Letter98

Page 1

L E K - P R A P A I V I R I Y A H P A N T F O U N DAT I O N

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์

Ãร Çว ºบ Ãร Çว Áม ºบ Ñั ¹น ·ท∙ Öึ ¡ก Èศ Öึ ¡ก Éษ Òา ¢ข ้ Íอ Áม Ùู Åล ·ท∙ Òา §ง Çว Ñั ²ฒ ¹น ¸ธ Ãร Ãร Áม Êส ¹น Ñั ºบ Êส ¹น Øุ ¹น ¡ก Òา Ãร Íอ ¹น Øุ Ãร Ñั ¡ก Éษ ์ àเ ¾พ ×ื ่ Íอ ¾พ Ñั ²ฒ ¹น Òา àเ ¼ผ Âย áแ ¾พ Ãร่ àเ ¾พ×ื ่ Íอ ¡ก Òา Ãร Èศ Öึ ¡ก Éษ Òา ¢ข Íอ §ง Êส Òา ¸ธ Òา Ãร ³ณ ªช ¹น จดหมายข า วรายสามเดื อ น

ป ท ี ่ ๑๗ ฉบั บ ที ่ ๙๘ เมษายน-มิ ถ ุ น ายน ๒๕๕๖

àเ»ปÔิ´ด»ปÃรÐะàเ´ด็¹น : ÈศÃรÕีÈศÑั¡กÃร ÇวÑัÅลÅลÔิâโÀภ´ดÁม

“ตางชาตินิยม” หรือ “ชาตินิยม” การกลาวหาเชิงวาทกรรมในสังคมไทย หน้า ๑

ข อ สั ง เกตจากการไปฟง เสวนาเรื่ อง "ตามรอยสมเด็จ เจาฟาอุทุมพรในอมรปุระ เมียนมาร" วลัยลักษณ ทรงศิริ หน้า ๖

สร า งเด็ กรัก ถิ ่น กับ อยู เ มื องแกลงวิทยา สุดารา สุจฉายา หน้า ๘

“เกลือเปนหนอน” ภั ย ที ่ ค วรระวั ง ของชาวพิ พ ิ ธ ภั ณ ฑ ท  อ งถิ ่ น ธีระวัฒน แสนคำ หน้า ๑๑

เรื่องเลาจาก “เด็กบานสวน-หนุมนักเรียน” ของ พ.เนตรรั งษี อภิญญา นนทนาท หน้า ๑๓

àเ»ปÔิ´ด»ปÃรÐะàเ´ด็¹น

อันเนื่องจากเสวนา “ฟน (ราก) ชาวกรุง?” อภิญญา นนทนาท, ณัฐวิทย พิมพทอง

ÈศÃรÕีÈศÑั¡กÃร ÇวÑัÅลÅลÔิâโÀภ´ดÁม

หน้า ๑๖

สรุ ปบรรยายสาธารณะ “ความกาวหนาทางโบราณคดี เรื่องมโหระทึกสองฝงโขง สะหวันนะเขต-มุกดาหาร ปยชาติ สึงตี หน้า ๑๘

สรุ ป บรรยายสาธารณะ “ความรู  ท างภู ม ิ ศ าสตร แ ละวั ฒ นธรรมกั บ การทำความเขาใจประเทศเพื่อนบาน” ปยชาติ สึงตี หน้า ๒๐

ประชาสัมพันธ สมัครสมาชิกจดหมายขาวมูลนิธิฯ ดีวีดีเสวนาสัญจรคนคอนศตวรรษ หนังสือใหมของมูลนิธิฯ หน้า ๒๒-๒๔

¨จ´ดËหÁมÒาÂย¢ข่ÒาÇวÁมÙูÅล¹นÔิ¸ธÔิàเÅล็¡ก-»ปÃรÐะäไ¾พ ÇวÔิÃรÔิÂยÐะ¾พÑั¹น¸ธØุ์

“ตางชาตินิยม” หรือ “ชาตินิยม” การกลาวหาเชิงวาทกรรมในสังคมไทย

สังคมไทยทุกวันนี้ไดกาวเขาสูความขัดแยงทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมทีแ่ บง ผูคนออกเปนสองขั้ว มีทั้งเผชิญหนากันและกลาวหากัน พรอมที่จะดำดิ่งลงสูวังวนแหง ความรุนแรงไดทุกเมื่อ การกลาวหาซึ่งกันและกันที่ไดยินไดฟงเปนประจำก็คือ ชาตินิยม หรือ คลั่งชาติ กับ ขามชาติ หรือ ขายชาติ P

แตคำที่ขาพเจารูสึกวาไมนาจะมีอยูในสังคมไทยก็คือ ชาตินิยม และ คลั่งชาติ ñ๑


»ปÕี ·ท∙Õี ่ ñ๑ ÷๗

©ฉ ºบÑั ºบ ·ท∙Õี่ ù๙ ø๘

เพราะถามองตามความเปนจริงทางสังคมที่ผานมาแลว P เรื่องของชาตินิยมไดตายจากสังคมไทยไปนานแลวเมื่อสิ้น สมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม เปนนายกรัฐมนตรี P ชาตินิยมในประเทศไทยเปนผลผลิตจากการลาอาณานิคม ของชาติ ม หาอำนาจทางตะวั น ตก ที ่ ท ำให เ กิ ด การสร า งเส น เขตแดนทางการเมืองและเศรษฐกิจบนพื้นที่ทางวัฒนธรรมที่เปน พรมแดนระหวางประเทศของบานเมืองในประเทศไทยกับประเทศ ใกลเคียง เชน ลาว เขมร พมา และเวียดนาม ทำใหเกิดรัฐชาติและ ประวัติศาสตรชาติขึ้นมาแทนที่ตำนานประวัติศาสตรของบานเมือง ในแตละทองถิ่นที่มีมาแตเดิม P ประเทศไทยแม จ ะไม เ ป น ประเทศราชในอาณานิ ค มของ คนตะวั น ตกก็ ต าม แต ก ็ ร ั บ การกำหนดเขตแดน การสร า ง ประวัติศาสตรชาติเชนเดียวกันกับประเทศอื่นๆ ทั้งนี้เพราะการเขา มามีอำนาจของคนตะวันตกนั้นไมจำกัดอยูเฉพาะเรื่องเศรษฐกิจ การเมืองเทานั้น ยังกินไปถึงมิติทางวัฒนธรรมดวย P คือไดทำใหคนตะวันออกที่เปนคนในอาณานิคมที่รวมทั้งคน ไทยที่ไมไดเปนเมืองขึ้นดวยนั้นนิยมชมชอบในอารยธรรมตะวันตก ซึ่งสะทอนใหเห็นจากคำวา Civilization ที่กลายมาเปนคำไทยวา ความศิวิไล แทบทุกคนทุกชาติในเอเชียลวนอยากไดความเปน ศิ ว ิ ไ ลจนต อ งมี ก ารส ง คนรุ  น ใหม ไ ปเรี ย นต อ ในประเทศ มหาอำนาจทางตะวันตก รับเอาแนวคิดทางโลก ทางวัตถุ โลกทัศน คานิยม และวัฒนธรรมในดานชีวิตความเปนอยูแบบอยางตะวันตก เขามา P ซึ่งก็เห็นไดจากผังเมืองและการสรางเมืองแบบใหม โดยเฉพาะ สังคมไทยแตสมัยรัชกาลที่ ๔ ลงมานั้น นับเปนการเริ่มตนของ ตะวันตกนิยม [Westernization] อยางแทจริง พอถึงรัชกาลที่ ๕ คนรุนใหมโดยเฉพาะชนชั้นสูง เจานาย ขุนนาง ขาราชการ และ พอคาคหบดีตางก็ทำอะไรเปนแบบตะวันตกไปหมด ดูเปนภาวะ สุดโตงเมื่อเปรียบเทียบกับบรรดาประเทศเพื่อนบานที่เคยเปน อาณานิคม P อิทธิพลทางความคิดและวัฒนธรรมตะวันตกที่ทำใหคนใน เอเชียรวมทั้งไทยดวยรับเอาเขามาก็คือคำวา ชาติ ที ่ ห มายถึ ง Nation หรือ รัฐประชาชาติ ซึ่งมีการสรางประวัติศาสตรและการ กำหนดเขตแดนในอำนาจอธิปไตยชัดเจน P ประวัติศาสตรชาติเกิดขึ้นก็เพื่อเปนเครื่องมือทางการเมืองใน การบูรณาการวัฒนธรรมใหคนในประเทศมีสำนึกรวมกันเปน อั น หนึ ่ ง อั น เดี ย วกั น ท า มกลางความหลากหลายทางชาติ พ ั น ธุ  ศาสนา และความเปนมาของผูคนพลเมืองที่มีถิ่นฐานอยูตาม ทองถิ่นตางๆ ของประเทศ ในขณะเดียวกันก็เลือกเฟนความเปน มาของบานเมืองในอดีตที่เคยรุงเรืองและยิ่งใหญเขามาประมวลและ ò๒

ปรุงแตงใหเปนเนื้อหาทางประวัติศาสตรเพื่อใหคนไดเรียนรูจัก ตนเอง และภูมิใจในตนเองในฐานะเปนพลเมืองของประเทศชาติ หรือรัฐชาติ P การสรางประวัติศาสตรชาติเปนแนวคิด วิธีคิด และวิธีการ ของคนตะวั น ตกที ่ เ คยใช ใ นการหาความชอบธรรมในการล า อาณานิคมโดยใชขอมูลทางโบราณคดี [Archaeological past] กับทางชาติพันธุวรรณา [Ethological present] มาวิเคราะหและ ตีความขอมูลทางโบราณคดีซึ่งเปนขอมูลที่เปนอดีตหางไกล ไมเห็น คน ไมเห็นความสัมพันธทางสังคมและชีวิตวัฒนธรรม หากเปน ขอมูลที่เกี่ยวกับหลักฐานทางโบราณสถาน โบราณวัตถุ ที่มีอยูใน เขตแดนและดินแดนของประเทศนั้นๆ เมื่อนำมาวิเคราะหศึกษา แล ว ก็ พ อจะแลเห็ น การเปลี ่ ย นแปลงวั ฒ นธรรมในดิ น แดนนั ้ น ประเทศนั้น วามีมาอยางไร เจริญรุงเรืองและตกต่ำอยางไร เปนใน ยุคใดสมัยใด ซึ่งมีลักษณะเปนประวัติศาสตรทางวัฒนธรรม โดยตรง P ในขณะที่ขอมูลทางชาติวงศวรรณนา [Ethnography] เปน ขอมูลที่ทำใหรูจักผูคนในดินแดนบานเมืองที่ทำการศึกษาในขณะ นั้นเปนใครมาจากไหน และมีชีวิตความเปนอยูอยางใดบาง เปน ข อ มู ล ที ่ แ ลเห็ น ป จ จุ บ ั น และเป น ประวั ต ิ ศ าสตร ส ั ง คมที ่ เ ป น ประวัติศาสตรมีชีวิต [Living history] ตางจากประวัติศาสตรทาง วัฒนธรรมที่เปนประวัติศาสตรที่ตายแลวสิ้นสุดลงตามยุคสมัย P เพราะฉะนั้นจะเห็นไดวาการสรางประวัติศาสตรของนักลา อาณานิ ค มตะวั น ตกก็ เ ป น วิ ธ ี ก ารเช น เดี ย วกั บ การสร า ง ประวัติศาสตรชาติของผูคนในรัฐประชาชาติ เปนแนวคิดและวิธีการ ของคนตะวันตกโดยตรง เปนการสรางประวัติศาสตรจากหลักฐาน ความเป น จริ ง ที ่ อ ธิ บ ายได โ ดยตรรกะทางวิ ท ยาศาสตร แ บบคน ตะวันตก ซึ่งตางจากประวัติศาสตรแบบตำนานของคนตะวันออก P ความตางกันระหวางปญญาชนผูรูที่มีบทบาทในการสราง ประวัติศาสตรชาติของไทยที่โอตัวเองเสมอวาไมเคยเปนอาณานิคม กับประเทศที่เคยเปนอาณานิคมนั้นตางกันมากตรงที่วา ปญญาชน และผูรูของ “ชาติที่เคยเปนอาณานิคม” เรียนรูวิทยาการและวิธีการ ของตะวันตกแบบวิพากษวิจารณเพื่อรูทันคนตะวันตก และสราง ความเขมแข็งใหกับตนเอง P ในขณะที่ปญญาชนและผูรูของ “ไทย” สวนใหญเรียนรูแบบ ยอมตามและเชื่อฟงโดยไมขัดแยงและวิพากษวิจารณ เปนการ เรียนรูแบบไมโตและเทาทัน เลยตกเปนเหยื่อของคนตะวันตกใน การที่ตองใหนักวิชาการทางตะวันตกมาคิดให ทำใหตลอดเวลา แมกระทั่งปจจุบันที่บรรดานักวิชาการไทยเปนจำนวนมากจะเขียน อะไร ทำอะไร ก็ตองอางอิงฝรั่งทั้งในเรื่องทฤษฎีและหลักฐาน ขอมูล มีบรรดาเชิงอรรถและบรรณานุกรม กินพื้นที่ในผลงาน ¨จ´ดËหÁมÒาÂย¢ข่ÒาÇวÁมÙูÅล¹นÔิ¸ธÔิàเÅล็¡ก-»ปÃรÐะäไ¾พ ÇวÔิÃรÔิÂยÐะ¾พÑั¹น¸ธØุ์


àเ Áม Éษ Òา Âย ¹น - ÁมÔิ ¶ถØุ ¹น Òา Âย ¹น ò๒ õ๕ õ๕ ö๖

สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพและคณะผูติดตามในคราวเสด็จเยือนเขาพระวิหาร เมื่อ พ.ศ. ๒๔๗๒ เรสสิเดนตกำปงธมและเมอซิเออร ปามังติเอร นักโบราณคดีชาวฝรั่งเศสรับเสด็จที่เขาพระวิหาร

P เรื ่ อ งของการเขี ย นการสร า งประวั ต ิ ศ าสตร ช าติ ไ ทยก็อยู ่ ในทำนองนี้ที่ถูกชักนำโดยนักปราชญ นักวิชาการฝรั ่ ง แต ส มั ย อาณานิคม โดยเฉพาะฝรั่งเศส เชน ม. ปาวี และ ยอรช เซเดส ที่ใช หลักฐานโบราณคดีที่เปนประวัติศาสตรศิลปะและศิลาจารึกสรางให อาณาจักรที่คนไทยและประเทศใกลเคียงรับรูวา กัมพูชาหรือเขมร เคยเปนมหาอาณาจักรที่มีอาณาเขตกวางใหญที่บรรดาประเทศ เพื่อนบานทั้งหลายเคยตกเปนอาณานิคมเมืองขึ้นของเขมรมากอน โดยเฉพาะประเทศไทยทั้งภาคอีสานและภาคกลางที่มีศาสนสถาน พุทธมหายานและฮินดูคือสิ่งซึ่งเขมรสรางไวในฐานะผูมีอำนาจ ปกครอง P สวนคนไทยคือชนชาติที่เขามาในดินแดนประเทศไทยทีหลัง เพราะถู ก ขั บ ไล ไ ด ถ อยลงมาจากทางตอนใต ข องประเทศจี น เขามายังที่แควนสุโขทัยที่เปนเมืองที่ขอมหรือเขมรปกครองอยู ตอมาจึงเกิดวีรบุรุษเชนพอขุนศรีอินทราทิตยและพอขุนรามคำแหง ปลดแอกการปกครองของขอมและตั้งตัวเปนรัฐอิสระที่แผอำนาจ ชนชาติไทยไปทั่วดินแดน P ฝรั่งเศสสรางประวัติศาสตรเขมรใหเปนมหาอาณาจักรหรือ จักรวรรดิ [Empire] แบบยุโรปที่มีเมืองพระนครเปนศูนยกลาง เพื ่ อ ให เ ป น ประโยชน แ ก ต นเองในการขยายเขตแดนเข า มา ประเทศไทยและลาว เพราะสามารถอางจากประวัติศาสตรไดวาทั้ง ไทยและลาวเคยเปนของเขมรมากอน เมื่อมาถึงสมัยนี้เขมรกลาย เปนเมืองขึ้นของฝรั่งเศสแลว ฝรั่งเศสก็ควรไดมีอำนาจเหนือ ดินแดนที่เคยเปนเมืองขึ้นดังกลาว P ผูนำไทยและปญญาชนไทยสมัยรัชกาลที่ ๕-๖ ดูเหมือนจะ ยอมรับเรื่องราวประวัติศาสตรที่ฝรั่งเศสเขียนขึ้นและแนะนำอยาง ศิ​ิโรราบ คือเชื่อวาเขมรเมืองพระนครเคยเปนจักรวรรดิ [Empire] เชนจักรวรรดิโรมันและยุโรปมากอน รวมทั้งยังเชื่อวาคนไทยเปน ชนชาติที่มาจากจีนมาเปนชนกลุมนอยภายใตอำนาจของชนชาติ ใหญคือขอม แลวมาปลดแอกเปนเอกราชที่เมืองสุโขทัย

¨จ´ดËหÁมÒาÂย¢ข่ÒาÇวÁมÙูÅล¹นÔิ¸ธÔิàเÅล็¡ก-»ปÃรÐะäไ¾พ ÇวÔิÃรÔิÂยÐะ¾พÑั¹น¸ธØุ์

P ความเชื ่ อ และการยอมรั บ ดั ง กล า วได แ สดงให เ ห็ น ในบท ละครเรื่องพระรวงและการแสดงละครในสมัยรัชกาลที่ ๖ ซึ่งได ทรงรวมแสดงละครดวย เพื่อเปนการปลุกสำนึกความเปนชาติ ให ก ั บ คนไทย เพราะคำว า ชาติ ไ ทยเกิ ด ในสมั ย นั ้ น ซึ ่ ง ก็ ม ุ  ง ถึ ง ความเปน Nation หรือประชาชาติ (ประเทศในสวนรวม) เปน สำคัญ และเพื่อความทันสมัยใหคนชาติตะวันตกยอมรับก็ไดทรง สรางธงชาติขึ้นใหมแทนธงชางเผือกที่มีมาแตเดิม เพื่อใหเปน สัญลักษณของการบูรณาการดวย สีแดงหมายถึงชาติ สีน้ำเงิน หมายถึงพระมหากษัตริย และสีขาวหมายถึงศาสนา อาจกลาวไดวา สิ่งที่รัชกาลที่ ๖ ทรงสรางและทำขึ้นเปนชาตินิยมก็ไมผิด เพราะดู เปนธรรมดาของบรรดาบานเมืองทั้งหลายที่เปนประเทศชาติทำกัน ในสมัยนั้น P ความเปนชาตินิยมในสมัยรัชกาลที่ ๖ นั้น มุงเพื่อบูรณาการ จะมีการรังเกียจกลุมชาติพันธุอื่นในบานเมืองก็ดูเล็กนอยกับคนจีน ที่ถือวาเปนพวกคนยิวตะวันออก ซึ่งก็ดูสอดคลองกันกับพระราชนิพนธเรื่องเวนิสวาณิชที่ทรงแปลมาจากเชกสเปยร P การเกิ ด ความรู  ส ึ ก ชาติ น ิ ย มอย า งสุ ด โต ง นั ้ น เกิ ด ขึ ้ น หลั ง เปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. ๒๔๗๕ มาแลวในสมัยรัฐบาล จอมพล ป. พิบูลสงคราม ที่เปนยุคผูนำที่รับอิทธิพลเชื้อชาตินิยม มาจากนาซีเยอรมันและฟาสซิสตอิตาลีตอนสงครามโลกครั้งที่ ๒ คนในยุคนั้นเชื่อวาการเปนคนไทยมาจากเชื้อชาติ [Race] เดียวกันที่ สืบตอกันมาโดยสายเลือดทางชีววิทยา จึงไดมีการเปลี่ยนชื่อประเทศ จากสยามมาเปนประเทศไทย และเขียนประวัติศาสตรชาติไทยขึ้นมา ใหมวาคนไทยเปนสายเลือดเดียวกันเปนเชื้อชาติที่ยิ่งใหญอพยพขาม แมน้ำโขงมาจากทางตอนใตประเทศจีนแลวเขามาเปนใหญในดินแดน ประเทศไทย โดยปราบปรามพวกขอม มอญ และชนชาติอื่นๆ ที่ ต่ำตอยกวา เกิดพระมหากษัตริยที่เปนวีรบุรุษทั้งกูชาติและปราบปราม บานเมืองอื่นเอาไวในอำนาจและสรางเมืองไทยเปนมหาอาณาจักรของ ภูมิภาค มีความรุงเรืองจากสมัยอยุธยาถึงกรุงเทพฯ ไทยเปนใหญที่สุด ในสุวรรณภูมิ มีเขมร ลาว มอญ ญวน มลายู เปนเมืองขึ้น

ó๓


»ปÕี ·ท∙Õี ่ ñ๑ ÷๗

©ฉ ºบÑั ºบ ·ท∙Õี่ ù๙ ø๘

ถนนทางขึ้นสูปราสาทพระวิหารทางฝงกัมพูชา ถายเมื่อเดือนธันวาคม ๒๕๕๓

P ไทยสมัยรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม ประกาศสงครามกับ ฝายพันธมิตร และเมื่อกองทัพญี่ปุนยึดไดดินแดนประเทศราชที่ ฝรั่งเศสยึดครองไปแตครั้งรัชกาลที่ ๕ ทางไทยก็ไดกลับคืนมา แต P แตหลังจากที่ญี่ปุนแพสงครามและไทยเปนฝายแพดวยก็ตอง คืนดินแดนที่ยึดกลับคืนมาใหกับทางฝรั่งเศส ซึ่งในสมัยตอมา บรรดาประเทศราชเหลานั้นก็เรียกรองเอกราชไดสำเร็จ โดยเฉพาะ เขมร ภายใตการนำของพระเจาสีหนุ ซึ่งคนไทยทั่วไปก็แซซองยินดี และชื่นชมสมเด็จเจาสีหนุเพราะเกลียดชังฝรั่งเศสเปนทุนเดิม P แตความเปนเชื้อชาตินิยมในสมัยรัฐบาลจอมพล ป.พิบูลสงคราม ก็ไมไดเพนพานออกไปนอกเขตประเทศไปยังเพื่อนบาน เทาใด หากเปนเรื่องภายในประเทศที่มีผูนำคือนายกรัฐมนตรีเปน ศู น ย ก ลางในลั ก ษณะลดความสำคั ญ ของพระมหากษั ต ริ ย  แ ละ สถาบัน และการสรางเอกลักษณทางวัฒนธรรมของความเปน คนไทยเหนือชนกลุมนอยและกลุมชาติพันธุอื่นๆ ในประเทศไทย เปนสำคัญ เชน การออกกฎเกณฑและกฎหมายเกี่ยวกับการ แตงกายของประชาชน ขาราชการ การใหเลิกกินหมาก การบังคับ ใหคนสวมหมวกเปนตน รวมทั้งการสงวนอาชีพบางอยางเชน ถีบสามลอใหกับคนไทยเปนตน P แต ป  ญ หาที ่ ม ี ผ ลของความรุ น แรงทางสั ง คมและการเมื อ ง ที่สำคัญในลัทธิชาตินิยมของรัฐบาลจอมพล ป. ก็คือ การไป เปลี ่ ย นแปลงประเพณี ว ั ฒ นธรรมของคนมุ ส ลิ ม ในสามจั ง หวั ด ภาคใตซึ่งจะไมกลาวในที่นี้ แตหลังสมัยรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม แล ว ความเปนเชื้อชาตินิยมและชาตินิยมสมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม ก็คอยๆ หายไป P รัฐบาลตอมาที่นำโดยจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต หันมาให ความสนใจกั บ การพั ฒ นาเศรษฐกิ จ การเมื อ งเพื ่ อ เปลี ่ ย น ประเทศจากสั ง คมเกษตรกรรมให เ ป น สั ง คมอุ ต สาหกรรม จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต ยุบกระทรวงวัฒนธรรมที่เปนกลไก สำคั ญ ในการสร า งวั ฒ นธรรมชาติ น ิ ย มมาเป น กระทรวง พัฒนาการแหงชาติ ที่ตอมาคือสภาพัฒนาการเศรษฐกิจแหงชาติ ô๔

