ศัพท์วิเคราะห์

Page 1



พจนานุกรมเพื่อการÈึกษาพุทธÈาสน์ ชุด...

ศัพทวิเคราะห พระมหาโพธิวงÈาจารย์

(ทองดี สุรเตโช) ป.ธ.๙, ราชบัณฑิต รวบรวม-แปล


พระมหาโพธิวงศาจารย์​์ (ทองดี สุรเตโช ป.ธ.๙, ราชบัณฑิต) ศัพท์วิเคราะห์. กรุงเทพฯ : เลี่ยงเชียง, ๒๕๕๘ ๑,๑๗๖ หน้า ๑. พระพุทธศาสนา - พจนานุกรม I. ชื่อเรื่อง ISBN 978-616-268-147-9

บรรณาธิการ : ศักดิ์สิทธิ์ พันธุ์สัตย์ ออกแบบปก : อนุชิต คำซองเมือง รูปเล่ม/จัดอาร์ต : สุดารัตน์ สุขโชติ เอื้อเฟื้อภาพปก : พันธุ์ศักดิ์ จักกะพาก

สถิติการพิมพ์

พิมพ์ครั้งที่ ๑ พิมพ์ครั้งที่ ๒ พิมพ์ครั้งที่ ๓

: มกราคม ๒๕๕๐ : กุมภาพันธ์ ๒๕๕๐ : มกราคม ๒๕๕๘

๔,๐๐๐ เล่ม ๕๐๐ เล่ม ๑,๕๐๐ เล่ม

พิมพ์ที่ : โรงพิมพ์เลี่ยงเชียง 223 ถนนบำรุงเมือง กรุงเทพฯ 10200 โทร. 02-221-1050, 02-221-4446, 02-223-8979


พระมหาโพธิวงศาจารย์ (ทองดี สุรเตโช)

(3)

คำนำ ในปัจจุบัน การศึกษาภาษาบาลีหรือภาษามคธสำหรับภิกษุ

สามเณรดู เ หมื อ นว่ า จะซบเซาลง เพราะมี ท างอื่ น ให้ เ ลื อ กศึ ก ษา ตามถนัดหลายทาง แต่ที่ศึกษาเข้มข้นจริงๆ ก็ยังมีอยู่ไม่ขาดสาย สำหรั บ ในหมู่ ค ฤหั ส ถ์ ที่ ส นใจเรี ย นรู้ เ รื่ อ งนี้ ดู เ หมื อ นจะมี ม ากขึ้ น แต่ชอ่ งทางทีจ่ ะได้ศกึ ษาต่อเนือ่ งยังไม่พร้อมนักด้วยสาเหตุหลายอย่าง ถึงกระนั้นภาษาบาลีก็ยังเป็นภาษาสำคัญและศักดิ์สิทธิ์เหมือนเดิม ผู้ที่สนใจใฝ่รู้ใฝ่เรียนทั้งหลายย่อมเข้าใจข้อนี้เป็นอย่างดี สิง่ หนึง่ ทีผ่ ศู้ กึ ษาภาษาบาลีให้ความสนใจคือทีม่ าทีไ่ ปของศัพท์ ต่างๆ และกระบวนการบัญญัตศิ พั ท์กว่าจะสำเร็จรูปได้นนั้ มีรายละเอียด อย่างไรบ้าง อันนี้เป็นความรู้ระดับลึกที่เมื่อรู้แล้วจะสามารถแปลบาลี ได้ดแี ละถูกต้อง กระบวนการนีเ้ รียกกันโดยทัว่ ไปว่า "วิเคราะห์ศพั ท์" หนังสือนี้เกิดขึ้นด้วยต้องการช่วยเหลือผู้ใฝ่รู้ใฝ่เรียนบาลีให้รู้ เห็นรายละเอียดมากขึน้ และตัง้ ชือ่ หนังสือนีว้ า่ "ศัพท์วเิ คราะห์" ซึง่ เคย จัดพิมพ์มาแล้วครั้งหนึ่งเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๕๐ และแจกหมดไปในเวลา ไม่นาน ผูต้ อ้ งการภายหลังไม่อาจหามาเป็นเจ้าของได้ ถึงกับไปขอยืม คนอืน่ ถ่ายเป็นเอกสารเก็บไว้กม็ ี


(4)

ศัพท์วิเคราะห์

ในโอกาสทีจ่ ะมีการสมโภชสมณศักดิ์ ที่ "พระมหาโพธิวงศาจารย์" ในวันที่ ๑๕ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๘ นี้ ทางสำนักพิมพ์เลี่ยงเชียง

เพียรเพือ่ พุทธศาสน์ แจ้งจำนงพิมพ์ใหม่เพื่อถวายเป็นมุทติ าสักการะ

เป็นพิเศษด้วยส่วนหนึ่ง จึงอนุญาตให้พิมพ์ได้โดยสะดวก เพื่อเป็น ประโยชน์ตอ่ การเรียนการสอนภาษาบาลีและผูส้ นใจทัว่ ไป

ขออนุโมทนาและขอบคุณสำนักพิมพ์เลี่ยงเชียง เพียรเพื่อ พุ ท ธศาสน์ และผู้เกี่ยวข้องซึ่งมีส่วนให้หนังสือนี้สำเร็จเป็นรูปเล่ม

ขึน้ มาทุกท่าน หวังว่าคงได้รบั ประโยชน์จากหนังสือนีต้ ามประสงค์. (พระมหาโพธิวงศาจารย์) วัดราชโอรสาราม เขตจอมทอง กรุงเทพฯ ๕ มกราคม ๒๕๕๘


พระมหาโพธิวงศาจารย์ (ทองดี สุรเตโช)

(5)

คำนำ

(พิมพครั้งที่ ๑)

หนังสือพจนานุกรม “ศัพท์วิเคราะห์” เล่มนี้สำเร็จเป็นรูปเล่ม

ขึ้นมาได้ตามเจตนารมณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อสมัยเรียนหนังสืออยู่ ก็กว่า ๓๐ ปีมาแล้ว เพราะสมัยนั้นหนังสือคู่มือสำหรับเรียนรู้ภาษาบาลี มีไม่มากและหาได้ยาก ทำให้การเรียนการสอนเป็นไปด้วยความ ลำบาก จึงคิดว่าถ้ามีโอกาสก็จะขอทำหนังสือที่เห็นว่าจำเป็นสำหรับ ครูและนักเรียนจะได้ใช้เป็นคูม่ อื ในการเรียนการสอนบาลี แต่โอกาสนัน้ ก็เพิง่ มาถึงเมือ่ ภาระงานต่างๆ ทีไ่ ด้รบั มอบหมายเบาบางลงแล้ว ทำให้ มีเวลาพอที่จะทำหนังสืออันเป็นอุปการะแก่การศึกษาบาลีตามที่ตั้งใจ ไว้ได้ หนังสือเล่มนี้เป็นผลงานอีกเล่มหนึ่งที่สำเร็จขึ้นมาโดยใช้เวลา ประมาณ ๒ ปีเศษในการค้นและคว้าจากต้นตอหลายฉบับ เลือกเฟน เฉพาะที่ต้องการและตรวจตราความถูกต้อง แม้จะมีอุปสรรคบ้าง แต่กผ็ า่ นพ้นมาได้ดว้ ยความเรียบร้อย ศัพท์กด็ ี รูปวิเคราะห์กด็ ี ทีน่ ำมาแสดงไว้ในหนังสือนีเ้ ป็นเพียง ส่วนหนึ่งเท่านั้น ส่วนที่ปรากฏอยู่ในคัมภีร์ต่างๆ ซึ่งมิได้นำมาใส่ไว้ ยังมีอีกมาก ส่วนที่อยู่ในหนังสือนี้เป็นส่วนที่คัดเลือกแล้วเห็นว่าเป็น แบบอย่างได้ และวิเคราะห์ที่นำมานั้น ก็มีหลายรูปแบบเพราะมีที่มา ต่างกัน ซึง่ เหตุผลเหล่านีไ้ ด้แสดงไว้ในคำปรารภและคำชีแ้ จงเบือ้ งต้น นัน้ แล้ว ถึงกระนัน้ ก็ตามอาจต้องมีการแก้ไขเพิม่ เติมหรือมีการรวบรวม


(6)

ศัพท์วิเคราะห์

ศัพท์วิเคราะห์จากที่ต่างๆ มาเพิ่มให้เกิดความสมบูรณ์ยิ่งขึ้น อันจะ เป็นอุปการะแก่การศึกษาบาลีมากขึน้ ไปในอนาคต

นอกจากจะได้รวบรวมศัพท์และรูปวิเคราะห์มาแสดงไว้แล้ว

ยังได้รวบรวมธาตุตลอดถึงความหมายทีป่ รากฏอยูใ่ นคัมภีรต์ า่ งๆ มา แสดงไว้ดว้ ยในตอนท้ายเพือ่ เป็นความรูเ้ สริมสำหรับผูท้ สี่ นใจในเรือ่ งนี้

ในการจั ด พิ ม พ์ ค รั้ ง แรกนี้ ไ ด้ รั บ ความอุ ป ถั ม ภ์ อุ ด หนุ น ด้ า น

การพิมพ์จากเจ้าประคุณสมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์ (ช่วง วรปุญโฺ  ป.ธ.๙) วัดปากน้ำ ภาษีเจริญ แม่กองบาลีสนามหลวง ผู้รับผิดชอบ เรือ่ งการศึกษาบาลีในประเทศไทย ด้วยเห็นว่าหนังสือนีจ้ ะเป็นประโยชน์ แก่ภิกษุสามเณรผู้สอนและผู้ศึกษาบาลีทั้งแก่ผู้ที่สนใจใฝ่รู้ภาษาบาลี ทั้งหลายไปตลอดกาลนาน ทำให้หนังสือนี้ดำรงอยู่เป็นหลักฐานและ แพร่หลายออกไปอย่างกว้างขวาง จึงขอกราบขอบพระคุณเจ้าประคุณ สมเด็จฯ ไว้ ณ โอกาสนีด้ ว้ ย

หวังว่าหนังสือนี้จะเป็นประโยชน์แก่ผู้เรียนผู้สอนและผู้สนใจ

ภาษาบาลีตามสมควร และหากมีข้อท้วงติงหรือข้อเสนอแนะอันใด ยินดีที่จะรับฟังเพื่อนำมาปรับปรุงแก้ไขให้ถูกต้องสมบูรณ์หรือนำมา เพิม่ เติมในโอกาสต่อไป.

(พระธรรมกิตติวงศ์) วัดราชโอรสาราม เขตจอมทอง กรุงเทพฯ ๕ มกราคม ๒๕๕๐


พระมหาโพธิวงศาจารย์ (ทองดี สุรเตโช)

(7)

คำปรารภ การศึ ก ษาหรื อ การเรี ย นการสอนภาษาบาลี ห รื อ ภาษามคธใน ประเทศไทยนี้ ปรากฏเป็นหลักฐานว่ามีมาแต่ครัง้ กรุงสุโขทัยเป็นราชธานี แล้ ว โดยเหตุ ที่ เ ป็ น ภาษาที่ ส ำคั ญ ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ เพราะเป็ น ภาษาที่ บ รรจุ พระพุทธพจน์หรือคำสอนของพระพุทธเจ้า จึงศึกษากันด้วยความเคารพ ศรัทธาเพื่อให้เข้าใจและเข้าถึงคำสอนทางศาสนาเป็นสำคัญ ผู้ศึกษามีทั้ง พระสงฆ์และคฤหัสถ์ แม้แต่พระเจ้าแผ่นดินบางพระองค์ก็ทรงศึกษาจน ช่ำ ชองถึ ง กั บ แปลพระพุทธพจน์ แ ละคัม ภี ร์ ทางศาสนาจากภาษามคธ เป็นภาษาไทยได้ เช่นพระมหาธรรมราชาลิไท เป็นต้น แม้ในสมัยอยุธยา และสมัยรัตนโกสินทร์กอ็ ยูใ่ นลักษณะนัน้ พระเจ้าแผ่นดินทีท่ รงแตกฉานใน ภาษาบาลีกม็ อี ยูห่ ลายพระองค์ การศึกษาภาษาบาลีในสมัยก่อนค่อนข้าง จะลำบาก ไหนจะต้องศึกษาภาษาขอมให้ช่ำชองก่อน ไหนจะต้องศึกษา ภาษาไทยควบคูไ่ ปด้วยจึงจะสามารถเรียนรูภ้ าษาบาลีได้ เพราะคัมภีรห์ รือ หนังสือทีจ่ ะเรียนไม่วา่ พระไตรปิฎก อรรถกถา ฎีกา สัททาวิเสสต่างๆ ล้วน จารึกเป็นอักษรขอมอยู่ในใบลานหรือสมุดข่อย และหายากไม่แพร่หลาย ผู้สอนก็มีไม่มาก สถานที่ศึกษาก็มีไม่กี่แห่ง ในบางยุคพระเจ้าแผ่นดิน พระราชทานพระตำหนักบางองค์ในพระบรมมหาราชวังให้เป็นทีศ่ กึ ษาก็มี ทรงเป็นครู “บอกหนังสือบาลี” เองก็มี เสด็จมาทรงเป็นประธานในการสอบ เองก็มี แสดงถึงความมีพระราชศรัทธาในการศึกษาภาษาบาลีเป็นทีย่ งิ่ ในยุคสมัยต่อมาแม้จะมีการปริวรรตพระคัมภีร์ต่างๆ จากอักษร ขอมมาเป็นอักษรไทย มีการพิมพ์เป็นเล่มหนังสือ และมีตำรามีคู่มือให้ ศึ ก ษาเล่ า เรี ย นกั น สะดวกขึ้ น แล้ ว ก็ ต าม แต่ ก็ ยั ง ไม่ เ พี ย งพอที่ จ ะเป็ น อุปการะแก่การศึกษาด้านนี้ให้สมบูรณ์ขึ้นได้ ผู้ที่ใฝ่รู้ใฝ่ศึกษาบาลีอย่าง


(8)

ศัพท์วิเคราะห์

จริ ง จั ง แล้ ว ย่ อ มรู้ ไ ด้ ว่ า ยั ง ขาดคู่ มื อ ประเภทไหน หรื อ ควรจะมี ห นั ง สื อ ประเภทใดมาช่วยให้การเรียนการสอนสะดวกขึน้ เข้าใจง่ายขึน้ และศึกษา ได้เร็วขึ้น ในสมัยที่ยังเรียนบาลีอยู่ได้ประสบปัญหาเรื่องหาหนังสือที่เป็น คูม่ อื อย่างทีต่ อ้ งการยาก จึงตัง้ ใจไว้วา่ ถ้ามีโอกาสเวลาจะขออุทศิ ให้เพือ่ ทำ หนังสือประเภทคูม่ อื ในการเรียนการสอนบาลีฝากไว้ เพือ่ เติมเต็มส่วนทีย่ งั ขาดอยู่และเพื่อเป็นอนุสรณ์ชีวิตให้มากที่สุดตามกำลังแห่งตน หนังสือ

เล่มนีก้ เ็ ป็นอีกเล่มหนึง่ ทีเ่ กิดขึน้ ด้วยแรงบันดาลใจอันมีมาแต่เดิมนัน้

หนังสือเล่มนี้เดิมให้ชื่อว่า “สัททวิคคหทีปนี” ซึ่งหมายถึงหนังสือ

ที่แสดงรูปวิเคราะห์ของศัพท์ต่างๆ แต่เมื่อรวบรวมเสร็จแล้วได้เปลี่ยนใจ กะทั น หั น โดยเปลี่ ย นชื่ อ เป็ น แบบไทยๆ ว่ า “ศั พ ท์ วิ เ คราะห์ ” แทน

เพือ่ มิตอ้ งลำบากแก่ทา่ นทีไ่ ม่ถนัดในภาษาบาลี ซึง่ ชือ่ ใหม่นกี้ ม็ คี วามหมาย เหมื อ นข้ า งต้ น หากจะขยายความไปอี ก เล็ ก น้ อ ยก็ ไ ด้ ค วามหมายว่ า

เป็นหนังสือที่ว่าด้วยการแยกแยะศัพท์ออกเป็นส่วนๆ คือแสดงที่มาที่ไป ของศัพท์แต่ละศัพท์วา่ มาจากส่วนประกอบอะไรบ้าง เหมือนแยกส่วนของ

ร่างกายออกให้เห็นเป็นหนัง เส้นเอ็น กระดูก ปอด หัวใจ เป็นต้น จะทำให้ ง่ า ยต่ อ การแปลและการเข้ า ใจเข้ า ถึ ง ศั พ ท์ ไ ด้ ท างหนึ่ ง เพราะผู้ ที่ รู้ รู ป วิเคราะห์ของศัพท์ดีย่อมแปลหนังสือได้ดี เมื่อแต่งภาษาบาลีย่อมใช้ศัพท์ ได้เหมาะสม คม ถูก และได้ความชัดเจน

วัตถุประสงค์หลักของหนังสือเล่มนี้ คือมุง่ รวบรวมรูปวิเคราะห์ศพั ท์ ทีก่ ระจัดกระจายอยูใ่ นคัมภีรต์ า่ งๆ มาไว้เป็นหมวดหมูโ่ ดยเฉพาะเท่าทีจ่ ะ สามารถรวบรวมได้ และมุ่งให้เป็นพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ ด้านภาษาบาลี เพื่อค้นหาได้โดยสะดวก ไม่ต้องเสียเวลาไปค้นหาจาก ต้นตอซึ่งมีอยู่ในที่หลายแห่ง และพอให้เป็นแนวทางสำหรับค้นคว้าต่อไป สำหรับผู้ใฝ่ในทางนี้ ทั้งเพื่อใช้เป็นคู่มือสำหรับครูนักเรียนผู้สอนผู้เรียน


พระมหาโพธิวงศาจารย์ (ทองดี สุรเตโช)

(9)

บาลีและผู้สนใจภาษานี้โดยทั่วไป จะได้เรียนรู้ถึงรากฐานของศัพท์แต่ละ ศัพท์วา่ มีทมี่ าทีไ่ ปอย่างไร สำเร็จเป็นรูปเช่นนัน้ ได้อย่างไร อมความหมาย ทีแ่ ท้จริงอะไรไว้ อันจะสือ่ ส่งให้เข้าถึงภาษาโดยตรง มิใช่เพียงให้แปลและ เข้าใจภาษาได้เท่านัน้ เมือ่ เข้าถึงแล้วก็จะสามารถแปลศัพท์และใช้ศพั ท์ได้ อย่างถูกต้อง เพราะศัพท์บาลีจำนวนไม่นอ้ ยทีแ่ ปลเหมือนกันแต่ใช้ตา่ งกัน เช่นศัพท์วา่ นตฺตุ ภาคิเนยฺย ซึง่ แปลเป็นไทยว่า หลาน เหมือนกัน แต่ใช้ ต่ า งกั น คื อ ศั พ ท์ แ รกหมายถึ ง หลานที่ เ ป็ น ลู ก ของลู ก ส่ ว นศั พ ท์ ห ลั ง หมายถึงหลานทีเ่ ป็นลูกของพีห่ รือน้อง เป็นต้น

วัตถุประสงค์แฝงอีกประการหนึง่ คือเพือ่ ต้องการให้เห็นถึงความฉลาด สามารถของเหล่าอารยชนในอดีต ในการกำหนดหาทีม่ าทีไ่ ปของศัพท์ทใี่ ช้ กันอยู่บ้าง ในการบัญญัติศัพท์ใหม่บ้าง ในการพลิกแพลงตัดแต่งจนได้

รูปศัพท์ทลี่ งตัว ไพเราะ งดงาม สละสลวย และอมความหมายชัดเจนอย่าง ที่ ป รากฏอยู่ ภาษาบาลี เ ป็ น ภาษาของอารยชนและมี วิ วั ฒ นาการมา ยาวนานเช่นนี้ พระพุทธเจ้าจึงทรงเลือกใช้เป็นภาษาสำหรับถ่ายทอด

คำสอนของพระองค์ และมัน่ คงยัง่ ยืนมาตราบเท่าทุกวันนี้

เนื่องจากรูปวิเคราะห์ที่นำมาแสดงไว้นี้ได้นำมาจากคัมภีร์ต่างๆ

ดังที่ปรากฏอยู่ในบรรณานุกรมท้ายเล่มนั้น และในแต่ละแห่งก็วิเคราะห์

ต่ า งกั น ไปตามความรู้ แ ละความเข้ า ใจของผู้ แ ต่ ง คั ม ภี ร์ นั้ น ๆ ดั ง นั้ น

ศัพท์บางศัพท์จงึ มีรปู วิเคราะห์หลายแบบทัง้ มีธาตุ ปัจจัย เป็นต้น แตกต่าง กันไปตามความหมาย และพึงทราบว่าได้เก็บมาแสดงเป็นบางส่วนเท่านัน้ มิได้เก็บมาทั้งหมดที่มีอยู่ในคัมภีร์ต้นฉบับ มิเช่นนั้นจะดูเฝือและจับหลัก

