4chaingkong3

Page 1

ความเปนมาของเชียงของยุคแรก: คนดั้งเดิมและการตั้งถิ่นฐาน ในหัวขอนี้จะวาดวยเรื่องกลุมชนดั้งเดิมที่อยูในบริเวณเชียงของ-เวียงแกนและบริเวณลุมน้ําโขง ในภาคเหนือบางกลุม โดยการใชตํานานโบราณ คําบอกเลาในพุทธตํานาน ในอักษรธรรมลานนาจากการ สอบถามคนเฒ า คนแก และใช ตํ า นานเหล า นี้ แ จกแจงที่ ม าของนามบ า นนามเมื อ ง อธิ บ ายถึ ง ความสัมพันธและความสําคัญของลักษณะทางภูมิศาสตรธรรมชาติกับการตั้งถิ่นฐานและการตั้งเมือง ตํานานตํามิละ: ลัวะคนดั้งเดิมในเชียงของ จากหนังสือที่ระลึกงานผาปาสามัคคี “สี่ตระกูล” เนื้อหาในหนังสือสวนหนึ่งเปนบันทึกของขุนภูนภิเลขกิจ (เจาหนานบุษรส จิตตางกูร) เขียนเมื่อ พ.ศ. ๒๔๘๘ กลาวถึงประวัติการสรางเมืองเชียงของ ในบันทึกดังกลาวขุนภูนภิเลขกิจ ไดอางถึงหนังสือ พื้นเมืองเลมหนึ่งที่คัดลอกมาจากหลักศิลาจารึกวัดแกวและไดสูญหายไปจากเชียงของแลวในยุคเจาเชียง ของตนกําเนิดสี่ตระกูล (๒๓๐๕-๒๔๕๗) จากบั น ทึ ก สรุ ป ได ว า เชี ย งของเป น เมื อ งของตํ า มิ ล ะ มี ช าวตํ า มิ ล ะอาศั ย อยู ตั้ ง แต ใ นช ว ง พระพุทธเจาเลียบโลกพรอมพระอานนท และทานไดเสด็จมาถึงดอยลูกหนึ่ง ซึ่งอยูทางฝงซายของขรนัทที (แมน้ําของ / แมน้ําโขง) ใกลกับเมืองเมิงของลาว เรียกวา “ผาตูบ” (ผากระทอม) แลวประทับรอยพระบาท ไวที่ผาแหงนี้ จากนั้นเสด็จขามแมน้ําโขงมาทางทิศตะวันตกเฉียงใต ของผาตูบนั้น อันเปนที่อยูของชาวตํา มิละ พระพุทธองคทรงสรงน้ํา แลวมาประทับบนกอนศิลาคลายชาง (นาจะชื่อ “ผาชางมูบ”) อยูในลําน้ํา โขง ในการเสด็จครั้งนั้นหัวหนากลุมตํามิละไดพาพรรคพวกมาเฝาพระพุทธเจา แลวเลาความเปนอยู ของพวกเขาวามีอาชีพคาขาย ลาเนื้อ หาปลา (อาชีพนายพรานและเก็บของปาขาย) นับถือผีสาง เมือ่ พระ พุทธองคทรงสดับแลว ทรงมีพระเมตตาเทศนาธรรม ใหกลุมตํามิละถือ ศีลหา เลิกเลี้ย งผี ใหยึดพระ รั ต นตรั ย เป น ที่ พึ่ ง พวกตํ า มิ ล ะ ก็ เ กิ ด ศรั ท ธาในพระพุ ท ธศาสนาด ว ยใจจริ ง หั น มายอมรั บ นั บ ถื อ พระพุทธศาสนา ตํานานพระเจาเลียบโลกนี้ เปนตํานานที่พบทั่วไปในภาคเหนือ ในตํานานของลานนา เชน ตํานานสุวรรณคําแดง , ตํานานเชียงแสน ไดกลาวถึงการเคลื่อนตัว ลงมาของกลุมคนไทย 1 เขาใจวามาจากบริเวณตอนใตของจีน กลุมคนไทยคอย ๆ เคลื่อนตัวกันลงมา ซึ่งไมใชการอพยพอยางใหญโต การลงมาก็เพื่อหาที่ทํากินที่อุดมสมบูรณ กลุมคนไทยไดเขามาตั้งถิ่น ฐานอยูในเขตที่ราบลุมน้ําปงและที่ราบลุมน้ํากก การเขามาของกลุมคนไทยคงเขามาเปนกลุมเล็ก ๆ โดย มีผูน้ําเปน “เจาชาย“ นําบริวารลงมา ดังจะพบวา ตํานานเรียกผูนําวาเจาชายสิงหนวัติ , เจาสุวรรณคํา แดง คนไทยซึ่งเปนคนกลุมเล็กไดสรางบานแปลงเมืองในที่ลุม มีวัฒนธรรมการทํานาดําและรูจักการทํา เหมืองฝาย และที่สําคัญคือ กลุมคนไทยอยูปะปนกับชาวพื้นเมือง ตํานานสุวรรณคําแดงไดกลาวถึงเจา สุวรรณคําแดง มีชายาเปนชาวพื้นเมืองซึ่งมีระดับวัฒนธรรมต่ํากวา ทั้งยังอธิบายการแลกเปลี่ยนทาง วัฒนธรรมระหวางกลุมคนไทยและชาวลัวะ ซึ่งเปนคนพื้นเมือง ในตํานานเชียงแสนกลาววาเจาสิงหนวัติ เปนราชบุตรกษัตริยฮอ ทําใหเขาใจวา คนไทยกลุมนี้อาจจะมาจากเมืองใดเมืองหนึ่ง ในยูนนาน เมื่อ 1

สรัสวดี อองสกุล. ประวัติศาสตรลานนา, ภาควิชาประวัติศาสตร คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม, พิมพครั้งที่ ๒, ๒๕๓๙, หนา ๓๕.


พิจารณาเสนทางการเคลื่อนยายแลวพบวาไดขามน้ําคงลงมาในแนวตะวันออกเฉียงใต ซึ่งทําใหดู เหมือนเปนกลุมไทใหญไปได ตํานานอาจบอกตําแหนงคลาดเคลื่อนไปก็ได แตแกนของเรื่องคือพยายาม ชี้วามีคนไทยเคลื่อนยายเขามาในแองเชียงราย กลุมคนไทยไดมาสรางเวียงโยนกหรือตอมาเรียกเวียง หนอง และตอมาไดแตกตัวสรางเวียงขึ้นอีก เชน เวียงพางคํา เวียงไชยนารายณ ผูนําคนไทยไดมีอํานาจ เหนือหัวหนาของชาวพื้นเมือง ดังตํานานกลาววา “...ทานก็มีอาญาใชไปเรียกรองเอาขุนหลวงมิลักขุ ทั้งหลาย ใหเขามาสูสมภารแหงตนเสี้ยงแล..” หัวหนาของชาวพื้นเมือง “ลัวะ” ยังไดรับมอบอํานาจใหทํา หนาที่ดูแลชุมชนระดับเล็ก ความสัมพันธระหวางกลุมคนไทยซึ่งมีจํานวนนอยกับชาวพื้นเมืองคงราบรื่น พอสมควร เพราะเทาที่ทราบตํานานในลานนา เชน ตํานานเชียงแสน ตํานานสุวรรณคําแดง ตํานานเมือง พะเยาฉบับหอสมุดแหงชาติ อธิบายการชวยเหลือเกื้อกูลกันอยางดีระหวางคนไทยกับลัวะ ตํานานเชียง แสนยังกลาวในภายหลังถึงเจาไทยเชื้อสายสิงหนวัติมีชายาเปนชาวพื้นเมือง