P รัฐบาลจอมพลสฤษดิ์ไมสนใจสังคมและวัฒนธรรม หากมุง พัฒนาที่ประเทศทางเศรษฐกิจและการเมือง มีการสงคนรุนใหมที่ เปนขาราชการและนักศึกษาไปเรียนตอที่อเมริกา อังกฤษ ฝรั่งเศส และประเทศแนวหนาทางตะวันตก จนทำใหคนรุนใหมที่เขามาเปน ขาราชการ นักวิชาการ และผูประกอบอาชีพในดานตางๆ ที่ สวนใหญเปนชนชั้นกลาง ขาดความเขาใจและขาดการสนใจใน เรื่องชาตินิยมโดยสิ้นเชิง P คนรุนใหมเหลานี้ไมสนใจอดีตและรากเหงา โดยเฉพาะ ความรูทางประวัติศาสตรและวัฒนธรรม คนรุนใหมไมรูจัก ชาตินิยมแตกลายเปนตางชาตินิยมแทน โดยเฉพาะอเมริกันนิยม [Americanization] แบบขึ้นสมอง และอเมริกันก็เลย ลางสมองคนรุนใหมในสังคมแทบทุกระดับ คำวาประชาธิปไตย และเศรษฐกิจทุนนิยมเสรี เมื่อถึงเวลานี้เวลารวมกึ่งศตวรรษ คน ไทยที่เขาสูยุคโลกาภิวัตนที่ทุกคนมุงแตเพียงโลกภูมิ [Global] อยางสุดตัว P ในทุกวันนี้ คำวา ชาตินิยม ที่เปนเรื่องของชาติบานเมืองได ถูกฝงดินใหจมไปนานแลว คนรุนใหมในสังคมลวนมองเห็นแต โลกไรพรมแดนที่ขวักไขวไปดวยธุรกิจการเมืองขามชาติ P คนไทยในทุ ก วั น นี ้ โ ดยเฉพาะชนชั ้ น นำป ญ ญาชนและนั ก วิชาการแทบไมมีความรูสึกในเรื่อง ชาตินิยม [Nationalism] หาก มีแตเรื่องตางชาตินิยม โดยเฉพาะอเมริกันนิยมเขามาแทนที่ แถม ยังขาดสำนึกในเรื่อง แผนดินเกิด [Patriotism] ซึ่งเปนสำนึก สากลของความเป น มนุ ษ ย ม าแต ส มั ย ก อ นประวั ต ิ ศ าสตร ดึกดำบรรพ เพราะเกิดความกระหายในเรื่องโลกไมมีพรมแดนที่ มหาอำนาจตะวันตกครอบงำเอา P แตความรูสึกในเรื่องรักชาติบานเมืองแผนดินเกิดนี้ยังคงอยู ในบรรดาผูคนบางหมู บางคณะ บางพื้นที่ และทองถิ่น ที่จะมีการ เคลื่อนไหวออกมาตอตานเหตุการณหรือขบวนการใดๆ ที่คุกคาม ความมั่นคงทางสังคมและวัฒนธรรมของประเทศชาติ P เมื่อใดก็ตามที่มีการขัดแยงขึ้นกับฝายที่แสดงออกถึงความ ไมรักประเทศชาติบานเมืองก็จะเกิดการกลาวหา [Accusation] โดยพวกโลกไรพรมแดนจะเปนผูกลาวหาวาฝายตรงขามเปนพวก ชาตินิยม และที่รุนแรงก็คือ “คลั่งชาติ” ในขณะที่ฝายตรงขามก็ กลาวหาวาเปนพวกตางชาตินิยม และที่ดูรุนแรงก็คือ “ขายชาติ” P การกลาวหาระหวางกันดังกลาวมีขึ้นบอยๆ ในคนไทยกลุม หนึ่งในภาคประชาสังคม [civil society] ถาเมื่อใดที่มีความขัดแยง กันขึ้นในกรณีการขึ้นทะเบียนมรดกโลกเขาพระวิหารของคณะ กรรมการมรดกโลกที่เปนหนวยงานยอยขององคการ UNESCO ก็ใหเอกสิทธิ์ของแหลงมรดกโลกแกทางกัมพูชาฝายเดียว P

เหตุ ท ี ่ ส ร า งความขั ด แย ง ที ่ ส ำคั ญ ก็ ค ื อ การที ่ จ ะเป น แหล ง ¨จ´ดËหÁมÒาÂย¢ข่ÒาÇวÁมÙูÅล¹นÔิ¸ธàเÔิ Åล¡ก ็ -»ปÃรÐะäไ¾พ ÇวÔิÃรÂย Ôิ Ðะ¾พÑั¹น¸ธØุ ์


àเ Áม Éษ Òา Âย ¹น - ÁมÔิ ¶ถØุ ¹น Òา Âย ¹น ò๒ õ๕ õ๕ ö๖

มรดกโลกพระวิหารนั้นตองประกอบดวยตัวปราสาท [Temple] กับพื้นที่โดยรอบที่เปนพื้นที่จัดการและพื้นที่เกี่ยวเนื่องในทาง วัฒนธรรม ทั้งสองพื้นที่นี้เมื่อรวมกันแลวจึงจะเปนแหลงมรดก โลก [Site] ได และทุกฝายดูจะยอมรับวาตัวปราสาท [Temple] ตกเปนกรรมสิทธิ์ของกัมพูชาตามการตัดสินขอพิพาทใน พ.ศ. ๒๕๐๕ ไมมีผูใดคัดคานเทาใด แตพื้นที่จัดการและเกี่ยวเนื่อง เปนพื้นที่เขตอำนาจอธิปไตยของไทยที่ทางศาลโลกไมไดตัดสิน และทางไทยยึดครองเรื่อยมาตั้งแต พ.ศ. ๒๕๐๕ P พอมามี ก ารขึ ้ น ทะเบี ย นแหล ง มรดกโลกให แ ก ก ั ม พู ช าแต ฝายเดียวโดยคณะกรรมการมรดกโลก จึงสรางความขัดแยงใน เรื่องเขตแดนขึ้น โดยทางกัมพูชานำคดีความไปขึ้นศาลโลกเพื่อ ตีความการตัดสินใน พ.ศ. ๒๕๐๕ อีกวาระหนึ่ง จึงเกิดความ ขัดแยงระหวางคนไทยดวยกันเองคือ P

กลุมนักวิชาการและนักการเมืองที่เห็นวาโลกไรพรมแดน

U และกลุมคนในภาคสังคมที่รักชาติภูมิ [Patriotism] ไมยอม ใหเสียพื้นที่ในอำนาจอธิปไตยของประเทศชาติ P นักวิชาการและนักการเมืองกลุมนี้มักออกมาโตแยงและเขา ขางทางฝายกัมพูชา และใชคำกลาวหาอยางบอยๆ และซ้ำซากวา ฝายที่ตอตานกัมพูชานั้นเปน ชาตินิยมและคลั่งชาติ ในลักษณะ ปลุกระดมใหคนที่ไมรูเรื่องเขาใจผิด P จึงเกิดสงสัยและวิพากษวิจารณกันเปนประจำจากหนาขาว หนังสือพิมพและวิทยุวา มีนักวิชาการบางคนเขาไปรับจางรัฐบาล คอยแกตางใหกับฝายรัฐบาลในดานประวัติศาสตรผานมาถึงสอง รัฐบาลแลวคือ พรรคประชาธิปตยและพรรคเพื่อไทย P

ทุกครั้งก็ออกมาอางเหตุผลแบบเดิมๆ และซ้ำซากวา

P ปราสาทพระวิหารและพื้นที่โดยรอบเปนของกัมพูชาตามการ ตัดสินทางศาลโลก อีกทั้งเอาเรื่องราวประวัติศาสตรแบบไมมีหัว และหางที่นักประวัติศาสตรโบราณคดีฝรั่งเศสสมัยอาณานิคมมา อางและยืนยันใหคนในปจจุบันยอมรับ P ดังเชนปราสาทพระวิหารเปนของเขมร เพราะกษัตริยในสมัย เมืองพระนครมีอำนาจเหนือดินแดนที่ราบสูงโคราช และสรางไว เพื่อแสดงเดชานุภาพ ประชาชนที่อยูในเขตเขาพระวิหารก็เปนคน ชาติพันธุเขมร ทุกอยางยิ่งตองเปนของเขมร จึงไมสมควรที่จะ โตแยงอันใด เพราะประวัติศาสตรตอนนี้เปนความจริงที่ควรจะ ทองจำเสียดวยซ้ำ P ขาพเจาคิดวานักประวัติศาสตรแบบนี้เปนพวกที่ผูกขาดแบบ ไมมีหัวและหาง เพราะผูกขาดวาเรื่องราวประวัติศาสตรที่คนออก มาอางนั้นเปนความแทจริงไมตองวิพากษหรือคิดแยง หรือถาจะ

¨จ´ดËหÁมÒาÂย¢ข่ÒาÇวÁมÙูÅล¹นÔิ¸ธÔิàเÅล็¡ก-»ปÃรÐะäไ¾พ ÇวÔิÃรÔิÂยÐะ¾พÑั¹น¸ธØุ์

ทำการคนควาเพิ่มเติมก็ควรทำอะไรที่มายืนยันประกอบใหเห็นวา เปนเรื่องจริงมากขึ้น P ขาพเจาไมไดเลาเรียนมาแบบนักประวัติศาสตรอาชีพที่เปน ดอกเตอร ด อกตี น อะไรทำนองนั ้ น แต เ ป น นั ก ศึ ก ษาทาง มานุษยวิทยาโบราณคดีที่เห็นวา ปราสาทพระวิหารและพื้นที่ เกี่ยวของเปนพื้นที่อยูบนที่ราบสูงในดินแดนประเทศไทยปจจุบัน แตในอดีตสรางขึ้นเพื่อชีวิตวัฒนธรรมของพื้นเมืองที่อยูในบริเวณ นั้น หาไดมีอยูเพียงแตปราสาทที่อยูตรงปลายชะงอนผาที่เมื่อเวลา ฝนตกลงมาก็ไหลลงลาดเขาในเขตประเทศไทย หามีสันปนน้ำที่ แบงลงที่ลาดทางฝงเขมรไม เพราะมีแตผาชันที่เรียกวา เหว P ปราสาทอยูในพื้นที่ศักดิ์สิทธิ์ มีทางเดินและซุมประตูที่เรียก วาโคปุระจากระดับสูงลงระดับต่ำไปจรดสะพานนาคราชที่ทอดยาว ไปจรดขอบที่สูง โดยกึ่งกลางของสะพานมีทางแยกไปสูบริเวณ บันไดหักที่เปนทางขึ้นมาจากพื้นที่เขมรต่ำซึ่งอยูทางตะวันออก แตปลายสะพานที่มีนาคหัวโลนเจ็ดเศียรขนาบคูนั้นหันหนาลงทิศ เหนือ มีขั้นบันไดลงสูฐานสิงหคูกอนที่จะลงสูเสนทางผานลำตราว ไปลงสระตราวอั น เป น สระบารายหรื อ อ า งเก็ บ น้ ำ ศั ก ดิ ์ ส ิ ท ธิ ์ ซ ึ ่ ง สัมพันธกับปราสาทพระวิหาร P พื้นที่โดยรอบสระตราวเปนที่ราบกวาง มีทั้งแหลงตัดหิน ธารน้ำ รองน้ำ และรองรอยของโบราณวัตถุที่แสดงวาเปนแหลง ที่อยูอาศัยที่เปนชุมชน P ความเกี่ยวดองกับระหวางปราสาทกับสระตราวดังกลาวนี้ สะท อ นให ถ ึ ง ความเป น เมื อ งหาใช ม ี แ ต เ พี ย งศาสนสถานที ่ เ ป น ปราสาทอยางเดียวไม ปราสาทพระวิหารจึงเปนสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ สำหรับผูคนของบานเมืองที่อยูในบริเวณนี้ P เพราะฉะนั้นในการกำหนดแหลงมรดกโลกปราสาทพระวิหาร นั้นคงจะตองเกี่ยวรวมมาถึงบริเวณสระตราวและบริเวณโดยรอบ ดวยในลักษณะบูรณาการที่เรียกวา “เมืองพระวิหาร” ที่เปนเมือง อยูระหวางพรมแดนที่อยูระหวางบานเมืองบนที่ราบสูงกับที่ราบต่ำ ที่ตองมีความสัมพันธทางสังคม เศรษฐกิจ และวัฒนธรรม ไปมา หาสูแลกเปลี่ยนสินคาสิ่งของระหวางกัน P เมืองพระวิหารมีลักษณะทางภูมิศาสตรแสดงใหเห็นวา เปน เมืองใหญเมืองสำคัญของชนเผาพันธุที่พูดภาษามอญ-เขมรกลุม หนึ่งที่อยูในบริเวณนี้มาแตสมัยกอนประวัติศาสตรและสมัยกอน เมืองพระนครแลว โดยเปนบานเมืองที่มีอิสระในตัวเอง แตมีความ สัมพันธทางสังคม เศรษฐกิจ กับเมืองอื่นๆ ทั้งที่อยูบนที่ราบสูง และที่ราบต่ำในเขตกัมพูชา P ปราสาทพระวิ ห ารสร า งขึ ้ น เป น ศาสนสถานศั ก ดิ ์ ส ิ ท ธิ ์ ใ น ลัทธิศาสนาฮินดูที่พระมหากษัตริยกัมพูชาสมัยเมืองพระนคร ทรงเปนอัครศาสนูปถัมภก บริเวณชะงอนเขาที่ตั้งของปราสาท õ๕


Éษ Òา Âย©ฉ¹นºบÑั -ºบ ·ท∙ÕีÁม่ Ôิ ¶ถù๙Øุ ¹นø๘Òา Âย ¹น »ปÕี ·ท∙Õี ่ àเñ๑Áม÷๗

ò๒ õ๕ õ๕ ö๖

คื อ แหล ง ศั ก ดิ ์ ส ิ ท ธิ ์ ใ นระบบความเชื ่ อ ของคนท อ งถิ ่ น ที ่ ต  อ งมา สักการะและทำพิธีกรรมโดยเฉพาะในพิธีเปลี่ยนผานสำหรับผูคน ที่จะขึ้นมาบนที่ราบสูงและลงสูที่ราบต่ำซึ่งกษัตริยขอมสมัยเมือง พระนครสรางถวายสิ่งศักดิ์สิทธิ์ในรูปแบบของลัทธิศาสนาฮินดู [Hindunization] โดยเปลี่ยนชื่อใหเปน “ศรีศิขเรศวร”ในรูปแบบ การใชศิวลึงคเปนสัญลักษณ U หาใชการตีความแบบภาษาของนักลาอาณานิคมฝรั่งเศสที่ บอกว า เป น การแสดงอำนาจทางการเมื อ งเหนื อ ดิ น แดนในเขต ประเทศไทยไม และอยางที่นักประวัติศาสตรที่เปนมือปนรับจาง รัฐบาลและเขมรตีความไม P เพราะการเปนแหลงศักดิ์สิทธิ์คูกับชุมชนบนทางผานเชนนี้ยังมี พอใหเปรียบเทียบ เชน ปราสาทตาเมือนธมที่กำลังจะเปนขอพิพาท ตอจากปราสาทพระวิหาร เปนปราสาทที่อยูในเขตสันปนน้ำที่ ปจจุบันคนทั้งฝงเขมรและฝงไทยตางมาไหวผีที่เปนสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่ ปราสาทเหมือนกัน แตไมไดมาไหวศิวลึงคซึ่งสรางขึ้นแตสมัยเมือง พระนคร อันเปนประวัติศาสตรที่ตายแลว [Deadwood history] ควบคูไปกับการมาทำพิธีกรรมไหวผีรวมกัน พื้นที่ใกลกับปราสาท ก็เปนแหลงตลาดแลกเปลี่ยนสินคาซื้อขายระหวางกันเชนเคยมีมา แตอดีต ในรูปแบบประวัติศาสตรสังคมของคนในพื้นที่ทองถิ่นที่ เปนประวัติศาสตรที่มีชีวิต

!

ทั้งหมดที่กลาวมานี้คือการศึกษาและตีความประวัติศาสตรใน แง ม ุ ม และกระบวนการศึ ก ษาทางมานุ ษ ยวิ ท ยาของข า พเจ า ใน ลักษณะที่เปนจุลภาค คือในระดับทองถิ่นที่แลเห็นทั้งหัว คือการ เริ่มตน สวนกลาง และสวนหางที่มีลักษณะตอเนื่อง แตมักถูก กลาวหาจากบรรดานักประวัติศาสตรที่เปนมือปนรับจางวาเปน แบบชาตินิยมและคลั่งชาติ P ดังนั้นขาพเจาก็จะกลาวหาบางวานักวิชาการมือปนรับจาง เหลานั้นเปนพวก “ตางชาตินิยม” ขายชาติและขามขาติบาง U เพราะคนเหลานี้ดีแตอางฝรั่ง อางประวัติศาสตรสมัยเมือง พระนครที่ตายแลวเชนเดียวกับพวกฝรั่งเศสปลุกผีขึ้นมาสรางความ

¤คÇวÒาÁมËหÅลÒา¡กËหÅลÒาÂย·ท∙Òา§ง ÊสÑั§ง¤คÁมáแÅลÐะÇวÑั²ฒ¹น¸ธÃรÃรÁม ข อ สั ง เกตจากการไปฟ ง เสวนาเรื ่ อ ง "ตามรอยสมเด็ จ เจ า ฟ า อุ ท ุ ม พร ในอมรปุระ เมีย นมาร"

เปนชาตินิยมใหกับคนเขมร เปนประวัติศาสตรที่ตายแลว เพราะไม เห็นที่มาในตอนตนและตอนปลาย เอาแตตอนกลางสมัยเมือง พระนครที่เห็นแตความยิ่งใหญของกษัตริยวรมันที่ฝรั่งเศสสรางขึ้น P และไมเคยใหความเปนธรรมกับประวัติศาสตรสมัยหลังเมือง พระนครลงมาจนถึงสมัยอยุธยาและกรุงเทพฯ ที่กษัตริยไทยและ อาณาจั ก รสยามเคยครอบครองกั ม พู ช าและดิ น แดนในฐานะ ประเทศราช หรือแมแตยุคประวัติศาสตรเชื้อชาตินิยมสมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม ก็ยังถือวาไทยเคยมีสิทธิ์เหนือดินแดนพระวิหาร และเสียมเรียบมากอน

!

แต ส ิ ่ ง ที ่ น  า สมเพชสำหรั บ การขายชาติ ข ายแผ น ดิ น ของนั ก ประวัติศาสตรมือปนรับจางใหเขมรที่อยากจะทิ้งทายไวในที่นี้ก็คือ P นักประวัติศาสตรกลุมนั้นเขาไปในแดนเขมร อาสาเขมรขึ้น ไปบนปราสาทพระวิหารจากทางฝงเขมร นั่งรถผานหุบผานเหว สองขางทางขึ้นไป แลวบอกวาปราสาทพระวิหารนั้นแทจริงหันหนา ลงเขมรต่ำมาทางตะวันออกตามทางบันไดหักที่เปนของโบราณและ ที่สมเด็จเจาสีหนุเคยเสด็จปนขึ้นไป P เพราะตรงขางลางในเขตเขมรมีหมูบานหนึ่งที่ชื่อวา โกมึน ซึ่ง แปลกลับไปตามความหมายเดิมวา โคปุระ คือซุมประตูชั้นที่ ๑ แลวชักแมน้ำทั้งมหาสมุทรมาอธิบายใหเห็นจริง P ขาพเจาคิดวาเรื่องการตีความเชิงประวัติศาสตรขายชาติที่วา ปราสาทพระวิหารหันหนาลงเขมรทางบันไดหักนี้เปนการคนพบที่ มหัศจรรยเปนอยางยิ่ง ถาหากนักโบราณคดีฝรั่งเศสยุ​ุคอาณานิคม เชน เซเดส, โกลิเยอร หรือบวสเซอริเยร ไดรับรูแลวคงอายแทบมุด แผนดินหนีก็ได P ส ว นข า พเจ า ในฐานะนั ก มานุ ษ ยวิ ท ยาที ่ เ คยเล า เรี ย นมา เกี่ยวกับการใชชื่อสถานที่และถอยคำในความหมายทางชาติพันธุ เทียบเคียงกับชื่อและคำในอดีตที่หางไกลทางโบราณคดี เชนการ เทียบชื่อ บานโกมึน เขากับ โคปุระ ก็คงอับอายอยางไมนอยหนา นักโบราณคดีฝรั่งเศสทีเดียว

P เรื่องเลาจากวงเสวนาเนื่องในงานสถาปนิก’๕๖ จัดโดย สมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ เมื่อวันเสารที่ ๔ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ ผูรวมเสวนาคือ คุณวิจิตร ชินาลัย ผูอำนวยการโครงการ Thailand Design Consortium Co., Ltd. คุณมิคกี้ ฮารท สถาปนิก-นักประวัติศาสตร คุณปองขวัญ (สุขวัฒนา) ลาซูส อุปนายกสมาคมสถาปนิกสยามฯ เปนผูดำเนิน รายการP P

กรณีเรื่องสถูปเจาฟาอุทุมพรที่ชานเมืองอมรปุระ ผูเขียน

ÇวÅลÑัÂยÅลÑั¡กÉษ³ณ์ ·ท∙Ãร§งÈศÔิÃรÔิ ö๖

¨จ´ดËหÁมÒาÂย¢ข่ÒาÇวÁมÙูÅล¹นÔิ¸ธàเÔิ Åล¡ก ็ -»ปÃรÐะäไ¾พ ÇวÔิÃรÂย Ôิ Ðะ¾พÑั¹น¸ธØุ ์


àเ Áม Éษ Òา Âย ¹น - ÁมÔิ ¶ถØุ ¹น Òา Âย ¹น ò๒ õ๕ õ๕ ö๖

สถูปที่สันนิษฐานมาแตเบื้องตนวาเปน สถูปที่บรรจุพระบรมอัฐิของพระเจาอุทุมพร ชานเมืองอมรปุระ ภาพกอนการขุดแตงไมนานนัก

