มู ลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์ Lek-Prapai Viriyahpant Foundation ÃรÇวºบÃรÇวÁม ºบÑั ¹น ·ท∙Öึ ¡ก ÈศÖึ ¡ก ÉษÒา¢ข้ Íอ ÁมÙู Åล ·ท∙Òา§งÇวÑั ²ฒ ¹น¸ธÃรÃรÁม Êส¹นÑั ºบ Êส¹นØุ ¹น ¡กÒาÃรÍอ¹นØุ Ãร Ñั ¡ก Éษ์ àเ ¾พ×ื ่ Íอ ¾พÑั ²ฒ ¹นÒา àเ¼ผÂยáแ¾พÃร่ àเ ¾พ×ื ่ Íอ ¡กÒาÃรÈศÖึ ¡ก ÉษÒา¢ขÍอ§งÊสÒา¸ธÒาÃร³ณªช¹น จดหมายข า วรายสามเดื อ น
ป ท ี ่ ๑๗ ฉบั บ ที ่ ๙๘ เมษายน-มิ ถ ุ น ายน ๒๕๕๖
àเ»ปÔิ´ด»ปÃรÐะàเ´ด็¹น : ÈศÃรÕีÈศÑั¡กÃร ÇวÑัÅลÅลÔิâโÀภ´ดÁม
“ตางชาตินิยม” หรือ “ชาตินิยม” การกลาวหาเชิงวาทกรรมในสังคมไทย หน้า ๑
ข อ สั ง เกตจากการไปฟ ง เสวนาเรื ่ อ ง "ตามรอยสมเด็จ เจาฟาอุทุมพรในอมรปุระ เมียนมาร" วลัยลักษณ ทรงศิริ หน้า ๖
สร า งเด็ ก รั ก ถิ ่ น กั บ อยู เ มื อ งแกลงวิทยา สุดารา สุจฉายา หน้า ๘
“เกลือเปนหนอน” ภั ย ที ่ ค วรระวั ง ของชาวพิ พ ิ ธ ภั ณ ฑ ท อ งถิ ่ น ธีระวัฒน แสนคำ หน้า ๑๑
เรื่องเลาจาก “เด็กบานสวน-หนุมนักเรียน” ของ พ.เนตรรั ง ษี อภิญญา นนทนาท หน้า ๑๓
อันเนื่องจากเสวนา “ฟน (ราก) ชาวกรุง?”
àเ»ปÔิ´ด»ปÃรÐะàเ´ด็¹น ÈศÃรÕีÈศÑั¡กÃร ÇวÑัÅลÅลÔิâโÀภ´ดÁม
อภิญญา นนทนาท, ณัฐวิทย พิมพทอง หน้า ๑๖
สรุ ปบรรยายสาธารณะ “ความก า วหนาทางโบราณคดี เรื่องมโหระทึกสองฝงโขง สะหวันนะเขต-มุกดาหาร ปยชาติ สึงตี หน้า ๑๘
สรุ ป บรรยายสาธารณะ “ความรูทางภูมิศาสตรและวัฒนธรรมกับ การทำความเขาใจประเทศเพื่อนบาน” ปยชาติ สึงตี หน้า ๒๐
ประชาสัมพันธ สมัครสมาชิกจดหมายขาวมูลนิธิฯ ดีวีดีเสวนาสัญจรคนคอนศตวรรษ หนังสือใหมของมูลนิธิฯ
“ตางชาตินิยม” หรือ “ชาตินิยม” การกลาวหาเชิงวาทกรรมในสังคมไทย
สังคมไทยทุกวันนี้ไดกาวเขาสูความขัดแยงทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม ที่แบงผูคนออกเปนสองขั้ว มีทั้งเผชิญหนากันและกลาวหากัน พรอมที่จะดำดิ่งลงสู วังวนแหงความรุนแรงไดทุกเมื่อ การกลาวหาซึ่งกันและกันที่ไดยินไดฟงเปนประจำ ก็คือ ชาตินิยม หรือ คลั่งชาติ กับ ขามชาติ หรือ ขายชาติ P แต ค ำที ่ ข า พเจ า รู ส ึ ก ว า ไม น า จะมี อ ยู ใ นสั ง คมไทยก็ ค ื อ ชาติ น ิ ย ม และ คลั ่ ง ชาติ เพราะถามองตามความเปนจริงทางสังคมที่ผานมาแลว
หน้า ๒๒-๒๔
¨จ´ดËหÁมÒาÂย¢ข่ÒาÇวÁมÙูÅล¹นÔิ¸ธÔิàเÅล็¡ก-»ปÃรÐะäไ¾พ ÇวÔิÃรÔิÂยÐะ¾พÑั¹น¸ธØุ์
ñ๑
»ปÕี ·ท∙Õี ่ ñ๑ ÷๗
©ฉ ºบÑั ºบ ·ท∙Õี่ ù๙ ø๘
สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพและคณะผูติดตามในคราวเสด็จเยือนเขาพระวิหาร เมื่อ พ.ศ. ๒๔๗๒ เรสสิเดนตกำปงธมและเมอซิเออร ปามังติเอร นักโบราณคดีชาวฝรั่งเศสรับเสด็จที่เขาพระวิหาร
P เรื ่ อ งของชาติ น ิ ย มได ต ายจากสั ง คมไทยไปนานแล ว เมื ่ อ สิ้นสมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม เปนนายกรัฐมนตรี P ชาตินิยมในประเทศไทยเปนผลผลิตจากการลาอาณานิคม ของชาติมหาอำนาจทางตะวันตก ที่ทำใหเกิดการสรางเสนเขตแดน ทางการเมืองและเศรษฐกิจบนพื้นที่ทางวัฒนธรรมที่เปนพรมแดน ระหวางประเทศของบานเมืองในประเทศไทยกับประเทศใกลเคียง เชน ลาว เขมร พมา และเวียดนาม ทำใหเกิดรัฐชาติและ ประวัติศาสตรชาติขึ้นมาแทนที่ตำนานประวัติศาสตรของบานเมือง ในแตละทองถิ่นที่มีมาแตเดิม P ประเทศไทยแม จ ะไม เ ป น ประเทศราชในอาณานิ ค มของ คนตะวั น ตกก็ ต าม แต ก ็ ร ั บ การกำหนดเขตแดน การสร า ง ประวัติศาสตรชาติเชนเดียวกันกับประเทศอื่นๆ ทั้งนี้เพราะการเขา มามีอำนาจของคนตะวันตกนั้นไมจำกัดอยูเฉพาะเรื่องเศรษฐกิจ การเมืองเทานั้น ยังกินไปถึงมิติทางวัฒนธรรมดวย P คื อ ได ท ำให ค นตะวั น ออกที ่ เ ป น คนในอาณานิ ค มที ่ ร วมทั ้ ง คนไทยที ่ ไ ม ไ ด เ ป น เมื อ งขึ ้ น ด ว ยนั ้ น นิ ย มชมชอบในอารยธรรม ตะวันตกซึ่งสะทอนใหเห็นจากคำวา Civilization ที่กลายมาเปน คำไทยวา ความศิวิไล แทบทุกคนทุกชาติในเอเชียลวนอยากได ความเป น ศิ ว ิ ไ ลจนต อ งมี ก ารส ง คนรุ น ใหม ไ ปเรี ย นต อ ใน ประเทศมหาอำนาจทางตะวันตก รับเอาแนวคิดทางโลก ทางวัตถุ โลกทัศน คานิยม และวัฒนธรรมในดานชีวิตความเปนอยูแบบ อยางตะวันตกเขามา P ซึ ่ ง ก็ เ ห็ น ได จ ากผั ง เมื อ งและการสร า งเมื อ งแบบใหม โดยเฉพาะสังคมไทยแตสมัยรัชกาลที่ ๔ ลงมานั้น นับเปน การเริ่มตนของตะวันตกนิยม [Westernization] อย า งแท จ ริ ง พอถึงรัชกาลที่ ๕ คนรุนใหมโดยเฉพาะชนชั้นสูง เจานาย ขุนนาง ข า ราชการ และพ อ ค า คหบดี ต า งก็ ท ำอะไรเป น แบบตะวั น ตก ไปหมด ดูเปนภาวะสุดโตงเมื่อเปรียบเทียบกับบรรดาประเทศ เพื่อนบานที่เคยเปนอาณานิคม
ò๒
P อิทธิพลทางความคิดและวัฒนธรรมตะวันตกที่ทำใหคนใน เอเชียรวมทั้งไทยดวยรับเอาเขามาก็คือคำวา ชาติ ที ่ ห มายถึ ง Nation หรือ รัฐประชาชาติ ซึ่งมีการสรางประวัติศาสตรและการ กำหนดเขตแดนในอำนาจอธิปไตยชัดเจน P ประวัติศาสตรชาติเกิดขึ้นก็เพื่อเปนเครื่องมือทางการเมือง ในการบูรณาการวัฒนธรรมใหคนในประเทศมีสำนึกรวมกันเปน อันหนึ่งอันเดียวกันทามกลางความหลากหลายทางชาติพันธุ ศาสนา และความเปนมาของผูคนพลเมืองที่มีถิ่นฐานอยูตามทองถิ่นตางๆ ของประเทศ ในขณะเดียวกันก็เลือกเฟนความเปนมาของบาน เมืองในอดีตที่เคยรุงเรืองและยิ่งใหญเขามาประมวลและปรุงแตง ใหเปนเนื้อหาทางประวัติศาสตรเพื่อใหคนไดเรียนรูจักตนเอง และ ภูมิใจในตนเองในฐานะเปนพลเมืองของประเทศชาติหรือรัฐชาติ P การสรางประวัติศาสตรชาติเปนแนวคิด วิธีคิด และวิธีการ ของคนตะวั น ตกที ่ เ คยใช ใ นการหาความชอบธรรมในการล า อาณานิคมโดยใชขอมูลทางโบราณคดี [Archaeological past] กับ ทางชาติพันธุวรรณา [Ethological present] มาวิเคราะหและ ตี ค วามข อ มู ล ทางโบราณคดี ซ ึ ่ ง เป น ข อ มู ล ที ่ เ ป น อดี ต ห า งไกล ไมเห็นคน ไมเห็นความสัมพันธทางสังคมและชีวิตวัฒนธรรม หากเปนขอมูลที่เกี่ยวกับหลักฐานทางโบราณสถาน โบราณวัตถุ ที่มีอยูในเขตแดนและดินแดนของประเทศนั้นๆ เมื่อนำมาวิเคราะห ศึกษาแลวก็พอจะแลเห็นการเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมในดินแดน นั้น ประเทศนั้น วามีมาอยางไร เจริญรุงเรืองและตกต่ำอยางไร เป น ในยุ ค ใดสมั ย ใด ซึ ่ ง มี ล ั ก ษณะเป น ประวั ต ิ ศ าสตร ท าง วัฒนธรรมโดยตรง P ในขณะที่ขอมูลทางชาติวงศวรรณนา [Ethnography] เปน ขอมูลที่ทำใหรูจักผูคนในดินแดนบานเมืองที่ทำการศึกษาในขณะนั้น เปนใครมาจากไหน และมีชีวิตความเปนอยูอยางใดบาง เปนขอมูล ที่แลเห็นปจจุบันและเปนประวัติศาสตรสังคมที่เปนประวัติศาสตร มีชีวิต [Living history] ตางจากประวัติศาสตรทางวัฒนธรรม ที่เปนประวัติศาสตรที่ตายแลวสิ้นสุดลงตามยุคสมัย ¨จ´ดËหÁมÒาÂย¢ข่ÒาÇวÁมÙูÅล¹นÔิ¸ธÔิàเÅล็¡ก-»ปÃรÐะäไ¾พ ÇวÔิÃรÔิÂยÐะ¾พÑั¹น¸ธØุ์
àเ Áม Éษ Òา Âย ¹น - ÁมÔิ ¶ถØุ ¹น Òา Âย ¹น ò๒ õ๕ õ๕ ö๖
P เพราะฉะนั้นจะเห็นไดวาการสรางประวัติศาสตรของนักลา อาณานิ ค มตะวั น ตกก็ เ ป น วิ ธ ี ก ารเช น เดี ย วกั บ การสร า ง ประวัติศาสตรชาติของผูคนในรัฐประชาชาติ เปนแนวคิดและวิธี การของคนตะวันตกโดยตรง เป น การสร า งประวั ต ิ ศ าสตร จ าก หลั ก ฐานความเป น จริ ง ที ่ อ ธิ บ ายได โ ดยตรรกะทางวิ ท ยาศาสตร แบบคนตะวั น ตก ซึ ่ ง ต า งจากประวั ต ิ ศ าสตร แ บบตำนานของ คนตะวันออก P ความตางกันระหวางปญญาชนผูรูที่มีบทบาทในการสราง ประวัติศาสตรชาติของไทยที่โอตัวเองเสมอวาไมเคยเปนอาณานิคม กับประเทศที่เคยเปนอาณานิคมนั้นตางกันมากตรงที่วา ปญญาชน และผูรูของ “ชาติที่เคยเปนอาณานิคม” เรียนรูวิทยาการและ วิธีการของตะวันตกแบบวิพากษวิจารณเพื่อรูทันคนตะวันตกและ สรางความเขมแข็งใหกับตนเอง P ในขณะที่ปญญาชนและผูรูของ “ไทย” สวนใหญเรียนรูแบบ ยอมตามและเชื่อฟงโดยไมขัดแยงและวิพากษวิจารณ เปนการ เรียนรูแบบไมโตและเทาทัน เลยตกเปนเหยื่อของคนตะวันตก ในการที่ตองใหนักวิชาการทางตะวันตกมาคิดให ทำใหตลอดเวลา แมกระทั่งปจจุบันที่บรรดานักวิชาการไทยเปนจำนวนมากจะเขียน อะไร ทำอะไร ก็ตองอางอิงฝรั่งทั้งในเรื่องทฤษฎีและหลักฐาน ขอมูลมีบรรดาเชิงอรรถและบรรณานุกรม กินพื้นที่ในผลงาน มากกวาเนื้อหากวาคอนเลมของหนังสือเปนตน P เรื ่ อ งของการเขี ย นการสร า งประวั ต ิ ศ าสตร ช าติ ไ ทยก็ อยู ่ ใ นทำนองนี้ที่ถูกชักนำโดยนักปราชญ นักวิชาการฝรั ่ ง แต สมั ยอาณานิคม โดยเฉพาะฝรั่งเศส เชน ม. ปาวี และ ยอรช เซเดส ที่ใชหลักฐานโบราณคดีที่เปนประวัติศาสตรศิลปะและศิลาจารึก สรางใหอาณาจักรที่คนไทยและประเทศใกลเคียงรับรูวา กัมพูชา หรือเขมรเคยเปนมหาอาณาจักรที่มีอาณาเขตกวางใหญที่บรรดา ประเทศเพื ่ อ นบ า นทั ้ ง หลายเคยตกเป น อาณานิ ค มเมื อ งขึ ้ น ของ เขมรมากอน โดยเฉพาะประเทศไทยทั้งภาคอีสานและภาคกลาง ที ่ ม ี ศ าสนสถานพุ ท ธมหายานและฮิ น ดู ค ื อ สิ ่ ง ซึ ่ ง เขมรสร า งไว ใ น ฐานะผูมีอำนาจปกครอง P สวนคนไทยคือชนชาติที่เขามาในดินแดนประเทศไทยทีหลัง เพราะถู ก ขั บ ไล ไ ด ถ อยลงมาจากทางตอนใต ข องประเทศจี น เข า มายังที่แควนสุโขทัยที่เปนเมืองที่ขอมหรือเขมรปกครองอยู ตอมา จึ ง เกิ ด วี ร บุ ร ุ ษ เช น พ อ ขุ น ศรี อ ิ น ทราทิ ต ย แ ละพ อ ขุ น รามคำแหง ปลดแอกการปกครองของขอมและตั้งตัวเปนรัฐอิสระที่แผอำนาจ ชนชาติไทยไปทั่วดินแดน P ฝรั่งเศสสรางประวัติศาสตรเขมรใหเปนมหาอาณาจักรหรือ จักรวรรดิ [Empire] แบบยุโรปที่มีเมืองพระนครเปนศูนยกลาง เพื ่ อ ให เ ป น ประโยชน แ ก ต นเองในการขยายเขตแดนเข า มาสู ¨จ´ดËหÁมÒาÂย¢ข่ÒาÇวÁมÙูÅล¹นÔิ¸ธÔิàเÅล็¡ก-»ปÃรÐะäไ¾พ ÇวÔิÃรÔิÂยÐะ¾พÑั¹น¸ธØุ์
ประเทศไทยและลาว เพราะสามารถอางจากประวัติศาสตรไดวา ทั้งไทยและลาวเคยเปนของเขมรมากอน เมื่อมาถึงสมัยนี้เขมรกลาย เปนเมืองขึ้นของฝรั่งเศสแลว ฝรั่งเศสก็ควรไดมีอำนาจเหนือ ดินแดนที่เคยเปนเมืองขึ้นดังกลาว P ผูนำไทยและปญญาชนไทยสมัยรัชกาลที่ ๕-๖ ดูเหมือนจะ ยอมรับเรื่องราวประวัติศาสตรที่ฝรั่งเศสเขียนขึ้นและแนะนำอยาง ศิิโรราบ คือเชื่อวาเขมรเมืองพระนครเคยเปนจักรวรรดิ [Empire] เชนจักรวรรดิโรมันและยุโรปมากอน รวมทั้งยังเชื่อวาคนไทยเปน ชนชาติที่มาจากจีนมาเปนชนกลุมนอยภายใตอำนาจของชนชาติ ใหญคือขอม แลวมาปลดแอกเปนเอกราชที่เมืองสุโขทัย P ความเชื ่ อ และการยอมรั บ ดั ง กล า วได แ สดงให เ ห็ น ใน บทละครเรื่องพระรวงและการแสดงละครในสมัยรัชกาลที่ ๖ ซึ่ง ไดทรงรวมแสดงละครดวย เพื่อเปนการปลุกสำนึกความเปนชาติ ให ก ั บ คนไทย เพราะคำว า ชาติ ไ ทยเกิ ด ในสมั ย นั ้ น ซึ ่ ง ก็ ม ุ ง ถึ ง ความเปน Nation หรือประชาชาติ (ประเทศในสวนรวม) เปน สำคั ญ และเพื ่ อ ความทั น สมั ย ให ค นชาติ ต ะวั น ตกยอมรั บ ก็ ไ ด ทรงสรางธงชาติขึ้นใหมแทนธงชางเผือกที่มีมาแตเดิม เพื่อให เป น สั ญ ลั ก ษณ ข องการบู ร ณาการด ว ย สี แ ดงหมายถึ ง ชาติ สี น ้ ำ เงิ น หมายถึ ง พระมหากษั ต ริ ย และสี ข าวหมายถึ ง ศาสนา อาจกลาวไดวาสิ่งที่รัชกาลที่ ๖ ทรงสรางและทำขึ้นเปนชาตินิยม ก็ ไ ม ผ ิ ด เพราะดู เ ป น ธรรมดาของบรรดาบ า นเมื อ งทั ้ ง หลาย ที ่ เ ป น ประเทศชาติ ท ำกั น ในสมั ย นั ้ น P ความเปนชาตินิยมในสมัยรัชกาลที่ ๖ นั้น มุงเพื่อบูรณาการ จะมีการรังเกียจกลุมชาติพันธุอื่นในบานเมืองก็ดูเล็กนอยกับคน จี น ที ่ ถ ื อ ว า เป น พวกคนยิ ว ตะวั น ออก ซึ ่ ง ก็ ด ู ส อดคล อ งกั น กั บ พระราชนิพนธเรื่องเวนิสวาณิชที่ทรงแปลมาจากเชกสเปยร P การเกิ ด ความรู ส ึ ก ชาติ น ิ ย มอย า งสุ ด โต ง นั ้ น เกิ ด ขึ ้ น หลั ง เปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. ๒๔๗๕ มาแลวในสมัยรัฐบาล จอมพล ป. พิบูลสงคราม ที่เปนยุคผูนำที่รับอิทธิพลเชื้อชาตินิยม มาจากนาซี เ ยอรมั น และฟาสซิ ส ต อ ิ ต าลี ต อนสงครามโลกครั ้ ง ที ่ ๒ คนในยุ ค นั ้ น เชื ่ อ ว า การเป น คนไทยมาจากเชื ้ อ ชาติ [Race] เดี ย วกั น ที ่ ส ื บ ต อ กั น มาโดยสายเลื อ ดทางชี ว วิ ท ยา จึ ง ได ม ี ก ารเปลี ่ ย นชื ่ อ ประเทศจากสยามมาเป น ประเทศไทย และเขียนประวัติศาสตรชาติไทยขึ้นมาใหมวาคนไทยเปนสายเลือด เดี ย วกั น เป น เชื ้ อ ชาติ ท ี ่ ย ิ ่ ง ใหญ อ พยพข า มแม น ้ ำ โขงมาจากทาง ตอนใต ป ระเทศจี น แล ว เข า มาเป น ใหญ ใ นดิ น แดนประเทศไทย โดยปราบปรามพวกขอม มอญ และชนชาติอื่นๆ ที่ต่ำตอยกวา เกิดพระมหากษัตริยที่เปนวีรบุรุษทั้งกูชาติและปราบปรามบาน เมืองอื่นเอาไวในอำนาจและสรางเมืองไทยเปนมหาอาณาจักรของ ภูมิภาค มีความรุงเรืองจากสมัยอยุธยาถึงกรุงเทพฯ ไทยเปนใหญ ó๓
