6pattanee5

Page 1

สภาพแวดลอม การทํามาหากิน และการเปลี่ยนแปลง สภาพแวดลอมและการทํามาหากินของบานดาโตะ จากสภาพแวดลอมที่หมูบานถูกขนาบดวยทะเล ชาวดาโตะจึงยึดอาชีพประมงตั้งแตอดีตถึงปจจุบัน ทะเล ๒ ดานของหมูบานดาโตะ คือทะเลใน (อาวปตตานี) และทะเลนอก (อาวไทย) อาวปตตานีเปนอาวที่มี ความเหมาะสมสําหรับการกําบังคลื่นลมและเปนทาเทียบเรือที่สําคัญแหงหนึ่งของประเทศไทยตั้งแตอดีตจนถึง ปจจุบัน อาวปตตานีมีอาวเปนลักษณะอาวกึ่งปด มีเนื้อที่ประมาณ ๗๔ ตารางกิโลเมตร ทางทิศเหนือของอาว มีพื้นที่เปนแหลมเรียกวาแหลมโพธิ์ หรือแหลมตาชี ยื่นออกไป ขนานกับแนวชายฝงของแผนดิน โดยมีปากอาว เปดออกสูอาวไทย และบริเวณกนอาวเปนสวนของปากน้ํายะหริ่ง พื้นที่รอบอาวปตตานีมีความอุดมสมบูรณ สภาพทางภูมิประเทศเหมาะแกการเปนที่อยูอาศัยของสัตวน้ําที่มีความสําคัญทางเศรษฐกิจ เชน กุง หอย ปู ปลา และสาหรายทะเลชนิดตางๆ ประชากรสวนใหญของหมูบานดาโตะประกอบอาชีพประมง รองลงมาคือทําขาวเกรียบ เลี้ยงปลาดุก ปลากะพง รานน้ําชา ขายอาหาร ชางทําเรือ ชางวาดลายเรือ ชางกอสราง รับจางทํางานในโรงงานอุตสาหกรรม รับจางทํางานในมาเลเซีย รับราชการ สวนอาชีพเสริมของชาวดาโตะคือ ชางแกะสลักไม รับจางขูดมะพราว ใช ลิงรับจางขึ้นมะพราว เก็บสาหราย ประมง เรียกกันในภาษาทองถิ่นของคนดาโตะวา มูกะ บานดาโตะเปนหมูบานใหญที่ติดกับทะเล อาชีพประมงจึงเปนรายไดหลักของชุมชนแหงนี้ ผูประกอบอาชีพประมงทั้งหมดประมาณ ๕๐๐ คน ในหมูบาน ดาโตะมีเรือประมาณ ๔๐๐ ลํา รายไดในการทําประมงไมแนนอน บางวันอาจไมไดเลย รายไดสูงสุดประมาณ ๓,๐๐๐-๕,๐๐๐ บาท การประกอบอาชีพประมงสวนใหญชาวบานจะใชเรือหางยาว เรือพาย เรือแจว หรือเรือกอและ สวน เครื่องมือประมงที่ใชกันหลักๆ คือ อวนประเภทตางๆ แห และเบ็ด เปนตน ชาวประมงจะใชเครื่องมือแตกตาง กันไปตามฤดูกาลและกระแสคลื่นลม นอกจากนั้นการทําและใชเครื่องมือประมงจะสัมพันธกับการตั้งถิ่นฐาน ของชุมชน แหลงอาศัยของสัตวน้ํา ชนิดของสัตวน้ํา และความสามารถในการลงทุนประกอบเครื่องมือประมง ชนิดตางๆ ดวย ดังนั้นชาวประมงสวนใหญจะมีเครื่องมือในการประกอบการหลายชนิดเพื่อที่จะเลือกใชไดตาม ความเหมาะสม เชน อวนลาก อวนลอยกุง อวนจมปูมา แห เบ็ดราว เปนตน ในที่นี้จะอธิบายรายละเอียดของ อุปกรณบางชนิดดังนี้

เสนทางเดินเรือสินคาในอดีต


คนลากอวนจะลากอวนเพื่อดักสัตวน้ําที่อยูดานหนาอวน แลวลอมเขาหากัน กูอวนขึ้นเรือ อวนลากคน จะใชอวนตาถี่ ระดับในการลากอวนประมาณ ๑-๑.๕ เมตร ขนาดของเรือ ๑.๘X๗ เมตร เครื่องยนตขนาด ๖-๗ แรงมา อวนลอยกุง ภาษามลายูเรียกวา ปูแกอูแดฆือแต นับเปนเครื่องมือประมงชนิดหนึ่งที่ไดรับความนิยม ในการใชมากที่สุดของชุมชน ตัวอวนจะมีความกวางประมาณ ๗๐ ซ.ม. และมีความยาวประมาณ ๑๐๐-๑๕๐ เมตร ลึก ๑.๕ เมตร โดยทั่วไปชาวบานจะใชอวนประมาณ ๑๐ ผืน เพื่อประกอบเปนอวน ๑ หัว ชาวบานจะออกไปวางอวนในเวลา เชาตรู โดยใชเรือยนตขนาดเล็ก ๑-๖ เมตร เครื่องยนตขนาด ๘-๑๓ แรงมา ใชลูกเรือ ๑-๒ คน ขั้นตอนการวาง อวนตามลําดับคือ อวนจะถูกวางในแนวตั้งฉาก อวนจะถูกปลอ ยใหลองลอยตามกระแสน้ํา พัดเคลื่อนไป ขางหนาเพื่อใหสัตวน้ําติดอวน กอนจะทําการกูอวนขึ้นมา

อวนลอยกุง อวนปู ภาษามลายูเรียกวา ปูกะกือแต จัดอยูในประเภทอวนจม ความยาวประมาณ ๓๐-๖๐ม.ตอผืน ขนาดความกวางของหนาอวนประมาณ ๒๕ ตาอวน หรือประมาณ ๑๒๐-๑๕๐ ซ.ม. โดยทั่วไปแลวอวนชนิดนี้ จะใชกับเรือประมงขนาดเล็กที่มีความยาวประมาณ ๕-๖ เมตร ชาวบานจะออกไปทําการวางอวนในชวงเวลา ประมาณ ๑๐.๐๐-๑๓.๐๐น. ทั้งนี้ขึ้นกับลักษณะของกระแสน้ําและกระแสลม โดยเริ่มวางอวนโดยปกหลักเขา กับบริเวณนั้น และปลอยทุนลอยสัญลักษณลอยในน้ํา กอนที่จะวางอวนลงไปจนวันรุงขึ้น ชาวบานจะออกจาก ทาเรืออีกครั้งหนึ่งเพื่อไปกูอวนและกลับสูหมูบานเพื่อทําการปลดปู และสัตวน้ําอื่นๆ ที่ติดอวนตอไป ซึ่งใน ขั้นตอนนี้จะมีการใชแรงงานแมบานและลูกหลาน หรือเพื่อนฝูงของชาวประมงเพื่อปลดปูตอไป อวนล อ มปลากระบอกกระทุ งน้ํ า ใช เรื อ ยนตข นาดเล็ก ๑X๖ เมตร เครื่อ งยนต ๘-๑๑ แรงม า แรงงาน ๑-๒ คน โดยจะใชเวลาจับทั้งวันทั้งคืน เมื่อชาวประมงแลนเรือออกไปแลวพบฝูงปลากระบอกจะปลอย อวนลอมเปนวงกลม ๑-๓ ชั้น แลวแลนเรือเพื่อเขาไปกระทุงน้ําในอวนที่ลอมเปนวง เพื่อใหปลาตกใจ วายไปติด อวน ระดับน้ําที่เปนพื้นที่ในการลอมลึก ๑๒ เมตร เบ็ดราว ภาษามลายูเรียกวา ตาลีกาเอ เปนหนึ่งในเครื่องมือการจับสัตวน้ําที่มีรูปแบบอยางงา ย ประกอบขึ้นเปนเครื่องมือไดไมยาก ลักษณะเบ็ดราวจะประกอบดวยเบ็ดหลายๆ อันผูกกับเชือกเอ็นติดกับเชือก หลัก เบ็ดราวมีอายุการใชงานคอนขางนาน สามารถจะวางเบ็ดราวที่บริเวณใดก็ไดที่มีปลาอาศัย ชุกชุม เบ็ด ราวจัดวาเปนเครื่องมือที่จําเปนตองใชเหยื่อลอสําหรับการจับปลา โดยเหยื่อลอที่ใชสวนใหญจะเปนพวกลูกกุง การวางเบ็ดราวใชคนประมาณ ๑-๒ คน โดยมีอุปกรณคือ เชือกเอ็นเบอร ๗๐ เอาไวผูกตาเบ็ดความ ยาว ๕๐๐-๘๐๐ เมตร ใชเหยื่อเปนไสเดือนทะเล หอย กุง ปลาหมึก ปลาที่จับไดจะเปนปลาดุกทะเล เรือที่ใช วางเบ็ดราวเปนเรือขนาด ๑X๗ เมตร เครื่องยนต ๖-๗ แรงมา


ระวะหรือชิ๊ปใสกุง เปนเครื่องมือจับปลาที่ใชคนในการรุน เพื่อใหสัตวน้ําเขาถุงอวน ความกวางของ ปากระวะประมาณ ๑.๕ เมตร ความยาวจากปากระวะถึงถุงอวนประมาณ ๓-๔ เมตร ใชเรือขนาดยาว ๕-๖ เมตร กวาง ๑ เมตร ใชลูกเรือ ๑-๒ คนตอลํา ความลึกของน้ําในการรุนประมาณ ๑-๑.๕ เมตร

ระวะหรือชิ๊ปไสกุง โพงพาง เปนเครื่องมือประมงที่ใชอวนรูปถุงปากกวาง ปากอวนติดตั้งใหกางรับสัตวน้ําที่พัดตาม กระแสน้ําเขาถุงอวน ใชเรือขนาด ๒X๖ เมตร เครื่องยนตขนาด ๕-๑๐ แรงมา ตองวางปากอวนสูงใกลเคียงกับ ความลึกของน้ําชวงขึ้นสูงสุด ขนาดประมาณ ๔X๔ หรือ ๘X๖ เมตร ความยาวจากปากอวนถึงกนถุง ๒๐-๒๕ เมตร ลูกเรือ ๑-๓ คน โพงพางปก เปนเครื่องมือประมงที่ใชอวนรูปถุง ปากอวนติดตั้งรับสัตวน้ําที่ถูกกระแสน้ําพัด เขาถุง อวน ใชไมไผปก เปนปกกางออก ใหสัตวน้ําผานขางปก แลวเขาในโพงพาง ขนาดเรือที่ใชโพงพางจับปลา ๑.๕x ๖ เมตร

โพงพางปก คราดหอยแครง ใชกับเรือติดเครื่องยนตขนาดเล็ก ๒X๘ เมตร เครื่องยนต ๘-๑๕ แรงมาจับปลาโดยใช คราดหรือตะแกรงจุมลงน้ํา ขับเรือแลนไปขางหนาเพื่อขูดหอยบนผิวดิน ใชลูกเรือ ๑- ๒ คน

คราดหอยแครง แห เรียกวา ญาลอ ในภาษามลายู เปนเครื่องมือประมงชนิดหนึ่งที่ใชงานกัน โดยแหจะเปนเครื่องมือ เสริมในหลายครัวเรือน เนื่องจากราคาถูกและสามารถนํามาทําประมงในทุกพื้นที่ได ยกเวนบริเวณที่มีเศษไม หรือเศษสวะอื่นๆ เพราะอาจทําใหแหไดรับความเสียหาย แหเปนเครื่องมือประมงที่ไมมีความซับซอนมากนัก ดังนั้นชาวบานเพียงแตนําแหติดตัวไปยังบริเวณที่มีสัตวน้ําชุกชุมกอนที่จะทําการเหวี่ยงแหลงไปเพื่อครอบลงใน บริเวณที่ตองการ หลัง จากนั้น แหจะถูกดึงขึ้น มาเพื่อ ทําการปลดสัตวน้ําที่จับ ได อยางไรก็ตามกรณีการจับ ปลากระบอกชาวบานสวนใหญจะสังเกตฝูงปลากอนที่จะทําการเหวี่ยงแหแตละครั้ง ปจ จุบัน การลดน อยลงของจํ านวนสัตวน้ํ าในทะเล การเพิ่ม ของประชากรอย า งรวดเร็ว ทํา ใหก าร ประกอบอาชีพประมงนอยลง ตนทุนในการประกอบอาชีพประมงที่สูงขึ้น เชน คาเครื่องยนตในเรือ คาน้ํามัน


เชื้อเพลิง และราคาเรือที่สูงขึ้น ทําใหชาวประมงบางสวนตองหันไปประกอบอาชีพอื่นแทน เชน การรับจางทั่วไป การทํางานในโรงงานอุตสาหกรรม หรือการเดินทางไปทํางานในตางประเทศ เปนตน เพาะเลี้ยงสัตวน้ํา การเพาะเลี้ยงสัตวน้ําของชุมชน สวนใหญจะทํากันในแมน้ําลําคลองสายตางๆ บริเวณที่มีน้ําทะเลเขาถึง นอกจากนี้ยังมีการเพาะเลี้ยงสัตวน้ําในบอดิน สัตวน้ําที่นิยมเลี้ยงคือ ปลากะพง และ ปลาดุก ชาวบานดาโตะประกอบอาชีพเพาะเลี้ยงสัตวน้ําประมาณ ๑๔๘ ครัวเรือน การเลี้ยงปลากะพงนิยมเลี้ยงกันในลําคลอง และอาวปตตานีที่มีสภาพน้ํากรอย การเพาะเลี้ยงปลา กะพงอาศัยอุปกรณไมมาก เชน อวน ไม โฟม และเชือก รวมทั้งการลงทุนไมสูงมากนัก เนื่องจากไมมีปญหาใน เรื่องของอาหารปลาเพราะสามารถใชปลาและสัตวน้ําอื่นๆ ที่จับมาได จึงเปนที่นิยมของผูเพาะเลี้ยงของคนใน ชุมชน ปจจุบันชาวบานบางคนเลี้ยงปลาในกระชังเฉลี่ยประมาณ ๓-๔ กระชังตอครอบครัว ชาวบานเริ่มเลี้ยงปลาดุกเมื่อประมาณ พ.ศ. ๒๕๒๗ โดยมีนายมะแซ อับดุลบุตร เปนคนมีฐานะ มี เครือญาติกวางขวาง มีที่ดินวางเปลาโดยไมไดใชประโยชน ญาติชื่อนายทวีศักดิ์ อับดุลบุตร จึงแนะนําใหเลี้ยง ปลาดุก เปนคนเริ่มเลี้ยงและเพาะปลาดุก ซึ่งในขณะนั้นชาวบานดาโตะไมมีใครรูเรื่องเกี่ยวกับปลาดุก การเลี้ยง ปลาดุก นายมะแซไดสั่งซื้อลูกปลาดุกดานจากกรุงเทพฯ เอามาทดลองเลี้ยง โดยมีวิธีการเพาะเลี้ยงแบบภูมิ ปญญาชาวบาน การเพาะเลี้ยงปลาดุกสวนใหญจะเปนการเพาะเลี้ยงในบอดินที่อยูในสวนมะพราว มีการลงทุน ไมสูง บอที่ใชเลี้ยงมีขนาดประมาณ ๔๐-๖๖ ตารางเมตร มีความลึกประมาณ ๑.๕ เมตร ผูเลี้ยงจะปลอยลูก ปลาดุกประมาณ ๑๐,๐๐๐-๒๐,๐๐๐ ตัวตอบอ พันธุปลาที่ใชสวนใหญเปนปลาดุกอุย อาหารปลาสวนใหญ เปนเศษปลาที่เหลือจากการทําขาวเกรียบ โดยเอาปลาใสตะกราแลวแขวนไวเหนือบอปลาประมาณครึ่งเมตร ปลอยใหปลาเนาจนเปนหนอนตกลงไปในบอปลาเปนอาหารปลา ซึ่งเปนวิธีที่ประหยัดคาอาหารปลา บอเลี้ยง ปลาดุกจะอาศัยน้ําธรรมชาติ ระยะเวลาในการเลี้ยงประมาณ ๑๐-๑๕ เดือน ปจจุบันการเพาะเลี้ยงปลาดุกมีความแตกตางกันในอดีตคือ การคัดสรรพันธุปลา ในอดีตชาวดาโตะ นิยมเลี้ยงปลาดุกดาน เพราะเลี้ยงงาย แตโตชา และสามารถเลี้ยงใหวางไขในบอได เพื่อจะไดเพาะเลี้ยงลูกปลา โดยไมตองหาพันธุปลาใหม ปจจุบันจะนิยมเลี้ยงปลาดุกอุยซึ่งเลี้ยงงาย เปนที่นิยมของตลาด ขายไดในราคาสูง กวาและระยะเวลาเลี้ยงสั้นกวา ขนาดของบอ ในอดีตบอปลามีขนาดเล็กประมาณ ๔๐-๖๐ เมตร เพราะไมมี เครื่องมือในการขุดบอมากนัก แตปจจุบันบอปลาจะลึกและกวางกวาเพราะใชรถตักดินในการขุด การใหอาหาร ปลาในอดีตจะรอใหปลาเนาจนเปนหนอนแลวใหหนอนเปนอาหารปลา ปจจุบันใหเศษปลา หัวปลาจากการทํา ขาวเกรียบเปนอาหารปลา และระยะเวลาในการเลี้ยงปจจุบันจะเร็วกวาในอดีต คืออดีตใชเวลาประมาณ ๑๐๑๖ เดือน ปจจุบันใชเวลา ๖-๑๒ เดือน ชาวบานบางคนที่ไมมีที่ดินทําบอปลา จะเชาบอปลาโดยเจาของบอปลาจะใหเชาบอเลี้ยง ๑ ครั้ง คือผู เชาเลี้ยงปลาแลวจับจนหมด ราคาคาเชา ๑,๐๐๐ บาท นอกจากนี้มีการรับจํานําบอปลา ขึ้นอยูกับผูจํานําและ รับจํานําตกลงเงื่อนไข ชาวบานมีการชวยเหลือดูแลกันในการเลี้ยงปลาดุกคือ ชวยสอดสองดูแลไมใหมีการขโมยปลาไปขาย เมื่อถึงเวลาจับปลาเจาของปลาจะขอความชวยเหลือจากชาวบานหรือญาติพี่นองเพื่อนฝูงประมาณ ๓-๔ คน ชวยจับปลาไปขายโดยจะมีพอคามารับถึงที่หมูบาน เจาของปลาจะทําอาหารและเครื่องดื่มมาเลี้ยงเพื่อเปน


สินน้ําใจแกผูที่มาชวย การปฏิบัติเชนนี้มีมาแตอดีตจนถึงปจจุบัน ซึ่งแสดงใหเห็นถึงการใหความชวยเหลือซึ่ง กันและกัน และความสัมพันธของคนในชุมชน การทําอุตสาหกรรมในครัวเรือน อุตสาหกรรมในครัวเรือนของชาวบานดาโตะคือการทําขาวเกรียบ ปลา ในอดีตเนื่องจากผูหญิงในหมูบานจะไมคอยทํางาน สวนใหญเปนแมบาน ทําความสะอาดบานและเลี้ยงดู ลูกอยูภายในบาน เมื่อประมาณ ๔๐ ปกอน กระแสการเปลี่ยนแปลงของสังคมทําใหประชากรเพิ่มมากขึ้น ความจําเปนหลายดานทําใหการทํางานของผูชายเพียงอยางเดียวไมเพียงพอ ผูหญิงเริ่มที่จะชวยงานเพื่อแบง เบาภาระของครอบครัว การทําขาวเกรียบปลาในอดีตไดแปรรูปจากขนมชนิดหนึ่งคือ จอลัน (ไมมีชื่อภาษาไทยเพราะเปนขนม ของชาวมลายู) ซึ่งมีวิธีทําคือนําเอา ปลา แปง น้ําตาล เกลือ มาผสมกันแลวนวดเสร็จแลวนําไปทอด แตจอลัน จะเก็บไวไดไมนาน จึงมีการปรับปรุงการทําจอลันจากการทอดมาเปนการตมเรียกวา หัวขาวเกรียบ แตหัวขาว เกรียบจะเก็บไดไมนานเชนกันเนื่องจากจะขึ้นรา จึงไดนําหัวขาวเกรียบหั่นเปนชิ้นแลวไปตากแหงเปนขาว เกรียบปลาในปจจุบัน การทําขาวเกรียบปลาในอดีตเปนสิ่งที่ยากลําบากเพราะไมมีอุปกรณชวย ทุกอยางทําดวยมือ จึงตอง ใชความอดทนสูง มีขั้นตอนในการทําหลายขั้น เริ่มจากการเตรียมสถานที่ สถานที่จะใชใตถุนบาน เตรียม เครื่องมือในการทํา เชน มีดหั่น กะละมัง เตา ไมฟน เปนตน จะใชเวลาในการทํา ๓-๕ วัน เมื่อกอนจะมีการ รับจางหั่นขาวเกรียบในราคาเขงละ ๑๐ บาท แตปจจุบันการทําขาวเกรียบปลาไดมีเทคโนโลยีมาชวย เชน เครื่องมือนวดแปง เครื่องหั่นขาวเกรียบ การทําขาวเกรียบจึงงายขึ้น ใชเวลาไมนาน เสนทางคมนาคมที่สะดวก ทําใหเกิดการคลองตัวในการติดตอซื้อขาย ชาวบานดาโตะทําขาวเกรียบปลาประมาณ ๕๓ ครอบครัว อาวปตตานี อาวปตตานีเปรียบเปนอูขาวอูน้ําของชาวดาโตะ จากการบอกเลาของผูเฒาผูแกภายใน หมูบาน จะเห็นไดวาอาวปตตานีในอดีตมีความอุดมสมบูรณมาก ชาวบานจับปลาหนาบานของตัวเอง ไมตอง ออกไปไกลก็สามารถหาปลาไดเพียงพอที่จะเลี้ยงครอบครัวได เมื่อถึงเวลาทําอาหารก็ถือไมไผลําหนึ่งไปเขี่ยที่ ริมชายฝง กุง ปลา จะกระโดดขึ้นมาบนฝง หอยแครงตัวขนาดเทากับกําปน จับไปทําอาหารกินกันทั้งครอบครัว ปลาทูในอาวปตตานีจะมีมาก ใชเวลาไมนานสามารถจับปลาทูไดเต็มลําเรือ ปลากระตักที่ใชทําน้ําบูดูมีมาก เชนกัน อาวปตตานีในอดีตนั้นน้ําลึกมากประมาณกวา ๓ เมตร ทําใหเรือสําเภาสินคาขนาดใหญสามารถเขามา ในอาวปตตานี เพื่อจอดพักหรือทําการคาขายกับชาวปตตานีไดอยางสะดวกสบาย นอกจากนี้ยังมีปลาพะยูน และทรัพยากรสัตวน้ําอื่นๆ เลากันวาเมื่อ ๙๐ ปกอ น อิหมามของบานดาโตะ ไปวางเบ็ดราวในทะเล จับไดปลาพะยูนมา ๒ ตัว ตัวใหญอิหมามเอาไปมอบใหแกเจาเมืองยะหริ่ง สวนตัวเล็ก แบงใหชาวบานไดรับประทาน กระดูกของปลาพะยูนไดนํามาใชทํายาแกปวดเมื่อย สว นหญ า ทะเล สาหร า ย ป า ชายเลนสมบู ร ณ ม ากเช น กั น อ า วและคลองลึ ก มาก เรื อ สํา เภาจาก ตางประเทศสามารถลอยลําเขามาตามลําคลองยะหริ่ง และคลองปาเระ ซึ่งยังคงมีซากเรือสําเภาจมอยูที่คลอง ปาเระในปจจุบัน เรือเหลานี้เขามาแลกเปลี่ยนสินคาโดยนําไมตะเคียนมาจากชวา แลกกับขาวสารและเกลือ จากหมูบานฝงตรงขามดาโตะ ซึ่งเกลือที่นํามาขายนี้ไดมาจากบานตันหยงลูโละ บานบานา บานบางปู ซึ่งนา เกลือเหลานี้ลดนอยลงมากในปจจุบัน เนื่องจากที่ดินถูกนําไปใชทํานากุงและโรงงานอุตสาหกรรม


