ตัวอย่าง 15 หน้ าแรก
บทสวดมนต์ทำวัตรเช้า-เย็น แปลไทย
และบทสวดมนต์พิเศษบางบท แปลไทย ฉบับ สวนโมกขพลาราม ไชยา
เพิ่มเติม บทสวดธัมมจักกัปปวัตตนสูตร, พุทธชัยมงคลคาถา (พาหุง), พระคาถาชินบัญชร และบทอื่นๆ พร้อมคำอาราธนา คำถวายทาน คำบูชาต่างๆ
บทสวดมนต์ทำวัตรเช้า-เย็น แปลไทย
เพ ือ่ พ ุทธ ศา สน ์
ผู้เรียบเรียง : สำนักพิมพ์เลี่ยงเชียง ออกแบบปก : อนุชิต คำซองเมือง, รูปเล่ม : กมลชนก พลอยเลี้ยง พิสูจน์อักษร : เจริญ ผุดวรรณา, สุพัฒน์ วงเวียน ISBN 978-616-268-198-1
เพ ียร
สร้างสรรค์และลิขสิทธิ์ บริษัท สำนักพิมพ์เลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน์ จำกัด
105/95-96 ถนนประชาอุทิศ ซอย 45 แขวงบางมด เขตทุ่งครุ กรุงเทพฯ 10140 โทร/แฟกซ์ 02-872-9898
เช ียง
เชิญร่วมเผยแผ่เป็นธรรมทาน
ปี เล ีย่ ง
โทร. 02-872-9191, 02-872-8181, 02-872-7227, 02-872-9898 LC2YOU@GMAIL.COM, LC2YOU@HOTMAIL.COM WWW.LC2U.COM, WWW.พุทธะ.NET
๑๐ ๐
พิมพ์ที่ : โรงพิมพ์เลี่ยงเชียง 223 ถนนบำรุงเมือง กรุงเทพฯ 10200 โทร. 02-221-1050, 02-221-4446, 02-223-8979
แนะพิจารณาบทสวดมนต์
ถอดความจากท่อนหนึ่งของเทปธรรมะ “ทำอย่างไร ได้อย่างนั้น” หลวงพ่อปัญญานันทภิกขุ
๑๐ ๐
ปี เล ีย่ ง
เช ียง
เพ ียร
เพ ือ่ พ ุทธ ศา สน ์
มนต์ หมายถึง คำสอนอันเป็นหลักปฏิบัติในชีวิตประจำวัน ฉะนั้น การสวดมนต์ ก็ ห มายถึ ง การท่ อ งบ่ น คำสอนอั น เป็ น หลั ก ปฏิ บั ติ ใ นชี วิ ต ประจำวั น เพื่ อให้ จ ำได้ และเอาไปคิดพิจารณา จะได้เกิดปัญญาในเรือ่ งนัน้ ๆ ไม่ใช่สวดเพือ่ ให้เกิดความขลัง หรือ เพื่อเรื่องที่จะทำให้เราเป็นไปโดยความขลัง เวลาสวด ควรสวดให้มจี งั หวะจะโคน อย่าเร็วเกินไป พยายามสวดให้มวี รรคตอน พอดีๆ จะได้เกิดความสบายใจ ในขณะที่สวดก็คงจะคิดไม่ทันถึงความหมายของถ้อยคำ ทีเ่ ราสวด แต่วา่ เราสวดเพือ่ ให้จำได้ จำได้แล้วก็เอาไปพิจารณาในตอนหลัง ถึงความหมาย ของบทสวดมนต์แต่ละบท เช่น ถ้ามีหนังสือสำหรับสวดมนต์แต่ละบท หรือถ้ามีหนังสือ สำหรับสวดมนต์อยูท่ บี่ า้ น ว่างๆ เราก็เอามาเปิดอ่านเป็นบทๆ แล้วพิจารณาถึงบทสวดนัน้ ๆ เพือ่ ทำความเข้าใจในความหมายทีล่ กึ ซึง้ เพราะเพียงแต่สวดเฉยๆ ทำให้จำได้อย่างเดียว แต่วา่ เราไม่เข้าใจถึงเนือ้ ความในเรือ่ งทีส่ วด ทำให้ผลทีเ่ กิดขึน้ นัน้ ยังไม่สมบูรณ์ แต่ถา้ เรา เข้าใจความหมายของเนือ้ เรือ่ งทีถ่ กู ต้อง แล้วนำเรือ่ งนัน้ ไปเป็นหลักปฏิบตั ใิ นชีวติ ประจำวัน นั่นแหละ จะช่วยให้เราได้ประโยชน์จาการสวดมนต์มากขึ้น เพราะฉะนั้น จึงใคร่ขอเสนอว่า เวลาเราอยู่บ้านว่าง ๆ ไม่มีอะไรจะทำจะไปคิดถึงเรื่องอะไรมันก็กลุ้มใจเปล่าๆ เป็นการ หาเรื่องทุกข์มาให้แก่ตนเอง เราก็เอาหนังสือสวดมนต์มานั่งพิจารณา ตั้งแต่บทที่เราเริ่ม สวดกันประจำเป็นต้นไป เช่นว่า ในการสวดมนต์ เราเริ่มสวดบทเริ่มต้นก่อนว่า อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา แปลว่า พระผู้มีพระภาคเจ้าเป็นพระอรหันต์ ดับเพลิงกิเลส เพลิงทุกข์สิ้นเชิง ตรัสรู้ชอบได้โดยพระองค์เอง อันนี้คำแปลก็มีอยู่ในตัวด้วย เราก็เอามานั่งพิจารณาว่า พระผู้มีพระภาคเจ้า ทำไมเราจึงเรียกเช่นนั้น ที่เรียกว่า พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ก็ เ พราะเรี ย กด้ ว ยความเคารพ เราใช้ ภควา นี้ เ ป็ น คำแทนชื่ อ ของพระองค์ เป็นการเรียกด้วยความเคารพ หรือบางทีกใ็ ช้ชอื่ หรือนามสกุล เช่น พระองค์ นามสกุลว่า โคตมะ เวลาคนเข้าไปเฝ้า เขาก็จะทูลว่า ข้าแต่พระโคตมะ ถ้าเป็นคนไทยก็ว่า
๑๐ ๐
ปี เล ีย่ ง
เช ียง
เพ ียร
เพ ือ่ พ ุทธ ศา สน ์
ข้าแต่พระโคตมสัมมาสัมพุทธะ อะไรอย่างนั้น และเพิ่ม เจ้าเข้าไปด้วย เพราะเมืองไทย เรานั้นนับถือเจ้านาย จึงนำเอา เจ้า คำนี้ไปต่อท้ายให้พระองค์ด้วยเป็น “พระพุทธเจ้า” เราพูดกันไปอย่างนั้น เพื่อเป็นการเพิ่มความเคารพให้เกิดขึ้นในพระองค์ คำว่า พระผูม้ พี ระภาคเจ้า หรือ ภควา นีเ้ ป็นพระคุณบทหนึง่ ในพระคุณ ๓ ประการ ทีเ่ ราสวดท่องบ่นกันอยูเ่ สมอๆ มีความหมายเป็นเครือ่ งเตือนจิตสะกิดใจ มีความหมายใน เชิงปฏิบัติ ถ้าเราเข้าใจความหมาย เราก็สามารถนำเอามาปฏิบัติและประยุกต์ใช้ ในชีวิตประจำวันได้ คำว่า ภควา นี้ แปลว่า ผูม้ กี รุณา กรุณา นี้ เป็นคำในภาษาบาลีดงั เราจะเห็นได้จาก ธรรมหมวดหนึ่งที่เรียกว่า พรหมวิหารธรรม หมายเอา ธรรมของผู้เป็นใหญ่ คนที่เป็น ใหญ่ เป็นหัวหน้า ต้องมีธรรม ๔ ประการนี้เป็นหลักครองใจ คือ ๑. เมตตา ปรารถนาให้ผู้อื่นเป็นสุข ๒. กรุณา สงสาร เข้าไปช่วยให้เขาพ้นจากความทุกข์ ความเดือดร้อน ๓. มุทิตา ความพลอยยินดี เบิกบานใจ ในเมื่อเขาพ้นจากทุกข์ หรือว่าได้รับ ความสุขความเจริญ ๔. อุเบกขา ความวางเฉย เพราะทำอะไรไม่ได้ จะแสดงเมตตา กรุณา มุทิตา ก็ไม่ได้ ก็เลยอยู่ในลักษณะวางเฉยเสีย กรุณา นั้นก็อยู่ในธรรมข้อหนึ่งใน ๔ ข้อนั้น พระผู้มีพระภาค จึงแปลว่าผู้มีความ กรุณาอันยิง่ ใหญ่ ในบางแห่งว่า มหาการุณโิ ก นาโถ พระองค์ผมู้ คี วามกรุณาเป็นนาถะของโลก เป็นทีพ่ งึ่ ของชาวโลกทางด้านจิตใจ เป็นทีพ่ งึ่ ทีจ่ ะนำเอาพระดำรัสของพระองค์มาใช้เป็นหลัก ปฏิบตั ิ เพือ่ ทีจ่ ะให้เราให้พน้ จากความทุกข์ความเดือดร้อน และให้มคี วามกรุณาประจำจิตใจ หมายความว่า รักคนอื่น สงสารคนอื่น เมื่อบุคคลมีความรักความสงสารผู้อื่น ก็เรียกว่า มีพระประจำใจ ทำให้ใจสงบหน้าตาเบิกบาน ยิ้มแย้มแจ่มใส นี่เราต้องพิจารณาบทสวดอย่างนี้ แล้วนำไปปฏิบัติ จึงจะทำให้เราได้ใช้ประโยชน์ จากบทสวดอย่างเต็มที่และจะได้รับผลอย่างบริบูรณ์ยิ่ง
ภาค ๑ คำทำวัตร เช้า และเย็น บทนำทำวัตรเช้า บูชาพระรัตนตรัย
คำทำวัตรเช้า บทปุพพภาคนมการ ๑. พุทธาภิถุติ ๒. ธัมมาภิถุติ ๓. สังฆาภิถุติ ๔. รตนัตตยัปปณามคาถา ๕. สังเวคปริกิตตนปาฐะ ๖. บทสวดมนต์แปล ตังขณิกปัจจเวกขณปาฐะ
คำทำวัตรเย็น
พุทธานุสสติ พุทธาภิคีติ ธัมมานุสสติ ธัมมาภิคีติ สังฆานุสสติ สังฆาภิคีติ บทสวดมนต์แปล อตีตปัจจเวกขณปาฐะ
เพ ียร
๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖. ๗.
เช ียง
ภาค ๒ บทสวดมนต์พิเศษบางบท ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖. ๗. ๘. ๙. ๑๐. ๑๑ ๑๒. ๑๓.
