สวดมนต์
ทำ�วัตรเช้า-เย็น
ทำ�วัตรเช้า-เย็น
เรียบเรียง : สมศักดิ์ จิตงาม ออกแบบปก : รุจิรุจก์ ช่างเรือนกุล รูปเล่ม : สุกัญญา ศรีสงคราม พิสูจน์อักษร : เจริญ ผุดวรรณา
ISBN 978-616-268-153-0
สร้างสรรค์และลิขสิทธิ์ บริษัท สำ�นักพิมพ์เลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน์ จำ�กัด 105/95-96 ถนนประชาอุทิศ ซอย 45 แขวงบางมด เขตทุ่งครุ กรุงเทพฯ 10140 โทร./แฟกซ์ 02-872-7667 เชิญร่วมเผยแผ่เป็นธรรมทาน โทร. 084-725-9898, 02-872-9897, 02-872-9191, 02-872-8181, 02-872-9898
LC2YOU@GMAIL.COM, JOBLC2U@GMAIL.COM
WWW.LC2U.COM, WWW.พุทธะ.NET
พิมพ์ที่ : โรงพิมพ์เลี่ยงเชียง 223 ถนนบำ�รุงเมือง กรุงเทพฯ 10200 โทร. 02-221-1050, 02-221-4446, 02-223-8979
ค�ำน�ำ การสวดมนต์ในพระพุทธศาสนามีมาตัง้ แต่สมัยพุทธกาล เป็นการสวดในสิง่ ที่ พระสัมมาสัมพุทธเจ้าได้ทรงสอนไว้ เพื่อไม่ให้ลืมค�ำสอนนั้นๆ และทบทวนใน สิ่งที่พระพุทธองค์ได้ทรงตรัสไว้ดีแล้ว ซึ่งค�ำสอนส�ำคัญเหล่านี้ได้กลายมาเป็นบท สวดมนต์ในที่สุด การท�ำวัตร คือการท�ำกิจวัตรของพระภิกษุสามเณรและอุบาสก อุบาสิกา มีหน้าที่ที่ต้องปฏิบัติท�ำเป็นประจ�ำ วันละสองเวลา คือ เช้าและเย็น กิจที่ต้องท�ำ ในเวลาท�ำวัตรทั้งสองเวลานั้น คือ สวดบูชาพระรัตนตรัย สวดพิจารณาปัจจัย ที่บริโภคทุกวันๆ สวดเจริญกรรมฐานตามสมควร และสวดอนุโมทนาทานของ ทายก กับสวดแผ่ส่วนกุศล ซึ่งภาษาบาลีนี้เป็นภาษาที่พระพุทธเจ้าใช้ประกาศ พระศาสนา เป็นภาษาที่ใช้จารึกหลักธรรมค�ำสอนของพระพุทธเจ้า ซึ่งอาจกล่าว ได้ว่า เป็นภาษาของพระพุทธเจ้า เมื่อเราสวดมนต์และท่องสาธยายบทสวดมนต์ แล้วก็เปรียบเสมือน การได้เข้าเฝ้าพระพุทธเจ้าด้วยการปฏิบตั บิ ชู า คือ การสวดมนต์ เพราะฉะนั้นในฐานะที่เป็นชาวพุทธ เมื่อเราสวดมนต์ก้มกราบพระพุทธแล้ว ต้องให้รถู้ งึ พระธรรมด้วย กล่าวคือ ต้องพยายามท�ำความศึกษาหัวใจของแต่ละบท และเมื่อรู้แล้วก็ให้น�ำธรรมะนั้นไปปฏิบัติใช้ในชีวิตประจ�ำวันให้ถูกต้อง เพื่อให้ การด�ำเนินชีวิตเป็นไปอย่างราบรื่น มีจิตใจมั่นคงเต็มเปี่ยมด้วยพลังใจ พลังบุญ สามารถใช้ในการสร้างสรรค์สิ่งที่ดีงาม ก่อเกิดประโยชน์สุขทั้งแก่ตนเองและสังคม โดยรวม. ด้วยปรารถนาดี สมศักดิ์ จิตงาม
สารบัญ ท�ำวัตรเช้า บทน�ำท�ำวัตรเช้า ปุพพภาคนมการ พุทธาภิถุติ ธัมมาภิถุติ สังฆาภิถุต ิ รตนัตตยัปปณามคาถา สังเวคปริกิตตนปาฐะ ธาตุปฏิกูลปัจจเวกขณปาฐะ ตังขณิกปัจจเวกขณปาฐะ ปัตติทานคาถา ท�ำวัตรเย็น บทน�ำท�ำวัตรเย็น ปุพพภาคนมการ พุทธานุสสติ พุทธาภิคีติ ธัมมานุสสติ ธัมมาภิคีติ สังฆานุสสติ สังฆาภิคีต ิ
อตีตปัจจเวกขณปาฐะ ๗ อุททิสสนาธิฏฐานคาถา ๘ ๘ บทสวดมนต์พิเศษ (บางบท) ๙ ปุพพภาคนมการ ๙ สรณคมนปาฐะ ๑๐ อัฏฐสิกขาปทปาฐะ (แปล) ๑๑ ทวัตติงสาการปาฐะ (แปล) ๑๒ อภิณหปัจจเวกขณะ (แปล) ๑๔ เขมาเขมสรณทีปิกคาถา ๑๕ ปัพพโตปมคาถา อริยธนคาถา ติลักขณาทิคาถา ๑๖ ภารสุตตคาถา ๑๗ ภัทเทกรัตตนคาถา ๑๗ ธัมมคารวาทิคาถา ๑๗ โอวาทปาฏิโมกขคาถา ๑๘ ปฐมพุทธภาสิตคาถา ๑๙ ปัจฉิมพุทโธวาทปาฐะ ๒๐ บทพิจารณาสังขาร (แปล) ๒๐ บทขัดธัมมจักกัปปวัตตนสูตร
๒๑ ๒๓ ๒๔ ๒๔ ๒๕ ๒๖ ๒๘ ๒๙ ๓๐ ๓๐ ๓๑ ๓๒ ๓๒ ๓๒ ๓๓ ๓๔ ๓๔ ๓๔ ๓๖
ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร ยอดพระกัณฑ์ไตรปิฎก เมตตานิสังสะสุตตะปาโฐ ถวายพรพระ พระคาถาชินบัญชร บารมี ๓๐ ทัศ คาถาโพธิบาท มงคลจักรวาลแปดทิศ บทปลงสังขาร
บทเจริญพระพุทธมนต์ ชุมนุมเทวดา ปุพพภาคนมการ ไตรสรณคมน์ นมการสิทธิคาถา สัมพุทเธ นโมการัฏฐกคาถา มงคลสูตร (ย่อ) รตนสูตร (ย่อ) กรณียเมตตสูตร ขันธปริตร โมรปริตร วัฏฏกปริตร อาฏานาฏิยปริตร (ย่อ) อังคุลิมาลปริตร
๓๖ ๔๓ ๔๙ ๕๐ ๕๓ ๕๕ ๕๖ ๕๙ ๖๐ ๖๒ ๖๒ ๖๓ ๖๓ ๖๔ ๖๕ ๖๖ ๖๗ ๖๘ ๗๐ ๗๑ ๗๒ ๗๒ ๗๔
โพชฌังคปริตร อภยปริตร เทวตาอุยโยชนะคาถา มงคลจักรวาลใหญ่
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์ พระสังคิณี พระวิภังค์ พระธาตุกถา พระปุคคลบัญญัตติ พระกถาวัตถุ พระยมก พระมหาปัฏฐาน บังสุกุลตาย บังสุกุลเป็น ธัมมะสังคิณีมาติกา วิปัสสนาภูมิปาฐะ
๗๕ ๗๖ ๗๖ ๗๗ ๗๘ ๗๘ ๗๙ ๗๙ ๗๙ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๑ ๘๑ ๘๓
บทสวดท�ำนองสรภัญญะ บทสวดระลึกถึงพระพุทธคุณ ๘๔ บทสวดระลึกถึงพระธรรมคุณ ๘๕ บทสวดระลึกถึงพระสังฆคุณ ๘๖ บทสวดชัยสิทธิคาถา ๘๗ บทบูชาพระพุทธสิหิงค์ ๘๘