นอกจากนี้ในอดีตอาวปตตานีมีความอุดมสมบูรณมาก เนื่องจากประชากรรอบอาวปตตานี ยังคงมี จํ า นวนนอ ย อุ ป กรณจั บ สั ต วน้ํา เปน อุ ป กรณ ที่ช าวบ า นทํ า ขึ้ น ใชเ อง เช น อวนปู อวนกุ ง และ อวนปลา ชาวบานจะนําปลาที่จับไดมาทําปลาแหง แลวเอาไปขายที่หมูบานยามู บาลาดูวอ เพื่อแลกกับเกลือซึ่งชาวบาน ดาโตะนํามาทําน้ําบูดู เพื่อนําไปแลกขาวกับคนในแผนดินใหญ แสดงใหเห็นถึงความสัมพันธระหวางคนจาก ปลายแหลม กับคนที่อยูลึกเขาไปในแผนดินใหญผานการแลกเปลี่ยนคาขายกัน คนในหมูบาน และเด็กๆ มักจะไปพักผอนหรือเลนบริเวณชายฝงของอาวปตตานีในตอนเย็น อาว ปตตานีสมัยกอนสะอาด หาดทรายขาว มีทั้งเรือสําเภาหรือวาเรือใบมาจากตางประเทศ มาขนเกลือจากอาว ปตตานี ในเวลาที่มีการจัดงานมหรสพ เชน โยง หนังตะลุง ลิเกฮูลู มโนหรา จะไปจัดเวทีที่หาดทราย ชว ง ประมาณเมษายน พฤษภาคม หรือชวงหนารอนเด็กๆ ในหมูบานสวนมากจะไปอยูที่ชายหาด ฝงอาวปตตานี เลนการละเลนตางๆ สมัยกอนอาวปตตานีจะไดพักผอนเปนเดือน ชวงเดือนพฤศจิกายน ธันวาคม มกราคม เนื่องจากมีลม มรสุม ชาวบานจะไมออกไปไหน ไมทํางานอะไรเลย เพียงแคทํางานบริเวณชายๆ ฝง และก็เขาไปในปาชายเลน จับปู จับปลา เพื่อนํามาเปนอาหารในครอบครัว ชวงมรสุมชาวบานจะไปเก็บตนถั่ว เรียกวาลูกบารู ที่รวงจาก ตนลอยน้ําขึ้นฝง แลวใชชอนขูดเปลือกออก เหลือแตถั่ว นําไปตม กินกับมะพราวและก็ใสน้ําตาลและเกลือ เล็กนอย มีรสหวาน อาวปตตานีปจจุบัน อาวปต ตานีในปจจุบันไดรับผลกระทบจากการพัฒนาจังหวัดใหเปนแหลง อุตสาหกรรมอาหารทะเลเพื่อการสงออก โดยที่นิคมอุตสาหกรรมแหงประเทศไทยไดดําเนินการศึกษาและ จัดทําแผนแมบท และในป พ.ศ. ๒๕๓๕ คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบอนุมัติเงินงบประมาณเพื่อดําเนินโครงการ เขตอุตสาหกรรมปตตานี ซึ่งการดําเนินโครงการดังกลาวสงผลใหเรืออวนลากอวนรุนของนายทุนใหญจาก จังหวัดทางภาคกลางขยายกิจการลงมาที่ปตตานี โรงงานอุตสาหกรรมตางๆ ทยอยสรางขึ้นมากมาย รัฐบาล ดําเนินโครงการขยายทาเรือและโครงการอื่นๆ เพื่อรองรับการขยายตัวของการผลิตเพื่อสงออก ขณะเดียวกัน ชาวบานรอบอาวปตตานี และพื้นที่ใกลเคียงที่ประกอบอาชีพประมงชายฝงทะเล ผูมีตนทุนในการผลิตนอย ไดรับผลกระทบจากโครงการดังกลาว ถึงขั้นเปลี่ยนแปลงการทํามาหากิน วิถีชีวิต และวัฒนธรรม โดยที่รัฐบาล ไมไดตระหนักถึงความสําคัญของปญหาดังกลาว ในปตอมา พ.ศ. ๒๕๓๖ ชาวบานรอบอาวไดรวมตัวกันจัดตั้ง กลุมอนุรักษอาวปตตานี กลุมอนุรักษอาวปตตานี ตั้งขึ้นมาเพื่อเรียกรองใหรัฐบาลแกปญหาสภาพแวดลอมที่เกิดขึ้นในอาว ปตตานีจากโครงการการพัฒนาดังกลาว จนกระทั่งปจจุบันกลุมอนุรักษอาวยังคงเคลื่อนไหวอยางตอเนื่องมาก วา ๑๐ ป หากผลการดําเนินงานดูเหมือนจะไมมีความคืบหนาแมแตนอย เรือขนาดใหญยังคงเดินหนาสูทะเลเพื่อ กอบโกยทรัพยากรจากทองทะเลโดยไมมีวันหยุด และไมจําเปนตองคิดถึง การเผื่อแผทรัพยากรที่ตนไมได สร า งขึ้ น ให แ ก ใ คร โครงการต า งๆ ของรั ฐ บาลเพื่ อ รองรั บ ความเจริ ญ ด า นอุ ต สาหกรรมการส ง ออกยั ง คง ดําเนินการอยางตอเนื่อง ซึ่งสงผลกระทบตอชาวบานหลายหมื่นคนที่ อาศัยอยูรอบอาวดังตอไปนี้ เรือประมงพาณิชย (ชาวบานเรียกกันวา เจาพออาวไทย) เมื่อ ๔๐ ปกอน เริ่มมีเรืออวนลากอวนรุน เขามาในอาวปตตานี เรืออวนลากอวนรุนสรางปญหากับชาวบานมาก กลาวคือ เรืออวนลากจะทําลายอุปกรณ ประมงของชาวประมงพื้นบาน ลากเอาทั้งอวนและปลาเล็กปลาใหญ แหลงอาหารและแหลงเพาะพันธุสัตวหนา


ดินก็ถูกทําลาย ระบบนิเวศถูกทําลาย ชาวบานเดือดรอนกันมาก จนกระทั่งเมื่อ ๒๐ ปกอน นายลายิ สาแม ซึ่ง ขณะนั้นดํารงตําแหนงกํานัน ตําบลแหลมโพธิ์ ตั้งกลุมตอตานเรืออวนลากอวนรุนขึ้นดวยชาวบานไมอาจพึ่งพิง เจาหนาที่ตํารวจใหจับกุมเรือเหลานั้นได ครั้งนั้นชาวบานรวมตัวกันประมาณ ๑๐๐ คน มีเรือประมาณ ๔๐-๕๐ ลํา เขาไปยิงและเผาเรืออวนลากอวนรุนในอาวปตตานี ลูกเรือถูกตีตายไป ๔ คน หลัง จากเหตุก ารณ ครั้ง นั้ นเรือ อวนลากอวนรุน จึง ออกไปหาปลาในทะเลนอก (อ า วไทย) ทํา ลาย ปะการังและปะการังเทียม สรางปญหาเหมือนที่เคยสรางในอาวปตตานี ชาวบานจึงรวมกลุมกันเปนกลุม อนุรักษอาวปตตานี ไดรับการสนับสนุนจากโครงการพื้น ที่ชุมน้ํา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขต ปตตานี สมาชิกของกลุมเปนชาวบานจากบานดาโตะ บานบูดี ตําบลแหลมโพธิ์ อําเภอยะหริ่ง ชาวบานตําบล ตันหยงลูโละ อําเภอเมือง ชาวบานบางตารา อําเภอหนองจิก ดําเนินกิจกรรมจัดเวทีแลกเปลี่ยนปญหาและ ผลกระทบโดยมีการตอรองกับรัฐบาล แตไมไดผลจนทําใหเกิดการประทวงที่ศาลากลางจังหวัดปตตานี ๓ วัน ๓ คืน ป พ.ศ. ๒๕๔๓ โดยมีชาวบานและองคกรลุมน้ําสายบุรีมาสมทบประมาณ ๒,๐๐๐ คน เรียกรองจนกระทั่ง นายอนุรักษ จุรีมาศ รัฐมนตรีวาการเกษตรและสหกรณในสมัยนั้นมาเจรจากับชาวบานวาจะหามการเดินเรือ อวนลากอวนรุนในอาวปตตานี โดยมีการเซ็นสัญญากับผูวาฯ ชาวบานจึงพอใจและสลายการประทวง แตปญหา ดังกลาวก็ยังไมไดรับการแกไขอยางจริงจัง ทั้งที่ มีพระราชบัญญัติทางทะเล ซึ่งกําหนดไวชัดเจนวาหามจัดสัตวน้ํา ในบริเวณ ๓,๐๐๐ เมตร นับจากชายฝง และไดประกาศใหปตตานีเปนเขตปลอดเรืออวนลากอวนรุนเพื่อเปนพื้นที่ นํารองใหจังหวัดอื่นๆ ชาวบาน จึงมองวาการเซ็นสัญญาครั้งนั้นเปนการแกปญหาเฉพาะหนาเพื่อสรางความ พอใจใหกับชาวบาน และหาคะแนนเสียง การกระทําของเจาหนาที่รัฐสงผลกระทบตอความรูสึกของชาวบาน ในเรื่องความไววางใจ และชาวบานรูสึกวาไมสามารถพึ่งพิงอํานาจรัฐใหชวยแกปญหาได จนกระทั่งชาวบาน ตองจัดการแกไขปญหาดวยการรวมตัวเขาปะทะกับเรืออวนลากอวนรุน ตํารวจน้ําซึ่งมีหนาที่รับผิดชอบดูแล กลับไมปฏิบัติหนาที่ตามกฎหมาย ชาวบานจึงพูดกันวา ประเทศไทยนี้ “เอาเงินเปนที่ตั้ง เอาทองเปนที่พึ่ง ชาวบานจะไปพึ่งใคร” เนื่องจากชาวบานในหมูบานดาโตะประกอบอาชีพประมงพื้นบานหรือประมงชายฝงทะเลเปนสวน ใหญ เมื่อเรือประมงพาณิชยเขามาทํางานในบริเวณใกลเคียงที่ทํากินของชาวประมงพื้นบาน ทําใหเกิดผล กระทบกับชาวประมงพื้นบานหลายดานดวยกัน โดยเฉพาะในเรื่องของรายได ชาวบานดาโตะเลาวา ในการหาปลา ชาวบานจะออกทะเลไปกับภรรยาและลูกที่ไมไดเรียนหนังสือ เมื่อไดปลามาจะนําสงที่แพปลาของหมูบาน ซึ่งจะนําไปขายตอในอําเภอ ชาวประมงพื้นบานสวนใหญมีรายได เฉลี่ยประมาณ ๑๕๐-๒๐๐ บาทตอวัน แตเปนรายไดที่ไมแนนอน บางวันอาจไดมากถึง ๕๐๐ บาท ซึ่งมีไมบอย นัก บางวันอาจไมไดปลาเลย แมแตคาน้ํามันยังตองติดผูขายน้ํามันไวกอน รายไดที่ไดมาจึงอาจไมเพียงพอ สําหรับบางครอบครัว เด็กๆ ที่อยูในวัยเรียนจึงตองทํางานชวยครอบครัวดวย บางครอบครัวมีลูกหลายคนจะ ออกไปชวยกันงมหอย กลางคืนอาจออกไปแทงกุง ไดเงินครั้งละ ๑๐-๒๐ บาท สําหรับเปนคาขนม ในขณะที่เรือ พาณิชยนายทุนเจาของเรือเปนคนตางถิ่น มีลูกเรือเปนแรงงานอพยพจากภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทย พมา เขมร และลาว จะหาปลาไดประมาณคืนละ ๑๐,๐๐๐ บาท เมื่อไดปลาจะนําสงเขาโรงงานในจังหวัด ปตตานี หรือสงไปที่จังหวัดอื่น ไปจนกระทั่งถึงกรุงเทพฯ เรือพาณิชยที่เขามาในอาวปตตานีและอาวไทยหนาชายฝงปตตานีแบงออกเปนประเภทตางๆ ดังนี้ คือ


อวนรุน อวนรุ น เป น อวนลั ก ษณะคล า ยถุ ง ขนาดใหญ จั บ สั ต ว น้ํ า โดยวิ ธี ไ ถไปข า งหน า โดยใช เครื่องยนตดัน ในชวงแรกใชไมหลาวโอน (ไมเนื้อแข็งชนิดหนึ่ง) ปจจุบันใชคันเหล็กระบบไฮโดรลิก เรือประมงที่ จะใชอวนรุนมีขนาดประมาณ ๔x๒๐ เมตร เครื่องยนตขนาด ๓๐๐-๓๕๐ แรงมา ถาหากเรือมีขนาดใหญกวา ๑๐ เมตร จะมีวิทยุสื่อสาร เครื่องมืออวนตอเรือ ๑ ลํา จะประกอบไปดวยคันรุน ๑ คู ความยาวประมาณ ๒ เทา ของเรือ คันรุนเหล็กมีเสนผาศูนยกลางประมาณ ๓๐ เมตร

อวนรุน อวนลาก อวนลากเปนเครื่องมือประมงที่ใชอวนลักษณะคลายถุง จับสัตวน้ําโดยจูงอวนใหเคลื่อนไป ขางหนาโดยใชเรือยนต เรือมักมีขนาด ๖x๓๐ เมตร เครื่องยนตขนาด ๖๐-๕๕๐ แรงมา ความยาวของปากอวน ๓๐-๕๐ เมตร ปลายปากอวนถึงกนถุงยาวประมาณ ๔๐-๖๐ เมตร

อวนลาก อวนลากคู จับสัตวน้ําโดยใชเรือยนต ๒ ลําในการลากอวน โดยเรือจะตองรักษาระยะหางและความเร็ว ใหเทากัน ขนาดของเรือยาวประมาณ ๑๔-๒๕ เมตร ใชเครื่องยนตขนาด ๖๐-๕๕๐ แรงมา เรือสวนใหญมี เครื่องหาฝูงปลาจากดาวเทียม เรดาร และวิทยุสื่อสาร เครื่องมืออวน ความยาวของปากอวนประมาณ ๔๐-๖๐ เมตร ปลายปากอวนถึงกนถุงยาว ๖๐-๗๐ เมตร

อวนลากคู อวนลอมปลาทู เรืออวนลอมปลาทูจะออกจับปลาตอนกลางคืน โดยใชเรือยนตสองลํา คือเรือยนต และเรือปนไฟ เรือปนไฟยาวประมาณ ๙-๑๔ เมตร ทําหนาที่ปนไฟลอปลา อวนยาวประมาณ ๑๔-๒๔ เมตร ใช ลูกเรือ ๒๐-๓๐ คน มีเครื่องแอคโคซาวเดอรสําหรับคนหาฝูงปลา ความยาวของอวนประมาณ ๕๐๐-๗๐๐ เมตร ลึก ๕๐-๘๐ เมตร อวนยกปลากะตักปนไฟ ทําการประมงโดยใชเรือยนตขนาดยาว ๗-๑๖ เมตร เครื่องยนต ๒๔-๒๗๕ แรงมา ติดตั้ง ดวงไฟจํานวน ๑๘-๕๐ ดวง บนราวไมไผ ๔-๖ อัน ปนไฟโดยไดนาโม มีเครื่องแอคโคซาวเดอร หาฝูงปลา และมีวิทยุสื่อสาร ใชลูกเรือประมาณ ๗-๑๒ คนตอลํา อวนที่ใชเปนอวนยกหรืออวนชอนตาถี่ ใชไฟ หรือหรี่ไฟใหปลากะตักขึ้นสูผิวน้ํา


อวนยกปลากะตักปนไฟ คราดหอยลาย จับสัตวน้ําโดยใชเรือยนตลากคราดซึ่งมีลักษณะคลายตะแกรง ลากไปตามผิวดินทั้ง กลางวันและกลางคืน ขนาดของเรือยาวประมาณ ๖-๑๘ เมตร เครื่องยนต ๑๐-๒๕๐ แรงมา มีเครื่องแอคโค ซาว-เดอรหาฝูงปลา และมีวิทยุสื่อสาร ใชลูกเรือ ๕-๗ คน

คราดหอยลาย โรงงาน จากนโยบายของรัฐบาลที่พยายามผลักดันใหปตตานีเปนจังหวัดที่เปนฐานการผลิตเพื่อการ สงออก เพื่อยกระดับใหคนปตตานีมีงานทํา ทําใหบริเวณรอบอาวปตตานีมีโรงงานเกิดขึ้นมากมาย โดยไม คํา นึง ถึ ง ผลกระทบที่ จ ะเกิด ขึ้ น กับ อา วป ตตานี แ ละชุม ชนรอบอา วที่ ป ระกอบอาชีพ การทํา ประมงพื้ น บ า น ประมาณ ๓,๐๐๐ คน โรงงานที่เกิดขึ้น เชน โรงงานปลาปน โรงงานปลากระปอง โรงงานปลาหมึก ทําการแปร รูปสัตวเหลานี้เพื่อการสงออก ปลอยน้ําเสียลงในทะเล ทั้งๆ ที่แตละโรงงานมีบอบําบัดน้ําเสีย และรัฐมีบอบําบัด รวมแตไมไดมีการใชงานแตอยางไร ชาวบานรูสึกวาถูกทอดทิ้ง การสรางโรงงานนอกจากจะสงผลใหเกิดน้ําเสีย แลว โรงงานอุตสาหกรรมยังสงผลใหเกิดการถมทะเล เพื่อขยายโรงงานอุตสาหกรรมรองรับทุนจากตางจังหวัด และตางประเทศ คนตางถิ่น คนตางถิ่นในที่นี้คือคนที่ประกอบอาชีพชาวประมงมากอน สวนใหญจะอพยพมาจาก จังหวัดสุราษฎรธานี นครศรีธรรมราช เพชรบุรี สงขลา มาทํามาหากินและตั้งหลักปกฐานอยูบริเวณแหลมนกใน ปจจุบัน คนเหลานี้สวนหนึ่งเปนเจาของเรืออวนลากอวนรุน สวนหนึ่งเปนลูกเรือในเรือเหลานี้ และอีกจํานวน หนึ่งเปนพอคาแมคาคนกลางรับซื้อปลาอยูบริเวณแพปลา บางคนจับจองที่เลี้ยงหอยแครงซึ่งสงผลกระทบตอ ชาวประมงปตตานีเชนกัน ชาวประมงปตตานีรูสึกวาคนเหลานี้เปนผูที่เขามา “เอาวิถีชีวิต” ของคนรอบอาวปตตานีไป จากเดิมที่ คนรอบอาวทํามาหากินอยางพอเพียง เมื่อคนตางถิ่นเหลานี้เขามาทํามาหากินเพื่อ “หวังรวย” โดยไมคํานึงถึง ลูกหลานในอนาคต เห็นไดจากบางคนที่แมจะประกอบอาชีพเปนชาวประมงชายฝง ยังใชเรืออวนลากที่มี เครื่องยนต ๔ สูบ ไปลากปลาที่ชายทะเลหนามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี และเมื่อไดปลา มาจะไมมีการคัดวาตัวเล็กจะคืนกลับสูทองทะเล แตจะเอาไปขายทั้งหมด ถาหากเปนชาวบานปตตานีเมื่อจับ ไดปลาตัวเล็กจะปลอยลงทะเล โดยเฉพาะปลาดุกที่ไดจากการดักเบ็ดราว ซึ่งปจจุบันปลาดุกทะเลใกลจะสูญ พันธุแลว ชาวประมงที่จับปลาดุกจึงไดทยอยเปลี่ยนอาชีพไปเปนกรรมกรกอสราง และทํางานในโรงงาน ชาว