แผนผังโดยรวมเมื่อปรับพื้นที่ หมายเลข ๑๔ คือสถูปองคเดิม สวนหมายเลข ๓ คือเจดียที่พบ ตะลุมพานใสอัฐิที่พบใหม

เคยเขียนเรื่องนี้ใน จดหมายขาวมูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ ฉบับที่ ๙๖ (ตุลาคม-ธันวาคม ๒๕๕๕) กอนที่จะมีการไปขุดคนที่ อมรปุระโดยคณะอาสาสมัครฯ ราวเดือนหรือสองเดือน P โดยสรุปก็คือมีโอกาสอยางมากที่บริเวณนี้จะเปนสถานที่ถวาย พระเพลิงพระบรมศพฯ ทั้งจากประวัติศาสตรบอกเลาและขอมูล แวดล อ มที ่ เ ป น เรื ่ อ งน า สนใจซึ ่ ง มาจากการบอกเล า หรื อ ข อ มู ล มุขปาฐะจากลูกหลานที่ถือวาตนเองคือเชื้อสายชาวโยดะยาที่รวม ทั้งประเพณี พิธีกรรม และโบราณสถานบางสวน แตจะบงบอกวา สถูปองคใดคือสถูปของเจาฟาอุทุมพรคงยาก จนถึงอาจจะเปนไป ไมไดเลยที่จะบงบอก แตการจัดการเพื่อเปนสถานที่เพื่อเปน อนุสรณสถานไมวาจะมีอยูจริงหรือไมก็ควรทำ กรณีการบูรณะ โบราณสถานที่เกาะเมืองอยุธยานั้นยังไมสามารถจัดการพื้นที่และ ใหความหมายกับเจดียสักองคไดเลย การบูรณะหรืออนุรักษโดย แสดงขอมูลการศึกษาอยางชัดเจนก็นาจะสรางความรูและความ เข า ใจตลอดจนความสั ม พั น ธ ใ นระหว า งรั ฐ ยุ ค ใหม ท ุ ก วั น นี ้ ไ ด มากกวาอยูกันเฉยๆ แตกรณีนี้นักโบราณคดีไทยสวนใหญไมคอย เชื่อเพราะ P ๑. มีขอมูลนอยมากเรื่องพระเจาอุทุมพรเมื่อไปพมา โดย เฉพาะเรื ่ อ งคำให ก ารขุ น หลวงวั ด ประดู  ท รงธรรมที ่ ค าดว า ได ตนฉบับที่แปลเปนภาษามอญไปแลวอีกทีกอนแปลเปนไทย แถม ขอมูลอื่นๆ ที่มีก็กลาวถึงการไปอยูเมืองสะกายนมากกวาอมรปุระ ดวย สวนเอกสารที่แปลจากภาษาพมาโบราณ กลาวถึงการถวาย พระเพลิ ง พระบรมศพก็ ไ ปเขี ย นถึ ง เจ า ฟ า เอกทั ศ น ไ ม ใ ช เ จ า ฟ า ดอกเดื่อ นักประวัติศาสตรและโบราณคดีไทยเลยยังคลางแคลงใจ ที่จะเชื่อถือเสียทั้งหมด จนถึงไมนำขอมูลสวนนี้มาใชเลย P ๒. ไมเชื่อถือคุณหมอทิน เมือง จี เพราะคิดวาไมรูภาษาไทย และชอบผูกเรื่องเองสูง โดยมีประเด็นซอนเรน เชน ความตองการ ใหคนไทยไปเที่ยวกันมากๆ เปนตน เมื่อมีโอกาสมารูจักคุณหมอ เห็นวาเปนคนที่ตื่นเตนเปนธรรมดาเวลาเจอเรื่องที่นาสนใจและ ¨จ´ดËหÁมÒาÂย¢ข่ÒาÇวÁมÙูÅล¹นÔิ¸ธÔิàเÅล็¡ก-»ปÃรÐะäไ¾พ ÇวÔิÃรÔิÂยÐะ¾พÑั¹น¸ธØุ์

ตะลุมพานมีฝาปด ประดับดวยกระจกจืนสีเขียวดานนอก นาจะเปนของบุคคลชั้นสูงซึ่งทางคณะทางฝงไทยและพมาลงความเห็นวา ควรจะเปน “บาตรมรกต” ที่บรรจุพระบรมอัฐิของพระเจาอุทุมพร

ฝกใฝในการแสวงหาความรู แมวาจะอายุเจ็ดสิบกวาปก็ตาม การ ผูกเรื่องใหเชื่อมโยงกันมีเปนธรรมดาของนักวิชาการที่ขามสาขา แต ก็เปนคนรับฟงเวลาเห็นขอมูลใหมๆ ไมเขาขางตัวเองแบบที่วา คุณ หมอมีขอมูลนาสนใจในทาง Ethnography อยูมาก โดยเฉพาะการ เปนลูกหลานของครอบครัวโขนละครจากโยดะยาหรืออยุธยา และ ยังสนใจในดนตรีและนาฏศิลป งานของคุณหมอมาถูกทางหลาย เรื่อง งานจะนาสนใจมากถามีการปรับเติมและคนควาเพิ่มเติม แตก็ ยั ง อยู  ใ นสภาพแวดล อ มที ่ ย ั ง ไม ส ามารถทำได โ ดยสะดวกนั ก จากสถานการณทางการเมืองที่ผานมา P ๓. สำหรับการศึกษาทางโบราณคดี ถาเนนดูเรื่องอิฐ เรื่อง ขนาด ความหนา ความยาว และเรื่องรูปแบบเจดียคงงงมากถา ใชวิธีนี้ บางทานเห็นวาเอารูปแบบเจดียแบบเมืองไทยไปเปรียบ เทียบอีก ซึ่งนาจะอยูตางพื้นที่ตางวัฒนธรรม ซึ่งคุณมิคกี้ ฮารท ก็พยายามทำอะไรแบบนี้เหมือนกัน แตอยูในบริบทของโบราณ สถานในเมืองอมรปุระ ฟงจากวงพูดคุยคาดวานักโบราณคดีพมาก็ มาทำนองนี้ ดังนั้นการจะไปเห็นดวยวาเจดียที่พบใหมและพบ โบราณวั ต ถุ ส ำคั ญ คื อ สถู ป พระเจ า อุ ท ุ ม พรอย า งเต็ ม ที ่ ค งไม ใ ช เรื่อง จึงเลี่ยงไปพูดเสียวาการพบภาชนะบรรจุอัฐิของบุคคลชั้น สูงในเจดียองคหนึ่ง แตไมมีอะไรบงบอกวา "ใช" อยางแนนอน เพราะอาจจะเปนเจานายในวงศอื่นๆ ก็ได P ๔. วิธีที่ทางหัวหนากลุมศึกษาและอาสาสมัครฯ บอกวาจะนำ ชิ้นสวนกระดูกอัฐิไปพิสูจนทางวิทยาศาสตร เชน ตรวจดีเอ็นเอ เพื่อสืบเชื้อสายโดยหากลุมตัวอยางจากคนที่วาเขาเปนเชื้อสายและ อพยพไปอยูอเมริกา หรือหาคนที่อยูอมรปุระหลายชั่วคนไมยายไป ไหน หรือคนอยุธยาที่เกาะเมืองอยุธยา นาจะเปนเรื่องที่ยากยิ่งกวา งมเข็มในมหาสมุทรที่จะคนพบ P ๕. มาถึงหลักฐานสำคัญที่ทำใหชาวคณะภาคภูมิ เพราะดูจะ มีเปาประสงคในใจอยูแลววา นี่คือการคนหาหลักฐานของพระเจา อุทุมพร กอนกลับไดคนพบภาชนะที่ทางกลุมเรียกวา “บาตร” มี ÷๗


»ปÕี ·ท∙Õี ่ ñ๑ ÷๗

©ฉ ºบÑั ºบ ·ท∙Õี่ ù๙ ø๘

ฝาปด แมอาจสันนิษฐานวาเปนภาชนะอื่นๆ ไดเชนกัน ในวงเสวนา บอกกันวาทางคณะพมาเชื่อสนิทใจรอยเปอรเซ็นต เพราะเชื่อวาเปน รูปแบบภาชนะสำหรับคนสำคัญ เปนของพระราชทานแนนอน ตรง นี้เปนประเด็นสำคัญ คนทางฝงพมารวมทั้งนักวิชาการตางๆ คง ตองคนหาขอมูลมาเพิ่มใหมีความชัดเจน ซึ่งคิดวาไมนายาก เพราะ คนทาง พมานั้นนิยมการบันทึกอยูมาก ถึงแมระบบกษัตริยจะสิ้น ไปแลวก็ตาม ภาชนะแบบนี้เปนบาตรหรือไมในวัฒนธรรมพมาก็ไม นายาก การหาขอมูลและศึกษากอนสรุปนาจะดีกวา

แมน้ำโขง คนมอญ คนมลายูที่กลายมาเปนสวนหนึ่งของบานเมือง สยามในปจจุบัน โดยเฉพาะในเขตที่ราบลุมภาคกลาง

P ๖. เปาหมายในใจของทั้งสองฝงเปนเรื่องสำคัญ ฝายคณะไทย ไมตองพูดถึง เพราะเรื่องแบบนี้จะออกแนวซาบซึ้งไดงายมาก (ประเด็ น เรื ่ อ งการพลั ด พรากจากบ า นเกิ ด เมื อ งนอนเป น เรื ่ อ ง สะเทือนใจในสังคมแบบพุทธศาสนาเสมอ) และพรอมจะปฏิบัติการ เพื่อทำใหตรงนี้เปนอนุสรณสถานอยูแลว ฝงพมาเมื่อนโยบาย ทางการเมืองเปลี่ยนทุกวันนี้ ในวงเสวนากลาววาขาราชการของ เมืองมัณฑะเลยวิ่งเขาไปที่เมืองหลวงใหมเนปดอวบอยๆ จากที่ให ขุดเฉยๆ มาเปนใหปรับปรุงสุสานทั้งหมดของพื้นที่เลย แลวบูรณะ เปนแหลงทองเที่ยวอนุสรณสถานตามที่ทางฝงไทยอยากทำก็ควร ทำ นับเปนความชาญฉลาดของเจาของพื้นที่อยางชัดเจน บางทาน เห็นวาคลายๆ กับการอธิบายเรื่องวังของพระนางสุพรรณกัลยาใน พระราชวังวังบุเรงนองที่หงสาวดี

P แต ก ารสรุ ป แบบรวดเร็ ว อาจทำให ข  า วการค น พบครั ้ ง นี ้ ด ู เงียบๆ ไมคอยมีการเผยแพรละเอียดๆ หรือเปนขาวคราวที่ดังพอๆ กับขาวการจะเตรียมรื้อกลุมเจดียที่สุสานนี้ สวนสุสานลานชางชื่อก็ บอกแลววาอาจจะเกี่ยวโยงถึงผูคนในกลุมลาว สถูปที่คุณหมอ ทิน เมือง จี คาดวาจะเปนของเจาฟาดอกเดื่อ ทีมคณะไทยไมพบ หลักฐานและเห็นวาไมนาจะมีประเด็นแตอยางใด ทั้งที่เห็นชัดเจนวา มีอิทธิพลของสถูปแบบ "บัว" ซึ่งนิยมทำสำหรับพระผูใหญ เชนที่ สถูปพระครูหลวงโพนสะเม็กที่จำปาสักอาจจะไมสามารถจัดกลุม เขาพวกไดจึงไมไดกลาวถึงอีกแตอยางใด

P ๗. สรุปวาคณะฝงไทย (หรือรัฐบาลไทย) ตองกลับไปบูรณะ ปรับแตง ฯลฯ ซึ่งก็ขึ้นกับระดับผูนำในรัฐแลว ในความคิดเห็น สวน ตัวของผูเขียนเห็นวา ยังมีความรูเรื่องคนสยามหรือคนโยดะยาในเขต Upper Myanma ทั้งสองฝงแมน้ำอิรวดีไปจนถึงแมน้ำชินดวินอีกมาก ที่สามารถอธิบายเรื่องราวของคนสยามที่ถูกกวาดตอนไปในคราว สงครามกับพมาครั้งตางๆ ก็คงเชนเดียวกับผูคนจากทางฝงขวาของ

P ในเวทีเสวนา คุณมิคกี้ ฮารท ก็ยังเลาถึงขอมูลผูสูงอายุที่ยังจำ ไดวามีการเรียกเจดียที่นี่วา “เจดียอุทุม” รวมทั้งขอมูลจาก คุณหมอทิน เมือง จี ในการคนพบเริ่มแรกก็มาจากประวัติศาสตร บอกเลาเสียทั้งนั้น จึงตองอาศัยการทำงานเก็บรายละเอียดทางดาน Ethnography และประวัติศาสตรแบบมุขปาฐะก็นาจะพอเห็น รองรอยตางๆ ได

P การเผยแพร ข  อ มู ล ในวงเสวนานี ้ จ ึ ง อาจจะไม ใ ช ง านศึ ก ษา อยางละเอียดนัก แตเปนการทำงานกึ่งกูภัยรักษาโบราณสถาน มากกวา [Salvage Archeology] สิ่งเหลานี้มักเกิดขึ้นในโลกสมัย ใหมที่ครอบงำไปดวยประเด็นของกิจกรรมและอุตสาหกรรมเพื่อ การ ทองเที่ยว U จึ ง น า ใส ใ จกั น ว า จะมี ก ารศึ ก ษาเรื ่ อ งคนสยามหรื อ คนโยดะยาในพมากันตอหรือไม อยางใด หลังจากจัดการ พื้นที่เพื่อเปนอนุสรณสถานกันไปไดแลว

อายุจะมีจำนวนมาก ขณะที่ประชากรวัยหนุมสาวเหลือนิดเดียวใน ถิ่นฐานบานเกิด

ºบÑั ¹น ·ท∙Öึ ¡ก ¨จÒา¡ก·ท∙้ Íอ §ง¶ถÔิ ่ ¹น สรางเด็กรัก ถิ่นกับอยูเมืองแกลงวิทยา ÊสØุ´ดÒาÃรÒา ÊสØุ¨จ©ฉÒาÂยÒา

M “ระบบการศึกษาไทยเปนเหมือนกับการตัดเสื้อฟรีไซซใหทุก คนใสเสื้อเหมือนกันหมด ฉะนั้นเมื่อจบระดับอุดมศึกษาไมเขา โรงงานก็ไปเขาภาคบริการ จะมีคานิยมอะไรก็ได เพราะการสอน ของบานเราก็คือสอนใหคนทิ้งบานทิ้งถิ่น จึงพบวาประชากรผูสูง

ø๘

U “เราไมไดบอกคุณตองกลับบาน แตเรามีปญหากับระบบการ ศึกษาในปจจุบัน เพราะการศึกษาไมทำใหคนใชถิ่นฐานบานเกิด เปนตัวเลือกในการใชชีวิต เราเริ่มคิดแลววาความยั่งยืนของเมือง อยูตรงไหน ถาเขาทิ้งบาน ผลสุดทายเกิดที่ดินรกรางวางเปลา เมื่อ มีนักลงทุนอื่นเขามา เขาไมเขาใจราก ไมเขาใจอะไรเลย คงทำอะไร ก็ไดที่ทำใหไดเงิน เราพบวาทองนาหลายที่ถูกเปลี่ยนเปนรีสอรต เปลี่ยนเปนโรงแรมมานรูดเปนการลงทุนที่ผิดฝาผิดตัว เราจึง อยากสรางโรงเรียน มีโรงเรียน มีการจัดหลักสูตรเองและสิ่งที่ จะประกาศความอหังการของเราก็คือชื่อโรงเรียน “อยูเมือง แกลงวิทยา” คนเรียนอยูในพื้นที่และตองจำชื่อบานเมืองของ เขาไปตลอดชีวิต ที่สำคัญไม ใ ช แ ค ม ี ช ี ว ิ ต อาศั ย อยู  เ มื อ งแกลง ¨จ´ดËหÁมÒาÂย¢ข่ÒาÇวÁมÙูÅล¹นÔิ¸ธàเÔิ Åล¡ก ็ -»ปÃรÐะäไ¾พ ÇวÔิÃรÂย Ôิ Ðะ¾พÑั¹น¸ธØุ ์


àเ Áม Éษ Òา Âย ¹น - ÁมÔิ ¶ถØุ ¹น Òา Âย ¹น ò๒ õ๕ õ๕ ö๖

เทานั้น แตเมืองแกลงไดใหชีวิตความเปนอยูกับตัวเขา รวมถึงรุน พอรุนแมดวยซ้ำ...” P สมชาย จริ ย เจริ ญ นายกเทศมนตรี เ ทศบาลตำบล เมืองแกลง จังหวัดระยอง กลาวอยางหนักแนนถึงความตั้งใจ และแนวคิดในนโยบายการศึกษาของเทศบาลตำบลเมืองแกลงที่ แม จ ะประสบอุปสรรคจากความไมเขาใจของสวนราชการ แต สำหรับประชาคมเมืองแกลงแลว นี่คือความเห็นรวมกันที่จะวาง รากฐานการพัฒนาบานเมืองของตนเองอยางยั่งยืน

กว า จะเป น อยู  เ มื อ งแกลงวิ ท ยา P การมีสวนรวมในการสรางบานสรางเมืองของชาวแกลง หา ไดเพิ่งเกิดขึ้นจากโครงการสรางโรงเรียนแหงนี้เทานั้น แตไดมี พั ฒ นาการทางความคิ ด และการลงไม ล งมื อ กระทำมาจาก วิสัยทัศนและเปาหมายที่ชัดเจนของผูบริหารเทศบาล นับแต เมื่อครั้ง สมชาย จริยเจริญ เขาดำรงตำแหนงนายกเทศมนตรี เทศบาลตำบลเมืองแกลงสมัยแรกในป พ.ศ. ๒๕๔๔ ก็เขาสูชวง เวลาแหงการพลิกฟนบานเมือง P จากในอดีตเมืองแกลงหรือที่ชาวบานเดิมเรียกวา สามยาน ดวยเปนชุมทางคาขายที่สามารถติดตอกับผูคนในหลายพื้นที่ทั้งทาง เหนือ ตอนใต และทางตะวันตกของเมืองระยองได อีกทั้งมีแมน้ำ ประแสรไหลผานกลางชุมชนเมือง จึงเปนทาเรือขนสงสินคาได โดยสะดวก นอกจากนี้ยังดินดำน้ำชุมเปนแหลงทำการเกษตร ปลูก ขาวมาแตอดีต กระทั่งเมืองแกลงเขาสูกระแสการพัฒนาสมัยใหม มี การสนับสนุนใหปลูกยางพารา แกลงจึงเปนแหลงใหญที่มีการทำ สวนยาง และกอใหเกิดโรงงานแปรรูปยางขึ้นหลายแหงในพื้นที่อัน สงผลตอสภาพแวดลอมของเมืองตอมา P ขณะเดียวกันแมน้ำประแสรที่เคยเปนเสนทางคมนาคมและ แหลงอาหารใหกับชุมชนก็เสื่อมสภาพ น้ำเนาเสีย กุงหอยปูปลาลด จำนวนลงอยางมาก รายไดของชาวประมงก็เสื่อมถอยตามไปดวย P โครงการที่เกิดจากหลักคิดวา “เมื่อสิ่งแวดลอมดี สุขภาพ กาย สุขภาพใจ ชีวิตความเปนอยูก็จะดีตามไปดวย” จึงถูกผลักดัน ออกมานับหลายโครงการจากเทศบาลตำบลเมืองแกลง ไมวา โครงการพัฒนาแกลงใหเปนเมืองคารบอนต่ำ โดยรวมมือกับ สถาบันสิ่งแวดลอมไทยรณรงคใหชาวบานรักษาสภาพภูมิอากาศ เพื่อใหแกลงเปนเมืองนาอยู และชวยแกไขปญหาการเปลี่ยนแปลง ของสภาพภู ม ิ อ ากาศโลก ด ว ยการที ่ เ ทศบาลจั ด ระบบขนส ง สาธารณะชุมชนหรือ ขสมก. (ขนสงเมืองแกลง) ขึ้น เพื่อลดการใช ยานพาหนะสวนบุคคล ทำใหปริมาณการใชน้ำมันลดลงและชวย ใหการจราจรในพื้นที่มีความคลองตัวขึ้น ที่สำคัญชวยลดการปลอย กาซเรือนกระจก ¨จ´ดËหÁมÒาÂย¢ข่ÒาÇวÁมÙูÅล¹นÔิ¸ธÔิàเÅล็¡ก-»ปÃรÐะäไ¾พ ÇวÔิÃรÔิÂยÐะ¾พÑั¹น¸ธØุ์