ปุพพภาคนมการ สรณคมนปาฐะ อัฏฐสิกขาปทปาฐะ ทîวัตติงสาการปาฐะ เขมาเขมสรณทีปิกคาถา อริยธนคาถา ติลักขณาทิคาถา ภารสุตตคาถา ภัทเทกรัตตคาถา ธัมมคารวาทิคาถา โอวาทปาฏิโมกขคาถา ปฐมพุทธภาสิตคาถา ปัจฉิมพุทโธวาทปาฐะ
๑๐ ๐
ปี เล ีย่ ง
๓ ๓ ๕ ๖ ๗ ๙ ๑๔
เพ ือ่ พ ุทธ ศา สน ์
สารบั๑ญ
๑๗ ๑๘ ๒๐ ๒๐ ๒๒ ๒๓ ๒๕ ๒๘ ๒๘ ๒๙ ๓๐ ๓๒ ๓๓ ๓๔ ๓๕ ๓๖ ๓๗ ๓๘ ๓๙ ๔๐
๔๐
๑๔. บทพิจารณาสังขาร
ภาคผนวก ๑. สัพพปัตติทานคาถา (กรวดน้ำตอนเช้า)
๑๐ ๐
ปี เล ีย่ ง
เช ียง
เพ ียร
เพ ือ่ พ ุทธ ศา สน ์
๒. ปัฏฐนฐปนคาถา ๓. อุททิสสนาธิฏฐานคาถา (กรวดน้ำตอนเย็น) ๔. คำสาธุการเมื่อพระเทศน์จบ ๕. อริยมรรคมีองค์แปด ๖. ปัจจเวกขณองค์อุโบสถศีล ๗. ปราภวสุตตปาฐะ ๘. บทแผ่เมตตา ๙. บทธาตุปัจจเวกขณวิธี ปัตติทานคาถา นมัสการพระอรหันต์ ๘ ทิศ วันทามิ พุทธัง วันทาเล็ก วันทาพระ รับอรุณ คาถาหว่านทราย คาถาโพธิบาท คาถามงคลจักรวาลแปดทิศ พิธีรักษาอุโบสถศีล อภิณหปัจจเวกขณะ คำลากลับบ้าน คำบูชาพระรัตนตรัย คำอาราธนาศีล ๕ คำอาราธนาพระปริตร คำอาราธนาธรรม คำถวายข้าวพระพุทธ คำลาข้าวพระพุทธ คำถวายสังฆทาน (สามัญ) พระธัมมจักกัปปวัตตนสูตร พระคาถาชินบัญชร บทพุทธชัยมงคลคาถา (พาหุง) อานิสงส์ของการสวดมนต์
๔๒ ๔๓ ๔๖ ๔๙ ๕๑ ๕๘ ๖๖ ๖๙ ๗๐ ๗๒ ๗๔ ๗๕ ๗๗ ๗๗ ๗๗ ๗๘ ๗๘ ๗๙ ๗๙ ๘๔ ๘๕ ๘๕ ๘๖ ๘๗ ๘๗ ๘๘ ๘๘ ๘๘ ๘๙ ๙๘ ๑๐๒ ๑๐๖
ภาค ๑ คำทำวัตร เช้า และเย็น
เพ ือ่ พ ุทธ ศา สน ์
(บทนำทำวัตรเช้า บูชาพระรัตนตรัย) โย โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ,
พระผู้มีพระภาคเจ้านั้นพระองค์ใด, เป็นพระอรหันต์, ดับเพลิงกิเลสเพลิงทุกข์สิ้นเชิง, ตรัสรู้ชอบได้โดยพระองค์เอง, สîวากขาโต เยนะ ภะคะวะตา ธัมโม, พระธรรมเป็นธรรมที่พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์ใด ตรัสไว้ดีแล้ว, สุปะฏิปันโน ยัสสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, พระสงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์ใด ปฏิบัติดีแล้ว,
เพ ียร
ตัมมะยัง ภะคะวันตัง สะธัมมัง สะสังฆัง, อิเมหิ สักกาเรหิ ยะถาระหัง อาโรปิเตหิ อะภิปูชะยามะ,
ข้าพเจ้าทัง้ หลาย ขอบูชาอย่างยิง่ , ซึง่ พระผูม้ พี ระภาคเจ้าพระองค์นนั้ , พร้อมทั้งพระธรรมและพระสงฆ์ ด้วยเครื่องสักการะทั้งหลายเหล่านี้, อันยกขึ้นตามสมควรแล้วอย่างไร,
ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ พระผู้มีพระภาคเจ้าแม้ปรินิพพานนานแล้ว ทรงสร้างคุณอันสำเร็จประโยชน์ไว้แก่ข้าพเจ้าทั้งหลาย,
ปี เล ีย่ ง
เช ียง
สาธุ โน ภันเต ภะคะวา สุจิระปะรินิพพุโตปิ,
๑๐ ๐
ปัจฉิมา ชะนะตานุกัมปะมานะสา,
ทรงมีพระหฤทัยอนุเคราะห์ แก่พวกข้าพเจ้าอันเป็นชนรุ่นหลัง,
จำกัด บริษัท สำนักพิมพ์เลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน์
1
อิเม สักกาเร ทุคคะตะปัณณาการะภูเต ปะฏิคคัณหาตุ,
ขอพระผู้มีพระภาคเจ้า จงรับเครื่องสักการะอันเป็นบรรณาการ
ของคนยากทั้งหลายเหล่านี้
เพือ่ ประโยชน์ และความสุขแก่ขา้ พเจ้าทัง้ หลายตลอดกาลนานเทอญ.
เพ ือ่ พ ุทธ ศา สน ์
อัมหากัง ทีฆะรัตตัง หิตายะ สุขายะ, อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา,
พระผูม้ พี ระภาคเจ้า, เป็นพระอรหันต์, ดับเพลิงกิเลสเพลิงทุกข์สนิ้ เชิง, ตรัสรู้ชอบได้โดยพระองค์เอง, พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ. ข้าพเจ้าอภิวาทพระผู้มีพระภาคเจ้า, ผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน. (กราบ) ส๎วากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, พระธรรม เป็นธรรมที่พระผู้มีพระภาคเจ้า, ตรัสไว้ดีแล้ว, ธัมมัง นะมัสสามิ. ข้าพเจ้านมัสการพระธรรม. (กราบ) สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, พระสงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้า, ปฏิบัติดีแล้ว, สังฆัง นะมามิ. ข้าพเจ้านอบน้อมพระสงฆ์. (กราบ)
๑๐ ๐
ปี เล ีย่ ง
เช ียง
เพ ียร
2
บทสวดมนต์ทำวัตรเช้า-เย็น แปลไทย
คำทำวัตรเช้า บทปุพพภาคนมการ
เพ ือ่ พ ุทธ ศา สน ์
(หันทะ มะยัง พุทธัสสะ ภะคะวะโต ปุพพะภาคะนะมะการัง
กะโรมะ เส.) นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต, ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า พระองค์นั้น, อะระหะโต, ซึ่งเป็นผู้ไกลจากกิเลส, สัมมาสัมพุทธัสสะ. ตรัสรู้ชอบได้โดยพระองค์เอง. (กล่าว ๓ ครั้ง)
เพ ียร
๑. พุทธาภิถุติ
๑๐ ๐
ปี เล ีย่ ง
เช ียง
(หันทะ มะยัง พุทธาภิถุติง กะโรมะ เส.) โย โส ตะถาคะโต, พระตถาคตเจ้านั้น พระองค์ใด, อะระหัง, เป็นผู้ไกลจากกิเลส, สัมมาสัมพุทโธ, เป็นผู้ตรัสรู้ชอบได้โดยพระองค์เอง, วิชชาจะระณะสัมปันโน, เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยวิชชาและจรณะ, สุคะโต, เป็นผู้ไปแล้วด้วยดี, โลกะวิทู, เป็นผู้รู้โลกอย่างแจ่มแจ้ง, อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสารถิ,
เป็นผู้สามารถฝึกบุรุษที่สมควรฝึกได้อย่างไม่มีใครยิ่งกว่า, สัตถา เทวะมะนุสสานัง, เป็นครูผู้สอนของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย, จำกัด บริษัท สำนักพิมพ์เลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน์
3
เพ ือ่ พ ุทธ ศา สน ์
พุทโธ, เป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบานด้วยธรรม, ภะคะวา, เป็นผูม้ คี วามจำเริญ จำแนกธรรมสัง่ สอนสัตว์, โย อิมัง โลกัง สะเทวะกัง สะมาระกัง สะพ๎รัหîมะกัง สัสสะมะณะพ๎ราหîมะณิง ปะชัง สะเทวะมะนุสสัง สะยัง อะภิญญา สัจฉิกัต๎วา ปะเวเทสิ,
พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์ใด, ได้ทรงทำความดับทุกข์ให้แจ้งด้วย
พระปัญญาอันยิง่ เองแล้ว, ทรงสอนโลกนีพ้ ร้อมทัง้ เทวดา, มาร พรหม
และหมูส่ ตั ว์ พร้อมทัง้ สมณพราหมณ์, พร้อมทัง้ เทวดาและมนุษย์ให้รตู้ าม, โย ธัมมัง เทเสสิ, พระผูม้ พี ระภาคเจ้าพระองค์ใด ทรงแสดงธรรมแล้ว, อาทิกัล๎ยาณัง, ไพเราะในเบื้องต้น, มัชเฌกัล๎ยาณัง, ไพเราะในท่ามกลาง, ปะริโยสานะกัล๎ยาณัง, ไพเราะในที่สุด,
เพ ียร
เช ียง
สาตถัง สะพîยัญชะนัง เกวะละปะริปุณณัง ปะริสุทธัง พ๎รัหîมะจะริยัง ปะกาเสสิ,
ทรงประกาศพรหมจรรย์ คือแบบแห่งการปฏิบัติอันประเสริฐ บริสุทธิ์
บริบูรณ์สิ้นเชิง, พร้อมทั้งอรรถะ พร้อมทั้งพยัญชนะ,
ปี เล ีย่ ง
ตะมะหัง ภะคะวันตัง อะภิปูชะยามิ,
ข้าพเจ้าบูชาอย่างยิ่ง เฉพาะพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น,
ข้าพเจ้านอบน้อมพระผู้มีพระภาคเจ้า พระองค์นั้น ด้วยเศียรเกล้า. (กราบระลึกถึงพระพุทธคุณ)
๑๐ ๐
ตะมะหัง ภะคะวันตัง สิระสา นะมามิ.
