ขอมูลทางดานกายภาพและความเปนมาของชุมชน จันทบุรีเปนเมืองชายฝงทะเลภาคตะวันออก มีความสําคัญทางประวัติศาสตรไทยในแตละยุค สมัย ทั้งสมัยกอนกรุงธนบุรีและสมัยรัตนโกสินทร ดังปรากฏหลักฐานสิ่งกอสรางทางประวัติศาสตรใหเห็น อยูทุกวันนี้ เปนเมืองที่มีความอุดมสมบูรณดวยทรัพยากรธรรมชาติทั้งในดินและในน้ํา เคยเปนแหลงอัญ มณีหลากหลายชนิดที่มีราคามาก แมปจจุบันอัญมณีตางๆ จะลดนอยลง แตยังคงเปนศูนยกลางสําคัญ ของธุรกิจดานอัญมณี เปนแหลงรวมชางฝมือในการเจียระไนอัญมณี และทําเครื่องประดับมีคาตางๆ นอกจากนี้สภาพดิ นฟ า อากาศและผื นดิ น ยัง เอื้อ อํ านวยแกก ารปลู กพืช ผลการเกษตรตา งๆ โดยเฉพาะผลไมที่ขึ้นชื่อของจังหวัด ไดแก เงาะ ทุเรียน มังคุด ลางสาด และผลิตผลพริกไทย บริเวณ ชายฝงทําการประมงและผลิตภัณฑอาหารทะเล มีสถานที่ทองเที่ยวทางธรรมชาติที่สวยงามหลายแหง เขตพื้นที่ทางภาคตะวันออกของไทยนับไดวาเปนภูมิภาคที่ไดเปรียบทางการทองเที่ยวมากกวาภาคอื่นๆ เนื่องมาจากในเขตพื้นที่เหลานี้มีความอุดมสมบูรณไปดวยทรัพยากรธรรมชาติ และปจจัยการทองเที่ยว ตางๆ สอยดาวเปนอําเภอหนึ่งในจังหวัดจันทบุรี ประกอบดวยปาดิบชื้นและปาเบญจพรรณ เปนตน กําเนิดของแมน้ําลําคลองหลายสาย เหมาะแกการเพาะปลูก ทําไร ทํานา ทําสวน และการปลูกพืชหลาย ชนิด เชน ลําไย สมเขียวหวาน มะขามหวาน เงาะ ทุเรียน มังคุด ลองกอง เปนตน ในฤดูหนาวอากาศจะ หนาวเย็น ฝนตกชุกในฤดูฝน ฤดูรอนอากาศไมรอนจัด สัตวปาใหญนอยชุกชุม แตเดิมอําเภอสอยดาว ขึ้น อยู ในการปกครองของอํา เภอโปง น้ํ า ร อ น จัง หวั ดจัน ทบุรี ซึ่ ง ในขณะนั้ น มี ตํา บลตา งๆ อยูใ นการ ปกครองของอําเภอโปงน้ํารอนรวม ๙ ตําบล ไดแก ตําบลทับไทร ตําบลโปงน้ํารอน ตําบลหนองตาคง ตําบลทรายขาว ตําบลเทพนิมิต ตําบลปะตง ตําบลทุงขนาน ตําบลทับชาง ตําบลสะตอน ในการไปติดตอ ราชการของราษฎร ณ ที่วาการอําเภอโปงน้ํารอน ปรากฏวาบางตําบล เชน ตําบลทับชาง และตําบลทุง ขนาน ราษฎรตองเดินทางไกลถึง ๔๐-๕๐ กิโลเมตร ซึ่งเปนการไมสะดวกเปนอยางมาก ดวยเหตุนี้ทาง ราชการซึ่งเห็นความเดือดรอนของราษฎร จึงไดทําเรื่องขอแยกพื้นที่ตําบลปะตง ตําบลทรายขาว ตําบล ทับชาง ตําบลทุงขนาน และตําบลสะตอน ตั้งเปนกิ่งอําเภอ โดยใชชื่อวากิ่งอําเภอสอยดาว ที่ใชชื่อวาสอย ดาวก็เนื่องมาจากเขาสอยดาวเปนเอกลักษณที่คนทั่วไปรูจักดี เปนเทือกเขาสูงและ มีน้ําตกสวยงาม ตอมาไดมีประกาศกระทรวงมหาดไทย ลงวันที่ ๒๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๓๐ ประกาศตั้งกิ่งอําเภอ สอยดาวอยางเปนทางการ มีผลตั้งแตวันที่ ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๓๑ และไดมีพระราชกฤษฎีกายกฐานะ กิ่งอําเภอสอยดาวเปนอําเภอสอยดาวเมื่อวันที่ ๙ เมษายน พ.ศ. ๒๕๓๕ มีผลใชบัง คับตั้ง แตวันที่ ๙ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๓๕ เปนตนมา จากการแยกตัวออกมาจากอําเภอโปงน้ํารอนเปนอําเภอสอยดาว ไดมีการแบงพื้นที่เขตการ ปกครองออกเปน ๕ ตําบล คือ ตําบลทับชาง ตําบลสะตอน ตําบลทรายขาว ตําบลทุงขนาน และตําบล ปะตง ซึ่งในแตละตําบลมีประชากรอาศัยอยูเปนจํานวนมาก สวนหนึ่งเปนประชากรในพื้นที่ที่อาศัยอยู ดั้งเดิม และอีกสวนหนึ่งเปนประชากรที่ยายมาจากถิ่นอื่นมาอาศัยอยูตามหมูบานตางๆ
บานสําโรง ตําบลทรายขาว เปนหมูบานหนึ่งที่เกาแก มีประชากรในพื้นที่อาศัยอยูมายาวนาน นับรอยป มีพื้นที่ติดกับอําเภอโปงน้ํารอน เปนหมูบานชายแดนไทย-กัมพูชา บานสําโรงถือไดวาเปนพื้นที่ ทางผานสูชายแดนประเทศกัมพูชา จึงเปนหมูบานที่มีลักษณะเดนนาศึกษาในดานประวัติความเปนมา ของหมูบาน วัฒนธรรมประเพณีที่หลากหลาย ความเชื่อ การประกอบอาชีพ การดํารงชีวิต และการ เปลี่ยนแปลงที่เกิดจากการผสมผสานระหวางไทยกับกัมพูชา นอกจากการแลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรมไทยกับกัมพูชาซึ่งดํารงอยูในวิถีชีวิตของคนบานสําโรง ตําบลทรายขาวซึ่งเปนหมูบานเกาแกสืบทอดความเปนชุมชนที่มีประวัติความเปนมาที่ยาวนานแลว ดวย ความอุดมสมบูรณของทรัพยากรทําใหจันทบุรีในเขตนี้ยังเปนพื้นที่ซึ่งตอบรับการขยายตัวของประชากรที่ ยายมาจากถิ่นอื่นเขามาทํามาหากิน จึงไมใชแตเพียงพื้นที่ของผูคนที่มีวัฒนธรรมเขมรที่เขมแข็งนับแต อดีตมาเชนบานสําโรงเทานั้น แตอําเภอสอยดาวแหงนี้ยังเปนพื้นที่สําหรับชุมชนใหมที่มีการขยายตัว อยางรวดเร็วในชวงไมกี่สิบปที่ผานมา ชุมชนใหมที่เติบโตอยางรวดเร็วตั้งอยูในพื้นที่ติดชายแดนเขมรชนิด มีเพียงสะพานไมเล็กๆ กั้น และเปนภาพสะทอนหนึ่งถึงชีวิตของผูคนในแถบนี้ที่แตกตางจากบานสําโรง คือ บานสวนสม ตําบลสะตอน
บานสําโรง บานสําโรงตัง้ อยูหมูที่ ๒ และหมูที่ ๖ ตําบลทรายขาว อําเภอสอยดาว จังหวัดจันทบุรี อาณาเขต ทิศเหนือจรดหมู ๑ บานทรัพยเจริญใต ตําบลสะตอน อําเภอสอยดาว ทิศใต จรดคลองพระพุทธ ทิศตะวันออก จรดหมูที่ ๓ บานนาสนาดถ ตําบลหนองตาคง อําเภอโปงน้ํารอน ทิศ ตะวันตกจรดหมูที่ ๑ บานตามูน ตําบลทรายขาว อําเภอสอยดาว ลักษณะภูมิประเทศ ภูมิอากาศ และทรัพยากร ในอดีตบริเวณบานสําโรงมีลักษณะเปนปา เบญจพรรณ ประกอบดวยปาไผ ตนไมใหญนอย เชน ตนมะคา ประดู ไมแดง ตะแบก ตะเคียน ยางนา อินทรีย เปนตน มีคลองทรายขาวไหลผาน ตนกําเนิดมาจากปาเปง ปาสะบา และปาขนานที่อยูในเขา สอยดาว ไหลมารวมกันตรงคลองระกํา (เรียก ชื่อตามหมูบานระกํา) ผานบานตามูลลาง ผานหมูบาน ดอนเจน บานวังยาว บานสําโรงบน บานสําโรงกลาง บางสําโรงลาง ไหลผานตอไปยังหมูบานนาสนาดถ แลวไหลไปบรรจบกับคลองพระพุทธ (ใกลๆ กับเขาพระพุทธจึงเรียกวาคลองพระพุทธ) ที่หมูบานจางวาง เหนือ สะพานที่ จะข ามไปหมูบา นคลองคต สว นคลองพระพุทธที่ ส รา งอางเก็บ น้ํา คลองพระพุ ทธใน ปจจุบัน เกิดจากเขาน้ําเขียว เขาลําโพง ไหลผานหมูบานพังงอน ดงจิก ไหลผานที่สรางเก็บน้ําปจจุบัน ไหลตอไปหมูบานคลองใหญลาง หมูบานคลองคต หมูบานสะแมด บรรจบกับคลองทรายขาวที่หมูบาน จางวาง แลวไหลตอไปหมูบานโพธิ์ บานแปลง บางบึงชะนังบน บานบึงชะนังลาง ไหลตอไปเรื่อยจนถึง ประเทศกัมพูชา ในฤดูฝนน้ําที่ไหลหลากตามคลองสายดังกลาวซึ่งมีตนกําเนิดจากเขาสอยดาว จะหลากทวมถึง ที่ราบลุม ปุยธรรมชาติที่มากับกระแสน้ําจะถูกสะสมไวตลอดเปนระยะเวลายาวนาน สภาพแวดลอมบาง พื้นที่เปนเนินเขาและที่ราบเชิงเขามีทุงหญาคาสลับ สัตวปานอยใหญชุกชุม ในน้ํามีกุงหอยปูปลา ความ
อุดมสมบูรณเหลานี้ลวนแตเปนทรัพยากรธรรมชาติที่มีคุณคาตอการเพาะปลูก การตั้งถิ่นฐานของมนุษย และการดํารงชีวิตของผูที่มาอยูอาศัย แมจะไมมีการคมนาคมติดตอกันทางน้ําในลําคลองสายนี้ เนื่องจากคลองทรายขาวและคลอง พระพุทธมีโขดหินและน้ําไหลเชี่ยวในฤดูน้ํามาก สวนคลองทรายขาวในฤดูแลงน้ําแหงขอดคลอง ทําใหไม สะดวกในการเดินเรือก็ตาม แตการตั้งถิ่นฐานตามแหลงน้ําและทําใหเกิดชุมชนริมน้ํา ชุมชนตนน้ํา และ ชุมชนปลายน้ําคือหมูบา นตางๆ ดังกลาว ดวยการอยูอาศัยนับ แตอ ดีตที่ตองพึ่งพาธรรมชาติรวมกัน โดยเฉพาะอยางยิ่ง น้ําในการอุปโภคบริโภค พื้นที่อันอุดมสมบูรณในการเพาะปลูก ในการเปนแหลง อาหารก็ ทํ า ให ค นในชุ มชนที่ ตั้ง บ า นเรื อ นอยู ริม ลํ า คลองทั้ง สองนี้ และยิ่ง สํ า หรับ คนสมั ย กอ นก็ จ ะมี ความรูสึกใกลชิดกัน เพราะใชประโยชนจากลําคลองสายเดียวกัน จากลักษณะภูมิประเทศที่เหมาะสม มีความอุดมสมบูรณของทรัพยากรที่เหมาะแกการตั้งถิ่น ฐานดังกลาวเปนปจจัยสําคัญที่ทําใหบานสําโรงเติบโตขึ้น ประชากรที่เพิ่มขึ้นทั้งจากการขยายตัวของ ชุมชนเอง และการอพยพโยกยายเขามาทํามาหากินของผูคนจากที่ตางๆ ทําใหพื้นที่ปาเชนอดีต คอยๆ ถูกจับจองพลิกฟนเปนบานเรือน เปนไร เปนสวน จนกระทั่งการอยูอาศัยดวยการพึ่งพาทรัพยากรจากปา อยางที่เคยเปนมาในอดีตนั้นลดลง อีกทั้งน้ําในลําคลองขณะนี้ไมสามารถนํามาบริโภคได เนื่องจากมีน้ํา เสียจากโรงมันและสารพิษจากการเกษตรปนเปอนอยูเปนจํานวนมาก สภาพของบานสําโรงในปจจุบัน นอกจากบานเรือนที่มีการขยายตัวเพิ่มขึ้นมากแลว ก็เปนพื้นที่ไรสวนของชาวบานตามแตความตองการ พืชเศรษฐกิจของตลาดในแตละชวงเวลา เสนทางการคมนาคมและการติดตอกับชุมชนอื่น การเดินทางไปมาหาสูกันจากชุมชนบาน สําโรงไปตัวจังหวัด อําเภอ และหมูบานตางๆ ในสมัยกอนใชการเดินเทา ถนนของหมูบานเกิดจากการ ชวยกันขุดโดยคนในชุมชน การขนสินคาขึ้นมาขายจะเปนคนจีนที่มาอาศัยอยูบานสําโรง โดยการจาง ลูกจางหาบ จะหาบกระวานจากบานประตงที่หาบลงมาจากเขาสอยดาว หาบลงไปขายที่จันทบุรี ขากลับจะซื้อกะป เกลือ ปูนกินหมาก น้ําตาลออย น้ํามันกาด เปนตน จางลูกหาบขึ้นมาขาย คน อื่นๆ ที่ไมไดไปขายกระวาน ถาไปก็ซื้อสินคาแลวหาบขึ้นมาเอง ตอจากการจางคนหาบก็ใชเกวียนบรรทุก กระวานลงไปขาย แลวบรรทุกสินคาจําพวก กะป เกลือ น้ําตาลออย น้ําปลา (เปนไหเล็กๆ ที่ผาไมเปน แผนกลมๆ ผนึกดวยปูนจนแนน) เสื้อผา ผาถุง โจงกระเบน กางเกง ขนมขาวพอง ถั่วตัด ขนมโก ตายุน หรือขนมคอเปด (ขนมของคนจีนมีลักษณะเหนียวๆ คลายกะละแม ตัดเปนชิ้นสี่เหลี่ยมผืนผาเล็กๆ คลุก ดวยงาขาว) ไมขีด สบูตรานกแกว สบูซัลไลต น้ํามันกาด ตะเกียงแบบกระปองนม (แตขี้ไตก็ยังใชอยู) ตอมาประมาณ ๕๐ กวาปยอนหลังจากปจจุบัน มีรถบรรทุกแบบ จีเอ็มซี ของทหารบรรทุกพืชไร ไปขายที่จันทบุรี เชน ขาวโพด ถั่วลิสง (นายทุนจากในเมืองมาตกลูกหนี้ คือใหเงินมาลงทุนกอน เมื่อเก็บ เกี่ยวพืชผลก็ขายสินคาใหนายทุนของตน) เวลานํากระสอบพืชไรไปวางบนรถบรรทุกเปนชั้นๆ พอถึงชั้น สุดทายใกลจะเต็มก็วางเฉพาะขางๆ รอบกระบะรถมัดดวยเชือกมะนิลาใหแนน เหลือที่ตรงกลางไวให ผูโดยสารนั่งไปดวย ใชเวลาเดินทางประมาณ ๒ วัน คางคืนระหวางทาง ๑ คืน ถาเวลาออกจากบานเปน เวลาเชา จะขามเขาเกลือไดทันกอนมืดค่ํา ถึงอําเภอมะขามจะพักที่อําเภอมะขาม ถาออกจากบานบาย
