สวดทุกวัน ดีทุกวัน สมาธิตั้งมั่น การเรียนได้ผล
รวบรวม/เรียบเรียงโดย... ไพยนต์ กาสี หนังสือคุณภาพในเครือเลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน์
สวดมนต์นักเรียน รวบรวม/เรียบเรียง : ไพยนต์ กาสี ปก/รูปเล่ม : สุกัญญา ศรีสงคราม ภาพวาด : อนันต์ กิตติกนกกุล, เทิดเกียรติ ปลูกปานย้อย, ธนรัตน์ ไทยพานิช ISBN : 978-616-268-171-4 ราคา 18 บาท พิมพ์ครั้งแรก : กรกฎาคม ๒๕๕๘
สร้างสรรค์และลิขสิทธิ์ บริษัท สำ�นักพิมพ์เลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน์ จำ�กัด 105/95-96 ถนนประชาอุทิศ ซอย 45 แขวงบางมด เขตทุ่งครุ กรุงเทพฯ 10140 โทร./แฟกซ์ 02-872-7667 เชิญร่วมเผยแผ่เป็นธรรมทาน
สาขาทุ่งครุ : โทร. 02-872-9191, 02-872-8181, 02-872-7227, 02-872-9898
LC2YOU@GMAIL.COM, LC2YOU@HOTMAIL.COM WWW.LC2U.COM, WWW.พุทธะ.NET สาขาสำ�ราญราษฎร์ : โทร. 02-221-1050, 02-221-4446
พิมพ์ที่ : หจก. แอลซีพี ฐิติพรการพิมพ์
105/66-67 ถนนประชาอุทิศ ซอย 45 แขวงบางมด เขตทุ่งครุ กรุงเทพฯ 10140
โทร./แฟกซ์ : 02-872-9577 www.thitiporn.com
ค�ำน�ำ การสวดมนต์ไหว้พระ ถือเป็นพิธกี รรมทีเ่ ป็นมรดก ทางวัฒนธรรมส�ำคัญอย่างหนึ่งของพระพุทธศาสนา กล่าวโดยเฉพาะการสวดมนต์ของนักเรียนในตอนเช้า วันจันทร์-ศุกร์ หลังเคารพธงชาติ และตอนเย็นวันศุกร์ ก่อนเลิกเรียนในสัปดาห์นนั้ ๆ ตามทีท่ างกระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศเป็นระเบียบไว้ในปีพุทธศักราช ๒๕๐๓ นับว่าเป็นก้าวย่างส�ำคัญในการปลูกฝังคุณธรรมและ จริยธรรมลงสู่จิตใจของเยาวชนไทยที่นับถือพระพุทธศาสนา ด้วยเหตุทวี่ า่ การสวดมนต์ ผลทีจ่ ะเกิดเบือ้ งต้นก็คอื ความเป็นผู้มีจิตใจอ่อนโยนดีงาม เมื่อสวดไปซ�้ำๆ ทุกวัน ก็จะย�้ำเตือนผู้สวดได้ตระหนักถึงคุณประโยชน์ในการ ปฏิบัติตนตามหลักธรรมค�ำสอนของพระพุทธเจ้า ระลึก ถึงคุณของชาติ พระศาสนา พระมหากษัตริย์ มารดา บิ ด า ครู อ าจารย์ สถานศึ ก ษา รวมถึ ง ผู ้ มี พ ระคุ ณ อื่นๆ ทั้งหลาย
อันจุดมุง่ หมายของการจัดการศึกษาขัน้ สูงสุดนัน้ ก็ คือการพัฒนาเยาวชนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์พร้อม ทั้งทางร่างกายและจิตใจ ทั้งมีสติปัญญาความรู้ควบคู่ ไปกับคุณธรรมประจ�ำตน เป็นคนมีระเบียบวินัยดีงาม สามารถทีจ่ ะอยูร่ ว่ มกันกับผูอ้ นื่ ได้อย่างมีความสุข เติบโต เป็นก�ำลังส�ำคัญในการพัฒนาตน สังคม และประเทศชาติ ให้เจริญก้าวหน้าสืบต่อไป ส�ำนักพิมพ์เลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน์ เล็งเห็น คุณค่าของการปลูกฝังคุณงามความดีดังกล่าวแก่ลูก หลานไทยจึงได้จัดท�ำหนังสือ “สวดมนต์นักเรียน” ตามระเบี ย บของกระทรวงศึ ก ษาธิ ก ารขึ้ น เผยแผ่ ใ ห้ แพร่หลาย ทั้งนี้ด้วยใจหวังเป็นสื่อทางธรรมที่ชักน�ำ เยาวชนไทยให้เป็นคนเก่ง คนดี มีสุข เป็นลูกหลานที่ น่าปรารถนาของสังคมต่อไป ขอพระสัทธรรมด�ำรงอยู่ในดวงจิตท่านตลอดกาลนาน น.ธ.เอก, ป.ธ. ๖, พธ.บ., น.บ. บรรณาธิการสำ�นักพิมพ์ แอล ซี พี เด็กดีมีบุญ
สารบัญ ค�ำน�ำ สวดมนต์ท�ำไม ท�ำไมต้องสวดมนต์ ? สวดมนต์ไม่ได้ยากอย่างที่คิด วิธีฝึกหัดอ่านภาษาบาลี บทสวดมนต์ไหว้พระประจ�ำวัน บทสวดมนต์ไหว้พระวันสุดท้ายของสัปดาห์ บทสวดมนต์หมู่ส�ำหรับนักเรียนก่อนนอน บทสวดมนต์ไหว้พระส�ำหรับนักเรียนอนุบาล บทสวดมนต์ประจ�ำตัวนักเรียนก่อนนอนที่บ้าน บทสวดมนต์ไหว้ครู ศาสนพิธีที่นักเรียนควรทราบ พิธีแสดงตนเป็นพุทธมามกะ บทเพลงดีดีที่นักเรียนควรร้องให้ถูกต้อง สูตรคูณ มาตราชั่งตวงวัด
๓ ๖ ๙ ๑๑ ๑๕ ๑๖ ๓๕ ๓๙ ๔๓ ๔๗ ๔๙ ๕๕ ๕๗ ๖๔ ๖๖
สวดมนต์ท�ำไม ท�ำไมต้องสวดมนต์ ?
