6chaingkong5

Page 1

เชียงของหลังยุคอํานาจสยามถึงยุคสงครามเย็น ยุคหลังอํานาจสยามถึงเริ่มสงครามโลกครั้งที่สอง (พ.ศ. ๒๔๔๗–๒๔๘๑) ในยุคนี้ในฝงซาย แมน้ําโขงยังเปนดินแดนอาณานิคมของฝรั่งเศสอยู และเจาอาณานิคมไดเก็บคาหัวชายฉกรรจเปนเงินคน ละ ๑๐ หมัน สําหรับชาวบานทั่วไปในยุคนี้ มันเปนเงินจํานวนมาก และเงินเปนสิ่งที่หายากเพราะดวยวิถี ชีวิตที่พึ่งพาทรัพยากรธรรมชาติทําไร ทํานา หาของปา ลาสัตว ทําใหคนลาวและคนลื้อจํานวนมากที่ อพยพจากหลวงพระบางมาตามลําน้ําโขงขึ้นมาตั้งถิ่นฐานในเขตเชียงของ ของสยาม พอเฒาผุย บุปผาผู อพยพรุนแรกแหงบานปากอิงที่เริ่มตนหมูบานดวยเรือนคนลาวสองหลัง นอกจากคนลาวแลวพอเฒาผุยเลาวายังมีคนลื้ออพยพมาในคราวเดียวกันเพราะการเก็บคาหัว ของฝรั่งเศส โดยอพยพมาตามริมแมน้ําโขง บางสวนตั้งหลักแหลงในฝงซายของลาวกอน แลวอพยพมา ฝงขวาในเชียงของ เชน บานหาดบายหาดทรายทองในปจจุบัน ไดอพยพมาในชวงป ๒๔๘๒ โดยสวน หนึ่งไดอพยพหนีสงครามโลกครั้งที่สองดวย คือการหนีการเกณฑเปนทหารของฝายตางๆในชวงสงคราม ในพื้นที่สูงเชนดอยผาหมนดอยผาตั้งก็ไดมีคนเยาและมงอพยพมาดวยเชนกัน รายละเอียดจะกลาวตอไป ในบทที่วาดวยเรื่องความหลากหลายของกลุมชาติพันธุในเชียงของและปฎิสัมพันธระหวางชาติพันธุ การทํามาหากิน กอนเขาสูชวงสงครามโลกครั้งที่สองไมเกินสิบป ชาวบานสวนใหญมีชีวิตอยู กับการทํานา ทําไรและหาปลา ในอดีตการทํานาในแตละปเริ่มขึ้นประมาณเดือนพฤษภาคม ผูชายเตรียม อุปกรณการทํานา เชน ไมไผสําหรับทํารั้วกันแปลงนาเพาะกลาขาว ฟาก คา ไมเพื่อซอมกระทอม เชือกที่ ทําจากเปลือกปอ ไถ คราด เปนตน เดือนมิถุนายนฝนตกพอที่มีน้ําในนาแลว นําควายไปไถและคราด แปลงเพาะตนกลาขาว นําเมล็ดพันธุขาวพื้นเมือง เชน แกวกาบหลวง ขาวดอกเหมย ขาวขาวหลวง เปน ตน บรรจุลงกระบุงแชในน้ํา ๒ คืน วางที่รมบนบก ๑ คืนเรียกสูตรแชพันธขาวนี้วา “น้ํา ๒ บก๑” แลว นําไปหวานในแปลงเพาะลอมรั้วปองกันควายเขาไปเหยียบย่ํา ตอจากนั้นก็ทําการไถนาปลอยที่ไวจน หญาที่ถูกดินทับถมเนาแลวจึงทําการไถอีกครั้งหนึ่งทําเปนคันดินปลอยทิ้งไวจนหญาเนา ซอมแซมคันนา โดยการถากหญาบนคันนาแลวนําดินในนาขึ้นมาทับ เรียกวาปานคันนา เมื่อขาวกลาเติบโตเต็มที่แลวก็คราดนาใหดินแหลกผสมกับน้ําจนเปนโคลน ผูชายถอนตนกลา แลวตัดยอดออกเสีย ใสลงในตะกราขนาดใหญ เรียกวา กวย หาบไปทิ้งไวที่นาที่คราดแลว ผูหญิงก็ ชวยกันดํานา หลังทํานาของตนเสร็จแลวก็ไปชวยคนอื่นที่เคยมาเอาแรง หรือเอามื้อ เรียกวา ตอบมือ การ เอามื้อเอาแรงกันมักจะเปนกลุมเครือญาติและคนที่อยูบานใกลเคียงกัน ซึ่งมีความสนิทสนม เจาของนา เตรียมขาวและอาหารไปเลี้ยง สวนผูที่ไปชวยก็หอขาวและกับของตนไปสมทบดวย การทํานาใชเวลา ๑๒ เดือน ผูชายนอนกระทอมนาผูหญิงเปนฝายเตรียมขาวไปสงในตอนเชา บางคนมีที่นามากก็จะจาง ลูกจางมาชวยทํานาใชขาวเปนคาจาง โดยจายใหหลังการเก็บเกี่ยวผลผลิต เมื่อขาวแกจัดเหลืองอรามเต็มทองทุงบางครอบครัวก็ใชแรงงานภายในครอบครัว บางครอบครัว แรงงานไมเพียงพอก็ใชวิธีการเอาแรงจากเพื่อนบานชวยเกี่ยว ตี ขนขาวใสยุงฉาง ดังนั้น การทํานาในอดีต ใชแรงงานและควายเปนหลัก


หลังการเก็บเกี่ยว รูวาไดขาวพอที่จะกินไดตลอดทั้งปหรือไม ถาคิดวาไมพอก็เตรียมถางไร เผา หญาในไร เพื่อที่ทําการปลูกขาวไร ใชวิธีหยอดเมล็ดพันธุขาวลงในหลุมแลวกลบทิ้งไว และปลูกพืชอื่น ๆ เชน ฟก แตง ในไรขาว รอจนกระทั่งขาวแกเต็มที่จึงทําการเก็บเกี่ยวบริโภคกอนฤดูการทํานาในปตอไป บางครอบครัวที่ไมมีนาตองเชาที่นาคนอื่น ถาเจาของนาหาควาย อุปกรณการผลิต และพันธุขาว ใหผูเชา แบงขาวที่ผลิตไดคนละครึ่ง ถาผูเชาจัดหาควาย อุปกรณและพันธุขาวทั้งหมดก็แบงใหเจาของนา ๑ สวน ผูเชาได ๒ สวน การคมนาคมติดตอ เสนทางคมนาคมขนสงของเมืองเชียงของในยุคนี้มี ๒ เสนทาง คือ ทางบก สํา หรั บ คนที่เ ดิน ทางไปทางที่ราบลุมแม น้ํ า อิ ง เมือ งน า น เชี ย งรายก็จ ะใช เส น ทางเชี ยงของ ขุ นตาล และเทิงแลวก็แยกไปยังสถานที่ตาง ๆ ถาไปเชียงรายพาน เวียงปาเปา แมสรวย เชียงใหมเดินทางไปทิศ ตะวันตกของเมืองเทิงซึ่งเปนที่ราบลุมแมน้ํากกและแมน้ําลาว ถาจะไปเชียงคํา พะเยา ปง นาน แพร จะตองเดินทางไปทางทิศตะวันออกของเมืองเทิง ซึ่งเปนที่ราบลุมแมน้ําอิง และแมน้ําลาวไหลมาจากดอย ภูลังกาเขตอําเภอเชียงคํามาบรรจบแมน้ําอิง หลัง ที่วาการอําเภอเทิง เสนทางจากเทิง -เชียงของเปน เสนทางการอพยพของผูคนเมืองที่มาอยูเชียงของเวียงแกน การเดินทัพของสยามที่เขามาปราบเงี้ยวเมือง เชียงของ และเปนเสนทางพอคาวัวตางใชกันมาแตเดิม สวนทางน้ําใชแมน้ําโขงเปนทางคมนาคมการคาระหวางเชียงของ หลวงพระบาง หลวงน้ําทา และเชี ย งแสน ดั ง ที่ก ลา วมาแล ว นอกจากนั้ น อาจกล า วได วา การใช เส น ทางนี้ สง เสบีย งไปให เมื อ ง เชียงใหม