6chantaburee5

Page 1

ตํานาน ความเชื่อ ประเพณี พิธีกรรม บานสําโรง เรื่องเลาที่เปนตํานาน ความเชื่อเกี่ยวกับไสยศาสตร ในชุมชนบานสําโรง มีเรื่องเลาเกี่ยวกับ ความเชื่อที่เปนตํานานเลาสืบกันมาหลายชั่วอายุคน เรื่องเลาที่เปนตํานานเหลานี้สัมพันธกับประวัติความ เปนมาของชุมชน ความเชื่อในเรื่องอํานาจนอกเหนือธรรมชาติ การดําเนินชีวิตในอดีตที่ชุมชนคอนขาง เปนอิสระในการปกครองดูแลตนเอง ซึ่งชุมชนจําเปนตองพึ่งพาผูนําที่มีความเขมแข็งพรอมๆ กับความ เมตตา เชน ขอมูลจากเรื่องเลาเกี่ยวกับอิทธิปาฏิหาริยของพระยาเสาร เรื่องเลาที่เปนตํานานซึ่งสัมพันธ กับประเพณีพิธีกรรมของชุมชน เชน เรื่องการทําบุญตักบาตรหนองฆอง การจับมาร เรื่องเลาที่เปนตํานาน ซึ่งตอกย้ําในเรื่องของความเชื่อในอํานาจนอกเหนือธรรมชาติ ซึ่งผนวกรวมกับการนับถือพุทธศาสนา เชน เรื่องเลาเกี่ยวกับความศักดิ์สิทธิ์ของเจาตะเคียน เรื่องเลาเหลานี้เปนภาพสะทอนเกี่ยวกับวิธีคิด คานิยม พฤติกรรมของผูคนในสังคมดังที่ไดกลาวมา อิทธิปาฏิหาริยของพระยาเสาร ตํานานเรื่องเลาเกี่ยวกับพระยาเสารซึ่งเปนผูนําของบาน สําโรงในอดีต พระยาระวี ซึ่งเปนผูนําทางทุงขนานไดพาลูกนองมาปลนชุมชนบานสําโรงในสมัยพระยา เสารปกครองดูแลอยู ซึ่งพระยาเสารมีบุคลิกนาเกรงขาม มีความยุติธรรม เด็ดขาด แตก็มีความเอื้อเฟอ ชวยเหลือผูอื่น พระยาเสารทราบวาพระยาระวีนําลูกนองเขามาปลนในหมูบาน จึงไดทองมนตคาถา โดย ใชขาวสารสาดทั่วหมูบาน ทําใหพวกโจรมองเห็นบานของชาวบานเปนบานราง มีเถาวัลยขึ้นเต็มหลังคา หนาบานเห็นเปนปา เห็นสุนัขกลับคิดวาเปนเสือ เห็นคนที่อยูในบานวาเปนผีหลอก จึงบอกลูกนองใหถอย กลับ ไมไดอะไรติดตัวไปเลย วิ่งหนีกันเตลิด สุนัขไลกัดคิดวาเสือไลกัด พระยาเสารเปนผูมีวิชาอาคมมาก เมื่อสิ้นชีวิตไปแลวชาวบานในชุมชนบานสําโรงจึงใหความเคารพนับถือ จึงตั้งศาลไว (ปจจุบันอยูหนา โรงเรียนวัดสําโรง) ใครมีปญหาเดือดรอนเรื่องอะไรจะไปบนบานศาลกลาวขอใหชวย แลวแตจะบนให อะไร เมื่อใกลถึงวันสงกรานตประมาณ ๔-๕ วัน จะมีการเรียกเจาเขาทรง และพระยาเสารจะเขามาในราง ทรงดวย ผูที่เคยบนอะไรไวจะนําของมาแกบน เชน หัวหมู เหลา น้ําหวาน บุหรี่ พวงมาลัย ตามแตวาใคร บนอะไรไวตอหนารางทรง ถาใครไมทําตามคําพูดอาจจะเกิดภัยพิบัติกับตนเองหรือลูกหลาน คนใกลชิด หรือมีอันเปนไป ชาวบานจึงเกรงบารมีมาก แมพระยาเสารจะสิ้นชีวิตไปนานหลายชั่วอายุคนแลวก็ตาม ในเรื่องคาถาอาคม การอยูยงคงกระพัน เสนหยาแฝด ยาสั่ง หลังจากยุคพระยาเสารแลวคนที่ ชอบก็ยังเรียนตอจนถึงชวงอายุของคนประมาณ ๕๐ ปขึ้นไป คนที่อายุต่ํากวานี้มีนอยมากจนถึงปจจุบันนี้ แทบไมมีใครเรียนเลย