ได้ยากเพราะมากเกินไป แสดงพอเป็นตัวอย่างเพือ่ สืบค้นกันเองต่อไป

ความจริงหนังสือประเภทนีม้ ผี เู้ คยทำมาบ้างแล้ว แต่มจี ำนวนศัพท์ ไม่มากนักหรือมีศัพท์มากแต่มิได้ทำเป็นรูปพจนานุกรม สำหรับเล่มนี้


(10)

ศัพท์วิเคราะห์

จั ด ทำในรู ป พจนานุ ก รมโดยเก็ บ ศั พ ท์ ไ ว้ ไ ด้ จ ำนวน ๔,๗๙๖ ศั พ ท์

มีรูปวิเคราะห์จำนวน ๗,๑๕๔ วิเคราะห์ สำหรับศัพท์ที่นำมาแสดงนั้น

ส่วนมากเป็นศัพท์นาม ส่วนศัพท์คณ ุ นามเช่นศัพท์ทสี่ ำเร็จรูปมาจากสมาส ได้นำมาแสดงไว้นอ้ ย เพราะศัพท์ประเภทนัน้ ส่วนใหญ่ไม่ยากนักและเป็นที่ เข้าใจกันโดยมากแล้ว หากจะนำศัพท์เช่นนัน้ มาแสดงไว้ดว้ ยเกรงว่าจะต้อง เพิม่ ความหนาแก่หนังสือนีโ้ ดยไม่จำเป็น จึงเว้นเสียไม่นำมาแสดงไว้

นอกจากวัตถุประสงค์ดังกล่าวข้างต้นอันเป็นผลที่คาดว่าจะได้รับ จากหนังสือนีแ้ ล้ว ยังหวังจะฝากผลงานด้านนีไ้ ว้ให้ปรากฏสืบไปภายหน้า เพือ่ เป็นปัญญาบารมีสำหรับแทงตลอดพุทธธรรมในภพชาติตอ่ ไปด้วย

ขออนุญาตและขอขอบคุณผูเ้ ป็นเจ้าของคัมภีรห์ รือหนังสือทีอ่ า้ งถึง ทัง้ ทีล่ ว่ งลับไปแล้วและทีย่ งั มีชวี ติ อยูไ่ ว้ ณ ทีน่ ี้ ขอให้ทกุ ท่านทีม่ สี ว่ นแห่ง กุศลสำคัญนี้ในฐานะผู้ให้กำเนิดหรือนำรูปวิเคราะห์ต่างๆ มาเปิดเผยให้ เรียนรู้กันโดยทั่วไป ขอได้รับความเคารพนับถือ ความขอบคุณ และ

ความศรัทธายกย่องในทุกท่านจากใจแท้จริง

ขอพระสัทธรรมขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า จงสถิตเสถียร มั่นคงมีความผุดผ่องถูกต้องไม่ผิดเพี้ยนอยู่ในโลกสันนิวาสนี้ไปตลอด

กาลนาน เป็นแสงสว่างทางปัญญาและเป็นบ่อเกิดแห่งธรรมจักษุแก่ชาวโลก โดยส่องทางดำเนินชีวิตเพื่อลุถึงความสิ้นทุกข์โดยชอบ และขอเหล่าสัตว์ โลกจงกอปรด้วยสัมมาทิฐแิ ละมีสนั ติสขุ โดยถ้วนหน้ากัน เทอญ.

(พระธรรมกิตติวงศ์) วัดราชโอรสาราม เขตจอมทอง กรุงเทพฯ ๕ มกราคม ๒๕๕๐


พระมหาโพธิวงศาจารย์ (ทองดี สุรเตโช)

(11)

คำชี้แจงเบื้องตน - ศัพท์ที่นำมาวิเคราะห์นี้ได้นำมาจากคัมภีร์อภิธานัปปทีปิกา เป็นหลักและจากที่อื่นๆ บ้าง แต่ก็เป็นส่วนน้อย รวมถึงรูปวิเคราะห์ ที่ท่านแสดงให้ดูไว้เป็นตัวอย่างส่วนหนึ่งด้วย แต่มิได้นำมาทั้งหมด ด้วยเห็นว่าบางศัพท์มีรูปวิเคราะห์ไม่ยากสามารถเรียนรู้และวิเคราะห์ ด้ ว ยตนเองได้ และประกอบกั บ หนั ง สื อ นี้ มุ่ ง แสดงศั พ ท์ วิ เ คราะห์ มากกว่าความหมายของศัพท์หรือพจนานุกรมศัพท์ ดังนัน้ จึงยังมีศพั ท์ อีกเป็นจำนวนมากทีม่ ไิ ด้นำมาแสดง และแม้ศพั ท์ทนี่ ำมาแสดงไว้แล้ว เหล่านี้ก็ยังจะมีรูปแบบวิเคราะห์เป็นอย่างอื่นได้อีก หากได้ศึกษา ค้นคว้าจากหนังสือต่างๆ แสดงพอเป็นตัวอย่างให้เห็นทางเท่านัน้ - ศัพท์ทนี่ ำมาวิเคราะห์นนั้ มีทงั้ ศัพท์นาม ศัพท์คณ ุ นาม ศัพท์ กิรยิ านาม ศัพท์กริ ยิ าวิเสสนะ ศัพท์สมาส ศัพท์ตทั ธิต แต่มไิ ด้บอกไว้ ว่าเป็นศัพท์ประเภทใด เพราะหากบอกไว้ด้วยก็จะเฝือหรือกลายเป็น เรือ่ งอืน่ ไป ด้วยในทีน่ มี้ งุ่ แสดงรูปวิเคราะห์เป็นประมาณ - นอกจากศัพท์ที่เป็นตัวตั้งและคำแปลแล้ว ยังได้เพิ่มศัพท์ ทีแ่ ปลหรือมีความหมายเดียวกันไว้ในวงเล็บข้างท้ายด้วย เพือ่ ให้ทราบ ว่าศัพท์ทมี่ คี วามหมายอย่างเดียวกัน หรือศัพท์ทเี่ ป็นไวพจน์ของศัพท์ นัน้ ยังมีอกี แต่ในกรณีทมี่ ศี พั ท์ประเภทเดียวกันเกินกว่า ๕ ศัพท์ขนึ้ ไป ก็ยกมาแสดงเป็นบางส่วน ทีเ่ หลือได้ใช้ ฯเปฯ แทน และในกรณีศพั ท์ ประเภทเดียวกันมีมากศัพท์และเป็นที่รู้กันโดยทั่วไปอยู่แล้วก็ละเสีย ไม่แสดงไว้ ย่อมเป็นอันรูก้ นั โดยนัยแล้ว


(12)

ศัพท์วิเคราะห์

- การเขียนธาตุที่นิยมใช้กันมี ๒ แบบ คือแบบที่มีพินทุ เช่น กรฺ มรฺ วทฺ กับแบบทีไ่ ม่มพี นิ ทุ เช่น กร มร วท ในทีน่ เี้ ลือกใช้แบบไม่มี พินทุตามแบบของไวยากรณ์บาลีทศี่ กึ ษากันโดยมากในสมัยปัจจุบนั

- ปัจจัยบางตัวเมื่อลงแล้วนิยมลบทิ้งคือไม่มีรูปปรากฏ ได้แก่ กฺ วิ ปั จ จั ย ณ ปั จ จั ย และปั จ จั ย ที่ เ นื่ อ งด้ ว ย ณ เช่ น ณฺ ย เณยฺ ย

เพราะฉะนั้นจึงมิได้บอกไว้ว่าให้ลบทิ้ง เป็นอันเข้าใจกันโดยนัยว่า

ทีไ่ ม่ปรากฏอยูใ่ นรูปสำเร็จเพราะถูกลบทิง้ ไป

- มีธาตุหลายตัวทีล่ งท้ายด้วย ม นิยมใช้เป็น ๒ แบบ คือมี อ กับมี อุ อยูท่ า้ ย เช่น กม-กมุ ขม-ขมุ คม-คมุ ตม-ตมุ ทม-ทมุ นม-นมุ ในทีน่ เี้ ลือกใช้แบบหลังเป็น กมุ ขมุ คมุ ตมุ เป็นหลัก แต่ อุ ทีอ่ ยูท่ า้ ย นั้นมีคา่ เท่ากับ อ คือมีกเ็ หมือนไม่มี ในรูปสำเร็จจึงมิได้บอกไว้วา่ ลบ เสีย เป็นอันเข้าใจกันว่าลบ คือมีคติเหมือน ณ และ กฺวิ ดังกล่าวข้างต้น

- ธาตุทรี่ ะบุไว้ถอื ตามคัมภีรอ์ ภิธานัปปทีปกิ าเป็นหลัก ซึง่ เมือ่ ตรวจสอบแล้วมีจำนวนไม่นอ้ ยทีท่ า่ นใช้ตา่ งจากคัมภีรอ์ นื่ ๆ และคัมภีร์ อืน่ ๆ นัน้ เล่าก็ยงั แตกต่างกันไปอีก ทำให้พอจับหลักได้วา่ การกำหนด ธาตุนั้นๆ ท่านกำหนดตามแบบของสำนักที่ตนได้ศึกษาเล่าเรียนมา เช่น อก กับ องฺก, อิทิ กับ อินทฺ , อิส กับ อีส, ทิป กับ ทิปปฺ เป็นต้น

แต่ธาตุทมี่ ลี กั ษณะเช่นนีต้ า่ งกันโดยพยัญชนะเท่านัน้ ส่วนความหมาย หาต่างกันไม่ จึงสรุปได้วา่ ใช้ได้ทงั้ สองรูป

- ปัจจัยที่ระบุไว้ในคำอธิบายก็มีลักษณะเดียวกับธาตุ คือใน แต่ละคัมภีร์ท่านใช้ต่างกันอยู่ ที่พบบ่อยคือระหว่าง อ ปัจจัย กับ ณ ปัจจัย เพราะในรูปสำเร็จไม่ปรากฏให้เห็นทั้งสองปัจจัย แต่หากพินิจ และเปรียบเทียบกันบ่อยๆ ย่อมมองออกว่าในกรณีใดท่านใช้ อ ปัจจัย


พระมหาโพธิวงศาจารย์ (ทองดี สุรเตโช)

(13)

ในกรณีใดท่านใช้ ณ ปัจจัย เพราะฉะนั้น หากเห็นว่าใช้ปัจจัยผิดไป จากคัมภีรท์ ตี่ นศึกษามาก็พงึ หาคัมภีรอ์ นื่ มาเทียบกันดู

- ในคำอธิบายรูปวิเคราะห์จะมีคำหนึ่งที่ใช้บ่อยมาก คือคำว่า

“บทหน้า” คำนี้ หมายถึงศัพท์ที่เป็นนามบ้าง เป็นอุปสรรคบ้าง เป็น

คำเต็มบ้าง ตัดย่อมาเฉพาะพยางค์หน้าบ้าง ใช้ศัพท์อื่นมาแทนศัพท์

ทีม่ อี ยูใ่ นรูปวิเคราะห์และมีความหมายอย่างเดียวกันบ้าง เช่น กนฺท ไหล, เหง้า, เหง้าบัว, หัวมัน กํ สุขํ เทตีติ กนฺโท สิ่งที่ให้ความสุข (ก บทหน้า ทา

ธาตุในความหมายว่าให้ อ ปัจจัย) กุสล กุศล, ความดี, กรรมดี กุจฉฺ เิ ต ปาปธมฺเม สลยติ จลยติ กมฺเปติ วิทธฺ เํ สตีติ กุสลํ

กรรมทีย่ งั บาปธรรมทีน่ า่ รังเกียจให้หวัน่ ไหว (กุ บทหน้า

สล ธาตุในความหมายว่าหวัน่ ไหว อ ปัจจัย)

- ในบางรูปวิเคราะห์มไิ ด้แสดงรายละเอียดของรูปสำเร็จเหมือน ศัพท์ทปี่ รากฏโดยมาก เป็นแต่แสดงแบบย่อๆ ไว้ในวงเล็บ เช่น ชี มู ต กาเล สญฺ ช าตตฺ ต า ชี มู โ ต หญ้าที่เกิดในฤดูฝน

(ชีมตู +ณ) หยานํ อนีกํ หายนีกํ หมูแ่ ห่งม้า (หย+อนีก) พึงทราบว่าที่ไม่แสดงโดยละเอียดเพราะรูปวิเคราะห์เช่นนี้พอ เข้าใจกันได้วา่ หมายถึงอะไร ตัวไหนเป็นบทหน้า เป็นศัพท์ เป็นธาตุ เป็นปัจจัย จึงมิได้แสดงรายละเอียด หากแสดงไว้อาจเป็นเรื่องที่เฝือ และรุงรังไปก็ได้

- ศัพท์ที่มีรูปวิเคราะห์หลายแบบ แต่มีธาตุและปัจจัยเหมือน กันแสดงรายละเอียดไว้เฉพาะรูปวิเคราะห์แรก ส่วนรูปวิเคราะห์หลัง


(14)

ศัพท์วิเคราะห์

แสดงไว้แต่เพียงว่า (เหมือนวิ.ต้น) พึงเข้าใจว่ามีธาตุ ปัจจัย และราย ละเอียดเหมือนรูปวิเคราะห์ทแี่ สดงมาแล้วข้างต้น

- คำแปลธาตุ คือทีร่ ะบุวา่ “...ธาตุในความหมายว่า...” เช่น “กร ธาตุในความหมายว่าทำ” ก็เป็นการแปลหรือให้ความหมายไปตามที ่ ครูอาจารย์นยิ มแปลกันบ้าง แปลตามตำราบ้าง ด้วยเหตุนธี้ าตุบางธาตุ จึงมีคำแปลหลากหลาย ยักเยือ้ งไปตามความหมายทีแ่ ท้จริงของศัพท์ เช่น อิส, อีส ธาตุ แปลว่าไป, แสวงหา, เบียดเบียน, ให้, ปรารถนา, ต้องการ, จร ธาตุ แปลว่าไป, เที่ยวไป, ประพฤติ, กิน, พิจารณา, ศึกษา, สะสม, ทิป ธาตุ แปลว่ารุง่ เรือง, สว่าง, ลุกโพลง เป็นต้น ดังนัน้ หากเห็นว่าธาตุเดียวกันแต่แปลหรือให้ความหมายต่างกัน ก็พงึ ทราบ ว่าเป็นการยักเยือ้ งแปลเพือ่ ให้ได้ใจความเท่านัน้

- ในบางกรณีแม้จะแปลโดยยึดหลักภาษาหรือหลักการแปล วิเคราะห์แล้วก็ยังไม่ได้ความหมายชัดเจนอยู่ดี จึงได้ขยายความไว้

ตอนท้ายอีกเล็กน้อยพอเป็นทีเ่ ข้าใจ เช่น โกสล แคว้นโกศล กุสลํ ปุจฺฉนฺตีติ โกสลา แคว้นที่ผู้คนถามถึงแต่ความดี

หมายถึง แคว้นของคนใจดีคนใจบุญ ขารก ต้นปีบ, กาซะลอง, ต้นอ้อยช้าง ขรตี ติ ขารโก ต้นไม้ที่ตัด คือตัดกลิ่นเหม็นกลิ่นฉุน

เพราะดอกมีกลิน่ หอม

- สระทีไ่ ม่ปรากฏรูป คือ อ ซึง่ อยูท่ า้ ยธาตุบา้ ง ท้ายปัจจัยบ้าง เช่น กร วจ อิย เอยฺย ในรูปสำเร็จหากมิได้บอกไว้วา่ ลบสระทีส่ ดุ ธาตุ หรือลบสระทีส่ ดุ ปัจจัย หรือลบสระหน้าก็พงึ ทราบว่ามีการลบ ในกรณี เข้าสมาสหรือสนธิ


พระมหาโพธิวงศาจารย์ (ทองดี สุรเตโช)

(15)

- รูปวิเคราะห์ที่ปรากฏอยู่ในที่นี้ได้นำมาจากหนังสือต่างๆ

ทีท่ า่ นผูร้ จนาหนังสือเล่มนัน้ ได้แสดงไว้ และส่วนใหญ่กม็ หี ลายรูปแบบ วิเคราะห์เหมือนกันบ้าง ต่างกันบ้าง ระบุธาตุ ระบุปจั จัยเหมือนกันบ้าง ต่างกันบ้าง รวมถึงรายละเอียดต่างๆ ทีแ่ ตกต่างกันไป แสดงถึงความ หลากหลายของความรู้ ความเข้าใจ และวิธกี ารของแต่ละอาจารย์แต่ละ สำนัก ดังนัน้ ในเล่มนี้ ศัพท์หนึง่ อาจมีวเิ คราะห์หลายรูปแบบ พึงเข้าใจ ว่าแต่ละแบบก็เป็นมติของแต่ละอาจารย์ทา่ นผูร้ ู้

- รูปวิเคราะห์ศพั ท์นนั้ มีอยูห่ ลายแบบหลายลักษณะ คือแบบมี

อิติ บ้าง แบบวางศัพท์ คือ ภาว ตฺต ตา โต โยค ภว ชาต หิต ไว้หน้า บ้าง แบบภาวสาธนะบ้าง ตัวอย่างเช่น - ปุรเิ สหิ อิจฉฺ ยี เตติ อิตถฺ ี (แบบมี อิต)ิ - กปิลวณฺณตาย กปิโล (แบบวางศัพท์) - กิตวสฺส ชูตการสฺส กมฺมํ เกตวํ (แบบวางศัพท์) - มชฺเฌ ภวํ มชฺฌมิ ํ (แบบวางศัพท์) - ภวนํ ภโว (แบบภาวสาธนะ) แต่มีข้อสังเกตอยู่ว่า ศัพท์ทุกศัพท์ที่ปรากฏอยู่ในรูปสำเร็จจะ ต้องมีอยูใ่ นรูปวิเคราะห์ เว้นศัพท์ทใี่ ช้ศพั ท์อนื่ ซึง่ มีความหมายเหมือน กันแทนหรือใช้ปจั จัยแทนเท่านัน้ แต่ศพั ท์ทอี่ ยูใ่ นรูปวิเคราะห์ไม่จำต้อง มีอยูใ่ นรูปสำเร็จทุกศัพท์ เพราะส่วนใหญ่เป็นศัพท์ขยายความ

- การใช้ศัพท์กิริยาในรูปวิเคราะห์โดยเฉพาะกิริยาอาขยาต

แม้เป็นธาตุเดียวกัน มีวภิ ตั ติเหมือนกัน มีความหมายเดียวกัน แต่มรี ปู ไม่เหมือนกัน กลายเป็นความหลากหลาย และทำให้หลากใจว่าคำไหน ถูกต้อง ทีเ่ ป็นดังนี้กเ็ นื่องมาจากรูปวิเคราะห์ทปี่ รากฏเหล่านี้ได้นำมา จากหลายตำราหลายครูอาจารย์ซงึ่ ก็ถกู ต้องด้วยกัน เป็นแต่ทา่ นเลือก


(16)

ศัพท์วิเคราะห์

ใช้ตามที่ท่านชอบเท่านั้น เช่น อิจฺฉติ-อิจฺฉเต, อิจฺฉิยติ-อิจฺฉียเต, คมิยเต-คมฺยเต เป็นต้น

- เรื่องลิงค์ ก็เป็นอีกเรื่องหนึ่งซึ่งมีความต่างกันอยู่มาก ทั้งนี้ เพราะมีหลายศัพท์ที่เป็นได้สองลิงค์ บางศัพท์เป็นได้สามลิงค์ ในรูป วิเคราะห์จงึ จำเป็นต้องเลือกอย่างใดอย่างหนึง่ จะแสดงไว้ทงั้ หมดก็จะ ดูรุงรังและเฝือ ผู้รู้พึงปรับเปลี่ยนลิงค์ศัพท์วิเคราะห์ตามที่เป็นได้ด้วย ตนเองเถิด เช่นศัพท์ทเี่ ป็นคุณนามปกติกเ็ ป็นได้ทงั้ สามลิงค์ แต่ทแี่ สดง ไว้เป็นตัวอย่างนี้เป็นปุงลิงค์ เมือ่ ต้องการนำไปประกอบกับศัพท์ทเี่ ป็น อิตถีลิงค์หรือนปุงสกลิงค์ ก็พึงเปลี่ยนเป็นอิตถีลิงค์หรือนปุงสกลิงค์ ตัวอย่างเช่น อคฺค ศัพท์ แสดงไว้เป็น อคฺโค เปลีย่ นเป็น อคฺคา เมือ่ ประกอบกับศัพท์อิตถีลิงค์ เปลี่ยนเป็น อคฺคํ เมื่อประกอบกับศัพท์ที่ เป็นนปุงสกลิงค์