4
บทสวดมนต์ทำวัตรเช้า-เย็น แปลไทย
๒. ธัมมาภิถุติ (หันทะ มะยัง ธัมมาภิถุติง กะโรมะ เส.) โย โส ส๎วากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม,
พระธรรมนั้นใด, เป็นสิ่งที่พระผู้มีพระภาคเจ้า, ได้ตรัสไว้ดีแล้ว สันทิฏฐิโก, เป็นสิ่งที่ผู้ศึกษาและปฏิบัติ, พึงเห็นได้ด้วยตนเอง, อะกาลิโก, เป็นสิง่ ที่ปฏิบัติได้ และให้ผลได้ไม่จำกัดกาล, เอหิปสั สิโก, เป็นสิง่ ทีค่ วรกล่าวกะผูอ้ นื่ ว่า ท่านจงมาดูเถิด, โอปะนะยิโก, เป็นสิ่งทีค่ วรน้อมเข้ามาใส่ตัว, ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหิ, เป็นสิ่งที่ผู้รู้ก็รู้ได้เฉพาะตน, ตะมะหัง ธัมมัง อะภิปูชะยามิ, ข้าพเจ้าบูชาอย่างยิ่งเฉพาะพระธรรมนั้น, ตะมะหัง ธัมมัง สิระสา นะมามิ. ข้าพเจ้านอบน้อมพระธรรมนั้น ด้วยเศียรเกล้า. (กราบระลึกถึงพระธรรมคุณ)
ปี เล ีย่ ง
เช ียง
เพ ียร
เพ ือ่ พ ุทธ ศา สน ์
๑๐ ๐
จำกัด บริษัท สำนักพิมพ์เลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน์
5
๓. สังฆาภิถุติ (หันทะ มะยัง สังฆาภิถุติง กะโรมะ เส.) โย โส สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้านั้น หมู่ใด, ปฏิบัติดีแล้ว,
สงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้า หมู่ใด, ปฏิบัติตรงแล้ว,
สงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้า หมู่ใด, ปฏิบัติเพื่อรู้ธรรม เป็นเครื่องออกจากทุกข์แล้ว,
เพ ือ่ พ ุทธ ศา สน ์
อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
สงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้า หมู่ใด, ปฏิบัติสมควรแล้ว, ยะทิทัง, ได้แก่บุคคลเหล่านี้คือ, จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา, คู่แห่งบุรุษ ๔ คู่ นับเรียงตัวบุรุษ ได้ ๘ บุรุษ๑, เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, นั่นแหละ สงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้า, อาหุเนยโย, เป็นสงฆ์ควรแก่สักการะที่เขานำมาบูชา, ปาหุเนยโย, เป็นสงฆ์ควรแก่สักการะที่เขาจัดไว้ต้อนรับ, ทักขิเณยโย, เป็นผู้ควรรับทักษิณาทาน, อัญชะลิกะระณีโย, เป็นผู้ที่บุคคลทั่วไปควรทำอัญชลี,
๑๐ ๐
ปี เล ีย่ ง
เช ียง
เพ ียร
๑ สีค่ คู่ อื โสดาปัตติมรรค โสดาปัตติผล, สกิทาคามิมรรค สกิทาคามิผล, อนาคามิมรรค อนาคามิผล,
อรหัตตมรรค อรหัตตผล.
6
บทสวดมนต์ทำวัตรเช้า-เย็น แปลไทย
อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสะ, เป็นเนื้อนาบุญของโลก, ไม่มีนาบุญอื่นยิ่งกว่า, ตะมะหัง สังฆัง อะภิปูชะยามิ, ข้าพเจ้าบูชาอย่างยิ่ง เฉพาะพระสงฆ์หมู่นั้น, ตะมะหัง สังฆัง สิระสา นะมามิ. ข้าพเจ้านอบน้อมพระสงฆ์หมู่นั้น ด้วยเศียรเกล้า. (กราบระลึกถึงพระสังฆคุณ)
เพ ือ่ พ ุทธ ศา สน ์
๔. รตนัตตยัปปณามคาถา
เพ ียร
(หันทะ มะยัง ระตะนัตตะยัปปะณามะคาถาโย เจวะ สังเวคะ-
ปะริกิตตะนะปาฐัญจะ ภะณามะ เส.) พุทโธ สุสุทโธ กะรุณามะหัณณะโว, พระพุทธเจ้าผู้บริสุทธิ์ มีพระกรุณาดุจห้วงมหรรณพ, โยจจันตะสุทธัพพะระญาณะโลจะโน, พระองค์ใด มีตาคือญาณอันประเสริฐหมดจดถึงที่สุด, โลกัสสะ ปาปูปะกิเลสะฆาตะโก, เป็นผู้ฆ่าเสียซึ่งบาป และอุปกิเลสของโลก, วันทามิ พุทธัง อะหะมาทะเรนะ ตัง, ข้าพเจ้าไหว้พระพุทธเจ้าพระองค์นั้น โดยใจเคารพเอื้อเฟื้อ, ธัมโม ปะทีโป วิยะ ตัสสะ สัตถุโน, พระธรรมของพระศาสดา สว่างรุ่งเรืองเปรียบดวงประทีป, โย มัคคะปากามะตะเภทะภินนะโก, จำแนกประเภท คือ มรรค ผล นิพพาน, ส่วนใด,
๑๐ ๐
ปี เล ีย่ ง
เช ียง
จำกัด บริษัท สำนักพิมพ์เลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน์
7
โลกุตตะโร โย จะ ตะทัตถะทีปะโน, ซึ่งเป็นตัวโลกุตตระ, และส่วนใดที่ชี้แนวแห่งโลกุตตระนั้น, วันทามิ ธัมมัง อะหะมาทะเรนะ ตัง, ข้าพเจ้าไหว้พระธรรมนั้น โดยใจเคารพเอื้อเฟื้อ, สังโฆ สุเขตตาภ๎ยะติเขตตะสัญญิโต, พระสงฆ์เป็นนาบุญอันยิ่งใหญ่กว่านาบุญอันดีทั้งหลาย, โย ทิฏฐะสันโต สุคะตานุโพธะโก, เป็นผู้เห็นพระนิพพาน, ตรัสรู้ตามพระสุคต, หมู่ใด, โลลัปปะหีโน อะริโย สุเมธะโส, เป็นผู้ละกิเลสเครื่องโลเล เป็นพระอริยเจ้า มีปัญญาดี, วันทามิ สังฆัง อะหะมาทะเรนะ ตัง, ข้าพเจ้าไหว้พระสงฆ์หมู่นั้น โดยใจเคารพเอื้อเฟื้อ, อิจเจวะเมกันตะภิปูชะเนยยะกัง,
เพ ียร
เพ ือ่ พ ุทธ ศา สน ์
บุญใด ที่ข้าพเจ้าผู้ไหว้อยู่ซึ่งวัตถุสาม คือพระรัตนตรัยอันควรบูชายิ่ง
โดยส่วนเดียว, ได้กระทำแล้วเป็นอย่างยิ่งเช่นนี้นี้, ขออุปัทวะทั้งหลาย
จงอย่ามีแก่ข้าพเจ้าเลย, ด้วยอำนาจความสำเร็จอันเกิดจากบุญนั้น.
๑๐ ๐
ปี เล ีย่ ง
เช ียง
วัตถุตต๎ยัง วันทะยะตาภิสังขะตัง, ปุญญัง มะยา ยัง มะมะ สัพพุปัททะวา, มา โหนตุ เว ตัสสะ ปะภาวะสิทธิยา.
8
บทสวดมนต์ทำวัตรเช้า-เย็น แปลไทย
๕. สังเวคปริกิตตนปาฐะ อิธะ ตะถาคะโต โลเก อุปปันโน, พระตถาคตเจ้าเกิดขึ้นแล้ว ในโลกนี้,
อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ,
เป็นผู้ไกลจากกิเลส ตรัสรู้ชอบได้โดยพระองค์เอง, ธัมโม จะ เทสิโต นิยยานิโก, และพระธรรมที่ทรงแสดง เป็นธรรมเครื่องออกจากทุกข์, อุปะสะมิโก ปะรินิพพานิโก, เป็นเครื่องสงบกิเลส เป็นไปเพื่อปรินิพพาน, สัมโพธะคามี สุคะตัปปะเวทิโต, เป็นไปเพื่อความรู้พร้อม เป็นธรรมที่พระสุคตประกาศ, มะยันตัง ธัมมัง สุต๎วา เอวัง ชานามะ, พวกเราเมื่อได้ฟังธรรมนั้นแล้ว จึงได้รู้อย่างนี้ว่า, ชาติปิ ทุกขา, แม้ความเกิดก็เป็นทุกข์, ชะราปิ ทุกขา, แม้ความแก่ก็เป็นทุกข์, มะระณัมปิ ทุกขัง, แม้ความตายก็เป็นทุกข์,
เช ียง
เพ ียร
เพ ือ่ พ ุทธ ศา สน ์
ปี เล ีย่ ง
โสกะปะริเทวะทุกขะโทมะนัสสุปายาสาปิ ทุกขา,
แม้ความโศก ความร่ำไรรำพัน ความไม่สบายกาย ความไม่สบายใจ
ความคับแค้นใจ ก็เป็นทุกข์,
๑๐ ๐
อัปปิเยหิ สัมปะโยโค ทุกโข,
ความประสบกับสิ่งไม่เป็นที่รักที่พอใจ ก็เป็นทุกข์, ปิเยหิ วิปปะโยโค ทุกโข, ความพลัดพรากจากสิ่งเป็นที่รักที่พอใจ ก็เป็นทุกข์, จำกัด บริษัท สำนักพิมพ์เลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน์
9
ยัมปิจฉัง นะ ละภะติ ตัมปิ ทุกขัง, มีความปรารถนาสิ่งใด ไม่ได้สิ่งนั้น นั่นก็เป็นทุกข์, สังขิตเตนะ ปัญจุปาทานักขันธา ทุกขา, ว่าโดยย่อ อุปาทานขันธ์ทั้ง ๕ เป็นตัวทุกข์, เสยยะถีทัง, ได้แก่สิ่งเหล่านี้คือ :- รูปูปาทานักขันโธ, ขันธ์ อันเป็นที่ตั้งแห่งความยึดมั่น คือรูป, เวทะนูปาทานักขันโธ, ขันธ์ อันเป็นทีต่ งั้ แห่งความยึดมัน่ คือเวทนา, สัญญูปาทานักขันโธ, ขันธ์ อันเป็นทีต่ งั้ แห่งความยึดมัน่ คือสัญญา, สังขารูปาทานักขันโธ, ขันธ์ อันเป็นทีต่ งั้ แห่งความยึดมัน่ คือสังขาร, วิญญาณูปาทานักขันโธ, ขันธ์ อันเป็นที่ตั้งแห่งความยึดมั่น คือวิญญาณ, เยสัง ปะริญญายะ, เพื่อให้สาวกกำหนดรอบรู้อุปาทานขันธ์เหล่านี้เอง, ธะระมาโน โส ภะคะวา, จึงพระผู้มีพระภาคเจ้านั้น เมื่อยังทรงพระชนม์อยู่, เอวัง พะหุลัง สาวะเก วิเนติ, ย่อมทรงแนะนำสาวกทั้งหลาย เช่นนี้เป็นส่วนมาก,