ศาลพระยาเสารที่บานสําโรง

การตักบาตรหนองฆองและการจับมาร การตักบาตรหนองฆองและการจับมารเปนพิธีกรรม หรืออาจเรียกไดวาเปนการละเลนที่เปนสวนหนึ่งในงานประเพณีสงกรานตของบานสําโรง การตักบาตร และการจับมารในประเพณีสงกรานตวันที่ ๑๖ เมษายนของทุกป ซึ่งจะกลาวถึงในเรื่องของงานประเพณี สงกรานตในสวนหลังของบทนี้นั้น สืบเนื่องมาจากเรื่องเลาเกี่ยวกับการตักบาตรหนองฆอง (ตักบาตรสง ทุง) ของบานสําโรงที่วา ในสมัยที่บานสําโรงปกครองดูแลโดยพระยาเสาร มีสองสามีภรรยา สามีนั้นจําชื่อ ไมได แตภรรยาชื่อนางซอลไดไปชอนลูกออดที่หนองน้ํา และไดพบฆองขนาดใหญทําดวยทองสัมฤทธิ์ ได นํามาใหพระยาเสารดู พระยาเสารลองตีฆองก็เกิดฟา ผา เกิดพายุ พระยาเสารจึงนําไปจังหวัด ทาง จังหวัดจึงสงฆองนี้ตอไปยังกรุงเทพฯ และฆองนี้ไดถูกนําไปเก็บไวที่พิพิธภัณฑ ฆองดังกลาวนั้นกอนหนานี้นําไปไวที่ไหนลองตีก็จะเกิดฟาผา พายุ ชาวบานจึงไปเขาทรงเพื่อหา สาเหตุของความผิดปกติดังกลาว เมื่อมีการเขาทรง เจาเขาทรงบอกวาความจริงแลว ฆองมี ๒ ใบ เจาของ ดั้งเดิมตั้งใจจะใหอีกใบหนึ่ง (ใบที่ ๒) แตเมื่อไปตีฆองใบแรกของเขาแลว เจาของจึงไมให จึงไดเพียงใบ เดียวที่พบครั้งแรก แลวบอกวาใหชาวบานในหมูบานทําบุญตักบาตรอุทิศสวนกุศลไปใหเขาและพวกมาร ดวย คือจากการเขาทรง เจาของฆองบอกวามีมารมาขอกินดวย จึงตองทําบุญใหมารดวย โดยการตี ตะโพน เมื่อมารไดยินเสียงตะโพนก็จะมากินอาหารที่เซน มีขนม ขาวตม เหลาขาว ในวันสงกรานตของ ทุกป โดยเมื่อถึงวันที่ ๑๓ เมษายน เวลาประมาณ ๑๗.๐๐ น. ชาวบานจะไปยกธงตะขาบ (คลายตุงของ ทางภาคเหนือ) ซึ่งทําดวยผาดายดิบ เสร็จแลวไปขอทรายจากแมธรณีที่คลอง สมัยกอนจะมีการกอเจดีย ทรายเลนกันที่คลองกอน แลวจึงนําเอาทรายใสภาชนะมาที่บริเวณยกธง ขางพระอุโบสถใกลๆ กับเจดียที่ บรรจุอัฐิของบรรพบุรุษ จากนั้นจึงชวยกันยกธง เมื่อธงรูปตะขาบขึ้นสูยอดเสาแลวเปนสัญญาณตาม ความเชื่อที่เลาสืบกันมาวา พวกมารจะมารบกวนมนุษยไมไดแลว เทวดาหามมารเขามาในหมูบาน และ ชาวบ า นทุ กบา นจะช ว ยกัน ทํ า รา นเทวดา มี ห มากพลู ม ว นบุห รี่ เครื่ อ งหอม น้ํา อบ แป ง หวี กระจก น้ําหวาน น้ําเปลา กระถางธูป เทียน ดอกไม วางบนรานที่มีเสาไมตั้งสูงแคอก และมีไมแผนสี่เหลี่ยม กวางยาวพอวางสิ่งของบูชาไดเพื่อรับนางสงกรานต พอตอนกลางคืนจะจุดเทียนธูปบูชานางสงกรานต