ในตํานานพื้นเมืองเชียงแสน 2 กลาววาบานเมืองเชียงตุงเปนที่อยูของชาวลัวะมากอนที่พญามัง รายจะเขาไปสํารวจและสรางเมืองเชียงตุง นอกจากนี้ในยุคสมัยของพญาแสนพู ราชบุตรเจาพญามัง คราม ซึ่งไดสรางวัดปาสักเชียงแสนไดกลาวถึงการที่พวกลัวะมาเปนแรงงานทานใหแกวัดปาสัก หลังจาก สรางวัดแลวสราง เวียงเชียงแสนใหม โดยมีพญาลวะมิลักขุซึ่งเปนใหญในเขตแดนภูดอยมาสงสวยดวย เห็นไดวา ลัวะเคยอาศัยอยูในเขตนี้มากอน และนาจะเคยมีแวนแควนของตนเอง แตในชวงการเขามาของ กลุมชาติพันธุใหมจากยูนนานจึงทําใหพวกลัวะกลายเปนชนชั้นสวนนอยในภูดอยที่ถูกปกครอง ชาวลัวะเปนชนเผาที่อาศัยหาของปา ลาสัตว ไมรูจักวิธีการเพาะปลูกพืชพันธุเอง และบางสวน อาจผสมผสานกับกลุมชนที่เคลื่อนยายมาอยูใหมจนเปนเมืองขึ้นมา และเขาใจวา การเกิดของเมืองเชียง ของเกาหรือบานตํามิละหรือเมืองฮอยเตานาจะเปนไปในเคานี้ ประวัติศาสตรของเชียงของตอจากนี้ไปก็รวบรวมไดจากเอกสารทางประวัติศาสตรที่เปนอันหนึ่ง อันเดียวกับตํานานในดินแดนลานนาทั้งหลาย อาทิ ตํานานพื้นเมืองเชียงแสน พงศาวดารโยนก ประชุม ตํานานลานนาไทย ซึ่งจะมีก็แตการกลาวถึงเมืองที่สรางขึ้นใหมนั้น สรางบริเวณเมืองรางตํามิละ คือ เมืองรอยเตา (ฮอยเตา) เมืองฮอยเตา: อดีตเมืองเชียงของ ในตํานานพื้นเมืองเลาวา ตอมาบานเมืองตํามิละก็ กลายเปนเมืองราง จะดวยสาเหตุใดไมทราบได พวกตํามิละหายไปจากประวัติศาสตรเชียงของ ความ เปนมาของเชียงของก็ขาดชวงไปเชนเดียวกับดินแดนในลานนาอื่นๆ ตํานานพื้นเมือง3 ไดกลาวถึง สมัยที่เมืองเชียงแสนเปนเมืองหลวงของเมืองตางๆ ทางเหนือของ ประเทศไทยปจจุบัน และมีอาณาเขตติดตอสัมพันธถึงตอนใตของจีน มีพระเจาแผนดินหรือพญาปกครอง อยู วันหนึ่ง ชางของพญาเชียงแสนแตกปลอกและตกมัน ควาญชางไดติดตามรอยชาง ก็มาพบชางที่ปา บานรางตํามิละ ซึ่งที่ปามีเตามากมาย นายชางจึงจับเอาเตามารอยเปนพวง บรรทุกหลังชางไปเชียงแสน พญาเชียงแสนถามนายชางวาไปพบชางที่ไหน นายชางไมรูวาจะตอบอยางไร เพราะไมรูวาบริเวณนั้น 2 3

สรัสวดี อองสกุล : ปริวรรต ตรวจสอบและวิเคราะห, นิธิ เอียวศรีวงศ : บรรณาธิการ, กรุงเทพฯ : อมรินทร, ๒๕๔๖ ขุนภูนภิเลขกิจ, อางแลว, หนา ๔.