P จากระบบขนส ง สาธารณะด ว ยรถรางที ่ ไ ม ม ี ก ารคิ ด ค า บริการ จัดเสนทางการขนสงเปนเวลาในชวงเชาและเย็น เพื่อ บริการผูสูงอายุและนักเรียน สงผลใหคนมีวินัยในการเดินทาง รวมกัน ทั้งผูปกครองก็ไมจำเปนตองเดินทางไปรับสงลูกหลาน เพราะเปนบริการขนสงที่ปลอดภัยซึ่งทางเทศบาลยินดีลงทุนใหกับ ประชาชน P นอกจากนั้นเทศบาลฯ ยังมีนโยบาย “ทำอยางไรของเสียจึง ไมเสียของ” ดวยวิธีการจัดการขยะใหไดของดี เนื่องจากตนเหตุ สำคัญของขยะอยูที่ครัวเรือน จึงเริ่มจากจัดใหมีการคัดแยกขยะและ มีการจัดเก็บขยะตามที่ตางๆ อยางเปนเวลา รวมทั้งรับซื้อขยะ รีไซเคิลจากโรงเรียนตางๆ เพื่อปลูกฝงใหนักเรียนและครัวเรือน ตางๆ รูจักแยกขยะ รณรงคและออกกฎหมายใหหางราน ครัวเรือน ติดตั้งถังดักจับไขมันจากเศษอาหารกอนปลอยทิ้งลงแหลงน้ำ แลว เทศบาลยังเปนผูรับซื้อไขมันจากบอดัก นำมาทำเปนแทงไขมันอัด กอนที่นำไปใชเปนเชื้อเพลิงได สวนเศษอาหารไปผสมเปนอาหาร สัตว เชน เลี้ยงเปด หมู แพะ P ซึ่งเมื่อพวกสัตวเหลานี้ถายมูลก็ถูกเก็บเอาไปทำปุย บางสวน อยางผักผลไมเนาเอาไปทำน้ำหมักชีวภาพ สำหรับใสเติมในแมน้ำ ลำคลองเพื่อทำใหระบบนิเวศในน้ำดีขึ้น เศษใบไม กิ่งไม ก็จะถูก บดนำไปเปนอาหารของไสเดือนเพื่อผลิตปุยมูลไสเดือน ดวยระบบ ดั ง กล า วส ง ผลให เ มื อ งแกลงสามารถลดการปล อ ยก า ซ คารบอนไดออกไซดไดถึงวันละ ๒๐๐ กิโลกรัม ลดปริมาณขยะ จากประมาณ ๗ ลานกิโลกรัมเมื่อป พ.ศ. ๒๕๔๙ ใหเหลือ ประมาณ ๖ ลานกิโลกรัมในป พ.ศ. ๒๕๕๒ และสรางรายไดจาก การขายปุยมูลสัตว น้ำจุลินทรีย และเชื้อเพลิงกอนไขมันอีกดวย P ไมเพียงดูแลดานอากาศและน้ำ เทศบาลยังดูแลผืนดินใหกลับ มาอุดมสมบูรณ ไมปลอยใหทิ้งรางวางเปลา โดยการชักชวนให ประชาชนหันกลับมาทำนาและรณรงคใหปลูกพืชผักสวนครัวไวกิน เองในครัวเรือน ตลอดจนทำเกษตรเมืองตามที่วางเปลาในเขต ชุมชนและเทศบาล เปนการทำใหประชาชนรูจักพึ่งพาตนเอง ลดคา ใชจายในครัวเรือน และที่สำคัญเกิดจิตสำนึกในการรูคาและรัก ธรรมชาติมากขึ้น อีกทั้งดินดีขึ้นและสะอาด ปลอดจากปุยเคมีตางๆ P กระบวนการเหลานี้จะไมปรากฏผลสำเร็จเลย หากไมไดรับ ความร ว มมื อ จากชาวเมื อ งแกลงซึ ่ ง ตระหนั ก ว า โครงการต า งๆ เปนการฟนฟูสภาพเมืองใหนาอยู และที่สุดทำใหประชาชนชาว แกลงมี ค ุ ณ ภาพชี ว ิ ต ที ่ ด ี ข ึ ้ น แผนการการสร า งโรงเรี ย นเพื ่ อ บมเพาะลูกหลานชาวแกลงใหรักบานรักเมืองจึงไดรับการขานรับ จากชาวเมืองแกลงทุกครั้งที่มีการจัดประชุมระดมความคิดเห็นถึง ผลผลิตอันเปนความคาดหวังในการจัดตั้งโรงเรียน เพราะทุก ความคิดเห็นจะถูกประมวลนำไปสูกรอบการยกรางหลักสูตรและ ทิศทางการบริหารโรงเรียนตอไป ù๙


»ปÕี ·ท∙Õี ่ ñ๑ ÷๗

©ฉ ºบÑั ºบ ·ท∙Õี่ ù๙ ø๘

แมน้ำประแสรที่เคยเนาเสียถูกพลิกฟนให กลับมาใสและเขียวขจีดวยการปลูกไมชายเลนเพื่อ เพิ่มแหลงบริบาลสัตวน้ำ ทำใหจำนวน กุงหอยปูปลาในแมน้ำมีปริมาณมากขึ้น

การเรียนการสอนของโรงเรียนอยูเมืองแกลงวิทยาคม เพิ่งเปดรับนักเรียนมาได ๒ ป (ภาพจาก https:// th.foursquare.com/v/ โรงเรียนอยูเมืองแกลงวิทยา)

ภารกิ จ สร า ง “ครู ” P ใครจะคิดวาภารกิจแรกกอนจะเกิดการสรางโรงเรียนอยูเมือง แกลงวิทยาไดมีการตระเตรียมแนวคิดและการจัดการมากอนหนา ๓-๔ ปแลว นายกเทศมนตรีทานนี้เห็นวาเทศบาลตองมี องคความรู ที่เกี่ยวกับเมืองแกลงใหกับเด็กเพื่อเด็กจะไดรับรูถึงเรื่องราวตางๆ ของบานเมืองตนเอง และขณะเดียวกันผูที่นายกเทศมนตรีเปรียบ วาเปนเสมือน “ทอ” ลำเลียงความรูไปสูสมองของเด็กๆ นั้น หาใช “ครู” ตามระบบที่สอนกันอยูในโรงเรียน แตตองเปน “ครูเหนือ ครู” และตองไมจบครู เพราะ P “ผมคิดวาครูสวนใหญมักติดกรอบ การเรียนครูก็ถูกครอบมา แลวชั้นหนึ่งโดยคุณไมรูตัว ผมจึงอยากไดคนจบปริญญาตรี คณะ อะไรก็ได ใหเปนบุคลากรชวยสอนของเทศบาล ซึ่งตอนนี้มีอยู ๔ คน เมื่อ ๓-๔ ปกอน ผมใหเขาคนควาหาขอมูลของเมืองแกลง ของ เทศบาล เชน เรามีแมน้ำอะไร มีวัดอะไร เทศบาลมีขยะเทาไร เรา กำลังทำอะไร ทุกสิ่งทุกอยางที่เกี่ยวกับแกลงไปเลาใหเด็กฟงตาม โรงเรียนตางๆ ในเขตเทศบาล U อยางนอยเรื่องราวเหลานี้จะเปนขอมูลของบานเมืองในหัวของ เด็กๆ เมื่อเขาจากไปเรียนยังที่อื่น เราเขาไปสอนตามโรงเรียน ประถม เอาไปเสียบในวิชาสิ่งแวดลอมบาง วิชาประวัติศาสตรบาง เพราะตอนนั้นเรายังไมมีโรงเรียนของเราเอง ซึ่งทางโรงเรียน เหลานั้นก็ใหความรวมมือไปอยูกับวิชาเรียน” P ดู เ หมื อ นว า แต ล ะก า วย า งของนายกเทศมนตรี ท  า นนี ้ ด ู จ ะ ราบรื่น ทวาไมเปนเชนนั้น เพราะเมื่อจะขอบรรจุบุคลากรครูเหลานี้ ในเทศบาล กลับถูกทางจังหวัดตีกลับดวยเหตุผลวาเทศบาลไมมี โรงเรียนในสังกัดจึงไมมีอัตราครู P “วันนั้นถาเราหยุดเพราะยึดเอาระเบียบเปนตัวกำหนด ผมจึงดู ระเบียบ ๑๒๐ อัตราที่เทศบาลจางไดมีอะไรบาง รับเด็กปริญญา

ñ๑ð๐

ทุกปในงานบุญกลางบาน องคกรทองถิ่นจัดใหมี เสวนาเผยแพรเรื่องราวของชาวแกลง เชนกระบวนการจัดการใหแกลงกลายเปน เมืองคารบอนต่ำเปนตน

ตรีเหลานี้ไปอยูตามอัตราดังกลาวทำใหเราสามารถทำในสิ่งที่เรา ตองการได U เราจะรับเด็กตั้งแต ๓ ขวบ ไมถือวาเล็กเกินไป เพราะไมไดมุง เนนการเรียนแตแรก มุงเนนพัฒนาการของเด็ก เนนพัฒนา กลามเนื้อและความคิด เราจะใชเรื่องราวของบานเมืองแทรกเขาไป ใหเด็กไดรูดวยวิธีการที่สนุกๆ สรางบรรยากาศใหเด็กรักโรงเรียน เพราะหากเด็กยังไมรักโรงเรียน เด็กจะไปรักบาน (เมือง) ของตน ไดอยางไร จะรักชาติไดอยางไร U โรงเรียนอยูเมืองแกลงวิทยาจะมุงที่เด็ก ปแรกจะรับอนุบาลถึง แคประถมหนึ่ง รับชั้นละ ๒๐ กวาคน เอาเด็กในเขตพื้นที่รับผิดชอบ กอน เด็กนอกเขตใหโอกาสทีหลัง เราจะเปดรับปละหนึ่งชั้นเพราะผม ไมตองการเห็นผลสัมฤทธิ์เร็ว แลวไมใชเราจะสอนเด็กอยางเดียว เรา ตองมีการทบทวนหลักคิด ทบทวนความสามารถของบุคลากร U ส ว นหลั ก สู ต รที ่ ท างกระทรวงศึ ก ษาให ม า เราจะให เ ป น หลักสูตรขางเคียงเอาหลักสูตรทองถิ่นของเราเองเปนหลักสูตรแกน กลางแทน ในเมื่อเราใชเงินทองถิ่นเปนคนสรางคนทองถิ่นก็ตองคิด เอง ถาถามวาเทศบาลไมทำแลวใครจะทำ เทศบาลเทากับ “บาน” ของคุณ บานก็คือประชาชนในพื้นที่ เทศบาลไมใชราชการ เพราะ องคกรนี้สูงสุดก็คือชาวบานที่ถูกเลือกขึ้นมา” P ขอสรุปที่ชัดเจนของสมชาย จริยเจริญ บงบอกถึงวิสัยทัศนใน การมองอนาคตของมาตุภูมิตนเอง ซึ่งคน “แกลง” ไดรวมสราง และลงไมลงมือดวยตัวของพวกเขาเอง ภายใตอำนาจที่มีอยูบน พื้นที่เล็กๆ หากมุงทำงานเพื่อบานเมืองและทองถิ่นแลวยอมไดรับ ความสนับสนุนจากชาวบานเชนกัน จึงไมแปลกที่นายกเทศมนตรีผู นี้จะไดรับเลือกตั้งติดตอมาตลอดตั้งแตป พ.ศ. ๒๕๔๔ P และ “แกลง” วันนี้ ไดกลายเปนเมืองตัวอยางในการ ศึกษาดูงานของเทศบาลทองถิ่นอื่นๆ ซึ่งผูบริหารทองถิ่น อื่นๆ ควรเรียนรูถึงสำนึกรักบานเกิดเชนนี้บาง ¨จ´ดËหÁมÒาÂย¢ข่ÒาÇวÁมÙูÅล¹นÔิ¸ธÔิàเÅล็¡ก-»ปÃรÐะäไ¾พ ÇวÔิÃรÔิÂยÐะ¾พÑั¹น¸ธØุ์


àเ Áม Éษ Òา Âย ¹น - ÁมÔิ ¶ถØุ ¹น Òา Âย ¹น ò๒ õ๕ õ๕ ö๖

¨จÑัºบ ¡กÃรÐะáแÊส ¾พÔิ ¾พ Ôิ ¸ธ ÀภÑั ³ณ ±ฑ์ ·ท∙ ้ Íอ §ง¶ถÔิ ่ ¹น

กับการทำพิพิธภัณฑทองถิ่นในชุมชนตางๆ ดวย ทำใหเห็นถึง ปญหาในหลายดานของการจัดทำและดูแลรักษาพิพิธภัณฑทองถิ่น ตลอดจนเห็นความเปลี่ยนแปลงของพิพิธภัณฑทองถิ่น โดยเฉพาะ อยางยิ่งมีโบราณวัตถุในพิพิธภัณฑ ๒ แหงถูกลักขโมยไป

ภัยที่ควรระวังของชาวพิ พิ ธภั ณฑท องถิ่ น

P แต ส ิ ่ ง ที ่ ไ ม ค าดคิ ด ว า จะได ป ระสบพบเจอก็ ค ื อ คนที ่ ม ี ส  ว น เกี่ยวของกับการดูแลรักษาพิพิธภัณฑทองถิ่นโดยตรง กลายเปน สวนหนึ่งของขบวนการลักขโมย ซึ่งตรงกับสุภาษิตคำพังเพยที่วา “เกลือเปนหนอน” นั่นเอง

¸ธÕีÃรÐะÇวÑั²ฒ¹น์ áแÊส¹น¤คÓำ

! แหงแรกคือ พิพิธภัณฑวัดพระฝาง ซึ่งตั้งอยูภายในวัดพระฝาง

ที่ปรึกษากลุมประวัติศาสตรสองขางทาง ภาควิชาประวัติศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร

สวางคบุรีมุนีนาถ บานพระฝาง ตำบลผาจุก อำเภอเมือง จังหวัด อุตรดิตถ ในพิพิธภัณฑไดจัดแสดงโบราณวัตถุ พระพุทธรูป และ ขาวของเครื่องใชตางๆ จำนวนมาก โดยเฉพาะอยางยิ่งพระพุทธรูป ซึ่งลวนแตมีพุทธศิลปเกาแกเนื่องจากวัดพระฝางฯ เปนพระมหาธาตุ สำคัญและสรางมาตั้งแตประมาณพุทธศตวรรษที่ ๑๘-๑๙ ภายใน พิพิธภัณฑจึงมีพระพุทธรูปเกาแกหลายองคจัดแสดงอยู

“เกลือ เป น หนอน”

!

กวาที่จะทำใหเกิดเปนพิพิธภัณฑทองถิ่น ไมวาจะอยูในชื่อ พิ พ ิ ธ ภั ณ ฑ ท  อ งถิ ่ น พิ พ ิ ธ ภั ณ ฑ เ มื อ ง พิ พ ิ ธ ภั ณ ฑ พ ื ้ น บ า น พิพิธภัณฑชุมชน และพิพิธภัณฑวัด หรือชื่อใดๆ ก็ถือวาเปนการ ยากพอสมควร แตการที่จะทำใหพิพิธภัณฑมีชีวิต มีความนาสนใจ และรักษาวัตถุสิ่งของที่จัดแสดงอยูภายในพิพิธภัณฑ โดยเฉพาะ อยางยิ่งของโบราณมีคาตางๆ ถือวาเปนการยากยิ่งกวา เพราะ สภาพสังคมทุกวันนี้เต็มไปดวยมิจฉาชีพที่จองจะลักขโมยสมบัติ แผนดิน สมบัติชุมชนขายเปนอาชีพเริ่มมีมากขึ้น P ช ว งไม ก ี ่ ป  ท ี ่ ผ  า นมามี ข  า วที ่ เ กี ่ ย วข อ งกั บ การลั ก ขโมย โบราณวัตถุหรือสิ่งของมีคาในพิพิธภัณฑทองถิ่นหลายแหง สวน ใหญเกิดจากความไมรัดกุม เลินเลอ ขาดประสบการณและขาดงบ ประมาณในการปองกันดูแลรักษา ทั้งที่สิ่งของตางๆ ในพิพิธภัณฑ ลวนแลวแตมีอายุหลายสิบปจนถึงหลายรอยป เปนที่ตองการของ ผูนิยมชมชอบของผูสะสมของเกา รวมทั้งความไมเขมแข็งของ ชุมชนซึ่งถือวาเปนผูมีสวนสำคัญในการรักษาความปลอดภัยของ พิพิธภัณฑ แมแตพิพิธภัณฑสถานแหงชาติของทางราชการที่ถือวา มีทุกอยางพรอมสรรพหมดในการจัดทำและดูแลพิพิธภัณฑก็ยัง ปลอยใหมิจฉาชีพเขาไปขโมยโบราณวัตถุภายในพิพิธภัณฑไดทำให เปนขาวโดงดังไปทั่วประเทศมาแลว P เมื่อเกิดเหตุการณลักขโมยโบราณวัตถุหรือสิ่งของมีคาใน พิพิธภัณฑทองถิ่น เรามักจะสงสัยวาเปนฝมือของบุคคลภายนอก หรือคนแปลกหนาที่แวะเวียนมาในทองถิ่นในชวงเวลาใกลเคียง กับการเกิดเหตุ หรือไมก็สงสัยวาคนในทองถิ่นเองมีสวนรูเห็น กับการโจรกรรม P จากประสบการณการลงพื้นที่ศึกษาประวัติศาสตรทองถิ่น ตามชุมชนทองถิ่นตางๆ ในลุมแมน้ำนานตอนลางรวมกับสมาชิกกลุม ประวัติศาสตรสองขางทาง ภาควิชาประวัติศาสตร คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร ตั้งแตป พ.ศ. ๒๕๔๙ เปนตนมา ไดมี โอกาสศึกษาและพบปะพูดคุยกับผูที่รับผิดชอบหรือมีสวนเกี่ยวของ ¨จ´ดËหÁมÒาÂย¢ข่ÒาÇวÁมÙูÅล¹นÔิ¸ธÔิàเÅล็¡ก-»ปÃรÐะäไ¾พ ÇวÔิÃรÔิÂยÐะ¾พÑั¹น¸ธØุ์

P การดูแลรักษาพิพิธภัณฑนั้นโดยปกติทางวัดและชุมชนบาน พระฝางไดมีการตั้งคณะกรรมการขึ้นมาดูแล กุญแจพิพิธภัณฑจะ เก็บรักษาไวกับเจาอาวาสวัด สวนหนาที่ในการดูแลความเรียบรอย ในการจัดแสดงและนำชมนั้นก็จะมี คุณตาเย็น ภูเล็ก ประธานสภา วัฒนธรรมตำบลผาจุก อดีตครูใหญโรงเรียนวัดพระฝาง และ คุณครูอนุสรณ ผลสวัสดิ์ ครูโรงเรียนวัดพระฝางรับผิดชอบหนาที่ ดังกลาว รวมทั้งในบางโอกาสที่มีนักทองเที่ยวมาเยือนเปนหมูคณะ ก็จะมียุวมัคคุเทศกจากโรงเรียนวัดพระฝางมาทำหนาที่บรรยายนำ ชมและดูแลเรื่องความสะอาดเรียบรอยดวย P กลางเดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ วัดพระฝางฯ จัดงานเขา ปริวาสกรรมประจำปของพระสงฆ ทำใหมีพระสงฆจำนวนมาก เดิ น ทางมาร ว มเข า ปริ ว าสกรรม ปรากฏว า ในคื น วั น ที ่ ๒๐ กรกฎาคม ฝนตกหนักทำใหเกิดความวุนวายขึ้นภายในวัด P ชาวบานเลาวาเจาอาวาสวัดพระฝางฯ จึงเปดอาคารพิพิธภัณฑ วัดพระฝางใหพระสงฆจำนวนหนึ่งเขาไปพักโดยไมไดแจงใหคณะ กรรมการวัดหรือคณะกรรมการพิพิธภัณฑทราบ P รุ  ง เช า ฝนหยุ ด ตกก็ ป รากฏว า พระสงฆ ก ลุ  ม ที ่ เ ข า พั ก ใน พิพิธภัณฑนั้นหายไปพรอมกับพระพุทธรูปยืนทรงเครื่องนอย ปางหามสมุทร ศิลปะอยุธยาตอนกลาง สูงประมาณ ๑๕๐ เซนติเมตร น้ำหนัก ๑๕๑ กิโลกรัม ที่ประดิษฐานอยูตรงบันได บนอาคารจัดแสดงชั้นสองก็หายไปดวย P นอกจากนี้ยังพบวาที่หองเก็บรักษาพระพุทธรูปไมแกะสลัก ศิลปะอยุธยาตอนปลายและพระพุทธรูปสำริดปางตางๆ อยูชั้น เดี ย วกั น ก็ ม ี ร  อ งรอยงั ด แงะด ว ย แต เ มื ่ อ ตรวจสอบแล ว ไม ม ี

ñ๑ñ๑


»ปÕี ·ท∙Õี ่ ñ๑ ÷๗

©ฉ ºบÑั ºบ ·ท∙Õี่ ù๙ ø๘

พระพุทธรูปองคใดหายไป ผูนำทองถิ่น ชาวบาน และคณะกรรมการ วัดจึงไดเขาแจงความกับตำรวจP P ผลจากการสืบสวนและติดตามพฤติกรรมของกลุมคนรายก็ ปรากฏวาตำรวจและชาวบานสงสัยวา พระมหาณรงค กิติสาโร เจ า อาวาสวั ด พระฝางน า จะมี ส  ว นรู  เ ห็ น กั บ เหตุการณขโมยพระพุทธรูปดังกลาว เพราะไม ปรากฏรองรอยงัดแงะตามชองประตูหนาตาง ทั้งยังในชวงเวลาดังกลาวเจาอาวาสวัดเปนผูถือ กุญแจ P เมื่อตำรวจและชาวบานสงสัยเจาอาวาส จากนั้นไมนานเจาอาวาสก็หนีหายออกไปจาก วั ด ในช ว งกลางดึ ก พร อ มกั บ รถยนต แ ละ ทรัพยสินสวนตัว และทราบภายหลังวาไดสึก ไปอยูกินกับหญิงสาวคนหนึ่งที่บานซึ่งสราง ขึ้นเตรียมไวหลายปแลว แตชาวบานไมรูจัก สวนพระพุทธรูปองคดังกลาวจนถึงบัดนี้ก็ยัง หาไม พ บและไม ส ามารถตามจั บ ตั ว คนร า ย ที่ทำการลักขโมยพระพุทธรูปมาดำเนินคดีได

P ภายหลังปรากฏวามีการแตงตั้งพระปลัดทวน อาภาธโร มา เปนเจาอาวาสวัดรูปใหม เมื่อ ๒๙ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๑ สำหรับ พระปลัดทวนเดิมเคยจำพรรษาอยูที่ประเทศสิงคโปร ไมใชพระสงฆ ในพื้นที่ ภายหลังจึงไดรับการแตงตั้งใหเปนเจาอาวาสวัดทาตะเคียน

อดี ต เจ า อาวาสวั ด พระฝางฯ ก็ ย ั ง ลอยนวลเพราะไมมีหลักฐานที่จะเอาผิดอยาง ชัดเจนได้ P แหงที่สองคือ พิพิธภัณฑวัดทาตะเคียน ซึ่งตั้งอยูภายในวิหารหลวงพอทองสุข วัด ทาตะเคียน บานทาตะเคียน ตำบลจอมทอง อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก ในพิพิธภัณฑได จัดแสดงโบราณวัตถุ พระพุทธรูป และขาวของ เครื่องใชตางๆ จำนวนมาก โดยเฉพาะอยาง ยิ่งพระพุทธรูปศิลปะรัตนโกสินทรตอนตนและ พระบูชารัชกาลซึ่งชาวบานไดมีศรัทธานำมา ถวายวัดตั้งแตสมัยที่หลวงปูฤทธิ์เปนเจาอาวาส (ประมาณสมัยรัชกาลที่ ๔-๖) ซึ่งไดรับการทำ ทะเบียนโบราณวัตถุไวเปนที่เรียบรอยแลว

ภาพบน พระพุทธรูปศิลปะรัตนโกสินทรตอนตน และพระบู ช ารั ช กาลอยู  ใ นตู  จ ั ด แสดงภายใน พิพิธภัณฑวัดทาตะเคียน ตำบลจอมทอง อำเภอ เมือง จังหวัดพิษณุโลก ถายภาพเมื่อ ๒๗ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๑ กอนที่พระพุทธรูปบาง องคถูกขโมยไปเพียง ๓ วัน ภาพขวา พระพุทธรูปยืนทรงเครื่องนอยปางหาม สมุทร ศิลปะอยุธยาตอนกลาง ที่ถูกคนรายขโมย ไปจากพิพิธภัณฑวัดพระฝาง ถายเมื่อวันที่ ๑๓ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๒

P การดูแลรักษาพิพิธภัณฑวัดทาตะเคียน นั้น โดยปกติทางวัดและชุมชนบานทาตะเคียน ได ม อบให เ จ า อาวาสและพระสงฆ ภ ายในวั ด ดูแล กุญแจวิหารหลวงพอทองสุขซึ่งเปนที่ตั้ง ของพิพิธภัณฑก็จะเก็บรักษาไวกับเจาอาวาสวัด เนื่องจากหลวง พอทองสุขเปนพระพุทธรูปเกาแกและศักดิ์สิทธิ์ทำใหมีชาวบาน เดิ น ทางมากราบไหว ข อพรอยู  เ สมอ การเก็ บ กุ ญ แจไว ก ั บ เจ า อาวาสวัดจึงเปนการเหมาะสมและสะดวกที่สุด

ñ๑ò๒

โดยคำสั่งของเจาคณะจังหวัดพิษณุโลก แตชาวบานไมเห็นดวย เพราะภายในวัดก็มีพระสงฆที่ทำหนาที่รักษาการเจาอาวาสอยูแลว เมื่อมาเปนเจาอาวาสก็เปลี่ยนกุญแจใหมทั้งวัดรวมทั้งกุญแจวิหาร หลวงพอทองสุขดวย ในขณะเดียวกันเจาอาวาสรูปนี้ไมคอยจำวัดที่ วัด ไมออกบิณฑบาต และไมสนในกิจนิมนตชาวบานดวย จึงทำให ¨จ´ดËหÁมÒาÂย¢ข่ÒาÇวÁมÙูÅล¹นÔิ¸ธàเÔิ Åล¡ก ็ -»ปÃรÐะäไ¾พ ÇวÔิÃรÂย Ôิ Ðะ¾พÑั¹น¸ธØุ ์


àเ Áม Éษ Òา Âย ¹น - ÁมÔิ ¶ถØุ ¹น Òา Âย ¹น ò๒ õ๕ õ๕ ö๖

ชาวบานไมพอใจในพฤติกรรมเทาใดนัก และเมื่อรองเรียนตอคณะ สงฆเจาคณะปกครองก็ไมมีการดำเนินการใดๆ ตอมาวันที่ ๑ สิงหาคม ๒๕๕๑ มีขโมยเขามาขโมย พระพุทธรูปหนาตักตั้งแต ๓-๕ นิ้ว และโบราณวัตถุอื่นๆ ที่เก็บไว ในพิพิธภัณฑวัดทาตะเคียนหายไปรวม ๙๑ ชิ้น แต เ มื ่ อ มี เหตุการณขโมยเกิดขึ้น พระปลัดทวนกลับอางวาพระพุทธรูปและ โบราณวัตถุตางๆ หายไปโดยปาฏิหาริย เพราะไมมีรอยงัดแงะ ใดๆ ทั้งสิ้น ทั้งที่เจาอาวาสไดเปลี่ยนกุญแจใหมหมดและถือไวอยู คนเดี ย ว และเป น ที ่ น  า สงสั ย ว า ก อ นหน า ที ่ พ ระพุ ท ธรู ป และ โบราณวัตถุจะหายไปนั้นไดมีญาติโยมชาวสิงคโปรแวะเวียนมาหา พระปลัดทวนหลายครั้ง !