นครศรีธรรมราชคนหนึ่งเลาใหชาวบานดาโตะฟงถึงสาเหตุที่ตองยายมาหาปลาที่ปตตานี เพราะชายทะเล บริเวณนครศรีธรรมราชไมมีปลาใหจับอีกแลว นากุ ง เมื่ อ ประมาณ ๑๕ ป ก อ น ธุ ร กิ จ นากุ ง นั บ ว า เป น ธุ ร กิ จ ที่ ทํ า เงิ น เข า ประเทศมหาศาล ใน ขณะเดียวกันนากุงก็เปนตัวทําลายทรัพยากรอยางมหาศาลเชนกัน เริ่มจากสัตวหนาดินที่ติดอยูกับนากุงในรัศมี ๒๐๐ เมตรจะตาย เชน ไสเดือนทะเล นอกจากนากุงจะทําลายระบบนิเวศในอาวปตตานีแลวยังทําลายปาชาย เลน และบุกรุกพื้นที่ปาชายเลน โดยการไดรับสัมปทานของกลุมนายทุนนากุง ตอมาไดเปลี่ยนสัมปทานเปน โฉนด เมื่อธุรกิจนากุงขาดทุนและนารางไปในที่สุด กรมปาไมไดพยายามดําเนินการเขาไปปลูกปาทดแทน แต ไมสามารถทําได เนื่องจากกรรมสิทธิ์ที่ดินเปนของเจาของนากุง หอยแครง อาวปตตานีมีพื้นที่ประมาณ ๗๔ ตารางกิโลเมตร ๗๕% ของอาวปตตานีเปนพื้นที่จับจอง ของนายทุนเลี้ยงหอยแครง นายทุนสวนใหญมาจากตางถิ่น มีบางที่เปนคนในทองถิ่นแตมักจับจองพื้นที่ไดไม มาก วิธีการเลี้ยงหอยแครงคือ เตรียมที่ดิน ปกเขตและสรางกระทอม (ขนํา) จางคนเฝา หรือเฝาเอง ซื้อพันธุ หอยแครงมาหวานลงในที่ดิน รอใหหอยแครงโต ประมาณ ๕-๖ เดือน การจับหอยแครงจะใชตะแกรงเหล็กติด เครื่องยนต ตะแกรงกวางประมาณ ๑.๕ เมตร ไถคราด ซึ่งการจับหอยแครงเชนนี้สงผลใหหนาดิน แหลงอาหาร แหลงอนุบาลหรือแหลงเพาะพันธุสัตวน้ําถูกทําลายไป นอกจากนี้ยังเปนอุปสรรคในการหาปลาของเรือประมง ขนาดเล็กดวย เครื่องมือประมงที่ทันสมัย ในอดีตชาวประมงรอบอาวจะใชเครื่องมือการทํามาหากินที่ผลิตขึ้นเอง วัสดุที่ใชจะเปนวัสดุจากธรรมชาติ เชน ไมไผ นํามาทํากระบอกเพื่อใชดักปลาดุก ปลาเกา ทํา “บือละ” (Belak) เพื่อดักกุง อวนปู อวนปลา จะทําเพียงชั้นเดียว และตาอวนจะกวาง ตอมาเมื่อสัตวน้ําลดนอยลง ชาวบานจะใช อวนกุง อวนปลา ๓ ชั้น ตาอวนจะถี่ขึ้น สาเหตุที่ตองใชอวน ๓ ชั้น ตาอวนถี่ เนื่องจากปลาตัวใหญไมมีเหลือให จับอีกตอไป เนื่องจากเรือขนาดใหญจับไปหมดแลว ถึงแมวาเรือขนาดใหญจะไมไดรับอนุญาตใหจับสัตวน้ําใน อาวปตตานีก็ตาม การจับสัตวน้ําในฝงอาวไทยยังคงสงผลกระทบตอระบบนิเวศในอาวปตตานี กลาวคือโดย ธรรมชาติเมื่อถึงฤดูลมตะวันตก ปลาจากฝงอาวไทยจะวายน้ําเขามายังอาวปตตานี แตเมื่อมีเรือขนาดใหญ คอยดักอยูทําใหปลาเหลานี้ถูกจับไปกอนที่จะวายเขาอาวปตตานีได ถมทะเล จากการที่จังหวัดปตตานีพยายามขยายเขตอุตสาหกรรมเพื่อรองรับโรงงาน ทั้งที่รัฐบาลรูวา การถมทะเลเนื้อที่ ๑,๐๐๐ ไร ในเขตแหลมนก จะสงผลกระทบตอการทํามาหากินของชาวบานบริเวณรอบอาว กลุมอนุรักษอาวปตตานีพยายามคัดคานการดําเนินโครงการถมทะเลของทางจังหวัด โดยสงหนังสือถึงผูวา ราชการ แตปญหาดังกลาวไมไดรับการแกไข ผูวาราชการจังหวัดเพียงแตรับทราบและบอกวา การถมทะเลเปน เรื่องขององคการบริหารสวนจังหวัด เมื่อแรกถมทะเลนั้นทางราชการไดอางวาเปนการกั้นไมใหชาวบานบุกรุก แตเมื่อเวลาผานไปทางราชการกลับใหสัมปทานแกนายทุนในการสรางโรงงานอุตสาหกรรม นอกจากการถมทะเลที่แหลมนกแลว ทางการยังถมทะเลในพื้นที่หนาสวนสมเด็จฯ อีกดวย โดยการถม ทะเลตรงนี้เกิดขึ้นจากการขุดรองน้ําในพื้นที่ ๘๖๐ ไร การถมทะเลสงผลใหระดับน้ําในอาวปตตานีตื้นเขิน กลาวคือโดยปกติแลวอาวปตตานีจะตองรองรับตะกอนจากคลองยะหริ่งและคลองตางๆ ประมาณ ๓ ลานตัน ตอป ซึ่งตะกอนเหลานี้จะคอยไหลลงสูทะเลไปจนหมด แตเมื่อมีการถมทะเลทําใหปากอาวแคบลง ทําใหระบบ การไหลเวียนของน้ําชาลง ตะกอนจึงไหลออกจากอาวไมได เกิดการทับถมจนเกิดสันดอนทรายเพิ่มขึ้นหลายจุด


(บือติง) อาวตื้นเขิน และงายตอการเกิดน้ําเสีย ซึ่งสงผลตอเนื่องทําใหสาหรายและหญาทะเลตาย เมื่อสาหราย และหญาทะเลตายยิ่งสงผลใหน้ําในอาวเสียมากขึ้น ทาเทียบเรือ ในป พ.ศ. ๒๕๔๐ ทางจังหวัดไดจัดใหมีการสรางทาเทียบเรือขึ้น โดยเริ่มมีการวางแผน มากอนหนานี้ และกรมเจาทา กระทรวงคมนาคมไดรางแบบแผนพัฒนารองน้ําและทาเรือ การสรางทาเทียบเรือ ใหมจะกอใหเกิดปญหากับชาวบานเชนกัน เนื่องจากพื้นที่ที่ใชสรางทาเทียบเรือเปนพื้นที่ทํากินดั้งเดิมของ ชาวบาน ซึ่งชาวบานเรียกบริเวณนั้นวา “จาย” ในอดีตพื้นที่บริเวณนี้เปนแหลงที่ปลาดุกทะเล ปลากระบอก ปู ดําชุกชุม แตปจจุบันเนื่องจากคราบน้ํามันเครื่องของเรือที่เกิดจากการเปลี่ยนถายน้ํามันเครื่องเมื่อมาจอดเทียบ ทาในบริเวณดังกลาว สงผลใหสัตวน้ําไมสามารถอาศัยอยูในบริเวณทาเทียบเรือไดอีกตอไป การขุดลอกรองน้ํา จากการขุดลอกรองน้ําที่หนาสวนสมเด็จฯ และที่ปากอาวปตตานี (ปากแมน้ํา ปตตานี) สงผลกระทบตอระบบนิเวศ นอกจากจะสงผลกระทบในเรื่องของตะกอนที่ทับถมทําใหอาวตื้นเขินดังที่ ไดกลาวมา ยังสงผลกระทบตอที่ทํากินของชาวบานอีกดวย ตัวอยางเชนการขุดลอกรองน้ําที่หนาสวนสมเด็จฯ ซึ่งครั้งแรกทางราชการบอกวาจะขุดขี้เลนในบริเวณ ๕๐๐ ไร แตเมื่อขุดเสร็จสิ้น แลว พบวาทางการขุดลอกรอง น้ําไป ๘๖๐ ไร การขุดลอกรองน้ําเปนบริเวณกวางทําใหสูญเสียหนาดินซึ่งเปนแหลงที่อยูอาศัยของหอยแครง หอยเสียบ ปลาดุกทะเล และสัตวหนาดิน ซึ่งเปนอาหารของสัตวน้ําอื่นๆ ไป เมื่อครั้งที่ยังไมมีการถมทะเลและ ขุดลอกรองน้ําชาวบานจับปลาไดวันละประมาณ ๓๐-๕๐ กิโลกรัมตอวัน แตปจจุบันนี้ “บางวันยังหาปลาไมได คาหมอเลย” ขยะ การสรางโรงงานอุตสาหกรรมขึ้นมากมายโดยที่รัฐบาลไมไดคํานึงถึงแผนการรองรับสิ่งของเหลือ ใชจากการผลิตทําใหเกิดปญหาขยะซึ่งทําลายสุขอนามัยของประชาชนตามมา ดังสังเกตไดบริเวณรอบโรงงาน จะมี ข ยะมากมาย เช น กระดองปลาหมึก เศษขวด เศษพลาสติ ก ต า งๆ โดยไม มี ผู ใดออกมาแสดงความ รับผิดชอบ ซึ่งในเรื่องขยะนี้ชาวบานดาโตะเองยังคงมีปญหาการจัดการเชนกัน ซึ่งปญหาขยะในหมูบานดาโตะ เกิดจากปญหาประชากรที่มีจํานวนมากขึ้น และพื้นที่ของหมูบานที่มีอยูจํากัดทําใหไมสามารถจัดการขยะได กอนหนานี้ชาวบานไดรวมตัวกันจัดการเรื่องขยะในชุมชน โดยไปขออนุญาตใชที่ดินของกรมปาไมเพื่อเปนที่ฝง เก็บขยะ แตกรมปาไมพิจารณาแลวไมอนุมัติให หลังจากนั้นทางมหาวิทยาลัยสงขลานครินทรไดจัดเตาเผาขยะ มามอบให แตเนื่องจากหมูบานดาโตะมีพื้นที่จํากัด บานเรือนคอนขางหนาแนน ทําใหไมสามารถจัดหาที่วาง เตาเผาขยะไดอยางเหมาะสมตามทิศทางลม (การวางเตาเผาขยะในพื้นที่จํากัดจะตองพิจารณาทิศทางลม เพื่อ ไมกอใหเกิดปญหามลพิษกับชาวบานใกลเคียงตอไป) เตาเผาขยะจึงไมไดนํามาใชดําเนินการเผาขยะ

ภาพวาดเพื่ออธิบายปญหาสิ่งแวดลอมในอาวปตตานี


โครงการ SEA FOOD BANK เปนโครงการยอยในโครงการแปลงสินทรัพยใหเปนทุน ตาม แนวนโยบายของรัฐบาล พลตํารวจโท ดร.ทักษิณ ชินวัตร ซึ่งไดเริ่มดําเนินการภายในป พ.ศ. ๒๕๔๗ ระยะเวลา เสร็จสิ้นโครงการในป พ.ศ. ๒๕๕๑ โดยมีวัตถุประสงคของโครงการเพื่อจัดทําเอกสารสิทธิพื้นที่ในทะเลเพื่อ ประชาชนไดเพาะเลี้ยงสัตวน้ํา เพื่อสรางฐานการผลิตอาหารทะเลที่สะอาดไดมาตรฐานทดแทนการจับจาก ธรรมชาติอยางไมมีผลกระทบตอสิ่ง แวดลอ ม ในป พ.ศ. ๒๕๔๗ นี้จะดําเนินการจัดทํา เอกสารสิทธิ์ใหกับ ประชาชนผูยากจน ชาวดาโตะแสดงความคิดเห็นวาไมเห็นดวยตอโครงการดังกลาว ดวยเชื่อวาพื้นที่ในทะเลจะไมเพียง พอที่จะจัดสรรใหแกประชาชนอยางเทาเทียม ซึ่งเงื่อนไขนี้จะนําไปสูการทะเลาะเบาะแวงระหวางประชาชนใน ทองถิ่นที่ตางก็ตองการที่ดินทํากิน และที่ผานมาการเลี้ยงสัตวน้ําในทะเลลวนมีนายทุนจากที่อื่นเขามาลงทุน แลวจางคนในทองถิ่นเปนคนดูแล ซึ่งในบางครั้งไดเกิดเหตุการณความขัดแยงระหวางชาวบานขึ้นจากการ ประกอบอาชีพรับจางนายทุนนี้ ยกตัวอยางเหตุการณหนึ่งที่เคยเกิดขึ้นกับนายโซะ มะแซ อายุ ๓๙ ป เปน ชาวบ า นดาโต ะที่ ป ระกอบอาชี พ งมหอยในทะเล วั น หนึ่ ง นายโซะไดอ อกไปงมหอย แล ว ไปพบกั บ คนเฝ า หอยแครงของนายทุน คนเฝาหอยเขาใจผิดคิดวานายโซะไปขโมยหอย จึงเอาปนมายิงนายโซะ ถึงแมนายโซะ จะไมไดรับบาดเจ็บ แตการกระทําเชนนี้นําไปสูความขัดแยงระหวางคนในทองถิ่นเดียวกันตอมา ซึ่งกรณีของ นายโซะเปนเพียงกรณีตัวอยาง ปญหาความขัดแยงที่เกิดจากการแยงชิงทรัพยากรเกิดขึ้นหลายครั้งหลายครา จนกระทั่งปจจุบัน จากสิ่งตางๆ ที่เกิดขึ้นในอาวปตตานีขางตน ชาวบานรอบอาวปตตานีไดพยายามรวมตัวกันเพื่อสราง พลังในการตอสูและปกปองอาวปตตานีจากการรุกรานของนายทุนตางถิ่น และโครงการตางๆ ของรัฐบาลที่ไมมี ความรูความเขาใจตอระบบนิเวศอาวปตตานีอยางเพียงพอ ใน พ.ศ. ๒๕๓๕ ชาวบานจากหมูบานรอบๆ อาว ปตตานีและบริเวณใกลเคียง ไดรวมตัวกันจัดตั้ง “กลุมอนุรักษอาวปตตานี“ ขึ้น โดยไดจัดทําโครงการพัฒนา เชิงอนุรักษขึ้นเปนโครงการแรกที่หมูบานดาโตะ ชื่อโครงการปลูกปาในหัวใจคน ในงานมีชาวบานจากบานดา โตะรวมกับชาวบานตําบลแหลมโพธิ์อีก ๓ หมูบาน คือบานตะโละสมิแล บานบูดีกําปง บานปาตาบูดี และ สํานักงานปาไมเขตจังหวัดปตตานี และมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี ตอมาไดขยายเครือขาย ออกไปยัง อําเภอปานะเระ อําเภอหนองจิก และ อําเภอเมือง ในป พ.ศ. ๒๕๓๗ จนถึงปจจุบันมีเครือขาย ประมาณ ๓,๐๐๐ คน ใน ๑๓ หมูบาน คือ บานดาโตะ บานตะโละสมิแล บานบูดีกัมปง บานปาตาบูดี ตําบล แหลมโพธิ์ บานตะโละอาโหร ตําบลตะโละกะโปร บานเทียรยา ตําบลตาแกะ อําเภอยะหริ่ง บานบางตาวา บาน ปากบางตาวา ตําบลบางตาวา บานทากําชํา ตําบลทากําชํา บานโคกมวง ตําบลตุยง อําเภอหนองจิก บาน ตันหยงลูโละ บานปาตา ตําบลตันหยงลูโละ บานบางปลาหมอ ตําบลรูสะมิและ อําเภอเมือง จังหวัดปตตานี นอกจากนี้กลุมอนุรักษอาวยังทํางานรวมกับองคกรพิทักษลุมน้ําสายบุรี ซึ่งเปนกลุมที่รวมตัวกันขึ้น ดวยวัตถุประสงคคลายคลึงกัน มีสมาชิกจํานวน ๑๓ หมูบานในเขต อําเภอสายบุรี การทํางานของเครือขาย ทั้งหมดมีโครงการวิจัยพืชที่ชุมน้ําคณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขต ปตตานีเปนองคกรพี่เลี้ยง กิจกรรมที่ผานมาของกลุมอนุรักษอาวปตตานี คือ การปลูกปาชายเลนและปาสนชุมชน การจัดตั้งปา ชุมชน การปล อ ยพันธุสัตวน้ําและการอนุรั กษ พัน ธุ สัตวน้ํ า การอนุ รักษปา ชายเลนและหญา ทะเล การทํ า


ปะการังเทียมเพื่อเปนแหลงอาศัยของน้ํา การสํารวจทรัพยากรชายฝง งานวิจัยของชุมชน งานพัฒนาเด็กและ เยาวชน งานรณรงคเผยแพร งานพัฒนาอาชีพของชุมชน งานพัฒนาศักยภาพ องคกรของชุมชน งานดูแล ปกปองการละเมิดกฎหมายของเรืออวนลากอวนรุน และงานตอ สูที่เกี่ยวของกับความเปนธรรมในการใช ทรัพยากรตางๆ ทั้งภายในเครือขายและพื้นที่อื่นๆ เปนตน

แผนที่แสดงชุมชนเครือขายอาวปตตานี

กลุ ม อนุ รั ก ษ อ า วป ต ตานี ไ ด รั บ การสนั บ สนุ น งบประมาณจากจั ง หวั ด ป ต ตานี ป า ไม เ ขตจั ง หวั ด มหาวิทยาลัยและหนวยงานของรัฐ รวมถึงงานทุนจากตางประเทศ คือ ป พ.ศ. ๒๕๓๕-๒๕๓๘ ไดรับเงินทุน สนับสนุนงบประมาณจากองคกรพื้นที่ชุมน้ําแหงเอเชีย เพราะอาวปตตานีไดรับการยอมรับใหเปนพื้นที่ชุมน้ําที่ สําคัญแหงภูมิภาคเอเชีย ป พ.ศ. ๒๕๓๘-๒๕๔๐ ไดรับงบประมาณสนับสนุนจากศูนยศึกษาและพัฒนาอาว ปตตานี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี ในนามโครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดลอม อาวปตตานี และไดรับเงินสนับสนุนจากสถานทูตออสเตรเลีย ในนามโครงการอนุรักษและฟนฟูทรัพยากร ชายฝงจังหวัดปตตานี และโครงการอนุรักษและฟนฟูความหลากหลายทางชีวภาพปาสันทรายเทียรยา ป พ.ศ. ๒๕๔๑ ไดรับเงินทุนสนับสนุนจากประชาคมยุโรปและองคกรพื้นที่ชุมน้ํานานาชาติ ในนามโครงการการมีสวน รวมของประชาชนในการฟนฟูสภาพปาชายเลนในพื้นที่ภาคใตของไทย : อาวปตตานี จนกระทั่งปจจุบัน กลุม อนุรักษอาวปตตานียังคงดําเนินโครงการตางๆ ตอมา เพื่อดูแล รักษา และฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติในอาว ปตตานี ที่เปนอูขาวอูน้ําของประชากรในจังหวัดปตตานี จากการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดลอมที่กลาวมาขางตน ประกอบการเปลี่ยนแปลงเสนทางคมนาคม การขยายเสน ทางคมนาคม ทําใหผู คนในหมู บา นดาโตะมีก ารติ ดต อ สั มพัน ธกั บ ชุ มชน ภายนอกมากขึ้น เดินทางและการแลกเปลี่ยนสินคาเปนไปอยางสะดวกรวดเร็ว รองรับการขยายตัวอุตสาหกรรมในครัวเรือนของ ชาวดาโตะเปนอยางดี จนกระทั่งขาวเกรียบของดาโตะไดกลายเปนสินคาหนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑไปในที่สุด การเดิน ทางคา ขายแลกเปลี่ ยนสิน คา เกิดขึ้ น พร อ มกับ การรั บ รู สิ่ง ใหม ๆ วัฒ นธรรมใหมๆ ไปจากเมือ ง ซึ่ ง วัฒนธรรมจากเมืองนี้สวนหนึ่งไดรับอิทธิพลจากภายนอกดวย โดยเฉพาะสิ่งที่เปนรูปธรรม ซึ่งมีราคาแพงและ เปนสินคาฟุมเฟอย การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอีกอยางคือ การเปลี่ยนแปลงการปกครอง ในอดีตนั้นผูนําชุมชนมุสลิมจะ เปนผูนําทางดานศาสนา เชน ผูรูศาสนา โตะครู อิหมาม ซึ่งชาวบานจะใหความเคารพนับถือตอคนเหลานี้ คอนขางมาก ดวยบุคคลเหลานี้ทํางานใหแกชุมชนโดยไมหวังผลตอบแทน ตอมารัฐไดกระจายอํานาจการปกครองสูชนบทมากขึ้น ในรูปแบบองคกรบริหารสวนตําบล ทําใหมี การเลือกตั้งผูใหญบานขึ้น ซึ่งนับวาเปนผูนําในทางโลก ซึ่งไมเกี่ยวของกับศาสนาอิสลามแตอยางใด ตําแหนง