ภาคผนวก อนุโมทนารัมภคาถา สามัญญานุโมทนาคาถา มงคลจักรวาลน้อย พิธีรับศีล ๕ ค�ำสมาทานศีล ๕ พิธีรับศีล ๘ และศีลอุโบสถ ค�ำสมาทานศีล ๘ ค�ำสรุปศีล อาราธนาพระปริตร อาราธนาธรรม ค�ำบูชาข้าวพระพุทธ ค�ำลาข้าวพระพุทธ ค�ำขอถือเนกขัมมะปฏิบัติ ค�ำลาเนกขัมมะปฏิบัติ
๘๙ ๘๙ ๙๐ ๙๑ ๙๑ ๙๒ ๙๓ ๙๔ ๙๕ ๙๕ ๙๖ ๙๖ ๙๖ ๙๗
ค�ำลากลับบ้าน (ส�ำหรับญาติโยม) ๙๗ ค�ำตอบรับ (ส�ำหรับพระ) ๙๗ ค�ำถวายสังฆทาน (สามัญ) ๙๗ ค�ำถวายสังฆทาน (อุทศิ ) ๙๘ ค�ำถวายผ้ากฐิน ๙๙ ค�ำถวายผ้าป่า ๙๙ ค�ำถวายเทียนพรรษา ๑๐๐ ค�ำสมาทานพระกรรมฐาน ๑๐๐ บทอธิษฐานขออโหสิกรรม ๑๐๑ ค�ำแผ่เมตตาให้ตนเอง ๑๐๒ ค�ำแผ่เมตตาให้สรรพสัตว์ ๑๐๒ ค�ำกรวดน�ำ้ อุทศิ ส่วนกุศล ๑๐๓ กรวดน�ำ้ อิมนิ า ๑๐๔ ค�ำกรวดน�้ำแบบสั้น ๑๐๔
7
ทำ�วัตรเช้า
บทนำ�ทำ�วัตรเช้า
โย โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ,
ส๎วากขาโต เยนะ ภะคะวะตา ธัมโม, สุปะฏิปันโน ยัสสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, ตัมมะยัง ภะคะวันตัง สะธัมมัง สะสังฆัง, อิเมหิ สักกาเรหิ ยะถาระหัง อาโรปิเตหิ อะภิปูชะยามะ, สาธุ โน ภันเต ภะคะวา สุจิระปะรินิพพุโตปิ, ปัจฉิมา ชะนะตานุกัมปะมานะสา อิเม สักกาเร ทุคคะตะปัณณาการะภูเต ปะฏิคคัณหาตุ อัมหากัง ทีฆะรัตตัง หิตายะ สุขายะ. อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา, พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ. (กราบ) ส๎วากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, ธัมมัง นะมัสสามิ. (กราบ) สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สังฆัง นะมามิ. (กราบ)
(น�ำ) หันทะ
8
ปุพพภาคนมการ
มะยัง พุทธัสสะ ภะคะวะโต ปุพพะภาคะนะมะการัง กะโรมะ เส. (รับ) นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ. นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ. นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ.
พุทธาภิถุติ
(น�ำ) หันทะ มะยัง พุทธาภิถต ุ งิ กะโรมะ เส. (รับ) โย โส ตะถาคะโต, อะระหัง, สัมมาสัมพุทโธ, วิชชาจะระณะ-
สัมปันโน, สุคะโต, โลกะวิทู, อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ, สัตถา เทวะมะนุสสานัง, พุทโธ, ภะคะวา, โย อิมงั โลกัง สะเทวะกัง สะมาระกัง สะพ๎รัห๎มะกัง, สัสสะมะณะพ๎ราห๎มะณิง ปะชัง สะเทวะมะนุสสัง สะยัง อะภิญญา สัจฉิกัต๎วา ปะเวเทสิ, โย ธัมมัง เทเสสิ, อาทิกัล๎ยาณัง, มัชเฌกัล๎ยาณัง, ปะริโยสานะกัล๎ยาณัง, สาตถัง สะพ๎ยัญชะนัง เกวะละปะริปุณณัง ปะริสุทธัง พ๎รัห๎มะจะริยัง ปะกาเสสิ, ตะมะหัง ภะคะวันตัง อะภิปูชะยามิ, ตะมะหัง ภะคะวันตัง สิระสา นะมามิ. (กราบระลึกถึงพระพุทธคุณ)
9
ธัมมาภิถุติ
(น�ำ) หันทะ มะยัง ธัมมาภิถต ุ งิ กะโรมะ เส. (รับ) โย โส ส๎วากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, สันทิฏฐิโก, อะกาลิโก,
เอหิปสั สิโก, โอปะนะยิโก, ปัจจัตตัง เวทิตพั โพ วิญญูห,ิ ตะมะหัง ธัมมัง อะภิปูชะยามิ, ตะมะหัง ธัมมัง สิระสา นะมามิ. (กราบระลึกถึงพระธรรมคุณ)
สังฆาภิถุติ
(น�ำ) หันทะ มะยัง สังฆาภิถต ุ งิ กะโรมะ เส. (รับ) โย โส สุปะฏิปน ั โน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, อุชปุ ะฏิปนั โน
ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, ยะทิทัง, จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา, เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, อาหุเนยโย, ปาหุเนยโย, ทักขิเณยโย, อัญชะลีกะระณีโย, อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสะ, ตะมะหัง สังฆัง อะภิปูชะยามิ, ตะมะหัง สังฆัง สิระสา นะมามิ. (กราบระลึกถึงพระสังฆคุณ)
(น�ำ) หันทะ
10
รตนัตตยัปปณามคาถา
มะยัง ระตะนัตตะยัปปะณามะคาถาโย เจวะ สังเวคะปะริกิตตะนะปาฐัญจะ ภะณามะ เส. (รับ) พุทโธ สุสุทโธ กะรุณามะหัณณะโว, โยจจันตะสุทธัพพะระญาณะโลจะโน, โลกัสสะ ปาปูปะกิเลสะฆาตะโก, วันทามิ พุทธัง อะหะมาทะเรนะ ตัง, ธัมโม ปะทีโป วิยะ ตัสสะ สัตถุโน, โย มัคคะปากามะตะเภทะภินนะโก, โลกุตตะโร โย จะ ตะทัตถะทีปะโน, วันทามิ ธัมมัง อะหะมาทะเรนะ ตัง, สังโฆ สุเขตตาภะยะติเขตตะสัญญิโต, โย ทิฏฐะสันโต สุคะตานุโพธะโก, โลลัปปะหีโน อะริโย สุเมธะโส, วันทามิ สังฆัง อะหะมาทะเรนะ ตัง, อิจเจวะเมกันตะภิปูชะเนยยะกัง, วัตถุตตะยัง วันทะยะตาภิสังขะตัง, ปุญญัง มะยา ยัง มะมะ สัพพุปัททะวา, มา โหนตุ เว ตัสสะ ปะภาวะสิทธิยา.