หนูๆ น้องๆ หลายคนอาจสงสัยว่าท�ำไมผู้ใหญ่ ชอบจ�้ำจี้จ�้ำไชให้เราต้องท�ำอย่างนั้น อย่าท�ำอย่างนี้ อยู่บ้านพ่อแม่ก็สอนอย่างนั้น มาโรงเรียนครูอาจารย์ ก็บอกอย่างนี้ หากตรองกันให้ดีก็จะรู้ว่ามันเป็นแบบนี้ มาแต่โบราณ จนท่านเขียนสุภาษิตไว้ว่า “ไม้อ่อน ดัดง่าย ไม้แก่ดัดยาก” เนื่องจากการอบรมเพาะบ่ม นิสยั ควรจะท�ำกันเสียตัง้ แต่ลกู หลานยังเป็นเด็กเป็นเล็ก มันสอนกันได้ง่ายกว่าที่จะมาว่ากันตอนโตแล้วซึ่งมัน อาจจะสายเกินไป 6
สวดมนต์นักเรียน
การไหว้พระสวดมนต์ก็เช่นกัน คนสมัยโบราณ ท่านเคร่งครัดในเรื่องนี้มาก จึงปรากฏว่าท่านสามารถ ปลู ก ฝั ง คุ ณ ธรรมลงในจิ ต ใจของลู ก หลานได้ ดี ก ว่ า คนสมัยนี้เป็นไหนๆ เมื่อเป็นเช่นนี้ ใครเป็นพ่อแม่ ที่มีลูกก็สอนลูก ใครเป็นครูอาจารย์ก็สอนลูกศิษย์ ลูกหา ให้หันมาไหว้พระสวดมนต์กันเป็นประจ�ำ ก็จะ ท�ำให้ จิ ต ใจของเด็ ก ๆ บริ สุ ท ธิ์ ผุ ด ผ่ อ งใสขึ้ น มาได้ โดยเฉพาะในปั จ จุ บั น กิ เ ลสที่ มั น จะมายั่ ว ยุ จิ ต ใจ ลู ก หลานเยาวชนของเรามี ม ากมายนั ก จึ ง ต้ อ งหา หลักแห่งความดีงามไว้เป็นที่พึ่งทางใจให้แก่พวกเขา เพิ่มขึ้น จะได้ไม่ถูกฉุดดึงไปในทางที่ต�่ำทราม ทีนี้ ถ้าจะถามว่า ท�ำไมต้องสวดมนต์ ? สวดมนต์ มีผลดีอย่างไร ? ก็ขอไขข้อข้องใจโดยสรุปเป็นประเด็น ใหญ่ ๔ ประการ คือ การไหว้พระสวดมนต์ เป็นการ... ๑. ปลุกจิตส�ำนึกความเป็นพุทธมามกะ เพราะ การสวดมนต์แต่ละครัง้ เป็นดังการกระตุน้ เตือนต่อม จิตส�ำนึกให้เรารู้สึกตัวอยู่เสมอว่า เราเป็นชาวพุทธ ที่มีพระรัตนตรัยคือ พระพุทธเจ้า พระธรรม และ บริษัท สำ�นักพิมพ์เลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน์ จำ�กัด
7
พระสงฆ์ เป็นสรณะที่พึ่งจึงต้องมีหน้าที่ท�ำดีตามหลัก ทางพระพุทธศาสนา ๒. ฝึกฝนสมาธิให้เกิดขึ้นได้ง่าย การสวดมนต์ แต่ละครัง้ เป็นดังการฝึกสมาธิให้เกิดขึน้ โดยธรรมชาติ เพราะถ้าขาดสมาธิจะท�ำให้สวดผิด สวดไม่เข้าจังหวะ ท�ำนองกับคนอื่น คนเราถ้ามีสมาธิท�ำอะไรก็ส�ำเร็จ ๓. ประสานความรักสามัคคีในครอบครัว/สถาบัน เวลาที่คนในครอบครัวสวดมนต์ร่วมกันนั้น นับเป็น วันเวลาแห่งความสุขจริงแท้ เพราะขณะนั้นจิตใจ ของทุ ก คนล้ ว นแต่ ท�ำ พู ด คิ ด ในสิ่ ง ที่ เ ป็ น บุ ญ กุ ศ ล ทุกคนจึงมีแต่รักเมตตากัน ๔. บูรณาการน�ำมาใช้ในชีวติ ประจ�ำวันของตนได้ เพราะความหมายในบทสวดมนต์ โดยเฉพาะบท สวดมนต์ ข องนั ก เรี ย น ล้ ว นแต่ มุ ่ ง สอนให้ มี ค วาม พากเพียรเป็นคนดี มีความกตัญญูกตเวทีต่อผู้มี พระคุณ ซึ่งคุณธรรมเหล่านี้จะเป็นเครื่องหนุนน�ำชีวิต ของหนูๆ ไม่ให้มีวันตกต�่ำ จึงหวังใจว่า เยาวชนทั้งหลายจะได้ตั้งใจสวดมนต์ ตามทีผ่ ใู้ หญ่ปรารถนาให้พวกหนูเป็นคนดี คนเก่งสืบไป 8