โดยผานแมน้ําโขง แมน้ํากกเขาเชียงใหม เสนทางจากเชียงของไปเชียงแสนทางแมน้ําโขง นอกจากบรรทุกผูคนดวยเรือถอ เรือแจวแลว ยังบรรทุกใบยาสูบไปดวย ในบางครั้งพอคาเชียงของซึ่งพอ เฒาผุย บุปผาเลาวา ไดบรรทุกขาวสารไปขายถึงหลวงพระบางและเวียงจันทน การคมนาคมติดตอสวนใหญเกิดขึ้นเพราะการคาขายสินคาระหวางทองถิ่น โดยมีปจจัยเสริม จากความตองการสินคาของชาวฝรั่งเศสในเมืองหลวงพระบางและเวียงจันทน สวนใหญจะเปนขาวสาร ของปาเหมือนยุคเจาเมืองเชียงของ สวนการทําการเดินเรือเพื่อหาปลายังอยูในบริเวณสองฝงแมน้ําจาก เชียงแสนถึงผาได โดยสามารถหาปลาไดทั้งสองฝง นอกจากนี้การคมนาคมติดตอระหวางคนพื้นราบกับ คนบนที่สูงสวนใหญจะเกิดขึ้นโดยการคาขายในกาดเชียงของ คนเยาจะเปนพอคานําของปามาขาย และ ซื้อของใชจําเปนนําไปขายตอใหคนมง คนลาหู คนเยาไดชื่อวาเปนผูชํานาญในทางการคาบนพื้นที่สูงซึ่ง ลูกหลานของพอคาเหลานั้นในปจจุบันลูกหลานไดลงมาทําการคาในพื้นราบและสามารถขยายกิจการ ใหญโตทั้งในเมืองเวียงแกน เมืองเชียงคําและในเมืองเชียงราย การใชประโยชนจากแมน้ํา นอกจากที่สายน้ําโขงและน้ําอิงจะเปนเสนทางการคมนาคมขนสง การคารวมกันแลว ชาวบานเชียงของเวียงแกนยังใชแมน้ําโขงเปนแหลงอาหารโปรตีนที่สําคัญ การหา ปลาโดยใชเครื่องมือแบบงายในเบื้องตน เชน เบ็ด ตุม สวิง และพัฒนาการตอมาเปนขาย (มอง) การหา ปลาสวนใหญหาในชวงเวลาเสร็จจากการทําไรทํานา เพื่อไวกินในครอบครัว พื้นที่หาปลาที่สําคัญจะอยู บริเวณเกาะแกง ทั้งคนเชียงของและคนฝงลาวสามารถหาปลารวมกันได และสามารถขามไปมาหาสูกัน อยางญาติมิตร


อยางไรก็ตาม การหาปลาบึกซึ่งเปนปลาหนังน้ําจืดขนาดใหญที่สุดก็เริ่มจับกันในระยะเวลานี้ ชาวบานหาดไครเชื่อวา ปลาบึกอาศัยอยูในถ้ําใตน้ําโขงเหมือนวังปลาบึกขนาดใหญแถบหลวงพระบาง ปลาบึกเปนสัตวใหญเหมือนกระทิงที่มีเจาคอยปกปกรักษาอยู เรียกวา ผีลวง คือผีที่อยูในแมน้ําโขงทํา หนาที่คุมครองปลาบึก กอนที่จะหาปลาจะตองมีการเซนสรวงบอกกลาว พิธีเลี้ยงผีลวงจะเริ่มขึ้น หลังการ มาของนกนางนวลประมาณ ๒ อาทิตย มีความเชื่อกันวา นกนางนวลเปนลามของปลาบึก หรือเปนผู นําพาปลาบึกเดินทางผานมายังบานหาดไคร ชาวบานที่จับปลาบึกจะรวมตัวกันเปนกลุม ๆ ละ ๗-๘ คน สวนใหญเปนเครือญาติกันจัดเตรียมเครื่องเซน ประกอบดวยเหลาขาว ๑ ขวด ไก ๑ คู กรวยดอกไมขาว และเทียน ๑ กรวย กรวยหมาก ๑ กรวย และกรวยพลู ๑ กรวย ในวันที่เลี้ยงผี คนหาปลาบึกไปพรอมกันที่ ปางปลา หรือ บริเวณที่จะประกอบพิธีเลี้ยงผีลวง ก็จะชวยกันสรางศาล ๑ หลังขนาดกวางประมาณ ๑ เมตร ทําชั้นวางเครื่องเซนสูงประมาณ ๗๐ เซนติเมตร คนหาปลาบึกนําเครื่องเซนทั้งหมดมารวมกันที่หนา ศาล ผูเฒาหัวหนาคนหาปลาเปนผูกลาวขออนุญาตจับปลา ใหมีโชคในการจับปลา ถาไดปลาแลวจะ กลับมาเลี้ยงอีกครั้งหนึ่ง หลังจากนั้นก็นําไกไปฆา ตมใหสุก ฉีกเปนชิ้น ๆ ติดบนกอนขาวเหนียวใสไวใน จานมอบใหกับผีลวง นําเครื่องเซนสรวงวางไวบนชั้นวางในศาล รอประมาณ ๓๐ นาทีเห็นวาผีลวงนาจะ อิ่มแลวก็บอกกลาวขออนุญาตนําเครื่องเซนที่เหลือไปกิน ถากลุมไหนจับปลาบึกไดตองกลับมาเลี้ยงผีลวง ตามจํานวนปลาที่จับได หลังจากเลี้ยงผีลวงแลว กอนนําเรือออกหาปลาบึกจะตองเลี้ยงผีแมยานางเรือ มีความเชื่อวาแม ยานางมี ๓ ตน คือ นางผมหอมอยูหัวเรือ นางคําฟูอยูกลาง และนางแกวอยูทายเรือ กอนเลี้ยงจะเสี่ยง ทายนับขาวเปลือกโดยการสุมหยิบ ๓ ครั้ง สําหรับเครื่องเซนแตละอยางมีหมู ไกแดง และไกขาว ถาเมล็ด ขาวเหลือลงเปนคูที่เครื่องเซนใดทั้ง ๓ ครั้ง แสดงวาแมยานางตองการเครื่องเซนนั้น นอกจากนั้น คนจับ ปลาบึกจะนําดอกไมแดง หมาก พลู และเทียนมาไหวแมยานาง หลังจากไหวแมยานางเรือแลวก็จะนําไก เปน ๆ มาฟาดที่หัวเรือจนตาย แลวนําเลือดทาเรือตั้งแตหัวเรือจรดทาย บนบานใหแมยานางนําโชคมาให พวกตน การจับปลาบึกของชาวหาดไครในอดีตใชเครื่องมือพื้นบาน โดยเริ่มตนจากการใช ”สะเบ็ง” หรือ เครื่องมือที่มีลักษณะคลายฉมวก การใชสะเบ็งตองใชคนที่ชํานาญน้ํา ชํานาญเรือและมีความเข็งแรง เพราะตองลองกําลังระหวางคนกับปลาบึกที่ติดเหล็กแหลมของสะเบ็งเสียบราง สวนใหญสะเบ็งจะติดไม แนนทําใหปลาหลุด และปลาตัวนั้นและตัวอื่นๆจะเรียนรูที่จะเอาตัวรอด ทําใหชาวบานหันมาใชเครื่องมือ ที่เรียกวา “กวัก” กวักเกิดจากการนําปานมาฝนเปนเกลียวเชือกแลวถักเปนตาขาย ผืนกวักมีรูปรางเปน สี่เหลี่ยมผืนผาขนาด ๖-๗ เมตร ชองหรือตาของตาขายกวางประมาณ ๒๕–๓๐ เซนติเมตร มีเชือกรอย ขอบของนามคลายกับถุงหูรูด การลาจะอาศัยการสังเกตคลื่นและฟองอากาศที่ปรากฏบนผิวน้ํายามเมื่อ ปลาบึกแหวกวายขึ้นมา ในบรรดาคนหาปลาจะมีคนหนึ่งที่เชี่ยวชาญการสังเกตจะไดชื่อวา “เสือตาไฟ” เมื่อรูวาปลาบึกวายมา คนหาปลาอีก ๒ คนจะพายเรือไปดักไว และมีอีกหนึ่งคนคอยเอากอนหินปาดาน หางของปลา เพื่อ ใหป ลาบึกตกใจกระโจนเขาไปในถุง แลวชว ยกันรูดปากกวักแลวมัดใหแนน สว น เครื่องมือในยุคตอมาเรียกกวา “นาม” หรือตาขายที่ทําจากปานและไมมีหูรูดเหมือนกวัก


