4pattanee3

Page 1

ประวัติความเปนมาและสภาพทั่วไปของหมูบานดาโตะและภูมี สภาพภูมิศาสตรและลักษณะโดยทั่วไปของบานดาโตะ หมูบานดาโตะอยูในพื้นที่หมู ๔ ของตําบลแหลมโพธิ์ อําเภอยะหริ่ง จังหวัดปตตานี ซึ่งเปนพื้นที่ ของหมูบานดาโตะแตเดิม หมูบานดาโตะตั้งอยูฝงตรงขามของเมืองปตตานีไปทางทิศเหนือ สภาพพื้นที่ เปนสันทรายที่ราบริมอาว พื้นดินเปนทรายลวนและเปนแหลมยื่นไปในทะเล หมูบานจึงติดทะเลสองฝง คือ ฝงอาวปตตานี และฝงอาวไทย ลอมรอบไปดวยปาชายเลนและหาดทรายขาว พื้นที่ของแหลมแตเดิม มี ค วามกว า งของพื้ น ที่ ป ระมาณ ๑ กิ โ ลเมตร แหลมงอกแห ง นี้ ชื่ อ ว า ฮู ย งตั น หยง (Hujungtanjong) ชาวบานนิยมเรียกสั้นๆ วายูตันหยง (Jutanjong) แปลวาปลายแหลม แตกระแสลมและน้ําไดพัดพาทราย มาทับถมทําใหแหลมงอกออกไปทางทิศตะวันตกเรื่อยๆ จนถึงปจจุบันแหลมดังกลาวไดงอกไปจากเดิม กวา ๑๐ กิโลเมตร จนกลายเปนแหลมตาชีในปจจุบัน

บานดาโตะ

บานภูมี

แผนที่ปตตานี แสดงที่ตั้งหมูบานดาโตะและภูมี

ทิศเหนือและทิศตะวันออก เปนหาดทรายขาวตลอดแนว ติดตอกับเขตหมูบานตะโละกาโปร โดยริมหาดทรายขาวเปนเสนทางคมนาคมทางบกสายหลักของชุมชน ๓ แหงในบริเวณนี้ คือ บานบุดี ตะโละสมิ แล ดาโต ะ ใชสําหรับติดตอกับ ชุมชนภายนอก ในบริเวณหาดทรายนี้เปนที่ทําประมงของ ชาวบานบางสวน ซึ่งปจจุบนั น้ําทะเลไดกัดเซาะหาดทรายจนกระทั่งเกือบถึงถนน เนื่องจากระดับน้ําทะเล ที่สูง กระแสลมและภาวะมรสุมของฤดูฝน ทั้งนี้ทางราชการไดเขามาชวยเหลือโดยการถมหินเปนสันเขื่อน ขางหาดําใหปญหาน้ําทะเลกัดเซาะถนนลดลง


ทิศตะวันตก เปนสวนของพื้นที่ที่งอกใหม ในอดีตนั้นหมูบานดาโตะเปนหมูบานที่ตั้งอยูอยาง โดดเดี่ยวสุดปลายแหลม แตในปจจุบันบนแผนดินที่งอกใหมไปกวา ๑๐ กิโลเมตร เปนที่ตั้งของหมูบาน ตะโละสมิแล และบานบูดีจนกระทั่งไปสิ้นสุดที่แหลมตาชีที่ย่นื ลงไปในอาวไทย ทิศใต มีอาณาบริเวณติดตอกับอาวปตตานี สภาพพื้นที่ทางดานนี้เปนปาชายเลน ตรงขามกับ บานบางปู ตันหยงลูโละ กรือเซะ บานา ปาเระ บานดี และบานอื่นๆ ถาหากยืนอยูริมฝงทะเลในหมูบาน จะสามารถมองเห็นหมูบานฝงตรงขามได ในอดีตทะเลฝงนี้มคี วามสําคัญอยางยิ่ง สําหรับชาวบานดาโตะ จะใชทะเลฝงนี้เปนเสนทางสัญจรติดตอกับชุมชนอื่นๆ และดวยบานดาโตะเปนหมูบานที่ผูคนจากชุมชน อื่น นิย มมาฝง ศพ ดว ยความเชื่ อ ว า การฝ ง ศพในบริเ วณเดี ย วกับ สุ สานดาโตะป น ยั ง จะเปน สิริมงคล ประกอบกับสภาพของพื้นที่เหมาะแกการฝงศพ คือเปนดินทรายลวน ไมมีดินเหนียวปะปน เสนทางสัญจร ทางน้ําจึงมีความสําคัญมากกับชาวบานแถบนี้ ในอดีตมีลําคลองหลายสาย เชน คลองวอ เปนคลองที่ นิยมนําศพเขามายังสุสาน เนื่องจากเปนคลองที่ใกลกับสุสานมากที่สุด คลองยี คลองบาลี คลองปาเสแน แต คลองปาเสยาโยะ คลองมูโละลูวะ คลองปาปฆือเมาะ คลองปาเระ ที่เปนเสนทางลัดเลาะไปสูยะหริ่ง และชุมชนอื่นภายในแผนดิน รวมถึงชุมชนฝงตรงขามดาโตะดวย แตในปจจุบันคลองเล็กบางคลองไม สามารถเดินเรือผานได เนื่องจากความอุดมสมบูรณของปาชายเลนทําใหตนไมงอกออกมาปดเสนทาง คมนาคมสายเล็กๆ เหลานี้ สําหรับพอคาที่เดินเรือเขามาคาขายยังปตตานีในอดีต ชายทะเลฝงทางอาวดานในของบานดา โตะจะเปนที่จอดเรือของพอคาชาวตางชาติในเวลาที่มีพายุ นอกจากนี้บานดาโตะยังมีความสําคัญจาก การเปนแหลงน้ําจืดขนาดใหญสําหรับชาวเรือทั้งหลาย ชาวเรือจะนําเรือเขาทางคลองปาเระเพื่อบรรทุก น้ําใสเรือออกไป นอกจากนี้หมูบานแหงนี้ยังเปนที่จอดพักของเรือที่ชํารุด ซึ่งคนเฒาคนแกเลาวาสมัยกอน มีเรือลําใหญมาจอดเกยฝงประมาณ ๔-๕ ลํา ปจจุบันทะเลฝงนี้เปนที่ประกอบอาชีพหลักของคนในชุมชน คือทําประมงพื้นบาน และเปนที่ตั้ง บานเรือนริมฝงทะเล ซึ่งบานเรือนฝงนี้ไดเพิ่มจํานวนขึ้นเรื่อยๆ จนกระทั่งกระจุกตัวกันอยูในบริเวณแคบๆ ริมชายฝง สภาพพื้นดินบริเวณนี้จะเปนดินปนทรายเหมาะแกการเพาะปลูกตนไม เชน ทับทิม มะละกอ ขนุน ชมพู และมะมวง พื้นที่โดยรอบของหมูบานดาโตะเปนปาชายเลน โดยมีพื้นที่ทั้งหมด ๓๗๕ ไร มีพรรณไมตางๆ เชน โกงกางใบเล็ก แสมขาว แสมดํา แสมทะเล ลําพูทะเล เปนตน ทั้งนี้เนื่องจากปาชายเลนเปนกลุมของ สังคมพืช ซึ่งสวนใหญจะเปนพวกไมไมผลัดใบที่มีลักษณะทางสรีรวิทยาและการปรับตัวทางโครงสรางที่ คลายคลึงกัน และการขึ้นของพันธุไมจะขึ้นเปนอาณาเขต ตางจากปาบก ดวยหมูบานแหงนี้มีดินดีและน้ํา ทวมถึงตลอดเวลา จึงทําใหปาชายเลนมีความอุดมสมบูรณมาก ปจจุบันในสวนของปาชายเลนไดสูญเสียพื้นที่ปาไปกวา ๑๐๐ ไร เพื่อสรางสถาบันเพาะพันธุ สัตวน้ําชายฝงทะเลของทางราชการ แตถึงกระนั้นสภาพพื้นที่ปาชายเลนก็ยังคงสมบูรณ เพราะกรมปาไม โดยสํา นักงานปาไมเขตปตตานี ไดตระหนักถึง คุณคาและความสําคัญของปาชายเลน จึง ไดรวมกับ ชาวบานดาโตะ ขาราชการ นิสิต นักศึกษาจากมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร เมื่อเดือนพฤษภาคม ๒๕๓๖


ชว ยกันปลูกปาชายเลนในรูปของปาชุมชนขึ้นในบริเวณหมูบานดาโตะ โดยมีวัตถุประสงคเพื่อฟนฟู สภาพแวดลอมและเปนแนวกําบังคลื่นลมในฤดูฝน ซึ่งเปนชวงที่คลื่นลมแรง บริเวณพื้นที่ปาชายเลน ดังกลาวอยูระหวางหมู ๔ บานดาโตะกับหมู ๒ บานตะโละสมิแล เนื้อที่ประมาณ ๓๗๕ ไร เปนแหลงไมใช สอยของชุมชนมาตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน แสดงถึงการ ใชประโยชนปาไมแบบยั่งยืนของชุมชนทั้งสอง หมูบานนี้ และทางราชการไดประกาศเปนปาสงวนแหงชาติปาชายเลนยะหริ่งแปลง ๓ เมื่อ พ.ศ. ๒๕๓๖ ปจจุบันบานดาโตะและบานตะโละสมิแลเปนตัวอยางที่ดีที่แสดงถึงการใชประโยชนทรัพยากรปาไมอยาง ยั่ง ยืนสอดคลองกั บอาชี พหลักของชุมชน ซึ่ง ทํ าการประมงขนาดเล็ก ตอ งการปาชายเลนเปนแหลง สืบพันธุและขยายพันธุสัตวน้ํา รักษาสมดุลธรรมชาติสิ่งแวดลอมชายฝงทะเล

ภาพแผนผังลายเสนหมูบานดาโตะในอดีต ประมาณ พ.ศ. ๒๔๗๔

บานดาโตะไมสามารถทํานาหรือปลูกผลไมบางชนิดไดเพราะพื้นที่เปนดินปนทราย พืชสําคัญที่ พบเห็นไดโดยทั่วไปคือ มะพราว ตนสน พืชประเภทผักหรือสมุนไพรสามารถปลูกไดในพื้นที่บางสวนใน ชุมชน เชน ดอกรัก บูงอบาเกาะ (แพงพวย) แกนตนแสมขาว เปนตน สมุนไพรเหลานี้มีความสําคัญมาก ในอดีต เนื่องจากการติดตอกับชุมชนภายนอกมีความยากลําบากมาก ในยามเจ็บไขไดปวยชาวดาโตะจึง ตองรักษาตนเองดวยสมุนไพรพื้นบานที่มีอยู บานเรือนของชาวบา นดาโตะจะกระจุกตัว กันอยางหนาแนนบริเวณริมอาวดานในฝงทิศใต บานเรือนสวนมากเปนเรือนไมแบบยกพื้น เพื่อปองกันน้ําทวมในฤดูฝน การสรางบานเรือนที่อยูอาศัยสวน หนึ่งจะสรางดวยวัสดุในทองถิ่น บานคนที่มีฐานะจะสรางดวยไมตะเคียน มุงหลังคาดวยกระเบื้อง และฉลุ ไมที่ชายคา สวนคนที่ฐานะปานกลางหรือฐานะไมดีจะใชไมโกงกาง ลําพูน หรือรําแพนซึ่งหาไดในทองถิ่น หลังคามุงจาก ในปจจุบันจะสรางแบบสมัยนิยมคือเปนบานตึก ไมยกพื้นสูง หลังคามุงดวยกระเบื้อง บาง บานปูพื้นดวยกระเบื้องและอาจกั้นรั้วแบงขอบเขต บานเรือนมีขนาดเล็ก เพราะครอบครัวเปนลักษณะ ครอบครัวเดี่ยวที่แยกออกไปจากครอบครัวเดิม ไมนิยมอยูรวมกันเปนครอบครัวขนาดใหญ การสราง บานเรือนจะอยูในพื้นที่ชิดติดกันโดยเวนที่วางระหวางบานแตละหลังนอยมาก ทําใหมีความแออัด บริเวณที่เปนศูนยกลางหมูบานคือมัสยิดดารุลนาอีม ซึ่งเปนสถานที่ประกอบศาสนากิจของคน ในหมูบาน จากลักษณะของมัสยิด มัสยิดแหง นี้นา จะสรา งขึ้นในชวงเวลาเดียวกันหรือใกลเคีย งกับ มัสยิดกรือเซะ นายชางผูกอสรางนาจะเปนคนเดียวกับชางผูสรางมัสยิดกรือเซะ มีเรื่องเลาเกี่ยวกับมัสยิด วา ในอดีตมีตนมะขามปลูกอยูภายในบริเวณมัสยิด ตนมะขามตนนี้มีความแปลก คือฝกมะขามที่ออก จากกิ่งที่ยื่นไปทางทิศเหนือ (ทางกูโบร) จะมีรสเปรีย้ ว สวนฝกมะขามที่ออกจากกิ่งทางทิศใต (ทางมัสยิด)