»ปÕี ·ท∙Õี ่ ñ๑ ÷๗
©ฉ ºบÑั ºบ ·ท∙Õี่ ù๙ ø๘
ถนนทางขึ้นสูปราสาทพระวิหารทางฝงกัมพูชา ถายเมื่อเดือนธันวาคม ๒๕๕๓
ธนะรัชต ยุบกระทรวงวัฒนธรรมที่เปนกลไกสำคัญในการสราง วัฒนธรรมชาตินิยมมาเปนกระทรวงพัฒนาการแหงชาติที่ตอมา คือสภาพัฒนาการเศรษฐกิจแหงชาติ P รัฐบาลจอมพลสฤษดิ์ไมสนใจสังคมและวัฒนธรรม หากมุง พัฒนาที่ประเทศทางเศรษฐกิจและการเมือง มีการสงคนรุนใหมที่ เป น ข า ราชการและนั ก ศึ ก ษาไปเรี ย นต อ ที ่ อ เมริ ก า อั ง กฤษ ฝรั่งเศส และประเทศแนวหนาทางตะวันตก จนทำใหคนรุนใหมที่ เขามาเปนขาราชการ นักวิชาการ และผูประกอบอาชีพในดานตางๆ ที่สวนใหญเปนชนชั้นกลาง ขาดความเขาใจและขาดการสนใจใน เรื่องชาตินิยมโดยสิ้นเชิง
ที่สุดในสุวรรณภูมิ มีเขมร ลาว มอญ ญวน มลายู เปนเมืองขึ้น P ไทยสมัยรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม ประกาศสงคราม กับฝายพันธมิตร และเมื่อกองทัพญี่ปุนยึดไดดินแดนประเทศราช ที่ฝรั่งเศสยึดครองไปแตครั้งรัชกาลที่ ๕ ทางไทยก็ไดกลับคืนมา แต P แต ห ลั ง จากที ่ ญ ี ่ ป ุ น แพ ส งครามและไทยเป น ฝ า ยแพ ด ว ยก็ ตองคืนดินแดนที่ยึดกลับคืนมาใหกับทางฝรั่งเศส ซึ่งในสมัยตอมา บรรดาประเทศราชเหล า นั ้ น ก็ เ รี ย กร อ งเอกราชได ส ำเร็ จ โดยเฉพาะเขมร ภายใตการนำของพระเจาสีหนุ ซึ่งคนไทยทั่วไปก็ แซซองยินดีและชื ่ น ชมสมเด็ จ เจ า สี ห นุ เ พราะเกลี ย ดชั ง ฝรั ่ ง เศส เปนทุนเดิม P แตความเปนเชื้อชาตินิยมในสมัยรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม ก็ไมไดเพนพานออกไปนอกเขตประเทศไปยังเพื่อนบาน เทาใด หากเปนเรื่องภายในประเทศที่มีผูนำคือนายกรัฐมนตรีเปน ศู น ย ก ลางในลั ก ษณะลดความสำคั ญ ของพระมหากษั ต ริ ย แ ละ สถาบัน และการสรางเอกลักษณทางวัฒนธรรมของความเปน คนไทยเหนือชนกลุมนอยและกลุมชาติพันธุอื่นๆ ในประเทศไทย เปนสำคัญ เชน การออกกฎเกณฑและกฎหมายเกี่ยวกับการ แตงกายของประชาชน ขาราชการ การใหเลิกกินหมาก การบังคับให คนสวมหมวก รวมทั้งการสงวนอาชีพบางอยางเชนถีบสามลอให กับคนไทยเปนตน P แต ป ญ หาที ่ ม ี ผ ลของความรุ น แรงทางสั ง คมและการเมื อ ง ที ่ ส ำคั ญ ในลั ท ธิ ช าติ น ิ ย มของรั ฐ บาลจอมพล ป. ก็ ค ื อ การไป เปลี ่ ย นแปลงประเพณี ว ั ฒ นธรรมของคนมุ ส ลิ ม ในสามจั ง หวั ด ภาคใตซึ่งจะไมกลาวในที่นี้ แตหลังสมัยรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม แล ว ความเปนเชื้อชาตินิยมและชาตินิยมสมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม ก็คอยๆ หายไป P รั ฐ บาลต อ มาที ่ น ำโดยจอมพลสฤษดิ ์ ธนะรั ช ต หันมาให ความสนใจกับการพัฒนาเศรษฐกิจการเมืองเพื่อเปลี่ยนประเทศ จากสังคมเกษตรกรรมใหเปนสังคมอุตสาหกรรมจอมพลสฤษดิ์
ô๔
P คนรุนใหมเหลานี้ไมสนใจอดีตและรากเหงา โดยเฉพาะความ รูทางประวัติศาสตรและวัฒนธรรม คนรุนใหมไมรูจักชาตินิยม แต ก ลายเป น ต า งชาติ น ิ ย มแทน โดยเฉพาะอเมริ ก ั น -นิ ย ม [Americanization] แบบขึ้นสมอง และอเมริกันก็เลยลางสมองคน รุนใหมในสังคมแทบทุกระดับ คำวาประชาธิปไตย และเศรษฐกิจ ทุนนิยมเสรี เมื่อถึงเวลานี้เวลารวมกึ่งศตวรรษ คนไทยที่เขาสูยุค โลกาภิวัตนที่ทุกคนมุงแตเพียงโลกภูมิ [Global] อยางสุดตัว P ในทุกวันนี้ คำวา ชาตินิยม ที่เปนเรื่องของชาติบานเมืองได ถูกฝงดินใหจมไปนานแลว คนรุนใหมในสังคมลวนมองเห็นแต โลกไรพรมแดนที่ขวักไขวไปดวยธุรกิจการเมืองขามชาติ P คนไทยในทุกวันนี้โดยเฉพาะชนชั้นนำปญญาชนและนักวิชาการ แทบไมมีความรูสึกในเรื่อง ชาตินิยม [Nationalism] หากมีแตเรื่อง ตางชาตินิยม โดยเฉพาะอเมริกันนิยมเขามาแทนที่ แถมยังขาด สำนึกในเรื่อง แผนดินเกิด [Patriotism] ซึ่งเปนสำนึกสากลของ ความเปนมนุษยมาแตสมัยกอนประวัติศาสตรดึกดำบรรพ เพราะ เกิดความกระหายในเรื่องโลกไมมีพรมแดนที่มหาอำนาจตะวันตก ครอบงำเอา P แตความรูสึกในเรื่องรักชาติบานเมืองแผนดินเกิดนี้ยังคงอยู ในบรรดาผูคนบางหมู บางคณะ บางพื้นที่ และทองถิ่น ที่จะมีการ เคลื่อนไหวออกมาตอตานเหตุการณหรือขบวนการใดๆ ที่คุกคาม ความมั่นคงทางสังคมและวัฒนธรรมของประเทศชาติ P เมื่อใดก็ตามที่มีการขัดแยงขึ้นกับฝายที่แสดงออกถึงความ ไมรักประเทศชาติบานเมืองก็จะเกิดการกลาวหา [Accusation] โดยพวกโลกไร พ รมแดนจะเป น ผู ก ล า วหาว า ฝ า ยตรงข า มเป น พวกชาตินิยม และที่รุนแรงก็คือ “คลั่งชาติ” ในขณะที่ฝายตรง ข า มก็ ก ล า วหาว า เป น พวกต า งชาติ น ิ ย ม และที ่ ด ู ร ุ น แรงก็ ค ื อ “ขายชาติ” P การกลาวหาระหวางกันดังกลาวมีขึ้นบอยๆ ในคนไทยกลุม หนึ่งในภาคประชาสังคม [civil society] ถาเมื่อใดที่มีความ ¨จ´ดËหÁมÒาÂย¢ข่ÒาÇวÁมÙูÅล¹นÔิ¸ธàเÔิ Åล¡ก ็ -»ปÃรÐะäไ¾พ ÇวÔิÃรÂย Ôิ Ðะ¾พÑั¹น¸ธØุ ์
àเ Áม Éษ Òา Âย ¹น - ÁมÔิ ¶ถØุ ¹น Òา Âย ¹น ò๒ õ๕ õ๕ ö๖
ขัดแยงกันขึ้นในกรณีการขึ้นทะเบียนมรดกโลกเขาพระวิหารของ คณะกรรมการมรดกโลกที ่ เ ป น หน ว ยงานย อ ยขององค ก าร UNESCO ก็ใหเอกสิทธิ์ของแหลงมรดกโลกแกทางกัมพูชาฝายเดียว P เหตุ ท ี ่ ส ร า งความขั ด แย ง ที ่ ส ำคั ญ ก็ ค ื อ การที ่ จ ะเป น แหล ง มรดกโลกพระวิหารนั้นตองประกอบดวยตัวปราสาท [Temple] กับพื้นที่โดยรอบที่เปนพื้นที่จัดการและพื้นที่เกี่ยวเนื่องในทาง วัฒนธรรม ทั้งสองพื้นที่นี้เมื่อรวมกันแลวจึงจะเปนแหลงมรดก โลก [Site] ได และทุกฝายดูจะยอมรับวาตัวปราสาท [Temple] ตกเปนกรรมสิทธิ์ของกัมพูชาตามการตัดสินขอพิพาทใน พ.ศ. ๒๕๐๕ ไมมีผูคัดคานเทาใด แตพื้นที่จัดการและเกี่ยวเนื่องเปน พื้นที่เขตอำนาจอธิปไตยของไทยที่ทางศาลโลกไมไดตัดสินและ ทางไทยยึดครองเรื่อยมาตั้งแต พ.ศ. ๒๕๐๕ P พอมามี ก ารขึ ้ น ทะเบี ย นแหล ง มรดกโลกให แ ก ก ั ม พู ช าแต ฝายเดียวโดยคณะกรรมการมรดกโลก จึงสรางความขัดแยงใน เรื่องเขตแดนขึ้น โดยทางกัมพูชานำคดีความไปขึ้นศาลโลกเพื่อ ตีความการตัดสินใน พ.ศ. ๒๕๐๕ อีกวาระหนึ่ง จึงเกิดความ ขัดแยงระหวางคนไทยดวยกันเองคือ P
กลุมนักวิชาการและนักการเมืองที่เห็นวาโลกไรพรมแดน
U และกลุมคนในภาคสังคมที่รักชาติภูมิ [Patriotism] ไมยอม ใหเสียพื้นที่ในอำนาจอธิปไตยของประเทศชาติ P นักวิชาการและนักการเมืองกลุมนี้มักออกมาโตแยงและเขา ขางทางฝายกัมพูชา และใชคำกลาวหาอยางบอยๆ และซ้ำซากวา ฝายที่ตอตานกัมพูชานั้นเปน ชาตินิยมและคลั่งชาติ ในลักษณะ ปลุกระดมใหคนที่ไมรูเรื่องเขาใจผิด P จึงเกิดสงสัยและวิพากษวิจารณกันเปนประจำจากหนาขาว หนังสือพิมพและวิทยุวา มีนักวิชาการบางคนเขาไปรับจางรัฐบาล คอยแกตางใหกับฝายรัฐบาลในดานประวัติศาสตรผานมาถึงสอง รัฐบาลแลวคือ พรรคประชาธิปตยและพรรคเพื่อไทย
P ขาพเจาคิดวานักประวัติศาสตรแบบนี้เปนพวกที่ผูกขาดแบบ ไมมีหัวและหาง เพราะผูกขาดวาเรื่องราวประวัติศาสตรที่คนออกมา อางนั้นเปนความแทจริงไมตองวิพากษหรือคิดแยง หรือถาจะทำการ คนควาเพิ่มเติมก็ควรทำอะไรที่มายืนยันประกอบใหเห็นวาเปนเรื่อง จริงมากขึ้น P ขาพเจาไมไดเลาเรียนมาแบบนักประวัติศาสตรอาชีพที่เปน ดอกเตอรดอกตีนอะไรทำนองนั้น แตเปนนักศึกษาทางมานุษยวิทยา โบราณคดีที่เห็นวา ปราสาทพระวิหารและพื้นที่เกี่ยวของเปนพื้นที่ อยูบนที่ราบสูงในดินแดนประเทศไทยปจจุบัน แตในอดีตสรางขึ้น เพื่อชีวิตวัฒนธรรมของพื้นเมืองที่อยูในบริเวณนั้น หาไดมีอยูเพียง แตปราสาทที่อยูตรงปลายชะงอนผาที่เมื่อเวลาฝนตกลงมาก็ไหลลง ลาดเขาในเขตประเทศไทย หามีสันปนน้ำที่แบงลงที่ลาดทางฝงเขมร ไม เพราะมีแตผาชันที่เรียกวา เหว P ปราสาทอยูในพื้นที่ศักดิ์สิทธิ์ มีทางเดินและซุมประตูที่เรียกวา โคปุระจากระดับสูงลงระดับต่ำไปจรดสะพานนาคราชที่ทอดยาวไป จรดขอบที่สูง โดยกึ ่ ง กลางของสะพานมี ท างแยกไปสู บ ริ เ วณ บั น ไดหักที่เปนทางขึ้นมาจากพื้นที่เขมรต่ำซึ่งอยูทางตะวันออก แตปลายสะพานที่มีนาคหัวโลนเจ็ดเศียรขนาบคูนั้นหันหนาลงทิศ เหนือ มีขั้นบันไดลงสูฐานสิงหคูกอนที่จะลงสูเสนทางผานลำตราว ไปลงสระตราวอั น เป น สระบารายหรื อ อ า งเก็ บ น้ ำ ศั ก ดิ ์ ส ิ ท ธิ ์ ซ ึ ่ ง สัมพันธกับปราสาทพระวิหาร P พื้นที่โดยรอบสระตราวเปนที่ราบกวาง มีทั้งแหลงตัดหิน ธารน้ำ รองน้ำ และรองรอยของโบราณวัตถุที่แสดงวาเปนแหลง ที่อยูอาศัยที่เปนชุมชน P ความเกี ่ ย วดองระหว า งปราสาทกั บ สระตราวดั ง กล า วนี ้ สะท อ นให ถ ึ ง ความเป น เมื อ งหาใช ม ี แ ต เ พี ย งศาสนสถานที ่ เ ป น ปราสาทอยางเดียวไม ปราสาทพระวิหารจึงเปนสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ สำหรับผูคนของบานเมืองที่อยูในบริเวณนี้
P ปราสาทพระวิหารและพื้นที่โดยรอบเปนของกัมพูชาตามการ ตัดสินทางศาลโลก อีกทั้งเอาเรื่องราวประวัติศาสตรแบบไมมี หัวและหางที่นักประวัติศาสตรโบราณคดีฝรั่งเศสสมัยอาณานิคม มาอางและยืนยันใหคนในปจจุบันยอมรับ
P เพราะฉะนั้นในการกำหนดแหลงมรดกโลกปราสาทพระวิหาร นั้นคงจะตองเกี่ยวรวมมาถึงบริเวณสระตราวและบริเวณโดยรอบ ดวยในลักษณะบูรณาการที่เรียกวา “เมืองพระวิหาร” ที่เปนเมือง อยูระหวางพรมแดนที่อยูระหวางบานเมืองบนที่ราบสูงกับที่ราบต่ำ ที่ตองมีความสัมพันธทางสังคม เศรษฐกิจ และวัฒนธรรมไปมาหาสู แลกเปลี่ยนสินคาสิ่งของระหวางกัน
P ดังเชนปราสาทพระวิหารเปนของเขมร เพราะกษัตริยในสมัย เมืองพระนครมีอำนาจเหนือดินแดนที่ราบสูงโคราช และสรางไวเพื่อ แสดงเดชานุ ภ าพ ประชาชนที ่ อ ยู ใ นเขตเขาพระวิ ห ารก็ เ ป น คน ชาติพันธุเขมร ทุกอยางยิ่งตองเปนของเขมร จึงไมสมควรที่จะโต แย ง อั น ใด เพราะประวั ต ิ ศ าสตร ต อนนี ้ เ ป น ความจริ ง ที ่ ค วรจะ ทองจำเสียดวยซ้ำ
P เมืองพระวิหารมีลักษณะทางภูมิศาสตรแสดงใหเห็นวาเปน เมื อ งใหญ เ มื อ งสำคั ญ ของชนเผ า พั น ธุ ท ี ่ พ ู ด ภาษามอญ-เขมร กลุ ม หนึ ่ ง ที ่ อ ยู ใ นบริ เ วณนี ้ ม าแต ส มั ย ก อ นประวั ต ิ ศ าสตร แ ละ สมัยกอนเมืองพระนครแลว โดยเปนบานเมืองที่มีอิสระในตัวเอง แตมีความสัมพันธทางสังคม เศรษฐกิจ กับเมืองอื่นๆ ทั้ง ที่อยูบนที่ราบสูงและที่ราบต่ำในเขตกัมพูชา
P
ทุกครั้งก็ออกมาอางเหตุผลแบบเดิมๆ และซ้ำซากวา
¨จ´ดËหÁมÒาÂย¢ข่ÒาÇวÁมÙูÅล¹นÔิ¸ธÔิàเÅล็¡ก-»ปÃรÐะäไ¾พ ÇวÔิÃรÔิÂยÐะ¾พÑั¹น¸ธØุ์
õ๕
Âย ¹น ©ฉ- ºบÑัÁมºบÔิ ¶ถ·ท∙Õี่ Øุ ¹นù๙Òา Âยø๘¹น »ปÕี àเ·ท∙ÕีÁม่ Éษñ๑Òา ÷๗
ò๒ õ๕ õ๕ ö๖