การหาปลาบึกในยุคแรกนี้จะหาเพื่อกินและจะแบงกันกินทั้งชุมชน และบางสวนจะนําไปขายให ฝงลาวซึ่งเปนแหลงรับซื้อที่สําคัญ การจับปลาบึกในบริเวณบานหาดไครที่หัวดอนแวงเปนบริเวณที่น้ํา ตื้นที่สุดของสายน้ําโขงตั้งแตเชียงของจนถึงผาได คนเมืองกลาวกันวา “ปลาตัวหลวง ชางตายน้ําตื้น” บริ เ วณนี้ ค นลาวก็ ส ามารถมาจั บ ปลาบึ ก ได เ ช น กั น โดยมี ก ารจั ด คิ ว กั น ไปจั บ ปลาบึ ก หรื อ ปลาอื่ น ๆ เหมือนกับบริเวณที่เรียกวา “ลั้ง” ซึ่งเปนคําเรียกพื้นที่หาปลารวมกันของคนแถบนี้ พอเฒาผุย บุปผา เลาวา “ชวงแรกมีคนหาปลาในบริเวณลั้งไมมาก เมื่อคนมากขึ้นจึงมีการสราง คิว จัดคิวกันเอง คนมาถึงครั้งแรกจะเขียนใสกระดานดวยถานไมไว คนมาที่สองเขียนตอ แลวเมื่อครบคน แลวก็ไหลมองเวียนมาใหม สวนใหญแตละคนหากินเพียงพอกินแลวกลับ” นอกจากนี้การไหลมองใน บริเวณลั้งยังมีการแบงปนปลาใหไดกินรวมกัน คิวมองนั้นสามารถใหคนอื่นไปหาแทนไดแลวเอาปลามา แบงกัน มีการทําพิธีเล็กนอยคือเอาไกมาเลี้ยงที่เรือหรือเลี้ยงผีโพลง สวนบริเวณลั้งขนาดใหญหรือบริเวณ ที่จับปลาบึกหรือปลาเทพเจาจะมีการทําพิธีเลี้ยงลวงดังที่กลาวแลว เปนการเลี้ยงใหญ เพราะคําวาลวง หมายถึงฟาหรือใหญหรือผูเปนใหญบนฟา บริเวณที่เรียกวาลั้งนั้นจะตองมีการทําความสะอาดหรือแผว ถางดูแลรวมกันทั้งหมดของคนทั้งสองฝง โดยเฉพาะคนที่หาปลาในบริเวณนั้นรวมกัน จากการสืบถามคน เฒาคนแกเลาวา ตั้งแตเวียงแกนเชียงของจนถึงเชียงแสนในอดีตมีพื้นที่ที่เรียกวาลั้งอยูหลายแหลง เชน บริเวณบานหวยลึกกับคกหลวงกับบานน้ําปก, บานแจมปองกับบานดาน, บานปากอิงกับบานดอนไขนก บริเวณนี้มีลั้งเล็กสามแหลงยอยคือกวานอิง ปากน้ําอิงและบริเวณใกลบานดอนมหาวัน, บานดอนมหาวัน กับบานเวียงใหม, บานหาดไครกับหวยทรายและบานผาคํา, บานเมืองกานกับบานปากงาว เปนลั้งมองที่ ใหญที่สุด, บริเวณปากน้ํายอน, หาดแสนตอบานหาดบายหาดทรายทอง ในเขตเชียงแสนมีลั้ง เช น บริเวณสบยาบ หัวกวาน สบกก สบคํา สบรวก สว นใหญลั้ ง จะอยู บ ริ เ วณปากแม น้ํ า ร อ งน้ํ า หรื อ หาดหิ น และเกาะแก ง ที่มี ป ลาชุ ก ชุ ม โดย เฉพาะที่ปากน้ําตางๆจะมีปลาอุดมสมบูรณจนมีคํากลาวกันวา “สบอิงคํา น้ําชุม ดาแหหอยศอกไว ปลา นอยเตนใสเพา” น้ําในแมน้ําอิงเองจะมีรสหอม จนปลาจะแหกันมาจากแมน้ําโขงมากมาย เชื่อกันวา ตน แมน้ําอิงมีคนกางขาครอมไว บริเวณปากอิงจึงหาปลาไดเยอะ กระทั่งการกางแหรอไวบนศอกปลาก็ กระโดดเตนขึ้นมาติดแห อยางไรก็ตาม วิถีการหาปลาและทํานาทําไรอยางปกติมาสะดุดลงอีกครั้งเพราะสงครามโลกครั้ง ที่ ๒ รวมทั้งการไปมาหาสูระหวางสองฝงลําน้ําโขงมีความยากลําบากขึ้น เชียงของในยุคสงครามโลกครั้งที่ ๒ (พ.ศ.๒๔๘๒–๒๔๘๖) สงครามโลกครั้งที่สองที่เกิดขึ้นมี ผลกระทบตอความเปนอยูของชาวบานในเชียงของ เพราะรัฐไทยไดสรางกระแสชาตินิยม ดวยการสราง วัฒนธรรมชาติขึ้นมาทําใหเกิดขบวนการเรียกรองดินแดนคืนจากฝรั่งเศส เกิดมีสงครามในอินโดจีน ทหาร มาตั้งฐานทัพในเชียงของ และคนหนุมถูกเกณฑใหไปเปนลูกหาบใหกับทหารไทยในการบุกยึดเมืองเชียง ตุงมาจากอังกฤษ ความเปนอยูของคนในยุคนี้เริ่มปรับตัวเขากับการทําธุรกิจสมัยใหม ในชวงเวลานี้สหรัฐ เริ่มแผอํานาจมายังอินโดจีนเพื่อตอตานคอมมิวนิสต และแผอาณานิคมแบบใหมตอจากฝรั่งเศส ซึ่งทําให เมืองเชียงของตกอยูในสภาพเปนพื้นที่สีแดงในเวลาตอมา


ชีวิต ความเป นอยูใ นภาวะสงคราม พ.ศ.๒๔๘๓ จอมพลแปลก พิบูล สงครามเป น นายกรัฐมนตรีไดประกาศเขารวมสงครามมหาเอเชียบูรพาเปนฝายเดียวกับญี่ปุน เกิดกระแสการเรียกรอง ดินแดนคืนจากฝรั่งเศส ไทยเตรียมพรอมที่จะทําการรบ ทหารถูกสงมายังเมืองเชียงของ โดยใชเสนทาง ถนนทางหลวงปจจุบัน ซึ่งในอดีตยังเปนทางเกวียนที่ชาวบานใชเดินทางไปมาระหวางเทิง ขุนตาล และ เวียงแกน เมื่อทหารเดินทางมาถึงเมืองเชียงของก็มีการสรางที่พักกองกําลังทหารหลังบานสบสม บริเวณ ดานตะวันตกของหวยแมน้ําสบสม หลังวัดศรีดอนไชย ชาวบานที่อยูรอบนอกเมืองเชียงของถึงเมืองเทิง เปนผู สงเสบีย งมาใหกั บทหารที่ประจําการสํา หรับเตรียมพรอมการสู รบในครั้ง นั้น แต ละหมูบา นจะ คัดเลือกเกวียนเทียมวัว ๑ คูแลวใสเสบียง คือ ขาวสาร อาหารแหงทุกชนิดที่ขอบริจาคทุกครัวเรือนมาก บางนอยบางตามกําลังความสามารถที่จะใหได การเดินทางสงเสบียงเที่ยวหนึ่ง ๆ จะมีขบวนเกวียนไม นอยกวา ๑๐๐ เลม เดินทางเรียงแถวยาวมุงหนามายังเชียงของ และเดินทางกลับ ในเมืองเชียงของมีการ ขุดหลุมปองกันภัยตามแนวถนนสายผานกลางเมืองลึกประมาณ ๒ เมตร ทหารตั้งปนใหญบริเวณหนา ทาเรือบัคและจุดอื่น ๆ เตรียมพรอมที่จะยิงขามไปยังฝงลาว พ.ศ.