ผูใหญบานมีวาระ ๔ ป และไดรับคาตอบแทน การเปลี่ยนแปลงการปกครองเชนนี้นําไปสูการเปลี่ยนแปลง ความสัมพันธของคนในสังคมซึ่งจะกลาวตอไป ปจจัยตางๆ เหลานี้ลวนสงผลกระทบตอวิถีชีวิตและผูคนในหมูบานดาโตะดังตอไปนี้ การประกอบอาชีพ จากเดิมที่คนในหมูบานดาโตะประกอบอาชีพประมงและมีรายไดพอเพียงในการ ดํารงชีวิตและเลี้ยงดูครอบครัวนั้น ในปจจุบันเมื่อ “คนนอก” เขามาแยงชิงทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยูอยางจํากัด ทําใหทรัพยากรธรรมชาตินอยลง ไมเพียงพอตอการดํารงชีวิตของ “คนใน” ชุมชนรอบอาวปตตานี ชาวบานดา โตะเริ่มเปลี่ยนวิถีการทํามาหากินไปประกอบอาชีพอื่นเพื่อใหมีรายไดในการเลี้ยงครอบครัวมากขึ้น ดังที่กลาว มาขางตน การเลี้ยงปลาดุกและปลากะพงในบอทราย การทําขาวเกรียบ ลวนเปนอาชีพใหมที่เกิดขึ้นในหมูบาน นอกจากนี้คนหนุมสาวจะออกไปทํางานนอกบาน ทั้งที่ทํางานในจังหวัดปตตานีและจังหวัดอื่นในประเทศไทย เชน ทํางานในโรงงานอุตสาหกรรม เปนลูกจางหนารานขายของของคนจีนในเมือง ทํางานรานอาหาร และงาน กอสราง นอกจากนี้หนุมสาวอีกจํานวนหนึ่งไดเดินทางไปทํางานในประเทศมาเลเซีย สวนใหญจะไปทํางานใน รานอาหารไทยในมาเลเซีย บางสวนไปทํางานเปนลูกเรือประมงเรือพาณิชย ชาวดาโตะใหเหตุผลวาการที่ตอง ไปทํางานในเรือประมงที่ฝงมาเลเซียเพราะจะไดรับเงินคาตอบแทนเร็วกวาเรือในฝงไทย และที่สําคัญคือเจาของ เรือเปนชาวมุสลิม ทําใหรูสึกสบายใจในเรื่องความเปนอยูรวมกันในเรือ ไมมีปญหาทางความเชื่อและวัฒนธรรม การออกไปทํางานนอกบานอาจทําใหชาวดาโตะมีรายไดที่แนนอนกวาการทําประมง แตการเดินทาง ไปทํางานที่อื่นสงผลใหเกิดความเปลี่ยนแปลงอื่นๆ ตามมา วัยรุนในหมูบาน ความเปลี่ยนแปลงของสภาพสังคมปจจุบัน มีผลกระทบตอวัยรุนในชุมชนเปนอยาง มาก ซึ่งผลกระทบดังกลาวกอใหเกิดทั้งผลดีและผลเสียตอวัยรุนในดานตางๆ ดังนี้ ดานการศึกษา เนื่องดวยบานดาโตะเปนสังคมมุสลิม การศึกษาในอดีตของคนในชุมชนบานดาโตะจึง ดําเนินอยูในการศึกษาตามหลักศาสนาอิสลาม ซึ่งมีรูปแบบที่หลากหลายดังที่กลาวมา ไมวาจะเปนการเรียนใน มัส ยิ ด เรีย นในโรงเรี ย นตาดี ก าหรื อ ปอเนาะ การศึ ก ษาเรี ย นรู ศ าสนาที่บ า นของผู รู ศ าสนาในชุ ม ชน หรื อ แมกระทั่งรวมกลุมการพูดคุยถกเถียงเกี่ยวกับเรื่องศาสนา แสดงใหเห็นวาชาวมุสลิมสวนใหญมีโอกาสที่จะ เขาถึงและเรียนรูศาสนาไดตลอดเวลาชั่วชีวิต ในขณะที่วัยรุนปจจุบันกําลังใหความสนใจและความสําคัญตอการศึกษาในทางสามัญมากขึ้น โดยทั่วไปแลววัยรุนในบานดาโตะจะขาดโอกาสที่จะศึกษาอยางตอเนื่อง เนื่องจากความเขาใจของ ครอบครั ว ต อ การศึ ก ษาในทางสามั ญ ระดั บ อุ ด มศึ ก ษา ชาวบ า นมี ค วามเห็ น ว า แม จ ะจบการศึ ก ษา ระดับอุดมศึกษาในทายที่สุดแลวลูกหลานจะตองกลับมาอยูในหมูบาน และทํางานที่มีรายไดไมตางไปจากผูที่ ไมไดรับการศึกษาในระดับสูงเลย ดานการทํางาน ชาวบานดาโตะสวนใหญจะประกอบอาชีพประมง ซึ่งการเรียนรูเกี่ยวกับการทํางาน สามารถเรียนรูไดโดยไมจําเปนตองผานระบบการศึกษารูปแบบใด ชาวบานดาโตะจะเรียนรูการทําประมงตั้งแตวัย เด็กจากพอ หรือผูสูงวัยที่มีประสบการณมากอน นอกจากจะเรียนรูในวิธีการจับปลา กุง ปู หอย แลว ชาวดาโตะยัง เรียนรูในการทําประมงอยางพอเพียงตอการดํารงชีวิตดวย การทํางานของวัยรุนในอดีตจึงขึ้นอยูกับการครอบครองเครื่องมือในการหาปลา เชน เรือ อวน แห การ ทํางานของวัยรุนจึงมีลักษณะดังตอไปนี้


วัยรุนที่ครอบครัวมีเครื่องมือหาปลา วัยรุนคนนั้นจะอาศัยอยูกับครอบครัว ชวยกันทํางานกับสมาชิก คนอื่นๆ ในครอบครัว เพื่อแบงเบาภาระงาน วัยรุนที่ครอบครัวไมมีเครื่องมือหาปลา ชาวดาโตะสวนใหญจะเปนในลักษณะนี้ เนื่องจากไมมีทุนเพียง พอที่จะซื้อเครื่องมือมาใชได วัยรุนในกลุมนี้จะมีทางเลือกในการทํางานสองทางดวยกัน คือ เปนลูกจางเรือของ คนในหมูบาน เปนลูกจางเรือประมงในประเทศมาเลเซีย วัยรุน เหลานี้จะไปรับจางทํางานในเรือประมงที่ ประเทศมาเลเซียโดยการชักชวนกันไปของญาติพี่นอง การที่เลือกทํางานประเภทนี้เปนสวนใหญเนื่องจากมี ความรูและความเชี่ยวชาญในการทําประมงอยูกอนแลว ประกอบกับความเชื่อและแนวทางการดํารงชีวิตของ นายจางและเพื่อนรวมงานในมาเลเซียไมแตกตางกับชาวปตตานีมากนัก ซึ่งตางกับเรือประมงในปตตานี ที่ เจาของเรือเปนชาวไทยพุทธ ซึ่งมีวิถีชีวิตและความเปนอยูแตกตางไป อาจเปนอุปสรรคในการทํางานได ในขณะที่ วั ย รุ น บ า นดาโต ะ ในป จ จุ บั น มี ค วามรู สึ ก อยากเป น อิ ส ระมากขึ้ น ไม ต อ งการผู ก พั น กั บ ครอบครัว เชนการทําประมง วัยรุนในปจจุบันจะทําประมงโดยมีเครื่องมือและอุปกรณเปนของตนเอง วัยรุนอีก กลุมจะทํางานนอกชุมชน คือไปทํางานในจังหวัดปตตานี หรือตางจังหวัด ซึ่งโดยสวนใหญจะทํางานในโรงงาน รานอาหาร สวนอีกกลุมออกไปทํางานประเทศมาเลเซีย ซึ่งวัยรุนที่ไปประเทศมาเลเซียสวนใหญจะทํางานใน เรือประมง หรือทํางานในรานอาหารไทย วัยรุนดาโตะที่ทํางานอยูในมาเลเซียโดยการเปนลูกเรือประมง ๔ คน เปดรานอาหารของตัวเอง ๑ คน เปนลูกจางรานอาหารประมาณ ๔๐-๕๐ คน สวนวัยรุนที่ทํางานอยูในจังหวัด ตางๆ ในประเทศไทยโดยทํางานในโรงงานประมาณ ๕-๑๐ คน ทํางานเปนลูกจางรานอาหาร ๔ คน จากที่ กลาวมาขางตน เห็นไดวาวัยรุนในปจจุบันมีการทํางานหลากหลายมากขึ้นกวาวัยรุนในอดีต และมี “ความเปน ตัวของตัวเอง” มากขึ้น จากการที่ออกจากบานไปทํางาน และมีรายไดเปนของตนเอง การนับถือศาสนาของวัยรุน การนับถือศาสนาของวัยรุนในชุมชนจะมีความเครงครัดหรือเปลี่ยนแปลงไป อยางไรขึ้นอยูกับปจจัยหลายอยางดวยกันคือ ระดับการศึกษาดานศาสนาของวัยรุนในชุมชน อิทธิพลของ ครอบครัวตอวัยรุน อิทธิพลของสังคมในชุมชน สภาพแวดลอมของวัยรุน กฎเกณฑภายในชุมชน และปจจัย ภายนอก บทบาทของครอบครัวที่มีตอวัยรุน ในอดีตครอบครัวจะเปนผูกําหนดกฎเกณฑกับเด็กๆ เชน เวลาในการ กลับบานจะตองกลับกอนพระอาทิตยตก ไมควรทะเลาะกับเพื่อนบาน ครอบครัวมีสวนสรางหนาที่รับผิดชอบ เชน ลูกผูหญิงตองชวยงานในบาน ลูกชายตองชวยงานนอกบานที่ตองใชแรงงาน นอกจากนี้ครอบครัวยังมี บทบาทสําคัญในการอบรมสั่งสอนศาสนา และควบคุมใหเด็กๆ และวัยรุนประพฤติตัวตามหลักศาสนา บทบาท ของครอบครัวในปจจุบันไดเปลี่ยนแปลงไป กลาวคือปจจุบันครอบครัวแตละครอบครัวไมไดสรางกฎเกณฑ ตางๆ เหมือนในอดีต สมาชิกครอบครัวจะทํางานหนักเพื่อใหมีรายไดมากขึ้น ครอบครัวใหอิสระแกวัยรุนใน การศึกษาและทํางาน ซึ่งเปนผลใหวัยรุนในปจจุบันมีความเครงครัดในการนับถือศาสนานอยลงไป การแตงกายและการเปลี่ยนแปลง การแตงกายของชาวบานดาโตะ แตงกายเหมือนชาวมลายูมุสลิม ทั่วไป คือผูชายสวนใหญนิยมใสโสรงมากกวากางเกง บางคนสวมหมวกกะปเยาะ ผูหญิงจะตองปกปดรางกาย เผยใหเห็นไดเพียงฝามือและใบหนาเทานั้น ผูหญิงบานดาโตะจึงสวมใสฮิญาป เสื้อแขนยาว และผาถุงหรือ กระโปรงยาว ซึง่ เสื้อในอดีตมีรูปแบบ ๓ แบบหลักๆ คือ เสื้อกือบายอ เสื้อบานง หรือเสื้อกุโรง


เสื้อกือบายอเปนเสื้อที่มีมาตั้งแตในอดีต ปจจุบันถาถามเด็กรุนใหมวารูจักเสื้อกือบายอ หรือเปลา เด็ก สวนใหญจะตอบวาไมรูจัก เพราะปจจุบันคนสวนใหญจะไมนิยมใสเสื้อกือบายอแลว อาจมีผูสูงอายุสวมใสบาง เวลาจะออกไปนอกบาน เสื้อกือบายอจะมีลักษณะแตกตางไปจากเสื้อบานงตรงที่เสื้อกือบายอจะสวมใสสบาย กวาเพราะตัวเสื้อหลวม แขนกวาง นิยมใชเข็มกลัดกลัดแทนกระดุม ปจจุบันเด็กรุนใหมจะรูจักแตเสื้อกุโรง และเสื้อบานงซึ่งสวนใหญจะสวมใสในงานประเพณีเชน วันฮารี รายอ หรือไปงานเลี้ยงตางๆ ละครเปนปจจัยหนึ่งที่ทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงดานการแตงกาย กลาวคือในชวง ที่ละครเรื่องเมืองดาหลาฉายทางโทรทัศน ซึ่งการแตงกายของตัวละครในเรื่องอุปมาวาเปนการแตงกายพื้นเมือง ของเมืองดาหลา คือสวมเสื้อแขนยาว ตัวเสื้อยาวคลุมเกือบถึงเขา กางเกงขายาว ชาวดาโตะนิยมสวมใสตาม แบบนี้อยูระยะหนึ่ง โดยเฉพาะชวงที่ละครฉาย เรียกกันวาชุดดาหลา ดวยชุดดาหลาไมขัดกับหลักการของ ศาสนาอิสลามในเรื่องการแตงกายของผูหญิงดวย ความสัมพันธในครอบครัว การเปลี่ยนแปลงทางดานสภาวะแวดลอมที่สงผลกระทบตอการทํามา หากินของชาวบานดาโตะ จนกระทั่งสมาชิกของแตละครอบครัวตองออกไปหางานทํานอกหมูบาน ปจจุบันจึง เห็นไดวาครอบครัวแตละครอบครัวมีสมาชิกอยูอาศัยไมพรอมหนาพรอมตากันเหมือนเชนในอดีต ชาวดาโตะให เหตุผลวา เนื่องจากสังคมปจจุบันคาครองชีพตางๆ สูงขึ้น ทรัพยากรมีนอยลงกวาที่ผานมา การทํางานใน หมูบานไมสามารถหารายไดเพียงพอตอการเลี้ยงครอบครัว ชาวบานดาโตะสวนหนึ่งจึงออกไปทํางานนอก หมูบาน เชน ทํางานในโรงงาน ทํางานที่ประเทศมาเลเซีย ความเปนอยูของชาวบานเปลี่ยนแปลงไป การ ทํางานขางนอกตองเกี่ยวของกับเวลาคอนขางมาก ชาวบานดาโตะเริ่มทําอาหารทานกันภายในครัวเรือ น นอ ยลง ซื้ อ หาอาหารสํ า เร็ จ รู ป มารั บ ประทานมากขึ้ น ทรั พ ยากรที่ ไ ด จ ากท อ งทะเลไมไ ด นํ า มาทํ า อาหาร รับประทานกันภายในครอบครัวดังเชนเคย หากแตชาวประมงจะนําทรัพยในทะเลเหลานี้ไปขายเพื่อแลกเงิน ซึ่งความเปนอยูที่เปลี่ยนแปลงไปเชนนี้ ชาวบานดาโตะรูสึกวาจากหมูบานที่มีความเปนอยูแบบสังคมชนบท หมูบานดาโตะกําลังจะกลายเปนสังคมเมือง ประเพณีพิธีกรรมตางๆ ในรอบชีวิตที่กําลังเลือนหายไป จากการเปลี่ยนแปลงตางๆ ทั้งทางดาน สภาพแวดลอม วิถีชีวิตและการประกอบอาชีพ พฤติกรรมและทัศนคติที่เกิดขึ้นใหมในวัยรุนในสังคม แสดงให เห็นถึงการเดินทางของสังคมตอไปวานับวันจะยิ่งหางเหินจากสังคมแบบประเพณีดั้งเดิมมากขึ้นทุกขณะ สงผล ใหประเพณีพิธีกรรมของคนในชุมชนหลายอยางกําลังจะเลือนหายไป ๑. ระยะตั้งทอง โดยในอดีตจะฝากครรภที่โตะบีแด (หมอตําแย) แตปจจุบันหญิงที่ตั้งครรภจะฝาก ทองที่สถานีอนามัยในหมูบาน ๒. ในสมัยกอนหญิงที่ตั้งครรภครบ ๗ เดือน จะมีพิธีแนแงปอโระ ปจจุบันจะทําเฉพาะบางคนเทานั้น คนที่ไมทําบางคนเห็นวา ไมทําก็ไมเปนไร ๓. อะซานขางขวา คือ การที่ใหบิดาของเด็กแรกคลอดออกมากลาวพระนามของอัลลอฮฺที่หูขางขวา ปจจุบันพิธีกรรมนี้ยังคงสืบทอดจากอดีตจนถึงปจจุบันเพราะเกี่ยวเนื่องกับหลักธรรมทางศาสนาอิสลาม ๔. หลังการคลอด ๗ วัน จะมีการทําพิธีโกนผม พิธีเปดปากเด็ก ซึ่งพิธีเหลานี้จะเรียกวา “ตะนิ” ใน สมัยกอนจะจัดพิธีอยางดี แตปจจุบันบางขั้นตอนไดถูกตัดทอนลงซึ่งบางครอบครัวจะไมนิยมโกนผม


๕. พิ ธี ก ารเข า สุ นั ต คื อ พิ ธี ก ารขลิ บ อวั ย วะเพศของเด็ ก ชาย ป จ จุ บั น ยั ง คงปฏิ บั ติ สื บ ทอดกั น มา เวนเสียแตวาการนําเด็กชายขึ้นบนบกที่ทําขึ้น แลวแหไปรอบๆ หมูบานนั้นไมมีการปฏิบัติแลว ซึ่งพิธีนี้ควรมีการ อนุรักษเพราะเด็กรุนใหมเกือบทุกคนจะไมรูจักพิธีกรรมนี้ ๖. พิธีแตงงาน การแตงงานในอดีตนั้นจะจัดคลายๆ กับชาวฮินดูเพราะไดรับวัฒนธรรมจาก ชาวฮินดู บางสวน ปจจุบันจากการที่ไดศึกษาหลักธรรมทางศาสนาอิสลาม ทําใหพิธีการแตงงานเปนไปตามหลักอิสลาม มากขึ้น โดยจะตัดสิ่งที่ไมตรงกับแนวทางศาสนาออกไป เชน การทําขาวเหนียว ๓ สี เปนตน อาหาร นอกจากพิธีกรรมบางอยางที่กําลังเลือนหายไปพรอมกับการเปลี่ยนแปลงแลว อาหารบาง ชนิดที่เคยเปนอาหารของหมูบานดาโตะก็กําลังเลือนหายไปเชนกัน เชน ตือลอบากะ ตูปะอีแก ขนมมาดูกาตง ขนมฆือแนสะตูรี (ดูรายละเอียดและวิธีทําไดท่ี ภาคผนวก ก) ซึ่งการที่อาหารเหลานี้กําลังหายไปจากวิถีชีวิต ของชาวบานดาโตะ อาจเนื่องจากผูคนวัยหนุมสาวตองออกไปทํางานนอกบานมากขึ้น ทําใหไมมีเวลามาเรียนรู การทําอาหารที่มีขั้นตอนสลับซับซอน และแมกระทั่งไมมีเวลาในการปรุงอาหารเหลานี้ การเปลี่ยนแปลงเครื่องมือทํามาหากิน เรือกอและเปนเรือที่ชาวบานใชทําการประมงในทะเลน้ําลึก ชายฝงอาวไทยของภาคใตตอนลาง รวมทั้งรัฐกลันตันและตรังกานูในประเทศมาเลเซีย คาดวาเรือกอและมีตน กําเนิดจากอําเภอสายบุรี หรือที่เราเรียกกันวาตะลุแบ หรือตะลุบัน ผูเฒาผูแกในหมูบานเลาวา เมื่อประมาณ ๖๐ ปกอน ชาวบานดาโตะใชเรือกอและเปนพาหนะในการออกหาปลาในทะเลน้ําลึก เพราะเปนเรือที่ยาวและ ใหญ สามารถโตคลื่นลมไดดี เรือกอและเปนเรือที่ตอดวยไมกระดาน และนิยมทาสีเขียนลวดลายเพิ่มความ สงางามใหกับเรือ และมีเอกลักษณโดดเดนเฉพาะตัวอยางเห็นไดชัด กอและสมัยกอนเปนเรือหาปลาใชกางใบและมีฝพาย ๑๕-๑๖ คนตอลํา จูเตะเลาวาสมัยกอนชาวบาน ซื้อเรือกอและจากสายบุรีราคา ๓๐๐-๕๐๐ บาทตอลํา ซึ่งนับวาเปนราคาที่แพงมาก ชาวบานจึงเขารวมหุนกัน ซื้อ เรือลําหนึ่งจะมีหุนสวนประมาณ ๑๕-๑๖ คน ซื้อเรือมาแลวใชออกหาปลา เมื่อไดปลามาจะเอาไปขายแลว นําเงินที่ขายไดมาแบงใหหุนสวนจํานวนเทาๆ กัน เนื่องจากทรัพยากรในทะเลสมัยนั้นมีจํานวนมาก ชาวประมงจึงหาปลาไดเปนกอบเปนกํา หลังจากนั้น ๓๐ กวาป การขยายตัวของประชากรเพิ่ม ชาวประมงมากขึ้น และการเขามาของประมงพาณิชย เชน เรืออวน ลากอวนรุ น ทํ า ให สั ต ว น้ํ า ในท อ งทะเลมี จํ า นวนน อ ยลง ชาวบ า นจึ ง เริ่ ม ดั ด แปลงเรื อ กอและโดยการติ ด เครื่องยนตเพื่อเพิ่มกําลังในการหาปลา เรียกเรือที่ถูกดัดแปลงวา“ปาตะกือเระ” หรือเรือทายตัด โดยขนาดเรือ จะเล็กลง ทายเรือจะตัดตรงเพื่อสะดวกในการติดเครื่องยนตเรือหางยาวตรงสวนทายเรือ การดัดแปลงเรือ เพื่อใหเรือแลนไดเร็วและคลองแคลวมากขึ้น “ปาตะกือเระ” ชวยลดคาใชจายของชาวบานมาก เมื่อเทียบกับ คาจางในการตอเรือกอและ เรือกอและมีราคาแพงเพราะวาไมมีราคาแพง ชางตอเรือหายากมาก ชางเรือที่ เชี่ยวชาญในการตอเรือชรามากแลว และสวนใหญเสียชีวิตไปแลว ในปจจุบันชาวบานจึงนิยมใชเรือทายตัดมาก ขึ้น อยางไรก็ตามเรือกอและยังเปนเรือที่นิยมใชกันในพื้นที่ที่หาปลาในทะเลน้ําลึก เชน เขตอําเภอหนองจิก อําเภอเมือง และอําเภอสายบุรี จังหวัดปตตานี รวมไปถึงชาวประมงในจังหวัดนราธิวาสดวย ชาวดาโตะกําลังดําเนินชีวิตอยูทามกลางกระแสการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอยางรวดเร็ว ชาวดาโตะมอง วาการศึกษาทั้งทางดานศาสนาและการศึกษาสายสามัญเปนสิ่งที่มาชวยในการปรับตัวในการเปลี่ยนแปลงนี้