11
สังเวคปริกิตตนปาฐะ
อิธะ ตะถาคะโต โลเก อุปปันโน, อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ, ธัมโม จะ เทสิโต นิยยานิโก, อุปะสะมิโก ปะรินิพพานิโก, สัมโพธะคามี สุคะตัปปะเวทิโต, มะยันตัง ธัมมัง สุต๎วา เอวัง ชานามะ, ชาติปิ ทุกขา, ชะราปิ ทุกขา, มะระณัมปิ ทุกขัง, โสกะปะริเทวะทุกขะโทมะนัสสุปายาสาปิ ทุกขา, อัปปิเยหิ สัมปะโยโค ทุกโข, ปิเยหิ วิปปะโยโค ทุกโข, ยัมปิจฉัง นะ ละภะติ ตัมปิ ทุกขัง, สังขิตเตนะ ปัญจุปาทานักขันธา ทุกขา, เสยยะถีทัง, รูปูปาทานักขันโธ, เวทะนูปาทานักขันโธ, สัญญูปาทานักขันโธ, สังขารูปาทานักขันโธ, วิญญาณูปาทานักขันโธ, เยสัง ปะริญญายะ, ธะระมาโน โส ภะคะวา, เอวัง พะหุลัง สาวะเก วิเนติ, เอวัง ภาคา จะ ปะนัสสะ ภะคะวะโต สาวะเกสุ อะนุสาสะนี พะหุลา ปะวัตตะติ, รูปัง อะนิจจัง, เวทะนา อะนิจจา, สัญญา อะนิจจา, สังขารา อะนิจจา, วิญญาณัง อะนิจจัง, รูปัง อะนัตตา, เวทะนา อะนัตตา, สัญญา อะนัตตา, สังขารา อะนัตตา, วิญญาณัง อะนัตตา, สัพเพ สังขารา อะนิจจา, สัพเพ ธัมมา อะนัตตาติ. เต (สตรีว่า ตา) มะยัง โอติณณามะหะ, ชาติยา, ชะรามะระเณนะ, โสเกหิ ปะริเทเวหิ ทุกเขหิ โทมะนัสเสหิ อุปายาเสหิ, ทุกโขติณณา, ทุกขะปะเรตา, อัปเปวะนามิมัสสะ เกวะลัสสะ ทุกขักขันธัสสะ อันตะกิริยา ปัญญาเยถาติ.
12
(บทนี้เป็นบทสวดส�ำหรับพระภิกษุสามเณร)
จิระปะรินิพพุตัมปิ ตัง ภะคะวันตัง อุททิสสะ อะระหันตัง สัมมาสัมพุทธัง, สัทธา อะคารัส๎มา อะนะคาริยัง ปัพพะชิตา, ตัส๎มิง ภะคะวะติ พ๎รัห๎มะจะริยัง จะรามะ, ภิกขูนัง สิกขาสาชีวะสะมาปันนา, ตัง โน พ๎รัห๎มะจะริยัง อิมัสสะ เกวะลัสสะ, ทุกขักขันธัสสะ อันตะกิริยายะ สังวัตตะตุ.
(บทนี้เป็นบทสวดส�ำหรับอุบาสกอุบาสิกา)
จิระปะรินพิ พุตมั ปิ ตัง ภะคะวันตัง สะระณัง คะตา, ธัมมัญจะ สังฆัญจะ, ตัสสะ ภะคะวะโต สาสะนัง ยะถาสะติ ยะถาพะลัง มะนะสิกะโรมะ อะนุปะฏิปชั ชามะ, สา สา โน ปะฏิปตั ติ, อิมสั สะ เกวะลัสสะ ทุกขักขันธัสสะ อันตะกิริยายะ สังวัตตะตุ.
ธาตุปฏิกูลปัจจเวกขณปาฐะ
(น�ำ) หันทะ
มะยัง ธาตุปะฏิกูละปัจจะเวกขะณะปาฐัง ภะณามะ เส.
(รับ) ยะถาปัจจะยัง
(บทพิจารณาขณะรับจีวร)
ปะวัตตะมานัง ธาตุมัตตะเมเวตัง, ยะทิทัง จีวะรัง, ตะทุปะภุญชะโก จะ ปุคคะโล, ธาตุมตั ตะโก, นิสสัตโต, นิชชีโว, สุญโญ, สัพพานิ ปะนะ อิมานิ จีวะรานิ อะชิคุจฉะนียานิ, อิมัง ปูติกายัง ปัตîวา อะติวิยะ ชิคุจฉะนียานิ ชายันติ.
13
(บทพิจารณาขณะรับบิณฑบาต)
ยะถาปัจจะยัง ปะวัตตะมานัง ธาตุมัตตะเมเวตัง, ยะทิทัง ปิณฑะปาโต ตะทุปะภุญชะโก จะ ปุคคะโล, ธาตุมัตตะโก, นิสสัตโต, นิชชีโว, สุญโญ, สัพโพ ปะนายัง ปิณฑะปาโต อะชิคุจฉะนีโย, อิมัง ปูติกายัง ปัต๎วา, อะติวิยะ ชิคุจฉะนีโย ชายะติ. (บทพิจารณาขณะรับเสนาสนะ)
ยะถาปัจจะยัง ปะวัตตะมานัง ธาตุมัตตะเมเวตัง ยะทิทัง เสนาสะนัง, ตะทุปะภุญชะโก จะ ปุคคะโล, ธาตุมัตตะโก, นิสสัตโต, นิชชีโว, สุญโญ, สัพพานิ ปะนะ อิมานิ เสนาสะนานิ อะชิคุจฉะนียานิ, อิมัง ปูติกายัง ปัต๎วา อะติวิยะ ชิคุจฉะนียานิ ชายันติ. (บทพิจารณาขณะรับคิลานเภสัช)
ยะถาปัจจะยัง ปะวัตตะมานัง ธาตุมัตตะเมเวตัง, ยะทิทัง คิลานะปัจจะยะเภสัชชะปะริกขาโร, ตะทุปะภุญชะโก จะ ปุคคะโล, ธาตุมัตตะโก, นิสสันโต, นิชชีโว, สุญโญ, สัพโพ ปะนายัง คิลานะปัจจะยะเภสัชชะปะริกขาโร อะชิคจุ ฉะนีโย, อิมงั ปูตกิ ายัง ปัต๎วา อะติวิยะ ชิคุจฉะนีโย ชายะติ.