๒๔๘๕ กองทัพไทยเคลื่อนทัพเขาไปเขตพมาทางทาขี้เหล็กแมสาย ยึดเมืองตาง ๆ เชน เมืองโก เมืองเลน เมืองพยาก เมืองยอง เขาสูเชียงตุงแลวสถาปนาเจาฟาพรหมลือ และเจาแมทิพวรรณค รองเมืองเชียงตุง มีการเรียกรองดินแดนคืนจากอังกฤษ เพราะฝายไทยกลาววาการปกปนเขตแดนกับ อังกฤษนั้นสยามเปนผูเสียเปรียบ เมืองเชียงของถือเปนเมืองชายแดนใกลกับสมรภูมิที่สุดเมืองหนึ่ง ชาวบานถูกเกณฑเขารวมใน กระบวนการตอสูเพื่อขอดินแดนคืนจากอังกฤษ โดยทําหนาที่สงเสบียงใหกับทหาร ชาวบานบางกลุม บรรทุกเสบียงในเกวียนเทียมวัวไปสงใหทหารราบที่เมืองเชียงตุง เมื่อสงครามสิ้นสุดเทาวัวแตกไมสามารถ เดินทางมาได จําเปนตองขายทั้งวัวและเกวียนใหกับชาวบานตามรายทางในราคาถูก สิ้นเนื้อประดาตัว น้ํ า ตาตก เพราะว า เกวี ย นเป น ทรั พ ย สิ น ที่ มี ค า มาก น อ ยคนนั ก จะมี เ กวี ย นสั ก เล ม หนึ่ ง รั ฐ ไม ไ ด ใ ห คาตอบแทนใด ๆ ทั้งสิ้น สิ่งที่พวกเขาทําไปเพื่อตองการชวยชาติ รัฐไทยกับ ทหารญี่ปุน ยึดครองเมืองเชียงตุง ได ๓ ป หลั งสงครามมหาเอเชี ยบูรพาสิ้น สุดลง กองทัพ ตํารวจและลูกหาบก็ถอยกําลังกลับมา บางคนก็ติดโรคกลับมาบานดวย บางคนก็เสียชีวิตใน สนามรบนั้นไมมีโอกาสพบกับครอบครัวอีกตอไป เมืองเชียงตุงถูกปดลง แมในสงครามจะทําใหชาวบานบางสวนตองพลัดบานพลัดเมือง และสวนใหญตองคอยหลบภัย จากสงครามที่อาจจะเกิดขึ้น มีสภาพเศรษฐกิจการคาที่เริ่มตนคึกคักกอนสงครามในการคากับลาว กับ เจาอาณานิคมฝรั่งเศสจะซบเซาลงบาง แตยุคของสงครามโลกเปนชวงเวลาที่ไมยาวนานนัก การคาการ ขายและความเปนอยูของชาวเชียงของไดกลับมาคึกคักอีกครั้ง อดีตลูกหาบและชาวบานที่หนีภัยได กลับมาหลังจากป ๒๔๘๖ ในพื้นที่ราบลุมริมน้ําชาวบานไดขยายพื้นที่นาเพิ่มขึ้น ในแมน้ําโขงกลับมามี ชีวิตชีวาดวยเรือคาและเรือหาปลาอีกครั้ง พอเฒาผุย บุปผา ผูทําการคาขายในชวงหลังสงครามโลก กลาววา พอเฒาเปนคนแรกที่ไดซื้อมองลั้งมาจากเวียงจันทนนํามาขายในเชียงของ มองลั้งอันแรกเพื่อน


คนเมืองของแกขอซื้อในราคา ๗๕๐ บาท บางครั้งก็ขายเชื่อหรือแลกกับควายตัวเมียหนึ่งตัว (สมัยนั้น ควายตัวละหารอยถึงหกรอยบาท) พื้นที่ทํามาหากินในนานน้ําโขง โดยเฉพาะในพื้นที่หาปลารวมกันที่เรียกวาลั้ง ไดกลับมาฟนฟูหา ปลากันใหมของคนทั้งสองฝง มองลั้งเปนที่ตองการของทั้งคนลาวและคนเมือง การคาของพอเฒาไมใชมี แตมองลั้ง แตแกจะนําขาวสาร อาหารแหงไปขายที่หลวงพระบางและเวียงจันทน เมื่อถึงเวียงจันทนจะซื้อ มองลั้งกลับมาพรอมกับปลาราจากเวียงจันทนมาขายที่หลวงพระบางและซื้อเครื่องปน เชน ไห ครก หมอ จากบานพันหลวง หลวงพระบางมาขายที่เชียงของ นอกจากการคาของชาวบานทั่วไปที่ดีขึ้นแลว ยังมี กลุมของเจานายเชียงของเกาซึ่งทําการคาไดดีขึ้นหลังจากสงคราม การขยายธุรกิจของเจาเมืองเชียงของ นอกจากเจาเมืองเชียงของจะมีหนาที่ปกครองเมือง แลว ทานและครอบครัวยังประกอบอาชีพเปนพอคาขายระหวางเมืองหวยทราย เมืองหลวงพระบาง และ เชียงแสน สินคาที่พบในเรือนของทานตอนที่ถูกปลนก็คือ สีเสียด ขาวเปลือก กํายาน ครั้ง เปนตน ซึ่ง เตรียมไวเพื่อจะนําไปขาย ทานมีภรรยา ๔ คนและลูก ๑๙ คน ลูกหลานของทานจึงมีโอกาสทางสังคม บางสวนไดเรียนหนังสือเขารับราชการ บางสวนก็มาขยายธุรกิจที่ตนสนใจ พ.ศ.๒๔๘๐ เจานอยกุศล จิตตางกูร บุตรของเจาจิตวงษเจาเมืองคนสุดทายรวมกับพญาเฒา ชาวลื้อบานหวยเม็งรวมทุนกันสรางเตาบมที่บานเมืองกาญจนเปนแหงแรกของเชียงของหางจากเมือง เชียงของไปทางทิศตะวันตกประมาณ ๑๐ กิโลเมตร ตอมาจึงมีการสรางเตาบมใบยาแหงที่สองบานแจม ปอง ปจจุบันอยูในเขตอําเภอเวียงแกน ตั้งอยูทางทิศตะวันออกของเมืองเชียงของประมาณ ๓๐ กิโลเมตร โดยญาติของเจานอยกุศลเปนนายทุนใหญ ในการสรางและการบริหารมีการวาจางผูจัดการมาจากใน เมือง ลุงถม วิฑูรยเคยเปนลูกจางเตาบมใบยาเลาวา “กอนที่จะมีการตั้งเตาบมนั้น ชาวบานก็ปลูกยา กันอยูกอนแลว แตไมไดทําเปนขนาดใหญ เพียงแตปลูกแลวนํามาสูบในครัวเรือน ถามีมากถึงจะนําไป ขาย … หลังจากนั้นก็ไปเปนลูกจางเตาบมไดคาจางวันละสามสิบสตางค เปนเวลา ๙ ป” ชาวบานบางสวนก็มาเปนลูกจางของเตาบม รับจางปลูกยา เก็บยา ไดคาแรงวันละ สามสิบ สตางค ถาคนไหนถอเรือเปนก็ถอเรือเอาใบยาอบแหงไปสงเมืองเกา (เมืองเชียงแสน) ปากน้ํากก จะมีที่ เก็บใยอบแหงของเตาบมอยูที่นั้น ถอเรือ ขึ้นไป ๓ วัน ไดคาแรงเกาสิบสตางคขากลับก็บรรทุกสินคาตาง ๆ เชน ปลาทูเค็ม น้ํามัน กลับลงมาดวย บางสวนก็ปลูกยาสูบหลังการเก็บเกี่ยวขาวเสร็จเรียบรอยแลว ราคาใบยาในขณะนั้นชั้นดีกิโลกรัมละ ๓ สตางค ปานกลาง ๓ สตางค และพอใช ๑ สตางคครึ่ง ใบยาสูบ เปนพืชเศรษฐกิจที่นําเขามาปลูกในหมูบานตาง ๆ โดยเจาของโรงบมเปนผูจัดเตรียมเพาะกลาพันธุแลว สงใหผูที่จะตองการปลูก แลวนําไปปลูกและบํารุงรักษา เจาหนึ่งปลูกประมาณ ๑-๓ ไรก็มากพอแลว เพราะแรงงานนอยและเทคโนโลยีต่ํา การปลูกในยุคนั้นปลูกบนที่ดินของเจาของเตาบม โดยไมตองเสียคา เชา เริ่มปลูกยาตั้งแตเดือนกันยายนเปนตนไป เมื่อยาสูบโตเต็มที่จนมีใบขนาดตามที่เจาของโรงบม ตองการก็ตื่นตั้งตั้งแตเชามืดไปเก็บใบยา แลวนํามาเสียบดวยไมเสียบยาบริเวณขั้วใบยา วางเรียงไวแลว