ในสวนการศึกษาศาสนานั้น บานดาโตะมีโรงเรียนตาดีกาที่สรางขึ้นมาดวยกําลังกายและกําลังทรัพย ของชาวดาโตะทั้งสิ้น โรงเรียนตาดีกามีความสําคัญตอสังคมของชาวดาโตะเปนอยางยิ่ง เพราะการเปนสถาบัน ที่จะชวยใหเด็กๆ ไดเรียนรูและอยูใกลชิดกับศาสนาตั้งแตวัยเยาว เด็กที่มีความรูและเครงครัดในศาสนา จะ หางไกลจากยาเสพติด หากแตร ายได ข องชาวดาโตะ ไมมี ม ากพอที่จ ะบริจ าคเงิน เพื่ อ พั ฒนา และสรา งสรรคกิจ กรรมใน โรงเรียนตาดีกา แมทางโรงเรียนจะไดรับเงินสนับสนุนจากทางรัฐบาล แตก็ไมเพียงพอแมกระทั่งจะจางครูเพื่อ มาสอนในโรงเรียน ประกอบกับสถานการณปจจุบันที่เกิดปญหาความรุนแรงขึ้นในพื้นที่ ๓ จังหวัดชายแดน ภาคใต และสถาบันการศึกษาทางศาสนาอิสลามกําลังถูกจับตาและกลาวหาจากภาครัฐวาเปน “สถาบันที่ผลิต ผูกอการราย” สิ่งเหลานี้ลวนแลวแตไมเอื้อใหชาวมุสลิมสามารถดําเนินการตามวิถีของอิสลามไดเลย ชาวดาโตะเชื่อวาหากโรงเรียนตาดีกาไดรับความเขาใจและยอมรับ ตลอดจนการสนับสนุนจากรัฐบาล ในดานตางๆ สถาบันแหงนี้จะเปนสถาบันที่เขมแข็งและมั่นคง เพื่อประคับประคองเยาวชนมุสลิมรุนใหมให ดํารงอยูในวิถีของความสงบและสันติแหงอิสลามดั่งที่เคยเปนมา นอกจากการศึกษาทางศาสนาแลว ชาวดาโตะเห็นคุณคาการศึกษาในทางสามัญเชนกัน ในหมูบาน ดาโตะ เด็กเกือบรอยละ ๗๐ ไดรับการศึกษาเพียงระดับการศึกษาภาคบังคับ ทั้งนี้เนื่องจากพอแมผูปกครองมี ฐานะยากจนไมสามารถสงลูกหลานเรียนตอในระดับมัธยมและอุดมศึกษาได เดิมทีชาวบานสวนใหญมีอคติตอ การศึกษาในสายสามัญ จากที่ลูกหลานชาวดาโตะที่จบการศึกษาในระดับสูงไมสามารถหางานทําได ชาวบาน จึงไมเห็นประโยชนของการศึกษาแตอยางใด แตในปจจุบันเมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลงในดานตางๆ ชาวบานใน หมูบานดาโตะเริ่มตองการใหลูกหลานไดเรียนในระดับสูง แตยังคงมีอุปสรรคในเรื่องของเงินทุนในการศึกษาตอ และโรงเรียนประถมของหมูบานมีคุณภาพไมเพียงพอ ทําใหนักเรียนที่เรียนจบจากโรงเรียนบานดาโตะไม สามารถสอบแขงขันกับนักเรียนจากโรงเรียนอื่นในการเขาเรียนตอในโรงเรียนประจําจังหวัด หรือโรงเรียน มัธยมศึกษาของรัฐบาลได เนื่องจากโรงเรียนประถมบานดาโตะเปนโรงเรียนของรัฐบาล และรัฐบาลมักจะประกาศวารัฐบาล เล็งเห็นความสําคัญของการศึกษาที่เปนเงื่อนไขสําคัญของการพัฒนาประเทศชาติ ดั้งนั้น รัฐบาลนาจะเขามา ชวยแกไขปญหาที่เกิดขึ้นนี้ดวย การเปลี่ยนแปลงบทบาทหญิงชาย ผูหญิงในหมูบานดาโตะมีบทบาทการทํางานมาตั้งแตอดีตแลว เพียงแตในปจจุบันไดมีอาชีพอื่นที่เปนทางเลือกใหกับผูหญิงในหมูบานมากขึ้น เชน การทําขาวเกรียบ การ ทํางานในโรงงาน ทํางานที่ประเทศมาเลเซีย ซึ่งงานเหลานี้เปนทางเลือกหนึ่งที่ผูหญิงไดใหความสนใจ หญิงสาวที่ทํางานในโรงงานเลาวา สาเหตุที่เลือกทํางานโรงงานเพราะงานในหมูบานไมคอยมีและ ทํางานโรงงานมีรายไดที่แนนอน ในวันหนึ่งจะไดคาแรงประมาณ ๒๐๐ บาท นอกจากเปนวารายไดดีแลว ทาง โรงงานยังมีสวัสดิการดีดวย เชน เวลาคลอดลูกจะไดเงินประกันสัง คม ซึ่ง นี่เปนสาเหตุหลักที่ห ญิงสาวใน หมูบานเลือกทํางานในโรงงาน ผูหญิงที่ไปทํางานในประเทศมาเลเซีย เลือกไปทํางานที่นั่นเพราะเห็นวาไดรายไดดีกวา ไมสนใจที่จะ ไปทํางานที่โรงงานเพราะไปเชา-เย็นกลับ ผูหญิงปจจุบันตองการแสวงหาสิ่งแวดลอมใหมๆ ใหกับตนเอง และ การไดไปทํางานนอกบานนอกเมืองทําใหมีโอกาสเลือกคูครองมากขึ้น ปจจุบันหญิงสาวในหมูบานมีโอกาส


เลือกคูครองมากขึ้น โดยจะแตงงานกับคนตางถิ่นมากขึ้น หลังจากแตงงานผูหญิงไมนิยมจดทะเบียนสมรสที่ อําเภอ แตจะจดทะเบียนในหนังสือที่โตะอิหมามออกให สวนนามสกุลจะยังใชของตนเองอยู ผูหญิงที่ไปทํางาน ที่ป ระเทศมาเลเซี ยนั้ น อยูในช ว งอายุ ๑๖ ป ขึ้น ไป ผูห ญิ ง บางคนสามารถผัน ตั วเองไปเปนเจ า ของกิจ การ รานอาหารไดดวย ผูหญิงบานดาโตะในปจจุบันมีบทบาทในการทํางานหาเลี้ยงชีพสูง จากการสํารวจพบวาผูหญิงโดย สว นใหญ มีอ าชี พ ทํา งานจะมีบ ทบาทจุ น เจื อ ครอบครั ว อี ก ทางหนึ่ง ทําใหบ ทบาทของผู ช ายในการจุน เจื อ ครอบครัวลดนอยลงไป บางครอบครัวผูหญิงมีบทบาทมากกวา สาเหตุที่เปนเชนนี้เพราะอาชีพหลักของผูชาย ในหมูบานเปลี่ยนไป คืออาชีพประมงที่ปจจุบันทรัพยากรทางทะเลลดลงมาก รายไดที่ไดจากการจับสัตวน้ําจึง ไมเพียงพอในการเลี้ยงดูครอบครัว รายไดจากผูหญิงจึงมีสวนสําคัญ ในแนวทางของศาสนาอิสลาม การที่ ผูหญิงไปทํางานนอกบานนั้นไมใชส่งิ ตองหาม หากแตการทํางานนั้นตองเปนงาน ที่สุจริต มีขอบเขตการทํางาน ที่ไมผิดหลักศาสนาอิสลาม เชน เปนงานที่ไมยั่วยุตอเพศตรงขาม เปนตน ที่สําคัญผูหญิงที่ทํางานจะตองไมลืม บทบาทเดิมของตนเองในครอบครัว ซึ่งเปนหนาที่หลักที่ผูหญิง ทุกคนตองปฏิบัติ หากละเวนจะถือวางานที่ทํา ไมสมควรทํา นอกจากผูหญิงมีบทบาทในการหาเลี้ยงครอบครัวแลว ผูหญิงในหมูบานปจจุบันยังมีบทบาททาง สังคมอีกดวย จะเห็นไดจากการทํางานของกลุมแมบานตางๆ ซึ่งในหมูบานดาโตะจะมีกลุมแมบาน ๒ กลุม คือ กลุมพัฒนาอาชีพการทําขาวเกรียบ กลุมแมบานฝกอาชีพตางๆ เชน ทําขนม ตัดเย็บเสื้อผา เปนตน ซึ่งกลุม เหลานี้ ผูหญิงมีบทบาทในการดําเนินงาน ทางการศึ ก ษาบทบาทของผู ห ญิ ง ไดเ ปลี่ ย นไปเช น กั น เด็ ก ผู ห ญิ ง ที่ จ บการศึ ก ษาภาคบั ง คั บ แล ว ผูปกครองโดยสวนใหญจะใหศกึ ษาตอ ไมวาจะเปนทางดานศาสนาหรือทางดานสามัญ ซึ่งแตกตางจากในอดีต ที่เมื่อจบการศึกษาภาคบังคับแลว ผูหญิงมักไมไดเรียนตอ เมื่ออายุ ๑๕-๑๘ ป พอแมจะหาคูครองให ปจจุบัน เมื่อผูหญิงมีการศึกษามากขึ้น การแตงงานเมื่ออายุนอยจึงมีนอยลง และเมื่อศึกษามากขึ้นบุคลากรทางการ ศึกษาที่เปนผูหญิงมีมากขึ้น เห็นไดจากจํานวนครูผูสอนตาดีกาเปนครูผูหญิงเพิ่มมากขึ้น ความสัมพันธของคนในสังคม การเปลี่ยนแปลงทางการปกครองทําใหความสัมพันธระหวางชาวดา โตะเปลี่ยนแปลงไป ผูนําทุกฝายจะตองมีการลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง ไมวาจะเปนโตะอิหมาม ผูใหญบาน และ อบต. ดวยตํา แหนงเหลานี้มีคาตอบแทนเปนเงินเดือน จึงมีการแขงขันและขัดแยงกัน เพื่อที่จ ะเขามาดํารง ตําแหนงตางๆ เหลานี้ ผูใหญบานบางคนเมื่อไดรับเลือกตั้งไปอยูในตําแหนงแลว ไมกลาตอสูกับอบายมุขตางๆ เชน จับกุมผู ติดยาเสพติด เพราะกลัววาชาวบานจะไมเลือกในสมัยหนา สําหรับ อบต. โดยหนาที่เปนหนวยงานที่รับผิดชอบ ตอหมูบานเกือบทุกดาน แตเมื่อไดรับงบประมาณในการบริหารจัดการ อบต. มักนําเงินไปใชประโยชนสวนตัว เมื่อผูนําในทางโลกมีปญหาทางดานศีลธรรม ผูนําศาสนาบางคนจึงไดเขารวมลงสมัครรับเลือกตั้ง “ทั้งที่รูวาเมื่อ เลนการเมืองแลวอาจจะมีมลทินติดตัว แตจําใจลงสมัคร เพื่อจะปฏิรูปจิตใจใหคนมีศีลธรรม เพราะนักการเมือง ไมวาระดับไหน จะไมสนใจศีลธรรม เนนดานวัตถุมากกวา ทําใหผูนําศาสนาตองมาเลนการเมืองเพื่อยกระดับ การศึกษาภายในหมูบาน”


การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นทั้งในหมูบานดาโตะและภูมีนั้นชุมชนชาวมลายูมุสลิมมีการปรับตัวกับการ เปลี่ยนแปลงทั้งดวยการรวมตัวของชุมชน และการธํารงจิตวิญญาณมุสลิมเพื่อดํารงอยูทามกลางกระแสการ เปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอยางรวดเร็วในโลกปจจุบัน ตารางประวัติศาสตรเหตุการณสิ่งแวดลอมในอาวปตตานี และเหตุการณสําคัญหมูบานดาโตะ โดยสังเขป ชวงเวลา พ.ศ. ๒๔๘๔

พ.ศ. ๒๔๘๖

เหตุการณจังหวัดปตตานี พระราชบั ญ ญั ติ ป า ไม ใ นพ.ศ. ๒๔๘๔ เป ด โอกาสให เอกชนเขาทําประโยชนจากไมในปาชายเลน โดยเฉพาะ การเผาถาน โดยไมตองมีการบํารุงรักษาปา มี เ ตาเผาถ า นตั้ ง อยู ที่ แ หลมตาชี ๔ เตา ป า ชายเลน บริเวณแหลมตาชีและยะหริ่งถูกตัดเพื่อทําถานตอเนื่อง ปาเริ่มทรุดโทรมอยางรวดเร็ว

พ.ศ. ๒๔๘๗

ชาวบ า นเริ่ ม ทํ า ข า วเกรี ย บ เพิ่ ม รายได ใหกับครอบครัว และขยายกิจการทําขาว เกรียบแกครอบครัวอื่น ๆ ในหมูบาน เกิ ด โรคเรื้ อ นระบาด ทํ า ให ช าวบ า นตาย ประมาณ ๒๐๐ คนในเวลา ๑ เดือน ทําให ชาวบานไมกลาออกไปทํางานในทะเล

พ.ศ. ๒๔๙๐

พ.ศ. ๒๕๐๓

พ.ศ. ๒๕๐๔

พ.ศ. ๒๕๐๗

พ.ศ. ๒๕๐๙

พ.ศ. ๒๕๑๐

เหตุการณในหมูบ านดาโตะ

ประกาศพระราชบั ญ ญั ติ ก องทุ น สงเคราะห ส วนยาง พ.ศ. ๒๕๐๓

จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต เดินทางมาตรวจราชการจังหวัด ปตตานี สวมในแมน้ําปตตานีถูกสั่งรื้อทิ้ง พระราชบั ญ ญั ติ ป า สงวนแห ง ชาติ พ.ศ. ๒๕๐๗ เพิ่ ม อํานาจการควบคุมจัดการปาของรัฐใหเขมแข็งและตัด สิทธิการใชประโยชนตามธรรมเนียมของชาวบาน ปาดา โตะกับปายะหริ่งไดรับผลกระทบ แตชาวบานยังถือวา ปาแหงนี้เปนปาที่เจาเมืองยะหริ่งยกใหชุมชนใชสอย จึง ยังคงใชสอยตอไป กรมปาไมปรับปรุงระบบการจัดการและใหสัมปทานปา ไมใหม เปนระบบตัดหมดในแนวสลับรอบหมุนเวียนทํา ไม ๓๐ ป และรองตัดฟน ๑๕ ป ขยายเวลาสัม ปทาน เปน ๑๕ ปและใหมีการปลูกเสริม ดิน ถล ม ในเขตภู เ ขาจั งหวั ดยะลา เกิ ดปรากฎการณน้ํ า แดงในแมน้ําปตตานี สัตวน้ําในแมน้ําตายจํานวนมาก ชาวบานไมสามารถใชน้ําไดหลายสัปดาห เริ่ ม เห็ น อวนลากอวนรุ น ไม ไ ผ ใช เ ครื่ อ งยนต YANMA เรือกอและเริ่มเปลี่ยนเปนเรือทายตัดใชเครื่องยนตแทน


ชวงเวลา พ.ศ. ๒๕๑๑

พ.ศ. ๒๕๑๘

พ.ศ. ๒๕๑๙ ๒๕๒๔ พ.ศ. ๒๕๒๐

พ.ศ. ๒๕๒๒ ๒๕๒๓

พ.ศ. ๒๕๒๓

พ.ศ. ๒๕๒๔ พ.ศ. ๒๕๒๕

เหตุการณจังหวัดปตตานี การประกอบใบเรือ สัตวน้ําชายฝงลดลงอยางรวดเร็ว โครงการสงน้ําและบํารุงรักษาปตตานี และเขื่อนปตตานี โครงการกอสรางเขื่อนทดน้ําที่ ตําบลตาเซะ อําเภอเมือง จั ง หวั ด ยะลา ก อ สร า งระบบชลประทานในพื้ น ที่ เพาะปลู ก ๒ ฝ งแม น้ํ า ป ต ตานี พื้น ที่ ป ระมาณ ๓๐๐, ๐๐๐ ไร ถนนสายปต ตานี – นราธิวาส (ถนนเกาหลี) สรางเสร็ จ และมีเปดใช รถดัมปและรถแบคโฮเปนที่นิยม ตอบรับ กับธุรกิจขายหนาดิน และการถมที่ดินขยายตัว ชาวบ า นบางตาวา อํ า เภอหนองจิ ก เริ่ ม อพยพไปขาย แรงงานที่กะเตาะ ไทรบุรี ประเทศมาเลเซีย โดยทํางาน รับจางเกี่ยวขาวชวงเดือน ๕ คนสูงอายุจะไปลอยอวนที่ อําเภอปะนาเระ และจังหวัดนราธิวาส เมื่อหมดฤดูเก็บ เกี่ยวและหมดฤดูประมง โครงการสร า งเขื่ อ นบางลาง เก็ บ กั ก น้ํ า และผลิ ต กระแสไฟฟาที่บานบางลาง อําเภอบันนังสตา จังหวัด ยะลา กํ า นั น รอนิ ง ร ว มกั บ อํ า เภอทุ ง ยางแดง ทํ า ถนนคั น ดิ น ลอมรอบพรุลานควาย เพื่อแกปญหาการลักลอบระเบิด และเบื่อปลา และเพื่อกักเก็บน้ํา แตก ลับทําใหเกิดน้ํา ทวมขัง ตนไมปาพรุตายนับแสนตน สัตวปาและสัตวน้ํา ลดลง โครงการขุดคลองระบายน้ําออกจากพรุ บริเวณทุงบอทอง และโคกดี ป ลี อํ า เภอหนองจิ ก โดยกรมชลประทาน หลังจากนั้นทําใหดินเปนกรดรุนแรง การทํานาลมสลาย โครงการปลู ก ป า เศรษฐกิ จ บริ เ วณป า สงวนแห ง ชาติ ตําบลบางตาวา อําเภอหนองจิก โดยใชวิธีการตัดตนไม ของป า เดิ ม ทิ้ ง ทั้ ง หมด แล ว ปลู ก ไม โ กงกางซึ่ ง เป น ไม เศรษฐกิจแบบเชิงเดี่ยว เอกชนเขามาเชาที่ปาสงวนเสื่อมโทรมจากกรมปาไม ทํา นากุงที่บางตาวา อําเภอหนองจิก มีการประทวงจาก ชาวบานบางตาวา มีการเลี้ยงกุงกุลาดํา บริเวณบางปลาหมอ อําเภอเมือง โดยนายทวีศักดิ์ อดุลยบุตร โครงการชลประทานที่ บ า นท า ชะเมาะ และพรุ แ ฆแฆ อําเภอปะนาเระ จังหวัดปตตานี นิคมอุตสาหกรรมแหงประเทศไทยดําเนินการศึกษาและ

เหตุการณในหมูบ านดาโตะ

เยาวชนชาวดาโตะเริ่มออกไปขายแรงงาน ที่ ป ระเทศมาเลเซี ย ทํ า ให เ หิ น ห า งจาก ครอบครั ว และรั บ วั ฒ นธรรมบริ โ ภคนิ ย ม จากประเทศมาเลเซีย กรมสาธารณสุขไดสรางอนามัย (หลังเกา) ทําใหชาวบานไมตองไปหาหมอที่อื่น

เริ่ ม สร า งถนนริ ม ชายหาดจากยะหริ่ ง ถึ ง หมูบา นดาโตะ ทํ า ให ช าวบ า นสะดวกใน การเดินทางไปอําเภอและจังหวัดอื่น ๆ


ชวงเวลา

พ.ศ. ๒๕๒๖ พ.ศ. ๒๕๒๗

เหตุการณจังหวัดปตตานี ทําแผนแมบทเรียบรอย ปากคลองมะรวด อํ า เภอปะนาเระ ตื้ น เขิ น ชาวบ า น รองเรียนอําเภอใหทําการขุดลอก เริ่ ม เลี้ ย งหอยแครงในอ า วป ต ตานี ค รั้ ง แรกบริ เ วณอ า ว บ า นโต ะ โสม โดยการส ง เสริม และสนั บ สนุ น ของกรม ประมง

พ.ศ. ๒๕๒๙

พ.ศ. ๒๕๓๐

มี ร ายงานการสํ า รวจพบการปนเป อ นของโลหะหนั ก (สังกะสี ทองแดง แคดเมี่ยม ตะกั่ว)ในอาวปตตานี ใน ตัว อย า งตะกอนและสั ตวห นา ดิ น สู งกว า มาตรฐานที่ องคการอนามัยโลกกําหนด เรืออวนรุนกับเรือไดหมึกเริ่มเขามาที่ อําเภอสายบุรี กรมประมงสนับสนุนงบประมาณในการเลี้ยงหอยแครง แกชาวบานตันหยงลูโละ ขยายการทํ า นากุ ง ไปยั ง ฝ ง ตํ า บลแหลมโพธิ์ ตํ า บล ตันหยงลูโละ ตําบลบานา นาเกลือบางสวนถูกแทนที่ ดวยนากุง โดยเฉพาะในเขต อําเภอเมือง เจาของนากุง รายใหญเปนนักการเมืองจาก จังหวัดราชบุรี กับคุณทวี ไกรคุ ป ต ร ว มทุ น กั บ คนในพื้ น ที่ เกิ ด การรวมตั ว เป น “ชมรมผูเลี้ยงกุงจังหวัดปตตานี”