ปี เล ีย่ ง
เช ียง
เพ ียร
เพ ือ่ พ ุทธ ศา สน ์
เอวัง ภาคา จะ ปะนัสสะ ภะคะวะโต สาวะเกสุ อะนุสาสะนี พะหุลา ปะวัตตะติ, อนึง่ คำสัง่ สอนของพระผูม้ พี ระภาคเจ้านัน้ ย่อมเป็นไปในสาวกทัง้ หลาย, ส่วนมาก, มีส่วนคือการจำแนกอย่างนี้ว่า, รูปัง อะนิจจัง, รูปไม่เที่ยง, เวทะนา อะนิจจา, เวทนาไม่เที่ยง,
๑๐ ๐
10
บทสวดมนต์ทำวัตรเช้า-เย็น แปลไทย
เพ ียร
เพ ือ่ พ ุทธ ศา สน ์
สัญญา อะนิจจา, สัญญาไม่เที่ยง, สังขารา อะนิจจา, สังขารไม่เที่ยง, วิญญาณัง อะนิจจัง, วิญญาณไม่เที่ยง, รูปัง อะนัตตา, รูปไม่ใช่ตัวตน, เวทะนา อะนัตตา, เวทนาไม่ใช่ตัวตน, สัญญา อะนัตตา, สัญญาไม่ใช่ตัวตน, สังขารา อะนัตตา, สังขารไม่ใช่ตัวตน, วิญญาณัง อะนัตตา, วิญญาณไม่ใช่ตัวตน, สัพเพ สังขารา อะนิจจา, สังขารทั้งหลายทั้งปวงไม่เที่ยง, สัพเพ ธัมมา อะนัตตาติ. ธรรมทั้งหลายทั้งปวงไม่ใช่ตัวตน ดังนี้ ; เต (หญิงว่า ตา) มะยัง โอติณณาม๎หะ,
พวกเราทั้งหลายเป็นผู้ถูกครอบงำแล้ว, ชาติยา, โดยความเกิด, ชะรามะระเณนะ, โดยความแก่ และความตาย,
โดยความโศก ความร่ำไรรำพัน ความไม่สบายกาย ความไม่สบายใจ ความคับแค้นใจทั้งหลาย, ทุกโขติณณา, เป็นผู้ถูกความทุกข์ หยั่งเอาแล้ว, ทุกขะปะเรตา, เป็นผู้มีความทุกข์ เป็นเบื้องหน้าแล้ว,
ปี เล ีย่ ง
เช ียง
โสเกหิ ปะริเทเวหิ ทุกเขหิ โทมะนัสเสหิ อุปายาเสหิ,
๑๐ ๐
อั ป เปวะนามิมัสสะ เกวะลัสสะ ทุกขักขันธัสสะ อันตะกิ ริ ยา ปัญญาเยถาติ,
ทำไฉน การทำที่สุดแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ จะพึงปรากฏชัดแก่เราได้,
จำกัด บริษัท สำนักพิมพ์เลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน์
11
(สำหรับภิกษุ-สามเณรสวด) จิระปะรินิพพุตัมปิ ตัง ภะคะวันตัง อุททิสสะ อะระหันตัง สัมมา สัมพุทธัง, เราทั้งหลาย อุทิศเฉพาะพระผู้มีพระภาคเจ้า ผู้ไกลจากกิเลส ตรัสรู้
ชอบได้โดยพระองค์เอง แม้ปรินิพพานนานแล้ว พระองค์นั้น,
เป็นผู้มีศรัทธา ออกบวชจากเรือน ไม่เกี่ยวข้องด้วยเรือนแล้ว,
ประพฤติอยู่ซึ่งพรหมจรรย์ ในพระผู้มีพระภาคเจ้า พระองค์นั้น,
ถึงพร้อมด้วยสิกขาและธรรมเป็นเครื่องเลี้ยงชีวิตของภิกษุทั้งหลาย,
ขอให้พรหมจรรย์ของเราทั้งหลายนั้น จงเป็นไปเพื่อการทำที่สุดแห่ง
กองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ เทอญ.
เพ ือ่ พ ุทธ ศา สน ์
สัทธา อะคารัส๎มา อะนะคาริยัง ปัพพะชิตา, ตัส๎มิง ภะคะวะติ พ๎รัหîมะจะริยัง จะรามะ,
เพ ียร
ภิกขูนัง สิกขาสาชีวะสะมาปันนา,
๑๐ ๐
ปี เล ีย่ ง
เช ียง
ตัง โน พ๎รหั มî ะจะริยงั อิมสั สะ เกวะลัสสะ ทุกขักขันธัสสะ อันตะกิรยิ ายะ สังวัตตะตุ,
ทีข่ ดี เส้นใต้ สามเณรสวดพึงเว้นประโยคนี้ หรือจะเปลีย่ นเป็น สามะเณรานัง สักขาสาชีวะสะมาปันนา แปลว่า “ถึงพร้อมด้วยสิกขาและธรรมเป็นเครื่องเลี้ยงชีวิตของสามเณรทั้งหลาย” อย่างนี้ก็ได้.
12
บทสวดมนต์ทำวัตรเช้า-เย็น แปลไทย
(สำหรับคฤหัสถ์สวด) จิระปะรินิพพุตัมปิ ตัง ภะคะวันตัง สะระณัง คะตา๑, เราทั้งหลาย ผู้ถึงแล้วซึ่งพระผู้มีพระภาคเจ้า แม้ปรินิพพานนานแล้ว
พระองค์นั้น เป็นสรณะ, ธัมมัญจะ สังฆัญจะ, ถึงพระธรรมด้วย ถึงพระสงฆ์ด้วย
เพ ือ่ พ ุทธ ศา สน ์
ตัสสะ ภะคะวะโต สาสะนัง ยะถาสะติ ยะถาพะลัง มะนะสิ-
กะโรมะ๒ อะนุปะฏิปัชชามะ๒,
จักทำในใจอยู่ ปฏิบัติตามอยู่ ซึ่งคำสั่งสอนของพระผู้มีพระภาคเจ้านั้น
ตามสติกำลัง, สา สา โน ปะฏิปัตติ, ขอให้ความปฏิบัตินั้นๆ ของเราทั้งหลาย,
เพ ียร
อิมัสสะ เกวะลัสสะ ทุกขักขันธัสสะ อันตะกิริยายะ สังวัตตะตุ. จงเป็นไปเพื่อการทำที่สุดแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ เทอญ.
เช ียง
(จบคำทำวัตรเช้า)
๑๐ ๐
ปี เล ีย่ ง
๑ ถ้าอุบาสกสวดคนเดียว ให้ใช้ว่า คะโต ถ้าสวดหลายคนจึงใช้ คะตา ได้ ส่วนอุบาสิกา จะสวดคนเดียวหรือหลายคน ก็ใช้ คะตา ๒ ถ้าสวดคนเดียวให้ใช้ มิ แทน มะ.
จำกัด บริษัท สำนักพิมพ์เลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน์
13
๖. บทสวดมนต์แปล ตังขณิกปัจจเวกขณปาฐะ (หันทะ มะยัง ตังขะณิกะปัจจะเวกขะณะปาฐัง ภะณามะ เส.) (ขณะใช้สอยจีวร)
เพ ือ่ พ ุทธ ศา สน ์
ปะฏิสังขา โยนิโส จีวะรัง ปะฏิเสวามิ,
เราย่อมพิจารณาโดยแยบคายแล้วนุ่งห่มจีวร ยาวะเทวะ สีตัสสะ ปะฏิฆาตายะ, เพียงเพื่อบำบัดความหนาว อุณหัสสะ ปะฏิฆาตายะ, เพื่อบำบัดความร้อน ฑังสะมะกะสะวาตาตะปะสิริงสะปะสัมผัสสานัง ปะฏิฆาตายะ, เพื่อบำบัดสัมผัสอันเกิดจากเหลือบ ยุง ลม แดด และสัตว์เลื้อยคลาน
ทั้งหลาย ยาวะเทวะ หิริโกปินะปะฏิจฉาทะนัตถัง. และเพียงเพื่อปกปิดอวัยวะ อันให้เกิดความละอาย.
เพ ียร
เช ียง
(ขณะบริโภคบิณฑบาต)
ปะฏิสังขา โยนิโส ปิณฑะปาตัง ปะฏิเสวามิ, เราย่อมพิจารณาโดยแยบคายแล้วฉันบิณฑบาต, เนวะ ทะวายะ, ไม่ให้เป็นไปเพื่อความเพลิดเพลิน สนุกสนาน, นะ มะทายะ, ไม่ให้เป็นไปเพื่อความเมามัน เกิดกำลังพลังทางกาย, นะ มัณฑะนายะ, ไม่ให้เป็นไปเพื่อประดับ, นะ วิภูสะนายะ, ไม่ให้เป็นไปเพื่อตกแต่ง,
๑๐ ๐
ปี เล ีย่ ง
14
บทสวดมนต์ทำวัตรเช้า-เย็น แปลไทย
ยาวะเทวะ อิมัสสะ กายัสสะ ฐิติยา, แต่ให้เป็นไปเพียงเพื่อความตั้งอยู่ได้แห่งกายนี้, ยาปะนายะ, เพื่อความเป็นไปได้ของอัตภาพ, วิหิงสุปะระติยา, เพื่อความสิ้นไปแห่งความลำบากทางกาย, พ๎รัห๎มะจะริยานุคคะหายะ, เพื่ออนุเคราะห์แก่การประพฤติพรหมจรรย์, อิติ ปุราณัญจะ เวทะนัง ปะฏิหังขามิ, ด้วยการทำอย่างนี้ เราย่อมระงับเสียได้ซึ่งทุกขเวทนาเก่า คือความหิว,
นะวัญจะ เวทะนัง นะ อุปปาเทสสามิ, และไม่ทำทุกขเวทนาใหม่ให้เกิดขึ้น,
เพ ือ่ พ ุทธ ศา สน ์
ยาต๎รา จะ เม ภะวิสสะติ อะนะวัชชะตา จะ ผาสุวิหาโร จาติ.
อนึ่ง ความเป็นไปโดยสะดวกแห่งอัตภาพนี้ด้วย ความเป็นผู้หาโทษ
มิได้ด้วย และความเป็นอยู่โดยผาสุกด้วย จักมีแก่เรา ดังนี้.
เพ ียร
(ขณะใช้สอยเสนาสนะ)
เช ียง
ปะฏิสังขา โยนิโส เสนาสะนัง ปะฏิเสวามิ, เราย่อมพิจารณาโดยแยบคายแล้วใช้สอยเสนาสนะ, ยาวะเทวะ สีตัสสะ ปะฏิฆาตายะ, เพียงเพื่อบำบัดความหนาว, อุณหัสสะ ปะฏิฆาตายะ, เพื่อบำบัดความร้อน,
ปี เล ีย่ ง
ฑังสะมะกะสะวาตาตะปะสิริงสะปะสัมผัสสานัง ปะฏิฆาตายะ,
๑๐ ๐
เพื่อบำบัดสัมผัสอันเกิดจากเหลือบ ยุง ลม แดด และสัตว์เลื้อยคลาน
ทั้งหลาย,
ยาวะเทวะ อุตุปะริสสะยะวิโนทะนัง ปะฏิสัลลานารามัตถัง.