ถึงมาบคลาจะคางคืนที่นั่น ๑ คืน เพราะจะมืดพอดีไมกลาขามเขาเกลือ รถสมัยนั้นมีรถของนายจันทร (จมูกบี้) ๑ คัน รถของนายยง ๑ คัน นายฮิน ๑ คัน เมื่อสามคนนี้เลิกกิจการไป มีรถของนายซิ่วถิ่น และ นายซิ่วซิ้น แซลี้ สองคนพี่นองอยูที่อําเภอมะขาม วิ่งรถบรรทุกสินคา ในสมัยนี้จะมีพืชไรเพิ่มขึ้น จาก ขาวโพด ถั่วลิสง คือ ฝาย ถั่วเขียว ถั่วเหลือง ตอมาสองพี่นองนี้ไดเลิกกิจการไปจนกระทั่งป พ.ศ. ๒๕๑๐๒๕๑๑ ไดมีการสรางทางสายจันทบุรี-สระแกว และราดยาง ในป พ.ศ. ๒๕๑๒-๒๕๑๓ พ.ศ. ๒๕๑๐-๒๕๑๑ ไดมีการสรางถนนสายยุทธศาสตรรอบชายแดน ซึ่งลุงสงวน แหลมแกวและ เพื่อนบานเลาวา ถนนสายดังกลาวมีการสรางขึ้นโดยเริ่มจากทางแยกถนนสายจันทบุรี-สระแกว ตรง สถานียอยตํารวจภูธรตามูน (เดิมเมื่อครั้งยังไมแยกเปนอําเภอสอยดาวยังขึ้นอยูกับอําเภอโปงน้ํารอน) เขามาผานหมูบานสําโรงตะวันตก-สําโรงบน ไปทางทิศตะวันออกของหมูบาน สองขางทางของถนนยัง เปนปา และปาชากประปราย สภาพถนนในสมัยนั้นยังเปนหลุมบอและหลม เวลารถแลนผานยังติดหลม กันเปนชวงๆ รถโดยสารประจําหมูบานจากบานสําโรงไปจันทบุรี มีวันละ ๑ เที่ยว คือรถของนายเผือก และนายจวน (ไมทราบนามสกุลอยูที่บานมะขาม) เขาหุนกัน รถคันเดียวแตเปลี่ยนกันขับ เมื่อสองคนนี้ เลิกขับรถโดยสารสายสําโรง-จันทบุรี ตอมามีรถของนายเฉ (ไมทราบชื่อจริงและนามสกุล) พํานักอยูบาน พังงอน ตอนเชาวิ่งรถมาสําโรงแตเชาเพื่อรับคนไปจันทบุรี หลังจากนายเฉหยุดวิ่งรับผูโดยสาร จึง มีรถ ของนายประทีป ผลบํารุง วิ่งประจําหมูบาน ประมาณป พ.ศ. ๒๕๒๖ เปนรถ ๖ ลอ มีหลังคา ดัดแปลง เปนรถโดยสาร มีที่นั่งเปนเบาะยาว ๒ ขางตัวถังรถ คาโดยสารในระยะแรกไปกลับ ๒๐ บาท โดยตอนเชา เวลาประมาณ ๖.๐๐ น. นายประทีป จะขับรถบีบแตรเป นระยะๆ ออกตระเวนรอบๆ หมูบ าน เวลา ประมาณ ๖.๓๐-๗.๐๐ น. จะออกจากหมูบานมุงหนาสูจันทบุรี เวลาประมาณ ๑๓.๐๐-๑๔.๐๐ น. จะ ออกจากจันทบุรีกลับสูหมูบานสําโรง จนถึงประมาณป พ.ศ. ๒๕๑๙ นายประทีป ผลบํารุง ไดเลิกกิจการ ขับรถโดยสารจากชุมชนบานสําโรงไป-กลับจันทบุรี เพราะนายประทีปตองการเปลี่ยนอาชีพไปทําไร สวนตัว และซื้อรถไถ (รถแทรกเตอร) ไถไรของตนเองและรับจางไถไรของคนอื่นบาง ลูกหนี้บาง รวมทั้ง ประมาณป พ.ศ. ๒๕๑๘ มีรถโดยสารขนาดเล็กวิ่งรับ-สง โดยสารประจําทางสายปะตง-คลองใหญ แตยัง ไมมีกําหนดเวลาเขา-ออก แนนอน สภาพถนนยังเปนถนนลูกรัง ๒ ขางทางตลอดเสนทาง ถึงแมวาจะมี ถนนสายยุทธศาสตรตัดผานหมูบานก็ยังเปนปาและมีไรนาของชาวบานเปนหยอมๆ รวมทั้งปาชาก ประปราย เมื่อชาวบานตองการไปจันทบุรี สามารถนั่งรถโดยสารสายปะตง-คลองใหญ ไปลงปากทางแยก บานตามูน (แยกจากสายจันทบุรี-สระแกว ตรงจุดตรวจบานตามูน) แลวตอรถโดยสารขนาด ๖ ลอ (สี เขี ย ว) สายปะตง-จัน ทบุรี โดยรถโดยสารประจํ า ทาง (รถเมล) สายจัน ทบุ รี -บุรี รั มย จั น ทบุรี-สระบุ รี ประมาณป พ.ศ. ๒๕๓๗ มีรถโดยสารปรับอากาศ (ป ๑) สายจันทบุรี-นครราชสีมา ตอมาอีกระยะหนึ่งจึง มีรถปรับอากาศชั้น ๒ (ป ๒) สายจันทบุรี-สระบุรี และสายจันทบุรี-บุรีรัมย ตามลําดับจนถึงปจจุบัน สวน รถโดยสารสายจันทบุรี-สระแกวจะมีรถโดยสารผานตลอดเวลา สวนถนนสายยุทธศาสตรจากแยกบานตามูนผานชุมชนบานสําโรง เริ่มราดยางประมาณป พ.ศ. ๒๕๒๕-๒๕๒๖ และรถโดยสารเวลาเขาออกแนนอน รถโดยสารจะออกจากคลองใหญผานชุมชนบาน
สําโรงตอนเชา เวลาประมาณ ๐๗.๐๐ น. และออกจากคิวรถปะตงประมาณ ๑๗.๓๐ น. ถึงทางแยกบาน ตามูน จอดพัก รอผูโดยสารกลับ จากจันทบุรี จะออกจากปากทางตามู นเที่ย วสุดทา ยเวลาประมาณ ๑๘.๐๐ น. เมื่อประมาณป พ.ศ. ๒๕๔๑-๒๕๔๒ มีรถตูโดยสารวิ่งระหวางเสนทางปะตง-กรุง เทพฯ (กรุงเทพฯ สิ้นสุดที่อนุสาวรียชัยสมรภูมิ) ทําใหการเดินทางติดตอของชุมชนในละแวกนี้สะดวกสบาย ขึ้น อีกมาก ตอมาป พ.ศ. ๒๕๔๖ ไดมีการขยายถนนสายยุทธศาสตรใหกวางขึ้น ตามโครงการกอสรางทาง หลวงแผนดินหมายเลข ๓๑๙๓ ดานสาธารณูปโภคพื้นฐาน การติดตอสื่อสารและการรับสงขาวสารในสมัยกอนยังไมเจริญ เหมือนปจจุบัน เต็มไปดวยความยากลําบาก ดวยการคมนาคมขนสง การเดินทาง ดานถนนหนทาง และ รถยนตโดยสารยังไมมี ตองอาศัยการเดินเทา มา เกวียน ในชวงเวลาประมาณเมื่อ ๖๐-๗๐ ปกอน ฉะนั้น การสงขาวสารและการรับขาวสารจึงตองอาศัยการฝากบอกดวยปาก หรือไมก็เขียนจดหมายแลวพับโดย ไมไดใสซอง ฝากไปใหคนที่ตองการบอกขาว สวนโทรเลข โทรศัพทนั้น ในชุมชนบานสําโรงยังไมรูจัก หรือไมมีใครใชเลย ตอมาประมาณ ๕๐ กวาปมานี้ การสงขาวสารและการรับขาวสารยังเหมือนเดิม แตการสง จดหมายทางไปรษณีย ถามีใครเดินทางไปจังหวัดก็ฝากไปทิ้งตูไปรษณียที่นั่น และเมื่อมีใครขึ้นมาทาง โปงน้ํารอนก็ฝากตอๆ มาอยูตามบานกํานัน ผูใหญบาน หรือฝากคนรูจักตอ ไดรับบาง หายระหวางทาง บาง เพราะไมทราบวาไปอยูที่ใคร ประมาณ พ.ศ. ๒๕๑๐-๒๕๑๔ มีไปรษณียที่อําเภอโปงน้ํารอน (ทับไทร) มีการติดตอสื่อสารทาง โทรเลข จดหมาย จะฝากกันทิ้งที่ตูไปรษณียทับไทร หรือฝากโทรเลข แตกวาจะไดรับตองใหผูใหญบานไป ประชุมที่อําเภอเดือนละ ๑ ครั้งรับจดหมาย โทรเลขจากไปรษณียมาไวที่บานผูใหญบาน แลวจายให ลูกบาน การคมนาคมขนสงไมสะดวก ทําใหการสงขาวสารและรับขาวสารลาชาไปดวย ประมาณ พ.ศ. ๒๕๓๑-๒๕๓๒ อําเภอสอยดาวไดแยกจากอําเภอโปงน้ํารอน มีไปรษณียรับจาง นําจดหมาย โทรเลข และขาวสารตางๆ มาสงตามหมูบานในชุมชนบานสําโรง ประมาณอาทิตยละ ๑ ครั้ง จนถึงทุกวันนี้ สวนโทรศัพทนั้น เริ่มมีโทรศัพทสาธารณะสําหรับหยอดเหรียญครั้งแรกเปนจุดๆ ประมาณ พ.ศ. ๒๕๔๐-๒๕๔๑ ที่บานสําโรงตะวันตก ๑ ตู บานสําโรงบน ๑ ตู บานสําโรงลาง ๑ ตู และประมาณ พ.ศ. ๒๕๔๐ ไดมีโทรศัพทเคลื่อนที่สถานียอยซึ่งเปนสวนของบุคคลที่ซื้อใชสําหรับติดตอสื่อสารจํานวน ๒ เครื่อง ตอมาประมาณป พ.ศ. ๒๕๔๕ ไดมีโทรศัพทสาธารณะแบบใชการด TOT ที่ที่ทําการบานกํานัน ตําบลทรายขาวชนิดแขวนผนัง ๑ เครื่อง ที่ตูยามตํารวจหมูบาน ๑ เครื่อง ที่ทําการผูใหญบาน ๑ เครื่อง และชนิดตูที่บานสําโรงกลาง ๑ ตู การติดตอสื่อสารทางโทรศัพทโดยเฉพาะโทรศัพทมือถือ เริ่มมีคนใชประมาณ พ.ศ. ๒๕๔๕ และ ไดเขามามีบทบาทในชีวิตประจําวันของชุมชนชาวบานสําโรงมากในชวงป พ.ศ. ๒๕๔๖ ใชกันมากเพื่อ ติดตอสื่อสารตามความจําเปนสวนบุคคลและทางดานธุรกิจคาขาย แมกระทั่งคนที่มีอาชีพรับจางก็ยังใช
มือถือเพื่อความสะดวกรวดเร็วในการแจงขาวสาร ซึ่งการติดตอทางจดหมาย โทรเลขไดลดบทบาทไป แต ก็ยังมีการติดตอสื่อสารกันอยู ประมาณปลายป พ.ศ. ๒๕๔๖ เริ่มมีการเดินสายเมนโทรศัพทของ องคการโทรศัพทในชุมชนบานสําโรง พอถึงตนป พ.ศ. ๒๕๔๗ บางครัวเรือนก็ไดติดตั้งโทรศัพทตามบาน แลว ขนาดของชุมชน ชุมชนบานสําโรงในระยะกอตัวของชุมชน ปลูกสรางบานเรือนอยูกันเปน กลุมๆ แตละกลุมมีไมกี่หลังคาเรือน จํานวนคนก็ยังนอย แบงกลุมกันอยูเปนบานสําโรงบน บานสําโรง กลาง บานสําโรงลาง และบานสําโรงตะวันตก มีทางเดินเทาและทางเกวียนสําหรับไปมาหาสูกัน สองขาง ทางระหวางชุมชนที่แตละกลุมอาศัยอยูจะเปนปา ฉะนั้นแตละกลุมจะปลูกบานที่อยูอาศัยอยูในที่ทํากิน ของตนเอง ซึ่งเปนบานไมถาวรนัก มุงหลังคาดวยหญาคา ฝาบานและพื้นจะเปนไมไผฟาก (ไมไผเปนลํา ความยาวขนาดตามตองการ สับแลวผาตลอดแลวแบออก) โดยที่แตละกลุมจะมีบาน ๒-๓ หลังคาเรือน จํานวนคนไม กี่คน เมื่อลูกหลานเติบโตมีครอบครัว เริ่มมีครอบครัวขยาย จํานวนคนเพิ่มขึ้น ที่ดินที่เคย ทํากินจะเปลี่ยนเปนที่ปลูกสรางที่อยูอาศัย สองขางทางที่เคยเปนปาระหวางแตละกลุม เริ่มมีบานปลูก ติดตอกันเรียงรายกลายเปนชุมชนใหญขึ้นเรื่อยๆ ในระยะกอตัวของชุมชนซึ่งเปนเขมรพื้นบาน เขมรจาก กัมพูชา คนจีนบางจํานวนหนึ่ง และคนภาคตะวันออกเฉียงเหนือบาง ถึงแมจะมีการขยายตัวของจํานวน ครัวเรือน จํานวนประชากรจากการแตงงานภายในหมูบานเดียวกัน ตางหมูบาน หรือตางถิ่นก็ตาม แตก็ ยังไมมากเทาใดนัก การขยายตัวทั้งจํานวนครัวเรือนและประชากรยังเปนไปอยางชาๆ ประมาณ พ.ศ. ๒๕๑๖ เปนตนมา คนตางจังหวัดเริ่มอพยพหลั่งไหลเขามามาก ทําใหการขยายตัวของชุมชนเร็วขึ้น จนกระทั่งถึงปจจุบัน พ.ศ. ๒๕๔๖ ขนาดของชุมชนบานสําโรง ๒ หมู คือ หมูที่ ๒ และหมูที่ ๖ มีจํานวน ประชากรรวมทั้งสิ้น ๒,๕๑๔ คน (ทั้งชาย หญิง ผูใหญ และเด็ก) โดยแยกเปนประชากรชาย ๑,๒๗๓ คน หญิง ๑,๒๔๑ คน ถาแยกตามหมูจะไดดังนี้ คือ หมูที่ ๒ จํานวนครัวเรือน ๓๙๘ ครัวเรือน ประชากรชาย ๘๒๒ คน หญิง ๗๘๔ คน สวนหมูที่ ๖ มีจํานวนครัวเรือน ๓๑๕ ครัวเรือน ประชากรชาย ๔๕๑ คน หญิง ๔๕๗ คน รวมจํานวนครัวเรือนทั้ง ๒ หมู (หมูที่ ๒ และหมูที่ ๖) มีจํานวน ๗๑๓ ครัวเรือน สาเหตุที่จํานวนประชากรและจํานวนครัวเรือนของชุมชนบานสําโรงขยายใหญขึ้นและประชากร เพิ่มขึ้นอยางรวดเร็ว เพราะมีการอพยพจากจังหวัดอื่นๆ โดยเฉพาะทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เขามา ตั้งถิ่นฐานอยูในชุมชนบานสําโรงเปนตนมาเรื่อยๆ จนกระทั่งถึงปจจุบันเปนจํานวนมาก ซึ่งคนที่อพยพมา นี้มักประสบปญหาในเรื่องเศรษฐกิจและการทํามาหากินจากบานของตน จึงแสวงหาที่อยูและที่ทํามาหา กินใหมที่ดีกวาเดิม สภาพการตั้งบานเรือน ตั้งแตสมัยบรรพบุรุษเริ่มการกอตัวของชุมชนการสรางที่อยูอาศัย เปน บานที่สรางไมคอยถาวรนัก สรางโดยวัสดุที่หาไดจากทองถิ่น หลังคามุงดวยหญาแฝก ฝาและพื้นใชฟาก ไมไผ พื้นยกสูง บางบานพื้นและฝาจะเปนไม ตอมามีรถบรรทุกสินคาเขามาในหมูบาน ผูที่มีเงินก็จะซื้อสังกะสีและกระเบื้องวาวจากจันทบุรี มามุงหลังคา ระยะนี้เริ่มมีบานที่มุงหลังคาดวยสังกะสี กระเบื้องวาว ฝาบานและพื้นบานเปนไม แตเปน ส ว นน อ ย ส ว นใหญ ยั ง เหมื อ นเก า แต บ า นใหญ ขึ้ น และมั่ น คงกว า เดิ ม เพื่ อ รองรั บ จํ า นวนสมาชิ ก ใน
ครอบครัวใหพออยูได การปลูกสรางจะเปนบานชั้นเดียวยกพื้นสูง ใตถุนโลง สูงประมาณแคเอว เสาเปน ไมเนื้อแข็งทั้งกลมและเหลี่ยม แตก็มีไมมากนัก เมื่อประมาณ ๔๐-๕๐ กวาป บานหลังคามุงดวยสังกะสีมีมากขึ้น แตฝาและพื้นยังเปนไมไผ ตอมาจะเปนบานหลังคามุงดวยสังกะสี ฝาฟากไมไผแตพื้นเปนพื้นไม สวนบานมุงหลังคาดวยหญาแฝก สมัยบรรพบุรุษยังมีอยู ตอมาประมาณ ๓๐ กวาปมานี้ ผูที่มีรายไดจากผลผลิตเมื่อหักคาลงทุน หนี้สิน และดอกเบี้ยจากนายทุนหมดแลว จะสรางบานโดยนิยมสรางบาน ๒ ชั้น หลังคามุงดวยกระเบื้องลอน ฝา ไมพื้นชั้นบนเปนพื้นไม ชั้นลางเปนพื้นปูน เมื่อประมาณ ๔-๕ ปที่ผานมานี้ ชาวบานที่ขายลําไยไดราคาดีมีเงินเหลือ จึงสรางบานเรือนที่อยู อาศัยตามสมัยนิยม เปนตึกมีความมั่นคงแข็งแรง ปลอดภัย และสวยงามขึ้น เนื่องจากไมหายาก และ แพง จึงสรางบานปูนแทน ปจจุบันลักษณะบานเรือนของชุมชนบานสําโรงมีทั้งแบบดั้งเดิมและแบบใหม ตามฐานะทางเศรษฐกิจของเจาของ สภาพโดยทั่วไปของชุมชน สภาพของชุมชนตั้งแตอดีตนั้นเต็มไปดวยปาเขาลําเนาไพร มี ตนไมใหญนอย ลําหวยหลายสายไหลลงคลองทรายขาวปจจุบัน บรรยากาศรมรื่น ไมแหงแลงหรือรอนจัด เพราะมีตนไมมากบริเวณรอบๆ บานหรือหมูบานจะเปนปาและตนไม เรือกสวนไรนา ตอมาเมื่อครอบครัวขยาย ประชาชนในชุมชนเพิ่มขึ้นตามลําดับ การหักรางถางพงเพื่อทํากิน ปลูกสรางบานเรือน ปาเริ่มลดนอยลง ลําหวยเริ่มเหือดแหงและหายไปจากการที่ปาถูกทําลายหรือการ เปลี่ยนแปลงจากการสรางถนนหนทาง อากาศเริ่มเปลี่ยน ฝนไมตกตามฤดูกาล ฤดูรอนรอนจัด ฤดูหนาว บางปหนาวจัดและยาวนาน บางปไมคอยหนาวและเปนระยะสั้น พอถึงฤดูฝนแหงแลง รอนมาก ฝนไมตก ประมาณป พ.ศ. ๒๕๑๘-๒๕๒๐ เริ่มทําสวนกันมากขึ้น สภาพชุมชนที่เปนไรเปนปาจะมีบาน ปลูกติดตอกันเปนชวงๆ แตก็ยังมีปาบาง รอบๆ ชุมชนแตละหมู (หมูที่ ๒ หมูที่ ๖) จนกระทั่งป พ.ศ. ๒๕๑๖-๒๕๓๐ การอพยพของผูคนจากตางจังหวัดเขามามากตามลําดับ ปารอบๆ หมูบานที่เปนชาก ไร เริ่มหมดไป และมีส วนลํา ไย มะขามหวาน ลองกอง เงาะ ทุเ รี ยน มาแทนที่ รวมทั้ง บา นเรือ นก็ ป ลูก ติดตอกันเรียงรายเปนชุมชนใหญ มีปมน้ํามัน ประมาณป พ.ศ. ๒๕๓๙-๒๕๔๐ มีตลาดนัดในชุมชน ประมาณป พ.ศ. ๒๕๔๔-๒๕๔๕ ทุกวันอังคารและวันพฤหัสบดี มีสถานพยาบาล (คลินิกขนาดเล็ก) ประมาณป พ.ศ. ๒๕๔๕ มีอูซอมรถจักรยานยนต อูซอมรถไถ มีการสรางตูยามตํารวจประจํา หมูบาน การสรางศาลาประชุมประจําหมูบาน อยูในเขตพื้นที่หมูที่ ๒ มีโรงอบลําไยขององคการบริหาร สวนตําบลทรายขาว สวนหมูที่ ๖ นั้นมีการสรางสถานที่สําคัญคือ การสรางโรงเรียนหลังใหมแทนอาคารที่ ใชเปนศูนยพัฒนาเด็กเล็กและขยายโอกาสทางการศึกษาในป พ.ศ. ๒๕๓๙ การบูรณปฏิสังขรณพระ อุโบสถใหมโดยยังใชโครงสรางเดิม สรางเมรุและศาลาสวดศพ สรางกุฏิสงฆ ๒ ชั้นเพิ่มขึ้นอีก ๑ หลัง ทั้งหมดเปนความรวมมือของชุมชนบานสําโรง มีบอน้ําบาดาลแบบคันโยก มีระบบประปาหมูบาน สิ่ง เหลานี้ทําใหสภาพและบรรยากาศของชุมชนแบบเกาเลือนหายไป จากที่เงียบสงบ อยูกับความมื ด ทามกลางธรรมชาติ อาศัยแสงสวางจากขี้ไตและแสงตะเกียงมาเปนไฟฟาสวางไสว เสียงจักจั่นเรไร