สวดมนต์นักเรียน
สวดมนต์ ไม่ได้ยากอย่างที่คิด ถ้าหนูๆ ตั้งจิตด้วยความเคารพศรัทธา น้องๆ นักเรียนหลายคนแม้จะรู้ว่า การสวดมนต์ มีผลดีต่อชีวิตมากมาย เป็นต้นว่าช่วยให้มีสมาธิในการ เรียนดีขนึ้ แต่กม็ อี ปุ สรรคมากางกัน้ นัน่ คือความคิดทีว่ า่ บทสวดมนต์โดยมากเป็นภาษาบาลี อ่านยาก ท่องจ�ำ ยาก ทั้งล�ำบากในเรื่องจังหวะท�ำนองสวด เป็นต้น เพือ่ ช่วยให้เด็กนักเรียนทุกคนฝึกฝนการสวดมนต์ ได้งา่ ยขึน้ การจัดบทสวดมนต์ในหนังสือเล่มนี้ จึงจัดท�ำ ขึ้นเป็นพิเศษเพื่อหนูๆ คือ ๑. การอ่านภาษาบาลี บทสวดมนต์ภาษาบาลี ในเล่มนี้ จัดท�ำเป็นค�ำบาลีที่สะกดเป็นภาษาไทย จึง อ่านได้ไม่ยาก แต่บางค�ำที่ใช้สัญลักษณ์พิเศษ เช่น เครื่องหมาย ๎ (ยามักการ) ไว้บนค�ำนั้น ให้อ่านเหมือน อักษรควบ เช่น ส๎วากขาโต อ่านว่า สะหวาก-ขา-โต, ค๎รีเมขะลัง อ่านว่า คะรี-เม-ขะ-ลัง เป็นต้น ๒. ท�ำนองการสวด การสวดมนต์ในเล่มนี้ มี ท�ำนองสวดอยู่ ๒ ท�ำนอง ได้แก่ บริษัท สำ�นักพิมพ์เลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน์ จำ�กัด
9
สวดแบบสังโยค คือ การสวดออกเสียงติดต่อ กันไป มีการเอื้อนเสียงสูงบ้าง ต�่ำบ้างตามลักษณะของ เสียงอักษรที่มีทั้งสูงและต�่ำ เช่น อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชาจะระณะสัมปันโน... เป็นต้น สวดแบบสรภัญญะ คือ การสวดออกเสียงที่มี ท่วงท่าท�ำนองและการเอื้อนที่พอเหมาะพอดี ถูกต้อง ตามลั ก ษณะของฉั น ทลั ก ษณ์ ที่ ใช้ ป ระพั น ธ์ บ ทสวด นั้นๆ เช่น บทสวดว่า “องค์ใดพระสัมพุทธ...” และ บทสวดว่ า “ธรรมะคื อ คุ ณ ากร...” ทั้ ง สองบทใช้ ฉันทลักษณ์ในการแต่งที่ต่างกัน เวลาขึ้นเสียงสวด จึงต่างกัน เป็นต้น ข้อส�ำคัญของการออกเสียงสวดมนต์ ก็คือการ ออกเสียงสวดได้ถูกต้องตามอักขระชัดเจนตามหลัก ของภาษา จังหวะท�ำนองไม่ผิดเพี้ยน ส�ำเนียงที่เปล่ง ออกมาดูก้องกังวาน ไม่ดังหรือค่อยเกินไป ฝึกสวดไป เรื่อยๆ แล้วหนูๆ ก็จะรู้จังหวะจากความเคยชินได้เอง 10
สวดมนต์นักเรียน