- อักษรทีน่ ยิ มใช้แทนกันได้ คือ ล กับ ฬ, ว กับ พ,  กับ ถ

มีอยู่ไม่น้อย และท่านใช้ทั้งสองอย่างในคัมภีร์ต่างๆ เช่น กลิงฺครกฬิงคฺ ร โกวิลาร-โกวิฬาร กเฬวร-กเฬพร กปิฏฺ -กปิตถฺ ในทีน่ จี้ ะแสดง ไว้เพียงแบบเดียวเพือ่ ความสะดวกในการค้นหารูปวิเคราะห์ แต่บางที่ ก็อธิบายว่าใช้อกี แบบหนึง่ ก็มี ดังนัน้ หากไม่พบในแบบหนึง่ ก็พงึ ค้นไป อีกแบบหนึ่ง และพึงเข้าใจว่าเมื่อพบแบบหนึ่งแล้วอีกแบบหนึ่งก็มี วิเคราะห์เช่นเดียวกัน ต่างกันแต่เพียงแปลงอักษรเป็นอย่างนัน้ อย่างนี้ เท่านัน้

- คำแปลศัพท์ในหนังสือนีม้ ี ๒ แบบ คือคำแปลทีอ่ ยูห่ ลังศัพท์

ที่ยกไว้เป็นหัวข้อกับคำแปลที่อยู่หลังศัพท์ที่เป็นรูปสำเร็จ แบบแรก เป็นการแปลตามปกติหรือทีเ่ รียกกันว่าแปลโดยอรรถ มุง่ ใจความหรือ

ความหมายโดยตรง ไม่คำนึงถึงที่มาที่ไปมากนัก ส่วนแบบหลังเป็น


พระมหาโพธิวงศาจารย์ (ทองดี สุรเตโช)

(17)

การแปลตามรูปวิเคราะห์ เก็บความตามแบบแห่งการแปลโดยพยัญชนะ ทีแ่ ปลดังนีก้ เ็ พือ่ รักษาหลักภาษาเดิมของท่านไว้ เช่น มุทงิ คฺ ตะโพน มุ ทํ โมทํ อิ งฺ ค ติ คจฺ ฉ ติ เยนาติ มุ ทิ งฺ โ ค กลองเป็น

เครือ่ งถึงความบันเทิง คำแปลว่า ตะโพน เป็นคำแปลที่ใช้ทั่วไป คำแปลหลังศัพท์ สำเร็จรูปว่า กลอง เป็นเครื่องถึงความบันเทิง เป็นคำแปลตามรูป วิเคราะห์หรือตามรูปศัพท์

- คำแปลตามรูปวิเคราะห์ซงึ่ เป็นการแปลเพือ่ รักษาหลักภาษา เดิมของท่านไว้นนั้ ได้แปลตามความนิยมทีก่ ำหนดขึน้ ในแวดวงปริยตั ิ ในประเทศไทย กล่าวคือ กำหนดตามสาธนะทีป่ รากฏอยูใ่ นรูปวิเคราะห์ ดังนี้ กัตตุสาธนะ นิยมแปลว่า ผู,้ สิง่ กัมมสาธนะ นิยมแปลว่า เป็นที่ ภาวสาธนะ นิยมแปลว่า การ, ความ กรณสาธนะ นิยมแปลว่า เป็นเครือ่ ง, เป็นเหตุ สัมปทานสาธนะ นิยมแปลว่า เป็นที่ อปาทานสาธนะ นิยมแปลว่า เป็นแดน อธิกรณสาธนะ นิยมแปลว่า เป็นที่ คำแปลข้างต้นนัน้ เฉพาะรูปวิเคราะห์ทเี่ ป็นกัตตุวาจก หากเป็น

กัมมวาจก นิยมเพิม่ คำว่า “อันเขา” เข้าไปด้วยเป็น “ผูอ้ นั เขา เป็นที่

อันเขา เป็น เครื่ องอันเขา เป็นแดนอันเขา” ดังนั้ น ผู้ ที่ไม่เคยผ่ าน กระบวนการแปลแบบนี้มาก่อน อาจเห็นว่าเป็นการแปลที่เยิ่นเย้อ รุงรัง ไม่สละสลวย และเข้าใจยาก ทีแ่ สดงไว้ในทีน่ กี้ เ็ พือ่ รักษาแบบของ ท่านไว้เป็นสำคัญ.


18

สารบัญ หมวดอักษร

หน้า

หมวดอักษร

หน้า

ค ำนำครั้งที่ ๒ (๓) € ๓๗๓ คำนำครั้งที่ ๑ (๕) ฑ ๓๗๔ คำปรารภ (๗) ณ ๓๗๔ คำชี้แจงเบื้องต้น (๑๑) ต ๓๗๕-๔๐๔ สารบัญ ถ ๔๐๔ - ๔๐๙ อ ๑ - ๘๕ ท ๔๐๙ - ๔๔๔ อา ๘๖ - ๑๑๔ ธ ๔๔๔ - ๔๕๖ อิ ๑๑๕ - ๑๒๓ น ๔๕๗ - ๕๐๑ อี ๑๒๔ ป ๕๐๑ - ๖๑๒ อุ ๑๒๕ - ๑๕๙ ผ ๖๑๓ - ๖๑๙ อู ๑๖๐ พ ๖๑๙ - ๖๔๐ เอ ๑๖๑ - ๑๖๖ ภ ๖๔๑ - ๖๖๔ โอ ๑๖๗ - ๑๗๓ ม ๖๖๕ - ๗๒๔ ก ๑๗๔ - ๒๗๔ ย ๗๒๔ - ๗๓๔ ข ๒๗๕ - ๒๘๘ ร ๗๓๕ - ๗๕๖ ค ๒๘๙ - ๓๑๘ ล ๗๕๖ - ๗๗๑ ฆ ๓๑๙ - ๓๒๒ ว ๗๗๑ - ๘๕๔ จ ๓๒๓ - ๓๔๒ ส ๘๕๕ - ๙๘๐ ฉ ๓๔๓ - ๓๔๙ ห ๙๘๑ - ๙๙๔ ช ๓๔๙ - ๓๖๙ พจนานุกรมธาตุ ๙๙๕ - ๑๐๙๑ ฌ ๓๖๙ - ๓๗๐ ดัชนี ๑๐๙๓ - ๑๑๕๗ ๓๗๑ - ๓๗๒ บรรณานุกรม ๑๑๕๘ ฏ ๓๗๓

รายละเอียดแต่ละคำดูดัชนีท้ายเล่ม


พระมหาโพธิวงศาจารย์ (ทองดี สุรเตโช)

1

สัททวิคคหทีปนี อ อํส ๑ อังสะ, บ่า, ไหล่ (ภุชสิร ขนฺธ)

- อนติ ชีวติ เอเตนาติ อํโส อวัยวะเป็นเครื่องดำรงชีวิต (อน ธาตุ ในความหมายว่ามีชีวิตอยู่ ส ปัจจัย, แปลง น เป็นนิคหิต) - อมติ คจฺฉตีติ อํโส อวัยวะที่เป็นไป (อม ธาตุในความหมายว่าไป, เป็นไป ส ปัจจัย, แปลง ม เป็นนิคหิต) อํส ๒ องศา, ส่วน, ภาค (ปฏิวึส โกฏฺ€าส ภาค) อมติ คจฺฉตีต ิ อํโส ส่วนที่เป็นไปตามปกติ (อม ธาตุในความ หมายว่าไป, เป็นไป ส ปัจจัย, แปลง ม เป็นนิคหิต) อํสุ รังสี, รัศมี, แสง, แสงสว่าง (รํสิ อาภา ปภา ทิตฺติ ชุติ ฯเปฯ) อมติ คจฺฉติ ทิสนฺตนฺติ อํสุ สิ่งที่ไปได้สุดทิศทาง (อม ธาตุใน ความหมายว่าไป, เป็นไป อุ ปัจจัย, ลง ส อาคม, แปลง ม เป็น นิคหิต) อํสุก ผ้า, เครื่องนุ่งห่ม (วตฺถ เจล อจฺฉาทน วาส ปฏ ฯเปฯ) พหิ อมติ คจฺฉติ อเนนาติ อํสุกํ สิ่งเป็นเครื่องไปภายนอก คือใช้ นุ่งห่มออกไปข้างนอก (อม ธาตุในความหมายว่าไป ณฺวุ ปัจจัย, แปลง อม เป็น อํส, ณฺวุ เป็น อก, อ เป็น อุ)


2

ศัพท์วิเคราะห์

อํสุมาลี ดวงอาทิตย์ (อาทิจฺจ สูริย สูร สตรํสิ ทิวากร ฯเปฯ)

อํสุโน มาลา อํสุมาลา, สา ยสฺส อตฺถีติ อํสุมาลี ดวงไฟที่มี ระเบียบแห่งแสง คือมีแสงกระจายออกมา (อํสุ+มาลา+อี) อก ความทุกข์, เวทนา, บาป น กํ สุขนฺติ อกํ สภาวะที่มิใช่ความสุข (น+ก, แปลง น เป็น อ) อกต พระนิพพาน (นิพฺพาน โมกฺข นิโรธ ทีป ตณฺหกฺขย ฯเปฯ) น เกหิจิ ปจฺจเยหิ กตํ, ปจฺจเยหิ น กตนฺติ วา อกตํ สภาวะอัน ปัจจัยอะไรๆ ทำไม่ได้แล้ว คือปัจจัยอะไรปรุงแต่งไม่ได้ (น+กต, แปลง น เป็น อ) อกตญฺญู ๑ ผู้รู้พระนิพพาน อกตํ ชานาตีติ อกตญฺตู ผู้รู้ซึ่งสภาวะอันปัจจัยอะไรๆ ทำไม่ได้ แล้ว (อกต บทหน้า า ธาตุในความหมายว่ารู้, รู ปัจจัย ซ้อน ฺ ลบสระที่สุดธาตุและ รฺ) อกตญฺญู ๒ คนอกตัญญู, ผู้ไม่รู้คุณคน น กตํ อุปการํ ชานาตีติ อกตญฺญู ผู้ไม่รู้อุปการะอันเขาทำแล้ว (น+กต บทหน้า า ธาตุในความหมายว่ารู้, รู ปัจจัย ซ้อน ฺ ลบสระที่สุดธาตุและ รฺ) อกนิฏฺ€า พระพรหมชั้นอกนิษฐ์, พรหมโลกชั้นอกนิษฐ์ อุกฺกฏฺ€สมฺปตฺตีหิ โยคโต นตฺถิ เอเตสํ กนิฏฺ€า สมฺปตฺตีต ิ

อกนิฏ€ฺ า ผูม้ สี มบัตเิ ล็กน้อยหามิได้ (น+กนิฏ€ฺ า, แปลง น เป็น อ) อกลฺล โรค, ความเจ็บป่วย (อาตงฺก อามย โรค คท ฯเปฯ) น กลติ เยน ตํ อกลํ, ตเมว อกลฺลํ อาการเป็นเหตุดำเนินไปไม่ได้

(น บทหน้า กล ธาตุในความหมายว่าไป, เป็นไป ล ปัจจัย, แปลง น เป็น อ, หรือลง ณฺย ปัจจัย แปลง ณฺย กับ ล เป็น ลฺล)


พระมหาโพธิวงศาจารย์ (ทองดี สุรเตโช)

3

อกิญฺจน คนจน, ผู้ตกยาก, ผู้ไม่มีความกังวล (ทีน ทลิทฺท นิทฺธน

ทุคฺคต) นตฺถิ กิญฺจนํ อปฺปมตฺตกมฺปิ ธนํ อสฺสาติ อกิญฺจโน ผู้ไม่มี เครื่องห่วงใย คือทรัพย์แม้เพียงเล็กน้อย (น+กิญฺจน, แปลง น เป็น อ) อกิลาสุ คนขยัน (นิกฺโกสชฺช) - อกึ อปฺปํ ลสตีติ อกิลาสุ ผูย้ นิ ดีนอ้ ย (อกิ บทหน้า ลส ธาตุใน ความหมายว่ายินดี ณุ ปัจจัย, ลบ ณฺ, พฤทธิ์ อ เป็น อา) - กุจฺฉิตํ ลสตีติ กิลาสุ, น กิลาสุ อกิลาสุ ผู้ยินดีในอาการที่

น่ารังเกียจหามิได้ (น บทหน้า ลส ธาตุในความหมายว่ายินดี

ณุ ปัจจัย, แปลง น เป็น อ, ลบ ณฺ) อกฺก ๑ ดวงอาทิตย์ (อาทิจฺจ เวโรจน ปภงฺกร อํสุมาลี ฯเปฯ) เทเวหิปิ อจฺจเต ปูชียเตติ อกฺโก ดวงไฟที่แม้พวกเทวดาก็บูชา (อจฺจ ธาตุในความหมายว่าบูชา อ ปัจจัย, แปลง จฺจ เป็น กฺก) อกฺก ๒ ต้นรัก, ไม้รักแดง อกฺโก สุริโย, ตปฺปริยายนามกตฺตา อรติ ยาตีติ อกฺโก ต้นไม้ที่มี ชื่อโดยอ้อมเหมือนดวงอาทิตย์ (อกฺก+ณ) อกฺข ๑ อินทรีย์, ตา, ดวงตา - อุขติ คจฺฉติ วิสเยติ อกฺขํ อวัยวะที่เป็นไปในอารมณ์ (อุข ธาตุใน

ความหมายว่าไป, เป็นไป อ ปัจจัย, แปลง อุ เป็น อ, ซ้อน กฺ) - นตฺถิ ขํ เวทนา เอตฺถาติ อกฺขํ อวัยวะที่ไม่มีเวทนา (น+ข

บทหน้า แปลง น เป็น อ, ซ้อน กฺ)


4

อกฺข ๒ เพลารถ

ศัพท์วิเคราะห์

อรนฺติ ยนฺติ อเนนาติ อกฺโข ชิ้นส่วนเป็นเครื่องเป็นไปได้แห่งรถ (อร ธาตุในความหมายว่าไป, เป็นไป ข ปัจจัย, ลบ ร ที่สุดธาตุ, ซ้อน กฺ) อกฺข ๓ ลูกเต๋า, ลูกบาศก์, ลูกสกา, คะแนน, การพนัน อกติ เอเตนาติ อกฺโข วัตถุอันเขาใช้ไป คือทอดไป โยนไป (อก ธาตุในความหมายว่าไป ข ปัจจัย, ลบสระหน้า) อกฺข ๔ สมอพิเภก (วิภีตก วิภีฏก) โรคํ อสติ ภกฺขตีติ อกฺโข ผลไม้ที่กินโรค (อส ธาตุในความหมาย ว่ากิน ข ปัจจัย, แปลง ส เป็น ก, ลบสระหน้า) อกฺขก ไหปลาร้า, รากขวัญ อกติ คจฺฉตีติ อกฺขโก อวัยวะที่เป็นไปตามปกติ (อก ธาตุใน ความหมายว่าไป, เป็นไป ข ปัจจัย ก สกรรถ, ลบสระหน้า) อกฺขณา สายฟ้า, ฟ้าแลบ (สเตรตา วิชฺชุ วิชฺชุตา อจิรปฺปภา) น ขณมตฺตมฺปิ ติฏฺ€ตีติ อกฺขณา สิ่งที่ไม่ตั้งอยู่แม้ชั่วขณะ (น+ ขณ อา อิตฺ., แปลง น เป็น อ, ซ้อน กฺ) อกฺขต ข้าวตอก (ลาชา) น ขตํ อกฺขตํ ข้าวทีเ่ ขาไม่ได้ขดุ (น บทหน้า ขนุ ธาตุในความหมาย ว่าขุด ต ปัจจัย, แปลง น เป็น อ, ซ้อน กฺ, ลบ นฺ ที่สุดธาตุ) อกฺขทสฺส ผู้พิพากษา, ตุลาการ, ผู้ตัดสินความ อกฺเข โวหาเร ปสฺสตีติ อกฺขทสฺโส ผู้พิจารณาคดีฟ้องร้อง (อกฺข บทหน้า ทิส ธาตุในความหมายว่าเพ่ง, พิจารณา อ ปัจจัย, แปลง ทิส เป็น ทสฺส)


พระมหาโพธิวงศาจารย์ (ทองดี สุรเตโช)

อกฺขเทวี นักเลงสกา, นักการพนัน (ชูตการ อกฺขธุตฺต)

5

อกฺเขหิ ชูเตหิ ทิพฺพตีติ อกฺขเทวี ผู้สนุกด้วยการพนัน (อกฺข

บทหน้า ทิวุ ธาตุในความหมายว่าร่าเริง, สนุกสนาน ณี ปัจจัย, พฤทธิ์ อิ เป็น เอ) อกฺขธุตฺต นักเลงพนัน, นักการพนัน (อกฺขเทวี ชูตการ) อกฺเขสุ ธุตฺโต อกฺขธุตฺโต นักเลงในการพนัน (อกฺข+ธุตฺต) อกฺขร ๑ พระนิพพาน - ขรนฺติ วินสฺสนฺตีติ ขรา สงฺขตา, เต ยตฺถ น สนฺติ ตํ อกฺขรํ ธรรมชาติเป็นที่ไม่มีสภาวะที่พินาศไป (น+ขร+ณ แปลง น เป็น อ, ซ้อน กฺ) - ขรสงฺขาตานํ สงฺขตานํ ปฏิปกฺขตฺตา อกฺขรํ ธรรมชาติที่เป็น ปฏิปักษ์ต่อสังขตธรรม คือสภาวะที่พินาศไป อกฺขร ๒ อักษร, ตัวหนังสือ - น ขรํ อกฺขรํ สิ่งที่ไม่เป็นของแข็ง (น+ขร, แปลง น เป็น อ, ซ้อน กฺ) - นกฺขรนฺติ ขยวยํ คจฺฉนฺตีติ อกฺขรา, อกฺขรานิ สิ่งที่ไม่พินาศไป คือไม่ถึงความเสื่อมสิ้นไป (น บทหน้า ขร ธาตุในความหมายว่า พินาศ อ ปัจจัย, แปลง น เป็น อ, ซ้อน กฺ) - น ขรติ น ขียตีติ อกฺขโร, อกฺขรํ สิ่งที่ไม่สิ้นไป คือใช้ไม่มี

วันหมด (น บทหน้า ขี ธาตุในความหมายว่าสิ้นไป อร ปัจจัย, แปลง น เป็น อ, ซ้อน กฺ, ลบสระหน้า)


6

อกฺขิ ตา, ดวงตา, นัยน์ตา (จกฺขุ โลจน เนตฺต นยน)

ศัพท์วิเคราะห์

- อสติ วิสเยสุ พฺยาปี วิย ภวตีติ อกฺขิ อวัยวะที่แผ่ไป คือเป็น เหมือนเอิบอาบไปในอารมณ์ทั้งหลาย (อสุ ธาตุในความหมายว่า แผ่ไป ขิ ปัจจัย, แปลง สฺ เป็น กฺ, ลบสระที่สุดธาตุ) - อกฺขติ ปสฺสติ อเนนาติ อกฺขิ อวัยวะเป็นเครื่องเห็น (อกฺข

ธาตุในความหมายว่าเห็น อิ ปัจจัย) - อิกฺขติ วิสยํ อเนนาติ อกฺขิ อวัยวะเป็นเครื่องเห็นอารมณ์ (อิกฺข ธาตุในความหมายว่าเห็น อิ ปัจจัย, แปลง อิ หน้าธาตุเป็น อ) อกฺขิค ขนตา (ปมฺห ปขุม) อกฺขิมฺหิ ชาตํ โลมํ อกฺขิคํ ขนที่เกิดบนดวงตา (อกฺขิ บทหน้า+

ค ปัจจัย) อกฺโขภิณี, อกฺโขภนี อักโขภิณี, กองทัพอักโขภิณี น โขเภตุํ สกฺกุโณตีติ อกฺโขภิณี กองทัพที่ไม่อาจให้หวั่นไหวได้ (น บทหน้า ขุภ ธาตุในความหมายว่าหวั่นไหว ยุ ปัจจัย อี อิตฺ., แปลง น เป็น อ, ซ้อน กฺ, พฤทธิ์ อุ เป็น โอ, แปลง ยุ เป็น อน, น เป็น ณ) อขาต เหมือง, บ่อธรรมชาติ, แอ่งน้ำธรรมชาติ (เทวขาตก) น ขาตํ อขาตํ แอ่งน้ำทีม่ ไิ ด้ขดุ (น บทหน้า ขนุ ธาตุในความหมาย ว่าขุด ต ปัจจัย, แปลง น เป็น อ, ลบ นฺ, ทีฆะ อ เป็น อา) อขิล ทั้งหมด, ทั้งปวง (สพฺพ สมตฺต สกล นิสฺเสส อเสส ฯเปฯ) น ขียตีติ อขิลํ สิ่งที่ไม่สิ้นไป คือยังอยู่ทั้งหมด (น บทหน้า ขี ธาตุในความหมายว่าสิ้นไป ล ปัจจัย, แปลง น เป็น อ, รัสสะ อี เป็น อิ)