P จึ ง เป น ที ่ น  า สงสั ย ว า พระปลั ด ทวนจะมี ส  ว นรู  เ ห็ น กั บ การ ขโมยดังกลาว ชาวบานจึงไดพยายามที่จะปดลอมกุฏิเพื่อจับตัวพระ ปลัดทวน ปรากฏวาพระปลัดทวนไหวตัวหลบหนีทันและหายไป จากวัดทาตะเคียนตั้งแตบัดนั้น P สวนพระพุทธรูปและโบราณวัตถุที่หายไปก็ยังไมสามารถ ติดตามกลับมาไดแมแตชิ้นเดียว P จากเหตุการณทั้งสองเหตุการณที่เกิดขึ้นกับพิพิธภัณฑทองถิ่น ในลุมแมน้ำนานตอนลางคือ พิพิธภัณฑวัดพระฝางและพิพิธภัณฑ

เรื ่องเลาจาก “เด็กบานสวนหนุมนักเรียน” ของ พ.เนตรรังษี ÍอÀภÔิ­Þญ­ÞญÒา ¹น¹น·ท∙์¹นÒา·ท∙ !

!

!

!

!

!

หนังสือชุด เด็กบานสวน และ หนุมนักเรียน เปนผลงานของ คุณพัฒน เนตรรังษี ในนามปากกา “พ.เนตรรังษี” เขียนหนังสือ ทั้ง ๒ เลมนี้ขึ้นใน พ.ศ. ๒๔๗๕ เพื่อบอกเลาชีวิตในวัยเด็กที่เกิด และเติบโตขึ้นในยานวัดบุปผารามใกลยานกะดีจีนในชวงปลายสมัย รัชกาลที่ ๕ หรือกวารอยปมาแลว

วัดทาตะเคียน เห็นไดวาผูที่มีสวนเกี่ยวของโดยตรงกับหนาที่ รับผิดชอบดูแลรักษาพิพิธภัณฑ ซึ่งเปน “คนใน” ไดกลายเปน ขโมยหรือรูเห็นกับขโมยที่เขามาขโมยโบราณวัตถุ การหายไปของ พระพุทธรูปและโบราณวัตถุในพิพิธภัณฑทั้งสองแหงไมปรากฏรอง รอยงัดแงะชองประตูหรือหนาตางที่เปนทางเขาไปสูภายในอาคาร พิพิธภัณฑแตอยางใด ซ้ำยังมีพฤติกรรมที่นาสงสัยหลายๆ อยาง P เหตุการณในบทความนี้จึงเปนอุทาหรณที่ผูเขียนอยากฝากถึง คณะกรรมการหรื อ ผู  ท ี ่ ก ำลั ง มี ส  ว นในการจั ด ทำ ดู แ ลรั ก ษา พิพิธภัณฑวาในการแตงตั้งคณะกรรมการหรือคัดเลือกบุคคลใด บุคคลหนึ่งขึ้นมาเพื่อทำหนาที่ถือกุญแจโดยเฉพาะนั้น ตองมีการ ตรวจสอบประวัติใหถวนถี่ และเปนผูที่ไดรับความไววางใจจาก คณะกรรมการและชาวบานทั้งหลายเพื่อปองกันไมใหเหตุการณ เชนนี้เกิดขึ้นกับพิพิธภัณฑทองถิ่นที่ทานมีสวนรวมอยู P เพราะว าสิ ่ งที ่ จั ดแสดงอยู  ในพิ พิ ธภั ณฑ นั ้ นแม จะเป นเพี ยง ของเกาแตก็มีคา มีราคาสูง สำหรับคนบางกลุมที่มีความตองการ และอยาลืมวาในยุคทุนนิยมและประชานิยมเชนนี้ เงินสามารถซื้อ หนาที่ ความรับผิดชอบ และจิตวิญญาณของคนโลภที่แฝงตัวทำงาน รวมกันกับทุกๆ ทาน จนทำให “เกลือเปนหนอน” ไดอยางที่ทาน ไมคาดคิดมากอน

¾พÃรÐะ¹น¤คÃรºบÑั ¹น ·ท∙Öึ ¡ก ภาพจำวันวานของ พ. เนตรรังษี

ฉากหลังของหนังสือชุดนี้เปนเรื่องราวที่เกิดขึ้นในบานสวน ฝงธนฯ ใกลวัดบุปผารามรวมไปถึงละแวกใกลเคียง ทั้งยานกะดีจีน ยานบานสมเด็จ และยานวัดกัลยาณ กับประสบการณการเขาเรียน ครั้งแรกที่โรงเรียนวัดประยุรวงศและโรงเรียนสมเด็จเจาพระยา

P จากคำบอกเลาของคุณพัฒน ทำใหเห็นสภาพพื้นที่บริเวณยาน วัดบุปผารามและชุมชนใกลเคียงเมื่อราวรอยกวาปกอนยังคงสภาพ เปนเรือกสวน มีแมน้ำลำคลองตัดสลับกันซับซอน บานเรือนที่มีอยู ตั้งกระจายกันหางๆ หลัง สวนบริเวณริมคลองที่ไมมีบานเรือนก็เปน ดงทึบของตนลำพู ดงเหงือกปลาหมอ มีรูปูเปยว ปลาตีน และ กุงดีดขัน แทรกตัวอาศัยอยูในดินเลนริมตลิ่ง สวนความคึกคักของ ยานจะอยูรวมกันที่ตลาดหรือตามวัดวาอารามเมื่อคราวมีเทศกาลงาน บุญหรือมีมหรสพ

P นอกจากความสนุ ก สนานเพลิ ด เพลิ น จากความซุ ก ซนของ เด็กๆ ในสมัยกอนที่ผูอานจะไดรับแลว สิ่งสำคัญอยางหนึ่งที่ถูก สอดแทรกไวอยางแยบคายคือ ประวัติศาสตรสังคมของยานกะดีจีนและวัดบุปผารามที่ถูกบอกเลาไวอยางมีชีวิตชีวา ซึ่งหาไมไดจาก แบบเรียนวิชาประวัติศาสตรในหองเรียน

P สภาพเชนนี้คงไมตางจากยานอื่นๆ ของฝงธนบุรีในสมัยนั้น แต ที่เดนก็คือยังมีเกร็ดประวัติศาสตรสังคมหลายๆ เรื่องแตงแตมเปน สีสันอยูภายในหยอมยานแหงนี้ ซึ่งสวนใหญแทบไมหลงเหลืออยูอีก แลว จะหยิบยกเรื่องราวบางสวนที่นาสนใจมานำเสนอ เพื่อเปรียบ เทียบใหเห็นถึงความแปรเปลี่ยนของสภาพยานเหลานี้ในปจจุบัน

!

¨จ´ดËหÁมÒาÂย¢ข่ÒาÇวÁมÙูÅล¹นÔิ¸ธÔิàเÅล็¡ก-»ปÃรÐะäไ¾พ ÇวÔิÃรÔิÂยÐะ¾พÑั¹น¸ธØุ์

ñ๑ó๓


»ปÕี ·ท∙Õี ่ ñ๑ ÷๗

©ฉ ºบÑั ºบ ·ท∙Õี่ ù๙ ø๘

ทาน้ำรับเสด็จ / สมัยกอนมีสะพานพระพุทธยอดฟา คนในชุมชนบริเวณ ปากคลองสานและย า นกะดี จ ี น หากต อ งการข า มฟากไปยั ง ฝ  ง พระนคร ตองใชบริการทาเรือจางซึ่งมีกระจายอยูตามจุดตางๆ เชน ทาเรือปากคลองสานขามไปยังทาเรือวัดกาลหวารฝงตลาด นอย ทาเรือกะดีจีนขามไปยังทากลางหรือทาปากคลองตลาด และทาเรือวัดประยุรวงศหรือวัดรั้วเหล็กขามไปยังทาเรือโรงยา เกา เปนตน P สำหรับทาเรือวัดประยุรวงศนอกจากทำหนาที่เปนทาเรือจางใน ยามปกติแลว ยังถูกปรับเปนทาน้ำรับเสด็จเมื่อคราวมีพระราชพิธี สำคั ญที ่ เกี ่ ยวกั บวั ดประยุ รวงศาวาสดั งเช น พระราชพิ ธี เสด็ จ พระราชทานพระกฐินโดยขบวนพยุหยาตราทางชลมารค P ในหนังสือ “หนุมนักเรียน” มีความบทหนึ่งกลาวถึงการจัด เตรียมพิธีการรอรับเสด็จพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวรัชกาลที่ ๖ ซึ่งรวมถึงการปรับปรุงศาลาทาน้ำและทางเดินเขาสูวัดประยุรวงศ P “...สมัยเมื่อผมอยูที่โรงเรียนวัดประยุรวงศนั้น ดูเหมือนจะมี พระราชพิธีเชนนี้ ๓ ป ตอ ๑ ครั้ง เพราะเปนงานใหญ ตองเตรียม กันเหนื่อยมาก และเสียเวลามาก” P “...ระยะทางจากท า น้ ำ วั ด ประยุ ร วงศ ก ็ ต กแต ง สะอาดตา สำหรับทาเรือจางขามฟากดูเหมือนจะหยุดรับสงผูโดยสารหนึ่ง วั น เขาเอาโป ะ ใหญ ม าทอด ทำทางเสด็จพระราชดำเนินใหม เรียบรอย ศาลาทาน้ำริมแมน้ำก็ทาสีสะอาดสะอาน ถนนหินจาก ทาน้ำเขาสูตัววัดก็ถากถางหญาเตียน ไมมีขยะกุมฝอยและสิ่ง สกปรกรกรุงรัง ดานขวางของถนนเปนตึกเกาๆ หันหลังใหถนน ตึกนี้เปนที่ทำการกองบังคับการตำรวจน้ำ...ดานซายของถนนเปน บานของเจาพระยาภาสกรวงษ”

ฝน ชาวบานเรียกกันวา “สามสาง” เพราะใชเสาปกเปนเพิงแค ๓ ตน สวนที่วัดประยุรวงศ ปาชาอยูทางดานหลังวัด มีทั้งที่ฝงศพและ โรงทึมเก็บศพทำเปนอาคารชั้นเดียว ภายในเก็บโลงเกาๆ และ เครื่องประกอบเมรุเผาศพ เชน เชิงตะกอนที่ทำจากเศษไมหลาย ขนาด P ทั้งเชิงตะกอนและเมรุปูนเผาศพกลางแจงเหลานี้ เมื่อทางวัด เปลี่ยนมาใชเตาไฟฟาจึงถูกทำลายไป ปจจุบันไมเหลือรองรอยของ สามสางที่วัดบุปผารามอีกแลว สวนปาชาที่วัดประยุรวงศก็ถูกเท คอนกรีต ปรับใหเปนลานอเนกประสงคของวัด และไมมีโรงทึมเก็บ ศพอีกแลว เหลือเพียงการทำชองบรรจุอัฐิไวตามกำแพงเหมือนกับ วัดทั่วๆ ไปเทานั้น P ทางดานชุมชนชาวคริสตใกลกับโบสถซางตาครูสก็เคยมีปาชา ฝงศพอยูดวย กอนที่จะถูกยายออกไปตั้งแตป พ.ศ. ๒๕๓๙ P “...ตรงปากตรอกกุฎีจีนตรงขามโรงเรียนมัธยมวัดประยุรวงศ ปจจุบันนี้ เดิมเปนกุฏิพระเกาๆ และมีคลองขนานกับถนนซึ่ง กลางคืนไมมีคนผาน พอเขาตรอกกุฎีจีนก็ถึงปาชาโรมันคาทอลิก... ตรอกเล็กๆ นั้นเมื่อ ๕๐ ปกอนมีปาชาอยูฝงขวา ขาเขาไปสูโบสถมี ไมกางเขนปกระเกะระกะ บนหลุมดินพูนขึ้นมานูนเปนหีบศพ บาง หลุมกออิฐถือปูนมีไมกางเขนปก เวลาเดือนมืดแลเห็นขาวสลัวๆ ถา เดือนหงายก็ขาวโพลง...”

โรงมะเกลื อ ลานมะเกลื อ / ในสมัยรัชกาลที่ ๕ ทั้งชาวจีนและชาวไทยตางนิยมสวม กางเกงผาแพรดำ ซึ่งการยอมผาแพรดำในอดีตนั้นไมไดใชสี สังเคราะห หากแตใชสีดำจากผลมะเกลือจึงทำใหเกิดกิจการ “โรงยอมมะเกลือ” ขึ้นอยางแพรหลาย

P จนเมื่อมีการสรางสะพานพระพุทธยอดฟา ถนนไดเขามามี บทบาทแทนที ่ ศาลาท าน้ ำ และเมื ่ อเวลาผ านไปเส นทางรั บเสด็ จ กลายสภาพเปนเพียงซอยเล็กๆ เขาสูสำนักเทศกิจ กทม. และอยูใน สภาพทรุดโทรม จนกระทั่งไดมีการบูรณะเพื่อฟนฟูเสนทางและ ท า เรื อ ประวั ต ิ ศ าสตร แ ห ง นี ้ข ึ ้ น มาอี ก ครั ้ ง เริ่มตั้งแตป พ.ศ. ๒๕๕๓ โดยการดำริของพระพรหมบัณฑิต เจาอาวาสวัดประยุร วงศาวาส และการสนับสนุนจากกรุงเทพมหานคร กรมเจาทาและ กรมศิลปากร

P เจาของโรงยอมมะเกลือสวนใหญเปนชาวจีน บางก็เปนเจาของ รานขายแพรในตลาดสำเพ็ง ซึ่งพวกนี้ไดเขามาเชาที่ในฝงธนบุรีเพื่อ เปดโรงยอมมะเกลือ เพราะในสมัยนั้นยังคงมีพื้นที่โลงกวางเหลือ อยูมาก อีกทั้งมีคูคลองหลายสายที่เอื้อประโยชนตอกระบวนการ ยอมลางผา โรงยอมมะเกลือจึงเกิดขึ้นหลายแหงในฝงธนบุรี สำหรับในยานบานเกิดของคุณพัฒนก็มีโรงยอมมะเกลือขนาดใหญ อยูดวยเชนกัน คือที่ลานดานหนาวัดดอกไมหรือวัดบุปผาราม และ ลานใกลวัดกัลยาณฯ

สามส างเผาศพกับปาชา คาทอลิก

P ในหนังสือ “เด็กบานสวน” ไดปรากฏคำบอกเลาของคุณ พัฒนเกี่ยวกับโรงยอมมะเกลือวาประกอบดวย ๒ สวนสำคัญคือ โรงยอมและลานตากผายอม

P สมั ย ก อ นการเผาศพจะทำกั น บนเชิ ง ตะกอนในที ่ โ ล ง แจ ง เชิงตะกอนสำหรับเผาศพของวัดบุปผารามหรือวัดดอกไมตั้งอยูใกล ถนน ติดคลองวัดดอกไม โดยกอเปนเพิงงายๆ มีหลังคาคลุมกัน

ñ๑ô๔

P “โรงงานปลูกโดยใชไมรวกหรือไมไผผาซีกขัดแตะเปนฟาก ยกพื ้ น บริ เ วณโรงงานให ส ู ง มิ ฉ ะนั ้ น เวลาฝนตกหรื อ ฤดู น ้ ำ ¨จ´ดËหÁมÒาÂย¢ข่ÒาÇวÁมÙูÅล¹นÔิ¸ธàเÔิ Åล¡ก ็ -»ปÃรÐะäไ¾พ ÇวÔิÃรÂย Ôิ Ðะ¾พÑั¹น¸ธØุ ์


àเ Áม Éษ Òา Âย ¹น - ÁมÔิ ¶ถØุ ¹น Òา Âย ¹น ò๒ õ๕ õ๕ ö๖

น้ำจะทวมจนอยูไมได...โรงมะเกลือทำงานไดปละ ๕-๖ เดือน ระยะ หนึ่งเทาลูกมะเกลือออกเทานั้น...ฤดูยอมผามักจะเริ่มตอนเดือน กุมภาพันธไปสิ้นสุดราวกลางเดือนกรกฎาคมเปนเชนนี้ทุก ๆ ป” M เมื่อยอมผาเรียบรอย คนงานจะนำผาแพรมาตากไวที่ลาน มะเกลือซึ่งเปนลานกวาง โดยมีการทำคันกั้นน้ำรอบบริเวณ และ ขุดคูเล็กๆ เพื่อระบายน้ำยามฝนตก เพราะที่ดินในฝงธนบุรีเปนที่ ลุม สวนคนงานที่โรงมะเกลือนี้มีทั้งคนไทย คนจีน ถาเปนงานใน โรงงานสวนใหญเปนแรงงานชาย สวนงานตากผายอมมะเกลือนั้น เหมือนวาเปนงานเฉพาะสำหรับผูหญิง P เมื่อหมดหนามะเกลือแลว ลานตากผายอมมะเกลือที่วางเปลา กลายเปนพื้นที่เลนวาวของเด็กๆ สวนพวกผูใหญพัฒนาเปนการ เลนวาวพนันกันไป โดยใชสนามหนาวัดบุปผารามเปนสนามวาว จุฬา สวนสนามปกเปาเปนลานมะเกลือวัดกัลยาณฯ ซึ่งปจจุบันเปน โรงเรียนแสงอรุณ P การทำกิจการลานมะเกลือดำเนินเรื่อยมา จนกระทั่งคนไทย เลิกนิยมนุงกางเกงปงลิ้นหรือกางเกงแพร แตบางเจายังคงรับจาง ย อ มแพรให ร  า นผ า ที ่ ส ำเพ็ ง เพื ่ อ ส ง กลั บ ไปยั ง ประเทศจี น และ ฮองกงจนกระทั่งจีนปดประเทศ จึงคอยๆ เลิกกิจการกันไปเมื่อราว พ.ศ. ๒๕๐๐ สวนลานโลงแปรเปลี่ยนเปนพื้นที่รองรับชุมชนและ บานเรือนที่แออัดมากขึ้นในยุคตอมา

วั ว หมู และคางคาว P หากเปนคนยุคปจจุบันคงนึกภาพไมออกวา วัว หมู และ คางคาวมีสวนเกี่ยวของกับละแวกนี้อยางไร แตในยุคของคุณ พัฒนเมื่อกวา ๑๐๐ ปมาแลว สัตว ๓ ชนิดนี้เปนสัตวเศรษฐกิจ ของคนบางกลุม P วัว เปนสัตวเลี้ยงของพวกแขกซึ่งเปนกลุมคนที่มาตั้งถิ่นฐาน กระจายอยูในยานดังกลาว แขกเลี้ยงวัวคนสำคัญที่คุณพัฒน กลาวถึงบอยครั้งในหนังสือคือ “แขกหมอ” ผูปลูกโรงวัวอยูใกล กับปาชาวัดบุปผาราม บริเวณเชิงสะพานขามคลองวัดดอกไมซึ่ง ชาวบานเรียกกันวา “สะพานโคสถิตย” ตามฝูงวัวของแขกหมอที่ อาศัยอยูบริเวณนี้ P นอกจากแขกหมอแล ว บริ เ วณไม ไ กลกั น ยั ง มี ก ลุ  ม แขก เลี้ยงแพะซึ่งมาเชาที่ดินของทานเจาคุณทานหนึ่ง เพื่ออยูอาศัย และเลี้ยงแพะ ชาวบานจึงพากันเรียกวา “สวนแขก” แขกกลุมนี้ ในเวลากลางคื น ยั ง รั บ จ า งเป น แขกเฝ า ยามตามห า งร า นหรื อ สถานที่ราชการตางๆ อีกดวย P จากยานวัดบุปผารามขามมายังยานวัดกัลยาณฯ ในสมัยกอน เคยมีโรงฆาหมูของเถาแกชาวจีน ตั้งอยูริมคลองวัดกัลยาณฯ ถือ เปนกิจการขนาดใหญ เพราะมีการขนสงหมูลงเรือเอี๊ยมจุนมาขังไว ¨จ´ดËหÁมÒาÂย¢ข่ÒาÇวÁมÙูÅล¹นÔิ¸ธÔิàเÅล็¡ก-»ปÃรÐะäไ¾พ ÇวÔิÃรÔิÂยÐะ¾พÑั¹น¸ธØุ์