14
ตังขณิกปัจจเวกขณปาฐะ
(น�ำ) หันทะ มะยัง ตังขะณิกะปัจจะเวกขะณะปาฐัง ภะณามะ เส. (บทพิจารณาขณะใช้สอยจีวร)
(รับ) ปะฏิสังขา โยนิโส จีวะรัง ปะฏิเสวามิ, ยาวะเทวะ สีตัสสะ
ปะฏิฆาตายะ, อุณ๎หัสสะ ปะฏิฆาตายะ, ฑังสะมะกะสะวาตาตะปะสิริงสะปะสัมผัสสานัง ปะฏิฆาตายะ, ยาวะเทวะ หิริโกปินะปะฏิจฉาทะนัตถัง. (บทพิจารณาขณะบริโภคบิณฑบาต)
ปะฏิสงั ขา โยนิโส ปิณฑะปาตัง ปะฏิเสวามิ, เนวะ ทะวายะ, นะ มะทายะ, นะ มัณฑะนายะ, นะ วิภูสะนายะ, ยาวะเทวะ อิ มั สสะ กายั สสะ ฐิ ติยา, ยาปะนายะ, วิ หิง สุ ป ะระติ ยา, พ๎รหั ม๎ ะจะริยานุคคะหายะ, อิติ ปุราณัญจะ เวทะนัง ปะฏิหงั ขามิ, นะวัญจะ เวทะนัง นะ อุปปาเทสสามิ, ยาต๎รา จะ เม ภะวิสสะติ อะนะวัชชะตา จะ ผาสุวิหาโร จาติ. (บทพิจารณาขณะใช้สอยเสนาสนะ)
ปะฏิสังขา โยนิโส เสนาสะนัง ปะฏิเสวามิ, ยาวะเทวะ สีตัสสะ ปะฏิฆาตายะ, อุณหัสสะ ปะฏิฆาตายะ, ฑังสะมะกะสะวาตาตะปะสิริงสะปะสัมผัสสานัง ปะฏิฆาตายะ, ยาวะเทวะ อุตุปะริสสะยะวิโนทะนัง ปะฏิสัลลานารามัตถัง. (บทพิจารณาขณะบริโภคคิลานเภสัช)
ปะฏิสังขา โยนิโส คิลานะปัจจะยะเภสัชชะปะริกขารัง ปะฏิเสวามิ, ยาวะเทวะ อุปปันนานัง เวยยาพาธิกานัง เวทะนานัง ปะฏิฆาตายะ, อัพ๎ยาปัชฌะปะระมะตายาติ.
(น�ำ) (รับ)
15
ปัตติทานคาถา
หันทะ มะยัง ปัตติทานะคาถาโย ภะณามะ เส. ยา เทวะตา สันติ วิหาระวาสินี ถูเป ฆะเร โพธิฆะเร ตะหิง ตะหิง ตา ธัมมะทาเนนะ ภะวันตุ ปูชิตา โสตถิง กะโรนเตธะ วิหาระมัณฑะเล เถรา จะ มัชฌา นะวะกา จะ ภิกขะโว สารามิกา ทานะปะตี อุปาสะกา คามา จะ เทสา นิคะมา จะ อิสสะรา สัปปาณะภูตา สุขิตา ภะวันตุ เต ชะลาพุชา เยปิ จะ อัณฑะสัมภะวา สังเสทะชาตา อะถะโวปะปาติกา นิยยานิกัง ธัมมะวะรัง ปะฏิจจะ เต สัพเพปิ ทุกขัสสะ กะโรนตุ สังขะยัง. ฐาตุ จิรัง สะตัง ธัมโม ธัมมัทธะรา จะ ปุคคะลา สังโฆ โหตุ สะมัคโค วะ อัตถายะ จะ หิตายะ จะ อัมเห รักขะตุ สัทธัมโม สัพเพปิ ธัมมะจาริโน วุฑฒิง สัมปาปุเณยยามะ ธัมเม อะริยัปปะเวทิเต. ปะสันนา โหนตุ สัพเพปิ ปาณิโน พุทธะสาสะเน สัมมา ธารัง ปะเวจฉันโต กาเล เทโว ปะวัสสะตุ วุฑฒิภาวายะ สัตตานัง สะมิทธัง เนตุ เมทะนิง มาตา ปิตา จะ อัต๎ระชัง นิจจัง รักขันติ ปุตตะกัง เอวัง ธัมเมนะ ราชาโน ปะชัง รักขันตุ สัพพะทา.
16
ทำ�วัตรเย็น
บทนำ�ทำ�วัตรเย็น
โย โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ส๎วากขาโต เยนะ ภะคะวะตา ธัมโม สุปะฏิปันโน ยัสสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ตัมมะยัง ภะคะวันตัง สะธัมมัง สะสังฆัง อิเมหิ สักกาเรหิ ยะถาระหัง อาโรปิเตหิ อะภิปูชะยามะ สาธุ โน ภันเต ภะคะวา สุจิระปะรินิพพุโตปิ ปัจฉิมา ชะนะตานุกัมปะมานะสา อิเม สักกาเร ทุคคะตะปัณณาการะภูเต ปะฏิคคัณหาตุ อัมหากัง ทีฆะรัตตัง หิตายะ สุขายะ.
อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา, พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ. (กราบ) ส๎วากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, ธัมมัง นะมัสสามิ. (กราบ) สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สังฆัง นะมามิ. (กราบ)
17
ปุพพภาคนมการ
(น�ำ) หันทะ
มะยัง พุทธัสสะ ภะคะวะโต ปุพพะภาคะนะมะการัง กะโรมะ เส. (รับ) นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ. นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ. นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ.
พุทธานุสสติ
(น�ำ) หันทะ มะยัง พุทธานุสสะตินะยัง กะโรมะ เส. (รับ) ตัง โข ปะนะ ภะคะวันตัง เอวัง กัล๎ยาโณ กิตติสัทโท
อัพภุคคะโต อิติปิ โส ภะคะวา, อะระหัง, สัมมาสัมพุทโธ, วิชชาจะระณะสัมปันโน, สุคะโต, โลกะวิทู, อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ, สัตถา เทวะมะนุสสานัง, พุทโธ, ภะคะวาติ.