พระมหาโพธิวงศาจารย์ (ทองดี สุรเตโช)

อค ต้นไม้, ภูเขา, เสา, สิ่งที่เคลื่อนที่ไม่ได้

7

น คจฺฉตีติ อโค สิ่งที่เดินไม่ได้ คือไม่เคลื่อนที่ (น บทหน้า คมุ ธาตุในความหมายว่าไป, เป็นไป กฺวิ ปัจจัย, แปลง น เป็น อ, ลบที่สุดธาตุและ กฺวิ) อคติ อคติ, ความลำเอียง, ความไม่เที่ยงธรรม - น คนฺตพฺพาติ อคติ กิริยาอันบุคคลไม่พึงดำเนิน (น บทหน้า คมุ ธาตุในความหมายว่าไป, ถึง, เป็นไป ติ ปัจจัย, แปลง น เป็น อ, ลบ มฺ ที่สุดธาตุ) - อนนุรูปา คติีติ อคติ การดำเนินอันไม่สมควร (อ+คติ) อคท ยา, เภสัช (เภสชฺช เภสช โอสธ โอสถ) - น วิชฺชเต คโท โรโค ยสฺมึ โส อคโท สิ่งเป็นที่ไม่มีโรค (น+คท, แปลง น เป็น อ) - อคํ โรคํ ทาติ อวขณฺฑตีติ อคโท สิ่งที่ตัดโรค (อค บทหน้า ทา ธาตุในความหมายว่าตัด อ ปัจจัย, ลบสระหน้า) - นตฺถิ คโท โรโค เอเตนาติ อคโท สิ่งที่เป็นเหตุให้ไม่มีโรค (น+ คท, แปลง น เป็น อ) อครุ ไม้กฤษณา (อคลุ อคฬุ ตคร ราชารห ฯเปฯ) ลหุนามกตฺตา อครุ ไม้ที่มีชื่อเบา (น+ครุ, แปลง น เป็น อ) อคาร อาคาร, บ้าน, เรือน, โรง, ที่อยู่, หอ น คจฺฉนฺตีติ อคา ถมฺภาทโย, เต อเค ราติ คณฺหาตีติ อคารํ โรงเรือนที่ยึดจับเสาเป็นต้นไว้ (อค บทหน้า รา ธาตุในความหมาย ว่าถือเอา กฺวิ ปัจจัย, ทีฆะ อ เป็น อา, ลบ อา ที่สุดธาตุ

และ กฺวิ)


8

อคาธ ลึก, หยั่งไม่ถึง

ศัพท์วิเคราะห์

น คาธติ ปติฏฺ€าติ เอตฺถาติ อคาธํ ที่เป็นที่ตั้งอยู่ไม่ได้ คือหยั่ง ไม่ถึง (น บทหน้า คาธ ธาตุในความหมายว่าตั้งอยู่ อ ปัจจัย, แปลง น เป็น อ) อคาริก คฤหัสถ์, ผู้ครองเรือน (คหฏฺ€ คิหิ คิหี) อคาเร เคเห วสตีติ อคาริโก ผู้อยู่ในเรือน (อคาร+อิก) อคฺค ๑ อัคร, ยอด, ดียิ่ง, เลิศ, ประเสริฐ, วิเศษ, สูงสุด - อชติ คจฺฉติ เสฏฺ€ภาวนฺติ อคฺคํ สิ่งที่ถึงความประเสริฐที่สุด (อช ธาตุในความหมายว่าไป, ถึง, เป็นไป อ ปัจจัย, แปลง ช เป็น ค, ซ้อน คฺ หรือลง ค ปัจจัยก็ว่า) - ปุญฺเ น อชิยเตติ อคฺคํ ฐานะอันบุคคลถึงได้ด้วยบุญ (อช+อ, เหมือนวิ.ต้น) - กิเลเส อสติ เขเปตีติ อคฺโค ผูล้ ะทิง้ กิเลส (อสุ ธาตุในความหมาย ว่าทิ้ง, ขว้าง ค ปัจจัย, แปลง สฺ เป็น คฺ) อคฺค ๒ ปลาย, ยอด, ก่อน, เบื้องต้น, เป็นต้น (ปุพฺพ ป€ม อาทิ) ปุพฺพํ อชติ คจฺฉตีติ อคฺคํ สิ่งที่ถึงก่อน (อช ธาตุในความหมาย ว่าไป, ถึง อ ปัจจัย, แปลง ช เป็น ค, ซ้อน คฺ หรือลง ค ปัจจัย ก็ว่า) อคฺคญฺ ประเสริฐ, สูงสุด อคฺคนฺติ ชานิตพฺพนฺติ อคฺคญฺ ํ สิ่งที่พึงรู้ว่าเยี่ยมยอด (อคฺค บทหน้า า ธาตุในความหมายว่ารู้ อ ปัจจัย, ซ้อน ฺ, ลบสระหน้า) อคฺคล, อคฺคฬ ผ้าปะ, ผ้าดาม, ลิ่ม อคฺคติ กุฏลิ ํ คจฺฉตีติ อคฺคลํ สิง่ ทีไ่ ปคด (อคฺค ธาตุในความหมาย ว่าไปคด อล ปัจจัย, แปลง ล เป็น ฬ ได้รูปเป็น อคฺคฬํ บ้าง)


พระมหาโพธิวงศาจารย์ (ทองดี สุรเตโช)

อคฺคฬตฺถมฺภ เสาประตู, วงกบ (กปิสีส)

9

อคฺคฬํ นาม กวาฏโก, ตสฺส ถมฺโภ อคฺคฬตฺถมฺโภ เสาของ

บานประตู (อคฺคฬ+ถมฺภ, ซ้อน ตฺ) อคฺคิ ไฟ, อัคคี, อัคนี (อจฺจิมา คินิ เตช ธูมเกตุ สิขี ฯเปฯ) อคฺคติ กุฏิลํ คจฺฉตีติ อคฺคิ ผู้ไปคด คือวูบวาบๆ คดไปคดมา (อคฺค ธาตุในความหมายว่าคดไปมา อิ ปัจจัย) อคฺคิชาลา ๑ เปลวไฟ (อจฺจิ สิขา ชาลา) อคฺคิโน ชาลา เปลวแห่งไฟ (อคฺคิ+ชาลา) อคฺคิชาลา ๒ บัวสัตตบุษย์, ผักปลาบ (ธาตกี) อคฺคิชาลสมานปุปฺผตาย อคฺคิชาลา บัวที่มีดอกเหมือนเปลวไฟ (อคฺคิ+ชาลา) อคฺคิมนฺถ คนทิสอ, เจตพังคี, มะไฟ (กณิกา) อคฺคิ มนฺถียเต อเนนาติ อคฺคิมนฺโถ ไม้เป็นเครื่องสีไฟ (อคฺคิ บทหน้า มนฺถ ธาตุในความหมายว่ากวน, ปั่น ณ ปัจจัย) อคฺคิสาลา เรือนไฟ, โรงไฟ (ชนฺตาฆร) อคฺคิโน สาลา เรือนแห่งไฟ (อคฺคิ+สาลา) อคฺฆ ๑ ค่า, ราคา, ต้นทุน อคฺฆตีติ อคฺโฆ ภาวะที่มีค่า (อคฺฆ ธาตุในความหมายว่ามีค่า อ ปัจจัย) อคฺฆ ๒ เครื่องบูชา, ของรับแขก, ของชำร่วย อคฺฆนํ ปูชนํ อคฺฆํ เครื่องบูชา (อคฺฆ ธาตุในความหมายว่าบูชา อ ปัจจัย) อคฺฆิย เครือ่ งบูชา, ของรับแขก, ของชำร่วย (อคฺฆ+อิย) (ดู อคฺฆ)


10

อฆ ๑ ท้องฟ้า, อากาศ, กลางหาว

ศัพท์วิเคราะห์

น หญฺ เตติ อฆํ ที่อันใครเบียดเบียนไม่ได้ (น บทหน้า หน ธาตุในความหมายว่าเบียดเบียน อ ปัจจัย, แปลง น เป็น อ, หน เป็น ฆ) อฆ ๒ บาป, อกุศล, ความชั่ว สาธูหิ น หนฺตพฺพนฺติ อฆํ สิ่งอันคนดีไม่ควรถึง คือไม่ควรทำ

(น บทหน้า หน ธาตุในความหมายว่าไป, ถึง, เป็นไป อ ปัจจัย, แปลง น เป็น อ, หน เป็น ฆ) อฆ ๓ ความทุกข์, ความลำบาก, ความวิบัติ น หนฺ ติ ธญฺ นฺ ติ อฆํ สิ่ ง ที่ ไ ม่ ถึ งโชคลาภ (หน ธาตุ ใ น

ความหมายว่าไป, ถึง, เป็นไป อ ปัจจัย, แปลง น เป็น อ, หน เป็น ฆ) อฆ ๔ กิเลส, ความเศร้าหมอง อฆยนฺติ ปาปํ กโรนฺติ สตฺตา เอเตนาติ อฆํ เหตุเป็นเครื่อง ทำบาปแห่งสัตว์ทั้งหลาย (อฆ ธาตุในความหมายว่าทำบาป อ ปัจจัย) องฺก ๑ องก์, เครื่องหมาย, ตรา, ตำหนิ, รอย (กลงฺก ลญฺฉน ลกฺขณ อภิญ ฺ าณ จิหน) องฺกียเต ลกฺขียเต อเนนาติ องฺโก สิ่งเป็นเครื่องอันเขากำหนด คือเขาใช้เป็นเครื่องหมาย (องฺก ธาตุในความหมายว่าเครื่องหมาย, กำหนด อ ปัจจัย) องฺก ๒ พก, ตัก, สะเอว, สีข้าง, คบไม้ (อุจฺฉงฺค) องฺ กี ย เต คจฺ ฉี ย เตติ องฺ โ ก สิ่ ง ที่ ท ำให้ เ ป็ นไป (องฺ ก ธาตุ ใ น

ความหมายว่าไป, ถึง, เป็นไป อ ปัจจัย)


พระมหาโพธิวงศาจารย์ (ทองดี สุรเตโช)

องฺกุร เชื้อไข, หน่อเนื้อ, หน่อไม้, แขนง (นวุพฺภินฺน)

11

องฺกียติ ลกฺขียตีติ องฺกุโร ผู้อันเขากำหนดหมายไว้ (องฺก ธาตุใน

ความหมายว่ากะ, กำหนด อุร ปัจจัย) องฺกุส ตะขอ, ขอไม้, ขอเหล็ก องฺกเต อเนนาติ องฺกุโส สิ่งเป็นเครื่องทำร่องรอย คือใช้ทำตำหนิ หรือรอย (องฺก ธาตุในความหมายว่ากำหนด, ทำตำหนิ อุส ปัจจัย) องฺโกล ต้นปรู (ลิโกจก) องฺกียเต ลกฺขียเตติ องฺโกโล ต้นไม้อันเขากำหนดหมายไว้ (องฺก ธาตุในความหมายว่ากะ, กำหนด โอล ปัจจัย) องฺค ๑ องค์, อวัยวะ, สรีระ, ส่วน, เหตุ, เครื่องหมาย - องฺคติ คจฺฉตีติ องฺคํ ร่างที่เดินได้ (องฺค ธาตุในความหมายว่าไป, ถึง, เป็นไป อ ปัจจัย) - องฺคียเต ายเต เอเตน สมุทโยติ องฺคํ เหตุเป็นเครื่องรู้ที่เกิด คือทำให้รู้ต้นกำเนิด (องฺค ธาตุในความหมายว่ารู้ อ ปัจจัย) - อวยวภาเวน องฺคียเต ายเตติ องฺคํ ส่วนอันเขารู้ว่าเป็นอวัยวะ (องฺค ธาตุในความหมายว่ารู้ อ ปัจจัย) องฺค ๒ แคว้นอังคะ องฺคนฺติ คจฺฉนฺตีติ องฺคา แคว้นที่ผู้คนดำเนินชีวิตไปตามปกติ (องฺค ธาตุในความหมายว่าไป, ถึง, เป็นไป อ ปัจจัย) องฺคชาต องคชาต, อวัยวะเพศชาย (รหสฺสงฺค วตฺถคุยฺห เมหน นิมิตฺต ลิงฺค ฯเปฯ) องฺเค สรีเร ชายเตติ องฺคชาตํ อวัยวะที่เกิดในร่างกาย (องฺค

บทหน้า ชน ธาตุในความหมายว่าเกิด ต ปัจจัย, ทีฆะ อ เป็น อา, ลบที่สุดธาตุ)


12

องฺคณ ๑ สนาม, เนิน, ลาน (อชิร จจฺจร)

ศัพท์วิเคราะห์

องฺคนฺติ คจฺฉนฺติ เอตฺถาติ องฺคณํ ที่เป็นที่ไปแห่งผู้คน (องฺค ธาตุในความหมายว่าไป, ถึง, เป็นไป ยุ ปัจจัย, แปลง ยุ เป็น อน, น เป็น ณ) องฺคณ ๒ กิเลส, มลทิน, กิเลสเพียงดังเนิน - องฺคนฺติ เอเตน ตํสมงฺคี ปุคฺคลา นิหีนภาวํ คจฺฉนฺตีติ องฺคณํ กิเลสเป็นเหตุถึงความเลวทราม (องฺค ธาตุในความหมายว่าไป, ถึง, เป็นไป ยุ ปัจจัย, แปลง ยุ เป็น อน, น เป็น ณ) - อญฺ เ ชติ มกฺ เ ขตี ติ องฺ ค ณํ สิ่ ง ที่ ท ำให้ เ ปื้ อ น (อญฺ ช ธาตุ ใ น

ความหมายว่าทา, ป้าย ยุ ปัจจัย, แปลง อญฺช เป็น องฺค, ยุ เป็น อน, น เป็น ณ) องฺคณา หญิงสาว, สตรี, หญิงผู้ประเสริฐ องฺคติ คจฺฉตีติ องฺคณา ผูไ้ ปส่ตู ระกูลสามี (องฺค ธาตุในความหมาย ว่าไป, ถึง, เป็นไป ยุ ปัจจัย อา อิตฺ., แปลง ยุ เป็น อน, น เป็น ณ) องฺคท กำไลต้นแขน, พาหุรัด (เกยูร พาหุมูลวิภูสน) องฺคํ ทายติ โสเธตีติ องฺคทํ เครื่องประดับที​ี่ชำระอวัยวะ คือ

ทำให้ดูสวยงาม (องฺค บทหน้า ทา ธาตุในความหมายว่าชำระ

อ ปัจจัย, ลบสระหน้า) องฺคาร ถ่าน, ถ่านไฟ องฺคติ หานึ คจฺฉตีติ องฺคาโร สิ่งที่ถึงความเสื่อมสภาพ (องฺค ธาตุในความหมายว่าถึง อาร ปัจจัย)


พระมหาโพธิวงศาจารย์ (ทองดี สุรเตโช)

13

องฺคีรส พระอั ง คี ร ส, พระพุ ท ธเจ้ า (พระนามของพระพุ ท ธเจ้ า

ทุกพระองค์) - สพฺพทา พฺยามปฺปภาย กายโต นิจฺฉรณวเสน องฺคีรโส ผู้ทรงมี พระรัศมีวาหนึ่งแผ่ซ่านออกจากพระวรกายตลอดเวลา (องฺค แทน กาย บทหน้า+อี อาคม+รส แทนศัพท์+ณ ปัจจัย) - องฺคีรสสฺส อิสิโน อปจฺจํ องฺคีรโส ผู้ทรงเป็นเหล่ากอของท่าน

อังคีรสฤๅษี (องฺคีรส+ณ) - องฺคโต สรีรโต นิคฺคตา รสฺมิ ยสฺส โส องฺคีรโส ผู้ทรงมีพระรัศมี พวยพุ่งออกจากพระวรกาย (องฺค+อี+รส+ณ) - องฺคโต รํสิโย สํสรนฺตีติ องฺคีรโส ผู้ทรงมีพระรัศมีซ่านออกจาก พระวรกาย (องฺค+อี+รส+ณ) - องฺคมฺหิ กาเย รโส รํสิ ทิปฺปเต ยสฺสาติ องฺคีรโส ผู้ทรงมี

พระรัศมีในพระวรกายรุ่งเรือง (องฺค+อี+รส+ณ) องฺคุฏฺ€ นิ้วหัวแม่มือ - องฺคติ คจฺฉตีติ องฺคฏุ โฺ € นิว้ ทีเ่ ป็นไปปกติ (องฺค ธาตุในความหมาย ว่าไป, เป็นไป € ปัจจัย, แปลง อ เป็น อุ, ซ้อน ฏฺ) - อคฺเค ปุเร ติฏฺ€ตีติ องฺคุฏฺโ€ นิ้วที่อยู่ข้างหน้า (อคฺค บทหน้า €า ธาตุในความหมายว่าตั้งอยู่ อ ปัจจัย, ลงนิคหิตอาคม, ลบ คฺ และ อา ที่สุดธาตุ, แปลงนิคหิตเป็น งฺ, อ เป็น อุ, ซ้อน ฏฺ) องฺคุตฺตร อังคุตตรนิกาย เอเกเกหิ องฺเคหิ อุปรูปริ อุตฺตโร อธิโก เอตฺถาติ องฺคุตฺตโร หมู่ธรรมที่เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ด้วยข้อธรรมทีละหนึ่งๆ (องฺค+อุตฺตร)


14

องฺคุล, องฺคุลี เครื่องวัด (เท่ากับ ๑ นิ้ว)

ศัพท์วิเคราะห์

องฺคนฺติ เอเตน ชานนฺตีติ องฺคุลํ อุปกรณ์เป็นเครื่องรู้ คือให้รู้ ความยาวความสูงเป็นต้น (องฺค ธาตุในความหมายว่ารู้ อุล ปัจจัย) องฺคุลิ, องฺคุลี องคุลี, นิ้วมือ องฺคติ คจฺฉตีติ องฺคุลิ นิ้วที่ไป คือชี้ไปข้างหน้า (องฺค ธาตุใน ความหมายว่าไป, เป็นไป อุลิ ปัจจัย) องฺคุลิมุทฺทา ธำมรงค์, แหวนตรา (มุทฺทิกา องฺคุลิยก องฺคุลฺยาภรณ) องฺคุลิยํ ภวา มุทฺทา องฺคุลิมุทฺทา เครื่องประดับอันมีที่นิ้วมือ (องฺคุลิ+มุทฺทา) องฺคุลิยก แหวน, เครือ่ งประดับนิว้ (มุททฺ กิ า องฺคลุ มิ ทุ ทฺ า องฺคลุ ยฺ าภรณ) องฺคลุ ยิ ํ ภวํ องฺคลุ ยิ กํ เครือ่ งประดับอันมีทนี่ วิ้ มือ (องฺคลุ ิ บทหน้า อิย ปัจจัย ก สกรรถ) องฺคุลฺยาภรณ แหวน, เครือ่ งประดับนิว้ (มุททฺ กิ า องฺคลุ ยิ ก องฺคลุ มิ ทุ ทฺ า) องฺคุลีนํ อาภรณํ องฺคุลฺยาภรณํ เครื่องประดับนิ้วมือ (องฺคุลิ+

อาภรณ, แปลง อิ เป็น ย) อจล ภูเขา (ปพฺพต นค เสล สิลุจฺจย อทฺทิ ฯเปฯ) น จลตีติ อจโล สิ่งที่ไม่เคลื่อนไหว (น บทหน้า จล ธาตุใน

ความหมายว่าเคลื่อน, ไหว อ ปัจจัย, แปลง น เป็น อ) อจิรปฺปภา สายฟ้า, ฟ้าแลบ (วิชฺชุ วิชฺชุตา อกฺขณา สเตรตา) อจิรํ ปภา ทิตฺติ ยสฺสา สา อจิรปฺปภา สิ่งที่มีความสว่างไม่นาน (อจิร+ปภา, ซ้อน ปฺ)


พระมหาโพธิวงศาจารย์ (ทองดี สุรเตโช)

อจิรวตี แม่น้ำอจิรวดี

15

อจิรํ สีฆํ คมนํ เอติสฺสมตฺถีติ อจิรวตี แม่น้ำที่มีการไหลไม่ช้า คือมีกระแสเชี่ยว (อจิร บทหน้า วนฺตุ ปัจจัย อี อิตฺ., แปลง นฺตุ เป็น ต, ลบสระหน้า) อเจลก, อเจฬก อเจลก, นิครนถ์, ชีเปลือย (ทิคมฺพร นิคณฺ€ นิคนฺถ) นตฺถิ เจลํ วตฺถเมตสฺสาติ อเจลโก ผู้ไม่มีผ้านุ่งห่ม (น+เจล+ก, แปลง น เป็น อ) อจฺจนา การบูชา, การทำพลีกรรม (ปูชา อปจิติ อุปหาร พลิ มานน) อจฺจิยเตติ อจฺจนา การบูชา (อจฺจ ธาตุในความหมายว่าบูชา