เรียกวาอยางไร นายชางนึกถึงปาที่มีเตาและตนไดรอยเตาเอามาดวย นายชางจึงตอบวา พบที่ “ปารอย เตา” กรณีนี้ นักศึกษาประวัติศาสตร จึงมักเรียกเมืองเชียงของในอดีตวา เมืองรอยเตา จากพงศาวดารโยนกและตํานานเชียงแสน กลาววา เมื่อพบชางแลว ควาญชางก็กลับไปกราบ ทูลเหตุการณทั้งปวง พญาลาวจกราช จึงใหสรางเมือง ณ ที่พบรอยชางใหญนั้นใหชื่อวา เวียงชางรอย (เวียงจางฮอย) นานมาจึงกลายเปน เวียงเชียงราย (เวียงเจียงฮาย) และที่ตําบลบานรอยเตานั้นภายหลัง มาก็เปนเชียงของ (เจียงของ) ที่ตั้งของเมืองเกา เมืองเชียงของเปนเมืองที่ตั้งขึ้นมานานมีหลักฐานไดไมแนชัดวา สรางใน สมัยใด ตัวเมืองเดิมและบานเมืองในปจจุบันนี้ตั้งอยูบริเวณเดียวกัน ตัวเมืองมีความยาวจากเหนือไปใต ยาวประมาณ ๕๐๐ วา บนฝงแมน้ําโขง ความกวางของเมืองประมาณ ๓๐๐ วาจากแมน้ําโขงตะวันออก ไปทางตะวันตก มีกําแพงลอมรอบสามดาน คือ ดานเหนือ ดานใต และดานตะวันตก สวนดานตะวันออก ถือเอาแมน้ําโขงเปนคันคูเมือง กําแพงเมืองดานเหนือและดานใตมีกําแพงเมือง ๒ ชั้น คูเมือง ๒ ชั้น ระหวางกําแพงและคูเมือง ชั้นในกับชั้นนอกมีระยะหางกันประมาณ ๑๐๐ เมตร คูเมืองกวางประมาณ ๔๐ เมตร ลักษณะกําแพง เมืองทุกดานถมดินขึ้นสูงประมาณ ๔ เมตร แลวกอกําแพงดวยอิฐมีใบเสมาพรอม ปจจุบันกําแพงที่กอ ดวยอิฐไดพังทลายไปหมดเหลือเพียงซากอิฐกระจัดกระจายอยูเทานั้น จึงเหลืออยูแตเพียงคันดิน สวน กําแพงดานตะวันตกมีกําแพงและคูเมืองชั้นใน ๑ ชั้น ชั้นนอกถือเอาลําหวยน้ําสมเปนคูเมืองชั้นนอก

ตัวกําแพงเมืองทั้งสามดานมีประตู ๖ ประตู ดานใตมี ๒ ประตู คือ ประตูชัย อีกประตูหนึ่งไม ทราบชื่อ วัดที่อยูใกล ๆ จึงมีชื่อวาวัดชัย หรือวัดศรีดอนชัย ดานตะวันตกมี ๒ ประตู คือ ประตูเสือ และ ประตูเวียงหวาก ดานเหนือมีอีก ๒ ประตู แตไมทราบชื่อ ภายในตัวเมือง มี ๓ หมูบาน คือ บานเวียงแกว


บานวัดหลวง และบานศรีดอนชัย นอกกําแพงเมืองดานเหนือเปนบานหัวเวียง และดานใตเปนบานสบสม บานหาดไครและบานโจโก สถานะของเมืองเชียงของเปนเมืองหนาดานดานตะวันออกและดานใตของเมืองเชียงแสน ดังนั้น เจาผูครองเมืองนครหิรัญเงินยาง เมืองเชียงราย และเมืองเชียงใหมจึงสงพระญาติมาปกครอง อยางตอเนื่อง นอกจากเมืองเชียงของแลวยังมีเมืองคูกับเมืองเชียงของอีก คือเมืองผาแดง ตั้งอยูบนฝงแมน้ํา โขง หางจากเมืองเชียงของไปทางทิศใตประมาณ ๑๐ กิโลเมตร ปจจุบันตัวเมืองสวนใหญถูกน้ํากัดเซาะ พังลงไปในน้ําโขงประมาณสามสวนยังคงเหลืออยูประมาณ ๑ สวน ดานตะวันตกของเมืองยังมีแนวคู เมืองปรากฏใหเห็นเปนบางแหง