พุทธาภิคีติ
(น�ำ) หันทะ มะยัง พุทธาภิคีติง กะโรมะ เส. (รับ) พุทธ๎วาระหันตะวะระตาทิคุณาภิยุตโต,
สุทธาภิญาณะกะรุณาหิ สะมาคะตัตโต, โพเธสิ โย สุชะนะตัง กะมะลังวะ สูโร, วันทามะหัง ตะมะระณัง สิระสา ชิเนนทัง,
18
พุทโธ โย สัพพะปาณีนัง สะระณัง เขมะมุตตะมัง, ปะฐะมานุสสะติฏฐานัง วันทามิ ตัง สิเรนะหัง, พุทธัสสาหัส๎มิ ทาโส (ทาสี)* วะ พุทโธ เม สามิกิสสะโร, พุทโธ ทุกขัสสะ ฆาตา จะ วิธาตา จะ หิตัสสะ เม, พุทธัสสาหัง นิยยาเทมิ สะรีรัญชีวิตัญจิทัง, วันทันโตหัง (ตีหัง)* จะริสสามิ พุทธัสเสวะ สุโพธิตัง, นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง พุทโธ เม สะระณัง วะรัง, เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ วัฑเฒยยัง สัตถุสาสะเน, พุทธัง เม วันทะมาเนนะ (มานายะ)* ยัง ปุญญัง ปะสุตัง อิธะ, สัพเพปิ อันตะรายา เม มาเหสุง ตัสสะ เตชะสา. (กราบหมอบลงว่า)
กาเยนะ วาจายะ วะ เจตะสา วา, พุทเธ กุกัมมัง ปะกะตัง มะยา ยัง, พุทโธ ปะฏิคคัณหะตุ อัจจะยันตัง, กาลันตะเร สังวะริตุง วะ พุทเธ.
ธัมมานุสสติ
(น�ำ) หันทะ มะยัง ธัมมานุสสะตินะยัง กะโรมะ เส. (รับ) ส๎วากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, สันทิฏฐิโก, อะกาลิโก,
เอหิปัสสิโก, โอปะนะยิโก, ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหีติ.
* สำ�หรับสตรีสวด
19
ธัมมาภิคีติ
(น�ำ) หันทะ มะยัง ธัมมาภิคีติง กะโรมะ เส. (รับ) ส๎วากขาตะตาทิคุณะโยคะวะเสนะ เสยโย,
โย มัคคะปากะปะริยัตติวิโมกขะเภโท, ธัมโม กุโลกะปะตะนา ตะทะธาริธารี, วันทามะหัง ตะมะหะรัง วะระธัมมะเมตัง, ธัมโม โย สัพพะปาณีนัง สะระณัง เขมะมุตตะมัง, ทุติยานุสสะติฏฐานัง วันทามิ ตัง สิเรนะหัง, ธัมมัสสาหัสม๎ ิ ทาโส (ทาสี)* วะ ธัมโม เม สามิกิสสะโร, ธัมโม ทุกขัสสะ ฆาตา จะ วิธาตา จะ หิตัสสะ เม, ธัมมัสสาหัง นิยยาเทมิ สะรีรัญชีวิตัญจิทัง, วันทันโตหัง (ตีหัง)* จะริสสามิ ธัมมัสเสวะ สุธัมมะตัง, นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง ธัมโม เม สะระณัง วะรัง, เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ วัฑเฒยยัง สัตถุสาสะเน, ธัมมัง เม วันทะมาเนนะ (มานายะ)* ยัง ปุญญัง ปะสุตัง อิธะ, สัพเพปิ อันตะรายา เม มาเหสุง ตัสสะ เตชะสา. (กราบหมอบลงว่า)
กาเยนะ วาจายะ วะ เจตะสา วา, ธัมเม กุกัมมัง ปะกะตัง มะยา ยัง, ธัมโม ปะฏิคคัณหะตุ อัจจะยันตัง, กาลันตะเร สังวะริตุง วะ ธัมเม. * สำ�หรับสตรีสวด
(น�ำ) หันทะ มะยัง (รับ) สุปะฏิปันโน
20
สังฆานุสสติ
สังฆานุสสะตินะยัง กะโรมะ เส. ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, ยะทิทัง จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา, เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, อาหุเนยโย, ปาหุเนยโย, ทักขิเณยโย, อัญชะลีกะระณีโย, อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ.
สังฆาภิคีติ
(น�ำ) หันทะ มะยัง สังฆาภิคีติง กะโรมะ เส. (รับ) สัทธัมมะโช สุปะฏิปัตติคุณาทิยุตโต,
โยฏฐัพพิโธ อะริยะปุคคะละสังฆะเสฏโฐ, สีลาทิธัมมะปะวะราสะยะกายะจิตโต, วันทามะหัง ตะมะริยานะ คะณัง สุสุทธัง, สังโฆ โย สัพพะปาณีนัง สะระณัง เขมะมุตตะมัง, ตะติยานุสสะติฏฐานัง วันทามิ ตัง สิเรนะหัง, สังฆัสสาหัส๎มิ ทาโส (ทาสี)* วะ สังโฆ เม สามิกิสสะโร, สังโฆ ทุกขัสสะ ฆาตา จะ วิธาตา จะ หิตัสสะ เม, สังฆัสสาหัง นิยยาเทมิ สะรีรัญชีวิตัญจิทัง, * สำ�หรับสตรีสวด
21
วันทันโตหัง (ตีหัง)* จะริสสามิ สังฆัสโสปะฏิปันนะตัง, นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง สังโฆ เม สะระณัง วะรัง, เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ วัฑเฒยยัง สัตถุสาสะเน, สังฆัง เม วันทะมาเนนะ (มานายะ)* ยัง ปุญญัง ปะสุตัง อิธะ, สัพเพปิ อันตะรายา เม มาเหสุง ตัสสะ เตชะสา. (กราบหมอบลงว่า)
กาเยนะ วาจายะ วะ เจตะสา วา, สังเฆ กุกัมมัง ปะกะตัง มะยา ยัง, สังโฆ ปะฏิคคัณหะตุ อัจจะยันตัง, กาลันตะเร สังวะริตุง วะ สังเฆ.
(น�ำ) หันทะ
อตีตปัจจเวกขณปาฐะ
มะยัง อะตีตะปัจจะเวกขะณะปาฐัง ภะณามะ เส. (บทพิจารณาภายหลังการใช้สอยจีวร)
(รับ) อัชชะ
มะยา อะปัจจะเวกขิต๎วา ยัง จีวะรัง ปะริภุตตัง, ตัง ยาวะเทวะ สีตัสสะ ปะฏิฆาตายะ, อุณหัสสะ ปะฏิฆาตายะ, ฑังสะมะกะสะวาตาตะปะสิริงสะปะสัมผัสสานัง ปะฏิฆาตายะ, ยาวะเทวะ หิริโกปินะปะฏิจฉาทะนัตถัง.