จะมีรสหวาน มัสยิดแหงนี้เปนศูนยรวมของคนในหมูบานเพื่อประกอบพิธีกรรมตางๆ ทางศาสนา เชน ละหมาด ๕ เวลาในทุกวัน และละหมาดวันศุกร (ญะ-มาอะห) ซึ่งผูชายในหมูบานจะตองมาละหมาด รวมกั น มั ส ยิ ด ยั ง เป น สถานที่ ป ระชุ ม เรื่ อ งการบริ ห ารงานและการเมื อ งภายในหมู บ า น เป น ที่ ประชาสัมพันธขาวตางๆ ของชุมชนดวย นอกจากนี้ในหมูบานยังมีสถานที่สําคัญอีกแหงหนึ่ง คือกุโบรดาโตะปาแญ (ดาโตะปนยัง) ซึ่ง เปนสถานที่ฝงศพดาโตะปาแญ บุคคลซึ่งเปนที่มาของชื่อหมูบาน บริเวณรอบๆ กูโบร (สุสาน) ของโตะ ปาแญเปนกูโบรของชาวมลายูมุสลิม ทั้ง ที่เปนคนในหมูบานและคนจากหมูบา นอื่นโดยรอบ มีพื้นที่ ประมาณ ๑๘ ไร คาดวาเปนกูโบรที่ใหญที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต เหนือหลุมฝงศพจะมีหินปกเพื่อ แสดงจุดศีรษะของศพซึ่งอยูทางทิศเหนือ และปลายเทาจะอยูทางทิศใต หินที่พบเห็นนอกจากจะเปนหิน สีขาวหลายรูปแบบเชน หินกลมเกลี้ยงจากน้ําตก หินกลมปลายมนเหมือนรูปโดม หินรูปปลายโดมตัด ซึ่ง หินสองแบบหลังนี้ชาวบานนิยมเรียก บาตูอาเชะฮ เนื่องจากเปนหินที่มาจากเกาะสุมาตรา ประเทศ อินโดนีเซีย นอกจากหินแลวอาจจะใชวัสดุอยางอื่นเปนเครื่องแสดงจุดของหลุมศพ เชน ไม บางครั้งมีรูป คลายใบเสมา บางครั้งเปนรูปสี่เหลี่ยม บางหลุมศพจะหลอปูนเปนรูปสี่เหลี่ยมผืนผาขนาดเทาศพ (คลาย โลงศพปูนแตไมมีฝาปด) บางศพจะใชวิธีการโบกปูนเหนือหลุมฝงศพ ปจจุบันยังคงมีการฝงศพที่นี่ทั้งคน ในชุมชนเองและคนจากที่อื่น เนื่องจากบานดาโตะตั้งอยูบริเวณชายฝงทะเล ในรอบ ๑ ป บานดาโตะจึงไดรับอิทธิพลจากลม มรสุมตลอดทั้งป ลมตะวันออก (ฆารอ) จะพัดผานชวงเดือนมกราคม-ตนเดือนมีนาคม อิทธิพลของลม ตะวันออก (ฆารอ) จะทําใหคลื่นลมแรง มีฝนตกในบางครั้ง เรือขนาดเล็กจะงดออกหาสัตวน้ําฝงอาวไทย สวนอาวปตตานีจะมีคลื่นเล็กนอยถึงปานกลาง ซึ่งไมเปนอุปสรรคมากนักกับชาวประมงบานดาโตะ รวมถึงชาวประมงที่อาศัยอยูรอบๆ อาวปตตานี ในชวงนี้จะหาสัตวน้ําไดคอนขางดี การจับสัตวน้ําของ ชาวประมงในชวงนี้จะเปนการดักกุง ดักปลา ดักปู เปนตน ถึงแมจ ะมีฝนตกในบางครั้ง แตก็ไมเปน อุปสรรคกับชาวบานที่ประกอบอาชีพทําขาวเกรียบและอาชีพอื่นๆ มากนัก ลมตะวันออกเฉียงใต (สลาแตฆารอ) จะพัดผานชวงเดือนพฤศจิกายน-มกราคม อิทธิพลของ ลมตะวันออกเฉียงใต (สลาแตฆารอ) จะทําใหทะเลฝงอาวไทยมีคลื่นลมแรงถึงปานกลาง อาวปตตานีจะ มีคลื่นเล็กนอย ทําใหมีฝนตกหนักในบางครั้ง แตก็ไมเปนอุปสรรคกับชาวประมงมากนัก การจับสัตวน้ํา ในชวงนี้จะเปนการดักกุง ดักปลา ดักปู ลมมรสุมชวงนี้จะเปนอุปสรรคกับชาวบานที่ทําขาวเกรียบเพราะ เปนชวงฤดูฝน ลมทิศใต (สลาแต) จะพัดผานชวงเดือนเมษายน-พฤษภาคม อิทธิพลของลมทิศใตจะทําให ทะเลฝงอาวไทยและอาวปตตานีมีคลื่นเล็กนอยถึงปานกลาง และมีฝนตกในบางครั้ง ในชวงนี้ชาวประมง จะจับ สัตวน้ําไดคอนขางดี ซึ่งจะเปน การดักกุง ดักปลา ดักปู เปนสวนใหญ และจะสงผลกระทบตอ ชาวบานที่ประกอบอาชีพทําขาวเกรียบบางในบางครั้ง


ลมตะวันออกเฉียงใต (บาระดายอ) จะพัดผานชวงเดือนมีนาคม-พฤษภาคม ทําใหมีคลื่น เล็กนอย อากาศจะหนาวบางในชวงเวลากลางคืนถึงตอนเชา ชวงนี้ชาวประมงจะสะดวกในการออกหา สัตวน้ําในอาวปตตานีรวมถึงทะเลฝงอาวไทย สัตวน้ําในทะเลจะสมบูรณและมีจํานวนมาก การจับสัตว น้ําของชาวประมงในชวงนี้จะเปนการดักกุง ดักปลา ดักปู ดักหอยแครง เปนตน และ ไมสงผลกระทบ อุปสรรคตอชาวบานที่ประกอบอาชีพทําขาวเกรียบและอาชีพอื่นๆ เพราะฝนไมคอยตก

ภาพลายเสนแสดงภูมิอากาศบานดาโตะ

ลมตะวันตก (บาระ) จะพัดผานเปนชวงๆ ตั้งแตเดือนมิถุนายน-สิงหาคม อิทธิพลของลม ตะวันตก (บาระ) ทําใหเกิดพายุคลื่นลมแรง และฝนตกในชวงตอนบายและกลางคืน ชาวบานและ ชาวประมงตองคอยระมัดระวังอยูเสมอ ในชวงนี้ชาวประมงจะจับสัตวน้ําไดคอนขางดี การจับสัตวน้ํา ในชวงนี้จะเปนการดักกุง การดักปลา เบ็ดราว เปนตน และฝนอาจจะตกบางเปนบางครั้ง แตไมสงผล กระทบมากนักสําหรับชาวบานที่ประกอบอาชีพทําขาวเกรียบและอาชีพอื่นๆ ลมตะวันตกเฉียงเหนือ (บาระลาโอะ) จะพัดผานชวงเดือนสิงหาคม-พฤศจิกายน อิทธิพล ของลมมรสุมทําใหฝนตกหนัก ชาวบานไดรับความเสียหายในบางครั้ง ชาวบานและชาวประมงตองคอย ระมัดระวังอยูเสมอ การจับสัตวน้ําของชาวประมงในชวงนี้จะเปนการดักกุง ดักปลา เปนตน สวนชาวบาน ที่ประกอบอาชีพทําขาวเกรียบจะไดรับผลกระทบบางในชวงฝนตก ลมทิศเหนือ (ตารอ) จะพัดผานชวงเดือนพฤษภาคม-มิถุนายน อิทธิพลของลมทิศเหนือ (ตา รอ) จะทําใหทะเลมีคลื่นเล็กนอยทั้งฝงอาวไทยและอาวปตตานี น้ําในทะเลจะใส ในชวงนี้ชาวประมงจะ หาปลาไดคอนขางนอย การจับสัตวในชวงนี้จะเปนการดักปลา ดักกุง จะไมเปนผลกระทบกับชาวบานที่ ประกอบอาชีพทําขาวเกรียบและอาชีพอื่นๆ ลมตะวันออกเฉียงเหนือ (ตีมอลาโอะ) จะพัดผานชวงเดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม อิทธิพล ของลมตะวันออกเฉียงเหนือ (ตีมอลาโอะ) จะทําใหคลื่นลมแรงและมีฝนตกหนัก เรือขนาดเล็กจะงดหา สัตวน้ําฝงอาวไทย สวนอาวปตตานีจะมีคลื่นเล็กนอยถึงปานกลาง ชวงนี้ชาวประมงจะไมคอยสะดวกใน การจับสัตวน้ํามากนัก เพราะเปนชวงฤดูฝน แตพอจะหาปลาไดบาง การจับสัตวน้ําของชาวประมงในชวง นี้จะเปนการดักปลา ดักกุงเปนสวนใหญ ชาวบานจะหยุดทําขาวเกรียบชั่วคราวٛ บานดาโตะมีจํานวนประชากร ตามการสํารวจสํามะโนครัวป พ.ศ. ๒๕๔๖ ทั้งหมด ๒,๐๕๔ คน เปนชาย ๑,๐๒๔ คน เปนหญิง ๑,๐๓๒ คน แตในผลการจัดเก็บขอมูลความจําเปนพื้นฐานระดับ


หมูบาน (จปฐ. ๒) ของพัฒนาชุมชนในป พ.ศ. ๒๕๔๖ ตามจํานวนคนที่อยูจริงในหมูบาน โดยไมนับรวม คนที่ออกไปทํางานหรือแตงงานออกไปภายนอกหมูบาน จํานวนประชากรบานดาโตะคือ ๑,๓๑๒ คน นับเปน ๒๘๙ ครัวเรือน โรงเรียนบานดาโตะ เริ่มเปดการสอนเมื่อวันที่ ๑๕ พฤษภาคม ๒๔๗๘ บุคคลที่เปนประธาน และผูมาสมทบในการเปดโรงเรียนครั้งนี้มี นายสงา รางนอย นายอําเภอยะหริ่ง ขุนศิริ อับดุลบุตร ธรรม การอําเภอยะหริ่ง กอนที่จะมีโรงเรียนประถมบานดาโตะ ชาวบานเรียนหนังสือที่บาลาเซาะ (สุเหรา) ที่ใชในการ ละหมาด และทําพิธีกรรมทางศาสนาตางๆ พรอมกับสอนหนังสือไปดวย โดยมีครูชื่อนายเฉงอิน ฉลอง วงศ และนายนุมนิล วิสุทธิ์ สาเหตุที่ชาวบานละหมาดที่สุเหราเพราะมัสยิดยังไมไดรับการบูรณะ มัสยิดจึง เต็มไปดวยตนไมที่ฝาผนังและหลังคา เด็กๆ ที่เติบโตในชุมชนจะเขาเรียนที่โรงเรียนบานดาโตะแหงนี้จนจบชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ แลว จึงไปศึกษาตอในระดับชั้นสูงขึ้นที่ตัวอําเภอหรือจังหวัด ซึ่งสวนใหญมุงศึกษาตอทางดานศาสนา โดย เรียนในโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามหรือปอเนาะ โรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามจะเปนการ เรี ย นควบคู กั น ไประหว า งศาสนาและสามั ญ การศึ ก ษาเฉพาะในสายสามั ญ ไม เ ป น ที่ นิ ย มมากนั ก ชาวบานดาโตะสวนใหญจะจบการศึกษาในระดับประถมศึกษาถึงมัธยมศึกษาตอนตน นอกจากนี้ในหมูบานยังมี โรงเรียนตาดีกา หรือศูนยอบรมศาสนาอิสลามและจริยธรรมประจํา มัสยิดดาโตะ คือโรงเรียนสอนศาสนาอิสลามสําหรับเด็ก กอตั้งขึ้นเมื่อป พ.ศ. ๒๕๒๙ โดยคนหนุมสาว หรือผูมีความรูทางศาสนาในหมูบานจะเปนผูมาชวยสอน ทําการสอนทุกวันเสารและอาทิตย สวนในตอน กลางคืนของทุกวันจะสอนการอานพระมหาคัมภีรอัล-กุรอานตามแนวการเรียนการสอนกีรออาตี (คือการ สอนที่ไดรับจากประเทศทางตะวันออกกลาง ชวยใหเด็กอานอัล-กุรอานไดงายขึ้น) ตอมาเมื่อป พ.ศ. ๒๕๓๖ กลุ ม นั ก ศึ ก ษาจากมหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร วิ ท ยาเขตป ต ตานี ได เ ข า มาช ว ยในการ พัฒนาการสอนใหเปนระบบมากขึ้น การสอนในโรงเรียนตาดีกาจะเนนเรื่องของจริยธรรมและหลักคําสอน ของทานศาสดาในศาสนาอิส ลาม โดยสอนตั้งแตระดับ ชั้นอนุบาลจนถึง ชั้น ปที่ ๔ (เด็กอนุบ าลของ โรงเรียนตาดีกาคือเด็กที่เรียนชั้นประถมศึกษาปที่ ๑ ของโรงเรียนสายสามัญ) นอกจากนี้โรงเรียนตาดีกา ยังเปนแหลงความรู เปนศูนยรวมในการศึกษาศาสนาของคนในชุมชนอีกดวย ในทุกเดือนจะมีการเชิญผูรู ทางศาสนาจากหมูบานอื่นมาบรรยายใหแกชาวบานดาโตะอีกดวย การคมนาคม เนื่องจากหมูบานดาโตะตั้งอยูบนแหลมที่ยื่นออกไปในทะเล เดิมทีชาวบานดา โตะจะใชเสนทางคมนาคมทางน้ํา ชาวบานจะใชเรือใบเปนพาหนะ การเดินทางที่ยากลําบากในอดีตเปน อุปสรรคในการติดตอสัมพันธกบั ชุมชนภายนอก การเดินทางออกไปนอกชุมชนแตละครั้งตองใชเวลานาน บางครั้งตองเสี่ยงภัยกับคลื่นลมแรง ตอมาเมื่อเทคโนโลยีเจริญกาวหนาขึ้น ชาวบานไดนําเรือยนตเขามาใช ทําใหการเดินทางรวดเร็ว ขึ้น ภายหลังเมื่อมีการสรางสะพานขามคลองยามู ซึ่งเรียกสะพานแหงนี้วาสะพานยามูเชื่อมตอหมูบานที่