P ปราสาทพระวิ ห ารสร า งขึ ้ น เป น ศาสนสถานศั ก ดิ ์ ส ิ ท ธิ ์ ใ น ลั ท ธิ ศ าสนาฮิ น ดู ท ี ่ พ ระมหากษั ต ริ ย ก ั ม พู ช าสมั ย เมื อ งพระนคร ทรงเปนอัครศาสนูปถัมภก บริเวณชะงอนเขาที่ตั้งของปราสาท คื อ แหล ง ศั ก ดิ ์ ส ิ ท ธิ ์ ใ นระบบความเชื ่ อ ของคนท อ งถิ ่ น ที ่ ต อ งมา สั ก การะและทำพิ ธ ี ก รรมโดยเฉพาะในพิ ธ ี เ ปลี ่ ย นผ า นสำหรั บ ผู ค นที่จะขึ้นมาบนที่ราบสูงและลงสูที่ราบต่ำซึ่งกษัตริยขอมสมัย เมืองพระนครสรางถวายสิ่งศักดิ์สิทธิ์ในรูปแบบของลัทธิศาสนาฮินดู [Hindunization] โดยเปลี่ยนชื่อใหเปน “ศรีศิขเรศวร” ในรูป แบบการใชศิวลึงคเปนสัญลักษณ์ U หาใชการตีความแบบภาษาของนักลาอาณานิคมฝรั่งเศสที่บอก ว า เป น การแสดงอำนาจทางการเมื อ งเหนื อ ดิ น แดนในเขต ประเทศไทยไม และอยางที่นักประวัติศาสตรที่เปนมือปนรับจาง รัฐบาลและเขมรตีความไม P เพราะการเปนแหลงศักดิ์สิทธิ์คูกับชุมชนบนทางผานเชนนี้ ยังมีพอใหเปรียบเทียบ เชน ปราสาทตาเมือนธมที่กำลังจะเปน ขอพิพาทตอจากปราสาทพระวิหาร เปนปราสาทที่อยูในเขตสันปนน้ำ ที่ปจจุบันคนทั้งฝงเขมรและฝงไทยตางมาไหวผีที่เปนสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่ ปราสาทเหมือนกัน แตไมไดมาไหวศิวลึงคซึ่งสรางขึ้นแตสมัยเมือง พระนคร อันเปนประวัติศาสตรที่ตายแลว [Deadwood History] ควบคูไปกับการมาทำพิธีกรรมไหวผีรวมกัน พื้นที่ใกลกับปราสาทก็ เปนแหลงตลาดแลกเปลี่ยนสินคาซื้อขายระหวางกันเชนเคยมีมา แตอดีตในรูปแบบประวัติศาสตรสังคมของคนในพื้นที่ทองถิ่นที่ เปนประวัติศาสตรที่มีชีวิต
P
ทั้งหมดที่กลาวมานี้คือการศึกษาและตีความประวัติศาสตรใน แง ม ุ ม และกระบวนการศึ ก ษาทางมานุ ษ ยวิ ท ยาของข า พเจ า ใน ลักษณะที่เปนจุลภาค คือในระดับทองถิ่นที่แลเห็นทั้งหัว คือการ เริ่มตน สวนกลาง และสวนหางที่มีลักษณะตอเนื่อง แตมักถูก กลาวหาจากบรรดานักประวัติศาสตรที่เปนมือปนรับจางวาเปน แบบชาตินิยมและคลั่งชาติ P ดังนั้นขาพเจาก็จะกลาวหาบางวานักวิชาการมือปนรับจาง เหลานั้นเปนพวก “ตางชาตินิยม” ขายชาติและขามขาติบาง
¤คÇวÒาÁมËหÅลÒา¡กËหÅลÒาÂย·ท∙Òา§ง ÊสÑั§ง¤คÁมáแÅลÐะÇวÑั²ฒ¹น¸ธÃรÃรÁม ขอสังเกตจากการไปฟงเสวนาเรื่อง "ตามรอยสมเด็ จ เจ า ฟ า อุ ท ุ ม พร ในอมรปุ ร ะ เมี ย นมาร " ÇวÅลÑัÂยÅลÑั¡กÉษ³ณ์ ·ท∙Ãร§งÈศÔิÃรÔิ ö๖
U เพราะคนเหลานี้ดีแตอางฝรั่ง อางประวัติศาสตรสมัยเมือง พระนครที่ตายแลวเชนเดียวกับพวกฝรั่งเศสปลุกผีขึ้นมาสรางความ เปนชาตินิยมใหกับคนเขมร เปนประวัติศาสตรที่ตายแลว เพราะไม เห็นที่มาในตอนตนและตอนปลาย เอาแตตอนกลางสมัยเมือง พระนครที่เห็นแตความยิ่งใหญของกษัตริยวรมันที่ฝรั่งเศสสรางขึ้น P และไมเคยใหความเปนธรรมกับประวัติศาสตรสมัยหลังเมือง พระนครลงมาจนถึงสมัยอยุธยาและกรุงเทพฯ ที่กษัตริยไทยและ อาณาจั ก รสยามเคยครอบครองกั ม พู ช าและดิ น แดนในฐานะ ประเทศราช หรือแมแตยุคประวัติศาสตรเชื้อชาตินิยมสมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม ก็ยังถือวาไทยเคยมีสิทธิ์เหนือดินแดนพระวิหาร และเสียมเรียบมากอน
P
แต ส ิ ่ ง ที ่ น า สมเพชสำหรั บ การขายชาติ ข ายแผ น ดิ น ของนั ก ประวัติศาสตรมือปนรับจางใหเขมรที่อยากจะทิ้งทายไวในที่นี้ก็คือ P นักประวัติศาสตรกลุมนั้นเขาไปในแดนเขมร อาสาเขมรขึ้น ไปบนปราสาทพระวิหารจากทางฝงเขมร นั่งรถผานหุบผานเหว สองขางทางขึ้นไป แลวบอกวาปราสาทพระวิหารนั้นแทจริงหัน หน า ลงเขมรต่ ำ มาทางตะวั น ออกตามทางบั น ไดหั ก ที ่ เ ป น ของ โบราณและที่สมเด็จเจาสีหนุเคยเสด็จปนขึ้นไป P เพราะตรงขางลางในเขตเขมรมีหมูบานหนึ่งที่ชื่อวา โกมึน ซึ่ง แปลกลับไปตามความหมายเดิมวา โคปุระ คือซุมประตูชั้นที่ ๑ แลว ชักแมน้ำทั้งมหาสมุทรมาอธิบายใหเห็นจริง P ขาพเจาคิดวาเรื่องการตีความเชิงประวัติศาสตรขายชาติที่วา ปราสาทพระวิหารหันหนาลงเขมรทางบันไดหักนี้เปนการคนพบที่ มหัศจรรยเปนอยางยิ่ง ถาหากนักโบราณคดีฝรั่งเศสยุุคอาณานิคม เชน เซเดส, โกลิเยอร หรือบวสเซอริเยร ไดรับรูแลวคงอายแทบ มุดแผนดินหนีก็ได P ส ว นข า พเจ า ในฐานะนั ก มานุ ษ ยวิ ท ยาที ่ เ คยเล า เรี ย นมา เกี่ยวกับการใชชื่อสถานที่และถอยคำในความหมายทางชาติพันธุ เทียบเคียงกับชื่อและคำในอดีตที่หางไกลทางโบราณคดี เชนการ เทียบชื่อ บานโกมึน เขากับ โคปุระ ก็คงอับอายอยางไมนอยหนา นักโบราณคดีฝรั่งเศสทีเดียว P P เรื ่ อ งเล า จากวงเสวนาเนื ่ อ งในงานสถาปนิ ก ’๕๖ จัดโดย สมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ เมื่อ วั น เสาร ท ี ่ ๔ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ ผูรวมเสวนาคือ คุณวิจิตร ชินาลัย ผูอำนวยการโครงการ Thailand Design Consortium Co., Ltd. ร ว มด ว ย คุ ณ มิ ค กี ้ ฮาร ท สถาปนิ ก -นั ก ประวั ต ิ ศ าสตร คุณปองขวัญ (สุขวัฒนา) ลาซูส อุปนายกสมาคมสถาปนิกสยามฯ เปนผูดำเนินรายการP ¨จ´ดËหÁมÒาÂย¢ข่ÒาÇวÁมÙูÅล¹นÔิ¸ธàเÔิ Åล¡ก ็ -»ปÃรÐะäไ¾พ ÇวÔิÃรÂย Ôิ Ðะ¾พÑั¹น¸ธØุ ์
àเ Áม Éษ Òา Âย ¹น - ÁมÔิ ¶ถØุ ¹น Òา Âย ¹น ò๒ õ๕ õ๕ ö๖
สถูปที่สันนิษฐานมาแตเบื้องตนวาเปน สถูปที่บรรจุพระบรมอัฐิของพระเจาอุทุมพร ชานเมืองอมรปุระ ภาพกอนการขุดแตงไมนานนัก
แผนผังโดยรวมเมื่อปรับพื้นที่ หมายเลข ๑๔ คือสถูปองคเดิม สวนหมายเลข ๓ คือเจดียที่พบ ตะลุมพานใสอัฐิที่พบใหม
P กรณีเรื่องสถูปเจาฟาอุทุมพรที่ชานเมืองอมรปุระ ผูเขียนเคย เขียนเรื่องนี้ใน จดหมายขาวมูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ ฉบับที่ ๙๖ (ตุลาคม-ธันวาคม ๒๕๕๕) กอนที่จะมีการไปขุดคนที่อมรปุระ โดยคณะอาสาสมัครฯ ราวเดือนหรือสองเดือน P โดยสรุ ป ก็ ค ื อ มี โ อกาสอย า งมากที ่ บ ริ เ วณนี ้ จ ะเป น สถานที ่ ถวายพระเพลิงพระบรมศพฯ ทั้งจากประวัติศาสตรบอกเลาและ ขอมูลแวดลอมที่เปนเรื่องนาสนใจซึ่งมาจากการบอกเลาหรือขอมูล มุขปาฐะจากลูกหลานที่ถือวาตนเองคือเชื้อสายชาวโยดะยาที่รวม ทั้งประเพณี พิธีกรรม และโบราณสถานบางสวน แตจะบงบอกวา สถูปองคใดคือสถูปของเจาฟาอุทุมพรคงยาก จนถึงอาจจะเปนไปไม ไดเลยที่จะบงบอก แตการจัดการเพื่อเปนสถานที่อนุสรณสถาน ไมวาจะมีอยูจริงหรือไมก็ควรทำ กรณีการบูรณะโบราณสถานที่ เกาะเมืองอยุธยานั้นยังไมสามารถจัดการพื้นที่และใหความหมายกับ เจดี ย ส ั ก องค ไ ด เ ลย การบู ร ณะหรื อ อนุ ร ั ก ษ โ ดยแสดงข อ มู ล การศึกษาอยางชัดเจนก็นาจะสรางความรูและความเขาใจตลอดจน ความสัมพันธในระหวางรัฐยุคใหมทุกวันนี้ไดมากกวาอยูกันเฉยๆ แตกรณีนี้นักโบราณคดีไทยสวนใหญไมคอยเชื่อเพราะ P ๑. มีขอมูลนอยมากเรื่องพระเจาอุทุมพรเมื่อไปพมา โดย เฉพาะเรื ่ อ งคำให ก ารขุ น หลวงวั ด ประดู ท รงธรรมที ่ ค าดว า ได ตนฉบับที่แปลเปนภาษามอญไปแลวอีกทีกอนแปลเปนไทย แถม ขอมูลอื่นๆ ที่มีก็กลาวถึงการไปอยูเมืองสะกายนมากกวาอมรปุระ ดวย สวนเอกสารที่แปลจากภาษาพมาโบราณ กลาวถึงการถวาย พระเพลิ ง พระบรมศพก็ ไ ปเขี ย นถึ ง เจ า ฟ า เอกทั ศ น ไ ม ใ ช เ จ า ฟ า ดอกเดื่อ นักประวัติศาสตรและโบราณคดีไทยเลยยังคลางแคลง ใจที่จะเชื่อถือเสียทั้งหมด จนถึงไมนำขอมูลสวนนี้มาใชเลย P ๒. ไมเชื่อถือ คุณหมอทิน มอง จี เพราะคิดวาไมรูภาษาไทย และมีลักษณะการผูกเรื่องเองสูง โดยมีประเด็นซอนเรน เชน ความ ตองการใหคนไทยไปเที่ยวกันมากๆ เปนตน เมื่อมีโอกาสมารูจัก คุณหมอ เห็นวาเปนคนที่ตื่นเตนเปนธรรมดาเวลาเจอเรื่องที่นาสนใจ ¨จ´ดËหÁมÒาÂย¢ข่ÒาÇวÁมÙูÅล¹นÔิ¸ธÔิàเÅล็¡ก-»ปÃรÐะäไ¾พ ÇวÔิÃรÔิÂยÐะ¾พÑั¹น¸ธØุ์
ตะลุมพานมีฝาปด ประดับดวยกระจกจืนสีเขียวดานนอก นาจะเปนของบุคคลชั้นสูงซึ่งทางคณะทางฝงไทยและพมาลงความเห็นวา ควรจะเปน “บาตรมรกต” ที่บรรจุพระบรมอัฐิของพระเจาอุทุมพร
และฝกใฝในการแสวงหาความรู แมวาจะอายุเจ็ดสิบกวาปก็ตาม การผูกเรื่องใหเชื่อมโยงกันมีเปนธรรมดาของนักวิชาการที่ขาม สาขา แตก็เปนคนรับฟงเวลาเห็นขอมูลใหมๆ ไมเขาขางตัวเองแบบ ที่วา คุณหมอมีขอมูลนาสนใจในทาง Ethnography อยูมาก โดย เฉพาะการเปนลูกหลานของครอบครัวโขนละครจากโยดะยาหรือ อยุธยา และยังสนใจในดนตรีและนาฏศิลป งานของคุณหมอมาถูก ทางหลายเรื่อง งานจะนาสนใจมากถามีการปรับเติมและคนควาเพิ่ม เติม แตก็ยังอยูในสภาพแวดลอมที่ยังไมสามารถทำไดโดยสะดวกนัก จากสถานการณทางการเมืองที่ผานมา P ๓. สำหรับการศึกษาทางโบราณคดี ถาเนนดูเรื่องอิฐ เรื่อง ขนาด ความหนา ความยาว และเรื่องรูปแบบเจดียคงงงมากถา ใชวิธีนี้ บางทานเห็นวาเอารูปแบบเจดียแบบเมืองไทยไปเปรียบ เทียบอีก ซึ่งนาจะอยูตางพื้นที่ตางวัฒนธรรม คุณมิคกี้ ฮารท ก็ พยายามทำอะไรแบบนี ้ เ หมื อ นกั น แตอยูในบริบทของโบราณ สถานในเมืองอมรปุระ ฟงจากวงพูดคุยคาดวานักโบราณคดีพมา ก็มาทำนองนี้ ดังนั้นการจะไปเห็นดวยวาเจดียที่พบใหมและพบ โบราณวัตถุสำคัญคือสถูปพระเจาอุทุมพรอยางเต็มที่คงไมใชเรื่อง จึงเลี่ยงไปพูดเสียวาการพบภาชนะบรรจุอัฐิของบุคคลชั้นสูงใน เจดียองคหนึ่ง แตไมมีอะไรบงบอกวา "ใช" อยางแนนอน เพราะ อาจจะเปนเจานายในวงศอื่นๆ ก็ได P ๔. วิธีที่ทางหัวหนากลุมศึกษาและอาสาสมัครฯ บอกวาจะนำ ชิ้นสวนกระดูกอัฐิไปพิสูจนทางวิทยาศาสตร เชน ตรวจดีเอ็นเอ เพื่อสืบเชื้อสายโดยหากลุมตัวอยางจากคนที่วาเขาเปนเชื้อสายและ อพยพไปอยูอเมริกา หรือหาคนที่อยูอมรปุระหลายชั่วคนไมยาย ไปไหน หรือคนอยุธยาที่เกาะเมืองอยุธยา นาจะเปนเรื่องที่ยากยิ่ง กวางมเข็มในมหาสมุทรที่จะคนพบ P ๕. มาถึงหลักฐานสำคัญที่ทำใหชาวคณะภาคภูมิ เพราะดูจะ มีเปาประสงคในใจอยูแลววา นี่คือการคนหาหลักฐานของพระเจา อุทุมพร กอนกลับก็ไดคนพบภาชนะที่ทางกลุมเรียกวา “บาตร” ÷๗
»ปÕี ·ท∙Õี ่ ñ๑ ÷๗
©ฉ ºบÑั ºบ ·ท∙Õี่ ù๙ ø๘
มีฝาปด แมอาจสันนิษฐานวาเปนภาชนะอื่นๆ ไดเชนกัน ในวงเสวนา บอกกันวาทางคณะพมาเชื่อสนิทใจรอยเปอรเซ็นต เพราะเชื่อวาเปน รูปแบบภาชนะสำหรับคนสำคัญ เปนของพระราชทานแนนอน ตรงนี้ เปนประเด็นสำคัญ คนทางฝงพมารวมทั้งนักวิชาการตางๆ คงตอง คนหาขอมูลมาเพิ่มใหมีความชัดเจน ซึ่งคิดวาไมนายาก เพราะคน ทางพมานั้นนิยมการบันทึกอยูมาก ถึงแมระบบกษัตริยจะสิ้นไปแลว ก็ตาม ภาชนะแบบนี้เปนบาตรหรือไมในวัฒนธรรมพมาก็ไมนายาก การหาขอมูลและศึกษากอนสรุปนาจะดีกวา
ฝงขวาของแมน้ำโขง คนมอญ คนมลายูที่กลายมาเปนสวนหนึ่งของ บานเมืองสยามในปจจุบัน โดยเฉพาะในเขตที่ราบลุมภาคกลาง
P ๖. เปาหมายในใจของทั้งสองฝงเปนเรื่องสำคัญ ฝายคณะ ไทยไมตองพูดถึง เพราะเรื่องแบบนี้จะออกแนวซาบซึ้งไดงายมาก (ประเด็ น เรื ่ อ งการพลั ด พรากจากบ า นเกิ ด เมื อ งนอนเป น เรื ่ อ ง สะเทือนใจในสังคมแบบพุทธศาสนาเสมอ) และพรอมจะปฏิบัติ การเพื่อทำใหตรงนี้เปนอนุสรณสถานอยูแลว ฝงพมาเมื่อนโยบาย ทางการเมืองเปลี่ยนทุกวันนี้ ในวงเสวนากลาววาขาราชการของ เมืองมัณฑะเลยวิ่งเขาไปที่เมืองหลวงใหมเนปดอวบอยๆ จากที่ให ขุดเฉยๆ มาเปนใหปรับปรุงสุสานทั้งหมดของพื้นที่เลย แลว บูรณะเปนแหลงทองเที่ยวอนุสรณสถานตามที่ทางฝงไทยอยากทำ ก็ควรทำ นับเปนความชาญฉลาดของเจาของพื้นที่อยางชัดเจน บาง ทานเห็นวาคลายๆ กับการอธิบายเรื่องวังของพระนางสุพรรณกัลยา ในพระราชวังวังบุเรงนองที่หงสาวดี
P แตการสรุปแบบรวดเร็วอาจทำใหขาวการคนพบครั้งนี้ดูเงียบๆ ไมคอยมีการเผยแพรละเอียดๆ หรือเปนขาวคราวที่ดังพอๆ กับขาว การจะเตรียมรื้อกลุมเจดียที่สุสานนี้ สวนสุสานลานชางชื่อก็บอก แลววาอาจจะเกี่ยวโยงถึงผูคนในกลุมลาว สถูปที่คุณหมอทิน มอง จี คาดวาจะเปนของเจาฟาดอกเดื่อ ทีมคณะไทยไมพบหลักฐานและ เห็นวาไมนาจะมีประเด็นแตอยางใด ทั้งที่เห็นชัดเจนวามีอิทธิพล ของสถูปแบบ "บัว" ซึ่งนิยมทำสำหรับพระผูใหญ เชนที่สถูปพระครู หลวงโพนสะเม็กที่จำปาสักอาจจะไมสามารถจัดกลุมเขาพวกได จึงไมไดกลาวถึงอีกแตอยางใด
P ๗. สรุปวาคณะฝงไทย (หรือรัฐบาลไทย) ตองกลับไปบูรณะ ปรับแตง ฯลฯ ซึ่งก็ขึ้นกับระดับผูนำในรัฐแลว ในความคิดเห็นสวนตัว ของผูเขียนเห็นวา ยังมีความรูเรื่องคนสยามหรือคนโยดะยาในเขต Upper Myanma ทั้งสองฝงแมน้ำอิรวดีไปจนถึงแมน้ำชินดวินอีก มากที่สามารถอธิบายเรื่องราวของคนสยามที่ถูกกวาดตอนไปใน คราวสงครามกับพมาครั้งตางๆ ก็คงเชนเดียวกับผูคนจากทาง
P ในเวทีเสวนา คุณมิคกี้ ฮารท ก็ยังเลาถึงขอมูลผูสูงอายุที่ยัง จำไดวามีการเรียกเจดียที่นี่วา “เจดียอุทุม” รวมทั้งขอมูลจาก คุณหมอทิน มอง จี ในการคนพบเริ่มแรกก็มาจากประวัติศาสตร บอกเลาเสียทั้งนั้น จึงตองอาศัยการทำงานเก็บรายละเอียดทางดาน Ethnography และประวั ต ิ ศ าสตร แ บบมุ ข ปาฐะก็ น า จะพอเห็ น รองรอยตางๆ ได