ดังนั้นเมื่อเทวดาหามพวกมารทั้งหลายเขาหมูบาน ทําใหมารเกิดความอดอยากหิวโหย ไมมีใครใหอาหาร จึงตองทําบุญอุทิศสวนกุศลไปใหในวันสุดทายของเทศกาลสงกรานตที่หนองฆอง คือหนองน้ําที่นางซอ ลพบฆอง จึงตองทําบุญตักบาตรอุทิศสวนกุศลใหเจาของฆอง (ตักบาตรสงทุง) และเหลามารซึ่งเปนผี เรรอน ซึ่งตรงกับวันที่ ๑๖ เมษายนของทุกป การจับมารดังกลาวในประเพณีสงกรานตนั้นก็จะมีคน แตงตัวเปนมารออกมากินเครื่องเซน จะมีผูมาจับซึ่งก็คือชาวบานที่รวมอยูในพิธี พิธีก็จะดําเนินไปดวย ความสนุกสนาน จับไดนําไปใหพระพรมน้ํามนตก็จะเสร็จพิธี ความศักดิ์สิทธิ์ของเจาตะเคียน ตํานานเรื่องเลาเกี่ยวกับเจาตะเคียน เจาตะเคียนมีความ ศักดิ์สิทธิ์มานานจนทุกวันนี้ชุมชนชาวบานสําโรงก็ยังนับถืออยู คณะผูวิจัยไดรับทราบจากคําบอกเลาของ ผูสูงอายุวา เจาตะเคียนที่ทาน้ําวัดสําโรงมีความศักดิ์สิทธิ์ โดยผูเลาเลาวาเมื่อครั้งที่ตนเองยังเปนเด็ก เล็กๆ แตก็จําความไดแลว คนแกคนเฒาจะหามไมใหเด็กไปเลนน้ําใกลตนตะเคียนที่ทาวัดโดยไมมีผูใหญ ไปดวย (ถาผูใหญไปดวยจะพูดจาขอขมาตอเจาตะเคียนกอน) ตอมาผูเลาคนเดิม (นางสรอย เกตุกัลยา และนางแดง พุทธศรี) เลาตอวาพอตนเองโตขึ้นจําความไดแลว มีเด็กผูชายชื่อพา หลงวงษ เรียนอยู ประมาณชั้นประถมศึกษาปที่ ๔ ตอนพักกลางวันไปเลนน้ําที่ทาวัดกับเพื่อนๆ กันเอง ไดยิงหนังสติ๊กไปถูก ตนตะเคียน พอกลับถึงบานก็ชักโดยไมทราบสาเหตุ หาเจาเขาทรงดู เจาบอกวา เจาตะเคียนทําและจะ เอาไปดูแลลูกของเจาตะเคียน เพราะเด็กชายพาไดยิงหนังสติ๊กไปถูกลูกตาของลูกเจาตะเคียน เด็กชาย พามีอาการชักแค ๑ วันก็ตาย ในระยะหลังพระครูพัฒนาภิรมยไดบวชตนตะเคียน (ดวยคาถา) จึงไมคอย แสดงอิทธิฤทธิ์ ภายหลังเมื่อตนตะเคียนลม จึงไดสรางศาลที่บริเวณริมคลองทาน้ําวัดจนถึงปจจุบันนี้ เมื่อใกลวันสงกรานต ๔-๕ วัน จะเรียกเจาที่ประจําหมูบานกอน ตามดวยเจาตะเคียน และพระ ยาเสารตามลําดับ ประเพณีที่เกี่ยวกับการรักษาโรค การรักษาโรคในบานสําโรง หมอพื้นบานที่มีความรูเกี่ยวกับ การรักษาโรค ความรูเกี่ยวกับสมุนไพร รวมไปถึงคาถาอาคมตางๆ จึงเปนผูมีบทบาทสําคัญ โดยเฉพาะ อยางยิ่งสภาพวิถีชีวิตในอดีตที่หางไกลจากแพทย พยาบาล การสาธารณสุขตางๆ จากการเก็บขอมูลองค ความรูของคนในชุมชนเกี่ยวกับการรักษาโรค คณะนักวิจัยไดรวบรวมบันทึกไวดังนี้ วิธีรักษาตะมอย งูสวัด และคางทูมของลุงสงา เหลือสาคร คุณลุงไดเลาวา วิธีการรักษาทําโดย เอาเหลาขาวอมในปากไว ทองคาถาแลวพนบริเวณที่เปนโรคนั้นๆ เพียงแตใชคาถาพนอยางเดียว ตาม ชนิดของโรค จะพนเวลาใดก็ได หรืออาจจะพนเชา-เย็น (ถาเปนมาก) ถารักษาหายจะมีคายกครู นําไปให ผูทําการรักษา คือ ลุงสงา โดยคาครูจะมีขันธ ๕ (ใชใบตองทําเปนกรวย ๕ อัน) เหลาขาว ๑ ขวด เงิน ๑ สลึง (๒๕ สตางค) ธูป ๑๐ ดอก ดอกไม ๑๐ ดอก (สีอะไรก็ไดยกเวนสีแดง เพราะทางบานเดิมที่จังหวัด นครสวรรคมีความเชื่อวาดอกไมสีแดงเปนดอกไมของผีปอบ) ธูปและดอกไมนําไปเสียบในกรวย (แตละ กรวยจะมีธูป ๒ ดอก ดอกไม ๒ ดอก ) แตถารักษาไมหาย ไมตองยกครู เมื่อคนที่ถูกงูกัดมาถึงมือลุงถินเพื่อใหลุงรักษา ลุงจะใชคาถาเปากระหมอม แลววิธีหารากยา สมุนไพรเพื่อนํามาตมใหกิน ถาเปนเวลากลางวันใหใชวิธีหันหลังใหตนยา กลั้นลมหายใจแลวตองไม เหยียบเงาตัวเอง ดึงเอารากสมุนไพรนั้นมาใหได ถาเปนเวลากลางคืนไมเปนไร เพราะมองไมเห็นเงา แต


ยังใชวิธีหันหลังกลั้นลมหายใจดึงตนสมุนไพรนั้นใหหลุดออกมาทั้งรากเชนเดิม โดยสมุนไพรดังกลาวนี้คือ รากหัวลิง หมากขวบ (หมากที่เก็บไวชนป) ฉากไวเปน ๗ กลีบ รากใบชะพลู ตมใหกินและทาแผลได ถา รักษาหายจึงมีคายกครูเปนเงิน ๙๒ บาท เหลาขาว ๑ ขวด ขาวสาร ๑ ถวย ผาขาว ๑ ผืน กรวยที่ทําจาก ใบตองเสียบดอกไมธูปเทียน ๔ กรวย บานสําโรงในอดีตที่พึ่งพาหมอพื้นบานเหลานี้ ถาเกิดอาการเจ็บปวย ตองการหมอรักษา จะตอง นําเทียน ๑ คู ไปหาหมอมารักษา (หมอสมุนไพรประจําหมูบาน) ถารักษาหายก็สงครู คาครู ๖ สลึง หรือ ๑๒ บาท (คาครูขึ้นอยูกับหมอที่มารักษา) อาการหนัก รักษาอยางไรก็ไมหาย จะมีการนั่งขวัญโดยมีคน ทรง ถือขัน ในขันมีขันธ ๕ ขันธ ๘ ดอกไม ใบตอง แลวจะมีครูนั่งทองคาถาหยอดเหรียญครั้งละ ๑ เหรียญ ลงในขัน อาการไขบางอยางรักษาไมหาย จะมีการจุดทอง นํายอดเตารั้งมาขูดเปนฝอยๆ ตากใหแหง กอน จุดเอาปูนมาทาที่ทอง แลวนํายอดเตารั้งที่ขูดและตากแหงแลวมาปนเปนกอนกลมๆ เล็กๆ วางบนทอง แลวจุดเหนือสะดือ ใชไฟธูปจี้ ประเพณีพิธีกรรมที่เกี่ยวกับการทํามาหากิน