วิธีฝึกหัดอ่านภาษาบาลี แม้ ห นั ง สื อ เล่ ม นี้ จ ะจั ด บทสวดมนต์ ส ่ ว นที่ เ ป็ น ภาษาบาลีให้เป็นค�ำอ่านภาษาไทยเพื่อความสะดวก ของนักเรียนแต่ในขณะเดียวกันก็ประสงค์ให้ได้รู้ถึง การอ่ า นเขี ย นภาษาบาลี เ บื้ อ งต้ น ได้ จึ ง น�ำวิ ธี อ ่ า น ภาษาบาลีมาลงไว้ เพราะโบราณท่านว่า “รู้ไว้ใช่ว่า ใส่บ่าแบกหาม” ทั้งนี้เพื่อเป็นประโยชน์กับน้องๆ เวลาต้องท�ำข้อสอบที่มีค�ำถามเกี่ยวกับค�ำบาลี โดยมี ข้อสังเกตดังนี้ ๑. พยัญชนะทุกตัวที่ไม่มีเครื่องหมายใดๆ อยู่บน หรื อ อยู ่ ล ่ า ง และไม่ มี ส ระก�ำกั บ ให้ อ ่ า นออกเสี ย ง อะ เช่น ก ข ค ฆ ง อ่านว่า กะ ขะ คะ ฆะ งะ เพราะพยัญชนะทุกตัวในภาษาบาลีมีเสียง อะ แต่ เวลาเขียนจะไม่ประวิสรรชนีย์ (สระอะ) ตัวอย่าง ภควา อ่านว่า ภะ-คะ-วา อกรณํ อ่านว่า อะ-กะ-ระ-นัง บริษัท สำ�นักพิมพ์เลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน์ จำ�กัด
11
๒. พยัญชนะตัวใดมีเครื่องหมายพินทุ ( . ) อยู่ ข้างใต้ พยัญชนะนั้นจะเป็นตัวสะกดของพยัญชนะ ตัวหน้า ให้อา่ นออกเสียงเป็นตัวสะกดพยัญชนะตัวหน้า และถ้าพยัญชนะตัวหน้าไม่มสี ระ อิ อุ อา เอ โอ ให้อา่ น ออกเสียงเหมือนมีไม้หันอากาศ ( ั ) ตัวอย่าง สพฺพปาปสฺส อ่านว่า สับ-พะ-ปา-ปัด-สะ กิจฺเจสุ อ่านว่า กิด-เจ-สุ สนฺตุฏฺ ี อ่านว่า สัน-ตุด-ถี ๓. พยัญชนะตัวใดมีเครื่องหมาย นิคหิต ( ) อยู่ บน ให้อ่านเหมือนมีไม้หันอากาศแล้วสะกดด้วย ง ตัวอย่าง อรหํ อ่านว่า อะ-ระ-หัง ธมฺม ํ อ่านว่า ท�ำ-มัง ๔. พยัญชนะตัวใดมีทั้งเครื่องหมายนิคหิต ( ) และมีสระอิ ( ) อุ ( ุ ) ด้วย ให้ออกเสียงตามสระ โดยมี ง เป็นตัวสะกด ตัวอย่าง ธมฺมจารึ อ่านว่า ท�ำ-มะ-จา-ริง พาหุ ํ อ่านว่า พา-หุง 12
สวดมนต์นักเรียน
๕. ถ้าพยัญชนะตัวหน้ามีเครื่องหมายพินทุ ( . ) อยู่ด้วยให้อ่านออกเสียง อะ เพียงครึ่งเสียงควบไปกับ พยัญชนะตัวหลัง ตัวอย่าง สฺวากขาโต อ่านว่า สะหวาก-ขา-โต คฺรีเมขลํ อ่านว่า คะรี-เม-ขะ-ลัง เทฺว อ่านว่า ทะเว (เสียง อะ ที่ สะ คะ และ ทะ สั้นมากเพียงครึ่ง วินาที) พฺรหฺม อ่านว่า พรัม-มะ (ค�ำนี้ตัว ห ท�ำให้ตัว ม ออกเสียงมีลมมาก) ๖. เครือ่ งหมายพินทุ ( . ) ทีอ่ ยูใ่ ต้พยัญชนะบางตัว นอกจากเป็นตัวสะกดแล้ว ยังท�ำให้พยัญชนะตัวนั้น ออกเสียง อะ ครึ่งเสียงควบกับพยัญชนะตัวหลังด้วย ตัวอย่าง กตฺวา อ่านว่า กัด-ตะ-วา ตสฺมา อ่านว่า ตัด-สะ-หมา ตสฺม ึ อ่านว่า ตัด-สะ-หมิง อพฺยาปชฺโฌ อ่านว่า อับ-พะ-ยา-ปัด-โช (เสียง อะ ที่ ตะ สะ พะ สั้นมากเพียงครึ่งวินาที) บริษัท สำ�นักพิมพ์เลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน์ จำ�กัด
13