คนที่ทำอาชีพลาหมูวัด มาพรอมกับกระชุใสหมู (ภาพลายเสนจาก พัฒน เนตรรังสี, หนุมนักเรียน) คราวละ ๘๐–๑๐๐ ตัวเลยทีเดียว ขณะที่หมูบางตัวเตรียมโดนเชือด แตในละแวกนั้นก็มี หมูวัด ที่อาศัยอยูอยางเสรี เที่ยวหากินตาม สวนของชาวบานหรือคุยเขี่ยเศษอาหารตางๆ หมูเหลานี้มีอยูจำนวน ไมนอย แตก็ตองเผชิญกับคนที่ทำอาชีพลาหมูวัดสงโรงเชือด สุดทายหมูวัดจึงคอยๆ หายไปในที่สุด P สัตวชนิดสุดทายคือ คางคาว เนื่องดวยสมัยกอนบริเวณยาน วัดบุปผารามยังคงเปนเรือกสวนอยู จึงเปนแหลงอาศัยชั้นดีสำหรับ ฝูงคางคาวแมไก จึงเกิดอาชีพดักคางคาวขึ้น โดยลักษณะของ เครื่องมือสำหรับใชดักคางคาว คุณพัฒนไดเลาไววา P “...ลานดินมีเสาไมไผจีนตอกันสูงประมาณ ๓๐ วา เสา ๒ เสานี้ ปกเต็มความกวางของที่ดิน ดูรูปรางเหมือนจอหนังกลาง แปลง ยอดเสา มีรอก และมีตาขายถักใชดายสีขาวขนาดแห...ตาขาย นี้ชักรอกจากโคนเสาขึ้นไปสำหรับดักคางคาวแมไก...เวลาที่เริ่มดัก ประมาณแต ๓ ทุม ถึง ๒ ยาม” U คางคาวที่จับมาไดเหลานี้จะนำไปสงขายที่ทาเตียน โดย ประโยชนของมันอยูที่เลือด เชื่อวาหากนำมาผสมกับเหลาโรงแลว ดื่มในชวงเชามืดจะเปนยาชูกำลังและคลายความหนาว เปนที่นิยม ในหมูชาวจีนอยางมาก สวนเนื้อคางคาวก็สามารถนำมาปรุงอาหาร ไดดวยเชนกัน ñ๑õ๕


»ปÕี ·ท∙Õี ่ ñ๑ ÷๗

©ฉ ºบÑั ºบ ·ท∙Õี่ ù๙ ø๘

ลัดเลาะเขาตรอกวัดกัลยาณฯ P นอกจากนี้ที่วัดกัลยาณมิตรยังมีเทศกาลที่ถือเปนงานใหญ ประจำปของคนในยานนี้ นอกไปจากงานวัดประยุรวงศคือ งานไหว หลวงพอโตหรือหลวงพอซำปอกงและงานทิ้งกระจาด ซึ่งจัดขึ้น ชวงปลายกรกฎาคมถึงตนสิงหาคม โดยมีคนจีนจากแถวสำเพ็ง ราชวงศ รวมไปถึงชาวสวนจากตลาดบานสมเด็จ บางลำภูลาง บางไสไก ดาวคะนอง พากันเดินทางมารวมงานดวย P ถึงแมวาปจจุบันหากเขาไปในชุมชนวัดกัลยาณฯ คงไมไดเห็น สภาพเชนนี้แลวดวยคลองบางสวนถูกถมทำเปนถนน สะพานไม เคี่ยมถูกรื้อไปจนไมเหลือรองรอย แตชุมชนวัดกัลยาณยังคงรักษา ความเป น ชุ ม ชนชาวตรอกซึ ่ ง เป น ลั ก ษณะของชุ ม ชนดั ้ ง เดิ ม ใน กรุงเทพฯ ไวได P นอกจากหนังสือเรื่อง เด็กบานสวน และ หนุมนักเรียน แลว ยังมีวรรณกรรมในทำนองเดียวกันนี้อีกหลายเลม เชน เด็กคลอง บางหลวง ของ ขุนวิจิตรมาตรา หรือ สงา กาญจนาคพันธุ, เด็ก บานสวน ของ แกวแกมทอง หรือนวนิยายที่ใชฉากชีวิตของคน ฝงธนฯ เชนเรื่อง คูกรรม ของทมยันตีที่ใชฉากของคนยาน บางกอกนอยในชวงสงครามโลกครั้งที่ ๒ หรือเรื่อง แวววัน ของ โบตั๋น ที่กลาวถึงบรรยากาศของสวนพลูฝงธนบุรี เปนตน P ผูที่สนใจประวัติศาสตรของฝงธนบุรี หากมีโอกาสลองเลือก หยิบวรรณกรรมเหลานี้มาอานดูสักครั้ง จะเห็นภาพประวัติศาสตร สังคมของคนกรุงยานฝงธนฯ ไดอยางชัดเจน มากไปกวาการเรียน ประวัติศาสตรการเมืองและการสงครามสมัยกรุงธนบุรีที่เราคุนเคย ในระบบการเรียนการสอนตามโรงเรียนก็เปนได

อันเนื่องจากเสวนา “ฟน (ราก) ชาวกรุง?” ÍอÀภÔิ­Þญ­ÞญÒา ¹น¹น·ท∙์¹นÒา·ท∙, ³ณÑั°ฐÇวÔิ·ท∙Âย์ ¾พÔิÁม¾พ์·ท∙Íอ§ง

! เมื่อวันพุธที่ ๒๗ กุมภาพันธ พ.ศ. ๒๕๕๖ ที่ผานมา เครือขายอนุรักษมรดกวัฒนธรรม ประกอบดวยสยามสมาคมใน พระบรมราชูปถัมภ มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ (ในสวนความ รับผิดชอบของสุดารา สุจฉายา), สมาคมอนุรักษศิลปกรรมและสิ่ง แวดล อ ม สถาบั น อาศรมศิ ล ป คณะสถาป ต ยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี และหอศิลปวัฒนธรรม แหงกรุงเทพมหานคร รวมกันจัดเสวนาเรื่อง “ฟน (ราก) ชาวกรุง?” เพื่อแลกเปลี่ยนพูดคุยเกี่ยวกับปญหาของชาวกรุงเทพฯ โดยเฉพาะ ดานการพัฒนาเมืองที่อาจทำลายมรดกวัฒนธรรมและชุมชน

ñ๑ö๖

เวทีเสวนาประกอบดวย (จากซายมาขวา) คุณพงษสวัสดิ์ อักษรสวาสดิ์ อุปนายก ฝายกฎหมาย สมาคมอนุรักษศิลปกรรมและสิ่งแวดลอม กรรมการเลขานุการมูลนิธิ ศาสตราจารยคะนึง ฦๅไชย กรรมการผูอำนวยการมูลนิธิศูนยกฎหมายสิ่งแวดลอม ประเทศไทย คุณศิริณี อุรุนานนท คณะทำงานกลุมอนุรักษและฟนฟูชุมชน เจริญไชย รองศาสตราจารยชูวิทย สุจฉายา จากสถาบันอาศรมศิลป รองศาสตราจารย ดร. กิตติศักด์ิ ปรกติ คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร คุณวรวิมล ชัยรัต กลุมรักษบานรักษเมืองเชียงใหม และคุณวิมล อังสุนันทวิวัฒน กรรมการสมาคมอนุรักษศิลปกรรมและสิ่งแวดลอมเปนผูดำเนินรายการ

Z การเสวนาเริ่มตนดวยปาฐกถาโดย อาจารยศรีศักร วัลลิโภดม ที ่ ป รึ ก ษามู ล นิ ธ ิ เ ล็ ก -ประไพ วิ ร ิ ย ะพั น ธุ  มี ส าระสำคั ญ ดั ง นี ้ ประวัติศาสตรสังคมของกรุงเทพฯ ถูกหลงลืมไป เพราะที่ผานมา เราเห็นแตประวัติศาสตรชาติ ปราสาท ราชวัง วัดวาอาราม แต มองไมเห็นวิถีชีวิตของผูคนและชุมชน แตขณะนี้ทองถิ่นตางๆ กำลังถูกคุกคามดวยกลุมทุนและอำนาจรัฐที่พยายามเขามาจัดการ โดยไมคำนึงถึงเสียงของ “คนใน” Z เมือ่ ชุมชนทองถิน่ เหลานีไ้ ดรบั ผลกระทบจึงเกิดปฏิกริ ยิ าตอบโต ซึ่งความเคลื่อนไหวของผูคนในทองถิ่นตางๆ กำลังเกิดขึ้นทั่ว ราชอาณาจักร ดังกรณีตัวอยางในกรุงเทพฯ ที่เห็นถึงผลกระทบดัง กลาวไดชัดเจนคือ กรณีไลรื้อเจดียทรงไทยวัดเลงเนยยี่ ซึ่งเปนเจดีย ที่มีคุณคาทางประวัติศาสตรสังคมของยานเยาวราช เพราะเปนเจดีย บรรจุอัฐิของชาวไทยเชื้อสายจีนที่เขามาตั้งรกรากแบงออกเปนหลาย เหลาหลายตระกูล สุดทายแลวพวกลูกหลานเขาไมยอมใหรื้อและเกิด ปฏิกิริยาตอบโตออกมา Z ดังนั้นการพัฒนาที่ดีตองไมใชอำนาจบังคับและควรรับฟงความ เห็นของคนในชุมชน โดยเฉพาะการใหความสำคัญกับพื้นที่ทาง วัฒนธรรมที่ไมใชการแบงตามเขตการปกครอง โดยทำความเขาใจ จากการศึกษาประวัติศาสตรสังคมและความสัมพันธของผูคน เชน ความสัมพันธระหวางชุมชนกับวัดที่เกื้อหนุนซึ่งกันและกัน การมี สำนึกรวมในความเปนยาน ความเปนตรอกเดียวกัน เชนที่ยาน บางลำพูซึ่งประกอบดวยตรอกตางๆ ไมวาจะเปนตรอกบวรรังษี ตรอกมะยม ตรอกไกแจ ฯลฯ ที่ตางก็มีสำนึกรวมใน “บาน” เดียวกัน สะทอนออกมาเปนความหวงแหนและรักษาพื้นที่ของตนเอง

¨จ´ดËหÁมÒาÂย¢ข่ÒาÇวÁมÙูÅล¹นÔิ¸ธÔิàเÅล็¡ก-»ปÃรÐะäไ¾พ ÇวÔิÃรÔิÂยÐะ¾พÑั¹น¸ธØุ์


àเ Áม Éษ Òา Âย ¹น - Áม Ôิ ¶ถ Øุ ¹น Òา Âย ¹น ò๒ õ๕ õ๕ ö๖

Z ขณะนี้หลายๆ ชุมชนกำลังตื่นตัว หากไดนำเอารากเหงาทาง วั ฒ นธรรมมาปรั บ ใช จ ะสามารถฟ  น ได อ ย า งรวดเร็ ว อี ก ทั ้ ง วัฒนธรรมที่หลากหลายของกรุงเทพฯ ยังถือเปนเสนหอยางหนึ่งที่ ดึงดูดความสนใจไดเปนอยางดี และขอสำคัญอีกสิ่งหนึ่งคือ การจะ ฟนรากเหงานั้นตองเริ่มจากคนใน โดยลงไปจัดเวทีในพื้นที่เพื่อดึง ความรูจากคนทองถิ่น กอนผลักดันใหผูมีอำนาจเขามารับฟง Z การเสวนาในลำดับตอมาเปนเรื่อง “บทเรียนจากประชาคม บางลำพู” รวมพูดคุยโดย คุณอรศรี ศิลป ประธานประชาคมบาง ลำพู และ อาจารยปองขวัญ (สุขวัฒนา) ลาซูส จากสมาคม สถาปนิกสยามฯ โดยมี คุณวิมล อังสุนันทวิวัฒน กรรมการ สมาคมอนุรักษศิลปกรรมและสิ่งแวดลอมเปนผูดำเนินรายการ Z คุณอรศรีไดกลาวถึงการฟนฟูยานบางลำพูวา เปนยานเกาแกที่ มีเอกลักษณและตนทุนทางวัฒนธรรมสูงคือมีประวัติศาสตรความ เปนมาสืบยอนไปไดตั้งแตชวงเริ่มสรางกรุงรัตนโกสินทร และเปน แหลงรวมผูคนหลายชาติพันธุ เชน ชาวมอญ ชาวมุสลิม ชาวจีน ซึ่ง สะทอนออกมาเปนวัฒนธรรมที่หลากหลาย ทั้งวัดวาอาราม อาหาร และวิถีชีวิต อีกทั้งยังเปนยานการคาสำคัญตั้งแตอดีตถึงปจจุบัน แต ที่ผานมาคนบางลำพูจำนวนไมนอยไดยายถิ่นฐานออกไป เนื่องจาก ที่ดินมีมูลคาเพิ่มสูงขึ้น ดวยเหตุนี้จึงเปนจุดเริ่มตนในการกอตั้ง ประชาคมบางลำพู เพื่อทำใหคนกลับมาเห็นคุณคาของยานอีกครั้ง Z การดำเนินงานของประชาคมบางลำพูไดทำตอเนื่องมาเปนเวลา กวา ๑๐ ป โดยมีหัวใจหลักเปนการฟนฟูวัฒนธรรมของยาน และ สรางกลุมเยาวชน “เกสรลำพู” เพื่อปลูกฝงสำนึกรักทองถิ่น โดยการ ทำประวัติศาสตรชุมชนจากการเก็บขอมูลคำบอกเลาของผูใหญใน ชุมชน รวมถึงการจัดกิจกรรมในยานอยางตอเนื่อง Z อาจารยปองขวัญไดเสนอแนวความคิดดานการพัฒนาเมืองวา ชุ ม ชนจำเป น ต อ งสร า งความเข ม แข็ ง เพื ่ อ ต อ รองกั บ อำนาจรั ฐ ตัวอยางเชนการพัฒนายานเกาบริเวณเกาะรัตนโกสินทร จะเห็นวาใน เวลาที่ผานมาการพัฒนายังไมไดมีความคืบหนามากนัก อาจเปน เพราะที่ผานมาเรารอพึ่งแตรัฐอยางเดียว ในความเปนจริงแลวคนใน ชุมชนควรสะทอนบอกความตองการของตนเองออกไป ดังนั้นแตละ ทองถิ่นจึงตองรูรากเหงาของตนเองวา เรามีตนทุนอะไรบางที่จะนำ มาพัฒนาตอยอดได Z นอกจากนี้อาจารยปองขวัญยังไดกลาวถึงความคืบหนาหลังจาก ไดยื่นจดหมายไปยังคณะกรรมการผังเมืองกรุงเทพฯ เพื่อพิจารณา ใหพื้นที่ตอเนื่องกับเขตรัตนโกสินทรชั้นใน ดังเชนยานเยาวราชซึ่ง เปนพื้นที่พาณิชยกรรมใหมีขอยกเวนในดานการพัฒนาเพื่อรักษา ยานและอาคารเกาแกเอาไว คณะทำงานของเครือขายอนุรักษมรดก วัฒนธรรมไดยื่นขอเสนอขอมีสวนรวมในการรางขอเทศบัญญัติ ทองถิ่นของกรุงเทพฯ ในดานการวางแผนเพื่ออนุรักษและพัฒนา

¨จ´ดËหÁมÒาÂย¢ข่ÒาÇวÁมÙูÅล¹นÔิ¸ธÔิàเÅล็¡ก-»ปÃรÐะäไ¾พ ÇวÔิÃรÔิÂยÐะ¾พÑั¹น¸ธØุ์

เมืองเกา ซึ่งถือวาเปนกาวแรกที่องคกรภาคประชาชนไดเขาไปมี สวนรวม Z ชุมชนเจริญไชยแถบเยาวราชเปนพื้นที่หนึ่งที่ไดรับผลกระทบ จากความเปลี่ยนแปลงจากภายนอกที่ขยายวงเขามาภายในยาน ดัง กรณีรถไฟฟาใตดิน [MRT] ซึ่งมีตนทางอยูที่หัวลำโพงไดตัดผาน พื้นที่เยาวราชและเกาะรัตนโกสินทรไปยังบางแค สงผลกระทบตอ ชุมชนหลายดาน Z หนึ ่ ง ในนั ้ น คื อ การไม ไ ด ร ั บ การต อ สั ญ ญาที ่ อ ยู  อ าศั ย จาก สำนักงานทรัพยสินสวนพระมหากษัตริย คุณศิริณี อุรุนานนท เปน หนึ่งในคณะทำงานกลุมอนุรักษและฟนฟูชุมชนเจริญไชยไดพูดถึง เรื ่ อ งนี ้ ว  า ชุ ม ชนเจริ ญ ไชยเป น พื ้ น ที ่ ห นึ ่ ง ที ่ ย ั ง คงวิ ถ ี ช ี ว ิ ต และ วัฒนธรรมแบบดั้งเดิมอยู จึงนาเปนหวงอยางยิ่งหากในอนาคตยาน ชุมชนเกาแหงนี้จะสูญสิ้น Z การวางผังเมืองใหเปนพื้นที่อนุรักษที่ผานมาเราเขาใจวาอยู บริเวณเกาะรัตนโกสินทรเทานั้น แตในความเปนจริงแลวพื้นที่ ตอเนื่องเชนเยาวราชก็มีคุณคาควรแกการอนุรักษเชนกัน แมในป พ.ศ. ๒๕๔๒ จะมีกฎเทศบัญญัติออกมาควบคุมความสูงของตึกแลว แตเมื่อเวลาผานไปไดมีโครงการกอสรางรถไฟฟาใตดินเกิดขึ้นจึงขอ เรียกรองใหมีการอนุรักษตึกโบราณของยานชุมชนเกาแกแถบนี้ที่ สามารถสืบยอนไปไดถึงสมัยรัชกาลที่ ๕ การเกิดขึ้นของรถไฟฟา ใตดินจึงมีความเปนไปไดที่จะกอใหเกิดผลกระทบโดยตรงกับผูคน ที่อาศัยอยูในยานเยาวราช Z รศ.ดร. กิตติศักดิ์ ปรกติ จากคณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร ไดใหแงคิดดานกฎหมายเพื่อใชตอสูและตอรองอำนาจ รัฐวากฎหมายนั้นจะมีผลเกิดขึ้นไดตอเมื่อถูกหยิบยกขึ้นมาใชในการ ตอสู ไมเชนนั้นแลวก็เปรียบเสมือนเปนแคกฎเกณฑที่ไมไดถูกบังคับ ใช ผูที่จะตอสูใหกฎหมายไมเปนเพียงแคแผนกระดาษเทานั้นคือ ประชาชนหาใชตำรวจหรือนักการเมือง ดังมีตัวอยางใหเห็น เชน ชาว สะเอียบ จังหวัดแพร ไดลุกขึ้นมาใชกฎหมายตอสูปกปองพื้นที่ของ เขา ชาวเลก็เชนกัน ไดใชกฎหมายการปกปองพื้นที่ทำกินไมใหถูกรุก โดยคนนอก Z เกี่ยวกับเรื่องผังเมืองนั้นชุมชนมีสิทธิ์รวมรับรูและแสดงความ คิ ด เห็ น ว า มี ค วามเหมาะสมหรื อ ไม หากเห็ น ว า ไม เ หมาะสมก็ สามารถยื่นเรื่องคัดคานได เพราะเปนสิทธิชุมชนที่เราสามารถรวม จัดสรรทรัพยากรใหอยูในสภาพที่สมดุล และเกี่ยวกับพื้นที่ชุมชน เจริญไชยซึ่งไดรับผลกระทบจากการไมตอสัญญาจากสำนักงาน ทรั พ ย ส ิ น ส ว นพระมหากษั ต ริ ย  น ั ้ น ต อ งทำความเข า ใจก อ นว า ทรัพยสินสวนพระมหากษัตริย ไมใชของสวนรวมและไมใชของ สวนตัว แตเปนของแผนดิน Z ดังนั้นตามหลักการสำนักงานดังกลาวจึงมีหนาที่หารายไดให กับสถาบันพระมหากษัตริยเพื่อความมั่นคง แตตองถามกลับไปวา ñ๑÷๗


»ปÕี ·ท∙Õี ่ ñ๑ ÷๗

©ฉ ºบÑั ºบ ·ท∙Õี่ ù๙ ø๘

สิ่งที่ทำนั้นกอใหเกิดประโยชนอยางไรกับแผนดินบาง ขอตอสูอันหนึ่ง ของชุมชนก็คือตองไปศึกษาวาประโยชนที่จะกอใหเกิดกับแผนดินนั้น คืออะไร แลวจึงใชเปนขอตอรองในการแกปญหาที่เกิดขึ้น Z คุณวรวิมล ชัยรัต กลุมรักษบานรักษเมืองเชียงใหม เสนอ แนวทางการรั บมือกับความทันสมัยที่เขามากระทบชุมชนและพื้นที่ Z วัฒนธรรมยานวัดเกตุกลาววา ชาวเชียงใหมไดตื่นตัวตั้งแตทราบวามี การวางผังเมืองรวมเปนตนมา โดยมีแนวคิดวาการพัฒนาในสิ่งใหมๆ นั้นชาวเชียงใหมไมไดปฏิเสธทั้งหมด แตตองการคงพื้นที่อนุรักษควบคู ไปกับการพัฒนา Z ชุมชนยานวัดเกตุมีการรับมือในผังเมืองรวมดวยการกระตุนให คนในชุมชนตระหนักถึงการพัฒนาทั้งผลดีและผลเสียที่จะตามมา แลว จึงรวมตัวเพื่อเสนอแนะใหมีการควบคุมความสูงของอาคาร รวมถึง ระงับการขยายถนนภายในยานและเรียกรองใหมีการคุมครองดาน สิ่งแวดลอมและศิลปกรรม สิ่งเหลานี้ถือเปนการใชความรวมแรง รวมใจของคนในชุมชนเพื่อแสดงสิทธิ์และเสียงตอรองกับภาครัฐ Z ลำดับตอไปเปนขอเสนอเกี่ยวกับการจัดการพื้นที่เมืองวัฒนธรรม โดย รศ. ชูวิทย สุจฉายา จากสถาบันอาศรมศิลป กลาววาการจัดการ เมืองเชิงวัฒนธรรมใหมีความเหมาะสมและสัมพันธกับบริบทของเมือง นั้นสามารถใชแมแบบซึ่งเปนเมืองใหญๆ ในตางประเทศมาปรับได เชน ที่เมืองอัมสเตอรดัม ประเทศเนเธอรแลนดเปนเมืองทาสำคัญแหงหนึ่ง ของยุโรปไดมีการวางแผนรองรับการทองเที่ยวเอาไวอยางเปนระบบ เมืองบารเซโลนา ประเทศสเปน ก็เชนกัน เปนเมืองตากอากาศไดมีการ บริหารจัดการเมืองเพื่อรองรับผูคนจากภายนอกเขามาทองเที่ยวเปน อยางดี อีกทั้งอาคารเกาแกมีอายุนับรอยปยังไดอนุรักษใหอยูรวมกับ อาคารสมัยใหมอยางลงตัว Z สำหรั บ บ า นเราแล ว การคงวิ ถ ี ช ี ว ิ ต ชาวเมื อ งกรุ ง แต เ ดิ ม เอาไว สามารถสรางมูลคาในทางการทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรมไดรวมถึงตึก รามบานชองเกาแกมากก็ควรอนุรักษ หากสามารถทำเชนนี้ไดความ เปนเมืองอนุรักษและมีวิถีชีวิตของผูคนเขามาเปนสวนประกอบจะ สามารถรองรับนักทองเที่ยวที่นำรายไดมายังบานเราได Z ชวงทายของงานเสวนา คุณพงษสวัสดิ์ อักษรสวาสดิ์ อุปนายก ฝายกฎหมาย สมาคมอนุรักษศิลปกรรมและสิ่งแวดลอม ไดเสนอขอ สรุปทางกฎหมายในเรื่องนี้วา สิทธิ์ของชุมชนนั้นเกิดขึ้นตั้งแตประชาชน ไดรวมตัวขึ้นเปนชุมชนมีสิทธ์ิรวมกับรัฐในการอนุรักษและรวมใช ประโยชนในทรัพยากรสิ่งแวดลอม นั่นหมายความวา ชุมชนเปน ประธานแห ง สิ ท ธ์ ิ เ สมอหรื อ เที ย บเท า กั บ รั ฐ และสิ ท ธิ ์ น ั ้ น ได เ กิ ด ขึ ้ น พรอมกับความมีอยูของชุมชนทุกๆ แหงในประเทศไทยตั้งแตเริ่ม แรกแลว Z การใชสิทธิ์ตอรองกับอำนาจรัฐนั้นควรเริ่มตนจากใชกฎหมายให มีผลบังคับใชดวยตัวเราเอง มิเชนนั้นแลวกฎหมายตางๆ ที่รองรับ สิทธิ ชุมชนก็จะเปนเพียงแผนกระดาษที่ไมมีความหมายแตอยางใดZ ñ๑ø๘

