5chaingkong4

Page 1

ความเปนมาของเชียงของยุคที่สอง: จากยุคราชวงศลาวจนถึงยุคปลายสมัยพมาปกครอง ลานนา เชียงของ: สมัยราชวงศลาว การศึกษาเชียงของในยุคนี้ไดศึกษาคนควาจากเอกสารทาง ประวัติศาสตร เชน ตํานาน พงศาวดารที่บันทึกเรื่องราวที่เกี่ยวของกับเชียงของมาเรียบเรียง เพราะเมือง เชียงของในอดีตหลายชวงสมัยมีสถานะเปนเมืองขึ้น หรือเปนสวนหนึ่งของแควนและอาณาจักรใกลเคียง เชน เชียงแสน แควนนันทบุรี (นาน) อาณาจักรลานนา ดังนั้น เอกสารทางประวัติศาสตรที่กลาวถึง เรื่องราวเมืองเชียงของโดยตรงจึงมีนอยมาก ความเปนมาของเชียงของปรากฏขึ้นอีกครั้งเมื่อสิ้นยุคราชวงศสิงหนวัติและกลุมลาวจงหรือ ลวจังกราช ราชวงศลาวขึ้นมามีบทบาทตอ ในพงศาวดารโยนกและตํานานเชียงแสนกลาวถึงเมืองรอย เตา (ฮอยเตา) ซึ่งก็คือเมืองเชียงของในปจจุบัน ในขณะนั้นตรงกับยุคเริ่มตนการสรางเมืองของพญา ลาวจักราช ราชวงศลาว ซึ่งเปนกษัตริยในสมัยเงินยาง ซึ่งควรอยูในราวพุทธศตวรรษที่ ๑๖ หรือ ๑๗ เมืองเงินยางคงจะอยูใกลกับเมืองเชียงแสนหรืออาจอยูตรงบริเวณเดียวกันก็เปนได ตอเนื่องจากตํานานเมืองฮอยเตาในหัวขอความเปนมาของเชียงของในยุคแรก ที่ปรากฏวาเมือง ตํามิละและเมืองฮอยเตา ไมมีการกลาวถึงโดยละเอียดในหลักฐานอีก โดยเฉพาะเมืองตํามิละ เพียงแต กลาววาบริเวณที่เปนเมืองฮอยเตา ตอมา กลายเปนเมืองเชียงของ ตรงกับสมัยของพญาลาวจกราช ใน ประชุมพงศาวดารฉบับราษฎร พื้นเมืองเชียงแสนกลาววา เจาเมืองเชียงแสนที่ใหควาญชางตามรอยชาง และมาเจอเมืองฮอยเตาหรือเมืองรางตํามิละ ชวงนี้เองที่เปนยุคเริ่มตนสรางเมืองของพญาลาวจกราช พญาลาวจกราช (ลาวจังกราช) ถือวาเปนตนราชวงศลัวะ / ลาว ปกครองเมืองหิรัญนครเงินยาง เชียงแสน ไดขยายอํานาจจากศูนยกลางอํานาจเดิมที่ดอยตุง มาอยูบริเวณลุมแมน้ําโขง-แมน้ํากก โดย การขยายอํานาจวิธีหนึ่งนั้น พระองคจะใหลูกหลานไปสรางบานเมืองหรือไปครองเมืองตามที่ตางๆ เชน - เจาลาวคอบ (ครอบ ,กอบ) ไปอยูบานถ้ํา - เจาลาวชาง ไปอยูบานคา - เจาลาวเกาแกวเมืองมา ไปอยูบานผาเลา ตอมาจึงแตงตั้งใหลาวคอบ (ลาวครอบ, ลาวกอบ) ไปครองเมืองเชียงของ ใหลาวชางไปครอง เมืองยองและลาวเกาแกวเมืองมาใหเปนอุปราชเมืองหลวง จากหลักฐานดังกลาว แสดงใหเห็นวามีการ สรางเมืองเชียงของในบริเวณที่เปนเมืองตํามิละ หรือเมืองฮอยเตาเดิม ในสมัยของพญาลาวจกราชนี้ ซึ่ง การกลับมาเปน “เมือง” ของเชียงของนั้น หลักฐานไมไดระบุวาพญาลาวจกราชใหโอรสมาสรางเมือง การ ที่เชียงของเปนเมืองขึ้นมาได อาจจะเปนกลุมตํามิละเดิมที่อพยพไปอยูที่อื่นไมนานนักก็กลับมาฟนฟู บา นเมือ งใหม แล ว พั ฒ นาบ า นเมื อ งจนเป น ที่ ส นใจของพญาลาวจกราช จึง ได ข ยายอํา นาจเข า มา ครอบครอง โดยการสงลาวกอบ พระราชโอรสมาครองเมืองเชียงของ ซึ่งการครองเมืองนั้น จะตองอพยพ ครัวเรือนจากเมืองเกามาดวย (อาจจะมาจากบานถ้ําหรือเชียงแสนก็ได) จึงเกิดการผสมผสานชาติพันธุ ระหวา งกลุ มลัว ะ-ลาว และกลุ มตํา มิ ละเดิ ม ดั ง นั้น เชีย งของจึง เป นเมือ งบริ ว ารของเมื อ งเชี ย งแสน (ราชวงศลัวะ-ลาว) ตั้งแตนั้นมา


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.
5chaingkong4 by มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์ - Issuu