๗. ค�ำศัพท์ที่ประกอบด้วย เอยฺย เช่น อาหุเนยฺโย หลักภาษาบาลีออกเสียง เอ + ย แต่เพราะออกเสียง ล�ำบากส�ำหรับลิ้นคนไทย จึงนิยมออกเสียงเป็น ไอ + ย ตัวอย่าง ปาหุเนยฺโย อ่านว่า ปา-หุ-ไน-โย เสยฺโย อ่านว่า ไส-โย ๘. ฝึกหัดอ่านค�ำเหล่านี้ ๑) สพฺพปาปสฺส อกรณํ ๒) อตฺตา หิ อตฺตโน นาโถ ๓) อตฺตานํ อุปมํ กตฺวา ๔) ธมฺโม หเว รกฺขติ ธมฺมจารึ ๕) อพฺยาปชฺฌา โหนฺตุ ๖) พาหุํ สหสฺสมภินิมฺมิตสาวุธนฺตํ ๗) คฺรีเมขลํ อุทิตโฆรสเสนมารํ ๘) ตสฺมึ ภควติ พฺรหฺมจริยํ จราม ๙) อาคารสฺมา อนาคาริยํ ปพฺพชิตา ๑๐) อาหุเนยฺโย ปาหุเนยฺโย ทกฺขิเณยฺโย เมื่ออ่านค�ำเหล่านี้ได้แล้ว ก็สามารถสวดมนต์ได้ แม้ในบทมนต์นั้นจะเป็นภาษาบาลีล้วนๆ 14
สวดมนต์นักเรียน
๑. บทสวดมนต์ไหว้พระประจำ�วัน บทนมัสการพระรัตนตรัย
(น�ำ) อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา, (รับ) พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ. (กราบ)๑
ส๎วากขาโต* ภะคะวะตา ธัมโม, ธัมมัง นะมัสสามิ. (กราบ) สุปะฏิปนั โน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สังฆัง นะมามิ. (กราบ) *สวดออกเสียงว่า สะ-หวาก-ขา-โต ทุกที่เลยนะครับ
๑ ถ้ายืนเช่นเวลาไหว้พระหน้าเสาธง ให้ยกหัวนิว้ โป้งทัง้ สองข้าง วางไว้ตรงระหว่างคิ้ว น้อมศีรษะลงนมัสการจนสัมผัสปลาย นิ้วชี้ ถ้านั่งกับพื้นให้กราบแบบเบญจางคประดิษฐ์ บริษัท สำ�นักพิมพ์เลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน์ จำ�กัด
15
๒. บทสวดมนต์ไหว้พระ วันสุดท้ายของสัปดาห์ บทสวดนมัสการพระรัตนตรัย๑ ทำ�นองสวดนำ�
(หัวหน้าว่าน�ำ ทุกคนว่าตาม)
อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา, พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ. (กราบ) ส๎วากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, ธัมมัง นะมัสสามิ. (กราบ) สุปะฏิปนั โน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สังฆัง นะมามิ. (กราบ) ๑ นมัสการ แปลว่า การท�ำความนอบน้อม, การท�ำความ เคารพด้วยการไหว้ เป็นค�ำส�ำหรับชาวบ้านใช้กับพระสงฆ์ ในเวลาเขียนจดหมาย, กล่าวค�ำถวายรายงาน หรือกล่าว ทักทายท่านเวลาเจอกัน เหมือนดังเช่นเด็กๆ เวลาเจอผู้ใหญ่ กว่าก็ยกมือไหว้พร้อมกล่าวค�ำสวัสดี 16
สวดมนต์นักเรียน
บทสวดนมัสการพระพุทธเจ้า๑ ทำ�นองสังโยค
(น�ำ) นะโม (รับ) ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมา-
สัมพุทธัสสะ. นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ. นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ.