อยูชายฝงทะเลกับอําเภอยะหริ่ง ในป พ.ศ. ๒๕๓๔ ไดมีการตัดถนนเรียบชายหาดจากบานตะโละอาโห มาถึงบานดาโตะ ชาวบานจึงไดเปลี่ยนเสนทางคมนาคมทางน้ํามาใชเสนทางคมนาคมทางบกแทน การติดตอกับภายนอก การติดตอกับเพื่อนบานใกลเคียงหรือฝงตรงขามโดยสวนใหญ ในอดีต เป น การติ ด ต อ เพื่ อ การค า หรื อ แลกเปลี่ ย นสิ น ค า การเดิ น ทางไปติ ด ตอ จะใชเ รื อ ซึ่ง ส ว นใหญ แ ต ล ะ ครอบครัวจะมีเรือของตนเอง โดยชาวบานจะพายเรือไปทางอาวปตตานีและปาชายเลนเขาสูคลองยามู เมื่อถึงยะหริ่งบางคนยังคงพายเรือตอไป บางคนขึ้นจากเรือเพื่อเดินเทาไปถึงตลาดนัดมวงหวานในอําเภอ มายอ ระยะทางประมาณ ๑๔ กิโลเมตร นําปลาไปแลกเปลี่ยนกับขาวและมะนาวที่บานลาซะ อําเภอมา ยอ บานมะนังหยง อําเภอยะหริ่ง เปนตน จูเตะหเลาวา เวลาพายเรือไปแลกเปลี่ยนของจะแวะหมูบานที่อยูริมคลอง เชน บานมะนังหยง แลวแจกจายน้ําบูดู ปลาแหงไปเรื่อยๆ จนถึงบานลาซะ ขากลับภายเรือมาแวะเอาสิ่งของแลกเปลี่ยนคือ ขาวเปลือกตามบานที่แจกจายน้ําบูดูและปลาแหงไป โดยไมมีการจํากัดมาตราวัดวาจะตองคืนกลับมา เทาไร ขาวเปลือกที่ไดมาจะตองนํากลับมาตําเองที่บาน การไปแลกเปลี่ยนสิน คา จะไปกัน ทั้ง ครอบครัว หรื อไปกับ ญาติและเพื่อ น เรื อแตละลํา จะมี ผูโดยสารประมาณ ๒-๔ คน การพายเรือจากบานดาโตะถึงตลาดนัดมวงหวานใชเวลา ๒-๓ วัน ในการ เดินทางจึงตองนําเอาเตาไฟ หมอขาวหมอแกงไปสําหรับทําอาหาร การพักสวนใหญจะพักบนเรือ หากมี คนชวนไปนอนที่บานก็จะไป สวนการเดินเทาจากบานดาโตะถึงยะหริ่งจะใชเวลาเดิน ๑-๒ ชั่วโมง ไปกัน ทั้งครอบครัวเชนกัน การเดินจะเสียเวลาเนื่องจากตองแบกสิ่งของสัมภาระ เมื่อเจอบานคนจะแวะให สิ่งของแลวเดินตอไป จนถึงตลาดนัดมวงหวาน ใชเวลา ๒-๓ วัน หากชาวบานบานใดเชิญใหกินขาวและ พักที่บาน จะตอบตกลงทันที เพราะชาวบานที่เดินเทาจะไมเตรียมเตาไฟ หมอขาวในการหุงตม จูเตะห เลาวาคนสมัยกอนใจดี มีน้ําใจ เวลาที่ชาวบานดาโตะจะกลับบาน ชาวบานที่ไปแลกสิ่งของกันจะชวย แบกขนสิ่งของ เชน มะนาว ขาวเปลือก มาสงใหที่เรือที่คลองยามู เมื่อ ๓๐ ปกอนเรือใบมีความสําคัญมาก นอกจากนี้ยังมีเรือรับจาง ๒ ลําที่แลนรับสงผูโดยสาร สินคาที่ชาวบานนิยมนํามาแลกเปลี่ยนคืออาหารทะเล ซึ่งนํามาแลกขาว เกลือ และผลไม การแลกเปลี่ยน สิ่งของระหวางชุมชนทําใหชาวบานดาโตะมีโอกาสไดรูจักกับคนในชุมชนอื่นๆ จนกระทั่งเปนเพื่อนหรือ นับเปนเครือญาติกัน เรือรับจางนี้จะสัญจรขามฟากจากบานดาโตะถึงปาลอบาตัซ (PALOBATAS) ตําบลบางปู ใน ปจจุบัน จากการสัมภาษณนายบราเฮง มะลี เลาวาเรือรับจางในสมัยกอนเปนของนายจูเดร นายบราเฮง มะลี นายดอเหะ มะลี (ปจจุบันอายุ ๕๙ ป) นายอาแซ สาแม นายมะ สะแม เปนเจาของตามลําดับ สําหรับเรือนายมะ สาแม มีนายดอเลาะ เจะแต เปนผูขับเรือ คาเรือ ๓ บาทตอคน นายบราเฮง มะลี เลา เสริมวาเมื่อถนนเขามาแลว การสัญจรทางเรือไดหยุดกิจการไป เนื่องจากชาวบานนิยมใชรถรับจางแทน ในชวงแรกรถรับจางมีเพียงไมกี่คัน เชนรถของนายมะแซ สาแม นายอาลี ดาโอะ คารถจากดาโตะไป ปตตานีคนละ ๕ บาท ปจจุบนั คนละ ๒๐ บาท


ความสัมพันธทางเครือญาติและการแตงงาน ชาวบานดาโตะแรกเริ่มเปนชาวบานจากบางปู ที่เดินทางมาทํามาหากินที่บานดาโตะ แลวจึงชักชวนญาติพี่นองมาอาศัยอยูรวมกัน ตอมามีคนจาก หมูบานอื่นเขามาอยูเพิ่มขึ้น ปจจุบันตระกูลที่สําคัญในหมูบานดาโตะคือตระกูล สาแม มามะ ดือเระ ลา เตะ ตระกูล เหล า นี้บ างตระกูลมี บ รรพบุ รุ ษรว มกั น และมีการแตง งานกันระหวา งกลุมตระกูล ทํา ให ชาวบานดาโตะสวนใหญเปนเครือญาติกัน หลายตระกูลมักจะมีบรรพบุรุษรวมกันและเปนคนเชื้อสายมลายู สามารถตรวจสอบรองรอยได จากการใชภาษามลายูทองถิ่น รูปรางลักษณะภายนอกมีผิวคล้ํา ตาโต สูงพอประมาณ อาจมีบางคนใน หมูบานดาโตะที่มีผิวคอนขางขาว แตเมื่อสอบถามถึงบรรพบุรุษไมพบวามีเชื้อสายจีน ทั้งนี้ไมเปนที่แนชัด วาชาวบานบางสวนมีเชื้อสายอื่นอีกหรือไม เพราะบานดาโตะในอดีตเปนหมูบานที่ชาวบานตางเมืองมา คาขายกัน เชน ชาวอินโดนีเซีย ตรังกานู มาเลเซีย และแมแตชาวเวียดนามที่มาจอดเทียบเรือที่หมูบาน แหงนี้เมื่อตอนหนีภัยสงคราม ชาวบานดาโตะจะแตงงานกับคนในหมูบาน สวนใหญพอแมจะเปนผูเลือกคูครองใหกับหนุมสาว และจะดูแลเรื่องสินสอด รวมถึงเศรษฐกิจของครอบครัวภายหลังจากแตงงาน ถึงแมวาบทบัญญัติทาง ศาสนาอิสลามจะไมเปดโอกาสใหหนุมสาวชาวมุสลิมไดพบปะพูดคุยหรือลองคบหากันในฐานะคูรักกอน แตง งาน แตเนื่องจากการอาศั ยอยูในหมูบานเดียวกัน ทําให ไดรูจัก นิสัยใจคอกันตั้ง แตยัง เด็กทําให ภายหลังการแตงงานไมมีปญหาการหยารางมากนัก หนุมสาวสวนใหญไมขัดของในการที่ผูใหญเลือก คูครองให ดวยเหตุผลวาถาพอแมเลือกคูครองให หากมีปญหาทางเศรษฐกิจจะตองพึ่งพาพอแม พอแม จะยินดีชวยเหลือมากกวา การทําพิธีแตงงานนอกจากจะมีการจัดงานเลี้ยงฉลองแลว คูแตงงานจะไปลงทะเบียนที่มัสยิดวา ทั้งสองคนไดแตงงานกันแลว สวนใหญแลวคูแตงงานจะไมไปจดทะเบียนสมรสที่ที่วาการอําเภอ ผูหญิงที่ แตงงานแลวจึงไมไดเปลี่ยนนามสกุลตามสามี แตยังคงใชนามสกุลเดิมอยู และหากไมมีความจําเปนที่ จะตองใชทะเบียนสมรสเพื่อกระทําการทางกฎหมายใดๆ ชาวบานดาโตะจะไมไปจดทะเบียนสมรสที่ท่ีวา การอําเภอ ภายหลังจากการแตงงานแลวสวนใหญฝายชายจะยายเขาไปอยูกับครอบครัวของฝายหญิง เปนแรงงานในการหาเลี้ยงครอบครัวของฝายหญิงตอไป การปกครองและการรวมกลุม ในอดีตกอนที่จะมีการจัดการปกครองแบบองคการบริหาร ตําบล ผูนําของหมูบานมุสลิมจะเปน โตะครู โตะอิหมาม หรือผูใหญบาน ในแตละหมูบานจะมีกฎหมาย เปนของตัวเอง เรียกวา ฮูกูมปงกับ (Hukumpangkap) ซึ่งผูรูทางศาสนาในหมูบาน ผูอาวุโส โตะอิหมาม ผูใหญบาน และชาวบานจะรวมกันกําหนดกฎหมายดังกลาวขึ้น ดังนั้นผูที่มีบทบาทมากในชุมชนชาวมุสลิมคือผูรูศาสนา ซึ่งมักทํางานเสียสละเพื่อสังคมโดย ไมไดรับสิ่งใดตอบแทน ชาวบานจึงใหความเคารพนับถือแกบุคลลเหลานี้มาก หากมีงานบุญใด ชาวบาน จะนึกถึงกลุมผูรูศาสนาในหมูบานเหลานี้เปนอันดับแรก จะตองไปเชิญมารวมงาน แบงอาหารไปให ภายหลังรัฐบาลกระจายอํานาจสูทองถิ่น ทําใหมีการจัดองคกรบริหารสวนตําบล (อบต.) ขึ้น ไดมีการให