นําสงเตาบม ชาวบานเริ่มนิยมปลูกยาสูบ เพราะทําใหเกิดรายไดเขาสูครอบครัว ชาวบานจึงปลูกยาสูบ กันเรื่อยมาจนกระทั่งถึงปจจุบัน เจาของเตาบมจางชาวขมุในประเทศลาวขามมาเปนแรงงานในการตัดตนไมใกลกับเตาบม โดย ใชชางลากทอนไมเหลานั้น ตัดใหมีขนาดยาวประมาณ ๑ เมตร ขวานผาแลวนํามาเปนฟนสําหรับอบใบ ยาสด เพราะชาวขมุมีความชํานาญเกี่ยวกับการทําไม หลัง ไดรับ เงิน คาจางก็กลับไปยังประเทศลาว ตอมาภายหลังจึงไดจางชาวลื้อ ลาหูใหเปนผูตัดไมสงเตาบม ซึ่งลาหูเลาวา ปาไมบานสองพี่นองหายไปก็ เพราะพวกเขากับชาวลื้อบานหวยเม็งรวมกันตัดสงใหกับจาของเตาบมบานเมืองกาน พ.ศ. ๒๔๘๒–๒๔๘๓ เจานอยกุศล จิตตางกูร นําเครื่องยนตดีเซลมาติดตั้งเรือเปนเรือยนตลํา แรกของเชียงของรับสงผูโดยสารจากเชียงของ – เชียงแสน และบรรทุกสินคาที่มาจากเชียงราย เพื่อนํามา ขายยังชุมชนตาง ๆ ของเชียงของ เรือยนตลํานั้นรับผูโดยสารไดประมาณ ๕๐ คน มีอุบัติเหตุเรือโดยสาร ลมในแมน้ําโขงครั้งหนึ่งและเปนอุบัติเหตุครั้งใหญที่สุดที่เคยมีมา ในระยะนี้จากคําบอกเลาเรื่องเรือลม พบวา ไดมีคนจีนโพนทะเลอพยพเขามาทําการคาในตลาด เชียงของแลว เพราะในชวงที่เรือลมนั้น มีพอคาจีนคนหนึ่งไดแยงเอาชูชีพจากผูโดยสารคนเมืองคนหนึ่งที่ มีอุปกรณชูชีพจนทําใหคนเมืองคนนั้นจมน้ําตาย และพอคาจีนคนนั้นรอดชีวิต อยางไรก็ตาม ผูคนสองฝงแมน้ําโขงก็ยังมีการติดตอกันโดยตลอด จนเมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลง ใหญอีกครั้งหนึ่งขึ้น กลาวคือ ระบบเศรษฐกิจเกือบทั้งหมดในแมน้ําโขงระหวางลาวและไทยแทบจะขาด ลงในป ๒๕๑๘ ซึ่งเปนปที่ประเทศลาวเกิดการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง พรอมกับสถานการณในเชียง ของก็ไดกลายเปนพื้นที่สีแดง แตการคาในตลาดมืดกับทหารตางๆเปนไปอยางรุงเรือง เชียงของ: ยุคสงครามเย็นและเปนเขตพื้นที่สีแดง (พ.ศ.๒๔๘๗ - ๒๕๓๒) เริ่มตนสงครามเย็น หลังจากสงครามโลกครั้งที่ ๒ สิ้นสุดลง สหรัฐอเมริกาซึ่งเปนผูนําฝายเสรี นิยมเขามามีบทบาทในลาวมากยิ่งขึ้นไดตั้งฐานทัพในหวยทรายและสรางสนามบินแหงหนึ่งไวที่เชียงของ อยูหางจากตัวเมืองเชียงของประมาณ ๑ กิโลเมตรทางทิศตะวันตก พอถมเลาวา เครื่องบินลงที่เชียงของ หลายชนิด มีทหารอเมริกันประจําอยูในสนามบิน แตจะไมมายุงกับชาวบาน สนามบินนี้เปนกองกําลัง สนับสนุนดานอาหาร อาวุธยุทโธปกรณใหกับทหารที่รบในลาว เครื่องอีกจํานวนหนึ่งเปนเครื่องบินเพื่อหา ขาวใหกับทหารราบ ในยุคนั้นเด็ก ๆ วัยรุนชายมักจะนําสายรมของทหารอเมริกันมาทําเปนสายคลอง เหรียญหลวงพอเกจิอาจารยแลวนํามาคลองคอดูแลวเท นอกจากนั้น ทหารอเมริกายังตั้งฐานทัพอยูที่บานหัวเวียง ต.เวียง อําเภอเชียงของ เพื่อเปนหนวย สนับสนุนใหกับสวนหนาที่สูรบกับฝายซายในประเทศลาว หนวยทหารเสือพรานตั้งฐานอยูดอนโปงเกาะ กลางแมน้ําโขงกั้นระหวางเชียงของกับหวยทราย มีการตั้งบอนคาสิโนเลนการพนันกัน ตอมาภายหลังเมื่อ สิ้นสุดสงครามบอนคาสิโนนี้ก็เงียบหายไป ทหารพวกนี้จะไมรบกวนหรือทํารายชาวบาน ความสัมพันธระหวางชาวเชียงของกับหวยทรายและทหารอเมริกันมีความแนบแนนมาก ชาว เชียงของเจ็บปวยอาการหนักไมสามารถรักษาพยาบาลในฝงไทยได ก็จะขามไปรับการรักษากับหมอฝรั่ง หวยทรายอยูเนือง ๆ เพราะทางโรงพยาบาล ณ เมืองหวยทราย มีแพทย พยาบาลเจาหนาที่สาธารณสุข


และเครื่องมือทางการแพทยกาวหนายิ่งกวาสุขศาลาของเมืองเชียงของ มีการสรางสนามบินเครื่องบิน โดยสารรับผูโดยสารจาก เวียงจันทน หลวงพระบางและหวยทราย ซึ่งความเจริญกาวหนาเหลานี้เกิด จากการพัฒนาของทหารสหรัฐที่ตั้งฐานทัพในหวยทราย เพื่อสนับสนุนการตอสูที่น้ํายุ ความสัมพันธ ระหวางคนไทยกับคนลาวสามารถเยี่ยมเยือนกันอยางสะดวกสบาย เมื่อฝงไทยมีงานบุญก็เชิญคนฝง ลาวมารวมงาน จะขามไปอยูกี่วันก็ได เหมือนเปนพี่นองกัน คนเชียงของขามไปลาวเก็บของปาลาสัตว และทําไรทําสวนเปนปอยูที่นั้นไดเลยโดยไมผิดกฎหมาย ในชวงเวลานั้นมีการสูรบระหวางฝายซายกับฝายขวาที่เมืองสิงหประเทศลาว ชายหนุมชาวเชียง ของจํานวนไมนอยเขาไปเปนลูกจางของทหารสหรัฐในการกอสรางสาธารณูปโภคที่เมืองน้ํายุ เชน อาคาร ที่พัก โรงพยาบาล บางคนทํางานกอสราง บางสวนก็ไปเปนทหารรับจาง ฐานทัพที่น้ํายุประเทศลาวนั้น มี รอยเอกพิจิตร กุลวาณิชย เปนผูบัญชาการ เมื่อเมืองสิงหถูกกองกําลังฝายซายตีแตกเขาสูน้ํายุ คนงาน เหลานั้นก็หลบหนีการสูรบของทหารเขาสูหวยทรายขามแมน้ําโขงมายังเชียงของ บางคนแตงงานกับผู สาวลาวก็นําภรรยาของตนกลับมาเชียงของ สวนชาวลาวและทหารลาวหนีขามมาฝงไทยหลายพันคน ทหารไทยสั่งใหปลดอาวุธนํามากอง รวมกันไวไดหลายกองมาก ชาวบานเองก็ชว ยกันปลดอาวุธแตบางคนก็ไมยอมใหกับหนวยราชการ หลังจากนั้นไมนานก็นําไปขาย สําหรับทหารลาวและชาวบานถูกสั่งใหขึ้นรถทหาร เพื่อนําไปสงยังศูนย อพยพบานตองหางจากเชียงของประมาณ ๒๕ กิโลเมตรทางทิศใตของเชียงของ ภายหลังชาวลาวเหลานี้ ก็ถูกสงไปยังประเทศที่สาม สวนใหญจะไปสหรัฐอเมริกา พื้นที่สีแดง (ประมาณพ.