๑ พระพุทธเจ้าทรงมีพระคุณใหญ่ ๓ ประการ คือ ความกรุณา, ความบริสุทธิ์, ความมีปัญญา ถ้าเด็กๆ ท�ำตนให้เป็นคน ไม่โหดร้าย, ไม่ดื้อด้าน, ขยันศึกษา ก็ชื่อว่ามีพระพุทธคุณ รักษาตัวอยู่เสมอ บริษัท สำ�นักพิมพ์เลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน์ จำ�กัด
17
บทสวดพระพุทธคุณ (ภาษาบาลี) ทำ�นองสังโยค (น�ำ) อิติปิ โส (รับ) ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชา-
จะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติ. พระผู้เป็นครู ที่สูงสุด ของชาวโลก
18
สวดมนต์นักเรียน
บทสวดพระพุทธคุณ ทำ�นองสรภัญญะ*
(น�ำ) องค์ใดพระสัมพุทธ (รับ) สุวิสุทธสันดาน
ตัดมูลเกลศมาร๑ บ่ มิหม่นมิหมองมัว หนึ่งในพระทัยท่าน ก็เบิกบานคือดอกบัว ราคี บ่ พันพัว สุวคนธก�ำจร องค์ใดประกอบด้วย พระกรุณาดังสาคร โปรดหมู่ประชากร มละโอฆะกันดาร๒ ชี้ทางบรรเทาทุกข์ และชี้สุขเกษมสานต์ ชี้ทางพระนฤพาน อันพ้นโศกวิโยคภัย พร้อมเบญจพิธจัก- ษุ๓ จรัสวิมลใส เห็นเหตุที่ใกล้ไกล ก็เจนจบประจักษ์จริง ก�ำจัดน�ำ้ ใจหยาบ สันดานบาปแห่งชายหญิง สัตว์โลกได้พึ่งพิง มละบาปบ�ำเพ็ญบุญ ข้าฯ ขอประณตน้อม ศิระเกล้าบังคมคุณ สัมพุทธการุญ- ญภาพนัน้ นิรนั ดร. (กราบ) * แต่งโดย พระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร) บริษัท สำ�นักพิมพ์เลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน์ จำ�กัด
19
ค�ำศัพท์น่ารู้ ๑ เกลศมาร อ่านว่า กะ-เหลด-มาน เป็นภาษาสันสกฤต ภาษาบาลีเป็น กิเลสมาร แปลว่า มารคือกิเลส โลภะ ความโลภ, โทสะ ความโกรธ, โมหะ ความหลง เป็นรากเหง้ากิเลสส�ำคัญที่ชักน�ำให้คนท�ำชั่วต้องหนี ให้ไกล ๒ ค�ำว่า มละ ในที่นี้ไม่ได้แปลว่า มลทิน เพราะมาจาก ค�ำไทย คือ มาละ (แปลง มา เป็น มะ ตามลักษณะ ของฉันทลักษณ์) มละโอฆะกันดาร หมายถึง ให้มา ละห้วงน�้ำที่ข้ามได้ยากยิ่ง ๔ อย่าง คือ กาโมฆะ ห้วงน�้ำคือกาม, ภโวฆะ ห้วงน�้ำคือภพ, ทิฏโฐฆะ ห้วงน�้ำคือความเห็น, อวิชโชฆะ ห้วงน�้ำคืออวิชชา ๓ เบญจพิธจักษุ หมายถึง ทรงมีตาทีบ่ ริสทุ ธิใ์ สถึง ๕ ตา คือ มังสจักขุ ตาเนื้อที่มองไกลได้ถึง ๑๖ กิโลเมตร, ทิพพจักขุ ตาทิพย์, ปัญญาจักขุ ตาปัญญา, พุทธจักขุ ตาของพระพุ ท ธเจ้ า ที่ ท รงทราบอุ ป นิ สั ย คนท� ำ ให้ ทรงสอนเขาได้ผลตามระดับสติปัญญา, สมันตจักขุ ตาเห็นโดยรอบ เพราะทรงหยั่งรู้ในทุกสรรพสิ่ง 20
สวดมนต์นักเรียน
บทสวดพระธรรมคุณ (ภาษาบาลี) ทำ�นองสังโยค (น�ำ) ส๎วากขาโต (รับ) ภะคะวะตา ธัมโม สันทิฏฐิโก อะกาลิโก
เอหิปสั สิโก โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตพั โพ วิญญูหีติ.* คือพระธรรม ที่น�ำจิต สู่ความดี
แผนที่ น�ำทางชีวิต
* อ่านว่า วิน-ยู-ฮี-ติ ทุกแห่ง บริษัท สำ�นักพิมพ์เลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน์ จำ�กัด
21
บทสวดพระธรรมคุณ ทำ�นองสรภัญญะ* (น�ำ) ธัมมะคือคุณากร๑ (รับ) ส่วนชอบสาธร๒
