองการ ของประชาชนเปนสำคัญ ถึงแมตนเองจะไดรับมอบอำนาจเพื่อใหเปนผูนำในการ บริหารปกครองจากประชาชนแลวก็ตาม แตก็ไมไดหมายความวาจะอาศัย อำนาจหนาที่นั้นแสวงหาผลประโยชนในทางมิชอบตามอำเภอใจได เพราะ จะถือวาเปนการลิดรอนสิทธิเสรีภาพอันชอบธรรมของประชาชน และตอง ระลึกอยูเสมอวา เสียงขางมากของประชาชน ถือเปนเสียงที่ทรงอำนาจและมี ความศักดิ์สิทธิ์เหนือสิ่งอื่นใด ผูนำจึงจะสามารถบริหารปกครองเพื่อนำพา ประเทศชาติและประชาชนใหประสบกับความสงบสุขและความเจริญรุงเรืองได อยาคิดวา เสียงของประชาชนเปนเพียงเสียงนกเสียงกาที่ไมควรใหความสำคัญ ผูนำที่ดีจะตองไมรับฟงขอมูลขาวสารจากคนใกลชิดที่มารายงานใหทราบ เพียงอยางเดียวเทานั้น จะตองคอยตรวจสอบ สอดสองดูแลและรับฟงความ คิดเห็นจากประชาชนโดยตรงดวยตนเองอยูเสมอ เพื่อจะไดเขาถึงประชาชนและ เขาใจปญหาตางๆ ของประชาชนอยางแทจริง แลวนำไปพิจารณาหาทางหรือ วิธีการแกไขที่ถูกตองและตรงจุดตอไป


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.