ในตัวเมืองจะเปนที่ตั้งของหมูบานดอนมหาวันในปจจุบัน นอกจากทั้ง ๒ เมืองดังที่กลาวมาแลวนั้น ยังมีเมืองที่เปนเมืองหนาดานของเมืองเชียงของอีก ๔ เมือง ไดแก (๑) เมืองกาน จากเมืองเชียงของขึ้นไปทางตะวันตกเฉียงเหนือประมาณ ๒๐ กิโลเมตรมี เมืองเกาแหงหนึ่ง ตั้งอยูบนฝงแมน้ําโขง ขณะนี้พอจะสังเกตเห็นแนวคูเมืองเปนบางแหงเทานั้น เวลานี้ บริเวณเมืองกานเดิม เปนหมูบานเมืองกาญจน ตําบลริมโขง อําเภอเชียงของ (๒) เมืองเวียงแกน อยู ในทองที่บานมวง ตําบลมวงยาย อําเภอเวียงแกน หางจากเมืองเชียงของไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต ประมาณ ๔๕ กิโลเมตร เมืองรางแหงนี้กลางเมืองคอนไปทางดานตะวันตกเปนเนินสูง มองเห็นภูมิ ประเทศไกลออกไป บริเวณเมืองมีพื้นที่ประมาณ ๓๐๐ ไร มีคูเมืองลอมรอบ มีวัดรางอยูในตัวเมือง และรอบเมืองดานนอก ประมาณ ๑๐ วัด มีประตูเมือง ๔ ทิศ ๔ ประตู ปจจุบันเปนบริเวณที่มีปาไมอุดม สมบูรณมาก (๓) ดงเวียง หางจากเมืองเชียงของไปทางทิศตะวันตกเฉียงใตประมาณ ๑๐ กิโลเมตรมี พื้นที่ประมาณ ๓๐๐ ไร มีคูเมืองรอบทุกดาน มีวัดรางหลายแหง สภาพเดิมเปนปาดงดิบ ปจจุบันชาวบาน แผวถางทําเปนไรสวนจนไมมีสภาพปาเหลืออยูเลย เมืองเกาแหงนี้ไมปรากฏชื่อ แตชาวบานเรียกวา ดง เวียง ทางอําเภอขึ้นทะเบียนเปนโบราณสถานไวแลว อยูในบานน้ํามา ตําบลสถาน (๔) เวียงหวาย หาง จากเมืองเชียงของไปทางทิศตะวันตกเฉียงใตประมาณ ๒๐ กิโลเมตร จะมีเมืองเกาตั้งอยูบนเนินเขา ใน เขตบานหวาย ตําบลศรีดอนชัย มีพื้นที่บริเวณ ๒๐๐ ไรเศษ มีคูเมืองลอมรอบ ๒ ชั้น ในบริเวณเมืองมีวัด รางหลายแหง ชาวบานที่เขาไปทําสวนเคยขุดพบพระพุทธรูปบูชาจํานวนมาก เมืองนี้ชื่อวา เมืองเวียง หวาย หลักฐานตาง ๆ เหลานี้ แมผูศึกษาคนควาจะไมระบุอายุของของเมืองหรือยังไมสามารถระบุอายุ ของเมืองได แตก็เปนการสะทอนถึงรองรอยของการอยูอาศัยของผูคนที่มีมาชานานในแถบนี้ และยังบอก ไวสอดคลองกับตํานานพื้นถิ่น ซึ่งมีสํานวนยอยๆ อีกมากมายในเชียงของ ที่ลวนสื่อใหเห็นที่มาของชื่อ บา นนามเมือ ง โดยส ว นใหญจ ะเกี่ ย วขอ งกับ เรื่ อ งเหนื อ จริ ง เรื่ อ งพุ ท ธทํ า นายและเกี่ ย วกั บ ลั ก ษณะ ทรัพยากรธรรมชาติของแตละชุมชนของคนลุมน้ําโขง เชน ตํานานเรื่องปูระหึ่งเปนอีกตํานานหนึ่งที่ระบุวา ชื่อ “เมืองกาน” ซึ่งเปนชื่อเดิมของบานเมืองกาญจน ตําบลริมโขงในปจจุบันนั้นหมายถึง ไมคาน (กาน) ปูระหึ่ง: บรรพบุรุษรางใหญของคนลุมน้ําโขง คนเชียงของเลากันวา บรรพบุรุษของคนลุม น้ําโขงเปนปูระหึ่งซึ่งมีรางใหญ ภูดอยตาง ๆ ในเขตสองฝงน้ําโขงเปนเพียงแคกอนดินจากการไถแปรของ