ดุจดวงประทีปชัชวาล แห่งองค์พระศาสดาจารย์ ส่องสัตว์สันดาน๓ สว่างกระจ่างใจมนท์ ธรรม๔ ใดนับโดยมรรคผล เป็นแปดพึงยล และเก้ากับทั้งนฤพาน สมญาโลกอุดร๕ พิสดาร อันลึกโอฬาร พิสุทธิ์พิเศษสุกใส อีกธรรมต้นทางครรไล๖ นามขนานขานไข ปฏิบัติปริยัติเป็นสอง คือทางด�ำเนินดุจคลอง ให้ล่วงลุปอง ยังโลกอุดรโดยตรง ข้าฯ ขอโอนอ่อนอุตมงค์๗ นบธรรมจ�ำนง ด้วยจิตและกายวาจา. (กราบ) 22
สวดมนต์นักเรียน
ค�ำศัพท์น่ารู้ ๑ คุณากร แปลว่า บ่อเกิดแห่งความดี มาจาก คุณ (ความดี) + อากร (บ่อเกิด) ๒ สาธร แปลว่า เลิศ, เยี่ยม หมายถึง ธรรมเป็นสิ่งที่ ดีเลิศมีประโยชน์ต่อผู้ประพฤติชอบอย่างแท้จริง ๓ สันดาน แปลว่า อุปนิสัยที่ติดตัวมาแต่ก�ำเนิด ส่อง สัตว์สันดาน หมายถึง อุปนิสัยของสัตว์โลกจ�ำเป็น ต้องได้รับการขัดเกลาด้วยธรรม ๔ ธรรม หมายถึง โลกุตรธรรม ๙ ได้แก่ มรรค ๔, ผล ๔, นิพพาน ๑ ๕ โลกอุดร หมายถึง ธรรมที่พ้นโลกคือนิพพาน แผลง จากค�ำว่า โลกุตระ โลก (โลก) + อุตระ (เหนือ, พ้น) ๖ ครรไล แปลว่า ไป ธรรมต้นทางครรไล หมายถึง ข้อปฏิบตั เิ บือ้ งต้นทีจ่ ะน�ำไปสูโ่ ลกุตรธรรม คือ ปริยตั ิ การศึกษา ปฏิบัติ การลงมือปฏิบัติตามที่ศึกษานั้น ๗ อุตมงค์ หมายถึง อวัยวะสูงสุดในร่างกายคือศีรษะ มาจาก อุตมะ (สูงสุด) + อังคะ (ส่วน, อวัยวะ) * แต่งโดย พระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร) บริษัท สำ�นักพิมพ์เลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน์ จำ�กัด
23
บทสวดพระสังฆคุณ (ภาษาบาลี) ทำ�นองสังโยค (น�ำ) สุปะฏิปันโน (รับ) ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ญายะปะฏิปนั โน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ยะทิทัง จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย* ปาหุเนยโย* ทักขิเณยโย* อัญชะลีกะระณีโย** อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ. * สวดออกเสียงเป็น ไน-โย ทุกแห่ง ** พระไตรปิฎก เป็น อัญชลิกรณีโย
24
สวดมนต์นักเรียน
บทสวดพระสังฆคุณ ทำ�นองสรภัญญะ*
(น�ำ) สงฆ์ใดสาวกศาสดา (รับ) รับปฏิบัติมา
แต่องค์สมเด็จภควันต์๑ เห็นแจ้งจตุสจั ๒ เสร็จบรร- ลุทางที่อัน ระงับและดับทุกข์ภัย โดยเสด็จพระผู้ตรัสไตร๓ ปัญญาผ่องใส สะอาดและปราศมัวหมอง เหินห่างทางข้าศึกปอง บ่ มิลำ� พอง ด้วยกายและวาจาใจ เป็นเนื้อนาบุญ๔ อันไพ- ศาลแด่โลกัย๕ และเกิดพิบูลย์พูนผล สมญาเอารสทศพล๖ มีคุณอนนต์๗ อเนกจะนับเหลือตรา บริษัท สำ�นักพิมพ์เลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน์ จำ�กัด
25
ข้าฯ ขอนบหมูพ่ ระศรา- พก๘ ทรงคุณานุคุณประดุจร�ำพัน ด้วยเดชบุญข้าอภิวันท์ พระไตรรัตน์๙ อัน อุดมดิเรกนิรัติศัย จงช่วยขจัดโพยภัย อันตรายใดใด จงดับและกลับเสื่อมสูญ. (กราบ) ค�ำศัพท์น่ารู้ ๑ ภควันต์ เป็นอีกพระนามหนึ่งของพระพุทธเจ้า มี ความหมายเดียวกับค�ำว่า ภควา แปลว่า ผู้มีโชค, ผู้จ�ำแนกธรรมสั่งสอนสัตว์ ๒ จตุสจั แปลว่า ความจริงสีป่ ระการ มาจาก จตุ (สี)่ + สัจ (ความจริง) คือ ทุกข์, สมุทัย, นิโรธ, มรรค ๓ ไตร แปลว่า สาม หมายถึง ไตรสิกขา ของบรรพชิต คือ ศีล สมาธิ ปัญญา ถ้าเป็นชาวบ้านได้แก่ ทาน ศีล ภาวนา 26
สวดมนต์นักเรียน