ยุ ปัจจัย อา อิตฺ., แปลง ยุ เป็น อน) อจฺจย ๑ ความตาย อติกฺกมิตฺวา อยนํ อจฺจโย การล่วงลับไป (อติ บทหน้า อิ ธาตุใน

ความหมายว่าไป, เป็นไป ณ ปัจจัย, แปลง อติ เป็น จฺจ, อิ เป็น ย) อจฺจย ๒ โทษ, ความล่วงเกิน, การล่วงละเมิด, การดูหมิ่น - อจฺจยนํ สาธุมริยาทํ อติกฺกมฺม มทฺทิตฺวา ปวตฺตนํ อจฺจโย อาการที่ละเมิดเหยียบย่ำมรรยาทที่ดีเป็นไป (เหมือนวิ.ต้น) - อจฺเจติ อภิภวิตฺวา ปวตฺตติ เอเตนาติ อจฺจโย อาการเป็นเหตุให้ ล่วงละเมิด (เหมือนวิ.ต้น) อจฺจิ เปลวไฟ (อคฺคิชาลา สิขา ชาลา) อจฺจเต ปูชเต อเนนาติ อจฺจิ ไฟเป็นเครื่องบูชา (อจฺจ ธาตุใน ความหมายว่าบูชา อิ ปัจจัย)


16

อจฺฉ ๑ หมี (อิกฺก)

ศัพท์วิเคราะห์

อสติ ขิปตีติ อจฺโฉ สัตว์ที่พุ่งตัวไป (อ ธาตุในความหมายว่าซัดไป ฉ ปัจจัย, แปลง ส เป็น จ, ลบสระหน้า) อจฺฉ ๒ ใส, สะอาด, ผ่องใส (ปสนฺน อนาวิล วิมล) น ฉินฺทติ ทสฺสนนฺติ อจฺฉํ ภาวะที่ไม่ตัดการมองเห็น คือยัง

มองเห็นได้ (น บทหน้า ฉิ ธาตุในความหมายว่าตัด อ ปัจจัย, แปลง น เป็น อ, ซ้อน จฺ, ลบสระหน้า) อจฺฉรา นางฟ้า, นางอัปสร, อัจฉราเทพธิดา - อจฺโฉ นิมฺมลวณฺโณ เอติสฺสาตฺถีติ อจฺฉรา ผู้มีผิวพรรณผ่องใส (อจฺฉ บทหน้า ร ปัจจัย อา อิตฺ.) - อจฺฉํ ปสนฺนตรํ รํ มุขํ ยาย สา อจฺฉรา ผู้มีใบหน้าผ่องใส (อจฺฉ+ร+อา) - อสติ วิ สฺ ส ชฺ เ ชตี ติ อจฺ ฉ รา ผู้ ข ว้ า งทิ้ ง หมายถึ ง ผู้ โ ปรยปราย ดอกไม้, ผู้ร่ายรำ, ผู้กรีดกรายนิ้วมือ (อสุ ธาตุในความหมายว่า ขว้าง, ทิ้ง ฉร ปัจจัย อา อิตฺ.) อจฺฉริย แปลก, ประหลาด, น่าอัศจรรย์, ความอัศจรรย์ (วิมหฺ ย อพฺภตุ ) - อา ภุโส จริยนฺติ อจฺฉริยํ สิ่งอันบุคคลพึงประพฤติให้ยิ่ง (อา

บทหน้า จร ธาตุในความหมายว่าประพฤติ กฺวิ ปัจจัย, แปลง จร เป็น จฺฉริย, รัสสะ อา เป็น อ) - อจฺฉรํ ปหริตุํ ยุตฺตนฺติ อจฺฉริยํ สิ่งที่ควรดีดนิ้วให้ (อจฺฉร+อิย) อจฺฉาทน ผ้า, เครื่องนุ่งห่ม (เจล วตฺถ วาส วสน ปฏ ฯเปฯ) - อจฺฉาเทติ สรีรํ สํวรติ อเนนาติ อจฺฉาทนํ สิ่งเป็นเครื่องปกปิด ร่างกาย (อา บทหน้า ฉท ธาตุในความหมายว่าปิด, ป้องกัน ยุ


พระมหาโพธิวงศาจารย์ (ทองดี สุรเตโช)

17

ปัจจัย, รัสสะ อา เป็น อ, ซ้อน จฺ, พฤทธิ์ อ ของธาตุเป็น อา, แปลง ยุ เป็น อน) - อา ภุโส ฉาทียเต เอเตนาติ อจฺฉาทนํ สิ่งเป็นเครื่องอันเขา ปกปิดร่างกายโดยยิ่ง (เหมือนวิ.ต้น) อจฺฉิ ดวงตา (อกฺขิ เนตฺต โลจน จกฺขุ นยน) อจฺฉติ ปสฺสติ อเนนาติ อจฺฉิ อวัยวะเป็นเครื่องเห็น (อจฺฉ

ธาตุในความหมายว่าเห็น อิ ปัจจัย) อช แพะ (วสฺส วสฺต ฉกลก ฉคลก) - อชติ คจฺฉตีติ อโช สัตว์ที่เดินไป คือเดินหากินเรื่อยไป (อช

ธาตุในความหมายว่าไป, ถึง, เป็นไป อ ปัจจัย) - น ชายตีติ อโช สัตว์ที่ไม่เกิด คือเกิดยาก ไม่ค่อยได้เกิด (น บท หน้า ชน ธาตุในความหมายว่าเกิด กฺวิ ปัจจัย, ลบ น ที่สุดธาตุ และ กฺวิ) อชคร งูเหลือม, งูใหญ่ (วาหส สยี) อชํ คิลตีติ อชคโร สัตว์ที่กลืนแพะได้ (อช บทหน้า คิล ธาตุใน ความหมายว่ากิน, กลืนกิน อ ปัจจัย, แปลง อิ เป็น อ, ล เป็น ร) อชญฺ อุปสรรค, ความชั่วร้าย, เสนียด, จัญไร (อีติ อุปสคฺค

อุปทฺทว) - สพฺพกาลํ น ชายตีติ อชญฺ ํ สิ่งที่ไม่เกิดทุกเวลา (น บทหน้า ชน ธาตุในความหมายว่าเกิด ณฺย ปัจจัย, แปลง น เป็น อ, ลบ สระที่สุดธาตุและ ณฺ, แปลง นฺย เป็น ญฺ ) - น ผลํ ชเนตีติ อชญฺ ํ สิ่งที่ไม่ยังผลดีให้เกิด (เหมือนวิ.ต้น)


18

อชปาลก ต้นโกฐ

ศัพท์วิเคราะห์

อตฺตโน ฉายูปคเต อเช ปาเลตีติ อชปาลกํ ต้นไม้ที่รักษาแพะที่ เข้าไปอยู่ในร่มเงาของตน (อช บทหน้า ปาล ธาตุในความหมายว่า รักษา ณฺวุ ปัจจัย, แปลง ณฺวุ เป็น อก) อชิน หนัง, หนังสัตว์, หนังรองนั่ง (จมฺม) อชติ วิกฺกยํ ยาตีติ อชินํ อวัยวะที่ไปสู่การขาย คือเป็นสินค้า

ที่ขายได้ (อช ธาตุในความหมายว่าไป, ถึง, เป็นไป อิน ปัจจัย) อชินปตฺตา ค้างคาว (ชตุกา) อชิ นํ จมฺ มํ ปตฺ ตํ อสฺ ส าติ อชิ น ปตฺ ต า สั ต ว์ ที่ มี ปี ก เป็ น หนั ง (อชิน+ปตฺต+อา) อชิมฺห ตรง, ไม่คด น ชิมฺหํ กุฏิลํ อชิมฺหํ ไม่คด (น+ชิมฺห, แปลง น เป็น อ) อชิร สนาม, ลาน, เนิน (จจฺจร องฺคณ) อชนฺติ คจฺฉนฺติ เอตฺถาติ อชิรํ ที่เป็นที่ไปแห่งผู้คน (อช ธาตุใน ความหมายว่าไป, เป็นไป อิร ปัจจัย) อชฺชุก แมงลักขาว, อ้อยช้าง (สิตปณฺณาส) อชติ คจฺฉตีติ อชฺชุโก พืชที่เป็นไปปกติ (อช ธาตุในความหมาย ว่าไป, เป็นไป อุก ปัจจัย, ซ้อน ชฺ) อชฺชุน, อชฺชุนฺน ต้นกุ่ม, ต้นอัญชัน, ต้นรกฟ้า อชฺเชติ ธนสญฺจยํ กโรตีติ อชฺชุโน ต้นไม้ที่ได้การสะสมทรัพย์ (อชฺช ธาตุในความหมายว่าได้ อุน ปัจจัย)


พระมหาโพธิวงศาจารย์ (ทองดี สุรเตโช)

อชฺฌกฺข เจ้าหน้าที่, คนดูแล, พนักงาน (อธิกต)

19

คาเมสุ อธิกตฺตา อธิกา อิกฺขา อนุภวนเมตสฺสาติ อชฺฌกฺโข

ผู้มีหน้าที่ดูแลภายในหมู่บ้าน (อธิ บทหน้า อิกฺขา ศัพท์ ณ ปัจจัย, แปลง อธิ เป็น อชฺฌ, ลบ อิ, ลบ ณ และสระหน้า) อชฺฌาจาร การก้าวล่วง, การล่วงละเมิด, การประพฤติละเมิด (วีตกิ กฺ ม) มริยาทาติกกฺ โม อาจาโร อชฺฌาจาโร การประพฤติทกี่ า้ วเกินกรอบ (อติ+อา บทหน้า จร ธาตุในความหมายว่าประพฤติ ณ ปัจจัย, แปลง ตฺ เป็น ธฺ, อธิ เป็น อชฺฌ, พฤทธิ์ อ เป็น อา) อชฺฌายก นักเรียน, นักศึกษา (โสตวนฺตุ สิกฺขก) - มนฺตํ อชฺฌายตีติ อชฺฌายโก ผู้สวดมนต์, ผู้ศึกษาวิชา (อธิ

บทหน้า อิ ธาตุในความหมายว่าสวด, ศึกษา ณฺวุ ปัจจัย, แปลง อธิ เป็น อชฺฌ, อิ เป็น ย, ณฺวุ เป็น อก, ทีฆะ อ เป็น อา) - อชฺฌายํ กโรตีติ อชฺฌายโก ผูท้ ำบทตอน คือเรียนเป็นบทเป็นตอน (อชฺฌาย บทหน้า กร ธาตุในความหมายว่าทำ กฺวิ ปัจจัย, ลบ ร ที่สุดธาตุและ กฺวิ) อชฺฌาสย อัธยาศัย, วัตถุประสงค์, ความมุ่งหมาย, ความพอใจ - จิตฺตมชฺฌาคนฺตฺวา สยตีติ อชฺฌาสโย อาการที่มานอนทับจิต (อธิ+อา บทหน้า สิ ธาตุในความหมายว่านอน ณ ปัจจัย, แปลง อธิ เป็น อชฺฌ, พฤทธิ์ อิ เป็น เอ, แปลง เอ เป็น อย) - อารมฺมณํ อธิกิจฺจ สยติ ปวตฺตตีติ อชฺฌาสโย สภาวะที่อาศัย อารมณ์เป็นไป (อธิ+อา บทหน้า สิ ธาตุในความหมายว่าไป,

เป็นไป ณ ปัจจัย, แปลง อธิ เป็น อชฺฌ, พฤทธิ์ อิ เป็น เอ, แปลง เอ เป็น อย)


20

อชฺเฌสนา การเชื้อเชิญ, การขอร้อง, การเชิญชวน

ศัพท์วิเคราะห์

อชฺเฌสิยเตติ อชฺเฌสนา กิริยาที่ยอมให้, กิริยาที่ขอร้อง (อธิ

บทหน้า อิส ธาตุในความหมายว่าให้ ยุ ปัจจัย, อา อิตฺ., แปลง อธิ เป็น อชฺฌ, พฤทธิ์ อิ เป็น เอ, แปลง ยุ เป็น อน) อญฺชน ๑ ยาทาขอบตา, ยาหยอดตา, ดินสอเขียนขอบตา อญฺชนวณฺณํ อสฺสตฺถีติ อญฺชนํ สิ่งที่มีสีดำ (อญฺชน+ณ) อญฺชน ๒ พระเจ้าอัญชนะ อญฺชนวณฺโณ อสฺส อตฺถีติ อญฺชโน ผู้มีพระฉวีวรรณเหมือน

ดอกอัญชัน คือสีครามอมขาว อญฺชลิ, อญฺชลี ประนมมือ, กระพุ่มมือ, การไหว้ (กรปุฏ) - อญฺเชติ ภตฺติมเนน ปกาเสตีติ อญฺชลิ กิริยาเป็นเครื่องประกาศ ความภักดี (อญฺช ธาตุในความหมายว่าประกาศ, เปิดเผย อลิ ปัจจัย, ลง อลี ปัจจัย ได้รูปเป็น อญฺชลี บ้าง) - อญฺเชติ พฺยตฺตํ ปกาเสตีติ อญฺชลิ กิริยาที่ประกาศความแจ่ม แจ้ง, ความฉลาด (เหมือนวิ.ต้น) - เอกโต สมฺพนฺธนตฺถํ อญฺชติ คจฺฉตีติ อญฺชลิ กิริยาที่เป็นไปเพื่อ เชื่อมประสานเป็นอันเดียวกัน (อญฺช ธาตุในความหมายว่าไป, เป็นไป อลิ ปัจจัย) อญฺชส ถนน, ทางเดิน อญฺเชติ คจฺฉติ เอตฺถาติ อญฺชสํ ที่เป็นที่เดินไป (อญฺช ธาตุใน ความหมายว่าไป, เป็นไป อส ปัจจัย) อญฺ อื่น, อย่างอื่น, คนอื่น น ายเตติ อ ฺ ํ สิ่งอันเขาไม่รู้ (น บทหน้า า ธาตุในความ หมายว่ารู้ อ ปัจจัย, แปลง น เป็น อ, ซ้อน ฺ, ลบสระหน้า)


พระมหาโพธิวงศาจารย์ (ทองดี สุรเตโช)

21

อญฺ ติตฺถิย อัญเดียรถีย์, พวกเชื่อถือลัทธิอื่น, คนนอกพระพุทธ-

ศาสนา อญฺ าการตาย อ ฺ ติตเฺ ถ นิยตุ ตฺ าติ อ ฺ ติตถฺ ยิ า พวกประกอบ ในลัทธิอื่นโดยอาการที่ไม่รู้ (อญฺ +ติตฺถ+อิย) อ ฺ ถาภาว ความแปรปรวน, ความพลิกผัน (วิปริยาย วิปริยาส วิปลฺลาส พฺยตฺตย) อ ฺ ถา อ ฺเ น ภวนํ อ ฺ ถาภาโว ความเป็นโดยประการอื่น (อ ฺ ถา บทหน้า ภู ธาตุในความหมายว่าเป็น ณ ปัจจัย, พฤทธิ์ อู เป็น โอ, แปลง โอ เป็น อาว) อ ฺ า พระอรหัตผล ป€มมคฺคาทีหิ ทิฏฺ€มริยาทมนติกฺกมิตฺวา ชานิตพฺพาติ อ ฺ า ธรรมชาติที่พึงรู้เกินกว่าขอบเขตที่ปฐมมรรคเป็นต้นได้บรรลุแล้ว (อา บทหน้า า ธาตุในความหมายว่ารู้ อ ปัจจัย อา อิต., รัสสะ อา เป็น อ, ซ้อน ฺ) อฏนี แม่แคร่ อฏยเต คมฺยเตติ อฏนี สิ่งที่เป็นไปปกติ (อฏ ธาตุในความหมาย ว่าไป, เป็นไป อนี ปัจจัย) อฏวี ป่า, ดง, หมู่ไม้ (อร ฺ กานน คหน ทาย วิปิน วน) - อฏนฺติ คจฺฉนฺติ ยตฺถ ปจฺฉิเม วยสิ สา อฏวี ที่เป็นที่ไปในวัย สุดท้าย คือเป็นที่ไปบวชอยู่ตอนแก่ (อฏ ธาตุในความหมายว่าไป อว ปัจจัย อี อิตฺ.) - อฏา อวยโว เสลา เอตฺถาติ อฏวี ทีเ่ ป็นทีม่ ศี ลิ าเป็นส่วนประกอบ (อฏ บทหน้า ว อาคม อี ปัจจัย)


22

ศัพท์วิเคราะห์

- อุทธฺ ํ ฏวติ วิรหู ตีติ อฏวี ผูง้ อกขึน้ ข้างบน หมายถึงดงไม้ (อา แทน อุทธฺ บทหน้า ฏุ ธาตุในความหมายว่างอกขึน้ ณ ปัจจัย อี อิต.ฺ ) อฏฺฏ ป้อม, หอคอย, คดีความ, ความบีบคั้น, การเบียดเบียน - อฏฺฏติ หึสตีติ อฏฺโฏ สิ่งที่ล่วงเกิน, สิ่งที่เบียดเบียน (อฏฺฏ

ธาตุในความหมายว่าล่วง, เบียดเบียน อ ปัจจัย) - อฏฺฏยนฺติ ทุกฺขายนฺติ เอเตนาติ อฏฺโฏ สิ่งเป็นเหตุให้อึดอัด

เป็นทุกข์ (อฑฺฑ ธาตุในความหมายว่าอึดอัด อ ปัจจัย, ใช้ ฏฺฏ แทน ฑฺฑ) อฏฺฏาลก, อฏฺฏาล ป้อม, หอรบ อฏฺฏํ อลติ นิวาเรตีติ อฏฺฏาลโก ที่ป้องกันการเบียดเบียน (อฏฺฏ บทหน้า อล ธาตุในความหมายว่าห้าม, กัน ณฺวุ ปัจจัย, ลบสระหน้า ทีฆะสระหลัง, แปลง ณฺวุ เป็น อก) อฏฺ€ปท, อฏฺ€าปท กระดานหมากรุก, กระดานลูกเต๋า เอเกกาย ปนฺติยา อฏฺ€ อฏฺ€ ปทานิ อสฺสาติ อฏฺ€ปทํ กระดาน ที่มีแถวละ ๘ ตา (อฏฺ€+ปท) อฏฺ€ิ กระดูก, ก้าง, เมล็ด - อสติ เขเปติ อทฺธานนฺติ อฏฺ€ิ สิ่งที่ทิ้งอยู่ตลอดกาลนาน (อส ธาตุในความหมายว่าทิ้ง, ขว้างไป อิ ปัจจัย, แปลง สฺ เป็น ฏฺ€) - อา ภุโส ติฏฺ€ติ เอเตนาติ อฏฺ€ิ สิ่งเป็นเหตุให้ตั้งอยู่ได้อย่างดี (อา บทหน้า €า ธาตุในความหมายว่าตั้งอยู่ อิ ปัจจัย, รัสสะ อา เป็น อ, ซ้อน ฏฺ, ลบสระหน้า) - สรีเร สาโร อสติ ภวตีติ อฏฺ€ิ สิ่งที่เป็นแกนอยู่ในร่างกาย (อส ธาตุในความหมายว่ามี, เป็น อิ ปัจจัย, แปลง ส เป็น ฏฺ€)


พระมหาโพธิวงศาจารย์ (ทองดี สุรเตโช)

อฑฺฒ ๑ ผู้มั่งคั่ง, ผู้ร่ำรวย, ผู้มีทรัพย์

23

อชฺฌายติ ธนนฺติ อฑฺโฒ ผู้คิดถึงแต่ทรัพย์ (อา บทหน้า เฌ

ธาตุในความหมายว่าคิด ต ปัจจัย, ลบ เอ ที่ เฌ, แปลง ต เป็น ฒ, ฌฺ เป็น ฑฺ, รัสสะ อา เป็น อ) อฑฺฒ ๒ กึ่ง, ครึ่ง (อทฺธ อุปฑฺฒ ขณฺฑ) อสติ เขเปติ สมุทายนฺติ อฑฺโฒ ส่วนที่ทิ้งความบริบูรณ์ (อส ธาตุในความหมายว่าทิ้ง, ขว้างไป ต ปัจจัย, ลบสระที่สุดธาตุ, แปลง สฺต เป็น ฑฺฒ) อฑฺ​ฺฒติย, อฑฺฒเตยฺย จำนวน ๒ ครึ่ง อฑฺเฒน ตติโย อฑฺฒติโย, อฑฺฒเตยฺโย จะครบ ๓ ด้วยอีก ครึ่งหนึ่ง คืออีกครึ่งหนึ่งจึงจะเต็ม ๓ (อฑฺฒ+ตติย, แปลง ตติย กับ อฑฺฒ เป็น อฑฺฒติย, อฑฺฒเตยฺย) อฑฺฒโยค เรือนปีกครุฑ, เพิง, เพิงหมาแหงน เอกปสฺเสเยว ฉทนโต อฑฺเฒน โยโค อฑฺฒโยโค เรือนที่มุงครึ่ง เดียว (อฑฺฒ+โยค) อฑฺฒุฑฺฒ จำนวน ๓ ครึ่ง อฑฺเฒน จตุตฺโถ อฑฺฒุฑฺโฒ จะครบ ๔ ด้วยอีกครึ่งหนึ่ง คืออีก ครึ่งหนึ่งจึงจะเต็ม ๔ (อฑฺฒ+จตุตฺถ, แปลง จตุตฺถ กับ อฑฺฒ เป็น อฑฺฒุฑฺฒ) อณีก, อนีก อณึก, กองทัพ (วาหินี ธชินี เสนา จมู จกฺก พล) อณตีติ อณีโก, อณีกํ หมูพ่ ลทีส่ ง่ เสียงดัง (อณ ธาตุในความหมาย ว่าส่งเสียง อีก ปัจจัย)


