การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและวัฒนธรรม การกลาวถึงบานสําโรง บานสวนสม ในฐานะเปนเสียงจากสังคมชายแดนชายขอบนั้นพิจารณา จากชุมชนทั้งสองแหงดวยปจจัยทางสภาพภูมิศาสตรซึ่งสัมพันธกับปจจัยทางเศรษฐกิจสังคมวัฒนธรรม คือภูมิประเทศที่ตั้งของทั้งบานสําโรงและสวนสมซึ่งเปนบานที่ตั้งอยูในพื้นที่เขตอําเภอสอยดาวของ จั ง หวั ด จั น ทบุ รี เป น พื้ น ที่ ช ายแดนของประเทศไทยติ ด กั บ ประเทศกั ม พู ช า ห า งไกลจากความเป น ศู น ย ก ลางอั น หมายถึ ง กรุ ง เทพฯ ในฐานะของศู น ย ก ลางประเทศไทย และตั ว เมื อ งจั น ทบุ รี ในฐานะ ศูนยกลางทางเศรษฐกิจของจังหวัด ดังคํากลาวเรียกขานทางนี้วาเปนกลุมที่อยูหลังเขา และจากสภาพ ของพื้นที่ทางภูมิศาสตรดังกลาว นําไปสูความเปนชายขอบดานเศรษฐกิจ สังคมวัฒนธรรม กลาวคือ ขณะที่ความเปนศูนยกลางหมายถึงวัฒนธรรมไทย ความเปนชายขอบของบานสําโรงและบานสวนสมก็ คือการมีวัฒนธรรมที่ดูจะเปนอื่นสําหรับสังคมไทย พิจารณาไดจากขอมูลของทองถิ่น เชน เปนชาวเขมรที่ ชาวบานเรียกตัวเองวาเปนเขมรพื้นบาน มีประวัติศาสตรของทองถิ่นที่สัมพันธกับชาวเขมรทางประเทศ กัมพูชาเรื่อยมา ทั้งการขามไปขามมาของผูคน การเปนคนกลุมวัฒนธรรมเดียวกัน ความสัมพันธทุกดาน ทั้ ง ทางเศรษฐกิ จ คื อ การทํา มาหากิ น แรงงาน การติ ดต อ คา ขาย ทางสัง คม คือ ความสัมพั น ธของ ครอบครัว เครือญาติ การแตงงาน การแลกเปลี่ยนชวยเหลือที่ดําเนินตลอดมา รวมไปถึงภาษา ประเพณี พิธีกรรม
บานสําโรง ความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคมวัฒนธรรม จะพิจารณาโดยสัมพันธกับปจจัยตางๆ เริ่ม จากลักษณะภูมิอากาศ ภูมิประเทศ และทรัพยากร ขอมูลจากงานวิจัยสะทอนใหเห็นถึงภาพอดีตที่มี ลักษณะภูมิประเทศเปนปาเขา อุดมสมบูรณไปดวยปาไมเบญจพรรณ สัตวปา ความบริบูรณในเรื่อง แหลงน้ําธรรมชาติ ซึ่งเหมาะแกการทําการเกษตร มีแหลงอาหารจากปา นําไปสูการกอเกิดชุมชน โดย การเขามาตั้งถิ่นฐานของกลุมคนเขมร ทั้งเขมรพื้นบานและเขมรจากประเทศกัมพูชา โดยแรกเริ่มเปน ชุมชนขนาดเล็ก มีคนอยูอาศัยจํานวนนอย มีท่ีทางสําหรับแตละครัวเรือนในการหักรางถางพงเพื่อทํามา หากิน ซึ่งมีทั้งการหากินในลักษณะการเก็บของปาไปขาย เชน กระวาน สัตวปา รวมไปถึงของปาอื่นๆ การทํามาหากินในลักษณะการทําการเกษตร มีการทําไร ทําสวน ตามแตกําลังแรงงาน ทุนทรัพย การ พึ่งพิงทรัพยากรในพื้นที่ยังมีอยูมาก เห็นไดจากเครื่องมือเครื่องใชตางๆ ที่ยังหลงเหลืออยูตามบานเรือน รวมไปถึงภูมิปญญากับการดํารงชีวิตที่คณะนักวิจัยไดบันทึกไว จากสภาพภูมิประเทศซึ่งเปนปาเขาที่ให ชาวบานไดอาศัยพึ่งพิงธรรมชาติ สภาพบรรยากาศชุมชนที่ชาวบานเลาถึงความเงียบสงบ การอยูกับ ความมืดทามกลางธรรมชาติ การอาศัยแสงสวางจากขี้ไตและแสงตะเกียง เสียงจักจั่นเรไร หรือกระทั่ง เรื่องราวเหตุการณสําคัญในชุมชนที่ชาวบานเลาถึงโรคภัย การอาศัยหมอพื้นบานเหลานี้เปนคําบอกเลา ที่ แ สดงให เ ห็ น ถึ ง ความสั ม พั น ธ ข องวิ ถี ชี วิ ต ชาวบ า นกั บ ธรรมชาติ ก อ นที่ ส ภาพชุ ม ชนจะมี ค วาม เปลี่ยนแปลง