เงินเดือนคณะกรรมการมัสยิด ซึ่งประกอบไปดวย โตะอิหมาม คอเต็บบิหลัน เดือนละ ๕๐๐ บาท รวมทั้ง ผูใหญบานจะดํารงตําแหนงวาระละ ๔ ป ทําใหการปกครองตนเองของหมูบานเริ่มเลือนหายไป ผูคนในหมูบานดาโตะจะมีการรวมกลุมกันเปนกลุมตางๆ เชน การแบงกลุมตามกิจกรรมงาน ประเพณีสําคัญๆ เชน งานเมาลิด (งานวันเกิดของทานศาสดา (ซ.ล.)) หรืองานบุญทางศาสนาอิสลาม กลุมผูใหญของชุมชนจะมีบทบาทอยางมาก ชาวบานที่มีหนาที่ในหมูบาน เชน โตะอิหมาม คอเต็บ บิห ลัน คณะกรรมการมัสยิดจะมีบทบาทเปนทั้งผูจัดงานและเปนผูที่ไดรับความไววางใจจากชาวบาน ใน เรื่องของการเงินหรือเปนที่ปรึกษายามเกิดปญหา โตะอิหมามจะเปนผูบริหารทุกสวนโดยจะแบงหนาที่ บางสวนใหกับกลุมคณะกรรมการมัสยิด สวนผูหญิงที่สูงวัยจะมีความเชี่ยวชาญในการทําอาหารมักจะ เปนผูนําในการทํากิจกรรมตางๆ ภายในครัว โดยมีกลุมภรรยาของคณะกรรมการมัสยิดบางสวนเปน ผูชวยหรือชาวบานมารวมกลุมกันชวย กลุมสาวๆ ในหมูบานอาจมาชวยบางเชนกัน การทํางานแบงกลุม ระหวางชายหญิงนี้จะเห็นวามีการแบงหนาที่กันอยางชัดเจน สวนการรวมกลุมระหวางเครือญาติที่สนิทและไววางใจในการทํามาหากิน เครือญาติในชุมชน สวนใหญจะรวมกลุมกันในเรื่องทํามาหากิน โดยใหความชวยเหลือซึ่งกันและกัน เชน การจับปลาดุกขาย จะมีการขอแรงญาติพี่นองมาชวยจับ การชวยเหลือในเรื่องการทํามาหากิน เชน การใหยืมเงิน การรับขาว เกรียบไปขาย มักจะชวยกันในกลุมที่มีหุนสวนหรือที่เปนญาติสนิทกันจริงๆ แตบางครั้งแมจะเปนญาติแต ก็มีการแขงขันตัดราคากันบาง ป จ จุ บั น เครื อ ญาติ มี ก ารแข ง ขั น กั น เองในเรื่ อ งของการเมื อ งท อ งถิ่ น เช น การลงสมั ค รเป น ผูใหญบานหรือเปนตัวแทนองคกรบริหารสวนตําบล ทั้งสองฝายนี้แมจะเปนญาติกัน แตมีการแบงพรรค พวกของกลุมตัวแทนเปนฝายๆ และเขาแขงขันกันอยางจริงจังจนกระทั่งเคืองใจกันอยูจนปจจุบัน กลุมนี้ มักจะเปนคนรุนหนุมที่มีฐานะทางเศรษฐกิจและพยายามสรางฐานะทางการเมือง ดวยการรูจักคนให กวางขวางทั้งในและนอกชุมชนเพื่อใหเปนที่ยอมรับมากขึ้น ในอดีตนั้นการเมืองในชุมชนไมมีความสลับซับซอนโดยในหมูบานจะมีผูนําชุมชนที่ไดรับการ ยอมรับจากชาวบานเพียงหนึ่งคน และผูนําจะมีหนาที่ปกครองในทุกๆ สวนของชุมชน ไมวาจะเปนดาน การปกครองหมูบาน ดานศาสนา ดานสาธารณสุข เปนตน ทั้งนี้ชาวบานไดยอมรับในกฎของหมูบานที่ เปรียบเสมือนกฎหมายที่ชาวบานรวมกันตัดสินหากเกิดคดีความขึ้น เปนมติประชาธิปไตย การตัดสิน รวมกันโดยผูนําจะตีกลองเปนสัญญาณ ทั้งนี้จังหวะการตีสามารถบอกไดวาเปนเรื่องลักษณะใด เชน ถา ตีดวยมือชาๆ แสดงวาเปนเรื่องที่ไมรุนแรง อาจจะเรียกประชุมหมูบาน หากตีดวยสองมือจังหวะเร็ว แสดง วามีเรื่องรุนแรง เชน จับขโมยเขาหมูบาน บทลงโทษในสมัย นั้น ผู นํ า จะพาผู ทํา ผิด ไปพบเจ า เมื อ งยะหริ่ ง ในเวลาที่ เ จ าเมื อ งเสด็ จ มาที่ หมูบาน แลวใหเจาเมืองเปนผูลงโทษโดยใชไมเทาตี โดยสวนใหญแลวเจาเมืองจะไมคอยตี เพราะเปน เรื่องไมรุนแรงมากนัก จะปลอยใหบริวาร ลูกขุน ผูอารักขาเปนผูลงโทษ ทั้งนี้สําหรับชาวบาน ดาโตะ โดย พื้นฐานจะชอบอยูอยางสงบ ฉะนั้นเรื่องรุนแรงจะไมมีใหพบเห็น


ปจจุบันการรวมกลุมที่เปนทางการของชาวบานดาโตะนั้น จัดตั้งขึ้นจากการรวมตัวของผูนํา ชาวบาน การผลักดันจากหนวยงานราชการ กลุมเหลานี้มีฐานจากการเปนผูนําชุมชน เชน ผูนํากองทุน หมูบานหรือความสนิทสนมเปนสวนตัว ซึ่งมักเปนกลุมที่เปนญาติหรือมีบุญคุณตอกันจนทําใหเกิดความ เกรงใจกัน สามารถพูดคุยกันโดยไมขัดแยง คือ “กลุมคณะกรรมการมัสยิด” สวนใหญเปนผูใหญใน ชุมชนที่ไดรับการคัดเลือกจากชาวบาน เปนผูที่ชาวบานนับถือ จะรวมกลุมทํางานเมื่อมีการจัดพิธีกรรม ตางๆ ในทุกๆ ป และกระจายงานออกไปตามพรรคพวกญาติพี่นองนับเปนกลุมเฉพาะกิจ อาหารการกินของชาวบานขึ้นอยูกับสภาพแวดลอมทางธรรมชาติ โดยจะอาศัยทรัพยากรจาก ทะเล เชน กุง หอย ปู ปลา สาหราย หรือผลผลิตจากปาชายเลน เชนลูกบือรุ พุทธาทะเล นํามาประกอบ อาหาร สวนอาหารประเภทอื่นจะไดมาจากการแลกเปลี่ยนซื้อขาย เชน ผัก ผลไม เกลือ น้ําตาล ขาวสาร ในอดีตจะใชวิธีการแลกเปลี่ยนจากชุมชนในแผนดินใหญที่สามารถผลิตสิ่งเหลานี้ได ตอมาจะใชวิธีการ ซื้อขายในตลาดนัดตามชุมชนใหญ โดยเดินทางดวยเรือออกไปยังตลาดนัดที่ใกลเคียง เชน ตลาดนัดบา ลาดูวอ ตลาดนัดยามู แหลงน้ํา โดยทั่วไปแลวชุมชนประมงที่อยูชายฝงทะเลจะมีปญหาในเรื่องของแหลงน้ําจืด แต บานดาโตะไมมีปญหาเรื่องแหลงน้ําจืดหรือปญหาภาวะน้ํากรอย เนื่องจากบานดาโตะมีแหลงน้ําจืด ภายในหมูบาน ในอดีตหมูบานแหงนี้เปนแหลงน้ําจืดขนาดใหญสําหรับเรือที่เดินทางเขามาคาขายใน ปตตานี เรือเหลานี้จะเขามายังดาโตะทางคลองวอเพื่อเอาน้ําจากบอน้ํา ๒ บอใกลสุสานของดาโตะ ปาแญ บอน้ําทั้งสองแหงนี้ยังคงเปนบอน้ําที่คนในชุมชนมาดื่มและใชจนกระทั่งปจจุบัน ตลาดนัด ที่มีความสําคัญของชุมชนในอดีตคือ ตลาดนัดบาลาดูวา (ปาลอบาตะ Palabatas) ตั้งอยูฝงตรงขามหมูบาน (ปจจุบันคือหมูบานบางปู) ตลาดนัดแหงนี้จะซื้อขายกันอยางคึกคัก คนจาก หมูบานใกลเคียงเชนบานบางปู โตะโสม ตะโละกาโปร ตะโละอาโหร ตาแกะ ตลาดนัดบาลาดูวาแหงนี้ยัง เปนทาจอดเรือเพื่อเดินทางไปหมูบานอื่นอีกดวย ปจจุบันตลาดนัดแหงนี้ไดยกเลิกไปแลว ชาวบานจะ เดินทางไปตลาดนัดทุกวันศุกรที่บานยามู เชิงสะพานยามู (กือโตะยามู) สวนวันอื่นๆ ชาวบานจะซื้อหา สินคาไดจากรานคาในหมูบาน หรือที่ตลาดนัดในหมูบานวันจันทรและวันพุธของทุกสัปดาห รานคา ในหมูบานมีหลายรานดวยกัน คือรานรับซื้อสัตวน้ําเพื่อสงขายในเมือง รานขายขาว ราน ขายกาแฟ รานขายของชํา สวนในวันจันทรและวันพุธ ชาวบานสามารถหาซื้อของใชไดจากตลาดนัดที่จะ มาตั้ง ขายตรงลานกวา งหนา โรงเรียนตาดีกา ลานกวางแหง นี้ยั งเปน สนามฟุตบอลสํา หรับ วัยรุนใน หมูบาน เปนที่พักผอนนั่งเลนของคนในหมูบานอีกดวย กิจกรรมของมัสยิด ในสังคมมุสลิมโดยทั่วไป มัสยิดนับเปนศูนยกลางของหมูบานหรือชุมชน นอกจากมัสยิดจะเปนศาสนสถานที่ปฏิบัติศาสนกิจของชาวมุสลิมประจําวันแลว ยังเปนศูนยรวมในการ ประกาศขาวสาร และทํากิจกรรมตางๆ ดวย ในหมูบานดาโตะเชนเดียวกัน มัสยิดของหมูบานนอกจากจะ เปนศาสนสถานแลว ยังเปนสถาบันที่เปนศูนยรวมของหมูบาน กิจกรรมหลายอยางที่มัสยิดจัดขึ้นลวน แลวแตเพื่อสรางความเปนอันหนึ่งอันเดียวกันของคนในทองถิ่น ดังตัวอยางตอไปนี้