หายไปเมื่อถึงฤดูหนาว เสียงดนตรีพื้นบานที่ผูสนใจหัดเลนกันในยามค่ําคืนหายไป ไดยินแตเสียงเพลง จากเครื่องเสียง โทรทัศน เสียงรถจักรยานยนต รถยนต อากาศเต็มไปดวยฝุนละออง สภาพอากาศ บรรยากาศจากธรรมชาติ เ กา ๆ และบ า นเรื อ นที่อ ยู เ ป น กลุม ๆ ไม มีใ ห เห็น ใน ปจจุบันนี้ เริ่มมีบานเรือนปลูกสรางแบบตึก อากาศรอนแหงแลง น้ําในคลองทรายขาวขอดเกือบตลอด สายในบางป เมื่อธรรมชาติถูกทําลาย (ปาไม) ทรัพยากรน้ํา เชน กุง หอย ปู ปลา ซึ่งเมื่อกอนอุดมสมบูรณ ปจจุบันก็มีไมมากนัก เมื่อสภาพสังคมเปลี่ยนแปลง การดําเนินชีวิตและบรรยากาศของชุมชนแบบเกาได เลือนหายไปทีละนอยๆ ในที่สุดจนสูสมัยปจจุบันนี้
แผนผังบานสําโรง
อาชีพของคนในชุมชน ชุมชนบานสําโรงตั้งแตสมัยบรรพบุรุษเปนตนมาจนถึงปจจุบัน สวน ใหญประกอบอาชีพเกษตรกรรม เชน เพาะปลูก ทําไร ทํานา ทําสวน เลี้ยงสัตว (เลี้ยงวัวควายไวใชงาน หมู เปด ไกพื้นบานเลี้ยงไวเปนอาหารและขาย) สวนอาชีพคาขายมีเปนสวนนอย จะมีเฉพาะคนจีนที่ อพยพเขามาอาศัยอยูในหมูบานสําโรง เมื่อประมาณ ๗๐-๘๐ กวาปมาแลว อีกอาชีพหนึ่งก็คืออาชีพ รับจาง รับราชการ ตามลําดับ รายไดเฉลี่ยของผูมีอาชีพรับจางหรือมีรายไดนอยประมาณเดือนละ ๓,๐๐๐ บาท หรือประมาณ ๓๐,๐๐๐-๓๕,๐๐๐ บาทตอป มีประมาณรอยละ ๕๕ รายไดเฉลี่ยของผูมีฐานะปานกลางประมาณ ๖๐, ๐๐๐-๒๐๐,๐๐๐ บาทตอป มีประมาณรอยละ ๔๐ รายไดเฉลี่ยของผูมีฐานะดีประมาณ ๓๐๐,๐๐๐๕๐๐,๐๐๐ บาทตอป มีประมาณรอยละ ๕ การศึกษา ในสมัยแรกเริ่มที่ผูกอตั้งชุมชนบานสําโรง คือนายนอนและนายเพลียว สองพี่นอง ชาวเขมรพื้นบานที่มาจากหมูบานอื่นเขามาบุกเบิกถางไรทํานา จนขยายชุมชนไปเรื่อยๆ นั้น ชาวบานยัง ไมไดเรียนหนังสือเพราะไมมีโรงเรียน สําหรับผูที่สนใจเรื่องคาถาอาคมจะเรียนจากครูเขมร ซึ่งมีการเรียน ตอกันมาเรื่อยๆ คาถาจะเปนคาถาเขมร เชน คาถาปองกันตัว คาถาพนหัว (เปนวิธีหนึ่งของการรักษาการ เจ็บปวย) คาถากํากับเกี่ยวกับการใชยาสมุนไพรรักษาโรคตางๆ สวนใหญผูที่เรียนจะเปนผูชาย ในสมัย
นั้นชาวบานยังอานเขียนภาษาไทยไมได หรือแมแตพูดภาษาไทยก็ยังไมได ภาษาพูดก็ใชภาษาเขมร ติดตอสื่อสารกันในชุมชนหรือระหวางชุมชนอื่น ตอมามีวัด ผูที่บวชจะไดศึกษาเรียนรูเกี่ยวกับมนตพิธีตางๆ และเรียนหนังสือหรืออาจจะเรียน คาถาตางๆ ดวย (เฉพาะผูที่สนใจ) ผูที่สึกจากพระ ชาวบานสมัยนั้นจะใหการนับถือวาเปนผูมีความรู เพราะไดบวชไดเรียน และเริ่มมีการอานเขียนพูดภาษาไทยไดบาง ผูหญิงยังไมมีโอกาสไดเรียนหนังสือ เพราะยังไมมีโรงเรียน ตอ มาเมื่อ พ.ศ. ๒๔๗๙ ไดมีการสรางโรงเรียนขึ้นในบริเวณวัด หลัง คามุง ดว ยหญา คา เจ า อาวาสวัดสําโรงสมัยนั้นกับชาวบานรวมกันสรางเพื่อใหลูกหลานไดเรียนหนังสือ มีการสงลูกหลานเขามา เรียนในโรงเรียน บางคนมีอายุมากกวาเด็กตามเกณฑก็ยังมาเรียน การพูดติดตอสื่อสารในชุมชนเริ่มใช ภาษาไทย เพราะมีคนจีนอพยพเขามาอยูและคาขายในหมูบาน และคนจากถิ่นอื่นอพยพเขามาอยูบางจึง ตองพูดภาษาไทย สวนการพูดคุยในครอบครัวหรือระหวางครอบครัวอื่น ชุมชนอื่น เปนคนพื้นบานเขมร ก็ ยังใชภาษาเขมรเปนภาษาพูดสื่อสารกัน ในสมัยนี้เด็กจะพูดภาษาเขมรพื้นบานในโรงเรียน บางคนยังพูดภาษาไทยไมได ตองมาหัดพูด กับครู ทําใหการเรียนการสอนลําบากมาก เพราะเขาใจไมตรงกัน แตเด็กก็ไมไดเขาเรียนทุกคนเพราะ กฎหมายยังไมบังคับเครงครัด บางครอบครัวจะใหลูกชวยทํางานในไรในนา ผูหญิงจะเรียนนอยกวาผูชาย บางครั้งพอแมจะใหอยูบานเลี้ยงนอง ตําขาว ซอมขาว หุงขาว เฝาบาน พอแมยังไมเห็นความสําคัญของ การศึกษา เด็กๆ สมัยนี้ที่เรียนจบชั้นประถมศึกษาปที่ ๔ แลวออกมาชวยพอแมทําไร ทํานา มีการเอาแรง ลงแขก ทําไร ดํานา เกี่ยวขาว นวดขาว สวนผูชายบางคนเมื่อมีอายุครบอุปสมบทจะบวชเรียน เกณฑ ทหาร (ถาไดรับการคัดเลือกแลวตองเปนทหาร) แลวจึงจะแตงงาน ประเพณีสมัยนั้น จะเปนอยางนี้สืบ ทอดเรื่อยมา ตอมาเมื่อประมาณ ๕๐-๖๐ กวาปมานี้ เด็กทั้งผูหญิงและผูชายเริ่มเรียนหนังสือตามเกณฑมาก ขึ้น แตก็ยังไมครบหมดทุกคน เมื่อจบชั้นประถมศึกษาปที่ ๔ แลว จะออกมาชวยพอแมทํางาน บางคน ศึกษาตอจนจบชั้นประถมศึกษาปที่ ๗ มี ๒-๓ คน และเรียนจบชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ แลวไปเปนทหาร เกณฑ เมื่อปลดแลวสมัครตอเปนทหารชั้นประทวน เลื่อนยศจนถึงเรือตรีจํานวน ๑ คน (ปจจุบันเกษียณ แลว) เมื่อ พ.ศ. ๒๕๐๕-๒๕๐๖ พอแมจะสงลูกเขาเรียนมากขึ้นเมื่อถึงเกณฑบังคับ แตบางคนซ้ําชั้น หลายๆ ปกวาจะจบชั้นประถมศึกษาปที่ ๔ บางคนเรียนจบแตงงานเลยก็มี ชวงนี้เมื่อเรียนจบภาคบังคับ แลวก็ออกไปชวยพอแมทําไรทํานาเหมือนเดิม พอแมยังไมเห็นความสําคัญของการศึกษา ซึ่งมีสาเหตุ ใหญๆ คือ เศรษฐกิจการทํามาหากิน ฝดเคือง ฐานะยัง ยากจนมาก ไมมีเงินสงลูกเรียน การเดินทาง ลําบาก ไมทราบจะใหลูกไปอยูกับใคร เพราะในชุมชนบานสําโรงมีแตระดับชั้นประถมศึกษาปที่ ๔ เทานั้น มีโรงเรียนบานตามูล (หางจากหมูบานสําโรงประมาณ ๘ กิโลเมตร เดินทางดวยเทาและขี่รถจักรยาน) และโรงเรียนบานทับไทร (หางจากหมูบานสําโรงประมาณ ๓๐ กิโลเมตร) มีถึงระดับชั้นประถมศึกษาปที่ ๗
อีกสาเหตุหนึ่งคือถาเปนผูหญิงจะไมใหเรียน ชาวบานมีความคิดวาลูกผูหญิงใหเรียนแลว เกรง จะมีสามีเสียกอน เรียนไมจบ และเมื่อแตงงานไปก็ใชนามสกุลอื่น ชวงนี้มีผูเรียนตอประมาณ ๑๐-๑๑ คน จบชั้นประถมศึกษาปที่ ๗ จํานวน ๑ คน เรียนถึงชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๒ จํานวน ๓ คน จบปริญญาตรี ๕ คน ปริญญาโท ๑ คน ประมาณป พ.ศ. ๒๕๑๙-๒๕๒๓ เด็ ก ต อ งเข า เรี ย นตามเกณฑ ภ าคบั ง คั บ เมื่ อ จบชั้ น ประถมศึกษาปที่ ๖ รุนนี้มีเรียนตอจบชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๖, ระดับ ปวช. จนถึงปริญญาตรี ประมาณ ๖-๗ คน ตอมาระยะหลังจนถึงปจจุบัน พอแมเริ่มเห็นความสําคัญของการศึกษา เพราะเห็นคนรุนกอน เรียนจบแลวมีงานทํา ไมตองทํางานลําบากเหมือนตนเอง จึงไมอยากใหลูกหลานลําบากดวย บางคนเริ่ม มีฐานะดีขึ้น การคมนาคม การเดินทางทางรถยนตโดยสารเริ่มสะดวกขึ้น ในเมืองมีหอพักสะดวกสบาย ผู ที่ไมมีญาติก็ใหลูกหลานพักอยูในหอพัก อีกประการหนึ่งในชุมชนมีโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษาถึง ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ จึงไดสงลูกหลานเรียนมากขึ้น ป จ จุ บั น นี้ เ มื่ อ เด็ ก เรี ย นจบชั้ น ประถมศึ ก ษาป ที่ ๖ และชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาป ที่ ๓ แล ว พ อ แม ผูปกครองนิยมสงลูกหลานเรียนตอเกือบทุกครอบครัว บางครอบครัวมีฐานะยากจนก็ยังมีโอกาสเรียนตอ เพราะการศึกษาในสมัยปจจุบันใหโอกาสแกผูดอยโอกาสที่มีฐานะยากจน มีทุนการศึกษา มีที่พักฟรีใหใน บางสถาบัน เด็กๆ จึงมีโอกาสศึกษามากกวาเด็กในสมัยกอน ในชุมชนบานสําโรงปจจุบันจึงมีคนเรียนจบ ระดับปริญญาตรีประมาณ ๑๐ กวาคน ปริญญาโท ๑-๓ คน ระดับมัธยมศึกษาปที่ ๖ ประมาณ ๑๐ กวา คน ระดับ ปวช.-ปวส. ประมาณ ๑๐ กวาคน นอกนั้นกําลังศึกษาระดับปริญญาตรีอีกหลายคน การสาธารณสุข ในสมัยโบราณดั้งเดิม ตั้งแตเริ่มกอตั้งหมูบานมาขณะนั้นดานการสาธารณสุข ยังไมเจริญ พื้นที่ในละแวกนี้ขาดแคลนทั้งบุคลากร สถานีอนามัย รวมไปถึงสถานพยาบาลอื่นๆ ไมวาจะ เปนโรงพยาบาลหรือคลินิกเอกชนก็ตาม และเนื่องจากการคมนาคมติดตอกันไมสะดวก ถนนหนทางยัง ไมไดตัดผาน สวนใหญตองเดินดวยเทา มา เกวียน นานๆ จึงจะมีรถบรรทุกสินคาประเภทขาวโพด ถั่ว ลิสง ลงไปจําหนายยังตัวเมืองโดยใชรถ ๑๐ ลอ ซึ่งกวาจะไปถึงโรงพยาบาลที่มีในจังหวัดแหงเดียวคือ โรงพยาบาลพระปกเกลา จันทบุรี จึงเปนเรื่องที่เต็มไปดวยความยากลําบาก ทําใหผูที่มีความรูพื้นบานใน การรักษาพยาบาลเปนผูมีบทบาทสําคัญตอการมีชีวิตอยูรอดของคนในหมูบาน ไมวาจะเปนหมอตําแย หมอสมุนไพรพื้นบาน หรือหมอรักษาโรคอื่นๆ บุคคลเหลานี้จึงเปนที่ยกยองเคารพนับถือ และถือเปนผู มี พระคุณที่ตองตอบแทนบุญคุณเมื่อมีโอกาส คนในหมูบานหรือหมูบานใกลเคียง จะตองไปทําพิธียกครูทุก ป เชน ยายนวนหมอตําแยและตาโดยผูเปนสามี ทั้งคูเปนหมอพื้นบานที่ใหการดูแลรักษาหญิงตั้งครรภ การคลอดบุตรของบานสําโรงในอดีต นอกจากยายนวนและตาโดยแลวนายฮวย โฉมฉาย ก็เปนผูหนึ่งที่ชาวบานใหขอมูลวาเปนผูมี ความสามารถในการรักษาโรคทั่วไปเล็กๆ นอยๆ ดวยการใหน้ําเกลือ ฉีดยา หรือกระทั่งลุงสงาที่เปนหนึ่ง ในผูใหขอมูลสําคัญในการทําวิจัยก็เปนผูหนึ่งที่มีความรูเกี่ยวกับการรักษาแบบภูมิปญญาพื้นบานแผน โบราณ เชน โรคเริม ที่มีลักษณะเปนตุมแดงๆ พองๆ ตามตัว โรคตะมอย ที่มีลักษณะบวม ปวดแสบปวด