๔ นาที่ชาวบ้านใช้ปลูกพืชพันธุ์ธัญญาหารงอกงามจน ได้ผลดี ฉันใด พระสงฆ์ก็เป็นเขตที่ท�ำให้บุญของผู้ท�ำ เจริญงอกงามยิ่งขึ้น ฉันนั้น ๕ โลกัย แปลว่า ของโลก ในที่นี้ใช้หมายถึง พระสงฆ์ เป็นเนื้อนาบุญที่มีคุณไพศาลแก่ชาวโลกทั้งมวล ๖ เอารสทศพล อ่านว่า เอา-รด-ทด-สะ-พน แปลว่า บุตรของพระพุทธเจ้า เอารส แผลงมาจาก โอรส (บุตร) + ทศพล (ผูท้ รงก�ำลังแห่งญาณสิบ) พระทศพล ก็เป็นอีกหนึ่งพระนามที่ใช้ได้กับพระพุทธเจ้า ๗ อนนต์ แผลงมาจากค�ำว่า อนันต์ แปลว่า ไม่มที สี่ นิ้ สุด, มากล้น หมายถึง พระสงฆ์เป็นผู้มีคุณความดีมาก ๘ ศราพก เป็นภาษาสันสกฤต บาลีเป็น สาวก แปลว่า ศิษย์ ๙ ไตรรัตน์ แปลว่า แก้วสามประการ มาจาก ไตร (สาม) + รัตน์ (แก้ว) หมายถึง พระพุทธเจ้า พระธรรม พระสงฆ์ พระรัตนตรัย เป็นสิ่งประเสริฐสูงสุดกว่า รัตนะทั้งหลาย เพราะเป็นที่พึ่งที่ก�ำจัดภัยได้จริง * แต่งโดย พระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร) บริษัท สำ�นักพิมพ์เลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน์ จำ�กัด
27
บทสวดชัยสิทธิคาถา (ภาษาบาลี) ทำ�นองสังโยค (น�ำ) พาหุง (รับ) สะหัสสะมะภินมิ มิตะสาวุธนั ตัง
ค๎รีเมขะลัง อุทิตะโฆระสะเสนะมารัง, ทานาทิธัมมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท, ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะสิทธิ นิจจัง.๑
๑ โดยทั่วไปสวดว่า ชะยะมังคะลานิ บทสวดในที่นี้ พระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๖ ทรงพระราชนิพนธ์ขึ้นใหม่ ได้ทรงดัดแปลงตอนท้าย โดยอาศัยเหตุการณ์ที่พระองค์ทรง ประกาศเข้าร่วมรบกับฝ่ายสัมพันธมิตรสมัยสงครามโลกครั้ง ที่ ๑ ก่อนทีจ่ ะส่งทหารเข้าร่วมรบ พระองค์ได้ทรงน�ำสวดมนต์ บทนี้เพื่อเป็นขวัญก�ำลังใจให้เหล่าทหาร 28 สวดมนต์นักเรียน
บทสวดชัยสิทธิคาถา ทำ�นองสรภัญญะ*
(น�ำ) ปางเมื่อพระองค์ปะระมะพุท- (รับ) ธะวิสุทธะศาสดา
ตรัสรู้อะนุตตะระสะมา- ธิ ณ โพธิบัลลังก์ ขุนมารสะหัสสะพะหุพา- หุวิชาวิชิตขลัง ขี่คีริเมขะละประทัง คะชะเหีย้ มกระเหิมหาญ แสร้งเสกสราวุธะประดิษฐ์ กะละคิดจะรอนราญ รุมพลพะหลพะยุหะปาน พระสมุทรทะนองมา หวังเพื่อผจญวะระมุนิน- ทะสุชินนะราชา พระปราบพะหลพะยุหะมา- ระมะเลืองมลายสูญ ด้วยเดชะองค์พระทศพล สุวิมละไพบูลย์ ทานาทิธัมมะวิธิกูล ชะนะน้อมมะโนตาม ด้วยเดชะสัจจะวะจะนา และนะมามิองค์สาม ขอจงนิกรพะละสยาม ชะยะสิทธิทุกวาร ถึงแม้จะมีอริวิเศษ พะละเดชะเทียมมาร ขอไทยผจญพิชิตะผลาญ อริแม้นมุนินทร. (กราบ) * พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๖ บริษัท สำ�นักพิมพ์เลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน์ จำ�กัด
29
บทสวดมาตาปิตุคุณ (ภาษาบาลี) ทำ�นองสังโยค (น�ำ) อะนันตะคุณะสัมปันนา (รับ) ชะเนตติชะนะกา อุโภ มัยหัง มาตาปิตูนังวะ ปาเท วันทามิ สาทะรัง. ค�ำแปล
มารดาบิดาทั้งสองเป็นผู้ถึงพร้อมด้วยคุณธรรม
อันหาที่เปรียบมิได้ ข้าพเจ้าขอกราบไหว้เท้าทั้งสอง ของมารดาบิดาของข้าพเจ้าด้วยความเคารพอย่างสูง.
30
สวดมนต์นักเรียน