P การเผยแพร ข อ มู ล ในวงเสวนานี ้ จ ึ ง อาจจะไม ใ ช ง านศึ ก ษา อย า งละเอี ย ดนั ก แต เ ป น การทำงานกึ ่ ง กู ภ ั ย รั ก ษาโบราณ สถานมากกวา [Salvage Archeology] สิ่งเหลานี้มักเกิดขึ้นใน โลกสมั ย ใหม ท ี ่ ค รอบงำไปด ว ยประเด็ น ของกิ จ กรรมและ อุตสาหกรรมเพื่อการทองเที่ยว U จึ ง น า ใส ใ จกั น ว า จะมี ก ารศึ ก ษาเรื ่ อ งคนสยามหรื อ คนโยดะยาในพมากันตอหรือไม อยางใด หลังจากจัดการ พื้นที่เพื่อเปนอนุสรณสถานกันไปไดแลว
ผูสูงอายุจะมีจำนวนมาก ขณะที่ประชากรวัยหนุมสาวเหลือนิด เดียวในถิ่นฐานบานเกิด
ºบÑั ¹น ·ท∙Öึ ¡ก ¨จÒา¡ก·ท∙้ Íอ §ง¶ถÔิ ่ ¹น สรา งเด็กรัก ถิ่นกั บอยูเมืองแกลงวิทยา ÊสØุ´ดÒาÃรÒา ÊสØุ¨จ©ฉÒาÂยÒา
M “ระบบการศึ ก ษาไทยเป น เหมื อ นกั บ การตั ด เสื ้ อ ฟรี ไ ซซ ใ ห ทุกคนใสเสื้อเหมือนกันหมด ฉะนั้นเมื่อจบระดับอุดมศึกษาไมเขา โรงงานก็ไปเขาภาคบริการ จะมีคานิยมอะไรก็ได เพราะการสอน ของบ า นเราก็ ค ื อ สอนให ค นทิ ้ ง บ า นทิ ้ ง ถิ ่ น จึ ง พบว า ประชากร ø๘
U “เราไมไดบอกคุณตองกลับบาน แตเรามีปญหากับระบบการ ศึกษาในปจจุบัน เพราะการศึกษาไมทำใหคนใชถิ่นฐานบานเกิดเปน ตัวเลือกในการใชชีวิต เราเริ่มคิดแลววาความยั่งยืนของเมืองอยูตรง ไหน ถาเขาทิ้งบาน ผลสุดทายเกิดที่ดินรกรางวางเปลา เมื่อมีนักลงทุน อื่นเขามา เขาไมเขาใจราก ไมเขาใจอะไรเลย คงทำอะไรก็ไดที่ทำให ไดเงิน เราพบวาทองนาหลายที่ถูกเปลี่ยนเปนรีสอรต เปลี่ยนเปน โรงแรมมานรูดเปนการลงทุนที่ผิดฝาผิดตัว เราจึ ง อยากสร า ง โรงเรียน มีโรงเรียน มีการจัดหลักสูตรเองและสิ่งที่จะประกาศ ความอหังการของเราก็คือชื่อโรงเรียน “อยูเมืองแกลงวิทยา” คนเรี ย นอยู ใ นพื ้ น ที ่ แ ละต อ งจำชื ่ อ บ า นเมื อ งของเขาไปตลอด
¨จ´ดËหÁมÒาÂย¢ข่ÒาÇวÁมÙูÅล¹นÔิ¸ธàเÔิ Åล¡ก ็ -»ปÃรÐะäไ¾พ ÇวÔิÃรÂย Ôิ Ðะ¾พÑั¹น¸ธØุ ์
àเ Áม Éษ Òา Âย ¹น - ÁมÔิ ¶ถØุ ¹น Òา Âย ¹น ò๒ õ๕ õ๕ ö๖
แตเมืองแกลงไดใหชีวิตความเปนอยูกับตัวเขา รวมถึงรุนพอรุน แมดวยซ้ำ...” P สมชาย จริ ย เจริ ญ นายกเทศมนตรี เ ทศบาลตำบล เมืองแกลง จังหวัดระยอง กลาวอยางหนักแนนถึงความตั้งใจ และแนวคิดในนโยบายการศึกษาของเทศบาลตำบลเมืองแกลงที่ แมจะประสบอุปสรรคจากความไมเขาใจของสวนราชการ แตสำหรับ ประชาคมเมืองแกลงแลว นี่คือความเห็นรวมกันที่จะวางรากฐานการ พัฒนาบานเมืองของตนเองอยางยั่งยืน
กว า จะเป น อยู เ มื อ งแกลงวิ ท ยา P การมี ส ว นร ว มในการสร า งบ า นสร า งเมื อ งของชาวแกลง หาไดเพิ่งเกิดขึ้นจากโครงการสรางโรงเรียนแหงนี้เทานั้น แตไดมี พั ฒ นาการทางความคิ ด และการลงไม ล งมื อ กระทำมาจาก วิสัยทัศนและเปาหมายที่ชัดเจนของผูบริหารเทศบาล นับแตเมื่อ ครั้ง สมชาย จริยเจริญ เขาดำรงตำแหนงนายกเทศมนตรีเทศบาล ตำบลเมืองแกลงสมัยแรกในป พ.ศ. ๒๕๔๔ ก็เขาสูชวงเวลา แหงการพลิกฟนบานเมือง P จากในอดีตเมืองแกลงหรือที่ชาวบานเดิมเรียกวา สามยาน ดวยเปนชุมทางคาขายที่สามารถติดตอกับผูคนในหลายพื้นที่ทั้ง ทางเหนือ ตอนใต และทางตะวันตกของเมืองระยองได อีกทั้งมี แมน้ำประแสรไหลผานกลางชุมชนเมือง จึงเปนทาเรือขนสงสินคา ไดโดยสะดวก นอกจากนี้ยังดินดำน้ำชุมเปนแหลงทำการเกษตร ปลูกขาวมาแตอดีต กระทั่งเมืองแกลงเขาสูกระแสการพัฒนาสมัย ใหม มีการสนับสนุนใหปลูกยางพารา แกลงจึงเปนแหลงใหญที่มี การทำสวนยาง และกอใหเกิดโรงงานแปรรูปยางขึ้นหลายแหงใน พื้นที่อันสงผลตอสภาพแวดลอมของเมืองตอมา P ขณะเดียวกันแมน้ำประแสรที่เคยเปนเสนทางคมนาคมและ แหลงอาหารใหกับชุมชนก็เสื่อมสภาพ น้ำเนาเสีย กุงหอยปูปลา ลดจำนวนลงอยางมาก รายไดของชาวประมงก็เสื่อมถอยตามไปดวย P โครงการที่เกิดจากหลักคิดวา “เมื่อสิ่งแวดลอมดี สุขภาพ กาย สุขภาพใจ ชีวิตความเปนอยูก็จะดีตามไปดวย” จึงถูก ผลั ก ดั น ออกมานั บ หลายโครงการจากเทศบาลตำบลเมื อ งแกลง ไมวาโครงการพัฒนาแกลงใหเปนเมืองคารบอนต่ำ โดยรวมมือกับ สถาบันสิ่งแวดลอมไทยรณรงคใหชาวบานรักษาสภาพภูมิอากาศ เพื่อใหแกลงเปนเมืองนาอยู และชวยแกไขปญหาการเปลี่ยนแปลง ของสภาพภู ม ิ อ ากาศโลกด ว ยการที ่ เ ทศบาลจั ด ระบบขนส ง สาธารณะชุมชนหรือ ขสมก. (ขนสงเมืองแกลง) ขึ้น เพื่อลดการ ใชยานพาหนะสวนบุคคล ทำใหปริมาณการใชน้ำมันลดลงและชวย ใหการจราจรในพื้นที่มีความคลองตัวขึ้น ที่สำคัญชวยลดการปลอย กาซเรือนกระจก ¨จ´ดËหÁมÒาÂย¢ข่ÒาÇวÁมÙูÅล¹นÔิ¸ธÔิàเÅล็¡ก-»ปÃรÐะäไ¾พ ÇวÔิÃรÔิÂยÐะ¾พÑั¹น¸ธØุ์
P จากระบบขนส ง สาธารณะด ว ยรถรางที ่ ไ ม ม ี ก ารคิ ด ค า บริการ จัดเสนทางการขนสงเปนเวลาในชวงเชาและเย็น เพื่อ บริการผูสูงอายุและนักเรียน สงผลใหคนมีวินัยในการเดินทางรวม กัน ทั้งผูปกครองก็ไมจำเปนตองเดินทางไปรับสงลูกหลานเพราะ เป น บริ ก ารขนส ง ที ่ ป ลอดภั ย ซึ ่ ง ทางเทศบาลยิ น ดี ล งทุ น ให ก ั บ ประชาชน P นอกจากนั้นเทศบาลฯ ยังมีนโยบาย “ทำอยางไรของเสียจึงไม เสียของ” ดวยวิธีการจัดการขยะใหไดของดี เนื่องจากตนเหตุสำคัญ ของขยะอยูที่ครัวเรือน จึงเริ่มจากจัดใหมีการคัดแยกขยะและมีการ จัดเก็บขยะตามที่ตางๆ อยางเปนเวลา รวมทั้งรับซื้อขยะรีไซเคิล จากโรงเรียนตางๆ เพื่อปลูกฝงใหนักเรียนและครัวเรือนตางๆ รูจักแยกขยะ รณรงคและออกกฎหมายใหหางราน ครัวเรือน ติดตั้ง ถังดักจับไขมันจากเศษอาหารกอนปลอยทิ้งลงแหลงน้ำ แลวเทศบาล ยังเปนผูรับซื้อไขมันจากบอดัก นำมาทำเปนแทงไขมันอัดกอนที่นำ ไปใชเปนเชื้อเพลิงได สวนเศษอาหารไปผสมเปนอาหารสัตว เชน เลี้ยงเปด หมู แพะ P ซึ่งเมื่อพวกสัตวเหลานี้ถายมูลก็ถูกเก็บเอาไปทำปุย บางสวน อยางผักผลไมเนาเอาไปทำน้ำหมักชีวภาพ สำหรับใสเติมในแมน้ำ ลำคลองเพื่อทำใหระบบนิเวศในน้ำดีขึ้น เศษใบไม กิ่งไม้ ก็จะถูก บดนำไปเปนอาหารของไสเดือนเพื่อผลิตปุยมูลไสเดือน ดวย ระบบดั ง กล า วส ง ผลให เ มื อ งแกลงสามารถลดการปล อ ยก า ซ คารบอนไดออกไซดไดถึงวันละ ๒๐๐ กิโลกรัม ลดปริมาณขยะจาก ประมาณ ๗ ลานกิโลกรัมเมื่อป พ.ศ. ๒๕๔๙ ใหเหลือประมาณ ๖ ลานกิโลกรัมในป พ.ศ. ๒๕๕๒ และสรางรายไดจากการขายปุยมูล สัตว น้ำจุลินทรีย และเชื้อเพลิงกอนไขมันอีกดวย P ไมเพียงดูแลดานอากาศและน้ำ เทศบาลยังดูแลผืนดินใหกลับ มาอุดมสมบูรณ ไมปลอยใหทิ้งรางวางเปลา โดยการชักชวนให ประชาชนหันกลับมาทำนาและรณรงคใหปลูกพืชผักสวนครัวไวกิน เองในครัวเรือน ตลอดจนทำเกษตรเมืองตามที่วางเปลาในเขตชุมชน และเทศบาล เปนการทำใหประชาชนรูจักพึ่งพาตนเอง ลดคาใชจาย ในครัวเรือน และที่สำคัญเกิดจิตสำนึกในการรูคาและรักธรรมชาติ มากขึ้น อีกทั้งดินดีขึ้นและสะอาด ปลอดจากปุยเคมีตางๆ P กระบวนการเหลานี้จะไมปรากฏผลสำเร็จเลยหากไมไดรับ ความร ว มมื อ จากชาวเมื อ งแกลงซึ ่ ง ตระหนั ก ว า โครงการต า งๆ เปนการฟนฟูสภาพเมืองใหนาอยู และที่สุดทำใหประชาชนชาวแกลง มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น แผนการการสรางโรงเรียนเพื่อบมเพาะลูกหลาน ชาวแกลงใหรักบานรักเมืองจึงไดรับการขานรับจากชาวเมืองแกลงทุก ครั้งที่มีการจัดประชุมระดมความคิดเห็นถึงผลผลิตอันเปนความคาด หวังในการจัดตั้งโรงเรียน เพราะทุกความคิดเห็นจะถูกประมวลนำไป สูกรอบการยกรางหลักสูตรและทิศทางการบริหารโรงเรียนตอไป ù๙
»ปÕี ·ท∙Õี ่ ñ๑ ÷๗
©ฉ ºบÑั ºบ ·ท∙Õี่ ù๙ ø๘
แมน้ำประแสรที่เคยเนาเสียถูกพลิกฟนให กลับมาใสและเขียวขจีดวยการปลูกไมชายเลนเพื่อ เพิ่มแหลงบริบาลสัตวน้ำ ทำใหจำนวน กุงหอยปูปลาในแมน้ำมีปริมาณมากขึ้น
การเรียนการสอนของโรงเรียนอยูเมืองแกลงวิทยาคม เพิ่งเปดรับนักเรียนมาได ๒ ป (ภาพจาก https:// th.foursquare.com/v/ โรงเรียนอยูเมืองแกลงวิทยา)
ภารกิ จ สร า ง “ครู ” P ใครจะคิดวาภารกิจแรกกอนจะเกิดการสรางโรงเรียนอยูเมือง แกลงวิทยาไดมีการตระเตรียมแนวคิดและการจัดการมากอนหนา ๓-๔ ปแลว นายกเทศมนตรีทานนี้เห็นวาเทศบาลตองมีองค ความรูที่เกี่ยวกับเมืองแกลงใหกับเด็กเพื่อเด็กจะไดรับรูถึงเรื่องราว ตางๆ ของบานเมืองตนเอง ขณะเดียวกันผูที่นายกเทศมนตรีเปรียบ วาเปนเสมือน “ทอ” ลำเลียงความรูไปสูสมองของเด็กๆ นั้น หาใช “ครู” ตามระบบที่สอนกันอยูในโรงเรียน แตตองเปน “ครูเหนือครู” และตองไมจบครูเพราะ P “ผมคิดวาครูสวนใหญมักติดกรอบ การเรียนครูก็ถูกครอบมา แลวชั้นหนึ่งโดยคุณไมรูตัว ผมจึงอยากไดคนจบปริญญาตรี คณะ อะไรก็ได ใหเปนบุคลากรชวยสอนของเทศบาลซึ่งตอนนี้มีอยู ๔ คน เมื่อ ๓-๔ ปกอน ผมใหเขาคนควาหาขอมูลของเมืองแกลง ของ เทศบาล เชน เรามีแมน้ำอะไร มีวัดอะไร เทศบาลมีขยะเทาไร เรา กำลังทำอะไร ทุกสิ่งทุกอยางที่เกี่ยวกับแกลงไปเลาใหเด็กฟงตาม โรงเรียนตางๆ ในเขตเทศบาล U อยางนอยเรื่องราวเหลานี้จะเปนขอมูลของบานเมืองในหัวของ เด็กๆ เมื่อเขาจากไปเรียนยังที่อื่น เราเขาไปสอนตามโรงเรียน ประถม เอาไปเสียบในวิชาสิ่งแวดลอมบาง วิชาประวัติศาสตรบาง เพราะตอนนั ้ น เรายั ง ไม ม ี โ รงเรี ย นของเราเองซึ ่ ง ทางโรงเรี ย น เหลานั้นก็ใหความรวมมือไปอยูกับวิชาเรียน” P ดู เ หมื อ นว า แต ล ะก า วย า งของนายกเทศมนตรี ท า นนี ้ ด ู จ ะ ราบรื่น ทวาไมเปนเชนนั้น เพราะเมื่อจะขอบรรจุบุคลากรครูเหลานี้ ในเทศบาล กลับถูกทางจังหวัดตีกลับดวยเหตุผลวาเทศบาลไมมี โรงเรียนในสังกัดจึงไมมีอัตราครู P “วันนั้นถาเราหยุดเพราะยึดเอาระเบียบเปนตัวกำหนด ผมจึงดู ระเบียบ ๑๒๐ อัตราที่เทศบาลจางไดมีอะไรบาง รับเด็กปริญญาตรี
ñ๑ð๐
ทุกปในงานบุญกลางบาน องคกรทองถิ่นจัดใหมี เสวนาเผยแพรเรื่องราวของชาวแกลง เชนกระบวนการจัดการใหแกลงกลายเปน เมืองคารบอนต่ำเปนตน
เหล า นี ้ ไ ปอยู ต ามอั ต ราดั ง กล า วทำให เ ราสามารถทำในสิ ่ ง ที ่ เ รา ตองการได U เราจะรับเด็กตั้งแต ๓ ขวบ ไมถือวาเล็กเกินไป เพราะไมไดมุง เนนการเรียนแตแรก แตจะเนนพัฒนาการของเด็ก เนนพัฒนา กลามเนื้อและความคิด เราจะใชเรื่องราวของบานเมืองแทรกเขาไป ใหเด็กไดรูดวยวิธีการที่สนุกๆ สรางบรรยากาศใหเด็กรักโรงเรียน เพราะหากเด็กยังไมรักโรงเรียน เด็กจะไปรักบาน (เมือง) ของตน ไดอยางไร จะรักชาติไดอยางไร U โรงเรียนอยูเมืองแกลงวิทยาจะมุงที่เด็ก ปแรกจะรับอนุบาลถึง แคประถมหนึ่ง รับชั้นละ ๒๐ กวาคน เอาเด็กในเขตพื้นที่รับผิดชอบ กอน เด็กนอกเขตใหโอกาสทีหลัง เราจะเปดรับปละหนึ่งชั้นเพราะผม ไมตองการเห็นผลสัมฤทธิ์เร็ว แลวไมใชเราจะสอนเด็กอยางเดียว เราตองมีการทบทวนหลักคิด ทบทวนความสามารถของบุคลากร U ส ว นหลั ก สู ต รที ่ ท างกระทรวงศึ ก ษาให ม า เราจะให เ ป น หลักสูตรขางเคียงเอาหลักสูตรทองถิ่นของเราเองเปนหลักสูตร แกนกลางแทน ในเมื่อเราใชเงินทองถิ่นเปนคนสรางคนทองถิ่นก็ ตองคิดเอง ถาถามวาเทศบาลไมทำแลวใครจะทำ เทศบาลเทากับ “บาน” ของคุณ บานก็คือประชาชนในพื้นที่ เทศบาลไมใชราชการ เพราะองคกรนี้สูงสุดก็คือชาวบานที่ถูกเลือกขึ้นมา” P ขอสรุปที่ชัดเจนของสมชาย จริยเจริญ บงบอกถึงวิสัยทัศน ในการมองอนาคตของมาตุภูมิตนเอง ซึ่งคน “แกลง” ไดรวมสราง และลงไมลงมือดวยตัวของพวกเขาเอง ภายใตอำนาจที่มีอยูบนพื้นที่ เล็กๆ หากมุงทำงานเพื่อบานเมืองและทองถิ่นแลวยอมไดรับความ สนับสนุนจากชาวบานเชนกัน จึงไมแปลกที่นายกเทศมนตรีผูนี้ จะไดรับเลือกตั้งติดตอมาตลอดตั้งแตป พ.ศ. ๒๕๔๔ P และ “แกลง” วันนี้ ไดกลายเปนเมืองตัวอยางในการ ศึกษาดูงานของเทศบาลทองถิ่นอื่นๆ ซึ่งผูบริหารทองถิ่น อื่นๆ ควรเรียนรูถึงสำนึกรักบานเกิดเชนนี้บาง ¨จ´ดËหÁมÒาÂย¢ข่ÒาÇวÁมÙูÅล¹นÔิ¸ธÔิàเÅล็¡ก-»ปÃรÐะäไ¾พ ÇวÔิÃรÔิÂยÐะ¾พÑั¹น¸ธØุ์
àเ Áม Éษ Òา Âย ¹น - ÁมÔิ ¶ถØุ ¹น Òา Âย ¹น ò๒ õ๕ õ๕ ö๖
¨จÑัºบ ¡กÃรÐะáแÊส ¾พÔิ ¾พ Ôิ ¸ธ ÀภÑั ³ณ ±ฑ์ ·ท∙ ้ Íอ §ง¶ถÔิ ่ ¹น
เกลื อเปน หนอน
ภัย ที่ควรระวังของชาวพิพิธภัณฑทองถิ่ น ¸ธÕีÃรÐะÇวÑั²ฒ¹น์ áแÊส¹น¤คÓำ ที่ปรึกษากลุมประวัติศาสตรสองขางทาง ภาควิชาประวัติศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร
!