รอนตามซอกเล็บมือเล็บเทา โรคงูสวัด ซึ่งมีลักษณะเปนตุมและจะลามไปตามตัว เจ็บปวดรอน มีความ เชื่อวาถาเปนตุมแผลรอบตัวเมื่อไร อาจเสียชีวิตไดถารักษาไมทัน โรคคางทูม ซึ่งมีลักษณะบวมจากขาง ในกระพุงแกมถึงคาง มีอาการเจ็บปวด ลุงสงาไดเรียนวิธีรักษามาจากบรรพบุรุษ การรักษาคือเมื่อมีใคร เปนโรคชนิดใด คนนั้นจะนําเหลาขาวติดตัวไปดวย ลุงสงาเลาวาการรักษาดวยวิธีดังกลาวยังคงรักษา อยู จนถึงปจจุบันนี้ ยกเวนคนที่ไมเชื่อก็จะไปรักษากับหมอแผนปจจุบัน การสาธารณสุขอยางที่เปนอยูในปจจุบันเริ่มเขามามีบทบาทตอบานสําโรงประมาณป พ.ศ. ๒๕๒๒ ดวยความชวยเหลือของกระทรวงสาธารณสุขกับรัฐบาลญี่ปุนในดานการสาธารณสุขมูลฐาน ครั้งแรกตั้งเปนคณะผูสื่อขาวสาธารณสุข (ผสส.) จํานวน ๑๕ คน มีหนาที่รับ-สงขาวสารดานสุขอนามัย มีกองทุนยาประจําหมูบาน ใหจักรยาน ๑๕ คัน แก ผสส. ในการปฏิบัติงานและสรางบอบาดาล เพื่อ บรรเทาการขาดแคลนน้ําสําหรับอุปโภค ตอมาเปลี่ยนชื่อจาก ผสส. เปนอาสาสมัครสาธารณสุขประจํา หมูบาน (อสม.) ยังคงทําหนาที่เก็บขอมูลพื้นฐาน กําจัดแหลงเพาะพันธุยุง ประสานงานระหวางชุมชนกับ สถานีอนามัยตําบลจนถึงปจจุบัน ประวัตคิ วามเปนมาของหมูบาน ชื่อของชุมชน จากขอมูลที่ไดรับฟงจากคําบอกเลาของผูสูงอายุเกี่ยวกับเรื่องราวในอดีตที่ ยอนกลับไปไดถึง ๕ ชั่วรุนอายุคน ทําใหสามารถทราบไดถึงกําเนิดและประวัติของชุมชนบานสําโรงซึ่ง ตั้งอยูริมสองฝงคลอง (ตอมามีชื่อเรียกวาคลองทรายขาว) ไดดังนี้ เมื่อประมาณกวา ๓๐๐ ปที่ผานมา ดินแดนแถบนี้เต็มไปดวยปาไมและสัตวปา ไดเริ่มมีการ กอตั้งชุมชนหมูบานขนาดเล็กขึ้น กระจัดกระจายกันตามจุดตางๆ เพียงไมกี่แหง เปนกลุมคนซึ่งมีเชื้อสาย เขมรพื้นบานและเขมรจากประเทศกัมพูชา ชุมชนเหลานี้แตละแหงปลูกสรางบานเรือนมุงดวยหญาคา พื้นบานและฝาทําดวยฟากไมไผ ประกอบดวยบานเรือนเพียงไมกี่หลังคาเรือน ที่สําคัญคือที่ตั้งชุมชนบาน สําโรงในปจจุบัน แรกเริ่มในอดีตสองพี่นองชื่อนายนอนกับนายเพลียว เปนเขมรพื้นบานจากที่อื่น ได อพยพมาหักรางถางพงทําไร อยูตรงบริเวณชุมชนบานสําโรงกลางในปจจุบันเปนคนแรก ตอมามีผูอพยพ ตามมาเรื่อยๆ และไดตั้งชื่อหมูบานวา “บานสําโรง” ตามตนสําโรงซึ่งเปนตนไมใหญอยูริมคลองใกลเมรุ วัดสําโรงปจ จุบัน (ปจ จุบันตนสํา โรงตน นี้ไดโคนลมไมเหลือซากแลว แตยัง มีตนสํา โรงอยูในหมูบา น ปรากฏใหเห็น) ผูคนที่อาศัยอยูลวนแตมีอาชีพทําไรขาว ทํานา และปลูกพืชบางชนิดแซมในไรขาวเพื่อการ ยังชีพ การเพาะปลูกอาศัยน้ําจากน้ําฝนเปนหลัก น้ําจะไหลหลากทวมหมูบานเฉพาะในฤดูฝนที่ฝนตกชุก ซึ่งนานปจะทวมครั้งหนึ่ง ในฤดูแลงน้ําคลองจะแหงขอดหรือไมมนี ้ําเลย ฤดูหนาวอากาศจะหนาวเย็นจัด สภาพความอุดมสมบูรณที่มีอยูมากในอดีตที่กลาวมานี้ นับเปนปจจัยดึงดูดที่กอใหเกิดการยาย ถิ่นของประชากร เพื่อเขามาหักรางถางพงเพื่อเปดปาทําเปนพื้นที่ทํากินและพื้นที่อยูอาศัย ในบริเวณบาน สําโรงกลางในปจจุบัน การกอตัวของชุมชน จากคําบอกเลาของชาวบานเกี่ยวกับเรื่องราวและความเปนมาของชุมชน บานสําโรง ทําใหพอจะเชื่อไดวาบริเวณแถบชุมชนบานสําโรงนี้คงมีผูคนอยูอาศัยมานานแลว (ประมาณ
๓๐๐ ป ที่ ผ า นมา) แต มี จํ า นวนไม ม ากนั ก เมื่ อ นายนอนกั บ นายเพลี ย วสองพี่ น อ งเข า มาอยู แ ล ว ก็ มี ครอบครัวอื่นๆ ยายตามมาไมเกิน ๑๐ หลังคาเรือน ในสมัยตอมา ชาวบานผูสูงอายุเลาวาเปนสมัยของพระยาเสาร ซึ่งเปนผูที่ชาวบานใหความ เชื่อถือและนับถือ เห็นวามีวิชาอาคม มีความสามารถดูแลปกครองชาวบานได จึงใหอํานาจสิทธิ์ขาดใน การปกครองตัดสินคดีความและขอขัดแยงตางๆ ในหมูบาน ในสมัยของพระยาเสารนี้เอง อีกฝงหนึ่งของ คลองทรายขาวไปทางทิศใตมีครอบครัวของนายซัวะ (โลย) กับนายแจ ไปตั้งรกรากกันอยูกอนแลว ๒ หลังคาเรือน และเมื่อนายดมซึ่งเปนลูกชายของพระยาเสารไดแตงงาน นายซัวะจึงไดชักชวนนายดมใหไป ตั้งรกรากอยูดวยกัน จากคําบอกเลาของผูสูงอายุในหมูบานเลาวา ชุมชนบานสําโรงกลางในปจจุบันมีครอบครัวรุน ราวคราวเดียวกับครอบครัวของนายดม คือ ครอบครัวของนายเจียล นางเมียะ ซึ่งเปนญาติพี่นองของพระ ยาเสาร นายจรูก นางเอา (ตนตระกูลคลองคต) นายเช็ม นางเราะ (ตนตระกูลสารเกต) นายรัด นางรัด (ตนตระกูลเสารทอง) นางเท็ด นายพอก นางเต็ม (ตนตระกูลเครือศรี) นายเสาร นางเมา (ตนตระกูลธรรม เสถียร) นายเย็น นางติง (ตนตระกูลครองบาน) นายแยม นางอวน (ตนตระกูลจันทรส) นายโตด นางบัว (ตนตระกูลศรีประจํา) นายเจีย นางฮิม (ตนตระกูลพุทธศรี) นายนิน นางแกว (ตนตระกูลชํานาเวช) นาย โตด นางเกิด (ตนตระกูลมีกระโดน) นายแหยม (ตนตระกูลสายทอง) นายแยม นางเอา (ตนตระกูลโพธิ์ เดช) สวนชุมชนสําโรงลางปจจุบัน มีครอบครัวของนายซัวะ (โลย) นางยิม (ตนตระกูลของจันทรเทศ) นายลด นางวา นายแจ นางเยาะ นายดม นายเม็ย นางเราะ (ตนตระกูลชํานาเวช) นายสอน บานสําโรง ตะวันตกริมคลอง ผูที่มาตั้งรกรากอยูเปนคนแรกคือครอบครัวนายดวง นางปอน นายแอก นางไร นาย เทพ นางตวน บานสําโรงตะวันตกไกล ครอบครัวของนายหงสกับเจกใชมาตั้งรกรากอยูกอน ตอมานางโปด นองสาวของนางหงสตามมาอยูดวย ซึ่งสองคนพี่นองนี้มาจากกัมพูชา หมูบานโกรนเปรย บานสําโรง บนสุด นายแอก (เดิมอยูบานปาปุลจรม) มีภรรยาชื่อนางโรด โดยยายมาตั้งรกรากที่บานสําโรงบนสุด พรอมครอบครัวของนายแจ นางจอง บานสําโรงบน นายจาบมาจากกัมพูชา แตงงานกับนางเมาเปนคน เขมรพื้นบาน มาตั้งรกรากบานบนพรอมครอบครัวสามีภรรยา ๒ ครอบครัว คือ นายโตด นางนู (เดิม นางนูอยูบานปาปุลจรม) และครอบครัวนายพอก นางเน็ย ผูสูงอายุไดถายทอดเรื่องราวที่เคยไดรับคําบอกเลาจากบรรพบุรุษของพวกตน เกี่ยวกับสาเหตุ ของการยายถิ่นเขามายังบริเวณชุมชนบานสําโรงของแตละกลุมวา ผูคนบางครอบครัวประสบปญหาที่ทํา กินเดิมเกี่ยวกับพื้นที่ปลูกขาวขาดความอุดมสมบูรณ ประสบปญหาความแหงแลง ทําใหปลูกขาว ไม คอยไดผลดี บางครอบครัวตองอพยพหนีกลัวการถูกโจรปลน (เพราะโจรเคยปลนชาวบานปาปุลจรม) อยางไรก็ตามเรื่องราวที่ผูสูงอายุไดบอกถึงการทํามาหากินในครั้งนั้น ก็ทําใหพออนุมานไดวาของปาและ สัตวปาที่มีอยูอยางอุดมสมบูรณนาจะเปนปจจัยดึงดูดที่มีคุณคาและน้ําหนักตอการตัดสินใจยายถิ่นเขา มาของผูคนในครั้งนั้นไมนอยเชนกัน
เมื่ อ พิ จ ารณาถึ ง จุด กํา เนิ ด ของชุมชน ทํา ใหพ อจะเห็ น ภาพในอดี ตของผู คนที่ เขา มาและตั้ ง บานเรือนกระจายกันอยูตามแหลงที่เปนหมูบานตางๆ ในภายหลังตามที่กลาวชื่อมานี้ ในครั้งนั้นยังไมมี จํ า นวนมากมายนั ก จนพอที่ จ ะตั้ ง เป น ชุ ม ชนหมู บ า น แต ก็ นั บ เป น จุ ด เริ่ ม ต น แห ง การขยายตั ว และ พัฒนาการจนกลายเปนชุมชนหมูบานอยางเต็มรูปแบบในลักษณะที่วา มีบานเรือนที่ตั้งอยูรวมกันอยาง ถาวร ที่นับวันก็มีจํานวนเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ ทั้งดวยการเพิ่มขึ้นจากสมาชิกที่เกิดใหมเติบโต แตงงาน แลว จึงสรางบานเรือนเพื่ออยูอาศัยเพิ่มขึ้น และดวยการเพิ่มขึ้นเนื่องจากการยายถิ่นเขามาของประชากรจาก ที่อื่นเขามาสมทบ มีพื้นที่เพาะปลูกอยูใกลๆ บริเวณที่อยูอาศัย แตตอมาภายหลังก็มีศูนยกลางของชีวิต ชุมชนรวมกัน มีการสรางวัด ศาลพระภูมิ โดยระบบเศรษฐกิจที่ขึ้นอยูกับการเพาะปลูก ทําไร ทํานา โดยอาศัยน้ําฝนหรือจากแหลงน้ํา ธรรมชาติ ด ว ยเครื่ อ งมื อ ทํ า มาหากิ น ที่ รั บ สื บ ทอดกั น มาจากบรรพบุ รุ ษ เป น หลั ก นั้ น แม ว า จะให หลักประกันที่มั่นคงกวาการแสวงหาอาหารจากธรรมชาติในปา แตขนาดพื้นที่เหมาะสมก็จําเปนตอง แสวงหาสําหรับการเพาะปลูกเพิ่มขึ้น ตามจํานวนประชากรที่เพิ่มมากขึ้นตลอดเวลา เมื่อระยะเวลาผานไป พื้นที่เพาะปลูก ทําไร ทํานา ที่ขยายออกไปก็ตองหางไกลจากหมูบานเดิม มากขึ้น ประกอบกับพื้น ที่ป ลูกบานเรือนที่อ ยูอาศัยในชุมชนหมูบานเดิมเริ่มจะถูกใชอยางเต็มที่แลว จํานวนสมาชิกในครอบครัวที่อยูในชุมชนเดิมที่ไมไดรับบานเรือนของพอแมเปนมรดก และไมมีภาระที่ จะตองเลี้ยงดูพอแมอยางจริงจัง ก็จะเริ่มใชวิธีแกปญหาเรื่องความจํากัดของพื้นที่สําหรับปลูกที่พักอาศัย ในบริเวณบานของพอ แมที่อยูในชุมชน มีผลทําใหบ ริเวณที่เคยเปนพื้นที่ทํากินเริ่มเปลี่ยนสภาพเปน บริเวณที่ตั้งของกลุมบานเรือนของผูคน ที่พรอมจะพัฒนาเปนชุมชนหมูบานตอไป ชาวบานในหมูบานก็ จะไปทําบุญหรือประกอบพิธีกรรมทางศาสนาที่วัด ซึ่งจะกลายเปนพื้นฐานแหงความสัมพันธอันดีตอกัน ระหวางชุมชนหมูบานตางๆ เชน ประเพณีในการรวมงานกันระหวางหมูบานในเทศกาลตางๆ ในทองถิ่น เมื่อประชากรและจํานวนบานเรือนในบริเวณบานสําโรงบนสุด บานสําโรงบน บานสําโรงกลาง บานสําโรงลาง บานสําโรงตะวันตกริมคลอง และบานสําโรงตะวันตกไกลหนาแนนขึ้น พรอมๆ กับพื้นที่ที่ ประชาชนแตละกลุมอยูเดิมมีคลองทรายขาวและปาคั่นระหวางแตละกลุม โดยมีเสนทางเดินเทาและทาง เกวียนติดตอไปมาหาสูกัน พื้นที่บริเวณดังกลาวเริ่มถูกหักรางถางพงตั้งบานเรือนเรียงรายติดตอกันเปน บานเรือนถาวร ดวยเหตุผลดานความปลอดภัยและการพึ่งพาอาศัยกันในดานตางๆ ขอเท็จจริงที่ไดรับจากการเก็บขอมูลภาคสนามเกี่ยวกับการยายถิ่นของประชากรที่มาตั้งถิ่นฐาน ในชุมชนบานสําโรงปจจุบัน สวนมากเปนคนเชื้อสายเขมรพื้นบาน มาจากประเทศกัมพูชา ดวยการมาตั้ง รกรากและการแตงงาน เมื่อประมาณ ๗๐-๘๐ ปที่ผานมาก็มีคนจีนมาตั้งรกรากจํานวนหนึ่ง (ปจจุบันคน จีนเหลานั้นไดลมหายตายจากและยายไปอยูที่อื่น) ชาวบานจะพูดถึงกระแสและทิศทางการยายถิ่นวา คนในหมูบานเดียวกันมักจะชวนกันไปอยูที่ใหมที่เดียวกัน หรือเปนญาติกันยายไปอยูดวยกัน การแบงเขตชุมชนบานสําโรงแตละชุมชน โดยบานสําโรงบนอยูทางทิศเหนือของหมูบานจะมีลํา หวยเล็กๆ ไหลลงคลองทรายขาวทางทิศใตของหมูบานสําโรงบน คั่นระหวางบานสําโรงบนกับบานสําโรง
กลาง ตอจากนั้นจะเปนบานสําโรงกลาง ขามคลองทรายขาวจากสําโรงกลางไปทางทิศใตเปนบานสําโรง ลาง ตรงขามบานสําโรงบนฝงซายของคลองทรายขาวเปนที่ตั้งของบานสําโรงตะวันตก ปจจุบันชุมชนบานสําโรงเปนหมูบานขนาดใหญ มีคลองทรายขาวไหลผานกลางหมูบาน คือ บานสําโรงบนกับบานสําโรงกลางจะตั้งอยูบนฝงขวาของลําคลอง บานสําโรงตะวันตกกับบานสําโรงลาง ตั้งอยูบนฝงซายของลําคลอง เมื่อพิจารณาดูทิศของหมูบานแลว บานสําโรงบนอยูทางทิศเหนือของ หมูบาน บานสําโรงกลางและบานสําโรงลางอยูทางทิศใต บานสําโรงตะวันตกอยูทิศตะวันตก (ฝงซาย ของลําคลอง) ชุมชนบานสําโรงบนปจจุบัน ทางทิศเหนือและทิศตะวันออกมีพื้นที่ติดกับบริเวณหมูบานของ ประชากรในพื้นที่ มีพื้นที่ทํากินเปนไรขาว ปาชาก และสภาพปาเปนบางสวน เจาของบางคนที่มีที่ดิน ติดตอกับหมูบานไดแบงขายใหกับคนตางจังหวัดที่อพยพมาจากทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือเพราะหนี ความแหงแลง อดอยาก สภาวะวางงาน โดยมาจากจังหวัดศรีสะเกษ บุรีรัมย นครราชสีมา และเขามาตั้ง รกรากเมื่อประมาณป พ.ศ. ๒๕๑๕-๒๕๑๖ ปลูกกระทอมอยูกันเปนหยอมๆ ในที่ดินทํากินของตนเองที่ได ซื้อมาปลูกขาว ขาวโพด มันสําปะหลัง มีไมเกิน ๑๐ หลังคาเรือน สภาพบานเรือนยังไมดีนัก ตอมาบางคน มีญาติพี่นองเพื่อนฝูงตามมาเพื่อรับจางในฤดูเก็บเกี่ยวขาวโพด ขุดมันสําปะหลัง เมื่อกลับไปบานของตน ไดบอกเลากันตอๆ ไปวาคาแรงทางนี้ดีกวาทางอีสาน และพื้นที่ทํากินอุดมสมบูรณกวา บางครอบครัว ขายที่นาทางบานเกิดแลวมาซื้อที่ดินปลูกสรางบานเรือนอยู โดยมีอาชีพรับจาง เพราะคิดวามีบานอยู มี งานทํา คาแรงแพงกวาทางบานเกิดซึ่งไมคอยมีงานทํา จึงพากันอพยพมาเรื่อยๆ เมื่อมีผูอพยพมาจากที่ อื่นเขามาอยูในชุมชนบานสําโรง ก็ไดปฏิบัติกิจกรรมทางศาสนาและประเพณีตามชุมชนในพื้นบานได อยางกลมกลืน ชุมชนบริเวณนี้ยังมีสภาพเปนปาไผบางประปราย เปนปาชาก ไรขาว ขาวโพด มันสําปะหลัง การสาธารณูปโภคและสุขอนามัยไมดี ประชากรในละแวกนี้เลี้ยงหมู ไกพื้นบาน ใหหากินอิสระไมไดขังไว ในเลา จะมีบางเปนสวนนอย จะใหอาหารเฉพาะเวลาเชา-เย็นเทานั้น ตามครัวเรือนไมมีสวม ถนนยังเปน ทางเดินและทางเกวียน ตัวอยางวิถีชีวิตของการอพยพจากที่อื่นเขามาเปนคนบานสําโรง เห็นไดจากชาวบานและลุง สํ า อางค ปต ถาพงษ ซึ่ง ไดอ พยพมาอยู เ ป น คนแรกบริเ วณชุ ม ชนบ า นสํ า โรงบน ซึ่ ง ถัดจากบา นของ ชาวบานพื้นบานดั้งเดิม กอนชุมชนบานสําโรงบนจะขยาย ใหญขึ้น ลุงสําอางค ปตถาพงษ ไดเลาใหฟงวา บานเดิมนั้นอยูที่อําเภอสีชมภู จังหวัดขอนแกน ยายมา อยูที่บานสําโรงบน เมื่อป พ.ศ. ๒๕๒๔ อาชีพเดิมที่ขอนแกนทํานา โดยทําไวเฉพาะกินเทานั้นและรับจาง ทั่วไป กอนจะมาอยูบานสําโรงไดติดตอกับญาติซึ่งมีอาชีพรับจางอยูที่บานทุงเพล อําเภอมะขาม จังหวัด จันทบุรี และไดยายมาอยูกับญาติที่บานทุงเพล เมื่อญาติหนีไป (ไมทราบสาเหตุ) ลุงสําอางคจึงอยูทุงเพล ตอ สวนลูกๆ ก็เรียนหนังสือที่นั่น ลุงกับภรรยารับจางทั่วไป ตอมามีคนแถวตลาดปะตงไปซื้อกลวยที่บานทุงเพล เขาเลาใหฟงวาที่ปะตงมีงานทํามากกวา ลุง สําอางคอยูทุงเพลไมถึงปก็ยายมาอยูที่บานทุงขนาน มีญาติอยูที่บานสําโรงซึ่งไดพบกันที่ตลาดปะตงก็