พ.ศ. ๒๕๓๒

พ.ศ. ๒๕๓๔

หมูบานดาโตะเริ่มมีไฟฟาใช หมูบานดาโตะเริ่มมีน้ําประปาใช ชาวบาน จึงเลิกใชน้ําบอ กลุ ม เยาวชนสตรี ช าย / หญิ ง ร ว มกั น เป ด โรงเรียนตาดีกาครั้งแรก ทําใหเด็ก ๆ ได เรียนรูศาสนา แตตองปดการสอนชั่วคราว เพราะไมมีผูสอน เรือ พาณิ ช ยเ ริ่ ม ใช อุป กรณ แ ละเทคโนโลยี ในการจับปลา ทําใหปลาลดลง รายไดของ ชาวบานลดลง

นายทวีศักดิ์ อดุลยบุตร เริ่มเลี้ยงปลากระพงในกระชังใน แมน้ํายะหริ่ง อําเภอยะหริ่ง เปนคนแรก เริ่มทํานากุงที่บานบุดี อําเภอยะหริ่ง เปนครั้งแรก

พ.ศ. ๒๕๓๐ – ๒๕๓๖ พ.ศ. ๒๕๓๐– ๒๕๓๘

เหตุการณในหมูบ านดาโตะ

กลุมแมบานเริ่มออกหาปลากับสามี บาง คนออกไปทํ า งานในโรงงาน ทํ า ให ลู ก ๆ บางครอบครัวไมไดเรียนหนังสือ และขาด ความอบอุน สร า งอนามั ย หลั ง ใหม ใ นเขตกุ โ บร หลั ง อาคารเรียนตาดีกา เนื่องจากอนามัยหลัง เกาถูกน้ําทวม ชาวบานดาโตะรวมกับสํานักงานปาไมเขต ป ต ตานี และโครงการวิ จั ย พื้ น ที่ ชุ ม น้ํ า มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร จั ด ทํ า โ ครงการ “ปลูกปาในหัวใจคน” บริเวณอาว ปตตานี โดยมีการปลูกตนไม ๕,๐๐๐ ตน

คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบและไดแตงตั้งคณะกรรมการ เขตเศรษฐกิจพิเศษจังหวัดชายแดนภาคใต คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบอนุมัติเงินงบประมาณ ๒๖๗ ลานบาท เพื่อใหมีโครงการเพื่อสงเสริมศักยภาพของเขต อุตสาหกรรม มีการปรับปรุงเขตอุตสาหกรรมระยะที่ ๑ และ ๒ โดยกรมการปกครองให ก ารสนั บ สนุ น ด า น งบประมาณ


ชวงเวลา

พ.ศ. ๒๕๓๖

พ.ศ. ๒๕๓๖ – ๒๕๓๘ พ.ศ. ๒๕๓๗ – ๒๕๓๘

พ.ศ. ๒๕๓๘ – ๒๕๔๐ พ.ศ. ๒๕๓๙

เหตุการณจังหวัดปตตานี เกิ ด องค ก รชุ ม ชน “กลุ ม อนุ รั ก ษ อ า วป ต ตานี ” โดยมี สมาชิ ก เป น ชาวบ า นหมู ๑ – ๔ ตํ า บลแหลมโพธิ์ ศูนยกลางการทํางานที่บานดาโตะ สร า งเขื่ อ นปู น เพื่ อ ป องกั น การเซาะชายฝ ง ที่ บ างตาวา โดยบริษัทเที ยนปรีชา ขณะนั้น นายเดน โตะมีนาเป น สมาชิกสภาผูแทนราษฎร องค กรพั ฒนาเอกชน มู ลนิ ธิ เอิ ร ธไอร แลนด และมู ลนิ ธิ คุมครองสัตวปาในพระบรมราชินีนาถ รวมกับโครงการ พื้ น ที่ ชุ ม น้ํ า มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร วิ ท ยาเขต ปตตานี และกลุมอนุรักษอาวปตตานี โดยมีวัตถุประสงค เพื่อรวมกันฟนฟู ดูแล และจัดการทรัพยากรธรรมชาติใน อาวปตตานีอยางเหมาะสม และยั่งยืน

เริ่มมีวิธีการจับหอยแบบใหม จากเดิมเปนคราดดวยมือ มาเปนนําคราดติดไวทายเรือแลววิ่งคราดหอยแครง ทํา ใหไดหอยแครงครั้งละมาก ๆ เกิ ด ป ญ หาหอยหนามระบาด เนื่ อ งจากการเลี้ ย ง หอยแครง ชาวประมงจะสั่ ง ซื้ อ พั น ธุ ห อยแครงจาก ประเทศมาเลเซีย ซึ่งลูกพันธุหอยแครงอาจมีหอยหนาม ติดมาดวย แตนักวิชาการบางคนสันนิษฐานวาเนื่องจาก การเปลี่ยนแปลงในระบบนิเวศอาวปตตานี ทําใหหอย หนามเติบโตอยางรวดเร็ว

เหตุการณในหมูบ านดาโตะ

เป ด โรงเรี ย นตาดี ก าอี ก ครั้ ง โดยกลุ ม ยุ ว ส ร า ง ส ร ร ค จ า ก มหาวิท ยาลัย สงขลานคริ น ทร วิ ท ยาเขต ปตตานี เขามาพัฒนาระบบการเรียนการ สอน โดยมี ครู ผู ส อนบางส ว นเป น ชาวดา โต ะ ทํ า ให ค รู ไ ด เ รี ย นรู แ นวทางการสอน แบบใหมและนักเรียนสนุกกับการเรียนมาก ขึ้น

การทํานากุงเริ่มมีปญหา เปนโรคเชื้อรา ชาวบานเรียก โรคหัวเหลือง/หัวแดง กรมประมงทํ า ปะการั ง เที ย มที่ อํ า เภอปะนาเระ นากุ ง ขยายเขาคลองบางมะรวด ชุมชนบานบางตาวา จัดโครงการปลูกปาชุมชนในเขต ปาสงวนแหงชาติ บางตาวา อําเภอหนองจิก กรมควบคุ ม มลพิ ษ จั ด ทํ า โครงการจั ด การคุ ณ ภาพน้ํ า และจัดทําแผนปฎิบัติการในพื้นที่ลุมแมน้ําภาคใตและ ชายฝงทะเล พบวาปริมาณความสกปรกในรอบโอดีที่ ถายทิ้งลงสูลุม น้ํา ปตตานีในปริมาณสูง (๖,๘๕๙.๕๑ กก./วัน) เมื่อเปรียบเทียบกับบริเวณอื่น เกิดการประทวงกรณีการเลี้ยงหอยแครงในอาวปตตานี

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาสยามบรมราช กุมารี เสด็จเยือนมัสยิดและกุโบร ชาวบาน รูสึกเลื่อมใสในพระมหากรุณาธิคุณ และ สงผลใหมีการบูรณะมัสยิดในเวลาตอมา ชาวบ า นดาโต ะ เริ่ ม เลี้ ย งปลาดุ ก เพิ่ ม ร า ย ไ ด ใ ห กั บ ค ร อ บ ค รั ว แ ล ะ ส ร า ง ความสัมพันธกับสังคมภายนอก แม ช าวดาโตะ เริ่ม คลอดลู ก ที่ โ รงพยาบาล ไมอยูไฟ รับประทานยาแผนปจจุบัน

กรมศิ ล ปากรเข า มาบู ร ณะมั ส ยิ ด ซึ่ ง ชาวบ า นส ว นใหญ ไ ม ย อมรั บ เนื่ อ งจาก เสียดายงบประมาณจํานวนมาก ที่นํามา บูรณะมัสยิดไมดีเทาที่ควร คณะกรรมการมั ส ยิ ด ได จั ด ตั้ ง กองทุ น ซะ กาตฟตเราะห


ชวงเวลา

พ.ศ. ๒๕๔๐

พ.ศ. ๒๕๔๐

พ.ศ. ๒๕๔๑ – ๒๕๔๒

พ.ศ. ๒๕๔๑

เหตุการณจังหวัดปตตานี โดยนายลายิ สาแม กํานันตําบลแหลมโพธิ์ เปนแกนนํา ใหยกเลิกสัมปทานในการเลี้ยงหอยแครง โดยมีเหตุผล สองประการคือ การแปลสภาพพื้นที่หอยธรรมชาติที่เปน แหลงหากินของทุก คน กลายเปน พื้น ที่จับจองสําหรับ บางคน และเกิดการระบาดของหอยหนามอยางหนัก ทําใหเครื่องมืออวนลอยอวนกุงของชาวบานเสียหาย หอยแครงที่ เ ลี้ ย งในอ า วป ต ตานี ต ายเป น จํ า นวนมาก คาดวาเกิดจากในฤดูฝน ปริมาณน้ําจืดมีมาก ประกอบ กับเนื้อที่ในอาวปตตานีมีจํากัดไมเพียงพอที่จะรองรับ การเลี้ยงหอยแครงจํานวนมาก โครงการพัฒนารองน้ําและทาเรือปตตานี บริเวณปากอาว ปตตานี โดยการขยายรองน้ํานอกกวาง ๗๐ ม. ลึก ๕.๕ ม. ยาว ๖.๖ กม. ขยายรองน้ําในกวาง ๗๐ ม. ลึก ๕ ม.แอง กลับเรือกวาง ๑๔๐ ม. ที่จอดพักเรือขนาด ๘๐๐ x ๒๐๕ ม.ลึก ๔ ม. สรางกําแพงปองกันรองน้ํายาว ๕๐๐ ม. ถม บริเวณฝงตะวันตกของปากแมน้ําปตตานี เนื้อที่ ๕๐๐ ไร และการกอสรางอาคารดัดแปลงขนาด ๑๐๐ x ๑๕๐ ม. กลุ ม ประมงพื้ น บ า นขนาดเล็ ก และกลุ ม อนุ รั ก ษ อ า ว ปตตานี มีมติเรียกรองใหชะลอโครงการพัฒนารองน้ําและ ทาเรือปตตานีออกไป ๑ ป เพื่อมีเวลาในการศึกษาและ สร า งความเข า ใจในโครงการ และผลกระทบอย า ง รอบคอบ และให ชุ ม ชนรอบอ า วได มี ส ว นร ว มใน กระบวนการนี้ดวย สรางเขื่อนหินทิ้งกั้นทรายบริเวณปลายแหลมตาชี และ สรางเขื่อนปองกัน การเซาะพังของชายฝงบริเวณบาน บางตาวา อํา เภอหนองจิก และบริ เ วณอื่ น ๆ ในแนว ใกลเคียง เกิดการทับถมของตะกอนดานหนึ่ง และการ เซาะพังอีกดานหนึ่งของเขื่อน การทับถมของตะกอนทํา ใหหอยพิม ซึ่งเปนทรัพยากรสําคัญของชุมชนบางตาวา ตายจนหมด โครงการทําเขื่อนกั้นทรายบริเวณอาวปะนาเระ โดยกรม เจาทา ประชากรวัยอ อนของปูอพยพจากบริเวณปากอ าวและ ชายฝ ง ปากแม น้ํ า เข า มาในแม น้ํ า ป ต ตานี ถึ ง บริ เ วณ สะพานตะลูโบะ นับลาน ๆ ตัว เพื่อหาที่อยูอาศัย เปน ปรากฎการณที่ไมเคยเกิดมากอน ทรัพยากรสัตวน้ําในอาวปตตานีลดลง กระแสน้ําในอาว มีการเปลี่ยนแปลงและไหลเวียนชาลง น้ําจืดมีเวลาอยู

เหตุการณในหมูบ านดาโตะ


ชวงเวลา

พ.ศ. ๒๕๔๒

พ.ศ. ๒๕๔๓

พ.ศ. ๒๕๔๔

พ.ศ. ๒๕๔๕

เหตุการณจังหวัดปตตานี ในอาวนานขึ้น และขยายพื้น ที่ครอบคลุม อาวมากขึ้น ชาวบานที่ทํางานในอาวและคลองยะหริ่งสังเกตพบวามี การทับถมของตะกอนมากขึ้น คลองตื้นเขิน หญาทะเล เสื่อมโทรมและลดจํานวนลง แตมีสาหรายสีเขียวแกมน้ํา เงิ น เพิ่ ม ขึ้ น หอยขาวบริ เ วณเนิ น หอยใกล กั บ บุ ดี สู ญ หายไป โครงการสูบน้ําจากแมน้ําสายบุรีเพื่อนําน้ําไปเลี้ยงในพรุ แฆแฆ โดยกรมชลประทาน โครงการขยายถนนสายปตตานี – นราธิวาส เปนถนนสี่ เลน เกิดปญหาน้ําทวมขัง ๒ ขางถนนน ปาสันทรายและ ภูเขาขางเดียวตามแนวถนนถูกทําลาย โดยการขุดขาย หนาดินเพื่อนํามาถมทําถนน เดื อ นมิ ถุ น ายน ชาวประมงพื้ น บ า นทั้ ง ๖ อํ า เภอ กว า หมื่นคนรวมตัวกันประทวงกรณีการทําประมงพาณิชย อวนลากอวนรุนหนาอาคารศาลากลางจังหวัดปตตานี และสนามหญาหนาศาลากลางรวม ๓ วัน ๓ คืน มีผล ทํ า ให น ายธรรมรงค ประกอบบุ ญ อธิ บ ดี ก รมประมง ขณะนั้น ลงมาเจรจากับชาวประมงพื้นบาน และรับปาก จะจัดการปญหาเรืออวนลากอวนรุนใหเรียบรอยใน ๒ ป กองทุ นเพื่ อการลงทุ นทางสั งคม สนับสนุ นงบประมาณแก เครือขายกลุมอนุรักษอาวปตตานีจํานวน ๓.๕ ลานบาท เพื่อฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติในอาวปตตานีโดยใหชุมชนมี สวนรวม กิจกรรมที่จัดขึ้นคือ ฟนฟูสัตวน้ําประเภท หอยขาว หอยแครง ฟนฟูปาชายเลนในอําเภอหนองจิก อําเภอเมือง และอําเภอยะหริ่ง องคกรชุมชนภาคประชาชน และหนวยงานราชการ รวมมือ กันทําวิสัยทัศนจังหวัดปตตานี ไดเปาหมายวิสัยทัศน ๗ ดาน รวมดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เกิ ดขบวนการทํ างานภาคประชาสัง คม บุ คคลากรจาก หลายหน ว ยงานร ว มทบทวนปรั บ วิ ธี คิ ด และวิ ธี ก าร ทํางาน โดยบูรณาการความรวมมือในระดับที่ไมเคยเกิด ขึ้นมากอน โดยเฉพาะกรณีการทํางานเครือขายชุมชน อนุรักษอาวปตตานี ขยายความรวมมือครั้งใหญ เปน ตัวอยางของเครือขายที่เขมแข็ง และเปนกรณีศึกษาของ สภาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ

เหตุการณในหมูบ านดาโตะ

จัดงานเลี้ยงน้ําชาเพื่อหาทุน สรางอาคาร โรงเรียนตาดีกา ไดเงินมาประมาณ ๗๔๐, ๐๐๐ บาท

กรมเจาทาทําการขุดรองน้ําใหกับชาวบาน ดาโตะ ชาวบานไดรับความสะดวกในการ เดิ น เรือ และได เ ลี้ ย งปลากะพง ปลาเก า เพื่อเสริมรายไดใหแกครอบครัว ลู ก ชาวบ า นดาโต ะ ได เ ป น ปลั ด อํ า เภอคน แรกของหมู บ า น คื อ นายสุ ธิ นั ย เจ า ะสู (เดร ) เป น แบบอย า งแก ช าวบ า น ทํ า ให ชาวบานดาโตะสงลูกใหเรียนสูงๆ ขยายไฟฟ า จากสถานี ป ระมงเข า มายั ง กุ โบร ทําใหชาวบานละแวดดังกลาวมีไฟฟา ใช สร า งโรงเรี ย นตาดี ก าหลั ง ใหม ชาวบ า นมี ความรู สึ ก ภาคภู มิ ใ จที่ ลู ก หลายได เ รี ย น โรงเรียนตาดีกาที่สรางขึ้นดวยน้ําพักน้ําแรง ของชาวบานดาโตะ

สร า งประปาขึ้ น ใหม เ พื่ อ รองรั บ ความ ตองการการใชน้ําที่เพิ่มมากขึ้น

ชาวบ า นบู ดี จั บ ปลาพะยู น ได ใ นอ า ว ปตตานี หลังจากที่ไมพบปลาพะยูนมากวา ๒๐ ป ชาวบานรูสึกดีใจ เพราะคาดการณ


ชวงเวลา

พ.ศ. ๒๕๔๕๒๕๔๗

เหตุการณจังหวัดปตตานี

ประเด็ น ด า นสิ่ ง แวดล อ มและทรั พ ยากรอ า วป ต ตานี

เหตุการณในหมูบ านดาโตะ ไดวาอาวปตตานีจะกลับมสมบูรณอีกครั้ง โ ร ง เ รี ย น ตา ดี ก าไ ด รั บ อ นุ ญ าต ต า ม กฎหมายและกรมศาสนา ทํ า ให ไ ด รั บ เงินทุนสนับสนุนปละ ๘,๐๐๐ บาท กลุ ม สตรี ข องนายรอฮะม สาแม ได ผ ลิ ต ขาวเกรี ย บผสมสาหร าย ทํา ใหห มูบา นมี ชื่อ เสี ย งเป น ที่ รูจัก ในงานหนึ่ง ตํา บลหนึ่ ง ผลิ ตภัณ ฑ แตผ ลประโยชนที่ได รับ อยูใ น กลุมเครือญาติเทานั้น

กลายเปนประเด็นรวมของคนในจังหวัดปตตานี จนกระทั่งถูก บรรจุในโครงการวิจัยและพัฒนาชีวิตสาธารณะทองถิ่นนาอยู ไดรับการสนับสนุน จากยุทธศาสตรการใชทรั พยากรอยา ง ชาญฉลาด ใหจัดทําแผนแมบทอาวปตตานีโดยกระบวนการ มีสวนรวมของชุมชนรอบอาวปตตานี

พ.ศ ๒๕๔๖

พ.ศ. ๒๕๔๗

เปดสอนอัลกุรอานระบบกีรออาตีที่โรงเรียนตา

ดีกา นักศึกษาจากสิงคโปรจัดกิจกรรมที่โรงเรียนตา ดี ก าชุ ด ที่ ๑ เพื่ อ สร า งอาคารห อ งพั ก ครู ๑ หลัง นักศึกษาจากสิงคโปรจัดกิจกรรมที่โรงเรียนตา ดีกาชุดที่ ๒ เพื่อสรางสนามบาสหนาโรงเรียน

ปอเนาะภูมีทามกลางการเปลี่ยนแปลงแหงยุคสมัย ดวยประวัติศาสตรอันยาวนานนับรอยปของปอเนาะภูมีจนถึงปจจุบัน ปอเนาะภูมีมีลักษณะเดนซึ่ง เปนที่รูจักกันในการเรียนการสอนของอิสลามทั้งในภาคใต และภาคอื่นๆ คือการไดรักษาแบบอยางดั้งเดิมของ ปอเนาะไวไดเปนอยางดี ทั้งในดานหลักสูตรการเรียนการสอน วิถีความเปนอยูของโตะครูและลูกศิษยตลอดถึง ชุมชนโดยรอบ แมวาอาจจะมีสิ่งแปลกใหมที่นําไปสูการเปลี่ยนแปลงในรายละเอียดตางๆ บางตามยุคสมัยและ สถานการณ แตก็สามารถรักษาคุณคาและจิตวิญญาณเดิมของปอเนาะไวไดเปนอยางดี ในยุคสมัยที่เกิดเหตุความรุนแรงของพื้นที่ชายแดนใตแตละครั้ง สถาบันปอเนาะยอมจะถูกจับตามอง เปนอยางมาก ทั้งนี้เนื่องจากเปนที่ยอมรับของชุมชนคอนขางสูง หากโตะครูทานใดมีชื่อเสียงและมีลูกศิษยมาก ก็อาจถูกเขาใจผิด ปอเนาะภูมีถือวาเปนปอเนาะที่ไดรับการยอมรับอยางมากมาตั้งแตอดีตจึงไดรับผลกระทบ ดังกลาวนั้นดวย ในยุคที่ผูนําศาสนา และผูนํามุสลิมถูกจับในขอหากอการรายและแบงแยกดินแดน ปอเนาะ หลายแหงถูกสั่งปดดําเนินการจากราชการ แตปอเนาะภูมีกลับรอดพนจากวิกฤตการณดังกลาวมาได เพราะ อุดมการณที่ชัดเจนในการกอเกิดปอเนาะที่วา “เราเรียนเพื่อสรางปอเนาะ และเราสรางปอเนาะเพื่อเปนสถานที่ ถายทอดหลักการศาสนา”