กวาที่จะทำใหเกิดเปนพิพิธภัณฑทองถิ่น ไมวาจะอยูในชื่อ พิ พ ิ ธ ภั ณ ฑ ท อ งถิ ่ น พิ พ ิ ธ ภั ณ ฑ เ มื อ ง พิ พ ิ ธ ภั ณ ฑ พ ื ้ น บ า น พิพิธภัณฑชุมชน และพิพิธภัณฑวัด หรือชื่อใดๆ ก็ถือวาเปนการ ยากพอสมควร แตการที่จะทำใหพิพิธภัณฑมีชีวิตมีความนาสนใจ และรักษาวัตถุสิ่งของที่จัดแสดงอยูภายในพิพิธภัณฑ โดยเฉพาะ อยางยิ่งของโบราณมีคาตางๆ ถือวาเปนการยากยิ่งกวา เพราะสภาพ สังคมทุกวันนี้เต็มไปดวยมิจฉาชีพที่จองจะลักขโมยสมบัติแผนดิน สมบัติชุมชนขายเปนอาชีพเริ่มมีมากขึ้น P ช ว งไม ก ี ่ ป ท ี ่ ผ า นมามี ข า วที ่ เ กี ่ ย วข อ งกั บ การลั ก ขโมย โบราณวั ต ถุ ห รื อ สิ ่ ง ของมี ค า ในพิ พ ิ ธ ภั ณ ฑ ท อ งถิ ่ น หลายแห ง สวนใหญเกิดจากความไมรัดกุม เลินเลอ ขาดประสบการณและขาด งบประมาณในการป อ งกั น ดู แ ลรั ก ษา ทั ้ ง ที ่ ส ิ ่ ง ของต า งๆ ในพิ พ ิ ธ ภั ณ ฑ ล ว นแล ว แต ม ี อ ายุ ห ลายสิ บ ป จ นถึ ง หลายร อ ยป เปนที่ตองการของผูนิยมชมชอบของผูสะสมของเกา รวมทั้งความ ไมเขมแข็งของชุมชนซึ่งถือวาเปนผูมีสวนสำคัญในการรักษาความ ปลอดภัยของพิพิธภัณฑ แมแตพิพิธภัณฑสถานแหงชาติของทาง ราชการที่ถือวามีทุกอยางพรอมสรรพหมดในการจัดทำและดูแล พิพิธภัณฑก็ยังปลอยใหมิจฉาชีพเขาไปขโมยโบราณวัตถุภายใน พิพิธภัณฑไดทำใหเปนขาวโดงดังไปทั่วประเทศมาแลว P เมื่อเกิดเหตุการณลักขโมยโบราณวัตถุหรือสิ่งของมีคาใน พิพิธภัณฑทองถิ่น เรามักจะสงสัยวาเปนฝมือของบุคคลภายนอก หรือคนแปลกหนาที่แวะเวียนมาในทองถิ่นในชวงเวลาใกลเคียง กับการเกิดเหตุ หรือไมก็สงสัยวาคนในทองถิ่นเองมีสวนรูเห็นกับ การโจรกรรม P จากประสบการณการลงพื้นที่ศึกษาประวัติศาสตรทองถิ่น ตามชุมชนทองถิ่นตางๆ ในลุมแมน้ำนานตอนลางรวมกับสมาชิก กลุมประวัติศาสตรสองขางทาง ภาควิชาประวัติศาสตร คณะ สังคมศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร ตั้งแตป พ.ศ. ๒๕๔๙ เปนตน มา ไดมีโอกาสศึกษาและพบปะพูดคุยกับผูที่รับผิดชอบหรือมี ¨จ´ดËหÁมÒาÂย¢ข่ÒาÇวÁมÙูÅล¹นÔิ¸ธÔิàเÅล็¡ก-»ปÃรÐะäไ¾พ ÇวÔิÃรÔิÂยÐะ¾พÑั¹น¸ธØุ์
ส ว นเกี ่ ย วข อ งกั บ การทำพิ พ ิ ธ ภั ณ ฑ ท อ งถิ ่ น ในชุ ม ชนต า งๆ ดวย ทำใหเห็นถึงปญหาในหลายดานของการจัดทำและดูแลรักษา พิพิธภัณฑทองถิ่นตลอดจนเห็นความเปลี่ยนแปลงของพิพิธภัณฑ ทองถิ่น โดยเฉพาะอยางยิ่งมีโบราณวัตถุในพิพิธภัณฑ ๒ แหง ถูกลักขโมยไป P แต ส ิ ่ ง ที ่ ไ ม ค าดคิ ด ว า จะได ป ระสบพบเจอก็ ค ื อ คนที ่ ม ี ส ว น เกี่ยวของกับการดูแลรักษาพิพิธภัณฑทองถิ่นโดยตรง กลายเปน สวนหนึ่งของขบวนการลักขโมย ซึ่งตรงกับสุภาษิตคำพังเพยที่วา “เกลือเปนหนอน” นั่นเอง
! แหงแรกคือ พิพิธภัณฑวัดพระฝาง ซึ่งตั้งอยูภายในวัดพระฝาง สวางคบุรีมุนีนาถ บานพระฝาง ตำบลผาจุก อำเภอเมือง จังหวัด อุตรดิตถ ในพิพิธภัณฑไดจัดแสดงโบราณวัตถุ พระพุทธรูป และ ขาวของเครื่องใชตางๆ จำนวนมาก โดยเฉพาะอยางยิ่งพระพุทธรูป ซึ่งลวนแตมีพุทธศิลปเกาแกเนื่องจากวัดพระฝางฯ เปนพระมหาธาตุ สำคัญและสรางมาตั้งแตประมาณพุทธศตวรรษที่ ๑๘-๑๙ ภายใน พิพิธภัณฑจึงมีพระพุทธรูปเกาแกหลายองคจัดแสดงอยู P การดูแลรักษาพิพิธภัณฑนั้นโดยปกติทางวัดและชุมชนบาน พระฝางไดมีการตั้งคณะกรรมการขึ้นมาดูแล กุญแจพิพิธภัณฑ จะเก็ บ รั ก ษาไว ก ั บ เจ า อาวาสวั ด ส ว นหน า ที ่ ใ นการดู แ ลความ เรียบรอยในการจัดแสดงและนำชมนั้นก็จะมี คุณตาเย็น ภูเล็ก ประธานสภาวัฒนธรรมตำบลผาจุก อดีตครูใหญโรงเรียนวัดพระ ฝาง และ คุณครูอนุสรณ ผลสวัสดิ์ ครูโรงเรียนวัดพระฝาง รับผิดชอบหนาที่ดังกลาว รวมทั้งในบางโอกาสที่มีนักทองเที่ยวมา เยือนเปนหมูคณะก็จะมียุวมัคคุเทศกจากโรงเรียนวัดพระฝางมา ทำหนาที่บรรยายนำชมและดูแลเรื่องความสะอาดเรียบรอยดวย P กลางเดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ วัดพระฝางฯ จัดงานเขา ปริวาสกรรมประจำปของพระสงฆ ทำใหมีพระสงฆจำนวนมาก เดิ น ทางมาร ว มเข า ปริ ว าสกรรม ปรากฏว า ในคื น วั น ที ่ ๒๐ กรกฎาคม ฝนตกหนัก ทำใหเกิดความวุนวายขึ้นภายในวัด P ชาวบานเลาวาเจาอาวาสวัดพระฝางฯ จึงเปดอาคารพิพิธภัณฑ วัดพระฝางใหพระสงฆจำนวนหนึ่งเขาไปพักโดยไมไดแจงใหคณะ กรรมการวัดหรือคณะกรรมการพิพิธภัณฑทราบ P รุ ง เช า ฝนหยุ ด ตกก็ ป รากฏว า พระสงฆ ก ลุ ม ที ่ เ ข า พั ก ใน พิ พ ิ ธ ภั ณ ฑ น ั ้ น หายไปพร อ มกั บ พระพุ ท ธรู ป ยื น ทรงเครื ่ อ งน อ ย ปางหามสมุทร ศิลปะอยุธยาตอนกลาง สูงประมาณ ๑๕๐ เซนติเมตร น้ำหนัก ๑๕๑ กิโลกรัม ที่ประดิษฐานอยูตรงบันได บนอาคารจัดแสดงชั้นสองก็หายไปดวย P นอกจากนี้ยังพบวาที่หองเก็บรักษาพระพุทธรูปไมแกะสลัก ศิ ล ปะอยุ ธ ยาตอนปลายและพระพุ ท ธรู ป สำริ ด ปางต า งๆ อยู ñ๑ñ๑
»ปÕี ·ท∙Õี ่ ñ๑ ÷๗
©ฉ ºบÑั ºบ ·ท∙Õี่ ù๙ ø๘
ชั้นเดียวกันก็มีรองรอยงัดแงะดวย แตเมื่อตรวจสอบแลวไมมี พระพุทธรูปองคใดหายไป ผูนำทองถิ่น ชาวบาน และคณะ กรรมการวัดจึงไดเขาแจงความกับตำรวจP P ผลจากการสืบสวนและติดตาม พฤติ ก รรมของกลุ ม คนร า ย ปรากฏว า ตำรวจและชาวบานสงสัย พระมหาณรงค กิติสาโร เจาอาวาสวัดพระฝางนาจะมีสวนรู เห็นกับเหตุการณขโมยพระพุทธรูปดังกลาว เพราะไม ป รากฏร อ งรอยงั ด แงะตามช อ ง ประตูหนาตาง ทั้งยังในชวงเวลาดังกลาว เจาอาวาสวัดเปนผูถือกุญแจ P เมื่อตำรวจและชาวบานสงสัยเจาอาวาส จากนั้นไมนานเจาอาวาสก็หนีหายออกไปจาก วั ด ในช ว งกลางดึ ก พร อ มกั บ รถยนต แ ละ ทรัพยสินสวนตัว และทราบภายหลังวาได สึกไปอยูกินกับหญิงสาวคนหนึ่งที่บานซึ่ง สร า งขึ ้ น เตรี ย มไว ห ลายป แ ล ว แตชาวบาน ไมรูจัก สวนพระพุทธรูปองคดังกลาวจนถึง บัดนี้ก็ยังหาไมพบและไมสามารถตามจับตัว คนร า ยที ่ ท ำการลั ก ขโมยพระพุ ท ธรู ป มาดำเนินคดีได
พระพุทธรูปเกาแกและศักดิ์สิทธิ์ทำใหมีชาวบานเดินทางมากราบ ไหวขอพรอยูเสมอ การเก็บกุญแจไวกับเจาอาวาสวัดจึงเปนการ เหมาะสมและสะดวกที่สุด
อดี ต เจ า อาวาสวั ด พระฝางฯ ก็ ย ั ง ลอยนวลเพราะไมมีหลักฐานที่จะเอาผิด อยางชัดเจนได้ P แหงที่สองคือ พิพิธภัณฑวัดทาตะเคียน ซึ่งตั้งอยูภายในวิหารหลวงพอทองสุข วัดทา ตะเคียน บานทาตะเคียน ตำบลจอมทอง อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก ในพิพิธภัณฑ ไดจัดแสดงโบราณวัตถุ พระพุทธรูป และขาว ของเครื่องใชตางๆ จำนวนมาก โดยเฉพาะ อย า งยิ ่ ง พระพุ ท ธรู ป ศิ ล ปะรั ต นโกสิ น ทร ตอนตนและพระบูชารัชกาลซึ่งชาวบานไดมี ศรั ท ธานำมาถวายวั ด ตั ้ ง แต ส มั ย ที ่ ห ลวงปู ฤทธิ์เปนเจาอาวาส (ประมาณสมัยรัชกาลที่ ๔-๖) ซึ่งไดรับการทำทะเบียนโบราณวัตถุ ไวเปนที่เรียบรอยแลว
ภาพบน พระพุทธรูปศิลปะรัตนโกสินทรตอนตน และพระบู ช ารั ช กาลอยู ใ นตู จ ั ด แสดงภายใน พิพิธภัณฑวัดทาตะเคียน ตำบลจอมทอง อำเภอ เมือง จังหวัดพิษณุโลก ถายภาพเมื่อ ๒๗ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๑ กอนที่พระพุทธรูปบาง องคถูกขโมยไปเพียง ๓ วัน ภาพขวา พระพุทธรูปยืนทรงเครื่องนอยปางหาม สมุทร ศิลปะอยุธยาตอนกลาง ที่ถูกคนรายขโมย ไปจากพิพิธภัณฑวัดพระฝาง ถายเมื่อวันที่ ๑๓ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๒
P การดูแลรักษาพิพิธภัณฑวัดทาตะเคียนนั้น โดยปกติทางวัด และชุมชนบานทาตะเคียนไดมอบใหเจาอาวาสและพระสงฆภายใน วัดดูแล กุญแจวิหารหลวงพอทองสุขซึ่งเปนที่ตั้งของพิพิธภัณฑก็ จะเก็บรักษาไวกับเจาอาวาสวัด เนื่องจากหลวงพอทองสุขเปน
ñ๑ò๒
P ภายหลั ง ปรากฏว า มี ก ารแต ง ตั ้ ง พระปลั ด ทวน อาภาธโร มาเปนเจาอาวาสวัดรูปใหม เมื่อ ๒๙ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๑ สำหรับพระปลัดทวนเดิมเคยจำพรรษาอยูที่ประเทศสิงคโปร ไมใช พระสงฆในพื้นที่ ภายหลังจึงไดรับการแตงตั้งใหเปนเจาอาวาสวัดทา ตะเคียน โดยคำสั่งของเจาคณะจังหวัดพิษณุโลก แตชาวบานไมเห็น ดวยเพราะภายในวัดก็มีพระสงฆที่ทำหนาที่ร ั ก ษาการเจาอาวาส ¨จ´ดËหÁมÒาÂย¢ข่ÒาÇวÁมÙูÅล¹นÔิ¸ธàเÔิ Åล¡ก ็ -»ปÃรÐะäไ¾พ ÇวÔิÃรÂย Ôิ Ðะ¾พÑั¹น¸ธØุ ์
àเ Áม Éษ Òา Âย ¹น - ÁมÔิ ¶ถØุ ¹น Òา Âย ¹น ò๒ õ๕ õ๕ ö๖
อยูแลว เมื่อมาเปนเจาอาวาสก็เปลี่ยนกุญแจใหมทั้งวัดรวมทั้งกุญแจ วิหารหลวงพอทองสุขดวย ในขณะเดียวกันเจาอาวาสรูปนี้ไมคอยอยู จำวัด ไมออกบิณฑบาตรและไมสนใจในกิจนิมนตชาวบานดวย จึง ทำใหชาวบานไมพอใจในพฤติกรรมเทาใดนัก และเมื่อรองเรียนตอ คณะสงฆเจาคณะปกครองก็ไมมีการดำเนินการใดๆ ตอมาวันที่ ๑ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๑ มีขโมยเขามาขโมย พระพุทธรูปหนาตักตั้งแต ๓-๕ นิ้ว และโบราณวัตถุอื่นๆ ที่เก็บ ไวในพิพิธภัณฑวัดทาตะเคียนหายไปรวม ๙๑ ชิ้น แตเมื่อมี เหตุการณขโมยเกิดขึ้น พระปลัดทวนกลับอางวาพระพุทธรูปและ โบราณวัตถุตางๆ หายไปโดยปาฏิหาริย เพราะไมมีรอยงัดแงะ ใดๆ ทั้งสิ้น ทั้งที่เจาอาวาสไดเปลี่ยนกุญแจใหมหมดและถือไวอยู คนเดียว และเปนที่นาสงสัยวากอนหนาที่พระพุทธรูปและโบราณ วั ต ถุ จ ะหายไปนั ้ น ได ม ี ญ าติ โ ยมชาวสิ ง คโปร แ วะเวี ย นมาหา พระปลัดทวน หลายครั้ง !