ประเพณีพิธีกรรมที่เกี่ยวกับการทํามาหากิน สะทอนใหเห็นถึงวิถีชีวิตในดานการทํามาหากิน การจัดการทรัพยากรเพื่อการดํารงชีพ ขอมูลเกี่ยวกับการ ประกอบพิธีกรรมการทํามาหากินของบานสําโรงพบวา ปจจุบันแทบไมหลงเหลืออยู มีเพียงนายแคน วัง แกว ที่รับชวงตอจากบิดาคือนายโตด วังแกว ยังเชื่อและถือปฏิบัติอยูครอบครัวเดียว พิธีดังกลาวคือการ เซนควาย ซึ่งผูใหขอมูลไดเลาใหฟงวา กอนจะมีการปลูกขาวไร-นา จะมีพิธีกรรมเซนควาย เดือน ๖ มีการเขาทรงเจา คนที่ทําพิธีเซน ไหวจะตองซื่อสัตย ขโมยของใครไมได ถาไมซื่อตรง เสือจะเขาบานตนเอง ถือวาผิดครู ในพิธีมีเหลา ขาวสาร ธูป เทียน แลวจะเซนตอนกลางวัน ปจจุบันยังทําอยูคนเดียว (บานเดียว) ชาวบานไมมารวมดวย เพราะ ชาวบานไมคอยเชื่อถือ เนื่องจากความเจริญตางๆ เขามาในหมูบาน เชน ถนน ไฟฟา น้ําประปา มีเครื่องทุนแรงในการประกอบอาชีพ เชน รถแทรกเตอร ใชไถไรนา ปลูกขา ว ขาวโพด และนวดขา ว นอกจากนี้ยังถือความสะดวกสบาย ความพรอมในการไถปลูกอีกดวย ตอมาอีกประมาณ ๑๐-๒๐ ป ชาวบานจะเลือกวันดีๆ ที่เปนมงคลปลูกขาว แตจะรอใหพิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญผานไปกอน เมื่อได วันดีๆ และฝนฟาอํานวย เตรียมพื้นที่พรอมแลวจึงลงมือปลูกขาว สวนผูที่ทําพิธีเซนควาย ถายังไมถึง เดือน ๑๒ จะเผาตนหอม เผาขาวหลาม และตัดยอดหวายมากินไมไดเพราะกลัวความผิดจะเขาตนเอง เมื่อเซนควายแลว ชาวบานจะปลูกขาวทํานาได กอนไถนาตองมีพิธีเซนไหวเจาที่ มีขนมตมขาว ขนมตม แดง ไก เหลา เซนไหวบอกเจาที่ (แตละคนทําเอง) กอนเกี่ยวขาวมีพิธีเรียกรับขวัญขาว ๑๙ รวง (เลือกวัน ดีๆ) ไปเสียบไวบนหลังคา เมื่อเกี่ยวใกลหมดเหลือ ๑๙ กอ จะเรียกขวัญอีกครั้ง ปจจุบันชาวบานสวนใหญของบานสําโรงทําไรทําสวนเปนหลัก โดยเฉพาะอยางยิ่งสวนลําไย หรือพืชผลอื่นๆ ตามความตองการของตลาด พิธีกรรมเกี่ยวกับการทํามาหากินจึงแทบไมมีปรากฏในบาน สําโรง ประเพณีในรอบป นอกจากประเพณีที่เกี่ยวกับชีวิต ประเพณีที่เกี่ยวกับการทํามาหากินแลว ประเพณีในรอบปที่ชาวบานในชุมชนจัดขึ้นก็เปนขอมูลอีกดานหนึ่งที่ชวยทําใหมองเห็นและเขาใจชุมชน