บอกใหไปเที่ยวที่บานบาง จึงไปเยี่ยมญาติที่บานสําโรง ลุงสําอางคอยูที่บานทุงขนานไมถึงปก็ไดยายมา อยูบานสําโรง โดยซื้อที่ดินจากนายประหยัด คงอยู ที่บานสําโรงบน ไรละ ๔,๐๐๐ บาท เจาของที่ดินลด ให ๑,๐๐๐ บาท เหลือไรละ ๓,๐๐๐ บาท ซื้อจํานวน ๑ ไร มาปลูกขนําอยูครอบครัวเดียวกอน (ตรง บริเวณชุมชนปจจุบัน) ซึ่งเปนปาลอมรอบ ใชน้ําจากคลองนอย ฤดูแลงใชวิธีขุดบอกลางคลอง ใชแสง สวางจากตะเกียง เดิมนั้นยกขนํา (ที่อยูลักษณะชั่วคราวไมมิดชิดแนนหนา) หลังคามุงหญาคา ฝาบานตี ดวยไมไผฟาก (ตนไผที่นํามาสับๆ ใหยาวตลอดตามความยาวที่ตองการ แลวผาซีกตากแดดใหแหง นํามา ปูเปนพื้นบานและตีเปนฝาบานได) ตอมาระยะหลังก็มีครอบครัวอื่นๆ อพยพมาอยูรอบๆ บานของลุง สําอางค จนเปนชุมชนใหญขึ้น เชน อพยพมาจากระยอง ศรีสะเกษ และจังหวัดอื่นๆ ประมาณป พ.ศ. ๒๕๒๕-๒๕๒๖ ลุงสําอางคไดซื้อที่เพิ่มอีก ๓๐ ไร หนาวัดคลองตานิล โดยซื้อ จากนายพวง สุวรรณราช (ปจจุบันนายพวงขายที่ดินหมดแลวและไปอยูที่อุบลราชธานี) ที่ดินของลุง สําอางคเดิมปลูกมัน เมื่อป พ.ศ. ๒๕๔๕ ไดเริ่มปลูกยางพารา ป พ.ศ. ๒๕๔๖ เริ่มปลูกลําไย ตรงบริเวณ บานของลุงสําอางคตอมามีคนอพยพมาอยูเรื่อยๆ และมีไฟฟามาถึงบาน ป พ.ศ. ๒๕๒๖ ในละแวกชุมชนบานสําโรงบนที่ผูอพยพจากถิ่นอื่นมาตั้งรกรากอยูบริเวณรอบๆ บานลุงสําอางค รวมกับบริเวณบานลุงสงวน แหลมแกว เปนชุมชนใหญที่มีบานเรือนมาตั้งเรียงรายติดตอกันตามซอย ตางๆ ซึ่งเปนชุมชนบานสําโรงบนกลุมใหมที่เปนคนตางจังหวัดอพยพมาอยูเปนสวนมาก เชน ศรีสะเกษ สุรินทร นครราชสีมา ขอนแกน ระยอง บุรีรัมย อางทอง สุพรรณบุรี อยุธยา โดยซื้อที่ดินปลูกบานจาก ชาวบานในพื้นที่เดิมแบงขายใหปลูกบานอยู แลวรับจางทั่วไป เพราะที่นี่มีงานทําตลอดทั้งป ไมแหงแลง มาก หรือวางงานเหมือนที่บานเดิมของตน สวนคนที่มีทุนมากพอจะซื้อที่ดินก็ซื้อที่ดินทํากินดวย สวนคน ทุนนอยซื้อเฉพาะที่ปลูกบานและรับจางเลี้ยงชีพ ปญหาการอพยพของคนตางจังหวัดเหลานี้จะมีปญหาคลายๆ กัน คือ จากถิ่นเดิมการทํามาหา กินฝดเคือง ทํานาทําไรไมไดผล เพราะเกิดจากสภาวะความแหงแลง เกิดการวางงาน อดอยาก ตองดิ้น รนหาที่อยูใหมที่พอจะทําใหชีวิตความเปนอยูดีกวาเดิม ปญหาเชนนี้รวมทั้งลุงสําอางคดวย ยกเวน ลุง สงวน แหลมแกว ที่ประสบกับปญหาครอบครัว จึงคิดยายถิ่นฐาน ประกอบกับหมูบานสําโรงในเวลานั้น สภาพปายังมีมาก เจาของที่ดินที่เปนชาวบานดั้งเดิมไมมีเงินในการลงทุนติดหนี้นายทุนมาก คนที่มีที่ดิน มากจึงแบงขายใหคนตางจังหวัด การเลาสูกันฟงปากตอปาก จากคนที่รูจักกัน จึงพากันหลั่งไหลอพยพ มาตั้งรกรากที่บานสําโรงบนเปนจํานวนมาก เกิดชุมชนใหมซึ่งเปนคนตางถิ่นรวมเปนสําโรงบนปจจุบัน ซึ่ง มีเขตพื้นที่การปกครองคอนขางมาก อยูในพื้นที่หมูที่ ๒ เขตรับผิดชอบของกํานันเลิศ ประเทืองสุขวัฒนา ซึ่งเปนกํานันตําบลทรายขาวในปจจุบัน ซึ่งพื้นที่หมูที่ ๒ นี้ขยายบริเวณไปถึงบานคลองตานิล ที่ติดกับ คลองตานิล รวมทั้งบานเขามะละกอดวย ทั้งหมดนี้เปนคนตางจังหวัดทั้งสิ้น ลุงสงวน แหลมแกว เปนอีกตัวอยางหนึ่งของผูยายถิ่นที่เขามาอยูในบานสําโรง ลุงสงวนเลาวา ตนเองอพยพมาจาก อ.ตาคลี จ.นครสวรรค ประมาณป พ.ศ. ๒๕๓๐ เนื่องจากมีปญหาครอบครัว กอปร กับมีหัวทางการคาขาย เล็งเห็นวาชุมชนนี้เปนชุมชนใหญเหมาะที่จะคาขายได จึงไดขอซื้อที่ดินปลูกบาน จากนายพวง ครั้งแรกสรางบานเปนเพิงเปดเปนรานตัดผม ตอมาจึงขยับขยายเปนรานขายของชํา ใน
เวลาเดียวกันนี้ก็มีผูอพยพมาจากจังหวัดตางๆ มาตั้งบานเรือนอยูตรงชุมชนบริเวณนี้มากขึ้น เชน ศรี สะเกษ บุรีรัมย นครราชสีมา อางทอง สุพรรณบุรี ขอนแกน อยุธยา บางคนมีที่ดินทํากิน สําหรับคนที่มีทุน มามากพอจะซื้อได บางคนมีทุนเฉพาะซื้อที่ปลูกบานแลวก็ประกอบอาชีพรับจาง ชุมชนบานสําโรงบนบริเวณนี้กลายเปนชุมชนเกิดใหมประมาณ ๒๐ กวาปมาแลว คือประมาณป พ.ศ. ๒๕๒๖ โดยที่ผูอพยพมาจากตางจังหวัดหลายจังหวัดดวยสาเหตุคลายๆ กัน คือหนีความแหงแลง อดอยากฝดเคือง สภาวะวางงานจากถิ่นเดิมเพื่อชีวิตที่ดีกวา เห็นวาบริเวณนี้เหมาะสม อุดมสมบูรณ จึง พากันมาตั้งรกรากและอพยพตามกันมาเรื่อยๆ โดยมีลุงสงวน แหลมแกว เปนบุคคลที่ผูอพยพมาใหมให ความเคารพนับถือเพราะมีภาวะผูนํา เนื่องจากในอดีตเคยเปนผูใหญบานจากจังหวัดเดิมมากอน การขยายตัวของชุมชนเชนนี้สะทอนไดชัดเจนไมเพียงแตจากจํานวนครัวเรือนที่เพิ่มขึ้นเทานั้น บานสําโรงก็เชนเดียวกับชุมชนอีกหลายๆ แหง คือเมื่อมีการแยกบานขึ้น สถานที่สําคัญอยูคูกับความเปน ชุมชนที่ตอบสนองตอการดํารงชีวิตของชาวบานก็คือวัด ในป พ.ศ. ๒๕๓๑ ลุงสงวน แหลมแกว รวมกับ นายเชา นายชัย ทึมหลวง ไดขอที่ดินจากนายศุภกิจ ตั้งเกียรติ พี่ชาย สจ.อิสิวุฒิ ตั้งเกียรติ ที่ไดจับจองปา ดวยปากเปลาไมมีหลักฐาน แลวมอบใหผูใหญเหยียน ผลบํารุง ดูแลให เพื่อที่จะสรางวัดคลองตานิล ซึ่ง อยูหางจากชุมชนนี้ไปประมาณ ๔ กิโลเมตร เพราะวากอนสรางที่พักสงฆ ที่ดินของนายศุภกิจที่จับจองไว ไดมีชาวอีสานอพยพเขามาหักรางถางพง ปลูกกระทอมทําไรกัน ผูใหญเหยียน ผลบํารุง สูและขับไลไมได เพราะไมมีหลักฐาน จึงปลอยใหครอบครองโดยปริยาย เมื่อผูที่อพยพมาใหมปกหลักฐานบริเวณนี้ (คลอง ตานิล) และบุกรุกที่ดินไปเรื่อย ลุงสงวน จึงขอที่ดินบนบริเวณเนินเขาไวสรางที่พักสงฆเหลือประมาณ ๓๔ ไรจ ากนายศุภกิจ โดยได ทํา หนัง สือ รับ รองจากอํา เภอเพื่อ แสดงความยิ นยอมใหลุง สงวนเก็บ ไวเป น หลักฐาน การขยายตัวของชุมชนบานสําโรงเกิดจากอพยพเขามาอยูใหมของคนตางจังหวัด จากคําบอก เลาของลุงสงวน แหลมแกว ตั้งแตเขามาอยูเห็นสภาพแวดลอมตางๆ ในชุมชนใหมตองพัฒนาอีกมาก จึง ไดทําโครงการขอถนนตอทางอําเภอและติดตอไฟฟาเขามาจากทางไฟฟา พ.ศ. ๒๕๓๕ จึงไดไฟฟาเขามา ในชุมชนแหงนี้ และไดขยายเขตไปจนถึงคลองตานิล สภาพชุมชนใหมเริ่มเปลี่ยนแปลงและถนนหนทาง ไฟฟา น้ํา เริ่มดีขึ้น กอนจะไดรับความชวยเหลือจากทางราชการ ลุงสงวนก็ไดรวบรวมกําลังคน กําลัง ทรัพย รถไถ ชวยกันพัฒนาถนนในวันพระ ประชากรที่อพยพมาตั้งถิ่นฐานบริเวณคลองตานิล สวนใหญยากจนและอยูหางไกลจากวัด สําโรง ซึ่งเปนวัดของชุมชนในพื้นที่เดิม ลุงสงวน แหลมแกว รวมกับ นายวงศ นายเชา ทึมหลวง รวมมือ กันชักชวนชาวบานในบานสําโรงและคลองตานิลชวยกันสรางที่พักสงฆ เมื่อป พ.ศ. ๒๕๓๑ และชวยกัน พัฒนาทุกวันพระ ขึ้น ๑๕ ค่ํา และแรม ๑๕ ค่ํา เดือนละ ๒ ครั้ง รวมกันสละแรงกายและเงินโดยความ รวมมือของชาวบาน ตอจากนั้นลุงสงวนจึงไดนิมนตหลวงพอราเชนทรมาจําพรรษา ตอมาเปลี่ยนเปน สํานักสงฆ มีพระอาจารยสุเทพมาจําพรรษาดวย มีผูมีจิตศรัทธาจากกรุงเทพฯ และชาวบานรวมกัน ทอดกฐินไดเงินปละหลายแสน สรางถาวรวัตถุ และผูมีจิตศรัทธาไดซื้อที่ดินเพิ่มเติมอีก ปจจุบันมีที่ดินที่ เปนของวัดประมาณ ๑๐๐ กวาไร
เมื่อวันที่ ๒๐ พฤศจิกายน ๒๕๔๖ เวลาประมาณ ๑๖.๐๐ น. คณะวิจัยไดเดินทางไปสัมภาษณ คุณลุงสงา เหลือสาคร ซึ่งไดมาตั้งรกรากที่บานสําโรง ซึ่งเปนเขตพื้นที่ของหมูที่ ๒ บานสําโรงบน อยูทาง ทิศตะวันออกของหมูบาน มีกํานันเลิศ ประเทืองสุขวัฒนา ดูแลรับผิดชอบ คุณลุงสงา เหลือสาคร เดิมเปนคนจังหวัดชัยนาท บวชอยูอําเภอมโนรมย เมื่อสึกจากการบวช พระ ไดอพยพครอบครัวไปอยูที่อําเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค และไดแตงงานกับคุณปาเล็ก ซึ่งคุณปามี เชื้อสายลาวจากเวียงจันทน เมื่อมาอยูที่อําเภอตาคลีมีอาชีพทํานา ตอจากนั้นอพยพไปอยูอําเภอตากฟา จังหวัดนครสวรรค ประกอบอาชีพทําไร เนื่องจากฝนฟาอากาศแหงแลง ทําไรไมไดผล และมีลูกมากถึง ๘ คน คุณลุงสงาทํางานคนเดียว คุณปาเลี้ยงลูก เพราะลูกเกิดติดๆ กัน จึงคิดอพยพตอและไดแบงขายที่ดิน ทําไร จากอําเภอตากฟายายครอบครัวมาตั้งรกรากที่บานสําโรง ทิศตะวันออกของหมูบาน เมื่อ พ.ศ. ๒๕๑๖ โดยซื้อที่ดินจากนายยอย เสารทอง ผูชวยผูใหญบานหมูที่ ๖ ประมาณ ๑๕๐ ไร ในราคา ๑๒, ๐๐๐ บาท หางจากหมูบานเดิมไปประมาณ ๑ กิโลเมตร ที่ดินติดหนาถนนลูกรัง คุณลุงสงาเลาวา สาเหตุที่อพยพจากอําเภอตากฟา จังหวัดนครสวรรค เพราะการทํามาหากินที่ นั่นฝดเคือง อากาศฤดูเพาะปลูกแหงแลง ทําไรไมไดผล จึงแบงที่ดินขายที่ตากฟาแลวมาซื้อที่ดินใหม ที่ หมูบานสําโรง โดยนองชายของคุณลุงสงามาอยูกอนบริเวณติดกับบานนาสนาดถ คุณลุงสงาจึงอพยพ ตามมาบาง เพราะราคาที่ดินบริเวณบานสําโรงสมัยนั้นถูก แตไมไดอยูกับนองชาย มาซื้อที่ดินบริเวณใกล หมู บ า นสํ า โรง มาอยู ค รั้ ง แรกมี ค รอบครั ว คุ ณ ลุ ง มาหั ก ร า งถางพงอยู ค รอบครั ว เดี ย ว ใช แ รงงานใน ครอบครัว เพราะมีลูกถึง ๘ คน คนโตๆ ก็ชวยกันทํางาน พลิกผืนปาใหเปนไร ปลูกขาว ขาวโพด ฝาย ถั่ว ลิสง มันสําปะหลัง สมาชิกในครอบครัวที่โตแลวก็ชวยกันทํางาน จางแรงงานนอกครอบครัวบาง โดยใช ทุนที่แบงขายที่ดินจากอําเภอตากฟาทีละแปลงๆ มาลงทุนที่นี่ ประมาณกลางป ๒๕๒๕ ถนนลูกรังที่ผานหนาบานไดรับการปรับปรุงเปนถนนลาดยาง ดวย เหตุผลทางทหารจากภัยสงครามฆาลางเผาพันธุในประเทศกัมพูชา ซึ่งมีผลกระทบตอชีวิตและทรัพยสิน ของคนไทยที่อาศัยอยูตามแนวชายแดนไทย-กัมพูชา คนบานสําโรงในปจจุบันจึงมีทั้งคนเขมรพื้นบานที่อยูอาศัยกันมาเนิ่นนาน สืบรากฐานการกอ ตัวการตั้งหมูบานไดเปนรอยป กลุมคนที่อยูแตดั้งแตเดิมเหลานี้อยูดวยความเปนญาติพี่นองกัน ตอมาใน ระยะหลังประมาณ ๒๐ กวาปที่ผานมามีการแบงปนขายที่ดินใหแกคนภายนอก ซึ่งสวนใหญเขามาดวย เหตุผลของการหาแหลงทํามาหากิน โดยมีเพื่อนมีญาติพี่นองชักจูงแนะนํามา กลุมอพยพเหลานี้มาจาก หลากหลายจังหวัดทั้งจากภาคกลาง ภาคเหนือ และโดยเฉพาะอยางยิ่งภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งการ เขามาอยูรวมกันของความตางทางวัฒนธรรมเหลานี้จะไดกลาวถึงในลําดับตอไป เหตุการณสําคัญเกิดขึ้นกับชุมชนในอดีต มีเรื่องเลาจากการที่คณะวิจัยไดสัมภาษณปา สรอย เกตุกัลยา เมื่อวันที่ ๓๐ มีนาคม ๒๕๔๗ ปาสรอยไดเลาวาเหตุการณที่ปาพอจําไดเมื่อประมาณ ๕๕ ปลวงมาแลว ตอนนั้นปาสรอยอายุประมาณ ๑๖-๑๗ ป มีการจัดงานสังคายนาขึ้น ประมาณเดือน สาม (กุมภาพันธ) เพื่อใหชาวบานมารวมบุญกัน และทําบุญอุทิศสวนกุศลใหญาติที่ลวงลับไปแลว ผูที่เริ่ม จัดงานนี้คือคุณยายนอย ครองบาน ไดปรึกษากับหลวงพอใย ทานเจาอาวาสวัดมะขามขณะนั้น โดยมี