กิจกรรมกองทุนแพะ เริ่มขึ้นเมื่อประมาณ ๒๐ ปกอน โดยนายมามะ เจะแต ไดรับมอบหมาย จากคณะกรรมการมัสยิดในสมัยนั้นใหดูแลแพะของมัสยิด แตเมื่อนายมามะอายุมากขึ้น ไมสามารถดูแล แพะได แพะถูกปลอยปละละเลย ไมมีใครดูแล ทําใหไมสามารถแยกแพะของมัสยิดจากแพะหลงของ ชาวบานได คณะกรรมการมัสยิดจึงไดจัดประชุมโดยมีโตะอิหมาม ชื่อวานายอาเซ็ง กาเดร เปนประธาน ที่ประชุม สรุปไดวา เนื่องจากผูคนที่ตองการมาทําบุญ บางคนไมสามารถทําบุญดวยแพะตามความ ประสงคได เพราะแพะมีราคาแพง ปจจุบันตัวละประมาณ ๑,๕๐๐-๓,๕๐๐ บาท (ขึ้นอยูกับขนาดและ อายุ) กรรมการมัสยิดจึงจะจัดเตรียมแพะสวนหนึ่งเพื่อรองรับผูที่จะมาทําบุญ ไดซื้อในราคาที่สามารถ จายได ในการนี้คณะกรรมการมัสยิดไดแตงตั้งนายมะรอนิง สาและ เปนผูรับผิดชอบในการขายแพะ เงิน ที่ไดจากการขายเขาเปนกองทุนแพะแกมัสยิด เพื่อไวใชประโยชนในกิจกรรมทางศาสนาของชุมชนตอไป และไดกําหนดราคาเปนตัวละ ๓๐๐ บาท ตั้งแตป พ.ศ. ๒๕๓๖ จนกระทั่งถึงปจจุบัน หลักเกณฑของกองทุนแพะ คือผูที่จะมาซื้อแพะของมัสยิดจะตองซื้อเพื่อทําการปลอย ไมใชเพื่อ ครอบครองเปนเจาของ หากจะซื้อเพื่อครอบครองทางมัสยิดจะขายในราคาทั่วไป คือขายกิโลกรัมละ ๑๑๐ บาท แพะของมัสยิดจะมีเครื่องหมายที่ใบหูทุกตัว ปจจุบันแพะของมัสยิดมีประมาณ ๑๐๐ ตัว ดวยเพราะยังมีคนมุสลิมบางกลุมและศาสนิกชน อื่นๆ ที่มีความเชื่อในกุโบรมาทําบุญในโอกาสพิเศษ เชน ทําบุญใหบรรพบุรุษที่เสียชีวิตแลว สะเดาะ เคราะห การบนใหหายจากอาการปวยไข การขอใหไดโชคลาภในกิจกรรมงานตางๆ เปนตน คนที่มา ทําบุญไมเพียงแตเปนคนในพื้นที่เทานั้น แตจะมีคนจากหมูบานใกลเคียง เชน บางปู บานา อาจมีคน กรุงเทพฯ และนครศรีธรรมราช ผูวิจัยไดสังเกตการณและสอบถามผูมาทําบุญกลุมหนึ่งถึงสาเหตุการมา ทําบุญ ผูมาทําบุญกลุมนั้นเลาวาไดบนขอใหลูกชายไมติดเกณฑทหารกับกุโบรดาโตะปาแญแลว จะมา ทําเชือดแพะที่กุโบร อีกกลุมหนึ่งมาจากกรุงเทพฯ ไดบนขอเรื่องขายที่ดิน พบวามีคนมาทําบุญที่กุโบรดาโตะปาแญประมาณ ๕๐ คนตอสัปดาห สวนใหญจะมาในวัน เสาร-อาทิตย และวันสําคัญทางศาสนาอิสลาม ผูที่มาทําบุญจะมีลักษณะการทําบุญไมเหมือนกัน เชน บางกลุมเชือดแพะที่บานมากินที่กุโบร บางกลุมซื้อแพะของมัสยิดแลวปลอย บางกลุมซื้อแพะที่มัสยิด แลวเชือดที่กุโบร แลวแตวาใครจะบนอยางไร กิจกรรมกองทุนซะกาตฟตเราะฮฺ คือการบริจาคทานภาคบังคับทางศาสนา ชวงปลายเดือน รอมฎอนซึ่งเปนเดือนของการถือศีลอด มุสลิมทุกคนจะตองจายซะกาตคนละประมาณ ๒๕-๓๕ บาท โดย คิดจากราคาข าวสาร ๓ ลิต รกับ ๑ กระป องนมตรามะลิ การจา ยซะกาตจะตอ งจายใหกั บ บุคคล ๘ ประเภท คือ ฟะกีร คนอนาถาหรือยากจน คือผูไมมีทรัพยสินและไมมีผูรับผิดชอบดูแล หรือแทบไมมีรายได ประจํา เชนตองใชจายวันละ ๑๐ บาท แตมีรายไดวันละ ๒-๓ บาท มัสกีน (MASKIN) คนขัดสนยากจน คือผูมีทรัพยสินหรือรายไดประจําบาง แตไมเพียงพอในการ ดํารงชีวิต เชนตองใชจายวันละ ๑๐ บาทแตมีรายได ๖-๗ บาท กลุมนี้จะมีฐานะดีกวากลุมแรก


มูอัลลัพ (MUALLAF) คือ ผูที่เขามาศรัทธาในศาสนาอิสลาม เพื่อเปนการสนับสนุนใหกําลังใจ หรือเพื่อเปนตัวอยางที่ดีแกคนอื่นใหเลื่อมใสศรัทธาในศาสนาอิสลาม บีรฮูตัน (BERHUTAN) ผูมีหนี้สินจากการใชจายในการกุศล ไมใชหนี้จากการพนัน มูซาฟร (MUSAPIR) ผูเดินทางไกล รอนแรมมาจากตางถิ่น และไมมีเงินกลับบานเกิด โดยจะให เปนคาเดินทางและอาหารระหวางเดินทางเทานั้น ฟซาบีลิลลาห (FISABILILAH) บางครั้งหมายถึงทําในหนทางเพื่ออัลเลาะฮฺ (ซ.บ.) หรือกิจกรรม เกี่ยวกับศาสนา คนกลุมนี้จึงหมายถึง ครูผูสอนศาสนา บางครั้งมีการหมายรวมถึงผูที่พลีชีพเพื่อพระเจา อามิร (AMIR) คือผูที่ไดรับการแตงตั้งจากคณะกรรมการอิสลามประจําจังหวัดใหเก็บซะกาต เชนโตะอิหมาม คอเต็บ บิหลัน และกรรมการมัสยิด ซึ่งมีหนาที่บริหารเงินซะกาตฟตเราะฮฺ อามิรจะไมได รับซะกาตโดยตรง แตจะไดรับเงินตอบแทนในการมีสวนรวมในการบริหารเงินซะกาต ฮัมบามูกาตับ (HAMBAMUKATAB) ทาสที่จะเอาทรัพยไปเพื่อไถตัวใหเปนอิสระซึ่งสมัยนี้ไมมี แลว การบริจาคควรเฉลี่ยใหหลายคนหลายประเภท ไมควรใหคนเดียวประเภทเดียว และตองใหแก คนที่จัดอยูในประเภทใดประเภทหนึ่ง มิฉะนั้นจะถือเปนโมฆะ สวนผูที่ไมมีสิทธิ์รับซะกาต คือผูมีรายไดพอแกการดํารงชีพ (ถามีรายไดไมพอเพราะใชจาย ฟุมเฟอย ไมสมฐานะ หรือเลนการพนัน ไมมีสิทธิรับซะกาต ผูไดรับการเลี้ยงดู ผูที่เปนเครือญาติของ ตระกูลอาซิมและมุตตอลิบ (เครือญาติของทานนบี (ซ.ล.)) ผูที่ไมไดนับถือศาสนาอิสลาม หากบริจาคให บุคคลเหลานี้นับเปนโมฆะ วิธีบริจาค คือใหเริ่มเนียต (ตั้งจิตอธิษฐาน) วา “นี่คือซะกาตฟตเราะฮฺ เปนฟรดูอินของขาพเจา” หากเปนการซะกาตของลูกเนียตวา “นี่คือซะกาตฟตเราะฮฺ เปนฟรดูอินของลูกขาพเจา” คุณสมบัติของผูบริจาค คือเปนมุสลิมไมเปนทาส และมีชีวิตกอนพระอาทิตยตกในวันสุดทาย ของเดือนรอมฏอน หากตายกอนพระอาทิตยตกในวันสุดทายของเดือนรอมฎอนไมตองบริจาค ผูบริจาค ซะกาตจะตองมีอาหารและเครื่องนุงหมสําหรับตนเอง และผูที่อยูในปกครองของตนในวันฮารีรายอ กิจกรรมการซะกาตฟตเราะฮฺที่มัสยิดดาโตะเริ่มตนเมื่อป พ.ศ. ๒๕๓๙ กอนหนานี้การจาย ซะกาตมักจะจายกันเองตามแตใครจะจายใหผูใด ซึ่งบางคนไมมีความรูเพียงพอเกี่ยวกับบุคคลที่ควร ไดรับซะกาต ทําใหจายไมถูกตามหลักคําสอนของศาสนา เชน จายซะกาตใหคนที่มีกินมีใชดวยความ เกรงใจ ทําใหคนที่ควรไดรับซะกาตในหมูบานไมไดรับการดูแล กรรมการมัสยิดไดเล็งเห็นความสําคัญ ของซะกาต กรรมการมัสยิดในป พ.ศ. ๒๕๓๙ ไดประชุมรวมกับโตะอิหมามเพื่อใหการจายซะกาตเปน ระบบมากขึ้น โดยในปแรกไดขอความรวมมือจากครอบครัวแตละครอบครัวใหมาจายซะกาตที่มัสยิด ครอบครัวละ ๑ คน มัสยิดไดรับซะกาตรวมทั้งสิ้น ๘,๐๐๐ บาท กรรมการมัสยิดไดแจกจายใหผูมีสิทธิ์รับ ซะกาตเกือบ ๕๐ คน ผลจากการใหมัสยิดเปนศูนยกลางในการรับซะกาต ไดสรางความรูสึกดีแกชาวบาน อยางมาก และจํานวนผูจายซะกาตเชนนี้เพิ่มขึ้นเปนลําดับ จากปแรกที่มีผูมาจายซะกาตที่มัสยิดเพียง เล็กนอย ปที่สองมีผูมาจายซะกาตเพิ่มขึ้นเปนรอยละ ๗๐ ของประชากรทั้งหมด รวมเปนเงินประมาณ


๒๔,๐๐๐ บาท ในป พ.ศ. ๒๕๔๖ ที่ผานมาไดรับซะกาตเปนขาวสาร ๑๓๐ กันตัง เงิน ๓๙,๐๐๐ บาท และคนที่มีสิทธิ์รับซะกาตมีจํานวน ๙๙ คน รานน้ําชา: พื้นที่ของผูชายในหมูบาน รานน้ําชาในหมูบานเปนสถานที่สาธารณะที่ผูชายใน หมูบานจะมาพบปะสังสรรคกนั ในเวลาวาง โดยรานน้ําชาจะเปดในเวลาประมาณ ๖.๐๐-๒๒.๐๐ น. ราน น้ําชาเปนรานเครื่องดื่มที่พบเห็นไดงายในจังหวัดชายแดนภาคใต ทั้งในพื้นที่เมืองและชนบท รานน้ําชา ในเมืองจะแตกตางจากรานน้ําชาในหมูบานในลักษณะทางกายภาพ กลาวคือรานน้ําชาในเมืองสวนใหญ เปนรถเข็น ตั้งโตะและเกาอี้ริมถนนหรือบนทางเทา ใตชายคาบาน หรืออาจมีบางรานจะเชาพื้นที่โลงทํา เพิงมุงหลังคา ไมมีฝากั้น ถาหากเปนรานที่มีหลายโตะมักมีโทรทัศนเพื่อฉายกีฬาและรายการอื่นๆ ผูคน ที่มารานน้ําชาสวนใหญเปนวัยรุน นักเรียน นักศึกษา และวัยทํางาน สวนรานน้ําชาในหมูบานมักเปนราน ที่แบงพื้นที่บางสวนของตัวบาน ตั้งโตะเกาอี้ และมีโทรทัศน เปนที่พบปะของผูชายในหมูบาน ถึงแมวารานน้ําชาในพื้นที่เมืองและหมูบานจะมีความแตกตางกันบางในลักษณะทางกายภาพ หากบทบาทของรานน้ําชาของทั้งสองพื้นที่ไมไดแตกตางกันมากนัก รานน้ําชามักเปนที่พบปะสังสรรค ของผูคน ไดมีโอกาสนั่งพูดคุยกันเปนเวลานาน ชาวดาโตะแสดงความคิดเห็นวา การที่รานน้ําชาเปนที่ พบปะของคนเนื่องจากรานน้ําชาในจังหวัดชายแดนภาคใตขายน้ําชากาแฟในราคาถูก อีกทั้งยังแถมชา จีนหรือเรียกกันวา “ชาเฉย” ใหเติมกันตลอด แมบางรานจะไมมีชาเฉยยังใหเติมน้ํารอนกันอยางไมจํากัด ทําใหลูกคานั่งไดนานโดยไมเคอะเขินและไมเสียสตางค เมื่อประมาณ ๓๐ ปกอน ในหมูบานดาโตะมีรานน้ําชา ๔ ราน คือ รานของนายบราเฮง มะลี รานของนายจิโอะ เจะแต รานของนายเจริญ เบ็นจวงศ (อดีตผูใหญบาน) รานนายลายิ สาแม (อดีต กํานัน) คนที่ไปรานน้ําชาจะอยูในวัยทํางานอายุประมาณ ๓๐ ปขึ้นไป ผูสูงอายุไปนั่งรานน้ําชาบาง เรื่อง ที่พูดคุยกันเปนเรื่องงานเทานั้น สมัยกอนรานน้ําชาเปนเพียงสถานที่พักผอนเมื่อกลับจากการทํางาน และเปนสถานที่แสดง ความคิดเห็น และวางแผนในการทํามาหากิน เชน พรุงนี้จะไปวางอวนที่ไหน บอกกลาวกันถึงบริเวณที่มี ปลาหรือกุงชุกชุม แลวชักชวนไปวางอวนดวยกัน เพราะสมัยกอนชาวบานจะคางคืนที่จุดวางอวน เชน ปลายแหลม เปนตน ฉะนั้นเวลาจะไปตองหารือกอนเพื่อจะไดมีเพื่อนคุยกันในยามค่ําคืน รานน้ําชาสมัยกอนจะไมมีบทบาททางการเมืองมากนัก เพราะชาวบานไมคอยสนใจการเมือง อาจจะเปนเพราะไมคอยมีสื่อตางๆ มากระตุนใหเกิดความสนใจทางการเมืองมากเชนปจจุบัน การเลือก ผูใหญบาน จะเปนการเลือกแบบใชวิธียกมือ ในเวลาที่ไปรวมตัวกัน ที่มัสยิด ไมมีการลงคะแนนแบบ ปจจุบัน บางครั้งจะเปนการแตงตั้ง ในปจจุบันรานน้ําชานับวามีบทบาทมากขึ้น ผูคนที่มารานน้ําชามีวัยตางๆ กันไปกวาในอดีต เนื่องจากรานน้ําชาไดมีการเพิ่มเติมสิ่งทันสมัยมากขึ้น กลาวคือมีโทรทัศน ซึ่งมักถายทอดการแขงขันกีฬา ประเภทตางๆ โดยเฉพาะฟุตบอล ดวยรานน้ําชาไดแปรเปลี่ยนเปนที่สังสรรคของผูคนหลากหลายรุนมาก ขึ้น ทําใหรานน้ําชามีบทบาทมากขึ้น แบงเปนดานตางๆ ดังนี้