ความพยายามของรัฐบาลหลายสมัยที่ผานมา ตองการยกระดับประเทศไทยใหทัดเทียมกับกระแสของ โลก และไดนําแบบอยางที่เขาใจวาเปนพฤติกรรมที่พัฒนาแลวมาทดแทนกับสังคมไทยดั้งเดิม กระแสนี้ไดแทรก ซึ ม ในทุ ก ระดับ อย า งรวดเร็ ว ปอเนาะนั บ ว า เป น สถานที่ ห นึ่ ง ที่ นับ วา ล อ แหลม ต อ ปรากฏการณ เ หล า นั้ น เนื่องจากกลุมเปาหมายที่เปนเยาวชนออนไหวตอสิ่งกระทบ อาทิ ปญหายาเสพติด ปญหาโสเภณี ปญหาลัก ขโมย และอื่นๆ ที่กําลังจะตามมา แมปอเนาะจะเปนเกราะปองกันสิ่งเลวรายไดระดับหนึ่ง แตยังมีกลุมเยาวชนและคนมุสลิมอีกมากที่ ไม ไ ด เ ข า มาสั มผั สและยึ ด ถือ ปอเนาะเปน ที่ ขั ด เกลาจิ ต ใจ อย า งไรก็ ต ามหากไม มีก ารคิด ค น กระบวนการ แกปญหาที่ดีได ปญหานี้อาจแผขยาย แทรกซึมไดมากขึ้น และอาจตองใชกระบวนการแกปญหาที่ซับซอนขึ้นก็ เปนได ปอเนาะกับสถานการณปจจุบัน อาจารยมูหัมมัด อาดํา กลาววา “หลังเหตุการณความไมสงบที่ มัสยิดกรือเซะ จังหวัดปตตานี ปอเนาะไดมีสวนรวมกับทางราชการในการปรับทัศนคติของชาวบานที่มีตอรัฐ ดวยการเปนวิทยากรประจําอําเภอ ทําหนาที่ออกไปบรรยายตามมัสยิดตางๆ ในสวนของการเรียนการสอนนั้น ยังคงดําเนินไปตามปกติโดยไมมีการเปลี่ยนแปลง” มุมมองภายนอกตอปอเนาะ กลาวโดยภาพรวมแลว หลังจากที่มีเหตุการณความไมสงบเกิดขึ้น และมี บุคคลที่เกี่ยวของกับปอเนาะเขาไปมีสวนรวมในการปฏิบัติการดังกลาวอยูในบางเหตุการณ ทําใหคนทั่วไปมอง วาปอเนาะเปนสถาบันหนึ่งที่มีปญหา ซึ่งเปนความคิดที่เปนไปในลักษณะเหมารวม ทั้งที่ในความเปนจริงนั้น เปนเพียงสวนนอย และกระทําการโดยคนบางกลุม โดยที่ผูบริหารและผูที่มีบทบาทในการดําเนินกิจการของ ปอเนาะไมไดรับรูและใหการสงเสริมแตอยางใด โดยเฉพาะสื่อในปจจุบันดวยแลวถือวามีอิทธิพลสําคัญในการชักจูงใหคนทั่วไปมีทัศนคติในแงลบได โดยงาย ดังจะเห็นไดจากการพาดหัวขาวของหนังสือพิมพฉบับหนึ่ง เมื่อวันที่ ๕ พฤษภาคม ๒๕๔๗ ที่เขียนวา “ผวาลูกถูกปนหัว ยายหนีปอเนาะ” ตรงสวนนี้หากอานดวยทัศนคติที่เปนลบ อาจทําใหคิดไดวา ปอเนาะ โดยรวมปลุกปนใหผูเรียนมีความคิดแบงแยกดินแดนหรือกอความไมสงบ ทั้งที่ความเปนจริงอยางที่ไดกลาวไว แลวขางตนวาเปนการกระทําของคนเพียงกลุมหนึ่งที่มีความคิดแตกแยกออกจากแนวทางที่ถูกตองของศาสนา อิสลามเทานั้น ปอเนาะเปรียบเสมือนสังคมเล็กๆ สังคมหนึ่ง ในจํานวนผูที่เขามาทําการศึกษาในปอเนาะนั้น ประกอบ ไปดวยคนดีที่มุงใฝหาความรูทางศาสนาเพื่อใชในชีวิตประจําวัน และอาจมีคนไมดีปะปนอยูดวยสวนหนึ่ง ปอเนาะเปนโรงงานที่ทําการฟอกคนใหเปนคนดี แตก็ใชวาจะสามารถเปนคนดีและสะอาดไดทุกคน ดังนั้นการ ที่คนบางกลุมกระทําการขัดกับอุดมการณของปอเนาะ จึงไมควรเหมารวมวาปอเนาะนั้นๆ หรือทุกแหงเปนผูให การสนับสนุนการกอความไมสงบ อีกประเด็นหนึ่งที่เกิดความผิดพลาดอยูบอยครั้งไดแก เมื่อมีการพูดถึงนโยบายหรืองบประมาณการ สนับสนุน มักแยกอยางเดนชัดเสมอระหวางปอเนาะดั้งเดิมกับโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามที่มีการสอน สามัญ แตเมื่อเกิดเหตุการณไมสงบขึ้น มักใชคําวา ”ปอเนาะ” เหมารวมไปทั้งสองประเภท ทั้งๆ ที่ความเปนจริง นั้นสถาบันที่มีปญหาจากผูกระทําผิดนั้น สวนใหญเปนผูที่เกี่ยวของกับโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามที่มี การสอนศาสนาควบคูกับสามัญ


ในสวนของคําวา “โตะครู” เชนเดียวกัน มีการเสนอขาวที่สรางความสับสนอยูบอยครั้ง เชน การเขียน ขาววา “โตะครูยิงตํารวจ” ซึ่งในความเปนจริงแลวผูกระทําผิดไมใชโตะครู แตเปนเพียงครูผูสอนศาสนารายวิชา เทานั้น ทั้งนี้เนื่องดวยความไมเขาใจถึงความหมายของคําวา “โตะครู” นั่นเอง จากข อ มู ล ของอาจารย มู หั ม มั ด อาดํ า กล า วว า “จากที่ เ คยสนทนากั บ หน ว ยเฉพาะกิ จ ทหาร ผูบังคับบัญชาบางทานที่เขามารักษาการในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต ซึ่งสวนใหญเปนคนมาจากภาคกลาง ทานเขาใจวาครูสอนศาสนาทุกคนคือโตะครู ซึ่งความจริงแลว โตะครู คือ ผูมีตําแหนงเปนผูจัดการและเจาของ โรงเรียนสอนศาสนา เทียบเทากับผูอํานวยการหรือครูใหญในโรงเรียนสามัญทั่วไป” และจากการรวบรวมขอมูลจากเหตุการณที่ผานมา ยังไมมีโตะครูคนไหนที่ตกเปนผูตองหาในการกอ ความไมสงบเลย โดยผูที่ถูกจับกุมเปนเพียงครูผูสอนเทานั้น การดํารงอยูของปอเนาะภูมีทามกลางสถานการณความไมสงบ ทามกลางสถานการณของ ๓ จังหวัดชายแดนภาคใต ปจจุบัน เปนปจจัยที่กระตุนใหปอเนาะตางๆ ตองปรับตัวเพื่อการดํารงอยูและความ เขาใจอันดีกับทางภาครัฐ ปอเนาะหลายแหงไดมีการจดทะเบียนเปนสถาบันสอนศาสนาที่ถูกตอง โดยปจจุบัน มีสถาบันปอเนาะจดทะเบียนแลวทั้งสิ้น ๒๑๔ โรง ในชวงเวลาที่กําลังเกิดการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญกับสถาบันปอเนาะตางๆ นั้น ปอเนาะภูมีถือวาไดรับ ผลกระทบนอยมาก แตมิใชเพียงเทานั้น ปอเนาะภูมียังเปนตัวกลางในการประสานความรวมมือระหวางภาครัฐ กับสถาบันปอเนาะมาโดยตลอด สิ่งนี้ทําใหทางปอเนาะมีบทบาทสําคัญมากยิ่งขึ้น ปจจัยที่สงใหปอเนาะภูมี สามารถดํารงอยูไดทามกลางสถานการณปจจุบันมีดังตอไปนี้ ภาพพจนที่ดีของปอเนาะ ทัศนคติจากทางรัฐที่มีตอปอเนาะภูมีอยูในดานบวกมาโดยตลอด เนื่อง ดวยนโยบายและแนวปฏิบัติของทางปอเนาะนั้น มีการปฏิสัมพันธกับทางภาครัฐอยางสม่ําเสมอ ใหความ รวมมือกับทางราชการดวยดีมาโดยตลอด เนื่องจากสิ่งที่กลาวมานี้ไมถือวาเปนการขัดกับหลักศาสนา และยัง สงผลดีทําใหปอเนาะเองสามารถดําเนินกิจกรรมดานการศึกษาไดอยางคลองตัว ทั้งนี้ทัศนคติที่ดีจากทางภาครัฐที่มีตอปอเนาะภูมีนั้น มิไดเพิ่งเกิดขึ้นในยุคหลังๆ แตเกิดจากการสั่งสมความดี งามมาอยางตอเนื่องนับตั้งแตกอตั้งปอเนาะ โดยมิไดมีจุดดางพรอยใดๆ ใหเกิดปญหากับทางภาครัฐ เพราะ ทางปอเนาะใชหลักเหตุและผล การเสนอขอคิดเห็นโดยสันติวิธี การติดตอสัมพันธกับทางภาครัฐอยางสม่ําเสมอ “ปอเนาะแบบดั้งเดิมโดยสวนมากแลวมี ความสัมพันธที่คอนขางนอยกับทางภาครัฐ อาจดวยเหตุผลทางดานภาษาและการสื่อสาร ความเปนสันโดษ ของสถาบันปอเนาะเอง ประกอบกับความออนลาของภาคราชการในการลงพื้นที่เพื่อเขาไปคลุกคลีกับภาค ประชาชน ทําใหสถาบันปอเนาะอื่นๆ หางเหินกับทางภาครัฐ” (อาจารยหะยีมูหัมมัด อาดํา) สว นปอเนาะภู มีนั้น มี ค วามสัม พัน ธ ที่ ดีกั บ ทางภาครัฐ ทั้ ง นี้เ พราะเจา ของปอเนาะไดมีก ารติ ดต อ สัมพันธและรวมกิจกรรมกับทางราชการมาอยางตอเนื่อง ดวยที่มีพื้นฐานทางดานภาษาที่ดีและเล็งเห็นวาการมี กิจกรรมรวมกับทางภาครัฐ และองคกรตางๆ อยางสม่ําเสมอนั้นเปนหนาที่ของพลเมืองที่ดี ทั้งยังมีประโยชนอีก มากมายหลายดาน เชน การเพิ่มพูนความรูและประสบการณของโตะครู และเปนการเพิ่มทัศนคติที่ดีของทาง ภาครัฐตอปอเนาะภูมี เปนตน


สิ่งที่เปลี่ยนแปลงอยางเห็นไดชัดหลังจากเหตุการณ ๒๘ เมษายน พ.ศ. ๒๕๔๗ คือ ความถี่ในการ ติดตอ พบปะ หรือรวมแสดงความคิดเห็นกับทางภาครัฐและเอกชนมีมากขึ้น บางครั้งทางปอเนาะภูมีเองไดรับ การติดตอจากหนวยงานราชการและเอกชน รวมถึงผูสื่อขาวในการขอขอมูลและการขอใหเปนตัวกลางในการ ประสานงานระหวางปอเนาะกับภาครัฐมากยิ่งขึ้น การแกปญหา ในการแกไขปญหาความไมสงบเรียบรอยใน ๓ จังหวัดชายแดนภาคใต ในสวนของ การศึกษานั้น มีการประชุมเพื่อหาแนวทางในการแกปญหาหลายครั้งดวยกัน ลาสุดไดมีการประชุมระดม ความคิดเรื่อง “แนวทางการพัฒนาการศึกษาในจังหวัดชายแดนภาคใต” ณ โรงแรมชางลี จังหวัดยะลา วันที่ ๑๔ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๗ ผูวิจัยเห็นวาผลสรุปที่ไดจากการประชุมเปนแนวทางหนึ่งที่สามารถนํามาแกไข ปญหาได จึงไดนํามาเสนอไว ณ ที่นี้ดวย ผลสรุปในการประชุมมีขอเสนอใน ๕ ประเด็นหลักคือ ๑. การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานใหจัดหลักสูตรที่สอดคลองกับความตองการของทองถิ่น ๒. สงเสริมการศึกษาศาสนาอิสลามทั้งระบบ ๓. การพัฒนาอาชีพและการศึกษานอกโรงเรียน (กศน.) ให กศน. เปนตัวกลางในการสรางเครือขาย ระหวางรัฐกับประชาชน และจัดอบรมอาชีพใหสอดคลองกับความตองการของพื้นที่ ๔. การพัฒนาโรงเรียนปอเนาะในฝน ระยะ ๓ ป ระยะแรกจะมีโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม ๓๙ แหง และสถาบันศึกษาปอเนาะ ๑ แหงเขารวม โดยรัฐจะสนับสนุนงบประมาณในปแรกโรงเรียนละ ๑ ลานบาท รวม ทั้งหมด ๔๐ ลานบาท ๕. การพัฒนาอุดมศึกษา ใหเรงจัดตั้งมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร วิทยาเขตปตตานี เปน เอกเทศ เพื่อเปนศูนยความรูดานการศึกษาศาสนาอิสลามในภูมิภาค นอกจากนี้ยังเสนอใหตั้งศูนยสงเสริม การศึกษาจังหวัดชายแดนภาคใตข้นึ เพื่อดูแลการจัดการศึกษาทั้งระบบ โดยใหสังกัดกองอํานวยการเสริมสราง สันติสุขจังหวัดชายแดนภาคใต (กอําเภอสสส.จชตําบล) นอกเหนือจากแนวทางที่ยกมาแลวนั้น ทางผูวิจัยใครขอเสนอแนวทางเพิ่มเติมคือ ลดเงื่อนไขตางๆ ทางสังคม เชน การกําจัดอบายมุขที่มีอยูอยางแพรหลายตามชุมชน ไมวาจะเปน คาราโอเกะ หองอาหาร ที่นา สังเกตคือ ผูเปดกิจการเปนคนตางถิ่น แตคนเขาใชบริการสวนหนึ่งเปนคนมุสลิมในพื้นที่ซึ่งไมไดรับการศึกษาใน ดานศาสนา หรือมีความหยอนยานในหลักการศรัทธา โดยใชนโยบายที่ทําใหพื้นที่ ๓ จังหวัดชายแดนภาคใต เปนพื้นที่ปลอดอบายมุข ทั้งนี้เนื่องดวย ๘๕% ของคนในพื้นที่เปนชาวไทยมุสลิม และอบายมุขที่กลาวมานั้นก็ ขัดกับหลักการของศาสนาทุกศาสนา การใหการศึกษาที่ถูกตองตามหลักการอิสลามแกเยาวชน เปนที่ทราบโดยทั่วกันแลววา ผูที่กอ เหตุการณไมสงบนั้นคือผูหลงผิดซึ่งไดรับการชักจูงโดยคนกลุมหนึ่งที่ใชหลักคําสอนศาสนามาบิดเบือนกลาว อาง การสนับสนุนใหเยาวชนไดรับการศึกษาตามแนวทางที่ถูกตองนั้นจึงเปนสิ่งสําคัญยิ่งที่จะคลี่คลายปญหานี้ ได การสรางอาชีพ ขจัดความยากจน เปนที่ทราบกันโดยทั่วกันแลววาพี่นองที่นี่มีจํานวนไมนอยที่ตอง เดินทางไปทํางานที่ประเทศมาเลเซีย ทั้งๆ ที่เมื่อ ๔๐ ปกอน คนมาเลเซียมักมารับจางตัดยางที่นี่ จึงเปนหนาที่


ของทางราชการที่ตองคิดหาอาชีพใหกับชาวบานในพื้นที่ โดยไมตองเดินทางไปทํางานที่อื่น ซึ่ง จะสงผลดี ทางดานสังคม เศรษฐกิจ แกประเทศไทยเอง การเปลี่ยนแปลงของปอเนาะภูมีหลังเหตุการณวันที่ ๒๘ เมษายน พ.ศ. ๒๕๔๗ หลังเหตุการณ ที่มัสยิดกรือเซะในวันที่ ๒๘ เมษายน พ.ศ. ๒๕๔๗ ไดกอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงทางดานนโยบายของทาง ภาครัฐที่มีตอสถาบันปอเนาะเปนอยางยิ่ง ปอเนาะตางๆ ถูกเพงเล็งวาจะเปนแหลงซองสุม ใหที่พักพิงแกผูกอ ความไมสงบ และสั่งสอนหลักการศาสนาในแนวทางที่บิดเบือน จากนั้นมีนโยบายใหทุกปอเนาะทําการจด ทะเบียนเปนสถานศึกษาที่ถูกตอง ซึ่งสถานศึกษาปอเนาะตางๆ ก็ใหความรวมมือเปนอยางดีในการจดทะเบียน ทางรัฐเองก็ไมไดมองวาปอเนาะทั้งหมดหรือสวนใหญสั่งสอนใหมีการกอความไมสงบในพื้นที่ เพียงแต มองวามีสวนหนึ่งเทานั้นที่เขารวมกันเปนขบวนการ ซึ่งก็ไมไดรับการยอมรับและเห็นดวยจากมุสลิมในพื้นที่ เพราะเปนการกระทําที่ขัดตอหลักศาสนา ดังเชนที่ พล.ท.พิศาล วัฒนวงษคีรี แมทัพภาคที่ ๔ ไดกลาวกับ โรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามแหงหนึ่งในจังหวัดยะลา ซึ่งมีครูถูกจับไววา “ทุกศาสนาสอนใหเปนคนดี ครู และนักเรียนที่หลงผิดเพียงหยิบมือเดียวคงไมทําใหครูและนักเรียนอีกกวา ๗,๐๐๐ คนเสียไปดวย และถือวา คนที่กอเหตุเปนเพียงผูหลงผิดและไมหวังดีตอประเทศชาติเทานั้น สักวันหนึ่งบุคคลเหลานี้จะกลับมาเปนคนดี มาชวยกันพัฒนาประเทศชาติตอไป” ความเปลี่ยนแปลงของปอเนาะจากยุคสูยุค จํานวนนักเรียนของปอเนาะภูมีในปจจุบันอาจจะนอย เมื่อเทียบกับเมื่อประมาณ ๕๐ ปที่แลว ซึ่งในสมัยโตะครูคนแรกนั้นมีนักเรียนประมาณ ๕๐๐ คน แตในปจจุบัน มีเพียง ๑๒๐ คน ทั้งนี้ดวยเหตุผลหลายๆ ประการ คือ ในอดีตสถาบันปอเนาะใน ๓ จังหวัดชายแดนภาคใตมี นอยมาก แทบจะนับจํานวนได โดยมีเพียงแค ๔-๕ โรงเทานั้น แตในขณะนี้โรงเรียนปอเนาะมีประมาณ ๒๕๐ โรง คานิยมของคนสวนใหญที่มักจะสงลูกหลานเขาเรียนในโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามที่มีการสอน ศาสนาควบคูกับสามัญ ในขณะที่ปอเนาะภูมียังคงสอนเฉพาะศาสนาเพียงอยางเดียว จะเห็นไดวาแมแต ลูกหลานของครูในปอเนาะเองก็ยังไปเรียนที่โรงเรียนเอกชนประเภทดังกลาว อาจารยมูหัมมัด อาดํา) ชื่อเสียง ของโตะครูคนแรกและความเปนสิริมงคล (บารอกัต) จะสังเกตไดวาทานเปนคนที่มีชื่อเสียงโดงดังมากในดาน วิชาการศาสนา เลื่องลือไปจนถึงประเทศเพื่อนบาน เชน มาเลเซีย พมา กัมพูชา จึงทําใหมีผูคนหลั่งไหลมาขอ เปนลูกศิษยมากมาย ผลกระทบของจํานวนนักเรียนตอการศึกษาปอเนาะแบบดั้งเดิม คนรุนใหมสวนมากในปจจุบัน นิยมที่จะศึกษาตอในโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม เหตุผลคือ สามารถเรียนทางดานสามัญควบคูไปกับ ดานศาสนาได เนื่องดวยการประกอบอาชีพ รายได และคานิยมในเรื่องวัตถุ มีอิทธิพลอยางมากในการดําเนิน ชีวิตปจ จุบัน การศึก ษาดา นศาสนาเพีย งอยางเดียวไมสามารถตอบสนองความต อ งการเหลา นี้ได ดัง นั้น โรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามจึงเปนทางเลือกแรกๆ ที่วัยรุนหนุมสาวในหมูบานใหความสนใจ ดังจะเห็นได จากที่ ลูกๆ ของครูผูสอนในปอเนาะภูมีเอง สวนใหญก็เรียนโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามแทบทั้งสิ้น และ ศึกษาจนจบระดับชั้นปริญญาตรีไป ก็หลายคน สวนการศึกษาในปอเนาะภูมีนั้นถือเปนสวนเสริม คือเรียนใน เวลาเย็นจนถึงค่ํา หลังเลิกเรียนโรงเรียนภาคปกติแลว แตทั้งนี้ศาสนาอิสลามเองก็ไมไดคัดคานหรือถือวาการ เรียนทางสามัญ การประกอบอาชีพหรือความมั่งคั่งร่ํารวยเปนสิ่งที่ผิด แตขึ้นอยูกับวาคนคนหนึ่งจะมีความ