ปูร ะหึ่ ง เห็ น ได ว า ตํ า นานในลั ก ษณะนี้ มีอ ยู ม ากมายในทุ ก พื้น ถิ่น เป น ตํ า นานที่ รอ ยเอาสถานที่ ท าง ธรรมชาติของทองถิ่นมาผูกเปนโครงเรื่อง มีเรื่องเลาวาวันหนึ่งปูระหึ่งหาบถานไปทางเหนือเมืองเชียงของ โดยใชไมคาน (ภาษาพื้นถิ่น ออกเสียงวา “ไมกาน”) หาบถานซึ่งอยูในตะกราหรือกวยไปจนถึงเหนือ ผากันตุงแลวไมคานหัก สวนของ ไมคานที่หักเรียกวาบานเมืองกานที่อยูริมฝงโขงมาจนปจจุบัน สวนของถานกอนหนึ่งตกอยูใกลบานเมือง กาน เรียกวา ผาถานหลวง อีกอันหนึ่งมาตกอยูที่ผาถานริมทาวัดหลวงในปจจุบัน กลุมชาติพันธุที่อาศัยอยูในพื้นที่ราบและชายฝงแมน้ําโขง อิง งาว คือกลุมคนยวน คนลื้อ คน ลาว โดยเฉพาะกลุมคนลาวบานหวยลึก ซึ่งอยูในเขตชายแดนลึกสุดของน้ําโขงและสันปนน้ําที่ผาได มี ตํานานซึ่งบอกเลาความสัมพันธระหวางคนลานนาและลานชางไดดี บานหวยลึก แตเดิมนั้นมีชื่อเรียก เปนภาษาที่คนในหมูบานใชกันวา “ฮองเลิ๊ก” ดวยสภาพลําหวยขางหมูบานที่ลึกมาก จึงเปนที่มาของชื่อ หมูบานคําวา “ฮอง” หมายถึงรองน้ํา ทางเดินของน้ําที่มีขนาดเล็กกวาลําหวย สวนคําวา “เลิ๊ก” หมายถึง ลึก ดังนั้นสองคํารวมกันจึงมีความหมายวา รองน้ําที่มีความลึกมาก แตผูคนในชุมชนใกลเคียงซึ่งเปนคน เหนือหรือเปนชาวไทยวน เรียกวา หวยเลิ๊ก ซึ่งก็เรียกกันมาจนเปนที่ยอมรับในเวลาตอมา และเปลี่ยนเปน หวยลึก ตามการตั้งชื่อหมูบานของราชการจนถึงปจจุบัน คนบานหวยลึกอพยพมาจากฝงลาวและเดินทางขามไปมาระหวางสองฝงโขงเพื่อการทํามาหา กินและไปมาหาสูพี่นอง บานหวยลึกอยูใกลผาไดในปจจุบัน ชาวบานเลาใหฟงวา คําวาผาได มาจาก ลักษณะของโขดหินริมตลิ่งดานฝงไทยเมื่อถึงฤดูแลง น้ําโขงลดลง เกาะแกงโขดหินจะโผลพนน้ํา แกงหิน บริเวณนี้จะมีลักษณะเหมือนขั้นบันได จึงไดชื่อวา แกงผาได สวนที่มาของชื่อเรียกตาง ๆ ของเกาะแกงแมน้ําโขงในเขตเชียงของตั้งแตบริเวณบานหาดบาย จนถึงผาไดจุดสุดทายที่แมน้ําโขงอยูในภาคเหนือตอนบนของไทย มีเกาะแกงกวา ๖๐ แกง มีชื่อและ เรื่องราวเปนเฉพาะแหลงไปตามตํานาน รูปรางลักษณะของเกาะแกงเหลานั้น เชน คอนผีหลงเปนบริเวณที่อยูระหวางบานดอนที่ บานผากุบ บานเมืองกาญจน ตําบลริมโขง อําเภอเชียงของ จังหวัดเชียงรายมีความยาวตามลําน้ําโขงประมาณ ๑๐ กิโลเมตร มีแกงหินนอยใหญที่ ตั้งอยูอยางสลับซับซอนงดงามมาก น้ําในลําน้ําโขงไหลผานมาทําใหเกิดชอง รองน้ํา ซึ่งเรียกวา คอน คอนผีหลง หมายถึง รองน้ําที่มีผีหลง ผีในที่นี้หมายถึง คนตายหรือศพมาติดคางอยูคอนนี้ ชุมชนริมฝง แมน้ําโขงบางกลุมเรียกคอนผีหลงวา แสนผี สาเหตุที่เรียกเกาะ แกงหิน บริเวณนี้เปนคอนผีหลง หรือแสน ผี เมื่อศพลอยพัดหลงเขามาถึงบริเวณที่มีแกงหินสลับซับซอนของคอนผีหลง แรงปะทะของน้ําโขงกับแกง หิน ทําใหแพพลิกคว่ํา ศพคนตายก็มาติดตรงแกง หาด ดอนบาง ตรงน้ําวังวนบาง จนเรียกกันติดปากวา เปนคอนผีหลง คือ ชองน้ําที่ผีมาหลงวนอยูตรงนี้ ชาวบานผากุบฝงไทย เลาวา หลายครั้งที่คนหาปลาเห็น แพลอยมา มีเครื่องใชไมสอย ที่นอนหมอนมุงครบถวนลอยมาดวย คนหาปลาบางคนไปเก็บมาใชบางก็มี ขณะเดียวกัน ชุมชนไทยริมฝงโขงเรียกชื่อกลุมแกงหินเหลานี้ตางออกไป โดยเรียกตามความเชื่อ รูปรางและลักษณะบางอยางของหาด ดอน แกงหิน และผาหิน คือ


ดอนสะเล็ ง เปน ดอนทรายกลางลํ า น้ํ า โขง มี ก ลุ ม หิ น ใต น้ํ า รายรอบ ผิ ว น้ํ า ที่ไ หลผ า นจะไม ราบเรียบ แตเปนคลื่นหรือสะเล็ง เรือที่ผานชวงนี้จะเจอกับคลื่นและกระแสน้ําแรงมาก ดอนรองไก คือ บริเวณหนึ่งที่รองน้ําผานตรงกลางดอน เปนถิ่นกําเนิดของไก สาหรายน้ําจืด รองก็คือรองน้ํา ผาหลัก แกง หินที่มีลักษณะคลายหลักหรือเสาหินปกกลางน้ํา ผาฟอง เปนบริเวณที่มีแกงหินใตน้ําจํานวนมาก เมื่อ กระแสน้ําไหลผานจะเกิดฟองอากาศตลอดเวลาเทากับการเติมออกซิเจนในน้ํา ใหสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยูใน นั้น ผาฟาเปนแกงหินที่มีขนาดใหญที่สุดในบริเวณคอนผีหลง ตรงปลายยอดตั้งตระหงาน น้ําทวมไมถึง ซึ่งชาวบานเชื่อกันวาเปนที่สิงสถิตของเหลานางฟา หาดฮาย ฮายแปลวา รายหรืออันตรายเปนบริเวณทีม่ ี แกงหินจํานวนมาก น้ําเชี่ยวและรุนแรงตองระมัดระวังในการเดินเรือ ผาชาง เมื่อมองจากกลางลําน้ําโขง มายังฝงไทยจะมองเห็นแกงหินมีรูปรางคลายชางหันหนาเขาหาฝงบรรทุกสัมภาระไวบนหลัง ผาเสือ มี ลักษณะคลายเสืออยูฝงตรงขามกับผาชาง (ปจจุบันหัวเสือไดหักลง เนื่องจากการระเบิดหิน เพื่อสราง ถนนในฝงลาว) ผาชางและผาเสือเปนสัญลักษณทางธรรมชาติท่ีชวยคาดการณวา เมื่อใดที่ระดับน้ําขึ้น สูงถึงปากชางคางเสือ ไมควรเดินเรือ เพราะระดับน้ําที่สูงและเชี่ยวจะเกิดอันตรายถึงชีวิต ผาพระ ตํานาน เลาวา สมัยโบราณ เจาองคหนึ่งจากหลวงพระบางลองเรือผานผานี้เกิดอุบัติเหตุเรือลมทําใหลูกชาย เสียชีวิตจึงไดสลักรูปพระไวบนหนาผาเพื่ออุทิศใหผูตาย ปจจุบันชุมชนทั้งสองฝงใหความเคารพ เปน สถานที่ทําพิธีทางศาสนารวมกันชวงเทศกาลสงกรานต ผากันตุง กันตุงคือ คันธง แกงหินสูงมีลักษณะ คลายแทนหินปกธงชัยหรือตุง เปนตน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.