* สำ�หรับสตรีสวด
22
(บทพิจารณาหลังบริโภคบิณฑบาต)
อัชชะ มะยา อะปัจจะเวกขิตว๎ า โย ปิณฑะปาโต ปะริภตุ โต, โส เนวะ ทะวายะ, นะ มะทายะ, นะ มัณฑะนายะ, นะ วิภสู ะนายะ, ยาวะเทวะ อิมสั สะ กายัสสะ ฐิตยิ า, ยาปะนายะ, วิหงิ สุปะระติยา, พ๎รหั ม๎ ะจะริยานุคคะหายะ, อิติ ปุราณัญจะ เวทะนัง ปะฏิหงั ขามิ, นะวัญจะ เวทะนัง นะ อุปปาเทสสามิ, ยาต๎รา จะ เม ภะวิสสะติ อะนะวัชชะตา จะ ผาสุวิหาโร จาติ. (บทพิจารณาภายหลังการใช้สอยเสนาสนะ)
อัชชะ มะยา อะปัจจะเวกขิต๎วา ยัง เสนาสะนัง ปะริภุตตัง, ตัง ยาวะเทวะ สีตัสสะ ปะฏิฆาตายะ, อุณหัสสะ ปะฏิฆาตายะ, ฑังสะมะกะสะวาตาตะปะสิริงสะปะสัมผัสสานัง ปะฏิฆาตายะ, ยาวะเทวะ อุตปุ ะริสสะยะวิโนทะนัง ปะฏิสลั ลานารามัตถัง. (บทพิจารณาภายหลังบริโภคคิลานเภสัช)
อัชชะ มะยา อะปัจจะเวกขิต๎วา โย คิลานะปัจจะยะเภสัชชะปะริกขาโร ปะริภุตโต, โส ยาวะเทวะ อุปปันนานัง เวยยาพาธิกานัง เวทะนานัง ปะฏิฆาตายะ, อัพย๎ าปัชฌะปะระมะตายาติ.
23
อุททิสสนาธิฏฐานคาถา
(น�ำ) หันทะ มะยัง อุททิสสะนาธิฏฐานะคาถาโย ภะณามะ (รับ) อิมินา ปุญญะกัมเมนะ อุปัชฌายา คุณุตตะรา
อาจะริยูปะการา จะ สุริโย จันทิมา ราชา พ๎รัห๎มะมารา จะ อินทา จะ ยะโม มิตตา มะนุสสา จะ สัพเพ สัตตา สุขี โหนตุ สุขัง จะ ติวิธัง เทนตุ อิมินา ปุญญะกัมเมนะ ขิปปาหัง สุละเภ เจวะ เย สันตาเน หินา ธัมมา นัสสันตุ สัพพะทา เยวะ อุชุจิตตัง สะติปัญญา มารา ละภันตุ โนกาสัง พุทธาทิปะวะโร นาโถ นาโถ ปัจเจกะพุทโธ จะ เตโสตตะมานุภาเวนะ ทะสะปุญญานุภาเวนะ
มาตา ปิตา จะ ญาตะกา คุณะวันตา นะราปิ จะ โลกะปาลา จะ เทวะตา มัชฌัตตา เวริกาปิ จะ ปุญญานิ ปะกะตานิ เม ขิปปัง ปาเปถะ โวมะตัง อิมินา อุททิเสนะ จะ ตัณหุปาทานะเฉทะนัง ยาวะ นิพพานะโต มะมัง ยัตถะ ชาโต ภะเว ภะเว สัลเลโข วิริยัมหินา กาตุญจะ วิริเยสุ เม ธัมโม นาโถ วะรุตตะโม สังโฆ นาโถตตะโร มะมัง มาโรกาสัง ละภันตุ มา มาโรกาสัง ละภันตุ มา.
เส.
24
บทสวดมนต์พิเศษ (บางบท)
ปุพพภาคนมการ
(น�ำ) หันทะ มะยัง พุทธัสสะ ภะคะวะโต ปุพพะภาคะนะมะการัง
กะโรมะ เส. (รับ) นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ. นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ. นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ.
สรณคมนปาฐะ
(น�ำ) หันทะ มะยัง ติสะระณะคะมะนะปาฐัง ภะณามะ เส. (รับ) พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ.
ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ. สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ. ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ. ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ. ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ. ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ. ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ. ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ.
(น�ำ) หันทะ
25
อัฏฐสิกขาปทปาฐะ (แปล)
มะยัง อัฏฐะสิกขาปะทะปาฐัง ภะณามะ เส.
(เชิญเถิด เราทั้งหลาย จงกล่าวคาถาแสดงสิกขาบท ๘ ประการเถิด)
เจตนาเป็นเครื่องเว้นจากการฆ่าและเบียดเบียนสัตว์;
เจตนาเป็นเครื่องเว้นจากการถือเอาสิ่งของที่เจ้าของเขาไม่ได้ให้;
เจตนาเป็นเครื่องเว้นจากการกระท�ำอันมิใช่พรหมจรรย์;
เจตนาเป็นเครื่องเว้นจากการพูดไม่จริง;
เจตนาเป็นเครื่องเว้นจากการดื่มสุราและเมรัย, อันเป็นที่ตั้งของ ความประมาท;
เจตนาเป็นเครื่องเว้นจากการบริโภคอาหารในเวลาวิกาล;
เจตนาเป็นเครือ่ งเว้นจากการฟ้อนร�ำ, การขับเพลง การดนตรี, การดู การเล่นชนิดเป็นข้าศึกต่อกุศล, การทัดทรงสวมใส่ การประดับ, การตกแต่งตนด้วยพวงมาลา ด้วยเครื่องหอม และเครื่องผัดทา;
เจตนาเป็นเครือ่ งเว้นจากการนัง่ นอนบนทีน่ อนสูง และทีน่ อนใหญ่.
(รับ) ปาณาติปาตา
เวระมะณี,
อะทินนาทานา เวระมะณี,
อะพîรัหîมะจะริยา เวระมะณี, มุสาวาทา เวระมะณี,
สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี, วิกาละโภชะนา เวระมะณี,
นัจจะคีตะวาทิตะวิสูกะทัสสะนะ มาลาคันธะวิเลปะนะธาระณะ มัณฑะนะวิภูสะนัฏฐานา เวระมะณี,
อุจจาสะยะนะมะหาสะยะนา เวระมะณี,
26
ทวัตติงสาการปาฐะ (แปล)
(น�ำ) (หันทะ มะยัง ทîวัตติงสาการะปาฐัง ภะณามะ (รับ) อะยัง โข เม กาโย, กายของเรานี้แล;
เส.)