เพียงเพื่อบรรเทาอันตรายอันจะพึงมีจากดินฟ้าอากาศ, และเพียงเพื่อ
เป็นผู้ยินดีอยู่ได้ในที่หลีกเร้นสำหรับภาวนา. จำกัด บริษัท สำนักพิมพ์เลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน์
15
๑๐ ๐ เช ียง
ปี เล ีย่ ง เพ ือ่ พ ุทธ ศา สน ์
เพ ียร
ตัวอย่าง 18 หน้ าสุดท้าย
บทธัมมจักกัปปวัตตนสูตร (ฉบับย่อความตามแบบสวนโมกข์)
เพ ียร
เพ ือ่ พ ุทธ ศา สน ์
บทสวดพระธัมมจักกัปปวัตตนสูตร เป็นบทสวดที่เป็นไปเพื่อการ อบรมปัญญาให้เข้าใจหลักการของการตรัสรู้อย่างชัดแจ้ง และเป็นข้อ ปฏิบัติเพื่อก้าวไปสู่ความพ้นทุกข์ ดังนี้แล้ว ผู้สวดพึงสวดด้วยความตั้งใจ และใช้สติปัญญาพิจารณาไปตามเนื้อหาของบทสวด ค่อยๆ ทำความเข้าใจ ไตร่ตรองพิจารณาหลายสิบรอบ หลายสิบหน ร้อยหน พันหน แล้วจักเกิด ปัญญาสามารถแก้ไขปัญหาแลเอาชนะทุกข์ในระดับเล็กๆ จนถึงระดับขั้น ดับทุกข์อย่างสิ้นเชิงได้ เอวัมเม สุตัง. ข้าพเจ้า (พระอานนท์) ฟังมาอย่างนี้; เอกัง สะมะยัง, สมัยหนึ่ง;
ภะคะวา พาราณะสิยัง วิหะระติ อิสิปะตะเน มิคะทาเย. พระผู้มีพระภาคเจ้า ประทับอยู่ ณ ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน เมืองพาราณสี. ตัต๎ระ โข, ที่นั่นแล;
เช ียง
ปี เล ีย่ ง
ภะคะวา ปัญจะวัคคิเย ภิกขู อามันเตสิ,
พระผู้มีพระภาคเจ้า ตรัสเรียกภิกษุปัญจวัคคีย์มาตรัสว่า :- เท๎วเม (ทะเว-เม) ภิกขะเว อันตา, (ที่สุดโต่ง ๒ ทาง) ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย, ที่สุดแห่งการกระทำสองอย่างเหล่านี้, มีอยู่; ปัพพะชิเตนะ นะ เสวิตัพพา, เป็นสิ่งที่บรรพชิตไม่ควรข้องแวะเลย,
๑๐ ๐
โย จายัง กาเมสุ กามะสุขัลลิกานุโยโค,
นี้คือ การประกอบตนพัวพันอยู่ด้วยความใคร่ในกามทั้งหลาย; จำกัด บริษัท สำนักพิมพ์เลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน์
89
เพ ือ่ พ ุทธ ศา สน ์
หีโน, เป็นของต่ำทราม; คัมโม, เป็นของชาวบ้าน; โปถุชชะนิโก, เป็นของคนชั้นปุถุชน; อะนะริโย, ไม่ใช่ข้อปฏิบัติของพระอริยเจ้า; อะนัตถะสัญหิโต. ไม่ประกอบด้วยประโยชน์เลย, นี้อย่างหนึ่ง. โย จายัง อัตตะกิละมะถานุโยโค,
อีกอย่างหนึ่ง, คือการประกอบการทรมานตนให้ลำบาก; ทุกโข, เป็นสิ่งนำมาซึ่งทุกข์; อะนะริโย, ไม่ใช่ข้อปฏิบัติของพระอริยเจ้า; อะนัตถะสัญหิโต. ไม่ประกอบด้วยประโยชน์เลย. (ทางสายกลาง คือ มรรคมีองค์ ๘)
เพ ียร
เอเต เต ภิกขะเว อุโภ อันเต, อะนุปะคัมมะ มัชฌิมา ปะฏิปะทา,
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย, ข้อปฏิบัติเป็นทางสายกลาง, ไม่เข้าไปหาที่สุด แห่งการกระทำสองอย่างนั้น, มีอยู่;
เช ียง
ตะถาคะเตนะ อะภิสัมพุทธา,
เป็นข้อปฏิบัติที่ตถาคตได้ตรัสรู้พร้อมเฉพาะแล้ว; จักขุกะระณี, เป็นเครื่องกระทำให้เกิดจักษุ; ญาณะกะระณี, เป็นเครื่องกระทำให้เกิดญาณ; อุปะสะมายะ, เพื่อความสงบ; อะภิญญายะ, เพื่อความรู้ยิ่ง; สัมโพธายะ, เพื่อความรู้พร้อม; นิพพานายะ สังวัตตะติ. เป็นไปพร้อมเพื่อนิพพาน.
๑๐ ๐
ปี เล ีย่ ง
กะตะมา จะ สา ภิกขะเว มัชฌิมา ปะฏิปะทา,
ดูกอ่ นภิกษุทงั้ หลาย, ข้อปฏิบตั เิ ป็นทางสายกลางนัน้ , เป็นอย่างไรเล่า ?
90
บทสวดมนต์ทำวัตรเช้า-เย็น แปลไทย
อะยะเมวะ อะริโย อัฏฐังคิโก มัคโค, ข้อปฏิบัติเป็นทางสายกลางนั้น, คือข้อปฏิบัติเป็นหนทางอันประเสริฐ, ประกอบด้วยองค์แปดประการ นี้เอง; เสยยะถีทัง, ได้แก่สิ่งเหล่านี้ คือ :- สัมมาทิฏฐิ, ความเห็นชอบ; สัมมาสังกัปโป, ความดำริชอบ; สัมมาวาจา, การพูดจาชอบ; สัมมากัมมันโต, การทำการงานชอบ; สัมมาอาชีโว, การเลี้ยงชีวิตชอบ; สัมมาวายาโม, ความพากเพียรชอบ; สัมมาสะติ, ความระลึกชอบ; สัมมาสะมาธิ. ความตั้งใจมั่นชอบ. อะยัง โข สา ภิกขะเว มัชฌิมา ปะฏิปะทา, ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย, นี้แลคือ ข้อปฏิบัติเป็นทางสายกลาง;
เพ ียร
เพ ือ่ พ ุทธ ศา สน ์
เป็นข้อปฏิบัติที่ตถาคตได้ตรัสรู้พร้อมเฉพาะแล้ว; จักขุกะระณี, เป็นเครื่องกระทำให้เกิดจักษุ; ญาณะกะระณี, เป็นเครื่องกระทำให้เกิดญาณ; อุปะสะมายะ, เพื่อความสงบ; อะภิญญายะ, เพื่อความรู้ยิ่ง; สัมโพธายะ, เพื่อความรู้พร้อม; นิพพานายะ สังวัตตะติ. เป็นไปพร้อมเพื่อนิพพาน.
๑๐ ๐
ปี เล ีย่ ง
เช ียง
ตะถาคะเตนะ อะภิสัมพุทธา,
จำกัด บริษัท สำนักพิมพ์เลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน์
91
(อริยสัจ ๔ ข้อที่ ๑ ทุกข์)
อิทัง โข ปะนะ ภิกขะเว ทุกขัง อะริยะสัจจัง, ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย, ก็อริยสัจคือทุกข์นี้ มีอยู่; ชาติปิ ทุกขา, คือ ความเกิดก็เป็นทุกข์; ชะราปิ ทุกขา, ความแก่ก็เป็นทุกข์; มะระณัมปิ ทุกขัง, ความตายก็เป็นทุกข์;
เพ ือ่ พ ุทธ ศา สน ์
โสกะปะริเทวะทุกขะโทมะนัสสุปายาสาปิ ทุกขา,
แม้ความโศก ความร่ำไรรำพัน, ความไม่สบายกาย ความไม่สบายใจ,
ความคับแค้นใจ ก็เป็นทุกข์;
ความประสบกับสิ่งไม่เป็นที่รักที่พอใจก็เป็นทุกข์;
ความพลัดพรากจากสิ่งเป็นที่รักที่พอใจ ก็เป็นทุกข์;
มีความปรารถนาสิ่งใดไม่ได้สิ่งนั้น นั่นก็เป็นทุกข์;
ว่าโดยย่อ อุปาทานขันธ์ทั้งห้า เป็นตัวทุกข์.
อัปปิเยหิ สัมปะโยโค ทุกโข,
เพ ียร
ปิเยหิ วิปปะโยโค ทุกโข,
เช ียง
ยัมปิจฉัง นะ ละภะติ ตัมปิ ทุกขัง,
ปี เล ีย่ ง
สังขิตเตนะ ปัญจุปาทานักขันธา ทุกขา.
(อริยสัจ ๔ ข้อที่ ๒ สมุทัย)
อิทัง โข ปะนะ ภิกขะเว ทุกขะสะมุทะโย อะริยะสัจจัง, ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย, ก็อริยสัจคือเหตุให้เกิดทุกข์นี้ มีอยู่; ยายัง ตัณหา, นี้คือ ตัณหา; โปโนพภะวิกา, อันเป็นเครื่องทำให้มีการเกิดอีก;
๑๐ ๐
92
บทสวดมนต์ทำวัตรเช้า-เย็น แปลไทย
นันทิราคะสะหะคะตา,
อันประกอบอยู่ด้วยความกำหนัดด้วยอำนาจความเพลิดเพลิน;
ตัต๎ระ ตัต๎ราภินันทินี,
เป็นเครื่องให้เพลิดเพลินอย่างยิ่งในอารมณ์นั้นๆ; เสยยะถีทัง, ได้แก่ ตัณหาเหล่านี้ คือ :- กามะตัณหา, ตัณหาในกาม; ภะวะตัณหา, ตัณหาในความมีความเป็น; วิภะวะตัณหา. ตัณหาในความไม่มีไม่เป็น.
เพ ือ่ พ ุทธ ศา สน ์
(อริยสัจ ๔ ข้อที่ ๓ นิโรธ)
อิทัง โข ปะนะ ภิกขะเว ทุกขะนิโรโธ อะริยะสัจจัง,
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย, ก็อริยสัจคือความดับไม่เหลือแห่งทุกข์นี้ มีอยู่;
เพ ียร
โย ตัสสาเยวะ ตัณหายะ อะเสสะวิราคะนิโรโธ,
นี้คือความดับสนิทเพราะจางไป, โดยไม่มีเหลือของตัณหานั้นนั่นเอง; จาโค เป็นความสละทิ้ง; ปะฏินิสสัคโค เป็นความสลัดคืน; มุตติ เป็นความปล่อย; อะนาละโย. เป็นความทำไม่ให้มีที่อาศัยซึ่งตัณหานั้น.