มากขึ้น ประเพณีที่จัดขึ้นในเดือนตางๆ ในรอบปที่สําคัญในบานสําโรง ไดแก งานเทศนมหาชาติ งาน สงกรานต การทําบุญสารท การลอยประทีป การตักบาตรเทโว การลอยกระทง การเก็บขอมูลเกี่ยวกับ ประเพณีเหลานี้ทําใหเห็นทั้งบทบาทของความเชื่อ ศาสนาที่มีตอคนในชุมชน ความสัมพันธของคนกับ ธรรมชาติ ความสัมพันธของคนในสังคม รวมไปถึงความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ดังปรากฏจากการลด การ เพิ่ม การปรับเปลี่ยนรูปแบบประเพณี ความเปลี่ยนแปลงดังกลาวยังดํารงอยูเปนภาพเคลื่อนไหว ทําบุญสารทของคนในทองถิ่น ในสมัยโบราณเปนการทําบุญอุทิศสวนกุศลใหกับบรรพบุรุษที่ ลางลับไปแลว โดยมีความเชื่อวาในรอบที่ ๑ ป มี ๒ วัน คือ วันสารทและวันสงกรานต ที่ยมบาลจะปลอย ใหญาติพี่นองหรือบรรพบุรุษมารับอาหารคาวหวาน จตุปจจัย เครื่องนุงหม ไดดวยตนเอง ถาทําบุญวัน อื่นๆ จะตองฝากไปให (เปรียบเหมือนฝากไปรษณียไปให) และในวันสารทจะเนนขาวตมมัด ผัก อาหาร ขนมตางๆ ถาในวันสงกรานตจะเพิ่มเสื้อผาของใชตางๆ ไปดวย ประเพณีทําบุญในชวงกอนออกพรรษาอีกวันหนึ่งที่ชาวบานสําโรงทําเปนประจําจนถึงปจจุบันนี้ คือ การทําบุญสารท ซึ่งตรงกับวันแรม ๑๕ ค่ํา (วันสิ้นเดือน) เดือน ๑๐ เพื่อทําบุญอุทิศสวนกุศลใหบรรพ บุรุษที่ลวงลับไปแลว ปจจุบันการทําบุญวันสารทนอกจากจะอุทิศสวนกุศลใหผูตายแลว ยังไดบริจาคทาน และดํารงประเพณีอันเกาแกไวดวย ลอยประทีป การลอยประทีปเปนประเพณีที่สืบทอดมาจากประเทศกัมพูชา เพราะพระที่เปน เจาอาวาสวัดสําโรงสวนใหญเปนพระที่มาจากประเทศกัมพูชา และคนทําพิธีจะเปนคนเขมรพื้นบานที่รู เรื่องประเพณีนี้ พิธีลอยประทีปตรงกับวันแรม ๑ ค่ํา เดือน ๑๑ หลังออกพรรษา ๑ วัน ชาวบานชวยกันทํา แพมีหลังคา พอถึงวันลอยประทีปนําขนม ขาวตม ขาว ปลายาง และอาหารคาวหวานอื่นๆ หมาก พลู บุหรี่มวนเอง ธูปเทียน ทุกอยางใสในกระทงสี่มุม ๔ กระทง เพื่ออุทิศสวนกุศลใหผีเปรต การลอยประทีปนี้ ลอยกลางวันไมเกิน ๔ โมงเย็น มีคนรําในคลองเดินตามแพมาเพราะคลองตื้น โดยคนตีกลองเดินตามตลิ่ง พระจะคอยอยูที่ทาน้ํา สวดชยันโตให พอพระสวดเสร็จก็ปลอยใหแพลอยไปตามน้ํา (ทุกบานทําโคม จุด เทียนในโคมประดับไวหนาบาน) พอถึงเที่ยงคืนจะปลอยโคมใหญ (เปนโคมที่ชาวบานไดชวยกันทํา แลว เตรียมไวรอเวลาปลอยที่วัด) โดยจะทํานายจากโคมใหญนี้วา ถาลอยไปทางทิศเหนือหรือทิศตะวันออก ฝนจะยังตกอยู แตถาโคมใหญลอยไปทางทิศตะวันตกหรือทิศใตจะหมดฝน เขาสูหนาหนาว เนื่องจาก ชาวบานมีอาชีพเกษตรกรรมตองใชน้ําในการเพาะปลูก ปจจุบันการลอยประทีปเลิกไปเพราะไมมีใครสืบ ทอดประเพณี ไดเปลี่ยนมาเปนตักบาตรเทโวตามสังคมภายนอก