ºบÃรÃรÂยÒาÂย ÊสÒา¸ธÒาÃร³ณÐะ สรุ ป บรรยาย สาธารณะ

“ความก า วหน า ทาง โบราณคดี เรื ่ อง มโหระทึ ก สองฝ  ง โขง สะหวั น นะเขตมุ ก ดาหาร”

สุกัญญา เบาเนิด ผูบรรยาย

»ปÔิÂยªชÒาµตÔิ ÊสÖึ§งµตÕี

วันที่ ๒๗ กุมภาพันธ ๒๕๕๖ ที่ผานมา มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ จัดใหมีการบรรยายสาธารณะเรื่อง “ความกาวหนาทาง โบราณคดีเรื่องมโหระทึกสองฝงโขง สะหวันนะเขต-มุกดาหาร” โดย สุกัญญา เบาเนิด นักโบราณคดีชำนาญการ ประจำหนวยศิลปากร ที่ ๑๑ อุบลราชธานี กรมศิลปากร เปนวิทยากรบรรยาย P สุกัญญา เบาเนิด นักโบราณคดี ทำงานที่สำนักศิลปากรที่ ๑๑ จังหวัดอุบลราชธานี มีโอกาสในการลงพื้นที่ขุดคนศึกษางานทาง โบราณคดี บริเวณภาคอีสานโดยเฉพาะเขตทุงกุลารองไหในเรื่อง พิธีกรรมเกี่ยวกับการฝงศพของมนุษยกอนประวัติศาสตร P การทำงานโบราณคดีในพื้นที่ “ริมแมน้ำโขง” บริเวณรอยตอ ระหวางจังหวัดมุกดาหารกับจังหวัดอุบลราชธานี ซึ่งการทำงานใน พื้นที่ริมน้ำโขงไดพบกับหลักฐานทางโบราณคดีใหม เชน การ คนพบแหลงผลิตกลองมโหระทึกที่โนนหนองหอ จังหวัดมุกดาหาร ซึ่งนับเปนการคนพบครั้งสำคัญสำหรับงานศึกษาเรื่องมนุษยกอน ประวัติศาสตรในดินแดนประเทศไทยปจจุบัน เพราะที่ผานมา ความรูความเขาใจเกี่ยวกับเรื่องกลองมโหระทึกตั้งอยูบนฐานคิด ขอเสนอที่วาเปนสิ่งของที่ถูกนำเขามาจากตางถิ่น ไมไดมีการผลิต ขึ้นเองภายในชุมชนมนุษยกอนประวัติศาสตรในประเทศไทย P กลองมโหระทึ ก เป น วั ฒ นธรรมสั ม พั น ธ อ ยู  ก ั บ การทำ เกษตรกรรม เปนการแสดงออกถึงความอุดมสมบูรณ มักใชในการ ประกอบพิธีกรรมตางๆ ทั้งเกี่ยวของกับการเพาะปลูกไปจนถึง พิธีกรรมเกี่ยวกับความตายและการสงครามที่มีอยูรวมกันของผูคน ในภูมิภาคนี้นับตั้งแตจีนทางตอนใต ปรากฏหลักฐานที่มีการขุดคน พบทางโบราณคดีตั้งแตจีนตอนใตบริเวณมณฑลยูนนาน กวางสี กลุ  ม วั ฒ นธรรมดองซอนในตอนเหนื อ ของเวี ย ดนามบริ เ วณ ¨จ´ดËหÁมÒาÂย¢ข่ÒาÇวÁมÙูÅล¹นÔิ¸ธàเÔิ Åล¡ก ็ -»ปÃรÐะäไ¾พ ÇวÔิÃรÂย Ôิ Ðะ¾พÑั¹น¸ธØุ ์


àเ Áม Éษ Òา Âย ¹น - ÁมÔิ ¶ถØุ ¹น Òา Âย ¹น ò๒ õ๕ õ๕ ö๖

ลุมแมน้ำแดงแมน้ำดำ และสงออกไปยังดินแดนตางๆ ในเอเชีย ตะวันออกเฉียงใตทั้งภาคพื้นทวีปและภาคพื้นน้ำ ซึ่งกลุมวัฒนธรรม ซาหวิ่งหในบริเวณภาคกลางของเวียดนามมีสวนสำคัญอยางมากใน การสงออกวัฒนธรรมของกลองมโหระทึกออกไปยังดินแดนตางๆ ภายนอก

! ในปจจุบันกลองมโหระทึกยังถูกนำมาใชรวมในพิธีกรรม ตางๆ ของคนในภูมิภาคนี้ ดังเห็นไดจากการใชในพิธีกรรมขอฝน ของชนชาติจวงในมณฑลกวางสี ประเทศจีน และงานพระราชพิธี ตางๆ ในประเทศไทย P กลองมโหระทึ ก ที ่ ม ี ก ารพบในประเทศไทยพบในทั ่ ว ทุ ก ภูมิภาค โดยพบมากที่สุดในภาคใต รองมาเปนภาคเหนือ ภาค อีสาน และภาคกลางตามลำดับ ทวากลองมโหระทึกในประเทศไทย ที ่ ค  น พบและมี ค วามโดดเด น คื อ กลองมโหระทึ ก พบที ่ อ ำเภอ ดอนตาล จังหวัดมุกดาหาร ที่ถือวามีขนาดใหญมากที่สุดที่มีการ พบในประเทศไทย คือมีขนาดเสนผานศูนยกลาง ๘๖ ซม. สูง ๖๕ ซม. เก็บรักษาไวที่วัดมัชฌิมาวาส อำเภอดอนตาล จังหวัด มุกดาหาร P สำหรั บ แหล ง สำริ ด และความก า วหน า ในการศึ ก ษากลอง มโหระทึกที่คุณสุกัญญา เบาเนิด นำเสนอในวันนี้คือ แหลง โบราณคดีโนนหนองหอ บานงามอุดม ตำบลนาอุดม อำเภอ นิคมคำสรอย จังหวัดมุกดาหาร เริ่มมีการคนพบเมื่อประมาณป พ.ศ. ๒๕๔๐ เมื่อคุณประสาน งามสารบำรุง ผูใหญบานงามอุดม ขุดหลุมเผาถานและไปพบกระบวยสำริด ลูกปด เครื่องปนดินเผา จึงแจงมาที่สำนักงานศิลปากรที่ ๑๑ นำไปสูการเขาไปทำงานขุดคน ซึ่งไดพบกับโบราณวัตถุจำนวนมาก แตเมื่อเจาหนาที่ไดออกไปจาก พื้นที่ก็ไดมีพอคาของเกาเขาไปกวานซื้อโบราณวัตถุจากชาวบาน ทำใหมีการลักลอบขุดคนของเกาครั้งใหญ จนสุดทายทางเจาหนาที่ โบราณคดี สำนักศิลปากรที่ ๑๑ ก็ไมสามารถปองกันการลักลอบ ขุดไปได P จากนั้นทางทีมคุณสุกัญญายังไดรับการสนับสนุนขอมูลจาก ทีมงานของคณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร โดย รศ. สุรพล นาถะพินธุ ทำการขุดคนทางโบราณคดีอยูในบริเวณเดียวกัน ซึ่งได ¨จ´ดËหÁมÒาÂย¢ข่ÒาÇวÁมÙูÅล¹นÔิ¸ธàเÔิ Åล¡ก ็ -»ปÃรÐะäไ¾พ ÇวÔิÃรÂย Ôิ Ðะ¾พÑั¹น¸ธØุ์

พบว า มี ร  อ งรอยของตะกรั น โลหะในชั ้ น ดิ น อยู  อ ย า งหนาแน น นอกจากนั้นยังมีการคนพบทอลม เศษกอนโลหะ และแมพิมพใชใน การหลอสำริดอีกดวย จึงทำใหมีการสันนิษฐานวานาจะตองมีแหลง หลอสำริดในบริเวณนี้ P ดวยกอนดินที่มีการคนพบจากลวดลายภายในกอนดินที่เปน ลายเสนหนามโหระทึก จึงทำใหสันนิษฐานวานอกจากการหลอ สำริด เครื่องมือ เครื่องประดับแลว ในบริเวณนี้ยังไดเคยมีการ หลอกลองมโหระทึกขึ้น ซึ่งนับวาเปนการคนพบที่มีความสำคัญ อย า งมากในการทำงานโบราณคดี ใ นประเทศไทย ที ่ ท ำให เปลี่ยนแปลงความรูที่เคยมีมาแตเดิมวากลองมโหระทึกเปนสิ่งของ นำเขามาจากภายนอกเทานั้น มาเปนการผลิตขึ้นเองภายในชุมชน มนุษยกอนประวัติศาสตรในประเทศไทย P ประเด็นสืบเนื่องจากการคนพบแหลงผลิตกลองมโหระทึก อยูที่วัตถุดิบนำมาใชในการผลิตสำริด แหลงเหมืองทองแดง โบราณในประเทศไทยนั้นมีอยู ๒ แหลง คือ ภูโลน จังหวัด หนองคาย หุบเขาวงพระจันทร จังหวัดลพบุรี ซึ่งอยูหางจาก แหลงผลิตในแหลงโนนหนองหอ จึงสันนิษฐานไดวาทองแดง อาจถู ก ส ง มาจากทางฝ  ง ประเทศสาธารณรั ฐ ประชาธิ ป ไตย ประชาชนลาว หากทว า ก็ ม ี ก ารพบก อ นโลหะสำเร็ จ รู ป ท่ ี ห ล อ สวนผสมมาใหพรอมใชแลว สงมาจากพื้นที่อื่นๆ ก็เปนได ถึง แม จ ะหาจุ ด ยุ ต ิ ใ นเรื ่ อ งนี ้ ไ ม ไ ด ห ากทว า ก็ ท ำให เ ห็ น ได ว  า แหล ง ผลิ ต สำริ ด โนนหนองหอย อ มมี ค วามสั ม พั น ธ ก ั บ ชุ ม ชนอื ่ น ๆ ภายนอกที่มีการผลิตวัตถุดิบเพื่อนำสงมาสำหรับการหลอมเปน เครื่องใช เครื่องประดับ ตลอดจนกลองมโหระทึกที่โนนหนองหอ P การทำงานของนักโบราณคดีในประเทศไทยยังดำเนินตอไป เพื่อคนพบความรูขอมูลหลักฐานใหมที่ยังรอการคนพบ และชวย เปลี่ยนความรูความเขาใจทางวิชาการหลากหลายประการทำใหเกิด ขึ้นได อันกอใหเกิดประโยชนตอการทำความรูจักบานของเราเองให ได เ พิ ่ ม มากขึ ้ น ทว า ด ว ยข อ จำกั ด ทางงบประมาณและจำนวน บุคลากรในการทำงานยอมเปนเรื่องหนักหนวงตอไปสำหรับการ ทำงานโบราณคดีสำหรับการคนหารากของสังคมไทย อานรายละเอียดเพิ่มเติมพรอมภาพประกอบและตัวอยางวีดีโอการ ñ๑ù๙


»ปÕี ·ท∙Õี ่ ñ๑ ÷๗

©ฉ ºบÑั ºบ ·ท∙Õี่ ù๙ ø๘

สรุป บรรยายสาธารณะ “ความรูทางภูมิศ าสตรแ ละวัฒนธรรมกั บ การทำความเขาใจประเทศเพื่อนบาน” »ปÔิÂยªชÒาµตÔิ ÊสÖึ§งµตÕี

P P วันพุธที่ ๓ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๖ ที่ผานมา มูลนิธิเล็กประไพ วิริยะพันธุ ไดจัดใหมีการบรรยายสาธารณะในหัวขอ “ความรู  ท างภู ม ิ ศ าสตร แ ละวั ฒ นธรรมกั บ การทำความเข า ใจ ประเทศเพื่อนบาน” โดยไดรับเกียรติจากคุณศรัณย บุญประเสริฐ นักเขียนสารคดี นักเดินทาง ที่มีความสนใจในเอเชียตะวันออกเฉียงใต มาเปนวิทยากรรวมบรรยายและแลกเปลี่ยนความคิดเห็น P คุณศรัณย บุญประเสริฐ เริ่มการบรรยายดวยการนำพาผูฟง เขาไปรูจักกับการศึกษาภูมิศาสตร ซึ่งเปนศาสตรพื้นฐานที่คุณ ศรัณยใชเปนเครื่องมือสำคัญในการเรียนรูและทำความรูจักกับโลก โดยเสนอวาภูมิศาสตรคือการศึกษาภาพรวมของโลก ศึกษามนุษย ศึกษาสัตว ภูมิศาสตรเปนศาสตรที่เรียนรูทุกอยางจากโลก จาก พื้นดิน จากพืช จากสิ่งแวดลอม จากมนุษย และจากวัฒนธรรม P

ในการศึกษาภูมิศาสตรดำเนินไปใน ๒ แนวทาง คือ

P ๑. ธรณีวิทยา เปนการศึกษาเกี่ยวกับแผนดิน น้ำ แรธาตุ ภูเขา กลาวรวมๆ คือ การศึกษาแผนดินทุกสิ่งปรากฏอยูบนและใตผืนดิน ของโลก เพื่อทำความเขาใจกับสภาพแวดลอม ซึ่งชวยใหเขาใจกับสิ่ง แวดลอมที่อยูและการคาดการณปรากฏการณธรรมชาติ P ๒. แผนที่ เปนเครื่องมือสำคัญสำหรับภูมิศาสตรในการจด บันทึกสิ่งที่พบเห็นบนพื้นโลกลงไปบนกระดาษ ฉะนั้นแผนที่จึง เปนการวาดตำแหนงที่ผูทำแผนที่สนใจ พบเห็นแลวบันทึกลงไป บนกระดาษ

ò๒ð๐

P “แผนที่” มีความสำคัญสำหรับการเริ่มตนศึกษาภูมิศาสตร ประวัติศาสตรของแผนที่มีมาอยางยาวนาน แผนที่เกาที่สุดในโลก พบในผนังถ้ำในประเทศสเปน (ถ้ำอัลตามีรา-Cueva de Altamira) แรกเริ่มคนที่เขาไปพบเขาใจวาเปนการเขียนภาพผนังถ้ำธรรมดา แตตอมากลับพบวามันเปนแผนที่รูปดาว เพราะมีการเขียนจุดตางๆ ใหญนอย เปนเหมือนกับทองฟาและดวงดาว P กาวกระโดดครั้งสำคัญของแผนที่เกิดขึ้นภายหลังการคิดวาง เสนระบุตำแหนงลงไปบนแผนที่ คือ เสนละติจูด [Latitude] เสน ลองจิจูด [Longitude] เสนสมมติถูกลากลงไปบนแผนที่เพื่อชวยใน การระบุตำแหนงของสิ่งตางๆ บนพื้นโลก P สำหรับแผนที่ในประเทศไทย เดิมแผนที่ของไทยก็จะเปนไป แบบเดียวกันกับแผนที่สมัยโบราณของโลก คือ ไมมีทิศทางและ อัตราสวนที่แนชัด เขียนขึ้นภายใตโลกทัศนของผูวาดแผนที่ กลาว คือเห็นอยางไรก็เขียนขึ้นมาอยางนั้นตามจินตนาการไมไดมีการ คำนึงถึงความถูกตองของทิศทางหรืออัตราสวนใดๆ อยางแผนที่ สมัยอยุธยามีการวาดภูเขา แมน้ำ ลงไปบนผาไหม มีการเขียนระบุ สถานที่ เชน แมกลอง เพชรบุรี นครศรีธรรมราช เปนตน P สวนความรูในการทำแผนที่แบบปจจุบัน ไทยเริ่มใหความ สนใจกับแผนที่แบบใหมจากการเขามาของจักรวรรดินิยมตะวันตก ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว ซึ่งชาวตะวันตก เริ่มเขายึดครองอาณานิคมในเอเชียตะวันออกเฉียงใต ทำใหตองมี การแบงสันปนสวนพื้นที่ระหวางรัฐตามแบบรัฐสมัยใหม [Modern State] ที่รัฐมีขอบเขตที่แนนอนชัดเจน มีเสนพรมแดน ตางจากรัฐ กอนสมัยใหม [Pre-Modern State] ที่เคยเปนมาในเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต รัฐไมเคยมีเสนเขตแดนชัดเจน มีแต “ปริมณฑล ทางอำนาจ” ระหวางรัฐรับรูระหวางกัน และขอบเขตของอำนาจดัง กลาวมีการเลื่อนไหลไปตามสถานการณของศูนยอำนาจ P พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัวไดวาจางนายเจมส เอฟ. แมคคารธี ชาวอังกฤษ ใหเขามาจัดทำแผนที่สยามแบบสมัย ใหมชุดหนึ่ง ตอมาในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ¨จ´ดËหÁมÒาÂย¢ข่ÒาÇวÁมÙูÅล¹นÔิ¸ธàเÔิ Åล¡ก ็ -»ปÃรÐะäไ¾พ ÇวÔิÃรÂย Ôิ Ðะ¾พÑั¹น¸ธØุ ์


àเ Áม Éษ Òา Âย ¹น - ÁมÔิ ¶ถØุ ¹น Òา Âย ¹น ò๒ õ๕ õ๕ ö๖

โปรดเกลาฯ ใหมีการตั้งโรงเรียนแผนที่ขึ้นเพื่อผลิตบุคลากรในการ ทำแผนที่ขึ้นตอมาดวย P ในเรื ่ อ งของแผนที ่ เ ป น ประเด็ น หนึ ่ ง ทำให ไ ทยมี ป  ญ หากั บ ประเทศเพื่อนบานเรื่องเขตแดนอยูเสมอ ดวยเพราะเราใชแผนที่ อัตราสวน ๑ : ๒๐๐,๐๐๐ แตเพื่อนบานใกลเคียงอยางกลุม อินโดจีน กลับใชแผนที่อัตราสวน ๑ : ๒๕๐,๐๐๐ ตามอยาง ฝรั่งเศสเคยทำไว อัตราสวนที่คลาดเคลื่อนกันเชนนี้ทำใหการ กำหนดเสนพรมแดนบนแผนที่ระหวางไทยกับเพื่อนบานเปนปญหา ดังเห็นไดจากกรณีขอพิพาทพรมแดนปราสาทเขาพระวิหารกับ ประเทศกัมพูชา พ.ศ. ๒๕๐๕ และยืดยาวมาจนปจจุบัน ตลอดจน ขอพิพาทกับประเทศลาวในพรมแดนที่บานรมเกลา เปนตน P ลักษณะภูมิศาสตรพิเศษ คือ สิ่งแวดลอมทางธรรมชาติที่มี ความพิเศษแตกตางจากสภาพแวดลอมโดยรอบ เชน วัดภู ประเทศ ลาว พระธาตุอินแขวน ประเทศพมา เขาพระวิหาร ประเทศกัมพูชา ซึ่งพื้นที่เหลานี้คือพื้นที่ภูมิศาสตรพิเศษที่ธรรมชาติรังสรรคขึ้น เมื่อ ผูคนผานเขามาพบเห็นจึงเกิดจินตนาการวาพื้นที่เหลานี้มีความ พิเศษหรือความศักดิ์สิทธิ์ จึงทำการอุทิศใหกับผีหรือสิ่งศักดิ์สิทธิ์ เหนือธรรมชาติ P ภายหลังเมื่อศาสนาจากภายนอกเขามาทั้งพราหมณและพุทธ พื้นที่พิเศษเหลานี้จึงไดถูกสถาปนาใหมอีกครั้งใหกลายเปนพื้นที่ ศักดิ์สิทธิ์ของเทพเจาในศาสนาใหมนั้น P เมื ่ อ เป น เช น นี ้ แ ล ว ข อ พิ พ าทเรื ่ อ งเขตแดนระหว า งไทยกั บ กัมพูชา “เขาพระวิหาร” จึงไมควรดำเนินไปเชนนี้ เนื่องจากเขา พระวิหาร ที่มีภูมิศาสตรพิเศษเปนจะงอยผายื่นออกไปจากเทือก เขาพนมดงรัก จึงไดรับการสถาปนาจากผูคนที่อาศัยอยูในพื้นที่ รวมกันอุทิศใหเปนพื้นที่ศักดิ์สิทธิ์แกผีตนน้ำ ตอมาเมื่ออาณาจักร พระนครไดขยายอำนาจเขามาถึงก็ไดมีการเขารวมสรางปราสาทหิน ถวายใหกับผีตนน้ำแหงนี้ P ฉะนั้นหากมองในดานของประวัติศาสตรและภูมิศาสตรเชนนี้ แลว เห็นไดวาพื้นที่แหงนี้ไมใชของประเทศใดประเทศหนึ่งภายใต เสนพรมแดน แตเปนพื้นที่พิเศษสำหรับคนทองถิ่นทั้งสองฝงของ เทือกเขาพนมดงรักไดรับประโยชนรวมกัน P P “คนไทยมักไมรูเกี่ยวกับภูมิศาสตร เรารูแคแผนที่เมืองหลวง แตไมรูจักพื้นที่เลย” P เปนคำกลาวของคุณศรัณยในชวงทายของการบรรยายพรอม กับคำถามผูรวมฟงที่ถามถึงความสำคัญของภู ม ิ ศ าสตร ท ี ่ ม ี ต  อ สังคมและคนไทย P คุณศรัณยตอบคำถามดวยการยกตัวอยางของปญหา มีที่มา จากไมรูในภูมิศาสตร ตลอดจนความไมรูในสิ่งอื่นๆ ¨จ´ดËหÁมÒาÂย¢ข่ÒาÇวÁมÙูÅล¹นÔิ¸ธàเÔิ Åล¡ก ็ -»ปÃรÐะäไ¾พ ÇวÔิÃรÂย Ôิ Ðะ¾พÑั¹น¸ธØุ์