อุทธัง ปาทะตะลา, เบื้องบนแต่พื้นเท้าขึ้นมา; อะโธ เกสะมัตถะกา, เบื้องต�่ำแต่ปลายผมลงไป; ตะจะปะริยันโต, มีหนังหุ้มอยู่เป็นที่สุดรอบ; ปูโร นานัปปะการัสสะ อะสุจิโน,
เต็มไปด้วยของไม่สะอาดมีประการต่าง ๆ; อัตถิ อิมัสîมิง กาเย, มีอยู่ในกายนี้ คือ :เกสา ผมทั้งหลาย; โลมา ขนทั้งหลาย; นะขา เล็บทั้งหลาย; ทันตา ฟันทั้งหลาย; ตะโจ หนัง; มังสัง เนื้อ; นะหารู เอ็นทั้งหลาย; อัฏฐี กระดูกทั้งหลาย; อัฏฐิมิญชัง เยื่อในกระดูก; วักกัง ม้าม; (บางแห่งแปลว่า ไต) หะทะยัง หัวใจ; ยะกะนัง ตับ;
กิโลมะกัง ปิหะกัง ปัปผาสัง อันตัง อันตะคุณัง อุทะริยัง กะรีสัง ปิตตัง เสมหัง ปุพโพ โลหิตัง เสโท เมโท อัสสุ วะสา เขโฬ สิงฆาณิกา ละสิกา มุตตัง มัตถะเก มัตถะลุงคัง, เอวะมะยัง เม กาโย,
27
พังผืด; ไต; (บางแห่งแปลว่า ม้าม) ปอด; ไส้ใหญ่; ไส้น้อย; อาหารใหม่; อาหารเก่า; น�้ำดี; น�้ำเสลด; น�้ำหนอง; น�้ำเลือด; น�้ำเหงื่อ; น�้ำมันข้น; น�้ำตา; น�้ำมันเหลว; น�้ำลาย; น�้ำมูก; น�้ำไขข้อ; น�้ำมูตร; เยื่อมันสมองในกะโหลกศีรษะ; กายของเรานี้อย่างนี้;
28
อุทธัง ปาทะตะลา, เบื้องบนแต่พื้นเท้าขึ้นมา; อะโธ เกสะมัตถะกา, เบื้องต�่ำแต่ปลายผมลงไป; ตะจะปะริยันโต, มีหนังหุ้มอยู่เป็นที่สุดรอบ; ปูโร นานัปปะการัสสะ อะสุจิโน. เต็มไปด้วยของไม่สะอาด มีประการต่างๆ อย่างนี้แล.
อภิณหปัจจเวกขณะ (แปล)
(น�ำ) หันทะ มะยัง อะภิณหะปัจจะเวกขะณะปาฐัง (รับ) ชะราธัมโมมหิ ชะรัง อะนะตีโต,
ภะณามะ เส.
เรามีความแก่เป็นธรรมดา ไม่ล่วงพ้นความแก่ไปได้;
พîยาธิธัมโมมหิ พîยาธิง อะนะตีโต,
เรามีความเจ็บไข้เป็นธรรมดา ไม่ล่วงพ้นความเจ็บไข้ไปได้;
มะระณะธัมโมมหิ มะระณัง อะนะตีโต,
เรามีความตายเป็นธรรมดา ไม่ล่วงพ้นความตายไปได้;
สัพเพหิ เม ปิเยหิ มะนาเปหิ นานาภาโว วินาภาโว,
เราจะละเว้นเป็นต่างๆ คือว่าจะพลัดพรากจากของรัก ของเจริญใจทั้งหลายทั้งปวง; กัมมัสสะโกมหิ, เรามีกรรมเป็นของตน; กัมมะทายาโท, เราเป็นผู้รับผลของกรรม; กัมมะโยนิ, เรามีกรรมเป็นก�ำเนิด; กัมมะพันธุ, เรามีกรรมเป็นเผ่าพันธุ์;
29
กัมมะปะฏิสะระโณ, เรามีกรรมเป็นที่พึ่งอาศัย; ยัง กัมมัง กะริสสามิ, เราจักท�ำกรรมอันใดไว้; กัลîยาณัง วา ปาปะกัง วา, ดีหรือชั่วก็ตาม; ตัสสะ ทายาโท ภะวิสสามิ, เราจักเป็นผูร้ บั ผลของกรรมนัน้ ไป; เอวัง อัมเหหิ อะภิณหัง ปัจจะเวกขิตัพพัง.
เราทั้งหลายพึงพิจารณาอย่างนี้ทุกวันๆ เทอญ.
เขมาเขมสรณทีปิกคาถา
(น�ำ) หันทะ มะยัง เขมาเขมะสะระณะทีปกิ ะคาถาโย ภะณามะ เส. (รับ) พะหุง เว สะระณัง ยันติ, ปัพพะตานิ วะนานิ จะ,
อารามะรุกขะเจตîยานิ, มะนุสสา ภะยะตัชชิตา, เนตัง โข สะระณัง เขมัง, เนตัง สะระณะมุตตะมัง, เนตัง สะระณะมาคัมมะ, สัพพะทุกขา ปะมุจจะติ, โย จะ พุทธัญจะ ธัมมัญจะ, สังฆัญจะ สะระณัง คะโต, จัตตาริ อะริยะสัจจานิ, สัมมัปปัญญายะ ปัสสะติ, ทุกขัง ทุกขะสะมุปปาทัง, ทุกขัสสะ จะ อะติกกะมัง, อะริยัญจัฏฐังคิกัง มัคคัง, ทุกขูปะสะมะคามินัง, เอตัง โข สะระณัง เขมัง, เอตัง สะระณะมุตตะมัง, เอตัง สะระณะมาคัมมะ, สัพพะทุกขา ปะมุจจะติ.
30
ปัพพโตปมคาถา
(น�ำ) หันทะ มะยัง ปัพพะโตปะมะคาถาโย ภะณามะ เส. (รับ) ยะถาปิ เสลา วิปุลา นะภัง อาหัจจะ ปัพพะตา,
สะมันตา อะนุปะริเยยยุง นิปโปเถนตา จะตุททิสา, เอวัง ชะรา จะ มัจจุ จะ อะธิวัตตันติ ปาณิโน, ขัตติเย พîราหîมะเณ เวสเส สุทเท จัณฑาละปุกกุเส, นะ กิญจิ ปะริวัชเชติ สัพพะเมวาภิมัททะติ, นะ ตัตถะ หัตถีนัง ภูมิ นะ ระถานัง นะ ปัตติยา, นะ จาปิ มันตะยุทเธนะ สักกา เชตุง ธะเนนะ วา, ตัสîมา หิ ปัณฑิโต โปโส สัมปัสสัง อัตถะมัตตะโน, พุทเธ ธัมเม จะ สังเฆ จะ ธีโร สัทธัง นิเวสะเย, โย ธัมมะจารี กาเยนะ วาจายะ อุทะ เจตะสา, อิเธวะ นัง ปะสังสันติ เปจจะ สัคเค ปะโมทะติ.
(น�ำ) หันทะ (รับ) ยัสสะ
อริยธนคาถา
มะยัง อะริยะธะนะคาถาโย ภะณามะ เส. สัทธา ตะถาคะเต อะจะลา สุปะติฏฐิตา, สีลัญจะ ยัสสะ กัลîยาณัง อะริยะกันตัง ปะสังสิตัง, สังเฆ ปะสาโท ยัสสัตถิ อุชุภูตัญจะ ทัสสะนัง, อะทะฬิทโทติ ตัง อาหุ อะโมฆันตัสสะชีวิตัง, ตัสîมา สัทธัญจะ สีลัญจะ ปะสาทัง ธัมมะทัสสะนัง, อะนุยุญเชถะ เมธาวี สะรัง พุทธานะสาสะนัง.