ศ.๒๕๐๙ - ๒๕๒๕) ตอมารัฐบาลไดสงกองกําลังทหารมาประจําที่ เชียงของมากขึ้นตามเหตุการณความขัดแยงในลาวโดยตั้งฐานทัพดานใตโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราช ปจจุบัน ทหารพลรมหัวหิน หนวยบัญชาการ ๐๔หรือ บก.๐๔ เชียงใหม (หัวหนาหนวยกระทิงแดง)และ ทหาร ๐๓๑ นอกจากนั้นยังมีตํารวจตระเวนชายแดนชุดเคลื่อนที่เร็วประจําอยูเชียงของ เพื่อตรึงกําลัง ไมใหคอมมิวนิสตเขามาในเชียงของ เพราะวาบริเวณสันดอยยาวที่ทอดแนวยาวตามถนนสายเทิง-เชียง ของ และบริเวณดอยผาตั้ง ผาหมนที่ทอดตัวยาวไปถึงเขตอําเภอเชียงคํา และตําบลตับเตา อําเภอเทิง กลายเปนฐานที่มั่นของพรรคคอมมิวนิสตแหงประเทศไทย ซึ่งมีชาวเขาเผามงเปนแนวรวมที่สําคัญ มีการ ดักซุมยิงทหารที่เดินทางตามถนนสายนี้ เชน ผูกอการรายดักซุมโจมตีทหาร ๐๓๑ ที่บอดินบานหลวง ตําบลครึ่ง ทหารเสียชีวิต ๓ นายในปเดียวกันมีการวางระเบิดสะพานหนาศูนยอพยพบานตอง เหตุการณที่นําไปสูการตอ สูทางความคิดเกิดขึ้น ที่เชียงของ-เวียงแกน มาจากความขัดแยง ระหว า งเจ า หน า ที่ รั ฐ กับ พวกม ง เมื่ อ พ.ศ.๒๕๐๘ ชาวเขาเผ า ม ง ได เ ข า ไปตั ด ไม เ บิ ก พื้ น ที่ เ พื่ อ ใช ทํ า การเกษตร เจาหนาที่ไดทําการจับกุมและปรับเงิน ตอมาเจาหนาที่ไดเขาไปปดลอมบานขุนชุมพู ซึ่งเปน หมูบานชาวมง บนสันดอยยาว ตําบลยางฮอม อําเภอขุนตาล จังหวัดเชียงรายในปจจุบัน เพื่อจับกุม ผู ก ระทํ า ความผิ ด จึ ง เกิ ด การต อ สู กั น อย า งหนั ก หน ว ง ชาวม ง จึ ง หนี เ ข า ไปในป า ลึ ก ต อ มาอี ก หนึ่ ง ป เหตุการณความขัดแยงนี้ขยายวงกวางไปถึงดอยผาตั้ง ดอยผาหมนตามแนวชายแดนไทยลาว


พ.ศ.๒๕๑๐ ชาวมงบานขุนหาญหนีเขาไปตั้งหลักอยูในฝงประเทศลาว ในเวลาดังกลาวพรรค คอมมิวนิสตแหงประเทศไทยเคลื่อนไหวตามแนวปาใหความชวยเหลือชาวมง และชักชวนพวกเขาใหเปน แนวรวมในการตอสู เพราะพวกเขาถูกเจาหนาที่กระทําแลวไมสามารถตอบโตไดจึงใชวิธีการนี้ ๖ ตุ ล า ค ม ๒ ๕ ๑ ๙ เ ป น วั น ที่ ท ห า ร แ ล ะ ลู ก เ สื อ ช า ว บ า น ล อ ม ป ร า บ นั ก ศึ ก ษ า ใ น มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร มีนักศึกษาลมตายและบาดเจ็บเปนจํานวนมาก บางกลุมสามารถเล็ดรอด ออกมาได ไมสามารถอยูในเมืองตอไปได เพราะถูกเจาหนาที่กดดันจึงหนีเขาปาอาศัยอยูกับทหารปา พรรคคอมมิวนิสตแหงประเทศไทย นักศึกษาจํานวนหนึ่งมาอยูรวมกับชาวมงบริเวณดอยผาตั้ง ดอยผา หมน ดอยยาวและดอยหลวง พรรคคอมมิวนิสตแหงประเทศไทยเขามาแทรกซึมในพื้นที่เชียงของ-เวียงแกน สามารถชักชวน ชาวบานบางกลุมเขาเปนแนวรวมในการตอสู บางคนก็เปนสายขาวในเมือง บางคนก็เปนฝายลําเลียง อาหาร ความคิดของคนเชียงของเวียงแกนสับสนมาก บางคนถึงกับเตรียมทรัพยสินที่มีคาไว ถาหากเกิด การสูรบกันก็จะไดหนีทัน ฝายรัฐบาลไทยมีนโยบายปราบปรามพรรคคอมมิวนิสต โดยใหทหารจีนฮอหรือ ทหารจี น คณะชาติ เ ป น แนวหน า ในการรบ ทหารฮ อ เป น ผู ที่ มี ค วามกล า หาญ และอดทนต อ ความ ยากลําบากในการรูรบ เพราะพวกเขาตองการที่จะอยูในประเทศไทยจึงตองเอาชีวิตเขาแลกหรือสราง ความดีความชอบ หลังจากมีการเจรจาตกลงตามนโยบาย ๖๖/๒๓ และ ๖๕/๒๕ นั้น ฝายทหารก็เขาไปจัดสรรพื้นที่ หมูบานของชาวมงที่ตองการเขารวมพัฒนาชาติไทยเสียใหม เชน บานหวยหาญซึ่งตั้งอยูขุนหวยหานใกล กับชายแดนลาวมากเกินไปก็ใหขยับเขามาฝงไทยมากขึ้น มีการอบรม อพป. (หมูบานอาสาพัฒนา ปองกันตนเอง) ปชด.(หมูบานปองกันชายแดน) ใหกับประชาชนในหมูบานตาง ๆ เกือบทุกหมูบาน โดยเฉพาะชาวเขาเผามง เพื่อไมใหชาวมงกลับไปเชื่อในลัทธิคอมมิวนิสตอีกตอไป ผลกระทบจากลาวปดประเทศ พ.ศ. ๒๕๑๘ ความสัมพันธระหวางคนเชียงของกับคนลาว ขาดลง เพราะวากองกําลังทหารฝายซายเขามายึดหวยทรายอยางสมบูรณแลว คนเชียงของเรียกกลุม ทหารที่เขามาอยูในเมืองหวยทรายวา “ทหารอายนอง” ลุงถม ชาวเชียงของคนหนึ่งบอกวา “เจาของลาวมี ๒ คน คนพี่สนับสนุนสหรัฐ คนนองสนับสนุนเวียดนาม ทหารของทั้งฝายสูรบกัน ในที่สุดทหารของเจาผูนองชนะเขายึดเมืองหวย ทรายไดจึงเรียกวา ทหารอายนอง” การขามไปมาหาสูกันก็เกือบจะหมดลง จะขามไปทําอะไรก็ไมได ไรนาที่เคยทําก็ทิ้งรางไว เชน คนบ า นหาดบา ยหาดทรายทอง และบา นริม แม น้ํา โขงในเชี ย งแสน ไมส ามารถขา มไปทํ า ไร ห รื อ นา โดยเฉพาะการปลูกตนยาสูบไดอีก ตองปลอยใหผืนดินทิ้งรางและบางก็อพยพทิ้งไรนามาอยูกับญาติพี่ นองฝงไทย การคาขายกับลาวในทุกดานหยุดชะงักลงไป พอคาแมคาไมสามารถนําสินคาไปขาย ชาวบาน หาปลาถูกดักยิงหรือถูกปลน เพราะลาวถือวาหาปลาในเขตประเทศของเขา ญาติพี่นองที่เคยไปมาหาสู กันไมวาจะดวยเหตุผลใดก็ตามถูกตัดขาดลงทันที ผลกระทบที่ตามมาไดแกพวกชาวเรือรับจางขนสง