24

อณุ อณู, เล็ก, น้อย, ผอม, บาง

ศัพท์วิเคราะห์

สุขุมภาเวน อณติ ปวตฺตตีติ อณุ สิ่งที่เป็นไปโดยภาวะที่ละเอียด (อณ ธาตุในความหมายว่าเป็นไป อุ ปัจจัย) อณฺฑ ไข่, ฟองไข่, ลูกอัณฑะ (โกส) - อมนฺติ อุปฺปชฺชนฺติ เอตฺถาติ อณฺฑํ สิ่งเป็นที่ไป คือเป็นที่เกิดขึ้น แห่งสิ่งมีชีวิตทั้งหลาย (อม ธาตุในความหมายว่าไป ฑ ปัจจัย, แปลง มฺ เป็น ณฺ) - อฑิยตี นิพฺพตฺติยตีติ อณฺฑํ สิ่งที่ถูกไข่ออกมา (อิฑ ธาตุใน

ความหมายว่าออกไข่, วางไข่ อ ปัจจัย ลงนิคหิตอาคมที่ อิ เป็น อึ แล้วแปลงเป็น ณฺ) อณฺฑช นก (ปกฺขี สกุณ ปตนฺต ปตงฺค วิหค ฯเปฯ) อณฺฑโต ชายตีติ อณฺฑโช ผู้เกิดจากไข่ (อณฺฑ บทหน้า ชน

ธาตุในความหมายว่าเกิด กฺวิ ปัจจัย, ลบ นฺ ที่สุดธาตุและ กฺวิ) อณฺฑูปก เทริด, เสวียนผ้า, เครื่องรองของบนศีรษะ (จุมฺพฏก) อนฺตํ สมีปมุปคจฺฉติ อาเธยฺยสฺสาติ อณฺฑูปกํ สิ่งที่เข้าไปใกล้สุด

เพื่อรองรับของ (อนฺต+อุป บทหน้า คมุ ธาตุในความหมายว่าไป, เป็นไป กฺวิ ปัจจัย, แปลง นฺต เป็น ณฺฑ, ค เป็น ก, ลบ มฺ ที่สุดธาตุและ กฺวิ) อณฺณ น้ำ - อณตีติ อณฺณํ สิ่งที่ส่งเสียงได้ (อณ ธาตุในความหมายว่าส่งเสียง

อ ปัจจัย, ซ้อน ณฺ) - อรติ คจฺฉตีติ อณฺณํ สิ่งที่ไหลไป (อร ธาตุในความหมายว่าไป

ต ปัจจัย, แปลง ต เป็น นฺน, นฺน เป็น ณฺณ, ลบ ร ที่สุดธาตุ และสระหน้า)


พระมหาโพธิวงศาจารย์ (ทองดี สุรเตโช)

อณฺณว ห้วงน้ำ, สระน้ำ, แม่น้ำ, ทะเล, มหาสมุทร

25

- อณฺโณ ชลํ, โส วาติ คจฺฉติ ยสฺมินฺติ อณฺโณ พื้นที่เป็นที่ไหลไป แห่งน้ำ (อณฺณ บทหน้า วา ธาตุในความหมายว่าไป อ ปัจจัย, ลบสระหน้า) - อณฺโณ ยสฺมึ วิชฺชตีติ อณฺณโว พื้นที่เป็นที่มีน้ำ (อณฺณ บทหน้า วิท ธาตุในความหมายว่ามีอยู่, เป็นอยู่ อ ปัจจัย, ลบ ท และ อิ) อตลมฺผสฺส ลึก, ลึกมาก (อคาธ) น เหฏฺ€ิมตลํ ผุสติ เอตฺถาติ อตลมฺผสฺสํ ที่เป็นที่สัมผัสพื้น

ข้างล่างไม่ได้ คือหยัง่ ไม่ถงึ (น+ตลํ บทหน้า ผุส ธาตุในความหมาย ว่าสัมผัส อ ปัจจัย, แปลง น เป็น อ, ไม่ลบนิคหิต, แปลงนิคหิต เป็น มฺ ซ้อน สฺ) อตสี ฝ้าย (อุมฺมา) อตติ วาตกมฺปิโต นิจฺจํ เวธตฺตํ ยาตีติ อตสี พื้นที่ไหวอยู่เป็นนิจ (อต ธาตุในความหมายว่าเป็นไปติดต่อ อ ปัจจัย อี อิตฺ.) อติจารินี หญิงชู้, ภรรยาที่นอกใจสามี (ชารี) สามิกํ อติกฺกมฺม อญฺ ตฺร จรตีติ อติจารินี หญิงที่ประพฤติ

ก้าวล่วงสามี (อติ บทหน้า จร ธาตุในความหมายว่าประพฤติ

ณ ปัจจัย อินี อิตฺ., พฤทธิ์ อ เป็น อา) อติถิ แขก, ผู้มาเยือน, อาคันตุกะ (อาคนฺตุก ปาหุน อาเวสิก) - อตติ คจฺฉตีติ อติถิ ผู้ไปหาเขา (อต ธาตุในความหมายว่าไป ติดต่อ, สืบเนื่อง อิถิ ปัจจัย) - นตฺถิ อสฺส ติถิ, ยมฺหิ วา ตมฺหิ วา ทิวเส อาคจฺฉตีติ อติถิ ผู้ไม่มีดิถี คือไม่บอกวันเวลาที่จะมาล่วงหน้า (น+ติถิ, แปลง น เป็น อ)


26

อติมุตฺต ลำดวน

ศัพท์วิเคราะห์

อติมทุ ํ ตโนตีติ อติมตุ โฺ ต ต้นไม้ทแี่ ผ่ความยินดีอย่างยิง่ ไป (อติมทุ บทหน้า ตนุ ธาตุในความหมายว่าแผ่, ขยาย กฺวิ ปัจจัย, แปลง ทฺ เป็น ตฺ, ลบ นฺ ที่สุดธาตุและ กฺวิ) อติมุตฺตก ไม้เต็ง, ไม้อุโลก อติ มุจฺจติ ทาหปิตฺตมเนนาติ อติมุตฺตโก ต้นไม้เป็นเหตุให้โรค ดีซ่านหลุดพ้นไปอย่างดี คือรักษาโรคดีซ่านได้ (อติ บทหน้า มุจ ธาตุในความหมายว่าหลุด, พ้น ต ปัจจัย ก สกรรถ, แปลง จฺ เป็น ตฺ) อติริตฺต ยิ่ง, เกินไป, เหลือเดน (อธิก) อติริจฺจตีติ อติริตฺโต อาการที่รับเอาเกิน (อติ บทหน้า ริจ ธาตุใน ความหมายว่ารับเอา ต ปัจจัย, แปลง จฺ เป็น ตฺ, ลบสระหน้า) อติวิสา ชะเอมต้น (มโหสธ) อตี ว วิ ส ติ เภสชฺ ช ปโยเคสู ติ อติ วิ ส า ต้ นไม้ ที่ เ ข้ า ประกอบ

เครื่องยาอย่างดียิ่ง (อติ บทหน้า วิส ธาตุในความหมายว่าเข้าไป อ ปัจจัย อา อิตฺ.) อติสย อดิศัย, ยิ่ง, มาก, เกิน อติกฺกมิตฺวา สยนํ ปวตฺตนํ อติสโย อาการที่เป็นไปเกินเลย (อติ บทหน้า สิ ธาตุในความหมายว่าเป็นไป ณ ปัจจัย, พฤทธิ์ อิ เป็น เอ, แปลง เอ เป็น อย) อตุล อดุล, ไม่มีที่เปรียบ, เลิศ, ประเสริฐ นตฺถิ เอตสฺส ตุลา อุปมา, ตุลํ วา สทิสนฺติ อตุลํ สิ่งที่ไม่มี

ที่เปรียบหรือสิ่งที่ไม่มีสิ่งที่เหมือน (น+ตุล, แปลง น เป็น อ)


พระมหาโพธิวงศาจารย์ (ทองดี สุรเตโช)

อตฺต อัตตา, อาตมัน, ตัว, ตน, ตัวตน, ร่างกาย, จิตใจ

27

- อตนฺติ สตตํ คจฺฉนฺติ สตฺตา อเนนาติ อตฺตา ผู้ทำให้สัตว์ดำเนิน ไปได้ต่อเนื่อง (อต ธาตุในความหมายว่าไป, ถึง, เป็นไปต่อเนื่อง ต ปัจจัย, ลบสระหน้า, ลง สิ วิภัตติ, แปลง อ กับ สิ เป็น อา) - ภวาภวํ ธาวนฺโต ชาติชรามรณาทิเภทํ อเนกวิหิตํ สํสารทุกฺขํ อตติ สตตํ คจฺฉติ ปาปุณาติ อธิคจฺฉตีติ อตฺตา ผู้ถึงทุกข์

ต่อเนื่อง (อต+ต, เหมือนวิ.ต้น) - อทติ สุขทุกฺขํ อนุภวตีติ อตฺตา ผู้เสวยสุขและทุกข์ (อท ธาตุใน ความหมายว่ากิน ต ปัจจัย, แปลง ท เป็น ต, ลบสระหน้า) - ชาติชรามรณาทีหิ อาทียเต ภกฺขียเตติ อตฺตา ผู้ถูกชาติ ชรา มรณะเป็นต้นกิน (อท ธาตุในความหมายว่ากิน ต ปัจจัย, เหมือน วิ.ต้น) - อาพาธาย นิรนฺตรํ อตติ ปวตฺตตีติ อตฺตา ผู้เป็นไปเพื่ออาพาธ ต่อเนื่อง (อต ธาตุในความหมายว่าไป, เป็นไปต่อเนื่อง ต ปัจจัย, ลบสระหน้า) - อาหิโต อหํมาโน เอตฺถาติ อตฺตา ผู้เป็นที่ตั้งแห่งความถือตัวว่า เป็นเรา (อา บทหน้า ธา ธาตุในความหมายว่าทรงไว้ ต ปัจจัย, ลบ อา, แปลง ธฺ เป็น ตฺ, ลบสระหน้า) อตฺตนิย ของตน, อันเกี่ยวเนื่องกับตน (นิย สก) อตฺตนิ ชาโต อตฺตนิโย ผู้เกิดในตน (อตฺตนิ+อิย) อตฺตโนมติ อัตโนมัติ, ความต้องการส่วนตัว ตสฺส ตสฺส เถรสฺส อตฺตโนเอว มติ อธิปฺปาโยติ อตฺตโนมติ ความต้องการเฉพาะตัวของพระเถระนั้นๆ (อตฺตโน+มติ)


28

ศัพท์วิเคราะห์

อตฺตภาว อัตภาพ, ร่างกาย, ตัวตน (สรีร วปุ คตฺต โพนฺทิ เทห ฯเปฯ)

อตฺตาติ อภิธานํ พุทฺธิ จ ภวนฺติ เอตสฺมาติ อตฺตภาโว ผู้เป็น แดนให้ มี ชื่ อ และการรู้ จั ก ว่ า อั ต ตา (อตฺ ต บทหน้ า ภู ธาตุ ใ น

ความหมายว่ามี, เป็น อ ปัจจัย, พฤทธิ์ อู เป็น โอ, แปลง โอ เป็น อาว) อตฺถ ๑ ทรัพย์, สมบัติ (ธน ทพฺพ วิตฺต สาปเตยฺย วสุ วิภว) อรนฺติ ปวตฺตนฺติ อเนนาติ อตฺโถ สิ่งเป็นเครื่องให้ดำเนินไปได้ (อร ธาตุในความหมายว่าไป, ถึง, เป็นไป ถ ปัจจัย, แปลง รฺ เป็น ตฺ, ลบสระหน้า) อตฺถ ๒ ประโยชน์, ความเกื้อกูล การเณน อริยติ ปวตฺติยตีติ อตฺโถ สิ่งที่ให้ดำเนินไปตามการณ์ (อร ธาตุในความหมายว่าไป, เป็นไป ถ ปัจจัย, แปลง รฺ เป็น ตฺ, ลบสระหน้า) อตฺถ ๓ เหตุ, สาเหตุ, คดีความ อสติ ภวติ เอเตนาติ อตฺโถ สิ่งเป็นเหตุให้มีให้เป็น (อส ธาตุใน ความหมายว่ามี, เป็น ถ ปัจจัย, แปลง สฺ เป็น ตฺ, ลบสระหน้า) อตฺถ ๔ ผล เหตุอนุสาเรน อริียติ อธิคมียตีติ อตฺโถ สิ่งอันบุคคลถึง คือ

ได้รบั ตามครรลองแห่งเหตุ (ร ธาตุในความหมายว่าไป, ถึง, เป็นไป ถ ปัจจัย, แปลง รฺ เป็น ตฺ, ลบสระหน้า) อตฺถ ๕ ความหมาย, ความมุ่งหมาย, เนื้อความ สทฺโท เอเตน ปวตฺตินิมิตฺเตน อสติ ภวตีติ อตฺโถ เหตุ​ุให้มีศัพท์ (อส ธาตุในความหมายว่ามี, เป็น ถ ปัจจัย, แปลง สฺ เป็น ตฺ, ลบสระหน้า)


พระมหาโพธิวงศาจารย์ (ทองดี สุรเตโช)

อตฺถ ๖ การร้องขอ, ความต้องการ

29

อตฺถตีติ อตฺโถ ภาวะที่ต้องการ (อตฺถ ธาตุในความหมายว่าขอ, ปรารถนา อ ปัจจัย) อตฺถ ๗ ความพินาศ, ความดำรงอยู่ไม่ได้ อรติ นสฺสตีติ อตฺโถ ภาวะที่พินาศ (อร ธาตุในความหมายว่า พินาศ ถ ปัจจัย, แปลง รฺ เป็น ต, ลบสระที่สุดธาตุ) อตฺถกถา, อฏฺ€กถา อรรถกถา, คำอธิบายพระบาลี อตฺโถ กถียติ เอตายาติ อตฺถกถา คำเป็นเครื่องกล่าวเนื้อความ (อตฺถ บทหน้า กถ ธาตุในความหมายว่ากล่าว, ประพันธ์ อ ปัจจัย อา อิตฺ., แปลง ตฺถ เป็น ฏฺ€ ได้รูปเป็น อฏฺ€กถา บ้าง) อตฺถรณ พรมขนสัตว์, เครื่องลาดขนสัตว์ (อุณฺณามย) อาภุโส ถรียเตติ อตฺถรณํ สิ่งอันเขาปูลาดไว้โดยยิ่ง (อา บทหน้า ถร ธาตุในความหมายว่าปูลาด ยุ ปัจจัย, ซ้อน ตฺ, รัสสะ อา เป็น อ, แปลง ยุ เป็น อน, น เป็น ณ) อตฺถี คนขอทาน, ผู้ขอ (ยาจนก ยาจก วินิพฺพก วณิพฺพก) อตฺถติ สีเลนาติ อตฺถี ผู้มีปกติขอ, ผู้มีปกติต้องการ (อตฺถ ธาตุ ในความหมายว่าขอ, ปรารถนา อี ปัจจัย) อทิติ มารดาของพวกเทวดา ทิตีติ อสุรานเมว เวมติกา มาตา, ตสฺสา ปฏิปกฺขภาเวน อทิติ มารดาของพวกเทวดาชื่อว่าอทิติ เพราะตรงกันข้ามกับมารดาของ พวกอสูรที่ชื่อว่าทิติ (น แทนศัพท์+ทิติ, แปลง น เป็น อ) อทฺทก ขิง, ข่า (สิงฺคเวร) อทฺทายํ ภูมิยํ ชาตํ อทฺทกํ พื้นที่เกิดบนพื้นดิน (อทฺทา+ก, รัสสะ อา เป็น อ)


30

อทฺทา ดาวอัททา, ดาวตาสำเภา

ศัพท์วิเคราะห์

อทติ ฆสตีติ อทฺทา ดาวที่กินโชค (อท ธาตุในความหมายว่ากิน อ ปัจจัย อา อิตฺ, ซ้อน ทฺ) อทฺทิ ภูเขา (ปพฺพต คิริ เสล นค สิลุจฺจย ฯเปฯ) - อทฺทติ คจฺฉตีติ อทฺทิ สิ่งที่เป็นไปปกติ (อทฺท ธาตุในความหมาย ว่าไป, เป็นไป อิ ปัจจัย) - อทฺทติ หึสตีติ อทฺทิ สิ่งที่เบียดเบียน (อทฺท ธาตุในความหมายว่า เบียดเบียน อิ ปัจจัย) อทฺทุ เรือนจำ, คุก, ที่คุมขัง (พนฺธนาคาร) - ทุกฺเขน อทนํ อทติ เอตฺถาติ อทฺทุ ที่เป็นที่กินอาหารด้วยความ ลำบาก (อท ธาตุในความหมายว่ากิน ทุ ปัจจัย, ลบสระหน้า) - ทุกฺขํ อทติ อนุภวติ อเนนาติ อทฺทุ ที่เป็นเหตุให้เสวยทุกข์ (เหมือนวิ.ต้น) อทฺธ ๑ กาล, เวลา, กาลนาน (รูปสำเร็จเป็น อทฺธา เช่นเดียวกับ ราชา) - สตฺตานํ ชีวิตํ อสติ เขเปตีติ อทฺธา สิ่งที่ทิ้งชีวิตของสัตว์ทั้งหลาย (อส ธาตุในความหมายว่าทิ้ง, ขว้าง ธ ปัจจัย., แปลง สฺ เป็น ทฺ, ลบสระหน้า) - อตติ สตตํ คจฺฉติ ปวตฺตตีติ อทฺธา สิ่งที่สืบเนื่องเรื่อยไป (อต ธาตุในความหมายว่าติดต่อ, สืบเนื่อง ธ ปัจจัย, แปลง ตฺ เป็น ทฺ, ลบสระหน้า)


พระมหาโพธิวงศาจารย์ (ทองดี สุรเตโช)

31

อทฺธ ๒ ถนน, หนทาง, ทางไกล (รูปสำเร็จเป็น อทฺธา เช่นเดียวกับ

ราชา) - อรนฺติ คจฺฉนฺติ เอตฺถาติ อทฺธา ที่เป็นที่ดำเนินไป (อร ธาตุใน ความหมายว่าไป, เป็นไป ธ ปัจจัย, แปลง รฺ เป็น ทฺ, ลบสระหน้า) - สตฺตานํ วิชิตํ อสติ เขเปตีติ อทฺธา ที่เป็นที่ทิ้งที่อยู่ของเหล่าสัตว์ คือไม่ให้สัตว์อาศัยอยู่ได้ (อส ธาตุในความหมายว่าทิ้ง, ขว้าง ธ ปัจจัย, แปลง สฺ เป็น ทฺ, ลบสระหน้า) อทฺธคู คนเดินทาง, คนเดินทางไกล (ปถาวี ปถิก) อทฺธนิ มคฺเค คจฺฉติ สีเลนาติ อทฺธคู ผู้ดำเนินไปในทางอันไกล (อทฺธ บทหน้า คมุ ธาตุในความหมายว่าไป, เป็นไป รู ปัจจัย, ลบ มฺ ที่สุดธาตุและ ร) อทฺธา กาล, เวลา, กาลนาน (ดู อทฺธ ๑) อทฺธาน ทางไกล อทฺธานํ อยนํ อทฺธานํ ทางอันยาวไกล (อทฺธ+อยน, ลบ ย,

ลบสระหน้า ทีฆะสระหลัง) อทฺธิ ถนน, ทาง อทติ คจฺฉติ เอตฺถาติ อทฺธิ ที่เป็นที่ดำเนินไป (อท ธาตุใน