ด า นการเมื อ ง ร า นน้ํ า ชาเปรี ย บเสมื อ นเป น เวที ห าเสี ย ง และเป น ศู น ย ป ระชาสั ม พั น ธ ที่ นักการเมืองยุคนี้ตองไปหาเสียงในทุกสมัยการเลือกตั้ง นักการเมืองคนไหนที่ไมเขารานน้ําชาชาวบานถือ วา “มือไมถึง” เขาไมถึงชุมชนและสังคม นอกจากนี้รานน้ําชายังเปนเวทีวิพากษวิจารณนักการเมืองที่มี ผลงานและมี ผ ลงานในแง ดี แ ละไมดี เนื่อ งจากร า นน้ํ า ชามี บุ ค คลหลายประเภท ดัง นั้ น มุ ม มองและ ความเห็นตอการเมืองจึงแตกตางและหลากหลาย สําหรับวัยรุนมักจะเสนอความคิดเห็นเลือกคนที่ให สตางคหรือมีฐานะดีมากกวาคนที่มีผลงานดี วัยกลางคนจะเลือกคนที่เปนคนรูจักหรือเพื่อน สวนผูสูงอายุ จะดูที่ผลงานและตัวบุคคล ด า นการทํ า งานมี เ พี ย งคน ๒ กลุ ม เท า นั้ น ที่ มั ก มาคุ ย กั น ถึ ง เรื่ อ งการทํ า งานในร า นน้ํ า ชา โดยเฉพาะเรื่องประมงพื้นบาน คือกลุมวัยกลางคน และกลุมผูสูงอายุ กลุมวัยกลางคนมักจะมาถามเพื่อน บานวาเมื่อวานไปวางอวนที่ไหน ไดปลาเยอะไหม ถาไดมากจะไดชักชวนกันไปวางอวนดวย สวนกลุม ผูสูงอายุที่ยังทํางานได จะจับกลุมคุยเรื่องทํางานของตนเองเชนกัน ดานการศึกษา รานน้ําชามีบทบาทในดานการศึกษา เพราะชาวบานมักจะไปโออวดถึงผลการ เรียนของลูก ทําใหคนอื่นอยากใหลูกๆ เรียนไดทัดเทียมเด็กที่เรียนเกง อีกทั้งรานน้ําชายังเปนเวทีในการ วิพากษวิจารณถึงคุณภาพของโรงเรียนตาง ๆ ตามที่แตละคนไดประสบพบเห็นมา ดานศาสนาก็เชนกัน เมื่อกลับจากเรียนศาสนาที่มัสยิดกลางปตตานี ก็จะจับกลุมคุยในเรื่องที่ เรียนมา เชน กฎหมายอิสลามและขอเสนอแนะในการบริหารมัสยิดหรือโรงเรียนตาดีกา สวนใหญกลุมที่ พูดคุยกันในเรื่องนี้จะเปนกลุมคนวัยกลางคนหรือผูสูงอายุ ดานสิ่งแวดลอม ชาวบานดาโตะทํามาหากินอยูในอาวปตตานีมาเกือบตลอดชีวิต ไดเห็นการ เปลี่ยนแปลงของอาวปตตานีที่กําลังเผชิญกับมลภาวะทางทะเล ซึ่งเกิดจากฝมือของนายทุนขนาดใหญ ดังนั้นรานน้ําชาจึงเปนสถานที่ที่ชาวบานจะมาพูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และผอนคลายความตึง เครียดจากปญหาที่เกิดขึ้นในการประกอบอาชีพดั้งเดิมของพวกเขา ไมวาจะเปนเรื่องน้ําเสีย สัตวน้ําลด นอยลง ดานบันเทิง ชาวดาโตะเลาวารานน้ําชารานไหนไมมีเครื่องเลนวีซีดี รานนั้นจะไมมีคนเขา ไมวา ผูสูงอายุ วัยรุน หรือวัยกลางคน ซึ่งวีซีดีนั้นมีผลกระทบตอวัฒนธรรม ประเพณี และศาสนา จะเห็นไดจาก วัยรุนในปจจุบัน เริ่มที่จะมีแฟนตั้งแตอายุประมาณ ๑๒–๑๕ ป รูจักสถานที่ทองเที่ยวและสถานบันเทิง ตางๆ ยาเสพติด เด็กจํานวนหนึ่งเมื่อดูโทรทัศน เริ่มมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมไป เมื่อกลับดึกจะไมไป นอนที่บาน มักไปนอนตามแครหรือกระทอม แลวก็ติดยา เด็กเหลานี้มักไมทํางาน ขอเงินพอแมใช ซึ่งราน น้ําชาที่มียาเสพติดยังไมมีในหมูบา นดาโตะ รานน้ําชาในหมูบานดาโตะเปนเพียงที่ชุมนุมของเด็กวัยรุนที่ ชักชวนกันไปเที่ยวเตรและดูหนัง สถานที่รับแขกผูมาเยือน หมูบานดาโตะมีเอกลักษณอยางหนึ่งที่ชาวบานมักจะใชรานน้ําชาเปน สถานที่รับแขกตั้งแตปูยาตายายจนถึงปจจุบัน อาจเรียกไดวาเปนประเพณีของชาวบานดาโตะ อาจเปน เพราะวาชาวบานดาโตะไมชอบตมน้ําที่บาน จะมีเพียงเดือนรอมฎอนเทานั้นที่จะหุงขาวและตมน้ําที่บาน นอกนั้นมักซื้อขาวมารับประทานที่บาน และแมจะรับประทานแลวมักจะพาแขก (หากเปนผูชาย) ไปดื่ม


น้ําชากันตอที่รานน้ําชา รานน้ําชาในหมูบานดาโตะจึงมีบทบาทเปนที่พบปะสังสรรค แลกเปลี่ยนความ คิดเห็นของผูชายในหมูบานในทุกๆ เรื่องราวรอบตัว ทั้งที่เกิดขึ้นในอดีตจนมาถึงปจจุบัน พื้นที่ของผูหญิง ผูหญิงโดยสวนใหญจะพูดคุยกันที่ลานสาธารณะหนาโรงเรียนตาดีกา เพราะ ในเวลาเย็นบริเวณดังกลาวจะมีแมบานชาวดาโตะนําขนมมาขาย และบางวันจะมีตลาดนัด ผูหญิงที่ ออกไปทํางานนอกบานเมื่อกลับบานในตอนเย็นจะผานลานดังกลาวกอนเขาไปในหมูบาน และจะแวะ พบปะสังสรรคกับเพื่อน ซึ่งการจับกลุมคุยกันของผูหญิงในหมูบานจะแบงออกเปน ๓ กลุมดวยกัน คือ กลุมผูใหญ กลุมวัยรุน กลุมเด็ก กลุมผูใหญสวนใหญแลวจะคุยกันเรื่องการทํางาน เรื่องครอบครัว หรือ เหตุการณสําคัญที่เกิดขึ้นในหมูบาน แลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกัน เชนเรื่องการจัดงานพิธีกรรม ตางๆ บางครั้งก็อาจนําเหตุการณสําคัญในโทรทัศน เชน ขาว มาเลาสูกันฟง สวนกลุมวัยรุนจะคุยกันเรื่อง เที่ยว เรื่องแตงตัว การเรียน และการทํางานหารายไดพิเศษ เชน การรับจางแกะเนื้อปู หักหัวปลา เปนตน สําหรับเด็กๆ โดยสวนใหญจะออกมาเลนเปนกลุมบาง เชน เลนหมากเก็บ ขายของ บทบาทสมมุติ ในชุมชนทั่วไปพื้นที่สวนตัวสําหรับผูหญิงในชุมชนจะมาพบปะสังสรรคอีกพื้นที่หนึ่งคือรานทําผม แตดวยวัฒนธรรมอิสลามที่มีขอกําหนดวาผูหญิงจะตองปดบังผมของตนเองจากสายตาของผูชายที่ไมใช พอ สามี และพี่-นองชาย ทําใหความตองการในการเขารานเสริมสวยมีนอยกวาสังคมที่ไมใชมุสลิม ดังนั้น ในหมูบานดาโตะจึงไมมีรานทําผมที่จะเปดโอกาสใหผูหญิงไดพบปะกัน ความสัมพันธระหวางชาวดาโตะกับคนจีน นายมะลีเปง ดอเลาะ อายุ ๗๕ ป เลาวา เคยมี คนจีนเขามาตั้งถิ่นฐานที่บานดาโตะ เมื่อประมาณ ๖๒ ปกอน ขณะที่นายมะลีเปงเรียนอยูชั้นประถมปที่ ๓ มีคนจีนคนหนึ่งซึ่งเดินทางมาจากเมืองจีน ชาวบานเรียกกันวา “แปะเซ็ง” มีภรรยาชื่อ “แมะกง” ทํา อาชีพรับซื้อกุงสดจากชาวบานมาตากแหง ซึ่งอยูอาศัยที่บานดาโตะ ๑๕ ป จึงไดกลับไปอยูเมืองจีน จากนั้นมีคนจีนอีกคนหนึ่งซึ่งชาวบานเรียกกันวา “เจะอาแซ” ซึ่งเปนชื่อที่ชาวบานตั้งใหหลังจาก ที่เขาไดเขารับศาสนาอิสลาม กอนที่จะแตงงานกับหญิงสาวชาวมุสลิมที่บานบูดี ชื่อแมะจิ เจะอาแซอยูที่ ดาโตะประมาณ ๒ ป จึงยายกลับเมืองจีน คนจีนอีกคนที่เขามาอยูที่ดาโตะ คือ “เตาะ” เปนชื่อที่ชาวบานดาโตะตั้งใหเชนกัน เมื่อแรกเตาะ เขามาอยูในดาโตะคนเดียว รับซื้อกุงและเลี้ยงเปดไข ตอมาชาวบานเกือบทั้งหมูบานไปขายกุงใหกับเตาะ จนกระทั่งเตาะทํางานไมทัน จึงกลับไปพาลูกและภรรยามาอยูและชวยทํางานดวย และรับชาวบานมา เปนลูกจาง ซึ่งนายมะลีเปง ดอเลาะ เคยไปเปนลูกจางของเตาะดวยคาจาง ๗-๑๐ บาทตอวัน มะลีเปง เลาวาการไดทํางานกับเตาะทําใหไดความรูหลายอยางในเรื่องการคาขาย การทํากุงแหง เตาะอยูที่ดา โตะประมาณ ๓๐ ป จึงไดยายไปอยูในเมือง มีลูก ๕ คน ชาย ๒ คน หญิง ๓ คน ผูชาย ๑ คนยังคงอยูที่ จังหวัดปตตานี คนหนึ่งเสียชีวิตที่จังหวัดยะลา สวนผูหญิงแยกยายไปอยูที่ สงขลา กรุงเทพฯ และอําเภอสุ ไหงโกลก จังหวัดนราธิวาส ปจจุบันชาวดาโตะยังคงติดตอกับครอบครัวของเตาะอยู โดยชาวบานจะนํา สาหรายไปขายใหกับลูกชายคนเล็กของเตาะ ซึ่งชาวบานเรียกวาตี๋เล็ก ตี๋เล็กมักจะมาทําบุญเชือดแพะที่กู โบรดาโตะปาแญเกือบทุกป


การที่ชาวบานดาโตะมีปฏิสัมพันธกับชาวจีนทําใหชาวบานไดเรียนรูถึงวิธีการคาขาย สําหรับ ความสัมพันธกับคนจีนในเมืองปตตานีมักเปนเรื่องการคาขาย คนดาโตะมักไปซื้อของ ซื้อทองจากราน ของคนจีน เพราะรูสึกวาคนจีน “พูดงาย”