ศั ก ดิ์ เ ป น ลู ก พี่ ลู ก น อ งกั บ คุ ณ ยายน อ ย ท า นได ช ว ยเหลื อ ในเรื่ อ งนิ ม นต พ ระวั ด ต า งๆ มาร ว มทํ า บุ ญ ประมาณ ๕๐-๖๐ รูป สวนคุณยายนอยวิ่งเตนประสานกับชาวบานเตรียมงานลวงหนาเปนเดือน โดย ชวยกันกรองหญาคา ตัดไมไผสับฟาก ปลูกโรงเรือนชั่วคราวมุงดวยหญาคา ปูพื้นดวยฟากไมไผ ขางฝา ผูกดวยทางมะพราวผาซีก กั้นดานขาง ๓ ดาน เหลือดานหนาไวโลงๆ ยกพื้นสูงจากพื้นดินประมาณ ๓ ฟุต เตรียมขาวสาร ใครมีก็ชวยกันนํามาบริจาคใหวัด ผักตางๆ สวนเงินบริจาคชวยทําบุญถวายพระ จัด งาน ๓ วัน ๓ คืน มหรสพมีลิเก รําวง และหนังตะลุง โดยคุณยายนอยไดหามาจากทางมะขาม แหลมสิงห สวนแมครัวคุณยายนอยไดติดตอ ๒ คน แมลูกจากหมูบานพญาบน คือ นางเอก (แม) และลูกสาวคือนาง อิน ถือวาเปนงานที่จัดยิ่งใหญสนุกสนานในสมัยนั้น ชาวบานตามหมูบานใกลเคียง ในละแวกอําเภอโปง น้ํารอนมาเที่ยวและรวมทําบุญงานสังคายนานี้ดวย และงานนี้จัดครั้งเดียวเทานั้นไมมีอีกเลย เมื่อคุณยาย นอยไมไดจัดก็ไมมีใครจัดตอ เหตุการณสําคัญอีกเหตุการณหนึ่งที่คุณปาสรอย เกตุกัลยา เลาใหคณะวิจัยฟงอีกเรื่องหนึ่งก็คือ สงครามอินโดจีน เมื่อญี่ปุนยกพลขึ้นบกบุกประเทศไทยเมื่อ พ.ศ. ๒๔๘๔ ประมาณ ๖๔ ปลวงมาแลว ปาสรอย เกตุกัลยา อายุประมาณ ๘ ป แตก็จําความได ชาวบานตองขุดอุโมงคในปารอบๆ บานของ ตนเองแตละครัวเรือนเพื่อหลบภัย เมื่อไดยินเสียงเครื่องบินจะพากันเขาไปอยูในอุโมงค ในบานจะมีเหลือ แตผูชายที่เปนเด็ก คนแกมากๆ เด็กผูหญิง และหญิงสาว หญิงมีอายุเทานั้น สวนชายฉกรรจจะถูกเกณฑ ไปสรางทางจากไทยไปกัมพูชาถึงหมูบานพุมเรียงบานละ ๑ คน ฝายสัมพันธมิตรยึดพระตะบองไดหลังสงครามสิ้นสุดลง ในชวงเกิดสงครามนั้น ตอนกลางวันไป ทําไรทํานากัน เมื่อไดยินเสียงเครื่องบินก็พากันหมอบราบ ถาอยูในบานก็เขาหลบในหลุมหลบภัยทุก ครัวเรือนตองรับประทานอาหารประมาณ ๕ โมงเย็น กลางคืนไมกลาจุดตะเกียงและไฟจากไต อยูกันมืดๆ นั่งคุยกันก็คุยกันมืดๆ อยางนั้น สงครามเกิดประมาณ ๑ ปจึงสงบลง อีกเหตุการณหนึ่งเกี่ยวกับโรคระบาดครั้งใหญ ชาวบานเรียกวาโรคหา (อหิวาตกโรค) สาเหตุ อาจเนื่องมาจากในสมัยโบราณ อาหารการกิน น้ําที่ใชบริโภคอุปโภคยังไมสะอาดพอ ยังไมมีสวม ดาน สุขอนามัยยังไมมี พอถึงฤดูแลงเกิดโรคระบาดอยางรุนแรง เมื่อประมาณ ๖๐ กวาปมาแลว อาการของผูที่ เปนโรคหา (อหิวาตกโรค) จะมีอาการทองรวงอยางรุนแรง ถาใครเปนประมาณ ๑-๒ ชั่วโมงก็ตาย รักษา ไมทัน เมื่อตายนําไปฝงดินทันที ไมมีการทําบุญ ชาวบานจะไมพูดถึงคนๆ นั้น ไมใหเอยคําวาตาย กระซิบ กระซาบกันไมใหเด็กรูเรื่อง พูดวาคนนั้นรวงแลวคนนี้รวงแลว โรคระบาดอยูประมาณ ๑ เดือน โรคนี้เปน แลวรักษาไมทัน มีแตการปองกัน มีหมอพื้นบาน ๓ คนพี่นอง ชาวบานเรียกวาครู เปนผูรักษา เขตบาน สําโรงบนชื่อหมอเขม พี่คนโต เขตสําโรงกลางชื่อหมอแปน นองคนรองจากหมอเขม สวนคนที่สามชื่อหมอ เตาะรักษาเขตบานสําโรงลาง สามพี่นองนี้จะแบงเขตกันรักษาแตละกลุมมีการวังสีมาดวยคาถาอาคม โดยใชไมครูยาวประมาณ ๑ วา สีดํากลมๆ เทาหัวแมมือ ตอนเย็นๆ หมอจะใชคาถาโดยมีไมครูตีรอบๆ หมูบานทองคาถากํากับมาดวย วังสีมาเสร็จ หมอจะกินไพล หมากพลู และทองคาถาไปดวย พนเปา กระหมอมทุกๆ คน ในระหวางเกิดโรคระบาด พวกหมอครู ๓ คนพี่นองจะไปมาหาสูกันได แตชาวบานจะ ไปมาหาสูกันไมได ภาษาเขมรเรียกวา ตอม คือไมใหไปไหนมาไหนเปนเวลา ๗ วันทั้งหมูบาน ไมมีอะไร
กินก็กินขาวกับเกลือ กะป พอครบ ๗ วันหมอผูทําการรักษาจะทําการบอกครูขอออกไปนอกบานไดเฉพาะ ผูชายบานละ ๑ คน ไปหาผักตางๆ และอาหารสําหรับการกินอยู ไปเปนกลุมๆ กับหมอครูเทานั้นเปนผูคุม ไป ไปลําพังตนเองไมได สวนผูหญิงกับเด็กหามออกนอกบาน เหตุ ก ารณ รุ น แรงครั้ ง ที่ ๒ ได เ กิ ด โรคฝ ด าษระบาดอย า งรุ น แรง เกิ ด หลั ง โรคห า ระบาด ประมาณ ๒ ป ประมาณ ๕๗-๕๘ ปมาแลว ลักษณะอาการจะพองเปน ตุมๆ เทาเมล็ดขา วโพด เปน ประมาณ ๒ วัน ตุมพุพองจะแตก ผูรักษาฝดาษระบาดคือเจาอาวาสวัดสําโรง ทานชื่ออาจารยตน โดยให ดื่มยาสมุนไพรกับทา ยาทานั้นเมื่อแผลพุพองแตก ใชนอยหนาแหงคาตน นํามาคั่ว แลวตําใหละเอียด ผสมกับน้ํามันมะพราวที่เคี่ยวเอง ใชทา (พระเปนผูทําเอง ใชคาถาเปาเสกให) โรคนี้เปนทั้งเด็กและผูใหญ ระบาดอยูหลายเดือน มีการตอมเฉพาะผูเปนเทานั้นจนหาย ไปไหนไมได ไมใหเยี่ยมเพราะกลัวติดตอ ถา เขาตา ตาก็บอด สวนชาวบานอื่นๆ ที่ไมไดเปนโรคนี้ก็ไมออกไปไหนเพราะกลัว ไมไดทําไรอยูแตในบาน ตลอด พอปตอมาไมมีขาวกินตองซื้อขาวสารจากเขมร ซึ่งบรรทุกเกวียนมาขาย ขณะที่บานสําโรง ตําบลทรายขาว อําเภอสอยดาว เปนชุมชนที่มีรากฐานยาวนาน บานสวนสม ตําบลสะตอน ในอําเภอเดียวกัน กลับเปนพื้นที่ของกลุมคนในภูมิภาคตางๆ ของประเทศที่เขามาแสวงหา ที่ทํากินที่อุดมสมบูรณกวาภูมิลําเนาดั้งเดิมของตนเอง จนกระทั่งขยายตัวเปนชุมชนใหญแหงหนึ่งของ อําเภอสอยดาวในปจจุบัน
บานสวนสม บานสวนสมอยูในภาคตะวันออกของประเทศ ตั้งอยูในอําเภอสอยดาว จังหวัดจันทบุรี มีอาณา เขตติดกับชายแดนกัมพูชา แนวชายแดนหางจากประเทศกัมพูชาประมาณ ๒.๗๐ กิโลเมตร อาณาเขต ทิศเหนือ ติดกับหมูบานซับตารี ทิศใตติดกับหมูบานซับตาเมา ทิศตะวันออกติดกับ ประเทศกัมพูชา ทิศตะวันตกติดกับหมูบานซับสมบูรณ (คลองแจง) ลักษณะภูมิประเทศ ภูมิอากาศ และทรัพยากร เปนที่ราบเชิงเขา ในอดีตหมูบานสวนสมอยู ในเขตตําบลทรายขาว อําเภอโปงน้ํารอน พื้นที่เต็มไปดวยสัตวปาและปาไมเบญจพรรณ เชน ตะแบก มะคา แตปจจุบันจากปาไมกลายเปนพื้นที่สําหรับทําการเพาะปลูกของประชาชน เนื่องจากมีประชากร จากถิ่นอื่นอพยพเขามาตั้งรกรากถิ่นฐาน และไดจับจองเนื้อที่ในการทํามาหากินเปนของตนเอง และมีการ ชักชวนญาติพี่นองจากถิ่นเดิมเขามาจับจองเนื้อที่ทํามาหากินมากขึ้น เนื้อที่ปาไมจึงเริ่มลดนอยลงเพราะ ถูกจับจองเปนที่ทํามาหากิน และปจจุบันนี้ก็ยังมีประชากรบางสวนที่ยังไมมีที่ทํามาหากินเปนของตนเอง มีเพียงพื้นที่ในการปลูกบานพักอาศัยเทานั้น ทําใหมีการบุกรุกปาไมสงวนเปนประจํา เนื่องจากประชากร ที่เขามาใหมไมมีทุนในการจัดซื้อที่ทํากินเปนของตนเองได และพื้นที่ก็ถูกจับจองเกือบหมดแลว ประชากรสว นใหญที่อพยพเขามามีพื้นฐานมาจากชาวนาชาวไร อาชีพสวนใหญจึง ยึดการ เพาะปลู กเปนหลัก ทั้ ง นี้ส ภาพภูมิอากาศสมัยนั้น ก็เ อื้ออํา นวย ฝนตกตอ งตามฤดู กาล มีป ริม าณน้ํ า เพียงพอตอการเจริญเติบโตของพืชไร
ปจ จุบันนี้ก ารทํามาหากินของประชากรก็ยังคงเปนการเพาะปลูกพืช ไรเหมือนเดิม เพียงแต ผลผลิตที่ไดลดนอยลง เนื่องจากสภาพภูมิอากาศเปลี่ยนไป ฝนไมตกตามฤดูกาล ปริมาณน้ําไมเพียงพอ ปไหนฝนตกใหน้ําดี ราคาผลิตผลดี ปนั้นเกษตรกรก็มีรายไดดีตามไปดวย หมูบานสวนสมมีสภาพภูมิอากาศรอนชื้น ในอดีตสภาพภูมิอากาศเปนไปในลักษณะถูกตอง ตามฤดูกาล เพราะเต็มไปดวยปาไมนานาชนิด แตปจจุบันปาไมไดถูกทําลายเปนที่อยูอาศัยและทํากิน จึง ทําใหสภาพภูมิอากาศเปลี่ยนแปลงไป กลาวคือบางปฝนตกนอยกวาปกติ ฤดูหนาวไมหนาวมาก และมี ระยะเวลาเพียงสั้นๆ ฤดูรอนจะรอนมากกวาปกติ และบางวันสภาพอากาศจะดูขมุกขมัวเนื่องจากควัน จากการเผาถานของประชาชนที่ยึดอาชีพเผาถานขายในหมูบาน ในฤดูหนาวของทุกปสภาพภูมิอากาศจะเลวลง เนื่องจากฝุนละอองและควันจากการเผาถานที่ แผปกคลุมไปทั่วหมูบาน โดยเฉพาะในเวลาเชาตรูจนกระทั่งสาย และจะหายไปในชวงเวลาประมาณ ๐๙.๐๐ น. และจะปกคลุมอีกครั้งเมื่อเวลาประมาณ ๑๘.๐๐ น. จนกระทั่งเชาตรูของวันรุงขึ้น จึงสงผล กระทบตอระบบทางเดินหายใจของประชากรในหมูบาน เปนสาเหตุของการเปนโรคภูมิแพ แตก็เปนที่นา แปลกใจวาคนที่อาศัยอยูมานานจะไมไดรับผลกระทบทางดานสุขภาพมากนัก แตสําหรับผูที่มาอยูใหม จะมีอาการแสบจมูก แสบตา และถึงขั้นเปนโรคภูมิแพ ตองรักษาตัวตลอดเวลา ในการแกไขปญหามีการประสานงานระหวางกองรอยทหารพรานกับผูนําหมูบาน ในการจัด สถานที่ที่ใชสําหรับเผาถาน ซึ่งเปนพื้นที่นอกหมูบาน คือบริเวณฝายน้ําลนของหมูบานและแนวถนนนอก เขตซึ่งหางไกลจากชุมชน แตก็ไมสามารถแกไขไดอยางเต็มที่ เนื่องจากยังคงมีผลกระทบจากควันถาน บางเปนครั้งคราว เจาหนาที่ตํารวจใหมีการเปลี่ยนแปลงเผาถานในเวลากลางคืนแทน แตผูเผาถานก็ทํา การเจาะปลองใหกวางและมีหลายปลอง เพื่อใหไมเผาไหมเร็วยิ่งขึ้น เพราะจะไดถานจําหนายเร็ว สงผล ใหควันอบอวลเต็มถนน เปนอุปสรรคตอการเดินทางของผูใชรถใชถนนในยามค่ําคืน จึงมีการบังคับไมให เจาะปลองมากเกินความจําเปน ซึ่งชาวบานก็ใหความรวมมือในการปรับปรุงแกไข เสนทางการคมนาคมและการติดตอกับชุมชนอื่น ในอดีตเสนทางการเดินทางจากหมูบานสู ตั ว อํ า เภอจะเป น การเดิ น ทางด ว ยเท า เนื่ อ งจากพื้ น ที่ ส ว นใหญ เ ป น ป า และไม มี ย านพาหนะ ซึ่ ง ใช ระยะเวลาในการเดินทางไป-กลับเปนเวลา ๑ วัน จากการใชเสนทางบอยๆ ก็ไดมีการถากถางทางไป ภายในตัว จนทําใหเกิดเปนทางเดินที่ใชในการเดินทางกันเรื่อยมาและพัฒนามาเปนทางเกวียน ทาง เกวียนจะใชสัตวจําพวกมา วัว ควายเทียมเกวียน ซึ่งการใชเกวียนจะใชไดเฉพาะหนาแลง สําหรับหนาฝน นั้นยังตองเดินเทา นอกจากนั้นยังมีการนําชางมาเปนพาหนะในการขนสิ่งของดวย ตอมาในป พ.ศ. ๒๕๒๗ ไดมีบริษัทศรีราชามหาราชาเขามาสัมปทานปาไม จึงไดมีการบุกเบิก เสนทางคมนาคมขึ้นใหม โดยการนํารถมาปรับพื้นที่ใหเปนเสนทางที่สะดวกตอการคมนาคมยิ่งขึ้น รถคัน แรกที่เขามาคือรถจิ๊ปของทางบริษัทสัมปทานปาไม หลังจากนั้นก็ไดมีการตัดถนนเพิ่มขึ้นมาเรื่อยๆ โดย เเบงออกเปน ๒ สาย คือ สายเขาแหลม หรือสายเขามะตอย โดยเริ่มจากสวนสมไปตามูล และออกสูปะตง และ สาย บานโพธิ์ หรือสายบานแปลง โดยเริ่มจากสวนสมไปยังคลองบอน ซับตาเมา เขาตามูล ออกปะตง