P “ภู ม ิ ศ าสตร เ ป น สิ ่ ง ที ่ เ ราควรจะรู  เพราะความไม ร ู  ท าง ภูมิศาสตรทำใหเราไมเขาใจที่เราอยู อยางพื้นที่ลุมน้ำเจาพระยา แผนดินเกิดใหมจากการทับถมของตะกอนดินปากแมน้ำ ดานลาง ของชั้นดินมีกำมะถันและแทรกพรอมกับไอน้ำหรือน้ำใตดินขึ้นมา บนผิวดินอยูตลอด คนสมัยกอนการปลูกขาวปละครั้ง เก็บเกี่ยว เสร็จน้ำมาก็ปลอยน้ำใหทวมนาทวมซังขาวจนเปอยกลายเปนปุยให กับดิน พอน้ำลดจึงไถกลบและเริ่มทำนาใหม แตการทำเชนนั้น นอกจากใหปุยแลวยังเปนการละลายกำมะถันในดินที่ทำใหดิน เปรี้ยว U ฉะนั้นเมื่อทุกวันนี้เราทำนาหลายครั้งตอป เราก็ไถกลบ เผา นาเลยจึงทำใหเกิดปญหาดินเปรี้ยวตามมาตองใสปุย กลายเปน ปญหาอื่นๆ ตามมาอีกมาก” P ความไมรูในเรื่องภูมิศาสตรมีปญหาสำหรับสังคมไทยมาก โดยเฉพาะในเรื่องของ “พรมแดน” เพราะคนไทยไมเคยรูและถูก ชักชวนใหเขาใจผิดและมีปญหาขอพิพาทระหวางประเทศ อยางใน กรณีของ “เขาพระวิหาร” ที่ถูกนำไปกลายเปนประเด็นเรื่องปญหา ความขัดแยงระหวางประเทศ ถูกชักนำดวยสำนึกชาตินิยม จนทำให คนมีความเกลียดชังกับเพื่อนบาน ทั้งที่จริงแลวเสนเขตแดนเพิ่งมี ขึ้นแตก็ทำใหคนเกิดปญหากันมาก หากมีความเขาใจในภูมิศาสตร ประวัติศาสตร เราจะเขาใจไดวาพรมแดนตองจัดการดวยปริมณฑล ทางอำนาจที่มีความเลื่อนไหลเคลื่อนไหวได ไมใชไมบรรทัดมาตั้ง วัดแบงพื้นที่บนพื้นโลก P “เวลาคุณไปทองเที่ยว คุณตองมีความรู คุณจะมองโลก เปลี่ยนไป มองภูเขาลูกหนึ่งเราก็จะไมไดมองใหเห็นแคความสวย แตจะมองเห็นถึงความหมายแฝงไวในสิ่งนั้น เราจะสนุกมากขึ้น เขาใจเพื่อนบาน เขาใจดินแดนตางๆ ไดมากทีเดียว” การมอง เชนนี้เปนการบูรณาการทำใหเขาใจสิ่งตางๆ รอบตัวไดดีขึ้นดวย P “ความรู ความเชื่อมโยง การบูรณาการเปนสิ่งสำคัญสำหรับ การเรียนประวัติศาสตรและโบราณคดี ในทุกวันนี้ผูเรียนมีความ เขาใจที่แยกสวนมากเกินไปจนขาดการบูรณาการความรูดานอื่นๆ โดยเฉพาะความรูทางภูมิศาสตร ความเขาใจในแผนที่ทำใหเรามอง เห็นภาพตางๆ ไดชัดเจน การเดินทางดวยความเขาใจในผูคนและ พื้นที่ซึ่งเราเดินทางไปจะทำใหเดินทางไดสนุก เขาใจและเทาทันโลก ไดมากขึ้น” P วลัยลักษณ ทรงศิริ กลาวปดทายการบรรยายสาธารณะใน ครั้งนี้ พรอมกับขอเสนอเปดโลกทัศนในการเดินทางของคนไทยที่ ควรเปลี่ยนไป อานรายละเอียดเพิ่มเติมพรอมภาพประกอบและตัวอยางวีดีโอการ บรรยายไดที่ http://www.lek-prapai.org/watch.php?id=1007

ò๒ñ๑


»ปÕี ·ท∙Õี ่ ñ๑ ÷๗

©ฉ ºบÑั ºบ ·ท∙Õี่ ù๙ ø๘

»ปÃรÐะªชÒาÊสÑัÁม ¾พÑั¹น¸ธ์ วันพุธที่ ๕ มิถุนายน ๒๕๕๖

เรื่อง “สถาปตยกรรมมลายูในทองถิ่นสาม

จังหวัดภาคใต” บรรยายโดย ณายิบ อาแวบือซา

กิจกรรมบรรยายเชิงวิชาการ ของมู ลนิ ธิเ ล็ก -ประไพ วิร ิย ะพั นธุ

“บรรยายสาธารณะประจำป ๒๕๕๖” วันพุธเดือนเวนเดือน เวลาบายโมงถึงบายสี่โมง ติดธุระหรืออยูไกล ไมตองมา เพราะทุกวันนี้รถติดเหลือใจ เพราะสามารถรั บ ชมถ า ยทอดสดได จ ากทางเว็ บ ไซต ข องมู ล นิ ธ ิ ฯ www.lek-prapai.org เริ่มเวลา ๑๓.๐๐ น.-๑๖.๐๐ น. ติดตอไดที่มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ ๐๒-๒๘๑-๑๙๘๘, ๐๒-๒๘๐-๓๓๔๐ หรือสำรองที่นั่งไดทาง https://www.facebook.com/lekfound

áแ¼ผ§งËห¹นÑั§งÊส×ืÍอ Êส×ื่ÍอÊสÒาÃรÐะ

สถาปนิกและผูสนใจศึกษาเรื่องราวทางนิเวศวัฒนธรรมใน สามจังหวัดชายแดนใต Z พื้นเพของ “คุณณายิบ อาแวบือซา” อยูที่อำเภอ รือเสาะ จังหวัดนราธิวาส แตไดรับการศึกษาในระบบที่ กรุงเทพมหานครตั้งแตชั้นมัธยม ชั้นอาชีวศึกษาที่อุเทนถวาย ใชชีวิตทำงานในบริษัทตางชาติอยูหลายป ภายหลัง เมื่อกลับบานเกิดก็ศึกษาตอเนื่องที่จังหวัดยะลาพรอมๆ ไปกับทำงานธุรกิจสวนตัว Z เพราะเกิดในครอบครัวของผูมีรากเหงาทั้งของฝายบิดาและมารดา จากเมืองปตตานีที่ไดรับการศึกษาจากตะวันออกกลางในยุคแรกๆ จนกระทั ่ ง เป น พื ้ น ฐานในการเป ด โรงเรี ย นในระบบของรั ฐ ไทยเป น กลุมแรกในพื้นที่สามจังหวัด ทำใหณายิบสามารถเขาถึงผูคนและขอมูล แบบลึกซึ้งไดไมยาก Z ความสนใจในเรื่องราวของภูมิวัฒนธรรมบานเกิดเมืองนอนโดย เฉพาะงานทางสถาปตยกรรมแบบมลายูที่เริ่มสูญหายไปอยางรวดเร็ว รวมทั ้ ง การมี โ อกาสเดิ น ทางไปสำรวจเยี ่ ย มชมชุ ม ชนชาวมลายู ใ น ประเทศเพื่อนบานหลายแหง ทำใหการศึกษาทางดานสถาปตยกรรม มลายูที่ณายิบกำลังทำอยูนี้เปนสิ่งที่ควรนำมาบอกเลา เผยแพร เพราะ ในสถานการณปจจุบันงานศึกษาเชนนี้ทำไดยาก และที่มีอยูก็มีเรื่องราว อยูไมมากนัก

พิเศษ! สมัครสมาชิกจดหมายขาว สั่งซื้อหนังสือและดีวีดีเฉพาะของมูลนิธิฯ ลดราคาหนังสือและดีวีดีทุกประเภททันที

P ผูสนใจสมัครสมาชิกจดหมายขาวมูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ เพียงเขียนรายละเอียดในใบสมัครจากเว็บไซต www.lek-prapai.org สงมายังที่อยูหรืออีเมลของมูลนิธิฯ รับสิทธิพิเศษทันที Z ๑. สั ่ ง ซื ้ อ หนั งสื อ และดี ว ีด ีเ ฉพาะของมูลนิธิฯ ไมว า ใหม หรื อ เกา ลดราคาทุกปกทุกชิ้น ๒๐ % (เฉพาะสั่งซื้อกับมูลนิธิฯ เทานั้น ไมรวมกรณีซื้อจากงานหนังสือตางๆ หรือรานหนังสือ) ò๒ò๒

๒๐%

Z ๒. สามารถบอกรับจดหมายขาวแบบออนไลนฟรีหรือสมัครรับ จดหมายขาวแบบสิ่งพิมพคาใชจายปละ ๑๐๐ บาท จำนวน ๔ ฉบับ Z ๓. สามารถรับรหัสสมาชิกเพื่ออานจดหมายขาวแบบออนไลน ตั้งแตฉบับที่ ๑ ถึงฉบับปจจุบันฟรี และสามารถ Download จดหมาย ขาวในรูปแบบไฟล pdf ไดทุกฉบับ Z ๔. สามารถรับขาวสารกิจกรรมของมูลนิธิฯ ไดกอนใครอื่น หรือ สามารถเขารวมกิจกรรมตางๆ ไดในราคาพิเศษ ¨จ´ดËหÁมÒาÂย¢ข่ÒาÇวÁมÙูÅล¹นÔิ¸ธÔิàเÅล็¡ก-»ปÃรÐะäไ¾พ ÇวÔิÃรÔิÂยÐะ¾พÑั¹น¸ธØุ์


àเ Áม Éษ Òา Âย ¹น - ÁมÔิ ¶ถØุ ¹น Òา Âย ¹น ò๒ õ๕ õ๕ ö๖

ดีวีดีเสวนาสัญจรคนคอนศตวรรษ ๑. ดีวีดีเสวนาสัญจรคน ค อ นศตวรรษ "ส อ งซอด สอดสอง เมืองสกล" ฟงความผูหลักผูใหญในบาน เมือง ฝกฟนใจเพื่ออนาคต เมื่อ ๑๗ มีนาคม ๒๕๕๕ ณ เทศบาล เมืองสกลนคร เปดประเด็นโดย ร ศ . ม . ร . ว . อ ค ิ น ร พ ี พ ั ฒ น์ อาจารยศรีศักร วัลลิโภดม และ พอเล็ก กุดวงศแกว ผลิตเพื่อผูสนใจรับรูการเสวนาในเมืองสกลนคร โดยอาจารยผูหลักผูใหญและปราชญอาวุโสชาวสกลนครและผูเขารวม เสวนาหลากหลาย รวมทั้งสารคดีสัมภาษณประกอบการเสวนาตลอด กวาสามชั่วโมง แผนแรกสีฟาเขมเปนรายการเสวนาและสารคดีแบงเปนตอน ยอย ๕ ตอน ในประเด็นตางๆ ๕ ชวงที่จะนำทานไปรูจักเมือง สกลนครใหลึกและกวางกวาที่เคย สวนแผนสีบานเย็นเปนบันทึก การเสวนาอยางเดียวราวสามชั่วโมง ] ๒. ดี ว ี ด ี เ สวนาสั ญ จรคน

ค อ นศตวรรษที ่ ก รุ ง เทพฯ “ไลรื้อชุมชน : ความขัดแยง ระหวางกรรมสิทธิ์โดยกฎหมาย และสิทธิชุมชน ภาวะลาหลัง ทางวัฒนธรรมในเมืองไทย” Z บั น ทึ ก การเสวนาฉบั บ เต็ ม เป ด ประเด็ น โดย ศ.ดร.เสน ห  จามริก, รศ. ดร. ม.ร.ว. อคิน รพีพัฒน และรศ.ศรีศักร วัลลิโภดม

สวนอีกแผนนำเสนอสารคดีสั้นความผูกพันของผูคน ยานบานเมือง และ การรื้อทำลาย บันทึกการเสวนาพรอมสารคดีประกอบสัมภาษณผู มีสวนไดสวนเสียจากกรณีไลรื้อหลายแหงไดแก ๑. ยาน...ความเปน ชุมชน ๒. สิทธิชุมชน ๓. ความขัดแยง

๓. ดีวีดีเสวนาสัญจรคนคอน ศตวรรษที่แมกลอง : “แมกลองวิวัฒน” หรือ “ทอง ถิ่นวิบัติ” ฟ ง นั ก วิ ช าการผู  เ ป น ราษฎร อาวุ โ ส รศ. ม.ร.ว. อคิ น รพีพัฒน และอาจารยศรีศักร วั ล ลิ โ ภดม ร ว มกั บ สมาชิ ก วุฒิสภาจังหวัดสมุทรสงคราม คุณสุรจิต ชิรเวทย ซึ่งเปนผูที่ทำงาน คลุกคลีกับการศึกษาทองถิ่นและมองเห็นสังคมไทยเปลี่ยนผานมา อยางยาวนาน เปนการกระตุนเตือนใหเกิดการฉุกคิดและเกิดแรง บั น ดาลใจที ่ ส ำคั ญ เพื ่ อ สร า งภู ม ิ ค ุ  ม กั น ในการตั ้ ง รั บ กระแสความ เปลี่ยนแปลงทางสังคมที่เกิดขึ้นอยางรุนแรง

บั น ทึ ก การเสวนาและสารคดี ป ระกอบสั ่ ง ได ใ นราคา แผ น ละ ๖๐ บาท และจั ด ส ง ทั ่ ว ประเทศ "ฟรี " ผูสนใจสั่งซื้อไดท ี่ : มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ E-mail : vlekprapaifoundation@gmail.com หรือ https://www.facebook.com/lekfound โทรศัพท ๐๒-๒๘๑-๑๙๘๘, ๐๒-๒๘๐-๓๓๔๐ รานหนังสือริมขอบฟา วงเวียนอนุสาวรียประชาธิปไตย ถนนราชดำเนิน กรุงเทพฯ โทร. ๐๒-๖๒๒-๓๕๑๐ หมายเหตุ: มูลนิธิฯ ไมมีวัตถุประสงคในการแสวงหากำไรแตมุงเผยแพรความรู เพื่อเปนประโยชนสูสาธารณะ จึงมีคาใชจายเฉพาะคาผลิต DVD เทานั้น

ดีวีดีสารคดี “พอเพี ย งเพื่ อ แผ น ดิน เกิ ด” ราคาพิ เ ศษ ! สำหรับผูสมัครสมาชิกจดหมายขาวของมูลนิธิฯ

งานสารคดีพอเพียงเพื่อแผนดินเกิด จัดทำขึ้นโดยความรวมมือของเมืองโบราณ มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ และบริษัท เอเชีย แซทเทิลไลท ทีวี จำกัด เพื่อสรางความเขาใจในทองถิ่นและความรักในมาตุภูมิ ผูสนใจสั่งซื้อไดที่ : มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ E-mail : vlekprapaifoundation@gmail.com หรือ https://www.facebook.com/ lekfound โทรศัพท ๐๒-๒๘๑-๑๙๘๘, ๐๒-๒๘๐-๓๓๔๐ รานหนังสือริมขอบฟา วงเวียนอนุสาวรียประชาธิปไตย ถนนราชดำเนิน โทร. ๐๒-๖๒๒-๓๕๑๐ หมายเหตุ คาจัดสง ๑-๑๐ แผน ราคา ๕๐ บาท ๑๑ แผนขึ้นไปราคา ๑๐๐ บาท

¨จ´ดËหÁมÒาÂย¢ข่ÒาÇวÁมÙูÅล¹นÔิ¸ธÔิàเÅล็¡ก-»ปÃรÐะäไ¾พ ÇวÔิÃรÔิÂยÐะ¾พÑั¹น¸ธØุ์

ò๒ó๓


»ปÕี ·ท∙Õี ่ ñ๑ ÷๗

©ฉ ºบÑั ºบ ·ท∙Õี่ ù๙ ø๘

หนังสือใหมชุดพอเพียงเพื่อแผนดินเกิด

จากเนื้อหาของวิดีโอสารคดี “พอเพียงเพื่อแผนดินเกิด” ผลิตเปนหนังสือและ E-book

เพื่อ แผ นดิ นเกิ ด

ผูเขียน ศรีศักร วัลลิโภดม และ วลัยลักษณ ทรงศิริ ราคา ๒๒๕ บาท

ผู  น ำทางวั ฒ นธรรม

ผูเขียน วลั ยลั กษณ ทรงศิ ร ิ ราคา ๒๑๕ บาท

นิเวศวัฒนธรรมใน ความเปลี ่ ย นแปลง

ฟ น พลัง ความหลาก หลายทางวั ฒนธรรม ในสั ง คมสยาม

ผูเขียน วลัยลั กษณ ทรงศิร ิ ราคา ๒๗๐ บาท

มู ล น ิ ธ ิ เ ล็ ก - ปร ะ ไพ ว ิ ร ิ ย ะ พั น ธ ุ ์ จัดทำหนังสือชุด “พอเพียงเพื่อแผนดินเกิด” จากเนื้อหาในสารคดีในชื่อชุดเดียวกัน หนังสือ “ชุดพอเพียงเพื่อแผนดินเกิด” มี ๔ เลม

พิเศษสำหรับสมาชิกจดหมายขาวฯ ลดราคาจากปก ๒๐ %

ผูเขียน วลัยลักษณ ทรงศิร ิ ราคา ๓๐๐ บาท

เมืองหนองหาร หลวงและภูพาน มหาวนาสี

ผูเขียน ศรีศักร วัลลิโภดม วลัยลักษณ ทรงศิริ และ รัชนีบูล ตังคณะสิงห์

เมื่อสั่งซื้อกับมูลนิธิฯ โดยตรง

ºบ·ท∙ºบÃรÃร³ณÒา¸ธÔิ¡กÒาÃร¨จ´ดËหÁมÒาÂย¢ข่ÒาÇวÏฯ นั บแต เริ ่ มมี การทำจดหมายข าวเพื ่ อบอกเล าข าวสารและสาระน ารู  จาก บุคลากรของมูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ ฉบับแรกเผยแพรเมื่อเดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๓๙ เปนตนมา ไมเคยปรากฏบทบรรณาธิการผูรับผิดชอบการผลิต จดหมายขาวฯ แตอยางใด จนถึงวันนี้เวลาผานไปกวา ๑๖ ป ฉบับที่ ๙๘ จึงปรากฏ บทบรรณาธิการชิ้นนี้ขึ้นเปนปฐม ] หลังจากผานการทำจดหมายขาวฯ รายสองเดือนมาจนลวงขึ้นปที่ ๑๖ จึงได ปรับเปลี่ยนใหเปนจดหมายขาวฯ รายสามเดือนในฉบับที่ ๙๑ เปนตนมา อันเนื่องมา จากจดหมายขาวของมูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ ทุกฉบับนั้น มีคอลัมน “เปดประเด็น” โดยอาจารยศรีศักร วัลลิโภดม เปนผูเขียน จะขาดไปก็อาจเพียงฉบับ หรือสองฉบับในระยะเริ่มแรกเทานั้น ระยะเวลาที่ผานไปและวัยที่มากขึ้นทำใหจำเปน ตองปรับระยะการเขียนงานของอาจารยศรีศักรใหไดมีเวลาพักบาง เพราะอาจารยทำงานเขียนหลายชิ้นเชนนี้ อยางตั้งใจเสมอมา การผอนคลายบางก็นาจะถือวาเปนการสมควร ] นอกจากงานเขียน “เปดประเด็น” ของอาจารยศรีศักร วัลลิโภดม ที่สรางขอคิดและพร่ำเตือนสติแกสังคม ไทยเสมอมานับสิบป จนถึงทุกวันนี้เหตุการณบานเมืองเปนไปในทางวิบัติคลายคลึงกับที่อาจารยไดคาดคะเนและ บอกกลาวไว ทานผูเปนสมาชิกจดหมายขาวฯ นับแตแรกเริ่มคงไดรับรูถึงสารที่สงผานอยางตอเนื่องตลอดมา จึง อยากขอเชิญชวนทานผูเปนสมาชิกใหมๆ ไดทดลองอานจดหมายขาวฯ ฉบับที่ผานมา โดยเขาไปอานไดใน เว็บไซตของมูลนิธิฯ นอกจากมีเนื้อหาตางๆ นาสนใจในสาระความรูที่คงจะเปนประโยชนแลว ยังจะไดทบทวน ถึงเหตุแหงความวิบัติของสังคมไทยที่พวกเรากำลังเผชิญ ณ ขณะนี้ได โดยลองพิจารณาดูวาเปนดังเชนใน !

บทความตางๆ ที่ผานมาของอาจารยศรีศักรหรือไม?

ÇวÅลÑัÂยÅลÑั¡กÉษ³ณ์ ·ท∙Ãร§งÈศÔิÃรÔิ ò๒ô๔

ÁมÙู Åล¹นÔิ ¸ธ Ôิ àเÅล็ ¡ก -»ปÃรÐะäไ¾พ ÇวÔิ Ãร Ôิ Âย Ðะ¾พÑั ¹น ¸ธØุ ์ ประธานกรรมการ ดร. ไพโรจน พงศพิพัฒน รองประธานกรรมการ อรพรรณ พงศพิพัฒน กรรมการและเหรัญญิก สุวพร ทองธิว กรรมการและเลขานุการ อมร ทองธิว กรรมการ พิจารณ วิริยะพันธุ, ตุก วิริยะพันธุ, รับพร วิริยะพันธุ ที่ปรึกษา ศรีศักร วัลลิโภดม, ดร.ธิดา สาระยา เจาหนาที่ สุดารา สุจฉายา, ลาวัลย ธรรมนิรันดร, ศรีสมร ฉัตรแกว, มรกต สาตราคม, วลัยลักษณ ทรงศิริ, รัชนีบูล ตังคณะสิงห, อรรถพล ยังสวาง, พรพิมล เจริญบุตร, ณัฐวิทย พิมพทอง, วันชนะ ศีระพัฒน, สวรรยา ดวงสำราญ, อภิญญา นนทนาท มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ ที่อยู ๓๙๗ ถ.พระสุเมรุ แขวงบวรนิเวศ เขตพระนคร กรุงเทพฯ ๑๐๒๐๐ โทรศัพท : ๐๒-๒๘๑-๑๙๘๘, แฟกซ :๐๒-๒๘๐-๓๓๔๐ E-mail :vlekprapaifoundation@gmail.com เฟสบุค https://www.facebook.com/lekfound เวบไซต www.lek-prapai.org

¨จ´ดËหÁมÒาÂย¢ข่ÒาÇวÁมÙูÅล¹นÔิ¸ธÔิàเÅล็¡ก-»ปÃรÐะäไ¾พ ÇวÔิÃรÔิÂยÐะ¾พÑั¹น¸ธØุ์


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.