ปี เล ีย่ ง
เช ียง
(อริยสัจ ๔ ข้อที่ ๔ มรรค)
อิทัง โข ปะนะ ภิกขะเว ทุกขะนิโรธะคามินี ปะฏิปะทา อะริยะสัจจัง,
๑๐ ๐
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย, ก็อริยสัจ คือ ข้อปฏิบัติที่ทำสัตว์ให้ลุถึงความดับ ไม่เหลือแห่งทุกข์นี้, มีอยู่;
อะยะเมวะ อะริโย อัฏฐังคิโก มัคโค,
นีค้ อื ข้อปฏิบตั เิ ป็นหนทางอันประเสริฐ ประกอบด้วยองค์แปดประการ ; เสยยะถีทัง, ได้แก่สิ่งเหล่านี้ คือ :- จำกัด บริษัท สำนักพิมพ์เลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน์
93
ความเห็นชอบ; ความดำริชอบ; การพูดจาชอบ; การทำการงานชอบ; การเลี้ยงชีวิตชอบ; ความพากเพียรชอบ; ความระลึกชอบ; ความตั้งใจมั่นชอบ.
เพ ือ่ พ ุทธ ศา สน ์
สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปโป สัมมาวาจา สัมมากัมมันโต สัมมาอาชีโว สัมมาวายาโม สัมมาสะติ สัมมาสะมาธิ.
(ญาณ ๓ อาการ ๑๒)
เพ ียร
อิทัง ทุกขัง อะริยะสัจจันติ เม ภิกขะเว, ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ, จักขุง อุทะปาทิ, ญาณัง อุทะปาทิ, ปัญญา อุทะปาทิ, วิชชา อุทะปาทิ, อาโลโก อุทะปาทิ.
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย, จักษุเกิดขึ้นแล้วแก่เรา, ญาณเกิดขึ้นแล้วแก่เรา,
ปัญญาเกิดขึ้นแล้วแก่เรา, วิชชาเกิดขึ้นแล้วแก่เรา, แสงสว่างเกิดขึ้นแล้ว แก่เรา, ในธรรมทีเ่ ราไม่เคยฟังมาแต่กอ่ นว่า, อริยสัจคือทุกข์, เป็นอย่างนี้
อย่างนี้ ดังนี้.
ว่าก็อริยสัจคือทุกข์นั้นแล, เป็นสิ่งที่ควรกำหนดรู้ ดังนี้.
ว่าก็อริยสัจคือทุกข์นั้นแล, เรากำหนดรู้ได้แล้ว ดังนี้.
เช ียง
ปี เล ีย่ ง
ตัง โข ปะนิทัง ทุกขัง อะริยะสัจจัง ปะริญเญยยันติ. ตัง โข ปะนิทัง ทุกขัง อะริยะสัจจัง ปะริญญาตันติ.
๑๐ ๐
อิ ทั ง ทุ ก ขะสะมุ ท ะโย อะริ ย ะสั จ จั น ติ เม ภิ ก ขะเว, ปุ พ เพ
อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ, จักขุง อุทะปาทิ, ญาณัง อุทะปาทิ, ปัญญา อุทะปาทิ, วิชชา อุทะปาทิ, อาโลโก อุทะปาทิ.
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย, จักษุเกิดขึ้นแล้วแก่เรา, ญาณเกิดขึ้นแล้วแก่เรา, ปัญญาเกิดขึ้นแล้วแก่เรา, วิชชาเกิดขึ้นแล้วแก่เรา, แสงสว่างเกิดขึ้น
94
บทสวดมนต์ทำวัตรเช้า-เย็น แปลไทย
แล้วแก่เรา, ในธรรมที่เราไม่เคยฟังมาแต่ก่อนว่า อริยสัจคือเหตุให้
เกิดทุกข์, เป็นอย่างนี้อย่างนี้ ดังนี้.
ว่าก็อริยสัจคือเหตุให้เกิดทุกข์นั้นแล, เป็นสิ่งที่ควรละเสีย ดังนี้.
ว่าก็อริยสัจคือเหตุให้เกิดทุกข์นั้นแล, เราละได้แล้ว ดังนี้.
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย, จักษุเกิดขึ้นแล้วแก่เรา, ญาณเกิดขึ้นแล้วแก่เรา,
ปัญญาเกิดขึ้นแล้วแก่เรา, วิชชาเกิดขึ้นแล้วแก่เรา, แสงสว่างเกิดขึ้น
แล้วแก่เรา, ในธรรมที่เราไม่เคยฟังมาแต่ก่อนว่า, อริยสัจคือความดับ
ไม่เหลือแห่งทุกข์, เป็นอย่างนี้อย่างนี้ ดังนี้.
ว่าก็อริยสัจคือความดับไม่เหลือแห่งทุกข์นนั้ แล, เป็นสิง่ ทีค่ วรทำให้แจ้ง
ดังนี้.
เพ ือ่ พ ุทธ ศา สน ์
ตัง โข ปะนิทัง ทุกขะสะมุทะโย อะริยะสัจจัง ปะหาตัพพันติ. ตัง โข ปะนิทัง ทุกขะสะมุทะโย อะริยะสัจจัง ปะหีนันติ,
เพ ียร
อิ ทั ง ทุ ก ขะนิ โ รโธ อะริ ย ะสั จ จั น ติ เม ภิ ก ขะเว, ปุ พ เพ
อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ, จักขุง อุทะปาทิ, ญาณัง อุทะปาทิ, ปัญญา อุทะปาทิ, วิชชา อุทะปาทิ, อาโลโก อุทะปาทิ.
เช ียง
ตัง โข ปะนิทัง ทุกขะนิโรโธ อะริยะสัจจัง สัจฉิกาตัพพันติ.
ปี เล ีย่ ง
ตัง โข ปะนิทัง ทุกขะนิโรโธ อะริยะสัจจัง สัจฉิกะตันติ.
ว่าก็อริยสัจคือความดับไม่เหลือแห่งทุกข์นั้นแล, เราทำให้แจ้งได้แล้ว
ดังนี้.
๑๐ ๐
อิทัง ทุกขะนิโรธะคามินี ปะฏิปะทา อะริยะสัจจันติ เม ภิกขะเว,
ปุ พ เพ อะนะนุ ส สุ เ ตสุ ธั ม เมสุ , จั ก ขุ ง อุ ท ะปาทิ , ญาณั ง อุทะปาทิ, ปัญญา อุทะปาทิ, วิชชา อุทะปาทิ, อาโลโก อุทะปาทิ.
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย, จักษุเกิดขึ้นแล้วแก่เรา, ญาณเกิดขึ้นแล้วแก่เรา,
ปัญญาเกิดขึน้ แล้วแก่เรา, วิชชาเกิดขึน้ แล้วแก่เรา, แสงสว่างเกิดขึน้ แล้ว
จำกัด บริษัท สำนักพิมพ์เลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน์
95
แก่เรา, ในธรรมที่เราไม่เคยฟังมาแต่ก่อน, ว่าอริยสัจคือ, ข้อปฏิบัติ
ที่ทำสัตว์ให้ลุถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์, เป็นอย่างนี้อย่างนี้ ดังนี้.
ว่าก็อริยสัจคือ, ข้อปฏิบัติที่ทำสัตว์ให้ลุถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์
นั้นแล, เป็นสิ่งที่ควรทำให้เกิดมี ดังนี้.
ว่าก็อริยสัจคือ, ข้อปฏิบัติที่ทำสัตว์ให้ลุถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์
นั้นแล, เราทำให้เกิดมีได้แล้ว ดังนี้.
เพ ือ่ พ ุทธ ศา สน ์
ตัง โข ปะนิทัง ทุกขะนิโรธะคามินี ปะฏิปะทา อะริยะสัจจัง ภาเวตัพพันติ.
ตัง โข ปะนิทัง ทุกขะนิโรธะคามินี ปะฏิปะทา อะริยะสัจจัง ภาวิ ตันติ. (เหตุที่ทรงปฏิญญาและไม่ปฏิญญาการตรัสรู้)
เพ ียร
ยาวะกีวัญจะ เม ภิกขะเว, อิเมสุ จะตูสุ อะริยะสัจเจสุ, เอวันติ-
ปะริ วั ฏ ฏั ง ท๎ ว าทะสาการั ง ยะถาภู ตั ง , ญาณะทั ส สะนั ง นะ สุวิสุทธัง อะโหสิ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย, ปัญญาเครื่องรู้เห็นตามที่เป็นจริง, มีปริวัฏฏ์สาม
มีอาการสิบสองเช่นนั้น, ในอริยสัจทั้งสี่เหล่านี้, ยังไม่เป็นของบริสุทธิ์
หมดจดด้วยดีแก่เราอยู่ เพียงใด.
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย, ตลอดกาลเพียงนั้น, เรายังไม่ปฏิญญาว่าได้
ตรั ส รู้ พ ร้ อ มเฉพาะแล้ ว , ซึ่ ง อนุ ต ตรสั ม มาสั มโพธิ ญ าณ, ในโลก
พร้ อ มทั้ ง เทวโลก มารโลก พรหมโลก, ในหมู่ สั ต ว์ พร้ อ มทั้ ง
สมณพราหมณ์ พร้อมทั้งเทวดาและมนุษย์.
ปี เล ีย่ ง
เช ียง
๑๐ ๐
เนวะ ตาวาหัง ภิกขะเว สะเทวะเก โลเก สะมาระเก สะพ๎รัห๎มะเก, สัสสะมะณะพ๎ราห๎มะณิยา ปะชายะ สะเทวะมะนุสสายะ, อะนุตตะรัง สัมมาสัมโพธิง อะภิสัมพุทโธ ปัจจัญญาสิง.
96
บทสวดมนต์ทำวัตรเช้า-เย็น แปลไทย
ยะโต จะ โข เม ภิ ก ขะเว, อิ เ มสุ จะตู สุ อะริ ย ะสั จ เจสุ , เอวั น ติ
ปะริวัฏฏัง ท๎วาทะสาการัง ยะถาภูตัง, ญาณะทัสสะนัง สุวิสุทธัง อะโหสิ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย, เมื่อใด ปัญญาเครื่องรู้เห็นตามที่เป็นจริง,
มี ป ริ วั ฏ ฏ์ ส าม มี อ าการสิ บ สองเช่ น นั้ น , ในอริ ย สั จ ทั้ ง สี่ เ หล่ า นี้ ,
เป็นของบริสุทธิ์หมดจดด้วยดีแก่เรา.
เมื่อนั้น, เราปฏิญญาว่าได้ตรัสรู้พร้อมเฉพาะแล้ว, ซึ่งอนุตตรสัมมา-
สัมโพธิญาณ, ในโลก พร้อมทั้งเทวโลก มารโลก พรหมโลก, ใน
หมู่สัตว์ พร้อมทั้งสมณพราหมณ์, พร้อมทั้งเทวดาและมนุษย์.