31
ติลักขณาทิคาถา
(น�ำ) หันทะ มะยัง ติลักขะณาทิคาถาโย ภะณามะ (รับ) สัพเพ สังขารา อะนิจจาติ ยะทา ปัญญายะ
เส. ปัสสะติ, อะถะ นิพพินทะติ ทุกเข เอสะ มัคโค วิสุทธิยา, สัพเพ สังขารา ทุกขาติ ยะทา ปัญญายะ ปัสสะติ, อะถะ นิพพินทะติ ทุกเข เอสะ มัคโค วิสุทธิยา, สัพเพ ธัมมา อะนัตตาติ ยะทา ปัญญายะ ปัสสะติ, อะถะ นิพพินทะติ ทุกเข เอสะ มัคโค วิสุทธิยา, อัปปะกา เต มะนุสเสสุ เย ชะนา ปาระคามิโน, อะถายัง อิตะรา ปะชา ตีระเมวานุธาวะติ, เย จะ โข สัมมะทักขาเต ธัมเม ธัมมานุวัตติโน, เต ชะนา ปาระเมสสันติ มัจจุเธยยัง สุทุตตะรัง, กัณหัง ธัมมัง วิปปะหายะ สุกกัง ภาเวถะ ปัณฑิโต, โอกา อะโนกะมาคัมมะ วิเวเก ยัตถะ ทูระมัง, ตัตîราภิระติมิจเฉยยะ หิตîวา กาเม อะกิญจะโน, ปะริโยทะเปยยะ อัตตานัง จิตตักîเลเสหิ ปัณฑิโต, เยสัง สัมโพธิยังเคสุ สัมมา จิตตัง สุภาวิตัง, อาทานะปะฏินิสสัคเค อะนุปาทายะ เย ระตา, ขีณาสะวา ชุติมันโต เต โลเก ปะรินิพพุตาติ.
32
ภารสุตตคาถา
(น�ำ) หันทะ มะยัง ภาระสุตตะคาถาโย ภะณามะ เส. (รับ) ภารา หะเว ปัญจักขันธา ภาระหาโร จะ ปุคคะโล
ภาราทานัง ทุกขัง โลเก, ภาระนิกเขปะนัง สุขงั นิกขิปติ วî า คะรุง ภารัง อัญญัง ภารัง อะนาทิยะ สะมูลงั ตัณหัง อัพพุยหî ะ นิจฉาโต ปะรินพิ พุโต.
ภัทเทกรัตตคาถา
(น�ำ) หันทะ มะยัง ภัทเทกะรัตตะคาถาโย ภะณามะ เส. (รับ) อะตีตงั นานวî าคะเมยยะ นัปปะฏิกงั เข อะนาคะตัง,
ยะทะตีตมั ปะหีนนั ตัง อัปปัตตัญจะ อะนาคะตัง, ปัจจุปปันนัญจะ โย ธัมมัง ตัตถะ ตัตถะ วิปสั สะติ, อะสังหิรงั อะสังกุปปัง ตัง วิทธา มะนุพรî หู ะเย, อัชเชวะ กิจจะมาตัปปัง โก ชัญญา มะระณัง สุเว, นะ หิ โน สังคะรันเตนะ มะหาเสเนนะ มัจจุนา เอวัง วิหาริมาตาปิง อะโหรัตตะมะตันทิตงั , ตัง เว ภัทเทกะรัตโตติ สันโต อาจิกขะเต มุน.ิ
ธัมมคารวาทิคาถา
(น�ำ) หันทะ มะยัง ธัมมะคาระวาทิคาถาโย ภะณามะ เส. (รับ) เย จะ อะตีตา สัมพุทธา เย จะ พุทธา อะนาคะตา,
33
โย เจตะระหิ สัมพุทโธ พะหุนนัง โสกะนาสะโน, สัพเพ สัทธัมมะคะรุโน วิหะริงสุ วิหาติ จะ, อะถาปิ วิหะริสสันติ เอสา พุทธานะธัมมะตา, ตัสมî า หิ อัตตะกาเมนะ มะหัตตะมะภิกงั ขะตา, สัทธัมโม คะรุกาตัพโพ สะรัง พุทธานะสาสะนัง, นะ หิ ธัมโม อะธัมโม จะ อุโภ สะมะวิปากิโน, อะธัมโม นิระยัง เนติ ธัมโม ปาเปติ สุคะติง ธัมโม หะเว รักขะติ ธัมมะจาริง, ธัมโม สุจณ ิ โณ สุขะมาวะหาติ, เอสานิสงั โส ธัมเม สุจณ ิ เณ.
โอวาทปาฏิโมกขคาถา
(น�ำ) หันทะ มะยัง โอวาทะปาฏิโมกขะคาถาโย ภะณามะ เส. (รับ) สัพพะปาปัสสะ อะกะระณัง, กุสะลัสสูปะสัมปะทา,
สะจิตตะปะริโยทะปะนัง, ขันตี ปะระมัง ตะโป ตีติกขา, นะ หิ ปัพพะชิโต ปะรูปะฆาตี, อะนูปะวาโท อะนูปะฆาโต, มัตตัญญุตา จะ ภัตตัสîมิง, อะธิจิตเต จะ อาโยโค,
เอตัง พุทธานะสาสะนัง. นิพพานัง ปะระมัง วะทันติ พุทธา, สะมะโณ โหติ ปะรัง วิเหฐะยันโต, ปาติโมกเข จะ สังวะโร, ปันตัญจะ สะยะนาสะนัง, เอตัง พุทธานะสาสะนัง.
34
ปฐมพุทธภาสิตคาถา
(น�ำ) หันทะ มะยัง ปะฐะมะพุทธะภาสิตะคาถาโย ภะณามะ (รับ) อะเนกะชาติสังสารัง สันธาวิสสัง อะนิพพิสัง,
คะหะการัง คะเวสันโต คะหะการะกะ ทิฏโฐสิ สัพพา เต ผาสุกา ภัคคา วิสังขาระคะตัง จิตตัง,
ทุกขา ชาติ ปุนัปปุนัง, ปุนะ เคหัง นะ กาหะสิ, คะหะกูฏัง วิสังขะตัง, ตัณหานัง ขะยะมัชฌะคา.
ปัจฉิมพุทโธวาทปาฐะ
(น�ำ) หันทะ มะยัง ปัจฉิมะพุทโธวาทะปาฐัง ภะณามะ (รับ) หันทะทานิ ภิกขะเว อามันตะยามิ โว,
วะยะธัมมา สังขารา, อะยัง ตะถาคะตัสสะ
เส.
เส.
อัปปะมาเทนะ สัมปาเทถะ, ปัจฉิมา วาจา.
บทพิจารณาสังขาร (แปล)
(น�ำ) หันทะ มะยัง ธัมมะสังเวคะปัจจะเวกขะณะปาฐัง ภะณามะ เส. (รับ) สัพเพ สังขารา อะนิจจา,
สังขารคือร่างกาย จิตใจ, แลรูปธรรม นามธรรม ทั้งหมดทั้งสิ้น, มันไม่เที่ยง, เกิดขึ้นแล้วดับไป, มีแล้วหายไป;
มันเป็นทุกข์ทนยาก, เพราะเกิดขึ้นแล้ว แก่ เจ็บ ตายไป;
สัพเพ สังขารา ทุกขา, สังขารคือร่างกาย จิตใจ, แลรูปธรรม นามธรรม ทั้งหมดทั้งสิ้น,