เสนทางสายบานแปลงนี้ไดตัดขึ้นเพื่อใชเปนเสนทางลําเลียงยุทโธปกรณของหนวยราชการ และเพื่อการ เดินทางตรวจการของเจาหนาที่บานเมือง (เรียกเสนทางยุทธศาสตร) ในป พ.ศ. ๒๕๓๘ ไดมีการปรับปรุง ถนนใหมและทําการลาดยางมะตอย คือ เสนทางจากสวนสมสูสะตอน ขนาดของชุมชน เริ่มแรกจํานวนประชากรที่เขามาอาศัยอยูในหมูบานสวนสมมีจํานวน ๓๐ หลังคาเรือน ตอมาเมื่อหมูบานมีการพัฒนาเพิ่มมากขึ้น จํานวนประชากรก็เพิ่มมากขึ้นดวย จนปจจุบันมี จํานวนประชากรประมาณ ๑,๐๐๘ หลังคาเรือน โดยแยกเปน ๒ หมู คือ หมู ๕ จํานวนประชากร ๑,๑๙๒ คน แยกเปนชาย ๖๐๕ คน และหญิ ง ๕๘๗ คน มีจํานวนครั วเรือ นทั้ง หมด ๗๑๒ ครั วเรือ น หมู ๑๒ จํานวนประชากร ๘๘๑ คน แยกเปนชาย ๔๕๔ คน และหญิง ๔๒๗ คน มีจํานวนครัวเรือนทั้งหมด ๒๙๖ ครัวเรือน สภาพการจัดตั้งบานเรือน / ลักษณะที่อยูอาศัย เริ่มแรกประชากรจะสรางบานในที่ทํากิน ของตนเอง แตละหลังคาเรือนมีความหางไกลกัน จะมีการกอสรางแบบชั่วคราว ฝาบานมีลักษณะการตี ตะปูแ บบปะไวไมถ าวรนัก ทั้ง นี้เนื่อ งจากสมัยนั้น มีเหตุก ารณไมสงบเกิดขึ้ น คือประเทศกัมพูชาเกิ ด สงครามภายในประเทศ ซึ่งสงผลกระทบมายังหมูบาน เชน มีกระสุนปนใหญมาตกในพื้นที่ของหมูบาน บอยครั้ง ทางการเห็นวาถาสงครามในประเทศกัมพูชารุนแรงมากขึ้น มีการสูรบกันขามเขามาถึงหมูบาน บานที่ตีตะปูปะไวก็จะสามารถรื้อถอนและขนยายอพยพหนีภัยไดงาย นอกจากนี้ประชากรของกัมพูชาบางสวนไดลี้ภัยเขามาอาศัยเปนการชั่วคราว กอใหเกิดปญหา ตามมา คือ การลักขโมย เพราะความอดอยากหิวโหย บางบานจึงไดกอสรางบานเปนบานใตถุนสูง มี บันไดชักขึ้น-ชักลง ยามค่ําคืนจะมีการชักบันไดขึ้นเก็บไวบนบาน เพื่อปองกันการขึ้นขโมยของภายในบาน แตในเมื่อไมสามารถขโมยของบนบานไดก็ขโมยของที่อยูใตถุนแทน โดยขโมยทุกอยางที่เปนเครื่องยังชีพ เชน ขาวของเครื่องใช เปดไกในเลา เปนตน ปจจุบันนี้สภาพบานเรือนในหมูบานสวนสมมีความหนาแนนมากยิ่งขึ้น และสรางบานที่มีความ ถาวรและมั่นคง หมูบานมีการขยายตัวออกไปยังพื้นที่รอบๆ หมูบาน ลักษณะบานเรือนในปจจุบันนี้จะมี สภาพหลากหลาย อาทิ เป น บ า นสว นตั ว เป น บ า นเช า หลั ง เดี่ ยวและห อ งแถว เปน โรงงานประกอบ เฟอรนิเจอรพรอมบานในตัว ในลักษณะแออัดยัดเยียด ไมมีตนไมใหความรมรื่น รอบๆ บริเวณบานเต็มไป ดวยเศษขยะ เศษไม ทั้งนี้เปนเพราะไมมีที่ทิ้งขยะเปนหลักแหลงที่แนนอน ประกอบกับความไมมีระเบียบ วินัยในการรักษาความสะอาด มักงาย ใชชีวิตแบบงายๆ ไมไดยึดติดกับอะไรมากมาย แคเพียงใหมีกินมี ใชไปวันๆ ก็พอ บางคนก็มุงจะสรางแตฐานะและหาเงินทองเพื่อความอยูรอดของตนเองและครอบครัว ในอดี ต ป ญ หาเรื่ อ งขยะ เศษไม ยั ง มี ไ ม ม ากนั ก เพราะจํ า นวนประชากรมี น อ ย และร า น ประกอบการคาไมยังมีไมกี่ราน แตเมื่อมีประชากรเพิ่มมากขึ้น ปญหาเรื่องขยะก็มีเพิ่มมากขึ้นตามไปดวย ปจจุบันนี้ปญหาเรื่องขยะยังคงแกไขไมได เพราะจิตสํานึกในการรักความสะอาดยังมีนอย ถึงจะมีถังขยะ ที่ทางการนํามารองรับก็ยังคงทิ้งไมเปนที่เปนทางเหมือนเดิม ผูนําหมูบานก็ไมไดแกไขอะไรอยางจริงจัง ปรับปรุงแลวไมดีขึ้นจึงปลอยเลยตามเลย สวนปญหาขยะจากเศษไมนั้นปจจุบันลดนอยลงเล็กนอย
เนื่อ งจากในหมูบ า นมีป ระชากรที่ ป ระกอบอาชีพ การเผาถา นมารับ ซื้อ เศษไมไ ปเผาถา นเปน ประจํ า เนื่องจากไมที่ไดมาจากตนมะขามเริ่มจะหมดลงแลว ความสัมพันธของนักเรียนไทยกับนักเรียนกัมพูชา นักเรียนกัมพูชาที่เขามาเรียนในโรงเรียน จะมีความรักชวยเหลือซึ่งกันและกันแบบแนนแฟน แตก็สามารถเขากับนักเรียนไทยได แตจะไมใหความ สนิทสนมเหมือนกับพรรคพวกของตัวเอง เวลาวางหรือมีกิจกรรมของทางโรงเรียนมักจะจับกลุมกันอยาง เหนียวแนน มีการใชภาษาพูดของตนเองในการสื่อสารกัน นอกจากนี้รุนพี่จะใหความดูแลรุนนองเปน อยางดี ถึงแมวาจะไมใชพี่นองรวมสายโลหิต พี่ก็จะเอาใจใสชวยเหลือนองเสมอ การเดินทางไปและกลับระหวางบานและโรงเรียนของนักเรียนกัมพูชา เดินทางมาโรงเรียนโดยมี รถรับ-สง ซึ่งมีนายณรงค หาญจันทร (คนไทย) คณะกรรมการศึกษาของโรงเรียน เปนผูรับผิดชอบ คา โดยสารในการเดินทางมาเรียนของนักเรียนกัมพูชาที่ตองจายใหกับรถโดยสารในราคาคนละ ๕๐๐ บาท / เดือน ความสัมพันธระหวางโรงเรียนกับผูปกครองนักเรียนกัมพูชา ผูปกครองนักเรียนกัมพูชาจะ ใหความรวมมือกับทางโรงเรียนเปนอยางดี ไมวาจะมีกิจกรรมใดๆ ก็ตาม เชน กิจกรรมวันแม วันเด็ก วัน ปดภาคเรียน และมีการบริจาคไมสรางโรงอาหารตามที่ทาง โรงเรียนไดขอความรวมมือ ในเมื่อลูกหลาน ไดมาเรียนในโรงเรียนของไทย ผูปกครองก็จะใหความสําคัญรวมไปถึงชุมชนดวย เชน เมื่อชุมชนมีการจัด งานรื่นเริงหรือประเพณีสําคัญตางๆ ผูปกครองนักเรียนกัมพูชาก็จะมารวมงานดวยทุกครั้ง เชน งานเทศน มหาชาติ งานประจําปที่ทางหมูบานจัดขึ้นเพื่อหารายไดมากอสรางสถานที่สําคัญๆ ในวัดหรือหมูบาน ผูปกครองนักเรียนกัมพูชาก็จะเขามารวมดวยทุกครั้ง นอกจากนี้คณะครูในโรงเรียนก็ไดเขาไปเยี่ยมเยือนนักเรียนตามบานนักเรียนกัมพูชา เพื่อที่จะได ทราบสภาพความเป น อยู แ ละเป น การทํ า ความคุ น เคยกั บ ผู ป กครองให แ น น แฟ น ยิ่ ง ขึ้ น และเวลาที่ ผูปกครองนักเรียนกัมพูชามีการจัดงานก็มีการเชิญคณะครูไปรวมงานดวยทุกครั้ง เชน งานทําบุญขึ้นบาน ใหม งานแตงงาน เปนตน ตลาด / รานคา รานคารานแรกของหมูบานเปนรานของนายชู สิงโต ซึ่งเปดขายกวยเตี๋ยวและ สุราในป พ.ศ. ๒๕๒๖ สมัยนั้นมีรถขายกับขาวจากจันทบุรีเขามาคาขายเพียงคันเดียว โดยจะมาถึงสวน สมในตอนเที่ยง ชาวบานมักจะเรียกรถคันนี้วารถไวพจน เพราะผูขายเปดเพลงของไวพจน เพชรสุพรรณ ขณะขับรถขายกับขาวทุกวัน ในป พ.ศ. ๒๕๓๕ ประชากรในหมูบานมีความสนใจในการประกอบอาชีพคาขายมากขึ้น มีการ นํ า สิ น คา ทุ ก ประเภทมาขายในลั ก ษณะจั บ จองพื้ น ที่ ข ายเปน ของตนเองอย า งอิ สระ ไม เ ป น ระเบี ย บ เทาที่ควร คณะกรรมการหมูบานจึงรวมหาแนวทางพัฒนาปรับปรุงรูปแบบการขายใหมีความเปนระเบียบ เรียบรอยเพิ่มมากขึ้น ดวยการจัดระเบียบและเปดเปนตลาดสินคาอยางเปนทางการเมื่อป พ.ศ. ๒๕๔๐ สินคาที่จําหนายในตลาด ไดแก ผัก ผลไม ขาวสารอาหารแหง กับขาวถุงสําเร็จรูป ขาวของ เครื่องใชในชีวิตประจําวัน อาหารปา อาหารทะเล ขนมหวาน เสื้อผา รองเทา ของเลนเด็ก รานที่จําหนาย ขาวของเครื่องใชที่จําเปนทุกอยางมีอยู ๓ รานใหญๆ คือรานนายมังกร แกวคุณะ รานนางโสภา อยูทิม
และรานนางวัลย สมหมาย ในการจําหนายสินคาในตลาด ทางคณะกรรมการหมูบานจะมีการจัดสรรแผง ขายสินคาโดยคิดราคาแผงละ ๕ บาท/วัน สําหรับการจําหนายสินคาที่มีการกางเต็นทคิดราคาคาเต็นท ๒๐ บาท/วัน ซึ่งแผงสําหรับการจําหนายสินคามีประมาณ ๑๕๐ แผง รายไดจากการเก็บคาแผง คาเต็นท จะนํามาใชในการพัฒนาหมูบานโดยผานมติในที่ประชุมของคณะกรรมการหมูบานและชาวบานที่เขา รวมประชุม สภาพของตลาดปจจุบันนี้เต็มไปดวยแมคาพอคา มีของจําหนายครบครัน มีผูมาจับจายใช สอยจากทั้งหมูบานใกลไกลไมไดขาด บรรยากาศของตลาดจะเนืองแนนไปดวยผูคนในเวลาเย็น สวนตอนเชาจะมีเพียงรานขายกับขาวและขนมหวานเพียงแคสามสี่ราน และรานขายน้ําเตาหู ปาทองโกหนึ่งราน รานขายโจกหนึ่งราน และรานขายขาวเหนียวหมูยางสองสามราน ซึ่งนักเรียนนิยมแวะ รับประทานโจกกับขาวเหนียวหมูกอนมาโรงเรียนทุกวัน จากการสัมภาษณพอคาแมคาในตลาด ไมมีใคร ตอบวาขาดทุนจากการขายของเลยสักราย มีแตไดกําไร ไมมากก็พอไดกินบาง เพราะผูบริโภคมีจํานวน มาก ของที่นํามาขายนั้นถาเปนอาหารคาวหวานก็ทําดวยตัวเอง ผักผลไมนอกจากจะรับซื้อจากสวน มาแลวบางก็เก็บมาจากไรสวนของตัวเองมาจําหนาย อาหารทะเลนั้นจะขึ้นไปซื้อที่จันทบุรี ในวันพุธที่ อําเภอสอยดาวจะมีตลาดนัด ในตอนเย็นจะมีอาหารทะเลทุกประเภทมาจําหนายในราคาถูก ก็จะออกไป ซื้อมาขายก็มี สําหรับอาหารปานําเขามาจากประเทศกัมพูชา โดยมีพอคาชาวกัมพูชานํามาสงให รานคา บางรานที่ขายของเหมือนกันก็จะไมมีการขัดแยงผิดใจกันแตอยางไร ขึ้นอยูกับลูกคาวาจะเลือกซื้อของ ใครก็เทานั้นเอง และตางคนก็ตางมีขาประจําของตัวเอง ถาใครมีธุระก็จะอาสาเฝารานใหกันดวยความมี น้ําใจ สภาพตลาดจะมี ก ารซบเซาลงเมื่ อ ถึ ง วั น หยุ ด สํ า คั ญ ๆ เช น วั น สงกรานต วั น ป ใ หม เพราะ ชาวบานจะพากันกลับภูมลิ ําเนาเดิมของตนเองเพื่อไปเยี่ยมพอแมพี่นอง รานคาที่จําหนายของก็เหลือไมกี่ ราน เพราะพอคาแมคาตองกลับบานเกิดเมืองนอนดวยเชนกัน สภาพตลาดจะคึกคักผูคนเนืองแนนอีก ครั้งก็ตอเมื่อผูคนเดินทางกลับมาจากบานเมื่อหมดเทศกาล กองรอยทหารพราน ในป พ.ศ. ๒๕๒๑ ไดมีหนวยงานของทางราชการ คือกองรอยทหารนาวิก โยธินจํานวน ๘ นาย เรียกกันในนามของกองรอยจันทคราส ซึ่งเปนกองรอยที่เขามาปฏิบัติการในรูปแบบ จรยุทธ เพื่อทําการปราบปรามผูกอการราย และรักษาความสงบใหกับพื้นที่ ในป พ.ศ. ๒๕๒๓ ทางหนวย ทหารมีความตองการกําลังเสริมมากขึ้น เพื่อเปนการสรางความมั่นคงใหกับประเทศชาติ และเนื่องจาก บานสวนสมมีพื้นที่ติดกับชายแดนกัมพูชาที่เสี่ยงตออันตรายจากสงครามภายในประเทศกัมพูชา หนวย ทหารจึงมีการจัดตั้งกองรอยทหารพรานนาวิกโยธินประจําการเพื่อดูแลความปลอดภัยของประชาชน ตั้งแตนั้นเปนตนมา ผูบังคับกองรอยไดใหสัมภาษณเกี่ยวกับพื้นที่ในเขตหวงหามที่ไมใหประชาชนเขาไปทํามาหากิน เนื่องจากยังมีทุนระเบิดเหลืออยู ซึ่งมีทั้งระเบิดบุคคลและระเบิดรถถัง ซึ่งอาจทําใหเกิดอันตรายไดสําหรับ ผูที่เขาไปบุกรุก ไมวาจะไปเพื่อทํามาหากิน ลาสัตว และแผวถางที่เพื่อทํามาหากิน ทั้งนี้หนวย ทุนระเบิด ไดเขาสํารวจตรวจสอบจุดที่ยังมีระเบิดฝงอยู เมื่อพบวายังมีระเบิดฝงอยูจะมีการติดปายเพื่อบอกใหรูวาที่ ตรงนั้นเปนเขตอันตราย หามเขาไปทํากิจกรรมใดๆ ในบริเวณนั้นโดยเด็ดขาด ประชากรชาวไทยเมื่อทราบ