P จึงเปนที่นาสงสัยวาพระปลัดทวนจะมีสวนรูเห็นกับการขโมย ดังกลาว ชาวบานจึงไดพยายามที่จะปดลอมกุฏิเพื่อจับตัวพระปลัด ทวน ปรากฏวาพระปลัดทวนไหวตัวหลบหนีทันและหายไปจากวัด ทาตะเคียนตั้งแตบัดนั้น P ส ว นพระพุ ท ธรู ป และโบราณวั ต ถุ ท ี ่ ห ายไปก็ ย ั ง ไม ส ามารถ ติดตามกลับมาไดแมแตชิ้นเดียว
P จากเหตุการณทั้งสองที่เกิดขึ้นกับพิพิธภัณฑทองถิ่นในลุม แมน้ำนานตอนลางคือ พิพิธภัณฑวัดพระฝางและพิพิธภัณฑวัดทา ตะเคียน เห็นไดวาผูที่มีสวนเกี่ยวของโดยตรงกับหนาที่รับผิดชอบ ดูแลรักษาพิพิธภัณฑ ซึ่งเปน “คนใน” ไดกลายเปนขโมยหรือรู เห็นกับขโมยที่เขามาขโมยโบราณวัตถุ การหายไปของพระพุทธรูป และโบราณวัตถุในพิพิธภัณฑทั้งสองแหงไมปรากฏรองรอยงัดแงะ ชองประตูหรือหนาตางที่เปนทางเขาไปสูภายในอาคารพิพิธภัณฑ แตอยางใด ซ้ำยังมีพฤติกรรมที่นาสงสัยหลายๆ อยาง P เหตุ ก ารณ น ี ้ จ ึ ง เป น อุ ท าหรณ ท ี ่ ผ ู เ ขี ย นอยากฝากถึ ง คณะ กรรมการหรือผูที่กำลังมีสวนในการจัดทำดูแลรักษาพิพิธภัณฑวา ในการแตงตั้งคณะกรรมการหรือคัดเลือกบุคคลใดบุคคลหนึ่งขึ้นมา เพื่อทำหนาที่ถือกุญแจโดยเฉพาะนั้น ตองมีการตรวจสอบประวัติให ถวนถี่ และเปนผูที่ไดรับความไววางใจจากคณะกรรมการและชาว บานทั้งหลายเพื่อปองกันไมใหเหตุการณเชนนี้เกิดขึ้นกับพิพิธภัณฑ ทองถิ่นที่ทานมีสวนรวมอยู P สิ ่ ง ที ่ จ ั ด แสดงอยู ใ นพิ พ ิ ธ ภั ณ ฑ น ั ้ น แม จ ะเป น เพี ย งของเก า แตก็มีคา มีราคาสูง สำหรับคนบางกลุมที่มีความตองการ และอยา ลืมวาในยุคนี้เงินสามารถซื้อหนาที่ ความรับผิดชอบ และจิต วิ ญ ญาณของคนโลภที ่ แ ฝงตั ว ทำงานร ว มกั น กั บ ทุ ก ๆ ท า น จนทำให “เกลือเปนหนอน” ไดอยางที่ทานไมไมคาดคิดมากอน
เรื่องเลาจาก
“เด็ ก บ า นสวน-หนุม นัก เรียน” ของ พ.เนตรรัง ษี ÍอÀภÔิÞญÞญÒา ¹น¹น·ท∙์¹นÒา·ท∙ !
!
!
!
!
!
หนังสือชุด เด็กบานสวน และ หนุมนักเรียน เปนผลงานของ คุณพัฒน เนตรรังษี ในนามปากกา “พ.เนตรรังษี” เขียนหนังสือ ทั้ง ๒ เลมนี้ขึ้นใน พ.ศ. ๒๔๗๕ เพื่อบอกเลาชีวิตในวัยเด็กที่เกิด และเติบโตขึ้นในยานวัดบุปผารามใกลยานกะดีจีนในชวงปลายสมัย รัชกาลที่ ๕ หรือกวารอยปมาแลว ! ฉากหลังของหนังสือชุดนี้เปนเรื่องราวที่เกิดขึ้นในบานสวน ฝงธนฯ ใกลวัดบุปผารามรวมไปถึงละแวกใกลเคียง ทั้งยานกะดีจีน ยานบานสมเด็จ และยานวัดกัลยาณฯ กับประสบการณการเขาเรียน ครั้งแรกที่โรงเรียนวัดประยุรวงศและโรงเรียนสมเด็จเจาพระยา P นอกจากความสนุ ก สนานเพลิ ด เพลิ น จากความซุ ก ซนของ เด็กๆ ในสมัยกอนที่ผูอานจะไดรับแลว สิ่งสำคัญอยางหนึ่งที่ถูก สอดแทรกไวอยางแยบคายคือ ประวัติศาสตรสังคมของยานกะดีจีนและวัดบุปผารามที่ถูกบอกเลาไวอยางมีชีวิตชีวา ซึ่งหาไมไดจาก แบบเรียนวิชาประวัติศาสตรในหองเรียน ¨จ´ดËหÁมÒาÂย¢ข่ÒาÇวÁมÙูÅล¹นÔิ¸ธÔิàเÅล็¡ก-»ปÃรÐะäไ¾พ ÇวÔิÃรÔิÂยÐะ¾พÑั¹น¸ธØุ์
¾พÃรÐะ¹น¤คÃรºบÑั ¹น ·ท∙Öึ ¡ก ภาพจำวันวานของ พ. เนตรรังษี P จากคำบอกเลาของคุณพัฒน ทำใหเห็นสภาพพื้นที่บริเวณยาน วัดบุปผารามและชุมชนใกลเคียงเมื่อราวรอยกวาปกอนยังคงสภาพ เปนเรือกสวน มีแมน้ำลำคลองตัดสลับกันซับซอน บานเรือนที่มีอยูตั้ง กระจายกันหางๆ หลัง สวนบริเวณริมคลองที่ไมมีบานเรือนก็เปนดง ทึบของตนลำพู ดงเหงือกปลาหมอ มีรูปูเปยว ปลาตีน และ กุง ดีดขัน แทรกตัวอาศัยอยูในดินเลนริมตลิ่ง สวนความคึกคักของยาน จะอยูรวมกันที่ตลาดหรือตามวัดวาอารามเมื่อคราวมีเทศกาลงานบุญ หรือมีมหรสพ P สภาพเชนนี้คงไมตางจากยานอื่นๆ ของฝงธนบุรีในสมัยนั้น แตที่ เดนก็คือยังมีเกร็ดประวัติศาสตรสังคมหลายๆ เรื่องแตงแตมเปนสีสัน อยูภายในหยอมยานแหงนี้ ซึ่งสวนใหญแทบไมหลงเหลืออยูอีกแลว จะหยิบยกเรื่องราวบางสวนที่นาสนใจมานำเสนอ เพื่อเปรียบเทียบ ใหเห็นถึงความแปรเปลี่ยนของสภาพยานเหลานี้ในปจจุบัน ñ๑ó๓
»ปÕี ·ท∙Õี ่ ñ๑ ÷๗
©ฉ ºบÑั ºบ ·ท∙Õี่ ù๙ ø๘
ทาน้ำรับเสด็จ / สมั ย ก อ นมี ส ะพานพระพุ ท ธยอดฟ า คนในชุ ม ชนบริ เ วณ ปากคลองสานและย า นกะดี จ ี น หากต อ งการข า มฟากไปยั ง ฝ ง พระนคร ตองใชบริการทาเรือจางซึ่งมีกระจายอยูตามจุดตางๆ เชน ทาเรือปากคลองสานขามไปยังทาเรือวัดกาลหวารฝงตลาด น อ ย ท า เรื อ กะดี จ ี น ข า มไปยั ง ท า กลางหรื อ ท า ปากคลองตลาด และทาเรือวัดประยุรวงศหรือวัดรั้วเหล็กขามไปยังทาเรือโรงยาเกา เปนตน P สำหรับทาเรือวัดประยุรวงศนอกจากทำหนาที่เปนทาเรือจางในยาม ปกติแลว ยังถูกปรับเปนทาน้ำรับเสด็จเมื่อคราวมีพระราชพิธีสำคัญที่ เกี่ยวกับวัดประยุรวงศาวาสดังเชน พระราชพิธีเสด็จพระราชทานพระ กฐินโดยขบวนพยุหยาตราทางชลมารค P ในหนังสือ “หนุมนักเรียน” มีความบทหนึ่งกลาวถึงการจัด เตรียมพิธีการรอรับเสด็จพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวรัชกาลที่ ๖ ซึ่ง รวมถึ งการปรั บปรุ งศาลาท าน้ ำและทางเดิ นเข าสู วั ดประยุ รวงศ P “...สมัยเมื่อผมอยูที่โรงเรียนวัดประยุรวงศนั้น ดูเหมือนจะมี พระราชพิธีเชนนี้ ๓ ป ตอ ๑ ครั้ง เพราะเปนงานใหญ ตองเตรียม กันเหนื่อยมาก และเสียเวลามาก” P “...ระยะทางจากท า น้ ำ วั ด ประยุ ร วงศ ก ็ ต กแต ง สะอาดตา สำหรับทาเรือจางขามฟากดูเหมือนจะหยุดรับสงผูโดยสารหนึ่งวัน เขาเอาโปะใหญมาทอด ทำทางเสด็จพระราชดำเนินใหมเรียบรอย ศาลาทาน้ำริมแมน้ำก็ทาสีสะอาดสะอาน ถนนหินจากทาน้ำเขาสู ตัววัดก็ถากถางหญาเตียน ไมมีขยะกุมฝอยและสิ่งสกปรกรกรุงรัง ดานขวางของถนนเปนตึกเกาๆ หันหลังใหถนน ตึกนี้เปนที่ทำการ กองบังคับการตำรวจน้ำ...ดานซายของถนนเปนบานของเจาพระยา ภาสกรวงษ” P จนเมื่อมีการสรางสะพานพระพุทธยอดฟา ถนนไดเขามามี บทบาทแทนที่ศาลาทาน้ำ และเมื่อเวลาผานไปเสนทางรับเสด็จ กลายสภาพเปนเพียงซอยเล็กๆ เขาสูสำนักเทศกิจ กทม. และอยูใน สภาพทรุดโทรม จนกระทั่งไดมีการบูรณะเพื่อฟนฟูเสนทางและ ทาเรือประวัติศาสตรแหงนี้ขึ้นมาอีกครั้ง เริ่มตั้งแตป พ.ศ. ๒๕๕๓ โดยการดำริของพระพรหมบัณฑิต เจาอาวาสวัดประยุรวงศาวาสและ การสนับสนุนจากกรมเจาทาและกรมศิลปากร
สวนที่วัดประยุรวงศ ปาชาอยูทางดานหลังวัด มีทั้งที่ฝงศพและโรง ทึมเก็บศพทำเปนอาคารชั้นเดียว ภายในเก็บโลงเกาๆ และเครื่อง ประกอบเมรุเผาศพ เชน เชิงตะกอนที่ทำจากเศษไมหลายขนาด P ทั้งเชิงตะกอนและเมรุปูนเผาศพกลางแจงเหลานี้ เมื่อทางวัด เปลี่ยนมาใชเตาไฟฟาจึงถูกทำลายไป ปจจุบันไมเหลือรองรอยของ สามสางที่วัดบุปผารามอีกแลว สวนปาชาที่วัดประยุรวงศก็ถูก เทคอนกรีตปรับใหเปนลานอเนกประสงคของวัด และไมมีโรงทึม เก็บศพอีกแลว เหลื อ เพี ย งการทำช อ งบรรจุ อ ั ฐ ิ ไ ว ต ามกำแพง เหมือนกับวัดทั่วๆ ไปเทานั้น P ทางดานชุมชนชาวคริสตใกลกับโบสถซางตาครูสก็เคยมีปาชา ฝงศพอยูดวย กอนที่จะถูกยายออกไปตั้งแตป พ.ศ. ๒๕๓๙ P “...ตรงปากตรอกกุฎีจีนตรงขามโรงเรียนมัธยมวัดประยุรวงศ ปจจุบันนี้ เดิมเปนกุฏิพระเกาๆ และมีคลองขนานกับถนนซึ่ง กลางคืนไมมีคนผาน พอเขาตรอกกุฎีจีนก็ถึงปาชาโรมันคาทอลิก... ตรอกเล็กๆ นั้นเมื่อ ๕๐ ปกอนมีปาชาอยูฝงขวา ขาเขาไปสูโบสถ มีไมกางเขนปกระเกะระกะ บนหลุมดินพูนขึ้นมานูนเปนหีบศพ บางหลุมกออิฐถือปูนมีไมกางเขนปก เวลาเดือนมืดแลเห็นขาวสลัวๆ ถาเดือนหงายก็ขาวโพลง...”