ความหมายว่าไป, เป็นไป ติ ปัจจัย, แปลง ต เป็น ธ) อธม เลว, ต่ำช้า, น่าเกลียด, ชั้นต่ำ, ล่มจม (หีน นิหีน ลามก อิตฺตร กุจฺฉิต ฯเปฯ) - อโธภาเค ชาโต อธโม ผู้เกิดในส่วนต่ำ (อโธ บทหน้า อิม ปัจจัย, แปลง โอ เป็น อ, ลบ อิ) - ชเนหิ อสติ จชิยเตติ อธโม ผู้อันผู้คนทอดทิ้ง (อส ธาตุใน

ความหมายว่าทิ้ง, ขว้าง อม ปัจจัย, แปลง สฺ เป็น ธฺ)


32

อธมณฺณ ลูกหนี้ (อิณายิก)

ศัพท์วิเคราะห์

อิเณ อธโม อธมณฺโณ ผู้จมอยู่ในหนี้สิน (อิณ+อธม, กลับเป็น อธม+อิณ, แปลง อิ เป็น อ, ซ้อน ณฺ) อธร ริมฝีปาก (ทนฺตาวรณ โอฏฺ€ ทสนจฺฉท) อีสํ กญฺจิ กาลํ ธาเรติ ภกฺขเมตฺถาติ อธโร อวัยวะเป็นที่รองรับ อาหารไว้ครู่หนึ่ง (อีส บทหน้า ธร ธาตุในความหมายว่าทรงไว้ อ ปัจจัย, แปลง อีส เป็น อ) อธิก ยิ่ง, ใหญ่, เกิน, มาก, เหลือเฟือ อธิ เอติ คจฺฉตีติ อธิโก ผู้เป็นไปยิ่ง (อธิ บทหน้า อิ ธาตุใน ความหมายว่าเป็นไป ก ปัจจัย) อธิกต เจ้าหน้าที่, หัวหน้างาน, คนดูแล (อชฺฌกฺข) อธิกํ กโรตีติ อธิกโต ผู้ทำงานใหญ่ (อธิก บทหน้า กร ธาตุใน ความหมายว่าทำ ต ปัจจัย, ลบ ร ที่สุดธาตุ) อธิกรณ อธิกรณ์, คดีความ สมเถหิ อธิกรียติ วูปสมฺมตีติ อธิกรณํ เรื่องอันเขาระงับได้ด้วย สมถะ (อธิ บทหน้า กร ธาตุในความหมายว่าทำ ยุ ปัจจัย, แปลง ยุ เป็น อน, น เป็น ณ) อธิกรณี ทั่ง, แท่นเหล็ก (มุฏฺ€ิ) อธิกโรติ เอติสฺสนฺติ อธิกรณี แท่นเป็นที่กระทำรุนแรง คือรองรับ การทุบตี (อธิ บทหน้า กร ธาตุในความหมายว่าทำ ยุ ปัจจัย อี อิตฺ., แปลง ยุ เป็น อน, น เป็น ณ)


พระมหาโพธิวงศาจารย์ (ทองดี สุรเตโช)

อธิโกฏฺฏน เขียง (สูนา)

33

อธิโกเฏติ เอตฺถาติ อธิโกฏฺฏนํ ที่เป็นที่หั่นดียิ่ง (อธิ บทหน้า กุฏ ธาตุในความหมายว่าตัด ยุ ปัจจัย, พฤทธิ์ อุ เป็น โอ, ซ้อน ฏฺ, แปลง ยุ เป็น อน) อธิคต พระอรหันต์, พระอริยะ (อริย) อธิ ค จฺ ฉิ ตฺ ถ าติ อธิ คโต ผู้ บ รรลุ ธ รรมแล้ ว (อธิ บทหน้ า คมุ

ธาตุในความหมายว่าไป, ถึง, เป็นไป ต ปัจจัย, ลบ มฺ ที่สุดธาตุ) อธิจฺจกา พื้นที่บนภูเขา, ที่ราบบนภูเขา ปพฺพตสฺส อุทฺธํ อจฺจโก ภูมิ อธิจฺจกา พื้นที่ข้างบนภูเขา (อธิ+ อจฺจก+อา) อธิปติ อธิบดี, ผู้เป็นใหญ่, หัวหน้า, ผู้ปกครอง - อธิปาตีติ อธิปติ ผู้ปกครองใหญ่ (อธิ บทหน้า ปา ธาตุใน

ความหมายว่ารักษา ติ ปัจจัย, รัสสะ อา เป็น อ) - อธิโก ปติ อธิปติ นายผู้เป็นใหญ่ (อธิ+ปติ) - อธิกานํ ปติ นายของผู้เป็นใหญ่ (อธิ+ปติ) อธิปฺปาย อธิบาย, ความหมาย, วัตถุประสงค์, ความต้องการ - อธิปิยเตติ อธิปฺปาโย เนื้อความอันบัณฑิตชี้แจง (อธิ บทหน้า ปย ธาตุในความหมายว่าไป ณ ปัจจัย, ซ้อน ปฺ, พฤทธิ์ อ เป็น อา) - จิตฺเต อธิปิยตีติ อธิปฺปาโย สิ่งอันบุคคลตั้งไว้ในใจ (อธิ บทหน้า ปย ธาตุในความหมายว่าไป ณ ปัจจัย, ซ้อน ปฺ, พฤทธิ์ อ เป็น อา) อธิมุตฺติ จุดประสงค์, ความมุ่งหมาย, ความน้อมใจเชื่อ อธิมจุ จฺ นํ จิตเฺ ต อธิฏ€ฺ านํ อธิมตุ ตฺ ิ ความตัง้ ไว้ในจิต (อธิ บทหน้า มุจ ธาตุในความหมายว่าปล่อย, พ้น ติ ปัจจัย, แปลง จฺ เป็น ตฺ, ลบสระหน้า)


34

อธิโมกฺข อธิโมกข์, การตัดสินใจ, ความแน่ใจ (นิจฺฉย)

ศัพท์วิเคราะห์

อธิมุจฺจนํ อิทเมวาติ สนฺนิฏฺ€านกรณํ อธิโมกฺโข การตัดสิน คือ การตกลงใจว่าสิ่งนี้แหละ (อธิ บทหน้า มุจ ธาตุในความหมายว่า ปล่อย, พ้น ข ปัจจัย, พฤทธิ์ อุ เป็น โอ, แปลง จฺ เป็น กฺ,

ลบสระหน้า) อธิโรหณี พะอง, บันไดไม้ (นิสฺเสณี) อุทฺธมาโรหเต เอตายาติ อธิโรหณี สิ่งเป็นเครื่องขึ้นได้ คือ

ช่วยให้ขึ้นได้ (อธิ แทน อุทฺธ บทหน้า รุห ธาตุในความหมายว่า เกิด, งอกขึ้น ยุ ปัจจัย อี อิตฺ., พฤทธิ์ อุ เป็น โอ, แปลง ยุ เป็น อน, น เป็น ณ) อธิวจน ชื่อ, นาม (สญฺ า อวฺหา อวฺหย สมญฺ า อภิธาน นาม นามเธยฺย) อตฺเถน อธีนํ วจนํ อธิวจนํ คำที่เป็นใหญ่โดยใจความ (อธิ+วจน) อธีน, อธิน ทรัพย์, ผู้อาศัย, เป็นบ่าว, เป็นเจ้า, เป็นใหญ่ อธิคโต อิโน ปภู อเนนาติ อธีโน ผู้เป็นเหตุให้ถึงความเป็นใหญ่ (อธิ+อิน) อโธคม ลมพัดลงเบื้องต่ำ อุจฺจารปสฺสาวาทีนํ นีหรณวเสน อโธภาคํ คจฺฉตีติ อโธคโม

ลมที่เดินไปสู่ส่วนล่างโดยนำอุจจาระปัสสาวะออกไป (อโธ บทหน้า คมุ ธาตุในความหมายว่าไป อ ปัจจัย) อโธภุวน เมืองบาดาล, นาคพิภพ (ปาตาล นาคโลก รสาตล) อโธ อธรํ ภุวนํ โลโก อโธภุวนํ ภพเบื้องล่าง (อโธ+ภุวน)


พระมหาโพธิวงศาจารย์ (ทองดี สุรเตโช)

อน เกวียน, เลื่อน (สกฏ วาห อมฺพณ)

35

นตฺถิ นาสา อสฺสาติ อนํ พาหนะทีไ่ ม่มจี มูก คือไม่มงี อนเหมือนรถ (น+นาสา, แปลง น เป็น อ, ลบ สา, รัสสะ อา เป็น อ, หรือ แปลง นาสา เป็น น) อนธิวร พระพุทธเจ้า - อจฺจนฺตวโร อธิวโร นาสฺส อตฺถีติ อนธิวโร ผู้ไม่มีใครยิ่งกว่า (น+ อธิวร, แปลง น เป็น อน) - น ตโต อธิโก วโร อตฺถีติ อนธิวโร ผู้ไม่มีผู้ยิ่งกว่านั้น (น+อธิ+ วร, แปลง น เป็น อน) - นตฺถิ ตสฺส อธิวโรติ อนธิวโร ผู้ไม่มีผู้ประเสริฐยิ่งกว่า (น+อธิวร) อนนฺต อนันตนาคราช เทเวหิปฺยสฺสนฺโต โนปลทฺโธติ อนนฺโต ผู้มีที่สุดที่แม้เทวดาก็ไม่ได้ คือเป็นผู้มีชีวิตไม่สิ้นสุด (น+อนฺต, แปลง น เป็น อน) อนภิรทฺธิ ความปองร้าย, ความไม่พอใจ (พฺยาปาท) ปรสมฺปตฺตีสุ นาภิรมตีติ อนภิรทฺธิ กิริยาที่ไม่พอใจในความถึง พร้อมของผู้อื่น (น+อภิ บทหน้า รมุ ธาตุในความหมายว่ายินดี, พอใจ ติ ปัจจัย, แปลง น เป็น อน, มฺ เป็น ทฺ, ตฺ เป็น ธฺ) อนล ไฟ (ชาตเวท สิขี โชติ ปาวก ทหน ฯเปฯ) - อนติ ชีวติ อเนนาติ อนโล สิ่งเป็นเครื่องเลี้ยงชีวิต (อน ธาตุใน

ความหมายว่ามีชีวิตอยู่ อล ปัจจัย) - อนนฺติ ปาเลนฺติ อเนนาติ อนโล สิ่งเป็นเครื่องปกป้อง (อน ธาตุ ในความหมายว่าปกป้อง, รักษา อล ปัจจัย)


36

อนวชฺช ไม่มีโทษ, ไม่มีที่ตำหนิ, ไม่เลว, ไม่ต่ำช้า

ศัพท์วิเคราะห์

- ชาตฺยาจาราทีหิ นิหีโนยนฺติ น อวทิตพฺโพติ อนวชฺโช ผู้ไม่ควร ถูกดูหมิ่นว่าเป็นคนเลวโดยชาติกำเนิดและความประพฤติเป็นต้น (น+อ บทหน้า วท ธาตุในความหมายว่าพูด ณฺย ปัจจัย, ลบ ณฺ, แปลง น เป็น อน, ทฺย เป็น ชฺช) - น อวชฺชํ อนวชฺชํ ไม่เลว (น+อวชฺช, แปลง น เป็น อน) (ตพฺภาวตฺโถ เจตฺถ อกาโร - อ อักษรในคำนี้มีอรรถเป็นตัพภาวะ คือไม่มีความหมายพิเศษอะไร เหมือน ก สกรรถ) อนวรต เที่ยง, แน่นอน, ประจำ, เป็นนิจ (นิจฺจ สตต อวิรต ธุว

อนารต) น อวรมตีติ อนวรตํ สิ่งที่ไม่เว้น (น+อว บทหน้า รมุ ธาตุใน ความหมายว่ายินดี ต ปัจจัย, แปลง น เป็น อน, ลบสระหน้า และ มฺ ที่สุดธาตุ) อนาถปิณฺฑิก อนาถบิณฑิกคฤหบดี, อนาถบิณฑิกเศรษฐี - สพฺพกาลํ อุปฏฺ€ปิโต อนาถานํ ปิณฺโฑ เอตสฺส อตฺถีติ อนาถปิ ณฺ ฑิ โ ก ผู้ มี ก้ อ นข้ า วเพื่ อ คนอนาถาที่ เ ข้ า ไปตั้ ง ไว้ ต ลอดเวลา (อนาถ+ปิณฺฑ+อิก) - นิจฺจกาลํ อนาถานํ ปิณฺฑํ ททาตีติ อนาถปิณฺฑิโก ผู้ให้ก้อนข้าว แก่คนอนาถาเป็นประจำ (อนาถ+ปิณฺฑ+อิก) อนามิกา นิ้วนาง นตฺถิ นามเมตสฺสาติ อนามิกา นิ้วที่ไม่มีชื่อ (น+นาม+อิก+อา)


พระมหาโพธิวงศาจารย์ (ทองดี สุรเตโช)

37

อนารต เที่ยง, แน่นอน, ประจำ, เป็นนิจ (นิจฺจ สตต อวิรต ธุว

อนวรต) น อารมตีติ อนารตํ สิ่งที่ไม่เว้น (น+อา บทหน้า รมุ ธาตุใน ความหมายว่ายินดี ต ปัจจัย, แปลง น เป็น อน, ลบสระหน้า และ มฺ ที่สุดธาตุ) อนาลย อนาลัย, พระนิพพาน นตฺถิ อาลโย ตณฺหา เอตฺถาติ อนาลยํ ธรรมเป็นที่ไม่มีอาลัย คือตัณหา (น+อาลย, แปลง น เป็น อน) อนิพฺพิทฺธ ทางตัน, ทางสุด (พฺยูห) น นิ พฺ พิ ชฺ ฌ เต รจฺ ฉ นฺ ต เรนาติ อนิ พฺ พิ ทฺ โ ธ ทางที่ ไ ม่ ท ะลุ ไ ป

ทางสายอื่น (น+นิ บทหน้า วิธ ธาตุในความหมายว่าแทงตลอด ต ปัจจัย, แปลง น เป็น อ, วฺ เป็น พฺ, ซ้อน พฺ, แปลง ต กับ ธ เป็น ทฺธ) อนิมิส เทวดา น นิมิสนฺตีติ อนิมิสา ผู้ไม่กะพริบตา (น+นิ บทหน้า มิส ธาตุใน

ความหมายว่ากะพริบตา อ ปัจจัย, แปลง น เป็น อ) อนิล ลม (มาลุ​ุต ปวน วายุ วาต สมีรณ ฯเปฯ) อนติ ชีวติ อเนนาติ อนิโล สิ่งเป็นเหตุให้มีชีวิตอยู่ (อน ธาตุใน

ความหมายว่ามีชีวิต อิล ปัจจัย) อนิลปถ ฟ้า, ท้องฟ้า, กลางหาว อนิลสฺส วาตสฺส ปโถ อนิลปโถ ทางแห่งลม (อนิล+ปถ) อนีก, อณีก กองทัพ, เสนา อณตีติ อนีโก, อนีกํ หมู่คนที่ส่งเสียงดัง (อณ ธาตุในความหมาย ว่าส่งเสียง อีก ปัจจัย, แปลง ณ เป็น น)


38

อนีกฏฺ€ ราชองครักษ์

ศัพท์วิเคราะห์

- ราชูนํ องฺครกฺขโณ อนีกฏฺโ€ติ มโต ผู้มีหน้าที่รักษาพระวรกาย ของพระราชาเรียกว่าราชองครักษ์ - อนีเกน สมูเหน ติฏ€ฺ ตีติ อนีกฏฺโ€ ผูอ้ ยูใ่ นกองทัพ (อนีก บทหน้า €า ธาตุในความหมายว่าตั้งอยู่ อ ปัจจัย, ลบสระหน้า) อนีฆ ไม่มีทุกข์, ไม่มีความยากลำบาก - นตฺถิ ตสฺส นีโฆติ อนีโฆ ผู้ไม่มีทุกข์คือกิเลส (น+นีฆ, แปลง น เป็น อ) - กิเลสทุกฺขสงฺขาตสฺส นีฆสฺส อภาเวน อนีโฆ ผู้ไม่มีนีฆะคือ

ความทุกข์เพราะอำนาจกิเลส (น+นีฆ) อนุกมฺปา ความสงสาร, ความเอ็นดู (กรุณา การุญฺ ฺ ทยา อนุททฺ ยา) อนุ ปุนปฺปนุ ํ กมฺเปติ อตฺตาธารสฺส จิตตฺ นฺติ อนุกมฺปา ธรรมชาติ ที่ทำให้จิตของผู้เห็นแก่ตัวหวั่นไหวได้เป็นประจำ (อนุ บทหน้า กมฺป ธาตุในความหมายว่าหวั่นไหว อ ปัจจัย อา อิตฺ.) อนุกฺกม ลำดับ, ขั้นตอน (กม ปฏิปาฏิ ปริยาย อนุปุพฺพ) อนุรูโป กโม อนุกฺกโม การไปตามรูป (อนุ+กมุ, ซ้อน กฺ) อนุจฺฉวิก สมควร, เหมาะสม (ปฏิรูป) ฉวิยา อนุรปู ํ อนุจฉฺ วิกํ สิง่ ทีส่ มควรแก่ผวิ หนัง หมายถึงเหมาะสม กัน (อนุ+ฉวิ+ก, ซ้อน จฺ) อนุชีวี ข้าเฝ้า, ข้าราชบริพาร, ผู้รับใช้ ปภุโน ปจฺฉา ชีวตีติ อนุชีวี ผู้มีชีวิตอยู่เบื้องหลังผู้เป็นใหญ่ (อนุ แทนศัพท์บทหน้า ชีว ธาตุในความหมายว่าเป็นอยู่ ณี ปัจจัย,

ลบ ณฺ)


พระมหาโพธิวงศาจารย์ (ทองดี สุรเตโช)

อนุตฺตร ยอดเยี่ยม, ประเสริฐ, สูงสุด

39

นตฺถิ อุตฺตโร อุตฺตโม อสฺมาติ อนุตฺตโร ผู้ไม่มีผู้ที่ประเสริฐกว่า (น+อุตฺตร, แปลง น เป็น อน) อนุตาป ความร้อนใจ, ความเดือดร้อน (ตาป วิปฺปฏิสาร ปจฺฉาตาป) อนุตปติ เยน โส อนุตาโป ภาวะเป็นเหตุเดือดร้อนในภายหลัง (อนุ บทหน้า ตป ธาตุในความหมายว่าเผา, ทำให้ร้อน ณ ปัจจัย, พฤทธิ์ อ เป็น อา) อนุทิสา ทิศเฉียง, ทิศน้อย (วิทิสา) ทิสานมนุรูปา อนุคติกา วา ทิสา อนุทิสา ทิศที่เป็นไปตามหรือ คล้อยตามทิศใหญ่ทั้งหลาย (อนุ+ทิสา) อนุทฺทยา ความกรุณา, ความสงสาร (กรุณา การุญฺ ฺ ทยา อนุกมฺปา) อนุทยติ ปรทุกฺขํ อตฺตสุขญฺจ หึสตีติ อนุทฺทยา ธรรมชาติที่ เบียดเบียนความทุกข์ (อนุ บทหน้า ทย ธาตุในความหมายว่า เบียดเบียน อ ปัจจัย อา อิตฺ., ซ้อน ทฺ) อนุป, อนูป ที่ชื้นแฉะ, ที่น้ำขัง (สลิลปฺปาย กจฺฉ) อนุคตา อาปา อตฺราติ อนุโป พื้นที่เป็นที่มีน้ำนองไป (อนุ+อาป, ลบ อา, ทีฆะ อุ เป็น อู ได้รูปเป็น อนูโป บ้าง) อนุปุพฺพ ตามลำดับ, ลำดับ, ขั้นตอน, เป็นแบบฉบับ (ปฏิปาฏิ กม อนุกฺกม ปริยาย) ปุพฺพสฺส อนุรูปา อนุปุพฺพํ มีรูปตามข้างต้น (อนุ+ปุพฺพ) อนุมาน อนุมาน, การกำหนดตามเหตุผล อนุเมยฺยํ อนุมิโนตีติ อนุมานํ การกำหนดตามสิ่งที่ควรกำหนด (อนุ บทหน้า มา ธาตุในความหมายว่ากะ, กำหนด ยุ ปัจจัย, แปลง ยุ เป็น อน)


40

อนุโยค คำย้อนถาม, คำถาม, ปัญหา (ปญฺห ปุจฺฉา)

ศัพท์วิเคราะห์

อนุยุญฺชิตพฺโพ ปุจฺฉิตพฺโพติ อนุโยโค ข้ออันเขาซักถาม (อนุ

บทหน้า ยุช ธาตุในความหมายว่าประกอบ ณ ปัจจัย, พฤทธิ์ อุ เป็น โอ, แปลง ชฺ เป็น คฺ) อนุราธา ดาวอนุราธา, ดาวประจำฉัตร, ดาวนกยูง อนุราธยติ สํสิชฺฌติ สุภาสุภผลเมตายาติ อนุราธา กลุ่มดาว