เพ ือ่ พ ุทธ ศา สน ์
อะถาหัง ภิกขะเว สะเทวะเก โลเก สะมาระเก สะพ๎รัห๎มะเก, สั ส สะมะณะพ๎ ร าห๎ ม ะณิ ย า ปะชายะ สะเทวะมะนุ ส สายะ,
อะนุตตะรัง สัมมาสัมโพธิง อะภิสัมพุทโธ ปัจจัญญาสิง.
เพ ียร
ญาณัญจะ ปะนะ เม ทัสสะนัง อุทะปาทิ,
ก็ญาณและทัศนะได้เกิดขึ้นแล้วแก่เราว่า :- อะกุปปา เม วิมุตติ, ความหลุดพ้นของเราไม่กลับกำเริบ; อะยะมันติมา ชาติ, ความเกิดนี้เป็นความเกิดครั้งสุดท้าย; นัตถิทานิ ปุนัพภะโวติ. บัดนี้ ความเกิดอีกย่อมไม่มี ดังนี้.
ปี เล ีย่ ง
เช ียง
จบบทธัมมจักกัปปวัตตนสูตร.
๑๐ ๐
จำกัด บริษัท สำนักพิมพ์เลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน์
97
พระคาถาชินบัญชร
เพ ือ่ พ ุทธ ศา สน ์
เป็นบทสวดอาราธนาพระพุทธเจ้า ๒๘ พระองค์ พระอรหันตสาวก ๘๐ องค์ และพระสูตรต่างๆ เข้ามาสถิตตามอวัยวะน้อยใหญ่ของตน เพื่อ ให้เป็นเกราะป้องกันภัยรอบด้าน และให้เกิดสิริมงคลแก่ตน
๑. ชะยาสะนาคะตา๑ พุทธา เชต๎วา มารัง สะวาหะนัง จะตุสัจจาสะภัง ระสัง เย ปิวิงสุ นะราสะภา.
พระพุทธเจ้าทั้งหลายเหล่าใดผู้องอาจในหมู่ชนทั้งหลาย, ประทับนั่ง เหนือชัยอาสน์บัลลังก์, ทรงชนะพญามารพร้อมเสนามาร, แล้วเสวยอมตรส คืออริยสัจ ๔, อันทำให้ผู้รู้แจ้งข้ามพ้นจากทุกข์ทั้งปวง เป็นผู้องอาจได้.
เพ ียร
๒. ตัณหังกะราทะโย พุทธา อัฏฐะวีสะติ นายะกา สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง มัตถะเก เต มุนิสสะรา.
เช ียง
ขออัญเชิญพระพุทธเจ้าทั้งหลายเหล่านั้น, ทั้งหมด ๒๘ พระองค์, มีพระพุทธเจ้าพระนามว่าตัณหังกร เป็นต้น, ผู้นำสัตวโลกข้ามพ้นกิเลส และกองทุกข์, โปรดมาประดิษฐานเหนือกระหม่อมของข้าพเจ้า.
ปี เล ีย่ ง
๓. สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง พุทโธ ธัมโม ทะวิโลจะเน สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง อุเร สัพพะคุณากะโร.
ขออัญเชิญพระพุทธเจ้าประดิษฐานบนศีรษะของข้าพเจ้า, ขออัญเชิญ พระธรรมประดิษฐานที่ดวงตาทั้งสองของข้าพเจ้า,
๑๐ ๐
๔. หะทะเย เม อะนุรุทโธ สารีปุตโต จะ ทักขิเณ โกณฑัญโญ ปิฏฐิภาคัส๎มิง โมคคัลลาโน จะ วามะเก. ๑ บางฉบับเป็น ชะยาสะนากะตา แปลว่า ผู้สร้างชัยอาสน์บัลลังก์ ขออัญเชิญพระสงฆ์ผู้เป็นอากรบ่อเกิดแห่งสรรพคุณทั้งปวง อยู่ที่อกของข้าพเจ้า.
98
บทสวดมนต์ทำวัตรเช้า-เย็น แปลไทย
ขอพระอนุรุทธะสถิตที่หัวใจของข้าพเจ้า, ขอพระสารีบุตรสถิตที่กาย เบื้องขวา, ขอพระอัญญาโกณฑัญญะสถิตที่กายเบื้องหลัง, ขอพระมหา โมคคัลลานะสถิตที่กายเบื้องซ้าย.
๕. ทักขิเณ สะวะเน มัยหัง อาสุง อานันทะราหุลา๑ กัสสะโป จะ มะหานาโม อุภาสุง วามะโสตะเก.
เพ ือ่ พ ุทธ ศา สน ์
ขอพระอานนท์กับพระราหุล สถิตที่หูเบื้องขวาของข้าพเจ้า, ขอพระ
กัสสปะและพระมหานามะทั้งสอง สถิตที่หูเบื้องซ้าย.
๖. เกสันเต๒ ปิฏฐิภาคัส๎มิง สุริโย วะ ปะภังกะโร นิสินโน สิริสัมปันโน โสภิโต มุนิปุงคะโว.
ขอพระมุ นี ผู้ ป ระเสริ ฐ คื อ พระโสภิ ต ะ, ผู้ ส มบู ร ณ์ ด้ ว ยสิ ริ ดั ง พระอาทิตย์ส่องแสง, จงสถิตที่ปลายเส้นผมเบื้องหลังของข้าพเจ้า.
เพ ียร
๗. กุมาระกัสสะโป เถโร มะเหสี จิตตะวาทะโก โส มัยหัง วะทะเน นิจจัง ปะติฏฐาสิ คุณากะโร.
เช ียง
ขอพระกุมารกัสสปเถระ ผู้แสวงบุญที่ยิ่งใหญ่, ผู้เป็นบ่อเกิดแห่งคุณ ความดี, ผู้มีวาทะนุ่มนวลชวนฟัง, จงสถิตอยู่ที่ปากของข้าพเจ้าเป็นนิตย์.
ปี เล ีย่ ง
๘. ปุณโณ อังคุลิมาโล จะ อุปาลี นันทะสีวะลี เถรา ปัญจะ อิเม ชาตา นะลาเฏ ติละกา มะมะ.
ขอพระเถระ ๕ เหล่านี้คือ, พระปุณณะ, พระองคุลิมาล, พระ อุบาลี, พระนันทะ และพระสีวลี, จงบังเกิดเป็นกระแจะจุณเจิมที่หน้าผาก ของข้าพเจ้า.
๑๐ ๐
๑ บางฉบับเป็น อานันทะราหุโล แปลได้ความเหมือนกัน ๒ บางฉบับเป็น เกสันโต แปลได้ความเหมือนกัน
จำกัด บริษัท สำนักพิมพ์เลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน์
99
๙. เสสาสีติ มะหาเถรา วิชิตา ชินะสาวะกา เอตาสีติ มะหาเถรา ชิตะวันโต ชิโนระสา ชะลันตา สีละเตเชนะ อังคะมังเคสุ สัณฐิตา.
เพ ือ่ พ ุทธ ศา สน ์
พระมหาเถระทั้งหลาย ๘๐ ที่เหลือจากนี้, ผู้เป็นสาวกของพระชิน พุทธเจ้า, ผู้ชนะกิเลสมารแล้ว, พระมหาเถระทั้ง ๘๐ เหล่านั้นเป็นผู้มีชัย, เป็นโอรสของพระชินเจ้า, ผู้รุ่งเรืองด้วยเดชแห่งศีล, ขอจงสถิตที่อวัยวะ น้อยใหญ่ทั้งหลาย.
๑๐. ระตะนัง ปุระโต อาสิ ทักขิเณ เมตตะสุตตะกัง ธะชัคคัง ปัจฉะโต อาสิ วาเม อังคุลิมาละกัง.
ขอพระรัตนสูตรอยู่เบื้องหน้า, พระเมตตสูตรอยู่เบื้องขวา, พระ ธชัคคสูตรอยู่เบื้องหลัง, พระอังคุลิมาลสูตรอยู่เบื้องซ้าย.
เพ ียร
๑๑. ขันธะโมระปะริตตัญจะ อาฏานาฏิยะสุตตะกัง อากาเส ฉะทะนัง อาสิ เสสา ปาการะสัณฐิตา.
เช ียง
พระขันธปริตร พระโมรปริตร และพระอาฏานาฏิยสูตร, ขอให้มา เป็นเครื่องกางกั้น, ดุจหลังคาอยู่บนนภากาศ, ขอพระสูตรที่เหลือมาตั้ง เป็นดุจกำแพงป้องกัน.
ปี เล ีย่ ง
๑๒.ชินาณา วะระสังยุตตา สัตตัปปาการะลังกะตา วาตะปิตตาทิสัญชาตา พาหิรัชฌัตตุปัททะวา.
๑๐ ๐
ขอพระอาณาคืออำนาจของพระพุทธเจ้า, ผู้ทรงชัยอันประกอบด้วย พระคุณอันประเสริฐ, มาประดับเป็นกำแพง ๗ ชั้น, คุ้มครองข้าพเจ้า
จากอันตรายภายนอก, มีโรคที่เกิดจากลมเป็นต้น, และอันตรายภายใน
มีโรคที่เกิดจากดีกำเริบเป็นต้น.
100
บทสวดมนต์ทำวัตรเช้า-เย็น แปลไทย
๑๓. อะเสสา วินะยัง ยันตุ อะนันตะชินะเตชะสา วะสะโต เม สะกิจเจนะ สะทา สัมพุทธะปัญชะเร.
เพ ือ่ พ ุทธ ศา สน ์
ด้วยเดชแห่งพระชินเจ้า ผู้ทรงพระคุณอันไม่มีที่สิ้นสุด, ขออันตราย
ที่เหลือจงพินาศไป, อนึ่ง เมื่อข้าพเจ้าอยู่ในพระบัญชรแห่งพระสัมมา
สัมพุทธเจ้าแล้ว, ไม่ว่าจะทำกิจใดๆ ขอให้สำเร็จทุกเมื่อเถิด.
๑๔. ชินะปัญชะระมัชฌัมหิ วิหะรันตัง มะหีตะเล สะทา ปาเลนตุ มัง สัพเพ เต มะหาปุริสาสะภา.
ขอพระมหาบุรุษผู้แกล้วกล้าทั้งปวงนั้น, จงอภิบาลข้าพเจ้าผู้อยู่ ณ ภาคพื้น, ในท่ามกลางแห่งพระชินบัญชรตลอดไป.
สุคุตโต สุรักโข ชิตูปัททะโว ชิตาริสังโค ชิตันตะราโย จะรามิ ชินะปัญชะเรติ.