ลักษณะทางภูมิศาสตรและสภาพทั่วไปของบานภูมี บานภูมีเปนหมูบานหนึ่งในตําบลยามู (หมู ๔) อําเภอยะหริ่ง จังหวัดปตตานี อยูหางจากจังหวัด ปตตานีออกไปทางทิศตะวันออกประมาณ ๑๕ กิโลเมตร และหางจากอําเภอเมืองยะหริ่งประมาณ ๒ กิโลเมตร มีพื้นที่ ๒.๓๑๖ ตารางกิโลเมตร สภาพพื้นที่ของบานภูมีเปนที่ดอนน้ําทวมไมถึง มีลําคลองยามูไหลผานจากทางทิศตะวันตก เฉียงใตไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ บานภูมีสามารถแบงพื้นที่ไดเปนสามสวน พื้นที่สวนหนึ่งเปนปา เบญจพรรณ ประกอบไปดวยพันธุไมหลากหลายชนิด เชน ตนตะเคียน ตนเข็มปา ตนตาล ตนจาก ฯลฯ อีกสวนเปนพื้นที่นา ไร จําพวกมะพราว มะมวงหิมพานต มันเทศ และพื้นที่สวน จําพวกมะมวง ละมุด สวนที่เหลือนอกจากนั้นเปนพื้นที่อยูอาศัย บานภูมีมีจํานวนประชากร ๑๑๑ หลังคาเรือน จํานวนครัวเรือน ๑๓๔ ครัวเรือน ประชากรทั้งสิ้น ๖๔๔ คน โดยแบงเปนชาย ๓๑๗ คน และหญิง ๓๒๗ คน ประชากรสวนใหญประมาณ ๖๕% ประกอบ อาชีพเกษตรกร สวนที่เหลือคือคาขายและรับจาง ชาวไทยพุทธที่นี่สวนมากประกอบอาชีพหลักคือ การ ทํานา การรับจาง เชน การรับจางขับรถสงนักเรียน รับเกี่ยวขาว รายไดที่ไดจากการทํางานสามารถเลี้ยงดู ครอบครัวได

แผนที่บานภูมี

ศาสนาที่ ช าวบา นภูมีนั บ ถื อ มี อ ยู ๒ ศาสนาด ว ยกั น คือ ศาสนาอิส ลามและศาสนาพุท ธ ใน จํานวนนี้นับถือศาสนาอิสลาม ๕๙๓ คน (๙๒%) ศาสนาพุทธ ๕๑ คน (๘%) ชาวไทยพุทธบานภูมีนับถือศาสนาพุทธ ๕๑ คน (๘%) คนในสมัยปจจุบันยังคงมีความเชื่อใน เรื่องไสยศาสตร เชน เรื่องผีสาง ดังจะเห็นไดจากพิธีไหวทางของชาวบาน นายศักดา ณ สงขลา ไดเลาวา ผูที่จะเขามาในหมูบานในสมัยกอนนั้น หากเปนคนนอกหมูบานสวนมากจะหลงทางกันหมด หรือมองไม เห็นหมูบาน สาเหตุนี้เปนเพราะผีเจาที่เจาทางไดปดกั้นหมูบานเพื่อไมใหคนนอกเขามากอเหตุรายใน หมูบาน (คิดวาในสมัยนั้นอาจมีโจรชุกชุม) ชาวไทยพุทธที่หมูบานภูมีนั้นไมมีวัดประจําหมูบาน โดย


ชาวบานจะตองเดินทางไปประกอบศาสนกิจ ทําบุญ หรือจัดงานประเพณีตางๆ ที่หมูบานใกลเคียง ณ วัด ตะเคียนทอง บานภูมีน้ําพุง ซึ่งอยูหางจากหมูบานภูมีประมาณ ๒ กิโลเมตร ชาวบานภูมีใชศาสนาอิสลามเปนหลักในการดําเนินชีวิต วิถีชีวิตทั้งหมดตั้งแตตื่นจนถึงเขานอน จะเกี่ยวของกับศาสนาทั้งสิ้น และในสวนนี้เอง หากจะเรียกสิ่งที่ชาวบานยึดถือและปฏิบัติวาเปน “ความ เชื่อ” ยอมไมครอบคลุมความหมายทั้งหมด ดังนั้นคําวา “ความศรัทธา” จึงเปนคําจํากัดความที่ถูกตอง กวา เพราะสิ่งที่ยึดถือและปฏิบัติกันมานั้นไมมีการเปลี่ยนแปลง หลักการของศาสนาอิสลาม แบง ออกเปนหลักใหญ ๆ ได ๒ ประการคือ หลักศรัทธา เรียกวา “รูกนอีมาน” คือ หลักการหรือบทบัญญัติที่ มุสลิมทุกคนจะตองศรัทธายึดมั่น หลักการปฏิบัติ เรียกวา “รูกนอิสลาม” คือ หลักการหรือบทบัญญัติที่ มุสลิมทุกคนจะตองปฏิบัติตาม บานภูมีประกอบไปดวยประชากรที่นับถือศาสนาอิสลามกวา ๙๒ เปอรเซ็นต ใชภาษามลายูเปน ภาษาหลักในการสื่อสารในชีวิตประจําวัน สวนภาษาไทยจะใชก็ตอเมื่อตองการติดตอกับทางราชการหรือ กั บ ผู ที่ ไ ม ส ามารถพู ด ภาษามลายู ไ ด คนเฒ า คนแก ข องที่ นี่ ซึ่ ง มี อ ายุ ๖๐ ป ขึ้ น ไปจะไม ส ามารถพู ด ภาษาไทยได เนื่องดวยตลอดชีวิตคลุกคลีอยูกับสังคมมุสลิม และไมไดมีโอกาส ติดตอกับบุคคลภายนอก สวนผูที่มีอายุต่ํากวา ๖๐ ปลงมาสวนใหญ จะสามารถพูดและฟงภาษา ไทยไดเปนอยางดี ทั้งนี้เนื่องจากได มีโอกาสติดตอกับคนหมูบานอื่นๆ และไดเลาเรียนทางดานสามัญมาบาง โดยเฉพาะคนรุนใหมๆ ซึ่ง ปจจุบันศึกษาความรูทั้งทางดานศาสนาและสามัญ (ระดับประถมจนถึงระดับปริญญาตรี) จะสามารถใช ทั้งภาษาไทยและภาษามลายูไดอยางคลองแคลว ชัดเจน สําเนียงภาษามลายูที่ใชกันที่บานภูมีเหมือนกับสําเนียงที่ชาวมุสลิมในประเทศไทยสวนใหญใช คือ เปนสําเนียงที่เพี้ยนมาจากภาษามลายูที่ใชกันอยูในประเทศมาเลเซีย ในรัฐกลันตัน เชน คําวา “โอรัง” ในภาษา มลายูที่แปลวา คน ชาวบานจะพูดวา “โอแฆ” หากตองการเปรียบเทียบใหเห็น ไดชัด คงเปรียบไดกับ ภาษาไทย (ภาคกลาง) กับภาษาใตนั่นเอง สําหรับการสื่อสารโดยการเขียนนั้น แตเดิมชาวบานที่นี่ใชภาษาเขียนที่เรียกวา “อักษรยาวี” สวน อั ก ษรไทยนั้ น ใช เ มื่ อ การติ ด ต อ กั บ ทางราชการเช น เดี ย วกั บ การสื่ อ สารโดยใช คํ า พู ด แต ป จ จุ บั น นี้ ภาษาไทยไดเขามามีบทบาทมากขึ้น ดังจะสังเกตไดในชวงที่มีการเลือกตั้ง หรือปายโฆษณาตางๆ ก็มัก ทําเปนภาษาไทยแทบทั้งสิ้น ชาวไทยซึ่งนับถือศาสนาพุทธนั้น คนในหมูบานสวนมากจะพูดได ๒ ภาษา คือภาษาไทย (ทั้ง สําเนียงไทยภาคกลางและสําเนียงใต) และภาษามลายู สาเหตุที่คนในหมูบานสามารถพูดภาษามลายูได ก็เพราะมีการคบหากับชาวไทยมุสลิมเสมือนพี่นอง สําหรับการแตงกายนั้น ชาวไทยพุทธแตงกายคลายๆ กันหมด โดยผูชายสวมเสื้อยืด กางเกงขา สั้นหรือยาว ผูหญิงสวมเสื้อเชิ๊ต นุงผาถุง หากเปนผูสูงอายุมักสวมเสื้อคอกระเชา สวนชาวไทยมุสลิม ผูชายสวมเสื้อเชิ๊ตหรือเสื้อยืด นุงผาโสรง หากมีการปฏิบัติศาสนกิจจะสวม เสื้อแขนยาว นุงผาโสรงและสวมหมวกที่เรียกวา “กูปเยาะห” บางรายโพกผาซอรบัน (เปนผาผืนยาวๆ) สําหรับผูหญิงมักสวมเสื้อแขนยาว นุงผาถุง และคลุมศีรษะ


การสรางบานของคนในพื้นที่นี้สรางเรียงกันไปตามทางสัญจร ซึ่งแรกๆ ก็จะเปนทางเดินเทา แคบๆ ภายหลังมีการพัฒนาในดานตางๆ มีการตัดถนนลาดยางผาน ทางสัญจรกวางขวางขึ้น และมีการ ถมดินเพื่อเพิ่มความสูงใหกับถนน บานบางหลังจึงอยูลึกลงไปในไหลทาง บานแตละหลังจะปลูกหางกัน ประมาณ ๑๐-๓๐ เมตร ยกเวนในสวนที่เปนพี่นองหรือญาติสนิท จะปลูกในลักษณะที่ชิดกันหรือมีการใช พื้นที่บางสวนรวมกัน ที่พักอาศัยของชาวบานนั้นมีจุดเริ่มจุดเดียวกันกับปอเนาะ นั่นคือถือบาลาเซาะฮเปนศูนยกลาง และกระจายที่ พั ก ออกไปเรื่ อ ยๆ แต เ ดิ ม นั้น ที่ พั ก อาศั ย เหล า นี้ ก็ คื อ ที่พั ก ของนัก เรีย นปอเนาะนั่ น เอง ภายหลังมีครอบครัวจึงทําการขยายที่พักออกไปหรือสรางใหมในลักษณะที่มั่นคงแข็งแรงขึ้น เพียงแต ตอมาเมื่อกาลเวลาผานไป นักเรียนที่พักอยูบริเวณรอบนอกตางมีครอบครัว มีการประกอบอาชีพ มีการ เกิดลูกออกหลาน และไมไดศึกษาหาความรูในปอเนาะเหมือนกอน จึงเกิดเปนชุมชนขึ้นบริเวณรอบ นอกปอเนาะ ยิ่งกาลเวลาผานไป ขอบเขตระหวางปอเนาะกับที่พักรอบนอกยิ่งเดนชัดขึ้น ทายที่สุดก็ กลายมาเปนชุมชนอยางที่เห็นในปจจุบัน

ความสัมพันธระหวางบานดาโตะกับปอเนาะภูมี บ า นดาโตะ กับ ปอเนาะภู มีมีค วามสั มพั น ธ กั น มาตั้ ง แต อ ดี ต ตั้ง แต ที่ ช าวดาโตะ ยัง ใชเ รื อ เป น ยานพาหนะสัญจรไปมา โตะอิหมามคนปจจุบันและบาบอเละหซึ่งปจจุบันอยูที่ปอเนาะภูมีเลาวา สมัยที่ ถนนยังเขามาไมถึงหมูบาน เวลาชาวบานดาโตะเชิญมางานแตงงาน งานศพ งานเมาลิด หรืองานดาน ศาสนาอื่นๆ ที่ชาวบานใหไปชวย จะตองเสียเวลาในการเดินทางทั้งวัน แตเนื่องดวยปอเนาะมีหนาที่ตอ ชุมชนมุสลิมทุกแหง ในการใหความชวยเหลือดานตางๆ โดยเฉพาะในเรื่องพิธีกรรมตางๆ ทางศาสนา การไปมาหาสูระหวางคนในปอเนาะกับชุมชนจึงดําเนินมาอยางตอเนื่อง โดยมีความสัมพันธกันในดาน ตางๆ ดังนี้ ดานการเรียนการสอนศาสนาอิสลาม ชาวมุสลิมมีความสัมพันธกับโรงเรียนปอเนาะอยาง ลึกซึ้ง ตั้งแตอดีตถึงปจจุบัน ชาวมุสลิมถือวาปอเนาะเปนที่พึ่งดานศาสนาและการศึกษา พอแมชาวมุสลิม จะรูสึกมั่นใจในความปลอดภัยของลูกเมื่อสงลูกเขาศึกษาในโรงเรียนปอเนาะ* ในอดีตเนื่องจากปอเนาะ ภูมีเปนสถาบันศึกษาทางศาสนา ที่มีพี่นองมุสลิมจากทุกๆ หมูบานในละแวกใกลเคียงเขามาศึกษาเปน จํานวนมาก หมูบานดาโตะซึ่งตั้งอยูหางจากบานภูมีไปทางทิศเหนือของปอเนาะประมาณ ๑๕ กิโลเมตร มี ค วามสั ม พั น ธ ใ นแง ข องความผู ก พั น ทางศาสนามาตั้ ง แต อ ดี ต เริ่ ม ตั้ ง แต ใ นสมั ย โต ะ ครู ค นแรก มี ประชาชนในหมูบานดาโตะจํานวนไมนอยที่เปนลูกศิษยเลาเรียนที่ปอเนาะภูมี จนถึงปจจุบันก็ยังคงมี ผูสนใจมาเลาเรียนที่ปอเนาะภูมีอยูไมไดขาด ยกตัวอยางเชน โตะอิหมามบานดาโตะคนปจจุบันก็เคยมา *