แตการปลอยโคมใหญยังคงทําอยูในคืน วันออกพรรษา และเชา วันตั กบาตรเทโวจนถึง ทุกวัน นี้ สว นโคมที่ แขวนไวหน าบา นและจุดโคมตอน กลางคืนไดเลิกไปเมื่อประมาณ ๓๐ กวาปมานี้ เพราะคนรุนตอมาไมมีคนนําทําพิธี ถึงแมวาคนรุนราว คราวเดี ยวกัน กับ คนที่ นํา พิธียัง มีชีวิต อยูแ ต พวกเขาเหลา นั้น ก็ ไมไ ด ใส ใจที่จ ะนํา คนรุน หลัง สื บ ทอด ประเพณีอันดีงามนี้ไว ตักบาตรเทโว ตั้งแตสมัยกอตั้งชุมชนและมีกิจกรรมประเพณีทางศาสนามา ไมเคยมีประเพณี ตักบาตรเทโว ชาวบานจะทําบุญในวันออกพรรษาวันเดียวและมีการลอยประทีปในวันนี้ ตอมาเมื่อความ เจริญเขาสูหมูบาน และมีการติดตอกับสังคมภายนอกเมื่อประมาณ ๒๐ กวาปมานี้ ไดเห็นที่อื่นมีการตัก


บาตรเทโว ผูใหญบานหมู ๖ ไดนิมนตเจาอาวาสวัดสําโรงไปรวมตักบาตรเทโวที่วัดทับไทร ตอมาจึงไดนํา ประเพณีนี้เขาสูบานสําโรง ฉะนั้นในวันแรม ๑ ค่ํา เดือน ๑๑ ตอจากวันออกพรรษา ประเพณีลอยกระทง (ขึ้น ๑๕ ค่ํา เดือน ๑๒) ประเพณีลอยกระทงในสมัยโบราณ จะมีพิธี กรอกขาวเมา (ภาษาเขมร เรียกวา เออะโมะ) เปนประเพณีที่สืบทอดมาจากประเทศกัมพูชา ตอนเชา ชาวบานนําอาหารคาว หวาน มาทําบุญที่วัด เมื่อกลับจากวัดแลวชาวบานจะทํากระทงดวยกาบหมาก กาบกลวย ใสบุหรี่ หมาก พลู ดอกไม ธูปเทียน สตางค นํากระทงมาที่วัด พระจะสวดมนต กอนลอยกระทงในตอนหัวค่ํา คนนําในพิธีนําไมมาปก ๒ อันหางกัน มีไมอีก ๑ อัน เสียบระหวาง ไม ๒ อัน เจาะรู ๑๒ รู ใสเทียนลงไป จุดเทียนทั้ง ๑๒ เลม นําใบตองมาวางไวดานลาง หมุนเทียนให น้ําตาเทียนหยดลงบนใบตองทีละ ๑ รอบ คือ ๑ เดือน เอาใบตองออก นําใบตองใหมใสเขาไป หมุนเทียน ทําใหครบ ๑๒ เดือน เอาใบตองทั้ง ๑๒ เดือนมาดู จะมีหยดน้ําตาเทียนเปนรูปตางๆ และทํานายวาจะมี ฝนหรือแหงแลงตามน้ําตาเทียนที่หยดบนใบตองแตละใบ ถาเปนรูปจระเข ปลา เทากับวาฝนจะดี ถาเปน รูปกวาง เกง หมู จะแหงแลง คนที่มารวมในพิธีจะมีทุกเพศทุกวัยเพราะมารวมทําบุญกันที่วัด และทุกคน จะนําขาวเมาที่ทําเองไปดวย เมื่อคนทําพิธีเสี่ยงทายเสร็จ จะเดินถามชาวบานทุกคนวาชื่ออะไร ใหตอบ วาชื่อเต็ม แลวผูทําพิธีจะถามตออีกวาเต็มอะไร ใหตอบวาเต็มบริบูรณ ก็จะใหขาวเมา ถาตอบเปนชื่อ อื่นๆ จะไมไดขาวเมา ซึ่งพิธีนี้ทําเพื่อเสี่ยงทายและรอเวลาใหชาวบานมารวมกลุมกันอยูในวัดจนถึงเวลา เที่ยงคืนจะไดไปลอยกระทงพรอมกัน ปจจุบันพิธีนี้ไดเลิกแลว