เพ ียร
๑๕. อิจเจวะมันโต ชินานุภาเวนะ ธัมมานุภาเวนะ สังฆานุภาเวนะ สัทธัมมานุภาวะปาลิโต
๑๐ ๐
ปี เล ีย่ ง
เช ียง
ข้ า พเจ้ า ได้ รั บ การคุ้ ม ครองรั ก ษาด้ ว ยประการฉะนี้ แ ล้ ว , ด้ ว ย อานุภาพของพระชินพุทธเจ้า, ขอให้ข้าพเจ้าชนะอุปสรรคทั้งปวง, ด้วย อานุภาพของพระธรรม, ขอให้ข้าพเจ้าชนะข้าศึกศัตรู, ด้วยอานุภาพของ พระสงฆ์ ขอให้ข้าพเจ้าชนะอันตราย, ข้าพเจ้าผู้ได้รับการอภิบาลแล้วจาก อานุภาพพระสัทธรรม, ประพฤติอยู่ในพระชินบัญชร ดังนี้แล.
จำกัด บริษัท สำนักพิมพ์เลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน์
101
บทพุทธชัยมงคลคาถา (พาหุง)
เพ ือ่ พ ุทธ ศา สน ์
คาถาว่าด้วยชัยชนะของพระพุทธเจ้า ประกอบด้วยคาถา ๙ บท ซึ่ง ๘ คาถาแรก จะพรรณนาถึงชัยชนะของพระพุทธเจ้า ๘ ครั้ง ส่วนบท สุดท้ายกล่าวถึงอานิสงส์ของการสวดพระคาถาไว้ว่า ผู้ใดตั้งใจสวดหรือ ระลึกถึงพุทธชัยมงคลคาถาทั้ง ๘ บททั้งเช้าและเย็นเป็นประจำ ผู้นั้นจะ พ้นจากอุปสรรคอันตรายทั้งปวง และอยู่เป็นสุขทุกเมื่อ
๑. พาหุง สะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง ค๎รีเมขะลัง อุทิตะโฆระสะเสนะมารัง ทานาทิธัมมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต๑ ชะยะมังคะลานิ.
เช ียง
เพ ียร
ด้วยเดชานุภาพของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ผู้เป็นจอมมุนี ได้ทรงชนะ พญามาร ซึ่งได้เนรมิตแขนตั้งพัน ถืออาวุธครบมือ ขี่ช้างพลายคีรีเมขล์ พร้อมด้วยเสนามารโห่ร้องกึกก้อง ด้วยธรรมวิธีมีทานบารมีเป็นต้นนั้น ขอ ชัยมงคลทั้งหลาย จงมีแก่ท่าน.
ปี เล ีย่ ง
๒. มาราติเรกะมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง ขันตีสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต๑ ชะยะมังคะลานิ.
๑๐ ๐
ด้วยเดชานุภาพของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ผู้เป็นจอมมุนี ได้ทรงชนะ อาฬวกยักษ์ดุร้าย ผู้มีจิตกระด้างลำพอง หยาบช้า ยิ่งกว่าพญามาร เข้า มารุกราน ราวีตลอดรุ่งราตรี ด้วยวิธีทรมานเป็นอันดีคือขันติธรรมนั้น
ขอชัยมงคลทั้งหลายจงมีแก่ท่าน. ๒ ถ้าสวดให้ตนเองเปลี่ยน เต (แก่ท่าน) เป็น เม (แก่เรา)
102
บทสวดมนต์ทำวัตรเช้า-เย็น แปลไทย
เพ ือ่ พ ุทธ ศา สน ์
๓. นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง เมตตัมพุเสกะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต๑ ชะยะมังคะลานิ.
ด้วยเดชานุภาพของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ผู้เป็นจอมมุนี ได้ทรง ชำนะพญาช้ า งนาฬาคี รี ซึ่ ง กำลั ง เมามั น ร้ า ยแรงเหมื อ นไฟป่ า ลุ ก ลาม
ร้ อ งโกญจนาทเหมื อ นฟ้ า ฟาด ด้ ว ยวิ ธี ร ดลงด้ ว ยน้ ำ คื อ พระเมตตานั้ น
ขอชัยมงคลทั้งหลายจงมีแก่ท่าน.
เพ ียร
๔. อุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะสุทารุณันตัง ธาวันติโยชะนะปะถังคุลิมาละวันตัง อิทธีภิสังขะตะมะโน ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต๑ ชะยะมังคะลานิ.
เช ียง
ด้วยเดชานุภาพของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ผู้เป็นจอมมุนี ได้ทรงชำนะ องคุลิมาลโจร ทารุณร้ายกาจนัก ทั้งฝีมือเยี่ยม ควงดาบไล่ตามพระองค์ไป ตลอดทาง ๓ โยชน์ ด้วยอิทธิปาฏิหาริยน์ นั้ ขอชัยมงคลทัง้ หลายจงมีแก่ทา่ น.
ปี เล ีย่ ง
๕. กัต๎วานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต๑ ชะยะมังคะลานิ.
๑๐ ๐
ด้วยเดชานุภาพของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ผู้เป็นจอมมุนีได้ทรงชำนะ
นางจิญจมาณวิกา ที่ทำมารยาเสแสร้งกล่าวโทษพระองค์ โดยผูกท่อนไม้ กลมแนบเข้ากับท้อง ทำเป็นท้องมีครรภ์แก่ ด้วยวิธอี นั งาม คือ ความสงบนิง่ ขอชัยมงคลทั้งหลายจงมีแก่ท่าน. ๑ ถ้าสวดให้ตนเองเปลี่ยน เต (แก่ท่าน) เป็น เม (แก่เรา)
จำกัด บริษัท สำนักพิมพ์เลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน์
103
เพ ือ่ พ ุทธ ศา สน ์
๖. สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกะวาทะเกตุง วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันธะภูตัง ปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต๑ ชะยะมังคะลานิ.
ด้วยเดชานุภาพของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ผู้เป็นจอมมุนี ผู้รุ่งเรือง ด้วยดวงประทีปคือพระปัญญา ได้พบทางชำนะสัจจกนิครนถ์ ผู้มีนิสัย ตลบตะแลง มีสันดานโอ้อวด มืดมน ด้วยเทศนาญาณวิธีนั้น ขอชัยมงคล
ทั้งหลายจงมีแก่ท่าน.
เพ ียร
๗. นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิง ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปะยันโต อิทธูปะเทสะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต๑ ชะยะมังคะลานิ.
เช ียง
ด้วยเดชานุภาพของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ผู้เป็นจอมมุนี โปรดให้ พระโมคคั ล ลานเถระพุ ท ธชิ โ นรส เนรมิ ต กายเป็ น นาคราชไปทรมาน
นันโทปนันทนาคราช ผู้มีฤทธิ์มาก แต่มีความรู้ผิด ด้วยวิธีแสดงอุปเท่ห์ แห่งฤทธิ์นั้น ขอชัยมงคลทั้งหลายจงมีแก่ท่าน.
ปี เล ีย่ ง
๘. ทุคคาหะทิฏฐิภุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง พ๎รัห๎มัง วิสุทธิชุติมิทธิพะกาภิธานัง ญาณาคะเทนะ วิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต๑ ชะยะมังคะลานิ.
๑๐ ๐
ด้วยเดชานุภาพของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ผู้เป็นจอมมุนี ได้ทรง ชำนะท้าวพกาพรหมผู้มีฤทธิ์ มีความสำคัญตนผิด ว่าเป็นผู้มีฤทธิ์ รุ่งเรืองด้วย
วิสุทธิคุณ ถือมั่นด้วยมิจฉาทิฏฐิ เหมือนดังถูกงูร้ายกำลังตรึงรัดไว้แน่นแฟ้น ๑ ถ้าสวดให้ตนเองเปลี่ยน เต (แก่ท่าน) เป็น เม (แก่เรา)
104
บทสวดมนต์ทำวัตรเช้า-เย็น แปลไทย
ด้วยวิธีประทานยาพิเศษคือเทศนาญาณนั้น ขอชัยมงคลทั้งหลายจงมี
แก่ท่าน.
เพ ือ่ พ ุทธ ศา สน ์
๙. เอตาปิ พุทธะชะยะมังคะละอัฏฐะคาถา โย วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที หิต๎วานะเนกะวิวิธานิ จุปัททะวานิ โมกขัง สุขัง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปัญโญ.
๑๐ ๐
ปี เล ีย่ ง
เช ียง
เพ ียร
นรชนใดไม่เกียจคร้าน สวดก็ดี ระลึกก็ดี ซึ่งพระพุทธชัยมงคลคาถาทั้ง ๘ คาถา แม้เหล่านี้ ทุกๆ วัน นรชนนั้นจะพึงละเสียได้ซึ่ง
อุปัทวันตรายทั้งหลาย มีประการต่างๆ เป็นอเนก ถึงซึ่งวิโมกข์สิวาลัย
อันเป็นบรมสุขแล.
จำกัด บริษัท สำนักพิมพ์เลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน์
105
อานิสงส์ของการสวดมนต์
จากบางตอนในคู่มือครูสอนศีลธรรม ทุกระดับชั้น ของอาจารย์สมทรง ปุญญฤทธิ์ ร.ร. สามเสนวิทยา
เพ ือ่ พ ุทธ ศา สน ์
๑๐ ๐
ปี เล ีย่ ง
เช ียง
เพ ียร
๑. ไล่ความขี้เกียจ ขณะสวดมนต์ อารมณ์เบื่อ เซื่องซึม ง่วงนอน
เกียจคร้านจะหมดไป เกิดความชุ่มชื่นกระฉับกระเฉงขึ้น ๒. ตั ด ความเห็ น แก่ ตั ว เพราะขณะนั้ น อารมณ์ ข องเราไปหน่ ว ง
อยู่ที่การสวด ไม่ได้คิดถึงตัวเอง ความโลภ โกรธ หลง จึงมิได้กล้ำกราย เข้าสู่วารจิต ๓. ได้ปัญญา การสวดมนต์โดยรู้คำแปล รู้ความหมาย ย่อมทำให้
ผู้สวดได้ปัญญาความรู้ แทนที่จะสวดแจ้วๆ เหมือนนกแก้วนกขุนทอง โดย ไม่รู้อะไรเลย เป็นเหตุให้ถูกค่อนว่าทำอะไรโง่ๆ ๔. จิ ต เป็ น สมาธิ เพราะขณะนั้ น ผู้ ส วดต้ อ งสำรวมใจแน่ ว แน่
มิฉะนั้น จะสวดผิด ได้หน้าลืมหลัง เมื่อจิตใจเป็นสมาธิ ความสงบเยือกเย็น ในจิต จะเกิดขึ้น ๕. ได้เฝ้าพระพุทธเจ้า เพราะขณะนั้นผู้สวดมีกาย วาจาปกติ (มีศีล)
มีใจแน่วแน่ (มีสมาธิ) มีความรู้สึกระลึกถึงคุณของพระพุทธเจ้า (มีปัญญา) เท่ากับได้เฝ้าพระองค์ด้วยการปฏิบัติบูชา ครบไตรสิกขาอย่างแท้จริง
106
บทสวดมนต์ทำวัตรเช้า-เย็น แปลไทย