โรงมะเกลื อ ลานมะเกลื อ / ในสมัยรัชกาลที่ ๕ ทั้งชาวจีนและชาวไทยตางนิยมสวม กางเกงผ า แพรดำ ซึ ่ ง การย อ มผ า แพรดำในอดี ต นั ้ น ไม ไ ด ใ ช สีสังเคราะห หากแตใชสีดำจากผลมะเกลือจึงทำใหเกิดกิจการ “โรงยอมมะเกลือ” ขึ้นอยางแพรหลาย P เจ า ของโรงย อ มมะเกลื อ ส ว นใหญ เ ป น ชาวจี น บ า งก็ เ ป น เจาของรานขายแพรในตลาดสำเพ็ง ซึ่งพวกนี้ไดเขามาเชาที่ในฝง ธนบุรีเพื่อเปดโรงยอมมะเกลือ เพราะในสมัยนั้นยังคงมีพื้นที่โลง กวางเหลืออยูมาก อีกทั้งมีคูคลองหลายสายที่เอื้อประโยชนตอ กระบวนการยอมลางผา โรงยอมมะเกลือจึงเกิดขึ้นหลายแหงในฝง ธนบุรี สำหรับในยานบานเกิดของคุณพัฒนก็มีโรงยอมมะเกลือ ขนาดใหญ อ ยู ด ว ยเช น กั น คื อ ที ่ ล านด า นหน า วั ด ดอกไม ห รื อ วัดบุปผารามและลานใกลวัดกัลยาณฯ
สามส างเผาศพกับปาชา คาทอลิก
P ในหนังสือ “เด็กบานสวน” ไดปรากฏคำบอกเลาของคุณ พัฒนเกี่ยวกับโรงยอมมะเกลือวาประกอบดวย ๒ สวนสำคัญคือ โรงยอมและลานตากผายอม
P สมั ย ก อ นการเผาศพจะทำกั น บนเชิ ง ตะกอนในที ่ โ ล ง แจ ง เชิงตะกอนสำหรับเผาศพของวัดบุปผารามหรือวัดดอกไม ตั้งอยูใกล ถนน ติดคลองวัดดอกไม โดยกอเปนเพิงงายๆ มีหลังคาคลุมกันฝน ชาวบานเรียกกันวา “สามสาง” เพราะใชเสาปกเปนเพิงแค ๓ ตน
P “โรงงานปลูกโดยใชไมรวกหรือไมไผผาซีกขัดแตะเปนฟาก ยกพื้นบริเวณโรงงานใหสูง มิฉะนั้นเวลาฝนตกหรือฤดูน้ำ น้ำจะทวม จนอยูไมได...โรงมะเกลือทำงานไดปละ ๕-๖ เดือน ระยะหนึ่งเทาลูก มะเกลือออกเทานั้น...ฤดูยอมผามักจะเริ่มตอนเดือนกุมภาพันธไป
ñ๑ô๔
¨จ´ดËหÁมÒาÂย¢ข่ÒาÇวÁมÙูÅล¹นÔิ¸ธàเÔิ Åล¡ก ็ -»ปÃรÐะäไ¾พ ÇวÔิÃรÂย Ôิ Ðะ¾พÑั¹น¸ธØุ ์
àเ Áม Éษ Òา Âย ¹น - ÁมÔิ ¶ถØุ ¹น Òา Âย ¹น ò๒ õ๕ õ๕ ö๖
สิ้นสุดราวกลางเดือนกรกฎาคมเปนเชนนี้ทุก ๆ ป” M เมื ่ อ ย อ มผ า เรี ย บร อ ย คนงานจะนำผ า แพรมาตากไว ท ี ่ ลานมะเกลือซึ่งเปนลานกวาง โดยมีการทำคันกั้นน้ำรอบบริเวณ และ ขุดคูเล็กๆ เพื่อระบายน้ำยามฝนตก เพราะที่ดินในฝงธนบุรีเปน ที่ลุม สวนคนงานที่โรงมะเกลือนี้มีทั้งคนไทย คนจีน ถาเปนงาน ในโรงงานสวนใหญเปนแรงงานชาย สวนงานตากผายอมมะเกลือนั้น เหมือนวาเปนงานเฉพาะสำหรับผูหญิง P เมื่อหมดหนามะเกลือแลว ลานตากผายอมมะเกลือที่วางเปลา กลายเปนพื้นที่เลนวาวของเด็กๆ สวนพวกผูใหญพัฒนาเปนการเลน วาวพนันกันไป โดยใชสนามหนาวัดบุปผารามเปนสนามวาวจุฬา สวนสนามปกเปาเปนลานมะเกลือวัดกัลยาณฯ ซึ่งปจจุบันเปน โรงเรียนแสงอรุณ P การทำกิจการลานมะเกลือดำเนินเรื่อยมา จนกระทั่งคนไทย เลิกนิยมนุงกางเกงปงลิ้นหรือกางเกงแพร แตบางเจายังคงรับจาง ย อ มแพรให ร า นผ า ที ่ ส ำเพ็ ง เพื ่ อ ส ง กลั บ ไปยั ง ประเทศจี น และ ฮองกงจนกระทั่งจีนปดประเทศ จึงคอยๆ เลิกกิจการกันไปเมื่อราว พ.ศ. ๒๕๐๐ สวนลานโลงแปรเปลี่ยนเปนพื้นที่รองรับชุมชน และบานเรือนที่แออัดมากขึ้นในยุคตอมา
วั ว หมู และคางคาว P หากเป น คนยุ ค ป จจุ บันคงนึกภาพไมออกวา วัว หมู และ ค า งคาวมี ส ว นเกี ่ ย วข อ งกั บ ละแวกนี ้ อ ย า งไร แต ใ นยุ ค ของ คุณ พัฒนเมื่อกวา ๑๐๐ ปมาแลว สัตว ๓ ชนิดนี้เปนสัตว เศรษฐกิจของคนบางกลุม P วัว เปนสัตวเลี้ยงของพวกแขกซึ่งเปนกลุมคนที่มาตั้งถิ่นฐาน กระจายอยูในยานดังกลาว แขกเลี้ยงวัวคนสำคัญที่คุณพัฒนกลาว ถึงบอยครั้งในหนังสือคือ “แขกหมอ” ผูปลูกโรงวัวอยูใกลกับ ปาชาวัดบุปผาราม บริเวณเชิงสะพานขามคลองวัดดอกไมซึ่งชาว บานเรียกกันวา “สะพานโคสถิตย” ตามฝูงวัวของแขกหมอที่อาศัย อยูบริเวณนี้ P นอกจากแขกหมอแลว บริเวณไมไกลกันยังมีกลุมแขกเลี้ยง แพะซึ่งมาเชาที่ดินของทานเจาคุณทานหนึ่ง เพื่ออยูอาศัยและ เลี้ยงแพะ ชาวบานจึงพากันเรียกวา “สวนแขก” แขกกลุมนี้ใน เวลากลางคืนยังรับจางเปนแขกเฝายามตามหางรานหรือสถานที่ ราชการตางๆ อีกดวย P จากยานวัดบุปผารามขามมายังยานวัดกัลยาณฯ ในสมัยกอน เคยมีโรงฆาหมูของเถาแกชาวจีน ตั้งอยูริมคลองวัดกัลยาณฯ ถือเปนกิจการขนาดใหญ เพราะมีการขนสงหมูลงเรือเอี๊ยมจุน มาขังไวคราวละ ๘๐–๑๐๐ ตัวเลยทีเดียว ขณะที่หมูบางตัวเตรียม ¨จ´ดËหÁมÒาÂย¢ข่ÒาÇวÁมÙูÅล¹นÔิ¸ธÔิàเÅล็¡ก-»ปÃรÐะäไ¾พ ÇวÔิÃรÔิÂยÐะ¾พÑั¹น¸ธØุ์
คนที่ทำอาชีพลาหมูวัด มาพรอมกับกระชุใสหมู (ภาพลายเสนจาก พัฒน เนตรรังสี, หนุมนักเรียน) โดนเชือด แตในละแวกนั้นก็มี หมูวัด ที่อาศัยอยูอยางเสรี เที่ยว หากินตามสวนของชาวบานหรือคุยเขี่ยเศษอาหารตางๆ หมูเหลานี้ มีอยูจำนวนไมนอย แตก็ตองเผชิญกับคนที่ทำอาชีพลาหมูวัดสง โรงเชือด สุดทายหมูวัดจึงคอยๆ หายไปในที่สุด P สัตวชนิดสุดทายคือ คางคาว เนื่องดวยสมัยกอนบริเวณยาน วัดบุปผารามยังคงเปนเรือกสวนอยู จึงเปนแหลงอาศัยชั้นดีสำหรับ ฝูงคางคาวแมไก จึงเกิดอาชีพดักคางคาวขึ้น โดยลักษณะของ เครื่องมือสำหรับใชดักคางคาว คุณพัฒนไดเลาไววา P “...ลานดินมีเสาไมไผจีนตอกันสูงประมาณ ๓๐ วา เสา ๒ เสานี้ ปกเต็มความกวางของที่ดิน ดูรูปรางเหมือนจอหนังกลางแปลง ยอดเสา มีรอก และมีตาขายถักใชดายสีขาวขนาดแห...ตาขายนี้ ชักรอกจากโคนเสาขึ้นไปสำหรับดักคางคาวแมไก...เวลาที่เริ่มดัก ประมาณแต ๓ ทุม ถึง ๒ ยาม” U ค า งคาวที ่ จ ั บ มาได เ หล า นี ้ จ ะนำไปส ง ขายที ่ ท า เตี ย น โดยประโยชนของมันอยูที่เลือด เชื่อวาหากนำมาผสมกับเหลาโรง แลวดื่มในชวงเชามืดจะเปนยาชูกำลังและคลายความหนาว เปนที่ นิยมในหมูชาวจีนอยางมาก สวนเนื้อคางคาวก็สามารถนำมาปรุง อาหารไดดวยเชนกัน ñ๑õ๕
»ปÕี ·ท∙Õี ่ ñ๑ ÷๗
©ฉ ºบÑั ºบ ·ท∙Õี่ ù๙ ø๘
ลัดเลาะเขาตรอกวัดกัลยาณฯ P นอกจากนี้ที่วัดกัลยาณมิตรยังมีเทศกาลที่ถือเปนงานใหญ่ ประจำป ข องคนในย า นนี ้ นอกไปจากงานวั ด ประยุ ร วงศ ค ื อ งานไหว ห ลวงพ อ โตหรื อ หลวงพ อ ซำปอกงและงานทิ ้ ง กระจาด ซึ่งจัดขึ้นชวงปลายกรกฎาคมถึงตนสิงหาคม โดยมีคนจีนจาก แถวสำเพ็ง ราชวงศ รวมไปถึงชาวสวนจากตลาดบานสมเด็จ บางลำภูลาง บางไสไก ดาวคะนอง พากันเดินทางมารวมงานดวย P ถึงแมวาปจจุบันหากเขาไปในชุมชนวัดกัลยาณฯ คงไมไดเห็น สภาพเชนนี้แลวดวยคลองบางสวนถูกถมทำเปนถนน สะพานไม เคี่ยมถูกรื้อไปจนไมเหลือรองรอย แตชุมชนวัดกัลยาณยังคงรักษา ความเป น ชุ ม ชนชาวตรอกซึ ่ ง เป น ลั ก ษณะของชุ ม ชนดั ้ ง เดิ ม ใน กรุงเทพฯ ไวได P นอกจากหนังสือเรื่อง เด็กบานสวน และ หนุมนักเรียน แลว ยังมีวรรณกรรมในทำนองเดียวกันนี้อีกหลายเลม เชน เด็กคลอง บางหลวง ของ ขุนวิจิตรมาตรา หรือ สงา กาญจนาคพันธุ, เด็กบาน สวน ของ แกวแกมทอง หรือนวนิยายที่ใชฉากชีวิตของคน ฝงธนฯ เชนเรื่อง คูกรรม ของทมยันตีที่ใชฉากของคนยาน บางกอกนอยในชวงสงครามโลกครั้งที่ ๒ หรือเรื่อง แวววัน ของโบตั๋น ที่กลาวถึงบรรยากาศของสวนพลูฝงธนบุรี เปนตน P ผูที่สนใจประวัติศาสตรของฝงธนบุรี หากมีโอกาสลองเลือก หยิบวรรณกรรมเหลานี้มาอานดูสักครั้ง จะเห็นภาพประวัติศาสตร สังคมของคนกรุงยานฝงธนฯ ไดอยางชัดเจน มากไปกวาการเรียน ประวั ต ิ ศ าสตร ก ารเมื อ งและการสงครามสมั ย กรุ ง ธนบุ ร ี ท ี ่ เ รา คุนเคยในระบบการเรียนการสอนตามโรงเรียนก็เปนได
อันเนื่องจากเสวนา “ฟน (ราก) ชาวกรุง?” ÍอÀภÔิÞญÞญÒา ¹น¹น·ท∙์¹นÒา·ท∙, ³ณÑั°ฐÇวÔิ·ท∙Âย์ ¾พÔิÁม¾พ์·ท∙Íอ§ง
! เมื ่ อ วั น พุ ธ ที ่ ๒๗ กุ ม ภาพั น ธ พ.ศ. ๒๕๕๖ ที ่ ผ า นมา เครือขายอนุรักษมรดกวัฒนธรรม ประกอบดวยสยามสมาคมใน พระบรมราชูปถัมภ มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ (ในสวนความ รับผิดชอบของสุดารา สุจฉายา), สมาคมอนุรักษศิลปกรรมและสิ่ง แวดล อ ม สถาบั น อาศรมศิ ล ป คณะสถาป ต ยกรรมศาสตร มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี พ ระจอมเกล า ธนบุ ร ี และหอศิ ล ป วั ฒ นธรรมแห ง กรุ ง เทพมหานคร ร ว มกั น จั ด เสวนาเรื ่ อ ง “ฟน (ราก) ชาวกรุง?” เพื่อแลกเปลี่ยนพูดคุยเกี่ยวกับปญหาของ ชาวกรุงเทพฯ โดยเฉพาะดานการพัฒนาเมืองที่อาจทำลายมรดก วัฒนธรรมและชุมชน ñ๑ö๖
เวทีเสวนาประกอบดวย (จากซายมาขวา) คุณพงษสวัสดิ์ อักษรสวาสดิ์ อุปนายก ฝายกฎหมาย สมาคมอนุรักษศิลปกรรมและสิ่งแวดลอม กรรมการเลขานุการมูลนิธิ ศาสตราจารยคะนึง ฦๅไชย กรรมการผูอำนวยการมูลนิธิศูนยกฎหมายสิ่งแวดลอม ประเทศไทย คุณศิริณี อุรุนานนท คณะทำงานกลุมอนุรักษและฟนฟูชุมชน เจริญไชย รองศาสตราจารยชูวิทย สุจฉายา จากสถาบันอาศรมศิลป รองศาสตราจารย ดร. กิตติศักด์ิ ปรกติ คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร คุณวรวิมล ชัยรัต กลุมรักษบานรักษเมืองเชียงใหม และคุณวิมล อังสุนันทวิวัฒน กรรมการสมาคมอนุรักษศิลปกรรมและสิ่งแวดลอมเปนผูดำเนินรายการ
Z การเสวนาเริ่มตนดวยปาฐกถาโดย อาจารยศรีศักร วัลลิโภดม ที ่ ป รึ ก ษามู ล นิ ธ ิ เ ล็ ก -ประไพ วิ ร ิ ย ะพั น ธุ มี ส าระสำคั ญ ดั ง นี ้ ประวัติศาสตรสังคมของกรุงเทพฯ ถูกหลงลืมไป เพราะที่ผานมา เราเห็นแตประวัติศาสตรชาติ ปราสาทราชวัง วัดวาอาราม แตมอง ไมเห็นวิถีชีวิตของผูคนและชุมชน แตขณะนี้ทองถิ่นตางๆ กำลังถูก คุกคามดวยกลุมทุนและอำนาจรัฐที่พยายามเขามาจัดการ โดยไม คำนึงถึงเสียงของ “คนใน” Z เมื ่ อ ชุ ม ชนท อ งถิ ่ น เหล า นี ้ ไ ด ร ั บ ผลกระทบจึ ง เกิ ด ปฏิ ก ิ ร ิ ย า ตอบโต ซึ่งความเคลื่อนไหวของผูคนในทองถิ่นตางๆ กำลังเกิดขึ้น ทั่วราชอาณาจักร ดังกรณีตัวอยางในกรุงเทพฯ ที่เห็นถึงผลกระทบ ดังกลาวไดชัดเจนคือ กรณีไลรื้อเจดียทรงไทยวัดเลงเนยยี่ ซึ่งเปน เจดียที่มีคุณคาทางประวัติศาสตรสังคมของยานเยาวราช เพราะ เปนเจดียบรรจุอัฐิของชาวไทยเชื้อสายจีนที่เขามาตั้งรกรากแบง ออกเปนหลายเหลาหลายตระกูล สุดทายแลวพวกลูกหลานไมยอม ใหรื้อและเกิดปฏิกิริยาตอบโตออกมา Z ดังนั้นการพัฒนาที่ดีตองไมใชอำนาจบังคับและควรรับฟงความ เห็ น ของคนในชุ ม ชน โดยเฉพาะการให ค วามสำคั ญ กั บ พื ้ น ที ่ ทางวัฒนธรรมที่ไมใชการแบงตามเขตการปกครอง โดยทำความ เขาใจจากการศึกษาประวัติศาสตรสังคมและความสัมพันธของผูคน เชน ความสัมพันธระหวางชุมชนกับวัดที่เกื้อหนุนซึ่งกันและกัน การ มีสำนึกรวมในความเปนยาน ความเปนตรอกเดียวกัน เชนที่ ยานบางลำพูซึ่งประกอบดวยตรอกตางๆ ไมวาจะเปนตรอกบวรรังษี ตรอกมะยม ตรอกไกแจ ฯลฯ ที่ตางก็มีสำนึกรวมใน “บาน” เดียวกัน สะทอนออกมาเปนความหวงแหนและรักษาพื้นที่ของตนเอง ¨จ´ดËหÁมÒาÂย¢ข่ÒาÇวÁมÙูÅล¹นÔิ¸ธÔิàเÅล็¡ก-»ปÃรÐะäไ¾พ ÇวÔิÃรÔิÂยÐะ¾พÑั¹น¸ธØุ์
àเ Áม Éษ Òา Âย ¹น - Áม Ôิ ¶ถ Øุ ¹น Òา Âย ¹น ò๒ õ๕ õ๕ ö๖
Z ขณะนี้หลายๆ ชุมชนกำลังตื่นตัว หากไดนำเอารากเหงาทาง วัฒนธรรมมาปรับใชจะสามารถฟนไดอยางรวดเร็ว อีกทั้งวัฒนธรรม ที่หลากหลายของกรุงเทพฯ ยังถือเปนเสนหอยางหนึ่งที่ดึงดูดความ สนใจไดเปนอยางดี และขอสำคัญอีกสิ่งหนึ่งคือ การจะฟนรากเหงา นั้นตองเริ่มจากคนใน โดยลงไปจัดเวทีในพื้นที่เพื่อดึงความรูจากคน ทองถิ่น กอนผลักดันใหผูมีอำนาจเขามารับฟง Z การเสวนาในลำดับตอมาเปนเรื่อง “บทเรียนจากประชาคม บางลำพู” รวมพูดคุยโดย คุณอรศรี ศิลป ประธานประชาคมบาง ลำพู และ อาจารยปองขวัญ (สุขวัฒนา) ลาซูส จากสมาคม สถาปนิกสยามฯ โดยมี คุณวิมล อังสุนันทวิวัฒน กรรมการ สมาคมอนุรักษศิลปกรรมและสิ่งแวดลอมเปนผูดำเนินรายการ Z คุณอรศรีไดกลาวถึงการฟนฟูยานบางลำพูวา เปนยานเกาแกที่มี เอกลักษณและตนทุนทางวัฒนธรรมสูงคือมีประวัติศาสตรความเปน มาสืบยอนไปไดตั้งแตชวงเริ่มสรางกรุงรัตนโกสินทร และเปนแหลง รวมผูคนหลายชาติพันธุ เชน ชาวมอญ ชาวมุสลิม ชาวจีน ซึ่งสะทอน ออกมาเปนวัฒนธรรมที่หลากหลาย ทั้งวัดวาอาราม อาหาร และวิถี ชีวิต อีกทั้งยังเปนยานการคาสำคัญตั้งแตอดีตถึงปจจุบัน แตที่ผาน มาคนบางลำพูจำนวนไมนอยไดยายถิ่นฐานออกไป เนื่องจากที่ดินมี มูลคาเพิ่มสูงขึ้น ดวยเหตุนี้จึงเปนจุดเริ่มตนในการกอตั้งประชาคม บางลำพู เพื่อทำใหคนกลับมาเห็นคุณคาของยานอีกครั้ง Z การดำเนินงานของประชาคมบางลำพูไดทำตอเนื่องมาเปนเวลา กวา ๑๐ ป โดยมีหัวใจหลักเปนการฟนฟูวัฒนธรรมของยาน และสรางกลุมเยาวชน “เกสรลำพู” เพื่อปลูกฝงสำนึกรักทองถิ่น โดยการสรางประวัติศาสตรชุมชนจากการเก็บขอมูลคำบอกเลาของ ผูใหญในชุมชน รวมถึงการจัดกิจกรรมในยานอยางตอเนื่อง Z อาจารยปองขวัญไดเสนอแนวความคิดดานการพัฒนาเมืองวา ชุ ม ชนจำเป น ต อ งสร า งความเข ม แข็ ง เพื ่ อ ต อ รองกั บ อำนาจรั ฐ ตัวอยางเชนการพัฒนายานเกาบริเวณเกาะรัตนโกสินทร จะเห็นวาใน เวลาที่ผานมาการพัฒนายังไมไดมีความคืบหนามากนัก อาจเปน เพราะที่ผานมาเรารอพึ่งแตรัฐอยางเดียว ในความเปนจริงแลวคนใน ชุมชนควรสะทอนบอกความตองการของตนเองออกไป ดังนั้นแตละ ทองถิ่นจึงตองรูรากเหงาของตนเองวา เรามีตนทุนอะไรบางที่จะนำมา พัฒนาตอยอดได Z นอกจากนี้อาจารยปองขวัญยังไดกลาวถึงความคืบหนาหลังจาก ไดยื่นจดหมายไปยังคณะกรรมการผังเมืองกรุงเทพฯ เพื่อพิจารณาให พื้นที่ตอเนื่องกับเขตรัตนโกสินทรชั้นใน ดังเชนยานเยาวราชซึ่งเปน พื้นที่พาณิชยกรรมใหมีขอยกเวนในดานการพัฒนาเพื่อรักษายานและ อาคารเก า แก เ อาไว คณะทำงานของเครื อ ข า ยอนุ ร ั ก ษ ม รดก วัฒนธรรมไดยื่นขอเสนอขอมีสวนรวมในการรางขอเทศบัญญัติ ทองถิ่นของกรุงเทพฯ ในดานการวางแผนเพื่ออนุรักษและพัฒนา