จากเหตุการณความรุนแรงในสามจังหวัดภาคใตในปจจุบัน ทําใหภาพลักษณของปอเนาะเปลี่ยนแปลงไปใน ดานลบ สําหรับเรื่องนี้ชาวบานดาโตะเห็นวา นักเรียนและโตะครูในปอเนาะไมไดเปนผูกระทํา ผูที่กอความไมสงบ ในขณะนี้ บางคนไดใชปอเนาะเปนที่หลบซอนจากเจาหนาที่ อางชื่อปอเนาะในการกระทําการและเสพยยาเสพ ติด ชาวบานรูสึกไมดีในการกระทําเชนนี้ นับวาเปนการทําลายสถาบันการศึกษาในศาสนาอิสลาม


ศึกษาเลาเรียนที่ปอเนาะภูมี และตอมาลูกชายของโตะอิหมามซึ่งปจจุบันสอนศาสนาอยูที่โรงเรียนตาดีกา ของบานดาโตะ เปนศิษยปอเนาะภูมีเชนกัน เด็กๆ ชาวดาโตะหลายรุนหลายคนไดเดินทางไปศึกษา ศาสนาที่ปอเนาะภูมี นอกจากนี้มีชาวบานดาโตะคนหนึ่งชื่อวานายตาเละห เปนลูกหลานของตระกูลตาเละหซึ่งเปน ตระกูลที่เขามาบุกเบิกบานดาโตะ นายตาเละหจบการศึกษาชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ จากโรงเรียนบานดา โตะแลวไปเรียนตอที่ปอเนาะภูมีประมาณ ๑๐ ป ไดแตงงานกับหลานของบาบอภูมี ปจจุบันยังคงอาศัย อยูที่ปอเนาะภูมี บาบอเละห (นายตาเละห) มีพี่นอง ๙ คน ปจจุบันอาศัยอยูที่บานดาโตะ ๗ คน อีกคน หนึ่งอาศัยอยูที่บานตะโละกาโปร ชาวดาโตะเห็นวาปอเนาะภูมีตั้งมาเปนเวลานาน และบาบอเละหซึ่งเปนชาวดาโตะอยูที่ปอเนาะ ภูมีดวย จึงมีความไววางใจที่จะสงลูกหลานไปเรียนที่ปอเนาะภูมีมากยิ่งขึ้น ปจจุบันเด็กๆ บานดาโตะ ประมาณ ๖ คน ที่เรียนจบจากโรงเรียนตาดีกาไปเรียนตอที่ปอเนาะภูมี คนที่ไปเรียนที่ปอเนาะไมไดมีความสัมพันธกับโตะครูหรือมามา (ภรรยาของบาบอ) เทานั้น แต โตะปาเก (นักเรียนปอเนาะ) ยังมีความสัมพันธตอกันอีกดวย การอยูรวมกันในปอเนาะทําใหโตะปาเกมี ความผูกพันใกลชิดกันคอนขางมาก เพราะวิถีชีวิตความเปนอยูจะตองพึ่งพิงอิงอาศัยกัน โดยเฉพาะใน การหุงหาอาหาร โตะปาเกจากดาโตะจะนํา ปลา ปู กุง หรืออาหารทะเลแหงไปรับประทาน ในขณะที่โตะ ปาเกจากทองที่อื่นๆ จะเอาขาวสาร ผลไม และอาหารอื่นมารวมกัน และทํากินดวยกัน ทําใหเกิดสุภาษิต ที่วา “มะนาวมาจากภูเขา ปลามาจากทะเล ทายสุดแลวลงเอยในหมอเดียวกัน” สิ่งเหลานี้แสดงถึงความ เอื้ออาทรซึ่งกันและกันเสมือนเปนเครือญาติ นอกจากบานดาโตะจะสงลูกหลานไปเรียนศาสนาตอที่ปอเนาะภูมีแลว ทางปอเนาะภูมียังสง นักเรียนปอเนาะมาชวยสอนศาสนาใหกับโรงเรียนตาดีกาของดาโตะในยามที่ขาดแคลนครู ซึ่งจะเกิด ปญหานี้เกือบทุกป ปจจุบันโรงเรียนตาดีกาของบานดาโตะมีครูมาจากปอเนาะภูมี ๒ คน และยังไดรับ ความชวยเหลือจากโรงเรียนจงรักสัตยวิทยา ซึ่งเปนโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามสงครูฝกสอนมา สอนที่โรงเรียน ๑ คน แสดงใหเห็นถึงบทบาทของโรงเรียนปอเนาะและโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาที่มีตอชุมชนมุสลิม โรงเรียนสอนศาสนาอิสลามทุกระดับลวนมีความสําคัญและความสัมพันธใกลชิดกับชุมชนเปนอยางมาก เมื่อชุมชนหรือโรงเรียนตาดีกาตองการความชวยเหลือในการประกอบพิธีกรรมทางศาสนา โรงเรียน ปอเนาะ และโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามจะใหความชวยเหลือ และเมื่อ โรงเรียนเอกชนสอน ศาสนาอิสลามจัดกีฬาสีประจําป หรืองานประกวดเกี่ยวกับศาสนา เชนประกวดบรรยายธรรม จะเชิญให โรงเรียนตาดีกาเขารวมดวย ความสัมพันธดานประเพณีและพิธีกรรม ชาวบานดาโตะจะจัดงานเมาลิด (รําลึกวันประสูติ ของทานศาสดา) ขึ้นทุกปตามเงินทุนที่มี และจะเชิญโตะครูและโตะปาเกมาชวยอานประวัติทานนบีมูฮัม หมัด (ซ.ล.) การที่ตองเชิญโตะครูและโตะปาเกมาอานเนื่องจากบุคคลเหลานี้ไดรับการศึกษาดานศาสนา มาโดยตรง น้ําเสียงและทวงทํานองในการอานจะไพเราะกวาชาวบานทั่วไป โดยปกติแลวนักเรียนจาก


ปอเนาะภูมีจะมารวมงานเมาลิดคราวละไมต่ํากวา ๒๐ คน หรือในคราวที่ปอเนาะภูมีจัดงานก็จะเชิญ ชาวบานดาโตะไปรวมงานและชวยงาน ซึ่งก็ไดรับความรวมมือจากบานดาโตะเปนอยางดี นอกเหนื อ จากที่ ก ล า วมา รู ป แบบความสั มพั น ธ ร ะหว า งบ า นดาโต ะกั บ ภู มียั ง อยู ใ นรู ป ของ พิธีกรรมทางศาสนา งานศพเปนงานที่ชาวบานตองการความชวยเหลือจากปอเนาะเปนอยางมาก ใน อดีตเมื่อมีผูเสียชีวิต ชาวบานจะไปเชิญโตะครูใหมาอาบน้ําศพ เพราะชาวบานอาบน้ําศพไมเปน และเชื่อ วาหากใหโตะครูอาบน้ําศพใหจะเปนสิริมงคล ในปจจุบัน เมื่อชาวบานไดเรียนปอเนาะมากขึ้น ทําใหสามารถอาบน้ําศพเองได แตชาวบาน ยังคงตองการความชวยเหลือจากปอเนาะในการละหมาดศพ หรือพิธีละหมาดญานาซะห (ละหมาด ใหกับคนตาย) ในกรณีที่จะมีพิธีละหมาด ทางหมูบานดาโตะก็จะเชิญโตะครูและลูกศิษยไปรวมดวยเสมอ ตามความเชื่อทางศาสนา เชื่อวาหากมีคนมาละหมาดศพมากเทาไร จะทําใหผูตายไดรับผลบุญมาก เทานั้น บางครอบครัวตองการใหมีคนละหมาดศพ ๑๐๐-๓๐๐ คน ซึ่งชาวบานในหมูบานที่จะละหมาดใน พิธีศพไดมีไมเพียงพอ จึงขอความชวยเหลือไปยังปอเนาะ ซึ่งมีโตะปาเกที่สามารถละหมาดในพิธีศพได อยูจํานวนมาก โดยในสมัยโตะครูคนแรกชวงที่ยังใชเรือในการสัญจรไปมานั้น หากมีคนตาย ทางบานดา โตะจะมาเชิญใหไปทําพิธีละหมาดในชวงเชา บานภูมีก็จะเตรียมตัวและออกเดินทางไปทางเรือผานคลอง ยะหริ่ง กวาจะไปถึงและไดทําพิธีละหมาดก็เปนเวลาเที่ยง และจะกลับถึงปอเนาะภูมีในเวลาเย็น ในปจจุบันชาวดาโตะจะขอความชวยเหลือไปที่บาบอเละหซึ่งอยูที่ปอเนาะภูมี โดยที่ญาติผูตาย ไมจําเปนตองเดินทางไปบอกถึงปอเนาะภูมี เพียงแคโทรศัพทไปบอกบาบอเละหวาตองการคนละหมาดกี่ คน บาบอจะจัดการหาคนละหมาดมาให หากที่ปอเนาะมีไมเพียงพอ บาบอจะชวยโทรศัพทไปขอคน ละหมาดจากปอเนาะตางๆ เชน ปอเนาะดาลอ ปอเนาะปยา ฯลฯ นอกจากการละหมาดศพแลว โตะครูจะเปนบุคคลสําคัญในการนําศพลงหลุมเพื่อเปนสิริมงคล และอานตัลกิน (Talkin) เปนภาษาอาหรับ (ตัลกิน (Talkin) เปนคําสอนสําหรับผูตาย) ในสมัยของโตะครูคนที่ ๒ ฮัจยีอับดุลเราะหมาน อาดํา มีลูกศิษยคนหนึ่งจากบานดาโตะที่ทาน โตะครูเห็นวามีความรูพอที่จะเปนครูชวยสอนและดูแลปอเนาะได ทานจึงไดใหลูกศิษยคนนี้แตงงานกับ หลานของทาน และปจจุบันลูกศิษยคนดังกลาวก็เปนหนึ่งในคณะครูอาจารยที่สอนอยูในปอเนาะภูมี ชื่อ ของทานก็คือ อับดุลมุตตอลิบ สิ่งนี้เองที่ทําใหความสัมพันธระหวางบานภูมีกับบานดาโตะยิ่งกระชับขึ้น ไปอีก ความสัมพันธดานอาหารการกิน การพึ่งพาอาศัยกันดานอาหารการกินนั้น ในสมัยกอนนั้น เมื่อชาวบานภูมีลองเรือไปทําการละหมาดญานาซะหที่บานดาโตะ ก็มักจะไดปลาติดไมติดมือกลับมา ชาวบานภูมีเองก็ไมยอมนอยหนา มักจะนําขาวไปเพื่อเปนการแลกเปลี่ยนกันอยูเสมอ ปจจุบันบานดา โตะมีอาหารที่ขึ้นชื่อของจังหวัดปตตานี นั่นคือขาวเกรียบ คนบานภูมีเวลาที่จะซื้อของฝากใหกับญาติ ที่มาจากตางจังหวัด ก็มักจะสั่งซื้อขาวเกรียบจากบานดาโตะไปเปนของฝากอยูเสมอ จากประวัติความเปนมาและสภาพทั่วไปของบานดาโตะและบานภูมี จะเห็นไดวาถึงแมทั้งสอง หมูบานจะมีความแตกตางในดานความเปนมา สภาพแวดลอม สภาพภูมิอากาศ และการทํามาหากิน


แตทั้งสองหมูบานมีความสัมพันธเปนทองถิ่นเดียวกัน ดวยความเชื่อในศาสนาอิสลาม ซึ่งธํารงอยูได ดวยสถาบันการศึกษาศาสนาอิสลาม


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.