หลังจากเสร็จพิธีกรอกขาวเมาหรือเออะโมะแลวพระนําขอขมาแมพระคงคา เสร็จแลวนําไปลอย ที่คลองตอนเที่ยงคืนที่ทาวัด ซึ่งประเพณีลอยกระทงนี้ยังทํามาจนถึงปจจุบัน แตกระทงมีการประดิษฐ อยางสวยงามดวยวัสดุในทองถิ่นจากธรรมชาติ ตอนหัวค่ําชาวบานจะนํากระทงมาที่วัดเพื่อฟงพระสวด และนําขอขมาแมพระคงคา เสร็จแลวตางคนก็แยกยายกันไปลอยกระทงที่ทาวัดสวนหนึ่ง และที่ฝายกั้น น้ําบานสําโรงบนมีการเปดเพลงเตนรําสนุกสนานจนดึกดื่น

บานสวนสม เรื่องเลาที่เปนตํานาน ความเชื่อเกี่ยวกับไสยศาสตร บานสวนสมหากเปรียบเทียบกับบาน สําโรงแลวนับวาเปนหมูบานที่กอตั้งไดเพียงไมนาน อีกทั้งการเกิดและเติบโตของชุมชนก็เกิดจากการ อพยพย า ยถิ่น เข า มาอยูอ าศั ย ของคนที่ต า งๆ ทํ า ให ข อ มู ล เกี่ย วกั บ ตํา นาน ความเชื่ อ จึง มีไ มมากนั ก อย า งไรก็ ต ามจากการเก็ บ ข อ มู ล พบว า ประชากรที่ อ ยู ใ นหมู บ า นสวนส ม มี ค วามเชื่ อ และนั บ ถื อ สิ่ ง ศักดิ์สิทธิ์มาตั้งแตยังไมไดตั้งหมูบาน เปนความเชื่อที่เชื่อตอๆ กันมา โดยการเลาปากตอปากของคนที่ได เขามาอยูกอนและไดประสบพบเห็นเหตุการณดวยตนเอง ซึ่งความเชื่อของคนในหมูบานที่เชื่อและยึดเปน สิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่ปกปองหมูบานที่สําคัญที่สุดคือ เจาพอวัวแดง และความเชื่อปลีกยอยอื่นๆ ซึ่งสะทอนถึง สภาพสังคมบานสวนสมดังตอไปนี้ เจาพอวัวแดง จากการบอกเลาของนายสมชาย ศิริธรรม ผูซึ่งเปนรางทรงของเจาพอวัวแดงที่ ชาวบานสวนสมเคารพนับถือ ไดเลาประวัติความเปนมาของความเชื่อเรื่องเจาพอวัวแดงวา สมัยกอน


ชาวบานมักเขาปาลาสัตวเพื่อนํามาเปนอาหาร วันหนึ่งไดไปเจอฝูงวัวสีแดงหากินตามชายปา จึงลงมือยิง ฝูงวัวเหลานั้น แตปรากฏวายิงแลวกระสุนปนไมออก เหตุการณแบบนี้เกิดขึ้นหลายครั้งติดตอกัน จนเปน ที่นาแปลกใจสําหรับผูที่ไปลาสัตว จึงไดไปหาพระ พระไดนั่งทางในจึงไดทราบวามีสิ่งศักดิ์สิทธิ์ปกปกษ รักษาฝูงวัวฝูงนี้อยู ไมมีใครสามารถทําอะไรได ในบริเวณที่วัวฝูงดังกลาวไดหากินอยู ขางบนเปนถ้ํา ชาวบานเรียกกันวาถ้ําเจาพอวัวแดง ซึ่ง ชาวบานนับถือ ศรัทธากันสืบมา บางคนไปบนบานศาลกลาวอะไรไวก็จะไดดั่งหวัง ถ้ําแหงนี้บางคนก็ มองเห็น บางคนก็ไมสามารถที่จะมองเห็นได เห็นแตเพียงตนไมเทานั้น แลวแตจิตของแตละคนที่จะสัมผัส ได


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.