สินคาหรือสงผูโดยสารไปยังฝงลาวขาดรายไดที่จะนํามาเลี้ยงครอบครัว คนในเมืองเชียงของจํานวนไม นอยที่ไมเคยออกจากบานไปทํางานในตางถิ่นก็ออกไปทํางานในกรุงเทพ เพราะไมมีงานทํา คาขายก็ ไมไดกําไร ตอมาเมื่อสถานการณทางการเมืองดีขึ้นมีขอยกเวนไปเยี่ยมกันในงานบุญ เชน งานแตงงาน งาน ศพของญาติพี่นองหรือคนที่เคยรูจักกัน มีบัตรเชิญและเจาภาพรับรองใหไปรวมงานก็จะไมเสียคาเหยียบ แผนดินเหมือนยามปกติที่ไดมีการออกกฎเสียเงินคาเหยียบแผนดินทั้งสองฝาย คนไทยเสียคาเหยียบ แผนดิน ๕๐ บาท หากลักลอบเขาไปเมื่อถูกจับจะถูกปรับเปนเงิน ๕๐๐ ดอลลาร ตามกฎของลาว แตคน ลาวเสียคาเหยียบแผนดิน ๑๐ บาทหรือไมมีการเก็บแตอยางใด การคาขายและการทํามาหากินในยุคสงครามเย็น ในเมื อ งเชี ย งของมี ต ลาดสดส ง สิ น ค า ใหกับพอคาปลีกอยูแหงหนึ่ง คาดวา ตลาดแหงนี้มีมาตั้งแตยุคเจาเมืองเชียงของแลว ตั้งอยูตรงขามกับ วัดหลวง ปจจุบันเปนแผนกโยธาของเทศบาลอําเภอเชียงของ พอคาแมคานําสินคาตั้งเรียงรายในบริเวณ ตลาดตามแผงของตนเวลาประมาณตีสองถึง ตีสาม สินคาสวนมากก็เปนหมู เนื้อ พืช ผัก และเครื่อ ง อุปโภคและบริโภคอื่น ๆ ประมาณตีสี่พอคาแมคาจากเมืองหวยทราย และชุมชนรอบนอกซึ่งเปนพอคา แมคาปลีกก็มารับสินคาเหลานี้ไปขายตอในตลาดสดประจําหมูบาน หรือรานขายของชําประจําชุมชน ตลาดแหงนี้วายประมาณกอน ๖ โมงเชา ตอมาเทศบาลอําเภอเชียงของไดยายตลาดแหงนี้ไปตั้งอยูขางสํานักงานเทศบาลติดกับสะพาน ขามน้ําสมกอนเขาตัวเมืองดานทิศตะวันออก ตลาดแหงนี้ยังคงเปนตลาดสงสินคาใหกับพอคาแมคาคน กลางเชนเดิม เพียงแตสรางตัวตลาดใหเปนสัดสวนยิ่งขึ้น เทศบาลเปนผูบริหารกิจการของตลาด มีตลาดอีกหนึ่งเพิ่มขึ้นมาตั้งอยูบานสบสม กอนจะถึงตัวเมืองเชียงของทางทิศใตเปนตลาดสด ขายเครื่องบริโภคตั้งแตเวลาเชามืดจนถึงค่ํา ตลาดแหงนี้จะมีชนเผา โดยเฉพาะ มง เยา นําพืชผักสวนครัว และของปานํามาวางขายอยูเปนประจํา เชน พริก หัวปลี หวาย เปนตน นอกจากนี้ยังมีรานคาขายเครื่องอุปโภคบริโภค และเครื่องมือการเกษตรตั้งอยูเรียงรายยาวขาง ถนนสายกลางเมืองเชียงของ โดยมีกลุมคนไทยเชื้อสายจีนเปนเจาของ รานคาเหลานี้นอกจากขายใหกับ ลูกคาคนไทยแลวยังสงขามไปยังเมืองหวยทรายอีกดวย กลาวกันวา กอนลาวแตก พ.ศ.๒๕๑๘ สภาพเศรษฐกิจของเชียงของดีมาก เพราะวาไดขาย สินคาใหกับพอคาแมคาลาว ซึ่งนําไปขายใหทหารอเมริกัน สวนฝงไทยก็มีทหารเขามาตั้งฐานทัพอยูตาม จุดตาง ๆ แตก ารค า กั บ เมือ งหว ยทรายยัง คงดํ า เนิ นมาอย างต อ เนื่อ ง เพราะในขณะนั้น มีท หารหลาย หนวยงานมาตั้งฐานทัพทั้งในเชียงของ ดอนโปงหรือเกาะกลางแมน้ําโขงระหวางเชียงของกับหวยทรายมี ทหารเสือพรานมาตั้งฐานอยู เปนหนวยทหารที่ไปชวยรบสงครามในประเทศลาว มีการตั้งคาสิโนเลนการ พนันกัน ตอมาบอนคาสิโนก็หายไปพรอมกับการจากไปของทหารเสือพราน และมีทหารรับจางจากไทย ตลอดจนทหารอเมริกันตั้งฐานทัพในลาวชาวบานก็นําของไปขายใหกับทหารเหลานี้ โดยนั่งเรือรับจาง


จากทาเรือวัดหลวง รวมทั้งมีพอคาแมคาจากฝงลาวก็นําสินคาไปขายในลาว พอคาลาวและทหารรับจาง ไทยแอบนําบุหรี่ สุรา และอาวุธสงครามของอเมริกันมาขายยังฝงเชียงของ ป พ.ศ.๒๕๑๘ ทหารฝายซายหรือทหารอายนองสามารถตีเมืองหวยทรายไดแลว สั่งปดพรมแดน ระหวางไทย-ลาวตลอดแนว คนลาวที่อยูเมืองหวยทรายก็ทะลักมาอยูเชียงของถูกปลดอาวุธ ทหารก็ ผลักดันใหไปอยูศูนยอพยพบานตอง ชวงเวลานี้สภาพเศรษฐกิจเชียงของยังคงดําเนินไปไดดี เพราะยังมี กองกําลังทหารอยูในเชียงของ และมีการคาขายกับลาวในศูนยอพยพ ตอมา พ.ศ.๒๕๒๕ ชาวลาวกลุมนี้ ก็อพยพไปอยูประเทศโลกที่สาม และทหารถอนกําลังออกไป เพราะสามารถควบคุมสถานการณการตอสู กับคอมมิวนิสตไดแลว เชียงของชวงเวลานี้สภาพเศรษฐกิจซบเซามากที่สุด หลังป ๒๕๑๘ ความสัมพันธระหวางไทย-ลาวยุติลง ชาวเรือที่รับจางขนสินคาและผูโดยสารไป ยังฝงลาวตองเลิกกิจการ บางสวนหยุดกิจการการเดินเรือแลวออกไปรับจางที่กรุงเทพ บางคนไปไกลถึง สงขลา เบตง ชาวบานบางสวนออกไปหาที่ทํากินยังบานเมืองกาญจน ตําบลริมโขง ชาวบานกลาวกัน อยางสนุกวา “ตอนเย็นมา นําระเบิดมาปาที่ถนนสายกลางเมืองก็ไมมีใครไดรับบาดเจ็บ หรือตาย แมกระ ทั้งหมาก็ไมถูกระเบิด “ เพราะสภาพทั่วไปในขณะนั้นเงียบเหงาซบเซามาก ตอเมื่อลาวผอนคลาย กฎระเบียบตาง ๆ ประกอบการประกาศนโยบายเปลี่ยนสนามรบเปนสนามการคาในยุคนายกชาติชาย ชุณหะวัณทุกอยางเริ่มกระเตื้องขึ้นมาอีกครั้งหนึ่ง สวนเรื่องวิถีการผลิตของคนในเชียงของเริ่มมีการเปลี่ยนแปลงขึ้น เชนในป พ.