เรื่องก็จะไมไปของเกี่ยวดวยดี จะมีเพียงชาวกัมพูชาที่ชอบแอบลักลอบเขามาแบบผิดกฎหมาย เหยียบกับ ระเบิดแขนขาขาด และถึงกับเสียชีวิตบางก็มี ซึ่งปจจุบันนี้ก็ยังมีอยูแตไมบอยครั้ง ดานตรวจคนเขาเมือง ในสมัยนายอมร อนันตชัย ดํารงตําแหนงผูวาราชการจังหวัดจันทบุรี ได มีแนวคิดในเรื่องการเปดดานการคาระหวางไทย-กัมพูชาตามบริเวณแนวชายแดน ไดแก ชองทางบาน ผักกาด บานซับตารี และบานสวนสม ไดติดตอเจรจากับนายฉาย เวชสรรเสริญ ใหมาเปนผูนําในการ บุกเบิกการคาขายกับกัมพูชาดานชายแดนบานสวนสม ลักษณะการคาขายในสมัยนั้นสวนมากทางฝาย กัมพูชาจะเดินทางเขามาซื้อสินคาจําพวกเครื่องอุปโภคบริโภคในตลาดบานสวนสม สวนไทยจะซื้อเพียง ไมที่นํามาแปรรูปเปนเฟอรนิเจอรและเนื้อสัตวปาตางๆ เสนทางการติดตอสมัยนั้นเปนทางเดินเทาแคบๆ สองขางทางเต็มไปดวยปาไม และแนวกับระเบิดของฝายกัมพูชาที่หลงเหลืออยูจากเหตุการณการสูรบกัน ภายในประเทศ หลังจากที่มีเสนทางที่สะดวกขึ้น ไดมีการสรางตลาดสําหรับการคาขายระหวางประเทศ โดยการ เปดประมูล ผูที่ประมูลไดคือกํานันฉาย เวชสรรเสริญ ในชวงที่เปดตลาดใหมการคาขายดําเนินไปดวยดี ในป พ.ศ. ๒๕๔๒ การคาเริ่มซบเซาลงเนื่องจากทางประเทศกัมพูชาไดมีการสั่งปดชายแดนดานกัมพูชาสวนสม พอคาแมคาจึงหันไปคาขายทางดานชายแดนกัมพูชา-ซับตารีแทน เพราะผูนําฝายกัมพูชาที่มี อิทธิพลมีบานเรือนอยูฝงหมูบานซับตารี ตลาดการคาบริเวณชายแดนบานสวนสมจึงเหลือรานคาเพียง ไมกี่รานที่ยังคงทําการขายสินคาพวกสุรา บุหรี่ และอาหารตามสั่ง และรับซื้อพืชไร เชน ขาวโพด มัน สําปะหลังเทานั้น ดานศุลกากรเกิดขึ้นพรอมกับดานตรวจคนเขาเมือง ซึ่งมีสํานักงานใหญอยูที่หนวยเฉพาะกิจ ทหารพรานนาวิกโยธิน จันทบุรี (อําเภอโปงน้ํารอน) เปนหนวยงานที่ไมมีเจาหนาที่ประจําการ เจาหนาที่ จะมาปฏิบัติหนาที่ก็ตอเมื่อมีการขนสงสินคาขามประเทศเทานั้น สินคาที่เขามาสวนใหญจะเปนรถยนต จากประเทศญี่ปุนที่ชาวกัมพูชาสั่งเขามาใช เขตแนวชายแดนระหวางบานสวนสมกับหมูบานสังกะสีของ กัมพูชาถูกแบงแยกออกดวยลําคลองที่สรางเปนฝายน้ําลน มีสะพานไมเชื่อมระหวางสองฝงสําหรับเดิน เทาเขาออก แตจะไมอนุญาตใหรถทั้งสองประเทศขามสะพาน เนื่องจากสะพานที่สรางขึ้นมาไมสามารถ รับ น้ํ า หนัก รถยนต ได ทั้ ง นี้ เพราะเป น การปอ งกั น การกระทํา ใดๆ ที่ ผิด กฎหมายของทั้ ง สองประเทศ สามารถรื้อถอนไดทุกเวลาตามความตองการ ถามีเหตุการณไมสงบขึ้นมาระหวางประเทศ นอกจากนี้บริเวณสองฝงลําคลองที่อยูหางจากสะพานไปตามแนวชายแดน หางไกลจากการ ควบคุมดูแลของทางราชการจะยังคงมีกับระเบิดฝงอยูเปนจํานวนมาก แตทางราชการของทั้งสองประเทศ ไมมีนโนบายในการเขาไปกูกับระเบิด เพราะตองการใหเปนเครื่องปองกันการรุกล้ําดินแดนซึ่งกันและกัน ขอมูลทางดานประชากร ปจจุบัน ประชาชนของหมูบานสวนสมจัดออกเปน ๓ กลุมใหญๆ ไดแก กลุมที่มาจากภาคตะวันออกเฉีย งเหนื อเปนกลุ มที่ใหญที่ สุด ซึ่ง ประชากรสวนใหญจะมาจาก หมูบานหนองกอก ตําบลหนองบัวฮี อําเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี และเปนกลุมแรกที่เขามา ตั้งถิ่นฐานที่อยูอาศัย ประกอบอาชีพเกษตรกรรมเปนสวนใหญ มีจํานวน ๔๐ ครอบครัว ครอบครัวแรกที่ เขามาคือนางสมบูรณ กาสี จากนั้นไดมีการชักชวนญาติพี่นองเขามาทํามาหากิน ซึ่งคนที่มาจากจังหวัด
อุบลราชธานีสวนมากจะเขามาประกอบอาชีพเกษตรกรรม มีพื้นที่ทํากินเปนของตัวเองดวยการจับจอง และจัดซื้อ ทําการปลูกพืชไรจําพวกมันสําปะหลังและขาวโพดเพื่อเลี้ยงชีพ จากการสัมภาษณนางบุญสง เลางาม และนางอําพร เรือนฤทธิ์ ไดเลาวาตนตระกูลที่ใหญที่สุด ที่มาจากจังหวัดอุบลราชธานีคือตนตระกูลพวงแกว และมีความหวังวาในอนาคตจะชักชวนญาติ พี่ นองเขามาทํามาหากินที่หมูบานสวนสม แตขณะนี้ญาติพี่นองยังขาดแคลนทุนทรัพยในการจัดซื้อที่ดินทํา กินและที่อยูอาศัย เพราะปจจุบันนี้ที่ดินมีราคาแพง ภาคกลางรองลงมา ไดแก จังหวัดนครสวรรค กําแพงเพชร เปนกลุมที่อพยพเขามาลงทุนและบางสวนก็เขามารับจางทําเฟอรนิเจอรไม ผูที่เขามากอน คือนายยิ่ง ผลสุข ตอนแรกนายยิ่งไดเขามารับจางทํางานในโรงงานไมกอน ตอมาเมื่อมีทุนจึงเปดโรงงาน เปนของตนเอง และมีการชักชวนญาติพี่นองเขามารวมหุนดวย เมื่อพี่นองมีทุนเปนของตนเองจึงขยับ ขยายตั้งโรงงานขึ้นเอง และมีการชวยเหลือเกื้อกูลกันเปนอยางดีในเครือญาติพี่นอง สวนภาคเหนือไดแก กลุมคนที่มาจากจังหวัดแพรเปนสวนใหญ โดยมีครอบครัวของนางแดง รสปตุพงษ เปนครอบครัวที่ทํา ธุรกิจไมแปรรูปโดยตรง ผูประกอบกิจการคาไมที่มาจากทุกที่ ภายนอกดูเหมือนจะมีความสัมพันธที่ดีตอกันก็จริง มีการ เขากลุมรวมจัดตั้งสหกรณดวยกัน แตขางในลึกๆ แลวแตละรานจะแขงขันกันในดานคุณภาพ ความ สวยงาม และรูปแบบใหมๆ ของงาน ไมชอบอยางมากที่จะใหรานอื่นมาลอกเลียนแบบรูปแบบของงานใน รา นตน แต ก็หารอดพนไม เพราะก็มีการเลีย นแบบกั นขึ้ นมาทุ กที แต ก็ไมไดมีการกระทบกระทั่ง กั น รุนแรงจนเปนเรื่องใหญโตขึ้นมาใหไดพบเห็น ปจจุบันนี้เฟอรนิเจอรที่ทําจากไมมะคาทั้งชิ้นแทบจะไมมีแลว แตจะมีการใชไมอยางอื่น เชน นนทรี ประดู ชิง ชั น ประกอบเข า ไปแทน โดยช า งผูชํา นาญการจะทํา การเลี ย นแบบ ตกแตง ทาสีใ ห เหมือนกับไมมะคาแทเลยทีเดียว ลูกคารายใดที่ไมรูจักไมก็จะไมรูเลยวาเปนของปลอมปน นอกจากนี้ยังมี การวาดลายไม วาดวงป ตกแตงขึ้นมาอีกดวย ถาชางมีฝมือลูกคาก็จะดูไมออก ถาชางไมมีฝมือ ลายไม จะหยาบ เสนแข็ง สามารถมองออกได เพราะฉะนั้นลูกคาตองมีประสบการณในการดูไมและใชวิจารณญาณในการเลือกซื้อ จึงจะไดของแทและแนนอน สวนที่เหลือเขามาเปนลูกจาง นอกจากนี้ยังมีชนกลุมนอยที่มาจากจังหวัดสุรินทรและศรีสะเกษ จํานวน ๕ ครอบครัว ที่เขามาอาศัยโดยประกอบอาชีพเกษตรกรรมและรับจางทั่วไป ภาคใตที่เขามาอาศัยในหมูบานสวนสมคือตนตระกูลรุดดิษฐ (นายโชติ รุดดิษฐ) ไดเขามาทํามา หากินดวยการประกอบอาชีพเกษตรกรรม ทั้งพืชสวนพืชไร จําพวกขาวโพด มันสําปะหลัง มะมวง ลําไย ทุเรียน เงาะ ลิ้นจี่ ซึ่งคนแตละกลุมจะพูดภาษาถิ่นของตนเอง และมีความรักใครสามัคคีกลมเกลียวกัน ภายในกลุมอยางเหนียวแนน คนแตละกลุมที่กลาวถึงนี้มีความสัมพันธดวยการทํากิจกรรมรวมกัน มีการชวยเหลือซึ่งกันและ กันในการประกอบอาชี พ รวมสืบ สานประเพณีและวัฒนธรรมอันดีง าม เพราะพื้นฐานที่เป นคนไทย เหมือนกัน และนับถือพระพุทธศาสนาเชนเดียวกัน ถึงแมวาจะมาจากตางที่ตางถิ่น แตก็รูจักสนิทสนมกัน ดี บางคนถึงกับนับถือกันดุจญาติพี่นอง และกลายเปนเพื่อนสนิทกันก็มี แตก็มีสวนนอยที่ไมคอยจะลง
รอยกัน เพราะการขัดแยงกันในเรื่องผลประโยชน คนพวกนี้สวนใหญจะเปนระดับผูนําในทองถิ่นของทั้ง สองหมูมากกวาที่พยายามยื้อแยงงบประมาณในการพัฒนาหมูของตน นายเชวงศัก ดิ์ จั กษุ นิล นายวิ โ รจน สายแวว นายชั ยวั ฒน บุญ เกิ ด นางสาวเจี๊ย บ ลอยพู น นางสาวอิชยา รุดดิษฐ และนางพัชรี สีลาพร ซึ่งเปนกลุมวัยรุนของหมูบานที่เกิดและเติบโตมาตั้งแตเด็กได ใหความคิดเห็นวา หมูบานนี้เปนหมูบานที่นาอยูอาศัย มีสิ่งอํานวยความสะดวกครบครัน แตไมมีสถานที่ ทองเที่ยวที่เหมาะกับวัยของตนเอง แตอยางไรตนก็รักทองถิ่นนี้ เรื่องการอพยพโยกยายก็ปลอยไปตาม ความคิดเห็นของบิดามารดา ถาบิดามารดาตองยายถิ่นฐานที่อยู ตนเองก็ตองติดตามไปดวย สวนนางพัช รี สีลาพร บอกวาตนเองมีครอบครัวและบุตรแลว คงจะตองอยูกับสามี ถาครอบครัวสามีทําการโยกยาย ไปไหนก็ตองติดตามไปดวย แตถาสามีและตนเองมีชองทางทํามาหากินไดดวยตนเองก็จะอยูตอไป จากการสอบถามนายสาทร คํารอต นายเอก สงวนนาม นายเรวัติ สุอุทัย นางสาวฤทัยรัตน สุ อุทัย และนางสาวหนึ่งฤทัย วรรณคํา บอกวาหมูบานสวนสมเปนหมูบานที่จําเปนตองอยูอยางหลีกเลี่ยง ไมได เพราะติดตามผูปกครองมา บางครั้งก็เกิดความรูสึกคิดถึงถิ่นฐานบานเกิดเดิมบางเหมือนกัน แตถา ถามวารักและผูกพันหมูบานสวนสมบางไหม วัยรุนกลุมนี้ตอบวาไมไดรูสึกรักและก็ไมไดเกลียด แตมี บางอยางบางสวนที่ตนไมชอบ เชน ไมมีที่พักผอนหยอนใจ เสียงดัง แออัดยัดเยียด สกปรก ไมมีสถานที่ เที่ยวแบบในเมือง แตก็อยูไดโดยไมเดือดรอนอะไรมากนัก ประวัติความเปนมาของหมูบาน จากขอมูลที่ไดรับฟงจากคําบอกเลาของนายสุชิน รุดดิษฐ และนายดี ทองดี เกี่ยวกับเรื่องราวในอดีต ทําใหสามารถทราบไดถึงที่มาและประวัติของหมูบานสวนสม ได กลาวคือ ป พ.ศ. ๒๕๑๔ ไดมีประชากรชาวอีสานเดินทางเขามาจับจองพื้นที่ปลูกพืชไร เพื่อทํามาหากิน โดยมีบุคคลที่สําคัญและมีฐานะดีที่สุด คือ นายหางสมพงษ ณ บางชาง ชาวจังหวัดชลบุรี ไดเขามาจับ จองเนื้อที่จํานวน ๒๐๐ ไร และทําการเกษตรปลูกพืชสวนจําพวกลิ้นจี่ ลําไย ละมุด พืชที่นายหางปลูกเปน จํานวนมากคือ มะมวง มะนาว และสมโอ ป พ.ศ. ๒๕๑๕-๒๕๑๗ เริ่มมีประชากรอพยพเขามาสูหมูบานเปนจํานวนมากขึ้น ประมาณ ๒๐ หลังคาเรือน โดยปลูกบานเรือนอยูหางไกลกันในบริเวณเนื้อที่สวนตัวที่ตนเองไดจับจองไว ในปลายป พ.ศ. ๒๕๑๗ นายหางสมพงษไดเสียชีวิตลง และกอนที่จะเสียชีวิต นายหางไดมอบที่ดินทั้งหมดที่มีอยูใน หมูบานสวนสมถวายใหกับวัดอางศิลา จังหวัดชลบุรี แตทางวัดอางศิลาไมทราบวาจะใชพื้นที่ดังกลาวไป สรางประโยชนอะไร จึงไดแตเพียงใหมีการสรางสํานักสงฆขึ้นมา ชื่อวาสํานักสงฆคลองแจง ป พ.ศ. ๒๕๑๘ ประเทศกัมพูชาไดเกิดสงครามภายในประเทศ ทําใหประชากรชาวกัมพูช า บางสวนเดือดรอน แตกฉานซานเซ็นอพยพเขามาในหมูบา นเปน จํานวนมาก ผลจากการสูรบกันใน ประเทศกัมพูชาสรางความเดือดรอนและสะเทือนขวัญตอประชากรในหมูบาน พากันกลัวภัยอันตรายจึง ไดอพยพย ายหนีกลับ พื้นเพเดิ ม บางสว นยา ยไปจับ จองพื้น ที่ที่ป ลอดภัยกวา และอีก สว นหนึ่ง ยัง คง ปกหลักอยูที่เดิมไมเคลื่อนยายไปไหน ประชากรชาวกัมพูชาที่อพยพเขามาไดเผาทําลายพืชไรพืชสวนที่มี
อยูทั้ง หมด คงเหลือ เพียงพืช จํา พวกสมโอ มะนาว และมะมว งบางสวนในพื้นที่ของนายหางสมพงษ เทานั้น ในป พ.ศ. ๒๕๒๑ ประเทศกัมพูชาสงบจากสงคราม ประชากรเริ่มเขามาทํามาหากิน ทําการ เพาะปลูกพืชอีกครั้ง โดยเขามาทํางานเฉพาะกลางวันเทานั้น สวนกลางคืนไมมีใครอยูในไรของตัวเอง ใน ชีวิตประจําวันของการเดินทางเขามาสูพื้นที่ที่ถูกเผานี้ จะมีการสนทนาซักถามกันวาไปไหน มาไหน คนที่ เขามาสูพื้นที่ที่ถูกเผาจะตอบเสมอวา “ไปสวนสม” เพราะเนื้อที่ตรงนั้นมีเพียงมะนาว มะมวง และสมโอ เทานั้นที่เหลือจากการถูกเผา คนทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือจะเรียกผลไมที่มีรสเปรี้ยวทั้งหมดวา “สม” หมูบานแหงนี้จึงมีชื่อวา “หมูบานสวนสม” ตั้งแตนั้นเปนตนมา ป พ.ศ. ๒๕๒๑-๒๕๒๒ มีหนว ยงานทหารเขามาดูแลความเปนอยูของชาวบาน มีการเรียก ชาวบานออกมาจากพื้นที่ของตนเอง ใหมาสรางบานเรือนอยูใกลชิดกันรวมเปน หมูบาน รวมได ๔๐ หลังคาเรือ น มีผูนําหมูบานคนแรก คือ นายปน สุอุทัย และเริ่มจัดตั้งโรงเรียนเปนครั้งแรกในบริเวณ กองรอยทหาร โดยมีทหารเปนครูผูสอน จากการบอกเลาของ อบต. สมนึก อิ่มจาด วาในป พ.ศ. ๒๕๒๖ ประชากรในหมูบานมีจํานวน ๑ ,๑๔๘ คน ทางหนวยทหารจึงมีการจัดสรรที่ดินทํากินใหแกชาวบานที่อาศัยอยูในหมูบานสวนสม โดย แบงเปน พื้นที่สําหรับตั้งหมูบานจํานวน ๑๕๐ไร พื้นที่ปลูกบานแตละครอบครัวๆ ละ ๒๐๐ ต า ร า ง ว า พื้นที่ทํากินครอบครัวละ ๑๕ ไร ป พ.ศ. ๒๕๒๗ จึงจัดตั้งขึ้นเปนหมูบานสวนสม มีผูใหญบานชื่อ นายดี ทองดี ขณะนั้นสถานการณชายแดน การสูรบกันในประเทศกัมพูชายังไมสงบดี หนวยทหารจึงใหมีการสรางหลุมหลบภัยขึ้น สําหรับใชหลบลูกปนใหญ ประเทศกัมพูชาก็ยังคงสูรบกันตลอดเวลา ชาวบานตางก็พากันอยูอยางหวาด ผวา แตก็ไมมีอันตรายอะไรเกิดขึ้น