ที่ เ ป็ น เหตุ ใ ห้ ส ำเร็ จ ผลดี แ ละไม่ ดี (อนุ บทหน้ า ราธ ธาตุ ใ น

ความหมายว่าสำเร็จ อ ปัจจัย อา อิตฺ.) อนุลาป การพูดพล่าม (มุหุมฺภาสา) อนุ ปุ น ปฺ ปุ นํ ลาโป อนุ ล าโป การพู ด ตามเดิ ม คื อ พู ด ซ้ ำ ๆ

(อนุ+ลาป) อนุวาท การกล่าวหา, การต่อว่า, การดูถูก (อุปวาท อุปกฺโกส อวณฺณวาท อปวาท) หีฬเนน วทนํ อนุวาโท การพูดด้วยคำดูถูก (อนุ แทนศัพท์

บทหน้า วท ธาตุในความหมายว่าพูด, กล่าว ณ ปัจจัย, พฤทธิ์ อ เป็น อา) อนุสย อนุสัย, กิเลสที่นอนเนื่องอยู่ในสันดาน อปฺ ป หี น ภาเวน สนฺ ต าเน อนุ ส ยติ อนุ รู ปํ การณํ ลภิ ตฺ ว า อุปฺปชฺชตีติ อนุสโย กิเลสที่นอนเนื่องอยู่ในสันดานด้วยยังละไม่ได้ (อนุ บทหน้า สิ ธาตุในความหมายว่านอน อ ปัจจัย, พฤทธิ์ อิ เป็น เอ, เอ เป็น อย)


พระมหาโพธิวงศาจารย์ (ทองดี สุรเตโช)

41

อนูนก ไม่บกพร่อง, ทั้งปวง, ทั้งสิ้น (สพฺพ สกล อเสส นิสฺเสส กสิณ ฯเปฯ) น อูนํ อสฺมินฺติ อนูนกํ สิ่งที่ไม่มีความพร่อง (น+อูน+ก, แปลง น เป็น อน) อโนตตฺต สระอโนดาต - นตฺถิ จนฺทสูริยานํ สนฺตาเปหิ โอตตฺตํ อุณฺหํ อุทกํ เอตฺถาติ อโนตตฺโต สระที่ไม่มีน้ำร้อน (น+โอตตฺต, แปลง น เป็น อน) - สูริยรํสิสมฺผุฏฺ€าภาเวน น อวตปฺปติ อุทกเมตฺถาติ อโนตตฺโต สระที่มีน้ำไม่ร้อนเพราะไม่ถูกแสงอาทิตย์ (น+อว บทหน้า ตป ธาตุในความหมายว่าร้อน, เดือดร้อน ต ปัจจัย, แปลง น เป็น อน, อว เป็น โอ, ป เป็น ต, ลบสระหน้า) อนฺต ๑ ความตาย, ความเสือ่ ม, ทีส่ ดุ , สุดท้าย, ปลาย, ริม, ขอบ ฯลฯ - อมติ คจฺฉติ ภวปฺปพนฺโธ โอสานเมตฺถาติ อนฺโต ภาวะเป็นที่ไป สู่บั้นปลายแห่งการสืบเนื่องในภพ (อม ธาตุในความหมายว่าไป, ถึง, เป็นไป ต ปัจจัย, แปลง ม เป็น น, ลบสระหน้า) - อมติ คจฺ ฉ ติ เอตฺ ถ โวสานนฺ ติ อนฺ โ ต ส่ ว นเป็ น ที่ ถึ ง ที่ สุ ด (เหมือนวิ.ต้น) อนฺต ๒ ไส้ใหญ่ อนฺตติ, อนฺติยติ อนฺตคุเณนาติ อนฺตํ อวัยวะที่พันกัน, อวัยวะ อันไส้น้อยผูกไว้ (อติ ธาตุในความหมายว่าผูก, มัด, พัน อ ปัจจัย, ซ้อน นฺ, ลบสระหน้า)


42

อนฺต ๓ ความเลว, ความลามก (ลามก)

ศัพท์วิเคราะห์

อมฺมติ ปริภุยฺยติ หีฬียตีติ อนฺโต ภาวะอันเขาออกเสียงด่า (อม ธาตุในความหมายว่าออกเสียง ต ปัจจัย, แปลง มฺ เป็น นฺ, ลบ สระหน้า) อนฺตก มาร, ความตาย โลกานํ อนฺตํ วินาสํ กโรตีติ อนฺตโก ผู้ทำที่สุดคือความพินาศแก่ ชาวโลก (อนฺต บทหน้า กร ธาตุในความหมายว่าทำ กฺวิ ปัจจัย, ลบ ร ที่สุดธาตุและ กฺวิ) อนฺตร ๑ ภายใน, ระหว่าง เทฺว ปกฺเข อนฺตติ พนฺธตีติ อนฺตรํ จุดที่ผูกสองข้างไว้ (อติ ธาตุ ในความหมายว่าผูก อร ปัจจัย, ลงนิคหิตอาคมแล้วแปลงเป็น นฺ, ลบที่สุดธาตุ) อนฺตร ๒ ผ้านุ่ง, เครื่องนุ่ง อนฺตเร ภวํ อนฺตรํ ผ้าที่มีอยู่ในระหว่าง คืออยู่ตรงกลางลำตัว (อนฺตร+ณ) อนฺตรธาน อันตรธาน, ความหายไป, เครื่องปิดกั้น, ฝาปิด อนฺตรํ ธรตีติ อนฺตรธานํ สิ่งที่ทรงอยู่ในระหว่าง คือเข้ามาปิดกั้น ไว้ทำให้มองไม่เห็น (อนฺตร บทหน้า ธา ธาตุในความหมายว่า

ทรงไว้, ปิดกั้น ยุ ปัจจัย, แปลง ยุ เป็น อน) อนฺตรวาสก ผ้าอันตรวาสก, ผ้านุ่ง อนฺตเร มชฺเฌ ภโว วาโส อนฺตรวาสโก ผ้าที่มีอยู่ในระหว่างกลาง ลำตัว (อนฺตร+วาส+ก)


พระมหาโพธิวงศาจารย์ (ทองดี สุรเตโช)

อนฺตราย อันตราย, ความขัดข้อง, สิ่งขัดขวาง (ปจฺจูห อุปสคฺค)

43

- จุติปฏิสนฺธีนมนฺตเร อายตีติ อนฺตราโย ภาวะที่มาในระหว่างจุติ กับปฏิสนธิ (อนฺตร บทหน้า อย ธาตุในความหมายว่าไป, ถึง, เป็นไป อ ปัจจัย, ลบสระหน้า ทีฆะสระหลัง) - จุติปฏิสนฺธีนํ อนฺตเร อายนฺติ อาตปนฺติ อเนนาติ อนฺตราโย ภาวะเป็ น เหตุ ใ ห้ เ ดื อ ดร้ อ นในระหว่ า งจุ ติ กั บ ปฏิ ส นธิ (อนฺ ต ร

บทหน้า อาย ธาตุในความหมายว่าเดือดร้อน อ ปัจจัย) - การิยสิทฺธิ อนฺตรํ วยฺวธานํ อายติ คจฺฉติ อเนนาติ อนฺตราโย ภาวะเป็นเหตุให้ความสำเร็จแห่งการงานถึงความหยุดลงกลางคัน (อนฺตร บทหน้า อย ธาตุในความหมายว่าไป, ถึง, เป็นไป อ ปัจจัย, ลบสระหน้า ทีฆะสระหลัง) - อนฺตเร เวมชฺเฌ เอติ อาคจฺฉตีติ อนฺตราโย ภาวะที่มาในระหว่าง (อนฺตร+อา บทหน้า อิ ธาตุในความหมายว่าไป อ ปัจจัย, แปลง อิ เป็น ย) อนฺตรีป เกาะ (ทีป) ทฺวิธาคตานํ อาปานํ อนฺตรคตํ อนฺตรีปํ ที่ที่อยู่ในระหว่างน้ำที่ แยกออกเป็นสองทาง (อนฺตร+อาป, แปลง อา เป็น อี) อนฺตรีย ผ้านุ่ง (นิวาสน อนฺตร อนฺตรวาสก) พาหุเลฺยน อนฺตเร มชฺเฌ ภวํ อนฺตรียํ ผ้าที่มีอยู่ในระหว่าง

คือกลางลำตัวโดยมาก (อนฺตร บทหน้า อีย ปัจจัย) อนฺตลิกฺข ท้องฟ้า, กลางหาว (ข คคน อาทิจฺจปถ เวหา อากาส ฯเปฯ) - เตสํ เตสํ วตฺ ถู น มนฺ ต รํ นานตฺ ตํ อิ กฺ ข เต โลโก เอเตนาติ อนฺตลิกฺขํ ที่เป็นเหตุให้ชาวโลกมองเห็นชนิด คือความต่างของ


44

ศัพท์วิเคราะห์

วัตถุนั้นๆ ได้ (อนฺตร บทหน้า อิกฺข ธาตุในความหมายว่าเห็น อ ปัจจัย, แปลง ร เป็น ล) - อิกฺขนํ ทสฺสนํ อิกฺขา, ตสฺสา อนฺตรํ การณํ อนฺตลิกฺขํ ขอบเขต

คือเหตุแห่งการดูการเห็น (อนฺตร+อิกฺข) - อนฺตํ ปริโยสานํ ลิขยเต โอโลกยเต เอเตนาติ อนฺตลิกฺขํ ที่เป็น เครื่องให้เขาขีด คือดูข้างต้นข้างปลายได้ (อนฺตร บทหน้า ลิข ธาตุในความหมายว่าขีดเขียน อ ปัจจัย, ซ้อน กฺ) อนฺตวณฺณ ศูทร, คนวรรณะต่ำ (สุทฺท วสล) อนฺ โ ต ลามโก วณฺ โ ณ อสฺ ส าติ อนฺ ต วณฺ โ ณ ผู้ มี ว รรณะต่ ำ (อนฺต+วณฺณ) อนฺติก ใกล้ (สมีป อาสนฺน อุปกฏฺ€ สนฺติก สามนฺต ฯเปฯ) อนฺตโยคา อนฺติกํ ที่อันประกอบด้วยความใกล้ (อนฺต+อิก) อนฺติม ที่สุด, สุดท้าย, ปลาย, ริม, ขอบ (อนฺต ปริยนฺต ปนฺต ปจฺฉิม จริม) อนฺเต ภโว อนฺตโิ ม ภาวะทีม่ ใี นทีส่ ดุ คืออยูร่ มิ สุดท้าย (อนฺต+อิม) อนฺเตปุร ตำหนักใน, ห้องพระมเหสี, เรือนพระสนม (อิตฺถาคาร

โอโรธ สุทฺธนฺต) อนฺเต อพฺภนฺตเร ปุรํ เคหํ อนฺเตปุรํ ตำหนักในภายใน (อนฺต+ปุร) อนฺเตวาสี อันเตวาสิก, ลูกศิษย์ (สิสฺส อนฺเตวาสิก) อาจริยสฺส อนฺเต สมีเป วสนสีโล อนฺเตวาสี ผู้มีปกติอยู่ใกล้ อาจารย์ (อนฺเต+วส+ณี, พฤทธิ์ อ เป็น อา)


พระมหาโพธิวงศาจารย์ (ทองดี สุรเตโช)

อนฺโตคธ นับเนื่อง, นับเข้า (อนฺโตคต ปริยาปนฺน โอคธ)

45

อนฺโต โอคาธตีติ อนฺโตคธํ สิ่งที่ตั้งลงในภายใน (อนฺโต+อว

บทหน้า คาธ ธาตุในความหมายว่าตั้งอยู่ อ ปัจจัย, แปลง อว เป็น โอ, ลบสระหน้า, รัสสะ อา เป็น อ) อนฺทุก โซ่, โซ่ล่ามเท้าช้าง (นิคฬ สงฺขล สงฺขลิกา) อนฺ ท ติ อเนนาติ อนฺ ทุ โ ก สิ่ ง เป็ น เครื่ อ งผู ก (อทิ ธาตุ ใ น

ความหมายว่าผูก ณฺวุ ปัจจัย, ลงนิคหิตอาคมแล้วแปลงเป็น นฺ, แปลง ณฺวุ เป็น อก, อิ เป็น อุ) อนฺธ คนตาบอด - อนฺ ธ ตี ติ อนฺโธ ผู้มืดมิด (อนฺธ ธาตุ ใ นความหมายว่ า มื ด มิ ด ,

การเห็นเสีย อ ปัจจัย) - จกฺขุนา อมติ รุชฺชตีติ อนฺโธ ผู้ป่วยทางจักษุ คือตาพิการ (อม ธาตุในความหมายว่าเจ็บไข้, ป่วย ธ ปัจจัย, แปลง มฺ เป็น นฺ, ลบสระหน้า) อนฺธการ ความมืด, ความมืดมนอนธการ (ตม ติมิส ติมิร) อนฺธํ หตทิฏฺ€ิสตฺติกํ โลกํ กโรตีติ อนฺธกาโร ภาวะที่ทำโลกให้มืด คือทำให้ส่ำสัตว์มองไม่เห็น (อนฺธ บทหน้า กร ธาตุในความหมาย ว่าทำ ณ ปัจจัย, พฤทธิ์ อ เป็น อา) อนฺน การกิน, ของกิน, ข้าวสุก, อาหาร อทิตพฺพนฺติ อนฺนํ สิ่งอันเขากิน (อท ธาตุในความหมายว่ากิน ต ปัจจัย, แปลง ต เป็น นฺน, ลบ ท)


46

ศัพท์วิเคราะห์

อนฺวย วงศ์, ตระกูล, เชือ้ สาย (กุล วํส สนฺตาน อภิชน โคตฺต สนฺตติ)

อนฺวยติ อเนนาติ อนฺวโย ภาวะเป็นเหตุให้ตระกูลเป็นไปต่อไป (อนุ บทหน้า อิ ธาตุในความหมายว่าเป็นไป อ ปัจจัย, แปลง อุ เป็น ว, พฤทธิ์ อิ เป็น เอ, แปลง เอ เป็น อย) อปกฺกม การหนี, การล่าถอย, การหนีเอาตัวรอด อป วชฺเชตฺวา กมนํ อปกฺกโม การหลีกถอยไป (อป บทหน้า กม ธาตุในความหมายว่าก้าวไป อ ปัจจัย, ซ้อน กฺ) อปจย ๑ ความสิ้นไป, ความหมดไป อปจิ ย เตติ อปจโย ภาวะที่ สิ้ นไป (อป บทหน้ า จิ ธาตุ ใ น

ความหมายว่าสิ้นไป ณ ปัจจัย, พฤทธิ์ อิ เป็น เอ, แปลง เอ เป็น อย) อปจย ๒ การบูชา, การเคารพ, การนับถือ (อปจายน อปจิติ) อปจายตีติ อปจโย ภาวะที่นับถือ (อป บทหน้า จาย ธาตุใน ความหมายว่าบูชา, นับถือ อ ปัจจัย, รัสสะ อา เป็น อ) อปจายนา การนับถือ, ความประพฤติอ่อนน้อม, ความถ่อมตน อปจายนฺติ ปูชาวเสน สามีจึ กโรนฺติ เอตายาติ อปจายนา กุศล เจตนาเป็นเหตุให้นับถือกัน (อป บทหน้า จาย ธาตุในความหมาย ว่าบูชา, นับถือ ยุ ปัจจัย, แปลง ยุ เป็น อน) อปจิติ การบูชา, การทำพลีกรรม (ปูชา อจฺจนา อุปหาร พลิ มานน) อปจายนํ อปจิติ การบูชา (อป บทหน้า จิ ธาตุในความหมายว่า บูชา ติ ปัจจัย)


พระมหาโพธิวงศาจารย์ (ทองดี สุรเตโช)

อปจฺจ เหล่ากอ, เชื้อสาย, เทือกเถา, บุตรชาย

47

- ชาเตน นรเก น ปตนฺติ อเนนาติ อปจฺจํ ผู้เกิดมาเป็นเหตุให้

พ่อแม่ไม่ตกนรก (น บทหน้า ปต ธาตุในความหมายว่าตกไป ย ปัจจัย, แปลง น เป็น อ, ตฺย เป็น จฺจ) - น ปตติ น วิจฺฉินฺทติ วํโส เอเตนาติ อปจฺจํ ผู้เป็นเหตุให้

วงศ์ตระกูลไม่ตกไป คือไม่ขาดสูญไป (เหมือนวิ.ต้น) อปณฺณก ไม่ผิด, ถูก (อวิรุทฺธ) วิรุทฺธโวหาเรน น ปณาเมตีติ อปณฺณโก ภาวะที่ไม่น้อมไปตาม โวหารว่าผิด (น บทหน้า ปณ ธาตุในความหมายว่ายกย่อง ณฺวุ ปัจจัย, แปลง น เป็น อ, ณฺวุ เป็น อก, ซ้อน ณฺ) อปถ ทางผิด, ไม่ใช่ทาง อคนฺตพฺพปถภาวโต อเปตํ ปถํ อปถํ ทางที่ไม่ควรไป (อ+ปถ) อปทาน การตัด, พฤติกรรม, กรรมที่เคยประพฤติมา อปทียนฺติ โทสา เอเตน ลูยนฺติ ฉิชฺชนฺติ วาติ อปทานํ กรรม เป็นเครื่องตัดโทษทั้งหลาย (อป บทหน้า ทา ธาตุในความหมายว่า ตัด ยุ ปัจจัย, แปลง ยุ เป็น อน) อปเทส ข้ออ้าง, ข้ออ้างอิง, การชี้แจง อปทิสียติ อิจฺฉิตตฺโถ เอเนนาติ อปเทโส คำเป็นเครื่องชี้แจง ข้อความที่ต้องการ (อป บทหน้า ทิสิ ธาตุในความหมายว่าสวด ณ ปัจจัย, พฤทธิ์ อิ เป็น เอ, ลบสระหน้า) อปมาร, อปสฺมาร โรคลมบ้าหมู, โรคลมชัก สรณํ สาโร, อปคโต สาโร เอตสฺมาติ โส อปมาโร โรคที่มีที่พึ่ง ไปปราศแล้ว คือปราศจากสติรสู้ กึ ตัว (อป+สาร, แปลง ส เป็น ม)


48

ศัพท์วิเคราะห์

อปรโคยาน, อมรโคยาน อปรโคยานทวีป, ทวีปอปรโคยาน

คเวน ยนฺติ เอตฺถาติ โคยานํ, อปรญฺจ ตํ โคยานญฺจาติ อปร- โคยานํ ทวีปที่ผู้คนเดินทางด้วยโคซึ่งเป็นอีกทวีปหนึ่งจากทวีป

ใหญ่อื่น (อปร+โคยาน) อปรณฺณ, อปรนฺน อปรัณณชาติ, อาหารอื่นนอกจากข้าว เช่น ถั่ว งา ผัก ปุพฺพณฺณาทิโต อปรภาเค ปวตฺตมนฺนํ อปรณฺณํ พื้นที่เป็นไปใน ภายหลังบุพพัณชาติ คือพึงกินทีหลังข้าว (อปร+อนฺน, แปลง นฺน เป็น ณฺณ, คงรูปไว้ไม่แปลงบ้าง) อปรปฺปจฺจย ผู้ไม่เชื่อคนอื่น, ผู้ไม่มีคนอื่นเป็นปัจจัย, ผู้ไม่เชื่องมงาย

(อปรปฺปตฺติย) น ปโร ปจฺเจตพฺโพ เอตสฺสอตฺถีติ อปรปฺปจฺจโย ผู้ไม่มีคนอื่นที่ พึงเชื่อ (น+ปร+ปติ บทหน้า อิ ธาตุในความหมายว่าถึง, เป็นไป อ ปัจจัย, แปลง น เป็น อ, อิ เป็น ย, ตฺย เป็น จฺจ, ซ้อน ปฺ, พฤทธิ์ อิ เป็น เอ, แปลง เอ เป็น อย) อปรปฺปตฺติย ผู้ไม่เชื่อคนอื่น, ผู้ไม่มีคนอื่นเป็นปัจจัย, ผู้ไม่เชื่องมงาย

(อปรปฺปจฺจย) น ปโร ปตฺติโย สทฺทหาตพฺโพ เอตสฺส อตฺถีติ อปรปฺปตฺติโย

ผู้ไม่มีคนอื่นที่พึงถึง (น+ปร+ปตฺติย, แปลง น เป็น อ, ซ้อน ปฺ) อปราธ โทษ, ความผิด, ความล่วงเกิน, ความละเมิด - อปคโต ราโธ เยน โส อปราโธ ภาวะเป็นเหตุให้ปราศจากความ สำเร็จ (อป+ราธ)


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.