ศ.๒๕๐๙ เกิดน้ํา ทวมใหญครั้งประวัติศาสตร น้ําไดทะลักเขาทวมแมกระทั่งตัวเมืองเชียงของ สามารถพายเรือไปมาได สรางความเสียหายทางดานทรัพยสินและบานเรือน เชนชุมชนบานหวยลึกไดรับผลกระทบจากน้ําทวม ครั้งนั้นดวย ระดับน้ําทวมถึงหลังคาบานและพัดพาเอาบานเรือนขาวของเครื่องใชสูญหายไปดวย ความ สูญเสียครั้งที่รายแรงที่สุดของหมูบานครั้งนั้นไมมีผูใดในหมูบานเสียชีวิต จากคําบอกเลาของนายพัน อิ่น แกว ชาวบานหวยลึก บอกวา คนในหมูบานรูจักแมน้ําโขงดี อีกทั้งแมน้ําโขงคอยๆเพิ่มระดับความสูงอยาง ชาๆทําใหตั้งตัวและอพยพสมาชิกในครอบครัวไปอยูที่ปลอดภัยไดทัน จุดที่ชาวบานอาศัยหลบภัยน้ําทวม เปนภูเขาใกลๆหมูบาน ปจจุบันเปนบานของนางเสงี่ยม บางสวนไปอาศัยอยูที่ไรถือเปนการเฝาไรขาวของ ตนเองที่อยูบนเนินเขาและน้ําทวมไมถึงไปในตัว หลังน้ําลดรัฐบาลโดยทางอําเภอเชียงของ(ขณะนั้นอําเภอเวียงแกนยังไมแยกออกจากอําเภอ เชียงของ) ไดออกมาชวยเหลือชาวบาน ซึ่งเดินทางมาทางเรือ ขณะนั้นไมมีถนน มาแจกขาวสารและ แนะนําใหปลูกพืชเศรษฐกิจ (ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจแหงชาติฉบับที่ ๑ พ.ศ.๒๕๐๔) คือ ขาวโพด ซึ่ง ขณะนั้นยังไมมีใครรูจักหรือปลูกในหมูบาน นั บ แต นั้ น มาข า วโพดเป น พื ช เศรษฐกิ จ ที่ ช าวบ า นจะต อ งปลู ก ขายเป น รายได ป ระจํ า ป ข อง ชาวบาน ยิ่งไปกวานั้น พ.ศ.๒๕๑๒ การสรางถนนทางหลวงสายเทิง –เชียงของเสร็จสมบูรณ ชาวบาน พอคาสามารถเดินทางติดตอกันอยางสบาย สินคา เครื่องอํานวยความสะดวกตาง ๆ หลั่งไหลเขาไปใน ชุมชน ชาวบานหาเงินมาใชจาย เพราะถูกกระตุนใหบริโภคยิ่งขึ้น ในขณะที่ผลผลิตก็ขายไดราคาไมดี


และตนทุนในการผลิตสูงยิ่งขึ้น กระทบตอการดําเนินชีวิต บางสวนยังคงทําการเกษตรตอไป บางสวนก็ ออกไปรับจางขายแรงงานในเมืองตอไป เวียงแกนกับพื้นที่สีแดง เวี ย งแก น เป น ส ว นหนึ่ ง ของเชี ย งของในด า นการปกครองแบบ มหาดไทยจนกระทั่งป ๒๕๓๐ เวียงแกนไดถูกแยกออกไปเปนอีกเขตการปกครองทองถิ่นหนึ่งในเชียงราย ของรัฐ ในยุคกอนการเปลี่ยนมาเปนอําเภอ เวียงแกนเปนพื้นที่ภูดอยชายแดนของเชียงของ ผูคนใช เสนทางแมน้ําโขงสัญจรไปมาหาสูกัน คนบนพื้นที่สูงจะลงมาขึ้นเรือที่บานแจมปองหรือบานอื่นๆริมฝงโขง แลวเดินทางมาเชียงของหรือเดินลัดสันดอยยาวออกมาสูพื้นราบแมน้ําอิง พื้นที่สวนใหญเปนภูดอย มีที่ ราบแมน้ํางาวซึ่งเปนแมน้ําขนาดเล็กกวาแมน้ําอิงไวทําการเกษตร สวนใหญจะทํานา คนเวียงแกนในยุค สงครามเย็นเปนเขตพื้นที่สีแดงที่สําคัญ และเปนแนวเขตการปฏิบัติงานของพรรคคอมมิวนิสตไทยเขต ๘ ถือวาเปนฐานที่มั่นสําคัญของทหารปา คนลื้อกับคนขมุจะอยูในเขตพื้นที่ราบและเชิงดอย มีวิถีการทํานา และทําไร และบนดอยก็มีผูคนชาติพันธุตางๆทั้งที่อพยพเพราะสงครามในแผนดินลาว และสถานการณ การปฏิวัติเขามาในไทย สวนใหญจะเปนคนมงและเยา ในขณะเดียวกันคนมงและเยาที่เคยอยูมากอนใน เขตนี้ก็อพยพหนีภัยสงครามระหวางทหารปาและรัฐอยูในแนวเทือกเขาชายแดน เมื่อเกิดการไรซึ่งหนทาง จะถอยรนหรืออพยพไปอีกบางสวนก็กลายเปนพวกเดียวกับทหารปา บางสวนก็ถูกเจาหนาที่รัฐใหอพยพ ลงมาอยูพื้นที่ราบ เชน คนเยาบานไทยพัฒนามาอยูบริเวณบานทุงคํา สวนสภาพทางเศรษฐกิจของคนเวียงแกนมีความเปลี่ยนแปลงจากเดิมยังไมมากนัก สวนมากยัง เป น การผลิตเพื่อ ยัง ชีพ พืช เศรษฐกิจ ที่สํ า คัญที่มีบ ทบาทต อ การดํ า รงชี วิต ก็คื อ ยาสู บ และขา วโพด เพราะวาการคมนาคมระหวางเชียงของกับเวียงแกนยังไมดี การติดตองานราชการเปนไปดวยความ ลําบาก ลักษณะเดนอยางหนึ่งของเวียงแกน คือ เปนแหลงพักอาศัยของกลุมชาติพันธุและกลุมคนที่ฝกใฝ คอมมิวนิสต ซึ่งรัฐไทยพยายามที่จะปราบดวยวิธีการตาง ๆ วิธีประสบความสําเร็จอยางหนึ่งในการสราง ความเจริญใหกับเวียงแกน ก็คือ การสรางถนนสายยุทธศาสตรเลียบไปทางแมน้ําโขง เขาเขตอําเภอเวียง แกนเชื่อมถึงบานปางคา ตําบลตับเตา อําเภอเทิง และไปถึง ตําบลสบบง กิ่งอําเภอภูซาง จังหวัดพะเยา ตอมาเมื่อสงครามคอมมิวนิสตยุติลง ทางราชการใหความสําคัญกับพื้นที่อําเภอเวียงแกนมาก ไดแยกการปกครองออกจากอําเภอเชียงของ มีหนวยงานราชการตางเขาสนับสนุนและพัฒนา โดยเฉพาะ โครงการพระราชดําริชวยเหลือกลุมชาวมง โดยสรางศูนยการเกษตรพื้นที่สูงอยูบนดอยผาตั้ง ดอยผา หมน ในเขตอําเภอเทิง สนับสนุนใหชาวมงปลูกพืชเศรษฐกิจ เชน กะหล่ําปลี ขิง ลิ้นจี่ สมโอ สามารถสราง รายไดใหกับชาวมงเปนอยางดี ที่เดิมวิถีชีวิตผูกพันกับการปลูกฝน การทําไรเลื่อนลอย พออินผวน ธุระเสนกลาวไววา “เชียงของ-เวียงแกน ถาไมมีคอมมิวนิสตก็ไมมีความเจริญ การ พัฒนาดานตาง ๆ ถนน ไฟฟา และประปา เกิดขึ้นมาได เพราะเขากลัวคอมมิวนิสต”


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.