ตองการที่จะขวนขวายมากนอยเพียงไร แตจําเปนอยางยิ่งที่จะตองนําเอาศาสนาอยูหนาเปนแนวในการดําเนิน ชีวิตและนําเอาการประกอบอาชีพไวดําเนินตาม ในปจจุบันพอแมนิยมสงบุตรหลานเขาเรียนในโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามที่สอนทั้งศาสนาและ สามัญ สงผลใหปริมาณนักเรียนที่เขาเรียนในโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามมีจํานวนมากขึ้นทุกป ตรงสวน นี้ เ องที่ มี ผ ลกระทบต อ จํ า นวนนั ก เรี ย นที่ เ ข า เรี ย นในปอเนาะแบบดั้ ง เดิ ม เพราะปอเนาะดั้ ง เดิ ม ไม มี ก าร ประชาสัมพันธเพื่อรับสมัครนักเรียนเหมือนโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม ใชเพียงการเชิญชวนแบบปาก ตอปาก หรือจากชื่อเสียงที่สั่งสมมานาน ที่สําคัญ คือการที่ปจจุบันอาชีพและรายไดเขามามีบทบาทในการ ดํารงชีวิตมากกวาเมื่อกอน การวัดคุณภาพของคนอยูที่สถานะทางเศรษฐกิจและการประกอบอาชีพ ในกลุม ชาวมุสลิมเองก็ตองการทั้งสองอยาง คือ ดานศาสนาและรายได ดังนั้นนี่คือเหตุผลของความนิยมที่มีมากยิ่งขึ้น สําหรับโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม แนวทางการจัดการศึกษานอกโรงเรียนในปอเนาะ เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของปอเนาะภูมีตามนโยบายรัฐบาลที่ตองการใหสถาบันปอเนาะมีการจัด การศึกษาขั้นพื้นฐานใหแกผูเรียนในสถาบัน โดยรวมมือกับศูนยการศึกษานอกโรงเรียน (กศน.)นั้น ในวันที่ ๒๐ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๗ ไดมีการประชุมสัมมนาสถาบันศึกษาปอเนาะและโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม ๑๕ (๒) ณ ศูนยบริการการศึกษานอกโรงเรียนอําเภอยะหริ่ง โดยมีหลักการสําคัญคือ ไดกําหนดใหการจัด การศึกษาในปอเนาะเปนวัฒนธรรม เปนวิถีชีวิตของพี่นองมุสลิม จึงเปนการศึกษาหลักในการจัดการศึกษาตาม หลักอิสลาม การจัดการศึกษานอกโรงเรียนจะเปนสวนเสริมการศึกษาที่จัดในปอเนาะ โดยไมเปนการบังคับให ทุกปอเนาะเขารวมโครงการ เวนแตทางสถาบันปอเนาะจะเห็นวาการศึกษานอกโรงเรียนมีประโยชนจริง สําหรับแนวทางการจัดการศึกษานอกโรงเรียนในปอเนาะ ไดมีการกําหนดแนวทางไว ๕ ขอ ดังนี้ ๑. ใหมีการหารือรวมกันระหวางคณะกรรมการอิสลามของจังหวัด ศูนยการศึกษานอกโรงเรียนทั้ง ระดับภาค จังหวัด และอําเภอ ผูรับผิดชอบจัดการศึกษานอกโรงเรียนในปอเนาะและฝายบริหาร ซึ่งรับผิดชอบ การบริหารงานแบบบูรณาการของจังหวัด เพื่อหารือแนวทางที่เหมาะสมในการจัดการศึกษาโดยเฉพาะจะเนน ความตองการที่จะเขารวมโครงการของปอเนาะเปนหลัก ๒. การจัดการศึกษานอกโรงเรียนอาจเลือกบางกิจกรรมหรือบูรณาการหลายกิจกรรมเขาดวยกันก็ได โดยมุงหมายที่จะพัฒนากลุมเปาหมายอยางรอบดาน ๓. การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานในปอเนาะ ตองแยกสภาพความตองการของกลุมเปาหมายแตละคน ใหชัดเจน โดยพิจารณาดังนี้ กลุมผูไมรูหนังสือไทย ทั้งเด็กและผูใหญ จัดใหไดรับการแกไขปญหาการไมรูหนังสือ หรือจัดหลักสูตร การศึกษาแบบเบ็ดเสร็จขั้นพื้นฐาน กลุมที่ตองการไดรับการศึกษาขั้นพื้นฐาน จํานวน ๒ กลุม คือ กลุมผูที่อยูในวัยเรียนและไมประสงคจะ เข า เรี ย นในโรงเรี ยนสั ง กั ด เขตพื้น ที่ ก ารศึก ษาขั้ น พื้น ฐาน (กรณีที่ ป อเนาะสามารถจัด ใหเ ข า โรงเรี ย นตาม กฎหมายการศึกษาภาคบังคับได ก็ใหดําเนินการได เวนแตกรณีที่ปอเนาะไมสามารถจัดสงเด็กใหไปเรียนได หรือไมประสงคใหออกไปเรียนนอกปอเนาะ ใหตกลงกันในที่ประชุมระดับจังหวัด เพื่อใหมีการขอทําความตกลง มายังกระทรวงศึกษาธิการ เพื่อมอบหมายให กศน. จัด) การจัดการศึกษาใหกับกลุมเปาหมายแบงวิธีการ


จัดเปน ๓ วิธี คือ ใชหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔ ตามที่สํานักงานการศึกษาขั้นพื้นฐาน จัด แตใชวิธีเรียนแบบ กศน. พัฒนาหลักสูตร กศน. ที่เทียบเทากับหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน ใชวิธีเรียน กศน. ตามหลักการเดียวกับที่จัดในศูนยการเรียนชุมชนชาวไทยภูเขาแมฟาหลวง (กําหนดบทเรียนใหเรียนตาม สภาพชีวิตของผูเรียนแลวเชื่อมโยงใหสอดคลองกับมาตรฐานหลักสูตรขั้นพื้นฐาน) วิธีนี้ไมกําหนดเวลาเรียน แต ผูเรียนบรรลุมาตรฐานในแตละสภาพใดก็จบตามมาตรฐานนั้น ใชหลักสูตรของปอเนาะเปนหลักสูตรแกน โดย จะตองวิเคราะหเนื้อหาสาระและมาตรฐานการเรียนรูของหลักสูตรปอเนาะวา มีความสอดคลองกันมากนอย เพียงใด แลวยอมรับความรูที่ไดเรียนในหลักสูตรของปอเนาะเพื่อเทียบโอนเขาหลักสูตรของ กศน. โดยอาจจะ ตองเรียนเพิ่มบางวิชา หรือทํากิจกรรมตามที่หลักสูตรกําหนดไว เชน ทําโครงงาน ทํากิจกรรม กพช. ถาไมแนใจ วาจะเทียบไดก็อาจใชกลไกของการทดสอบเพื่อรับรองความรู ทั้งนี้อาจใชภาษาถิ่นมลายูในการสื่อสารก็ได แลว คอยเรียนภาษาไทย เพื่อใหบรรลุมาตรฐานของหลักสูตร หรือถาใชขอสอบภาษาไทยแลวสอบผาน ก็อาจ ยอมรับความรูวิชาภาษาไทยไดเลย กลุ ม ผู เ รี ย นปอเนาะที่ อ ายุ พ น วั ย เรี ย นการศึ ก ษาภาคบั ง คั บ (อายุ ๑๖ ป ขึ้ น ไป) ก็ ส ามารถจั ด ใน หลักสูตร กศน. (หลักเกณฑและวิธีการจัด กศน. ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.๒๕๔๔) ได โดย ปรับเปลี่ยนวิธีเรียนใหเหมาะสมกับวิถีชีวิตในปอเนาะ เชน ไมตองมีการพบกลุม แตกําหนดใหมีเวลาเรียนวิชา สามัญ ตามหลักสูตรที่ตองจําแนกเปนรายวิชาใหเรียนในแตละวันวันละ ๒-๓ ชั่วโมง แตอาจตองทําโครงการ เพื่อประมวลความรูในแตละหมวดวิชา ทํากิจกรรม กพช. เพื่อพัฒนาคุณลักษณะที่พึงประสงค ซึ่งปอเนาะ ศอบ. และ ศนจังหวัด รวมกันพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาเฉพาะขึ้นเอง กลุมที่ตองการพัฒนาความรูทางดานอาชีพและทักษะชีวิต ศอบ. อาจรวมกับปอเนาะพัฒนาหลักสูตร ที่เหมาะสมกับคนในปอเนาะไดดวย ๔. การพัฒนาหลักสูตรและพัฒนาวิชาการใหศูนยการศึกษานอกโรงเรียนภาคใตเปนหลักในการ พัฒนาวิชาการในรูปแบบงานวิจัยและพัฒนารูปแบบการจัดการศึกษาใหเหมาะสม ในขณะเดียวกันศูนย การศึกษานอกโรงเรียนภาคใตจะตองรวมกับ ศนจังหวัด ยะลา นราธิวาส ปตตานี จัดการพัฒนาหลักสูตร สถานศึกษา เฉพาะที่จัดในปอเนาะ โดยมีสํานักพัฒนาวิชาการและมาตรฐานการศึกษาเปนผูชวยใหขอมูลและ คําแนะนําทางวิชาการ ขอเสนอเบื้องตนคือ การดําเนินการจัดการศึกษานอกโรงเรียน ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔ สําหรับกลุมเปาหมายผูเรียนในปอเนาะ ตองดําเนินการโดยรอบคอบ ซึ่งไมควรเรงรัดจัดให ทันภายในภาคเรียนที่ ๑/๒๕๔๗ การพัฒนาหลักสูตรจะตองใชผูเชี่ยวชาญอยางนอย ๓ กลุม คือ นักวิชาการศาสนาอิสลามที่เขาใจใน รายละเอียดหลักสูตรที่จัดในปอเนาะ นักวิชาการและเจาหนาที่การศึกษานอกโรงเรียน ที่รูและเขาใจงาน การศึกษานอกโรงเรียน สามารถออกแบบกิจกรรม กศน. ที่เหมาะสมกับสภาพชีวิตในปอเนาะ ครู กศน. ซึ่งทํา หนาที่ในปอเนาะ รวมกันพัฒนาหลักสูตรและรูปแบบการเรียนที่เหมาะสม การจัดการศึกษานอกโรงเรียนในปอเนาะยังอยูในขั้นดําเนินการ และหาขอสรุปถึงแนวทางที่เหมาะสม ซึ่งตอง ปรับใหเขากันกับความตองการของสถาบันปอเนาะ ในสวนนี้ อาจารยมูหัมมัด อาดํา ผูบริหารปอเนาะภูมี ได กลาวไววา “เดิมปอเนาะภูมีเปนที่ตั้งของศูนยการเรียนชุมชน (ศรช.)ประจําหมูบานอยูแลว ในอนาคตปอเนาะ


ภูมีจะจัดการศึกษาโดยรวมมือกับศูนยการศึกษานอกโรงเรียนดวยแนวทางใดแนวทางหนึ่งเปนที่แนนอน โดย หลักสูตรที่จะนํามาใชนั้นตองสอดคลองกับระบบการเรียนของปอเนาะ ไมเบียดเวลาเรียนทางดานศาสนา และ ตองเปนหลักสูตรที่ตัวนักเรียนเองใหการยอมรับและพรอมที่จะเรียน ขอจํากัดเกี่ยวกับการศึกษานอกโรงเรียน คือ ทางปอเนาะไมสามารถที่จะจัดใหมีการเรียนทุกวันได สวนในปจจัยอื่นๆ ตองมีการพิจารณาอีกครั้งเมื่อมี แนวทางการดําเนินที่แนนอนและแนนอนจากทางศูนยการศึกษานอกโรงเรียน” จากการระดมความคิดเห็นของบุคลากรในปอเนาะภูมี ไดบทสรุปถึงสิ่งที่ทางปอเนาะคาดหวังเปนอยางมาก เกี่ยวกับระบบการศึกษานอกโรงเรียนที่จะนํามาใชในปอเนาะนั้น คือ จัดการศึกษานอกโรงเรียนเปนสวนเสริม ของการศึกษาระบบปอเนาะตามที่ไดกําหนดไวในหลักการสําคัญ นักเรียนสามารถนําความรูไปใชประโยชนไดจริง และเปนที่ยอมรับของผูประกอบการและบุคคลทั่วไป รัฐควรใหการสนับสนุนดานบุคลากร ผูสอน โดยเขามาทําการสอนในปอเนาะ ซึ่งผูที่ทําการสอนนั้นตองมีความ พรอมทั้งทางดานวิชาการ ศาสนา และภาษา ที่จะใชสื่อสารกับผูเรียนไดอยางมีประสิทธิภาพ คาใชจายในการ เรียนควรอยูในระดับที่เหมาะสมกับนักเรียน เพราะนักเรียนปอเนาะสวนใหญเปนผูที่มีฐานะยากจน ขาดแคลน ทุนทรัพย การจัดตั้งชมรมโรงเรียนปอเนาะ อําเภอยะหริ่ง ณ วันที่ ๒๐ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๗ มีสถานศึกษาปอเนาะและโรงเรียนสอนศาสนาอิสลามจํานวน ๑๘ โรง เขารวมในการกอตั้ง ประกอบไปดวย สถาบันศึกษาปอเนาะ (จดทะเบียนใหม ป พ.ศ. ๒๕๔๗) ๑. ภูมีไชยา ๒. อิซลาฮียะห ๓. อิจธีฮาดูวาฮีนัพซียะห ๔. อัลมัดรอซะห อันนาซรียะหอัลอิสลามียะห ๕. อัลมัดรอซะห อัดดีนียะหอัลมุสตอฟยะห ๖. มะฮาดุลอิสลามียะห ๗. อิมารอตุลกุรอาน (ฮาฟตตาหมน) ๘. มูอาฮัดตัรบียาตุลอิสลามียะห ๙. ดารูลอามาน ๑๐. สัตยสามัคคี ๑๑. ดารุลอัรกอม (บาตูกูนิง) ๑๒. อัลสาฆอฟะหอัลดีนียะห โรงเรียนสอนศาสนาอิสลาม ๑๓. โรงเรียนนูรุลอิสลามภูมีวิทยา ๑๔. โรงเรียนญีฮาดวิทยา ๑๕. โรงเรียนสมบูรณศาสตร (ดาลอ) ๑๖. โรงเรียนปอเนาะโตะโกะ ๑๗. โรงเรียนปอเนาะดูซงปาแย ๑๘. โรงเรียนมะปริงวิทยา

ตําบลยามู ตําบลราตาปนยัง ตําบลราตาปนยัง ตําบลตาแกะ ตําบลมะนังยง ตําบลตาลีอายร ตําบลปยามุมัง ตําบลตาลีอายร ตําบลจะรัง ตําบลมะนังยง ตําบลมะนังยง ตําบลสาบัน ตําบลยามู ตําบลตะโละกาโปร ตําบลมะนังยง ตําบลตาลีอายร ตําบลตอหลัง ตําบลจะรัง


จุดประสงคในการจัดตั้งเพื่อรวมกันเสนอขอคิด แกไขปญหารวมกันระหวางสถานศึกษาปอเนาะในเขต อําเภอยะหริ่งกับทางราชการ สานสัมพันธระหวางสถาบันปอเนาะในเขตอําเภอ ยะหริ่ง ประธานชมรม : อาจารยหะยีมูหัมมัด อาดํา รองประธานชมรม: อาจารยการิม แวดอเลาะ เลขาธิการชมรม : อาจารยหะยีอับดุลรอเซะ อับดุลรอมัน ในสถานการณปจจุบัน กระแสของยุคโลกาภิวัฒนที่มนุษยสวนใหญมุงเนนในเรื่องของวัตถุ การคงอยู ของสถาบันปอเนาะยอมไดรับผลกระทบ อันเนื่องมาจากปจจัยหลายประการคือ การทํามาหากินและการดํารง ชีพ ผูรูที่มีในปจจุบันแตกตางจากอดีต คานิยมที่มุงในการใชตัวเองเปนที่ตั้ง นโยบายของรัฐบาลที่มุงพัฒนา เฉพาะโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามเปนที่ตั้ง โดยการรวมกลุมปอเนาะเพื่อการแกปญหา ใหชุมชนมีสวน รวมในการสนับสนุน การเรียนลักษณะนั้นไมสามารถธํารงจิตวิญญาณของความเปนปอเนาะไวได ดังเชนที่เห็นมาแลวใน ระบบการศึกษาของไทย ที่จริยธรรม คุณธรรมไดขาดหายไป (ซึ่งรัฐเองก็ทราบ) ดังเชนที่มีการพยายามนําวิชา ศีลธรรมกลับเขาไปสอนในโรงเรียนอีกครั้ง แตไมสามารถทําได เนื่องจากถูกระบบกลืนกินและไมไดรับการ ปลูกฝงตั้งแตเด็กๆ ระบบโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามนั้น เปนรูปแบบการศึกษาที่พยายามจะขจัดคําวา “ลาหลัง” “ดอยพัฒนา” ใหหมดสิ้นไปจากปอเนาะ จึงเรียกไดวา โรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม เปนระบบการศึกษา ที่พฒ ั นาแลวของปอเนาะ มีการจัดการที่เปนระเบียบแบบแผนมากขึ้น มีหลักสูตรและการวัดผลที่เปนมาตรฐาน หากแตโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามลืมบางสิ่งที่เปนหัวใจของการศึกษาระบบปอเนาะไป เนื่องจากรัฐ มองการศึกษาเปนเรื่อง “เศรษฐกิจ” ปอเนาะซึ่งจัดการโดยเนนผลผลิตดานคุณธรรม จริยธรรม จึงถูกมองวาลา หลัง ประกอบกับปญหาความมั่นคง ใหรัฐพยายามจัดระเบียบปอเนาะเรื่อยมา “การศึกษาศาสนาอิสลามไมไดถือวาชีวิตเปนจุดมุงหมายในตัวของมันเอง ชีวิตบนพื้นโลกเปนเพียง สะพานที่มนุษยจะตองกาวขามไปสูชีวิตทางจิตวิญญาณ หลังจากที่สิ้นชีวิตไปแลว นี่เปนความแตกตางโดย พื้นฐาน ระหวางการศึกษาสมัยใหมกับการศึกษาศาสนาอิสลาม การศึกษาสมัยใหมถือวาชีวิตเปนหนทางที่จะ นําไปสูความสุขในโลกนี้ เปนจุดมุงหมายสุดทาย ในขณะที่การศึกษาศาสนาอิสลาม ถือวาชีวิตเปนเพียงสิ่งที่ จะชว ยใหบรรลุความสุขในโลกหนา ความแตกตางพื้นฐานในจุด ประสงค และจุดมุง หมายของการศึ ก ษา สมัยใหม และการศึกษาศาสนาอิสลามนําไปสูความแตกตางในวิธีการที่จุดมุงหมายดังกลาวจะบรรลุผลสําเร็จ” (สุเทพ สุนทรเภสัช, ๒๕๔๗ : ๑๗) ที่เปน เชน นี้ไมใ ช เพราะปอเนาะและโตะครู มีความคิ ดแบบหัวเกา ไม ตอ งการพั ฒนา แตโตะครูมี ปณิธานที่จะดํารงรักษาจิตวิญญาณของปอเนาะไวตามจุดประสงคแรกเริ่มของการกอ ตั้ง สวนรัฐมักออก กฎระเบียบหรือกฎหมายเพื่อบังคับใช โดยที่ปอเนาะไมมีความพรอมที่จะรวมมือ เชน การนําหลักสูตรสามัญ การอาชีพมาใช ในขณะที่การสนับสนุนโดยการใหเงินอุดหนุนก็มีเงื่อนไขที่วา ใหปอเนาะแปรสภาพหรือ ปรับปรุงมาตรฐานของโรงเรียน และตองจัดการเรียนการสอนสายสามัญควบคูกันไปดวยเทานั้นจึงจะไดรับ


ทางปอเนาะจึงมีความวิตกวา หากแปรสภาพแลวจะมีเงื่อนไขผูกมัด ทําใหไมสามารถดําเนินการสอนตาม จุดมุงหมายของการกอตั้งได ในระยะหลังรัฐมีการประชุมสัมมนากับทางปอเนาะหลายครั้ง และการสัมมนาก็จบลงดวยดี แตเมื่อมี นโยบายออกมา รัฐมักไมไดนําผลสรุปการประชุมหรือขอเสนอแนะที่ไดใหไวมาเปนนโยบาย ทําใหปอเนาะตอง ปฏิบัติตามกฎระเบียบในภาวะจํายอมอยูเสมอ ในฐานะที่ปอเนาะ คือ วิถีการดําเนินชีวิตของชาวมุสลิมในพื้นที่ ๓ จังหวัดชายแดนภาคใต การบังคับใหปอเนาะตองยอมรับในหลักการที่ไมสามารถปฏิบัติไดนั้น (เนื่องดวย หากปฏิบัติแลวจะทําใหสวนหนึ่งของวัฒนธรรมหรือจารีตประเพณีขาดหายไป) แสดงใหเห็นวารัฐพยายาม แกปญหาโดยการนํากฎหมายเปนตัวตั้ง แลวพยายามปรับวัฒนธรรมใหเขากับกฎหมาย จึงเปนการยากที่จะ สามารถแกปญหาให ลุลว งไปดว ยดี ทั้ง ๆ ที่ในความเป นจริง แลว ควรนําวั ฒนธรรมมาเปน ตัว ตั้ง แลว ออก กฎหมายใหเขากัน การแกปญหาดวยการพยายามปรับเปลี่ยนวัฒนธรรมหรือความเชื่อนั้น เปนการฝนสภาพ ความเปนจริง เพราะฉะนั้นนโยบายที่ออกโดยภาครัฐบางสวน แทนที่จะเปนการชวยคลี่คลาย กลับกลายเปน แรงบีบอัดและความกดดันจากภายนอกที่มากระทบ ในขณะที่ปอเนาะก็ตองการรักษาอุดมการณของตนเองไว เมื่อทั้งสองฝายมีจุดมุงหมายที่แตกตางกัน ในที่สุดจึงเกิดปญหาตามมา ซึ่งสามารถเรียกไดวา “ปญหาที่เกิด จากการแกปญหา” ในการแกปญหาโดยยกวัฒนธรรมเปนตัวตั้งนั้น จะเกิดผลดีกับทั้งสามฝาย คือ ปอเนาะ สังคมและรัฐ กลาวคือ ปอเนาะจะไมสูญเสียความเปนสถาบันศาสนาที่เปนวิถีการดํา เนินชีวิตของคนในชุมชนไป และ สามารถพัฒนาไปตามทิศทางที่เหมาะสมจากการสนับสนุนของรัฐ สังคมก็ไดมีสวนรวมในการกําหนดทิศทางที่ ตองการ หากการแกไขปญหาไดผลดี ก็จะสงผลดีตอสังคมตามมา คือเกิดการพัฒนา โดยวัฒนธรรม และแนว การดําเนินชีวิตของชุมชนก็ไมเปลี่ยนแปลง ทางรัฐเองก็จะสามารถกําหนดนโยบายเพื่อพัฒนาดานอื่นๆ ไดอยาง เต็มที่ และเกิดเปนการพัฒนาที่ยั่งยืนไดตอไป


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.