¨จ´ดËหÁมÒาÂย¢ข่ÒาÇวÁมÙูÅล¹นÔิ¸ธÔิàเÅล็¡ก-»ปÃรÐะäไ¾พ ÇวÔิÃรÔิÂยÐะ¾พÑั¹น¸ธØุ์
เมื อ งเก า ซึ ่ ง ถื อ ว า เป น ก า วแรกที ่ อ งค ก รภาคประชาชนได เ ข า ไปมี สวนรวม Z ชุมชนเจริญไชยแถบเยาวราชเปนพื้นที่หนึ่งที่ไดรับผลกระทบ จากความเปลี ่ ย นแปลงจากภายนอกที ่ ข ยายวงเข า มาภายในย า น ดังกรณีรถไฟฟาใตดิน [MRT] ซึ่งมีตนทางอยูที่หัวลำโพงไดตัดผาน พื้นที่เยาวราชและเกาะรัตนโกสินทรไปยังบางแคสงผลกระทบตอ ชุมชนหลายดาน Z หนึ ่ ง ในนั ้ น คื อ การไม ไ ด ร ั บ การต อ สั ญ ญาที ่ อ ยู อ าศั ย จาก สำนักงานทรัพยสินสวนพระมหากษัตริย คุณศิริณี อุรุนานนท เปน หนึ่งในคณะทำงานกลุมอนุรักษและฟนฟูชุมชนเจริญไชยไดพูดถึง เรื่องนี้วา ชุมชนเจริญไชยเปนพื้นที่หนึ่งที่ยังคงวิถีชีวิตและวัฒนธรรม แบบดั้งเดิมอยู จึงนาเปนหวงอยางยิ่งหากในอนาคตยานชุมชนเกา แหงนี้จะสูญสิ้น Z การวางผังเมืองใหเปนพื้นที่อนุรักษที่ผานมาเราเขาใจวาอยู บริเวณเกาะรัตนโกสินทรเทานั้น แตในความเปนจริงแลวพื้นที่ ตอเนื่องเชนเยาวราชก็มีคุณคาควรแกการอนุรักษเชนกัน แมใน ป พ.ศ. ๒๕๔๒ จะมีกฎเทศบัญญัติออกมาควบคุมความสูงของตึก แลว แตเมื่อเวลาผานไปไดมีโครงการกอสรางรถไฟฟาใตดินเกิดขึ้น จึงขอเรียกรองใหมีการอนุรักษตึกโบราณของยานชุมชนเกาแกแถบนี้ ที่สามารถสืบยอนไปไดถึงสมัยรัชกาลที่ ๕ การเกิดขึ้นของรถไฟฟา ใตดินจึงมีความเปนไปไดที่จะกอใหเกิดผลกระทบโดยตรงกับผูคน ที่อาศัยอยูในยานเยาวราช Z รศ.ดร. กิตติศักดิ์ ปรกติ จากคณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร ไดใหแงคิดดานกฎหมายเพื่อใชตอสูและตอรองอำนาจ รัฐวากฎหมายนั้นจะมีผลเกิดขึ้นไดตอเมื่อถูกหยิบยกขึ้นมาใชใน การตอสู ไมเชนนั้นแลวก็เปรียบเสมือนเปนแคกฎเกณฑที่ไมไดถูก บังคับใช ผูที่จะตอสูใหกฎหมายไมเปนเพียงแคแผนกระดาษเทานั้น คือประชาชนหาใชตำรวจหรือนักการเมือง ดังมีตัวอยางใหเห็น เชน ชาวสะเอียบ จังหวัดแพร ไดลุกขึ้นมาใชกฎหมายตอสูปกปองพื้นที่ ของเขา ชาวเลก็เชนกัน ไดใชกฎหมายการปกปองพื้นที่ทำกินไมใหถูก รุกโดยคนนอก Z เกี ่ ย วกั บ เรื ่ อ งผั ง เมื อ งนั ้ น ชุ ม ชนมี ส ิ ท ธิ ์ ร ว มรั บ รู แ ละแสดง ความคิดเห็นวามีความเหมาะสมหรือไม หากเห็นวาไมเหมาะสมก็ สามารถยื่นเรื่องคัดคานได เพราะเปนสิทธิชุมชนที่เราสามารถรวม จัดสรรทรัพยากรใหอยูในสภาพที่สมดุล และเกี่ยวกับพื้นที่ชุมชน เจริ ญ ไชยซึ ่ ง ได ร ั บ ผลกระทบจากการไม ต อ สั ญ ญาจากสำนั ก งาน ทรั พ ย ส ิ น ส ว นพระมหากษั ต ริ ย น ั ้ น ต อ งทำความเข า ใจก อ นว า ทรัพยสินสวนพระมหากษัตริย ไมใชของสวนรวมและไมใชของ สวนตัว แตเปนของแผนดิน Z ดังนั้นตามหลักการสำนักงานดังกลาวจึงมีหนาที่หารายไดให
ñ๑÷๗
»ปÕี ·ท∙Õี ่ ñ๑ ÷๗
©ฉ ºบÑั ºบ ·ท∙Õี่ ù๙ ø๘
กับสถาบันพระมหากษัตริยเพื่อความมั่นคง แตตองถามกลับไปวาสิ่ง ที่ทำนั้นกอใหเกิดประโยชนอยางไรกับแผนดินบาง ขอตอสูอันหนึ่ง ของชุมชนก็คือตองไปศึกษาวาประโยชนที่จะกอใหเกิดกับแผนดินนั้น คืออะไร แลวจึงใชเปนขอตอรองในการแกปญหาที่เกิดขึ้น Z คุณวรวิมล ชัยรัต กลุมรักษบานรักษเมืองเชียงใหมเสนอ แนวทางการรับมือกับความทันสมัยที่เขามากระทบชุมชนและพื้นที่ วัฒนธรรมยานวัดเกตุกลาววา ชาวเชียงใหมไดตื่นตัวตั้งแตทราบวา มีการวางผังเมืองรวมเปนตนมา ชุมชนยานวัดเกตุมีการรับมือใน ผังเมืองรวมดวยการกระตุนใหคนในชุมชนตระหนักถึงการพัฒนาทั้ง ผลดีและผลเสียที่จะตามมา แลวจึงรวมตัวเพื่อเสนอแนะใหมีการ ควบคุมความสูงของอาคาร รวมถึงระงับการขยายถนนภายในยาน และเรียกรองใหมีการคุมครองดานสิ่งแวดลอมและศิลปกรรมเพื่อ แสดงสิทธิ์และเสียงตอรองกับภาครัฐ Z ลำดั บ ต อ ไปเป น ข อ เสนอเกี ่ ย วกั บ การจั ด การพื ้ น ที ่ เ มื อ ง วัฒนธรรมโดย รศ. ชูวิทย สุจฉายา จากสถาบันอาศรมศิลป กลาว วาการจัดการเมืองเชิงวัฒนธรรมใหมีความเหมาะสมและสัมพันธกับ บริบทของเมืองนั้นสามารถใชแมแบบซึ่งเปนเมืองใหญๆ ในตาง ประเทศมาปรับได เชนที่เมืองอัมสเตอรดัม ประเทศเนเธอรแลนดเปน เมืองทาสำคัญแหงหนึ่งของยุโรปไดมีการวางแผนรองรับการทอง เที่ยวเอาไวอยางเปนระบบ เมืองบารเซโลนา ประเทศสเปน เปนเมือง ตากอากาศไดมีการบริหารจัดการเมืองเพื่อรองรับผูคนจากภายนอก เขามาทองเที่ยวเปนอยางดี อีกทั้งอาคารเกาแกมีอายุนับรอยปยังได อนุรักษใหอยูรวมกับอาคารสมัยใหมอยางลงตัว Z สำหรับบานเราแลวการคงวิถีชีวิตชาวเมืองกรุงแตเดิมเอาไว สามารถสรางมูลคาในทางการทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรมไดรวมถึงตึก รามบานชองเกาแกมากก็ควรอนุรักษ หากสามารถทำเชนนี้ไดความ เปนเมืองอนุรักษและมีวิถีชีวิตของผูคนเขามาเปนสวนประกอบจะ สามารถรองรับนักทองเที่ยวที่นำรายไดมายังบานเราได Z ช ว งท า ยของงานเสวนา คุ ณ พงษ ส วั ส ดิ ์ อั ก ษรสวาสดิ ์ อุปนายกฝายกฎหมาย สมาคมอนุรักษศิลปกรรมและสิ่งแวดลอม ไดเสนอขอสรุปทางกฎหมายในเรื่องนี้วา สิทธิ์ของชุมชนเกิดขึ้นตั้งแต ประชาชนไดรวมตัวขึ้นเปนชุมชนมีสิทธ์ิรวมกับรัฐในการอนุรักษและ รวมใชประโยชนในทรัพยากรสิ่งแวดลอม นั่นหมายความวา ชุมชน เปนประธานแหงสิทธ์ิเสมอหรือเทียบเทากับรัฐและสิทธิ์นั้นไดเกิด ขึ้นพรอมกับความมีอยูของชุมชนทุกๆ แหงในประเทศไทยตั้งแต เริ่มแรกแลว Z การใชสิทธิ์ตอรองกับอำนาจรัฐนั้นควรเริ่มตนจากใชกฎหมาย ให ม ี ผ ลบั ง คั บ ใช ด ว ยตั ว เราเอง มิ เ ช น นั ้ น แล ว กฎหมายต า งๆ ที่รองรับ สิทธิชุมชนก็จะเปนเพียงแผนกระดาษที่ไมมีความหมาย แตอยางใดZ ñ๑ø๘
ºบÃรÃรÂยÒาÊสÒา¸ธÒาÃร³ณÐะ สรุป บรรยาย สาธารณะ
“ความก า วหน า ทางโบราณคดีเรื่อง “มโหระทึ กสองฝ ง โขง สะหวัน นะเขต-มุกดาหาร” »ปÔิÂยªชÒาµตÔิ ÊสÖึ§งµตÕี
วันที่ ๒๗ กุมภาพันธ ๒๕๕๖ ที่ผานมา มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ จัดใหมีการบรรยายสาธารณะเรื่อง “ความกาวหนาทาง โบราณคดีเรื่องมโหระทึกสองฝงโขง สะหวันนะเขต-มุกดาหาร” โดยเชิญ สุกัญญา เบาเนิด นักโบราณคดีชำนาญการ ประจำ หนวยศิลปากรที่ ๑๑ อุบลราชธานี กรมศิลปากร เปนวิทยากร บรรยาย P สุกัญญา เบาเนิด นักโบราณคดี ทำงานที่สำนักศิลปากรที่ ๑๑ จังหวัดอุบลราชธานี มีโอกาสในการลงพื้นที่ขุดคนศึกษางาน ทางโบราณคดี บริเวณภาคอีสานโดยเฉพาะเขตทุงกุลารองไหใน เรื่องพิธีกรรมเกี่ยวกับการฝงศพของมนุษยกอนประวัติศาสตร P การทำงานโบราณคดีในพื้นที่ “ริมแมน้ำโขง” บริเวณรอยตอ ระหวางจังหวัดมุกดาหารกับจังหวัดอุบลราชธานี ซึ่งการทำงานใน พื้นที่ริมน้ำโขงไดพบกับหลักฐานทางโบราณคดีใหม เชน การ คนพบแหลงผลิตมโหระทึกที่โนนหนองหอ จั ง หวั ด มุ ก ดาหาร ซึ่งนับเปนการคนพบครั้งสำคัญสำหรับงานศึกษาเรื่องมนุษย กอนประวัติศาสตรในดินแดนประเทศไทยปจจุบัน เพราะที่ผาน มาความรูความเขาใจเกี่ยวกับเรื่องกลองมโหระทึกตั้งอยูบนฐาน คิดขอเสนอที่วาเปนสิ่งของที่ถูกนำเขามาจากตางถิ่น ไมไดมีการ ผลิ ต ขึ ้ น เองภายในชุ ม ชนมนุ ษ ย ก อ นประวั ต ิ ศ าสตร ใ น ประเทศไทย P กลองมโหระทึ ก เป น วั ฒ นธรรมสั ม พั น ธ อ ยู ก ั บ การทำ เกษตรกรรม เปนการแสดงออกถึงความอุดมสมบูรณ มักใชใน การประกอบพิธีกรรมตางๆ ทั้งเกี่ยวของกับการเพาะปลูกไป จนถึงพิธีกรรมเกี่ยวกับความตายและการสงครามที่มีอยูรวมกัน ของผูคนในภูมิภาคนี้นับตั้งแตจีนทางตอนใต ปรากฏหลักฐานที่มี การขุ ด ค น พบทางโบราณคดี ต ั ้ ง แต จ ี น ตอนใต บ ริ เ วณมณฑล ¨จ´ดËหÁมÒาÂย¢ข่ÒาÇวÁมÙูÅล¹นÔิ¸ธàเÔิ Åล¡ก ็ -»ปÃรÐะäไ¾พ ÇวÔิÃรÂย Ôิ Ðะ¾พÑั¹น¸ธØุ ์
àเ Áม Éษ Òา Âย ¹น - ÁมÔิ ¶ถØุ ¹น Òา Âย ¹น ò๒ õ๕ õ๕ ö๖
ยูนนาน กวางสี กลุมวัฒนธรรมดองซอนในตอนเหนือของเวียดนาม บริเวณลุมแมน้ำแดงแมน้ำดำ และสงออกไปยังดินแดนตางๆ ใน เอเชียตะวันออกเฉียงใตทั้งภาคพื้นทวีปและหมูเกาะ
P นอกจากนั้นยังมีการคนพบทอลม เศษกอนโลหะ และแมพิมพ ใชในการหลอสำริดอีกดวย จึงทำใหมีการสันนิษฐานวานาจะตองมี แหลงหลอสำริดในบริเวณนี้
P ซึ่งกลุมวัฒนธรรมซาหวิ่งหในบริเวณภาคกลางของเวียดนามมี สวนสำคัญอยางมากในการสงออกวัฒนธรรมของมโหระทึกออกไปยัง ดินแดนตางๆ ภายนอก
P ดวยกอนดินที่มีการคนพบจากลวดลายภายในกอนดินที่เปน ลายเสนหนามโหระทึก จึงทำใหสันนิษฐานวานอกจากการหลอสำริด เครื่องมือ เครื่องประดับแลว ในบริเวณนี้ยังไดเคยมีการ หลอ มโหระทึกขึ้น ซึ่งนับวาเปนการคนพบที่มีความสำคัญอยางมากใน การทำงานโบราณคดีในประเทศไทย ที่ทำใหเปลี่ยนแปลงความรูที่ เคยมีมาแตเดิมวามโหระทึกเปนสิ่งของนำเขามาจากภายนอกเทานั้น มาเปนการผลิตขึ้นเองภายในชุมชนมนุษยกอนประวัติศาสตรใน ประเทศไทย
! ในปจจุบันมโหระทึกยังถูกนำมาใชรวมในพิธีกรรมตางๆ ของ คนในภูมิภาคนี้ ดังเห็นไดจากการใชในพิธีกรรมขอฝนของชาวจวง ในมณฑลกวางสี ประเทศจีน และงานพระราชพิธีตางๆ ใน ประเทศไทย P มโหระทึ ก ที ่ ม ี ก ารพบในประเทศไทยพบในทั ่ ว ทุ ก ภู ม ิ ภ าค โดยพบมากที่สุดในภาคใต รองมาเปนภาคเหนือ ภาคอีสาน และ ภาคกลางตามลำดับ ทวามโหระทึกในประเทศไทยที่คนพบและมี ความโดดเดนคือ มโหระทึกพบที่อำเภอดอนตาล จังหวัดมุกดาหาร ที่ถือวามีขนาดใหญมากที่สุดที่มีการพบในประเทศไทย คือมีขนาด เสนผานศูนยกลาง ๘๖ ซม. สูง ๖๕ ซม. เก็บรักษาไวที่วัดมัชฌิมาวาส อำเภอดอนตาล จังหวัดมุกดาหาร P สำหรับแหลงสำริดและความกาวหนาในการศึกษามโหระทึก ที่คุณสุกัญญา เบาเนิด นำเสนอในวันนี้คือ แหลงโบราณคดีโนน หนองหอ บานงามอุดม ตำบลนาอุดม อำเภอนิคมคำสรอย จังหวัดมุกดาหาร เริ่มมีการคนพบเมื่อประมาณป พ.ศ. ๒๕๔๐ เมื่อคุณประสาน งามสารบำรุง ผูใหญบานงามอุดม ขุดหลุมเผาถาน และไปพบกระบวยสำริด ลูกปด เครื่องปนดินเผา จึงแจงมาที่ สำนักงานศิลปากรที่ ๑๑ นำไปสูการเขาไปทำงานขุดคนซึ่งไดพบ โบราณวัตถุจำนวนมาก แตเมื่อเจาหนาที่ไดออกไปจากพื้นที่ก็ไดมี พอคาของเกาเขาไปกวานซื้อโบราณวัตถุจากชาวบาน ทำใหมีการ ลักลอบขุดคนของเกาครั้งใหญ จนสุดทายทางเจาหนาที่โบราณคดี สำนักศิลปากรที่ ๑๑ ก็ไมสามารถปองกันการลักลอบขุดไปได P จากนั้นทางทีมคุณสุกัญญายังไดรับการสนับสนุนขอมูลจาก ทีมงานของคณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร โดย รศ. สุรพล นาถะพินธุ ทำการขุดคนทางโบราณคดีอยูในบริเวณเดียวกัน ซึ่งได พบว า มี ร อ งรอยของตะกรั น โลหะในชั ้ น ดิ น อยู อ ย า งหนาแน น ¨จ´ดËหÁมÒาÂย¢ข่ÒาÇวÁมÙูÅล¹นÔิ¸ธàเÔิ Åล¡ก ็ -»ปÃรÐะäไ¾พ ÇวÔิÃรÂย Ôิ Ðะ¾พÑั¹น¸ธØุ์
P ประเด็ น สื บ เนื ่ อ งจากการค น พบแหล ง ผลิ ต มโหระทึ ก อยู ท ี ่ วัตถุดิบนำมาใชในการผลิตสำริด แหลงเหมืองทองแดงโบราณใน ประเทศไทยนั้นมีอยู ๒ แหลง คือ ภูโลน จังหวัดหนองคาย และ เขาวงพระจันทร จังหวัดลพบุรี ซึ่งอยูหางจากแหลงผลิตในแหลง โนนหนองหอ จึงสันนิษฐานไดวาทองแดงอาจถูกสงมาจากทาง ฝงประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว หากทวาก็มี การพบก อ นโลหะสำเร็ จ รู ป ท่ ี ห ล อ ส ว นผสมมาให พ ร อ มใช แ ล ว สงมาจากพื้นที่อื่นๆ ก็เปนได ถึงแมจะหาจุดยุติในเรื่องนี้ไมได หากทว า ก็ ท ำให เ ห็ น ได ว า แหล ง ผลิ ต สำริ ด โนนหนองหอย อ ม มีความสัมพันธกับชุมชนอื่นๆ ภายนอกที่มีการผลิตวัตถุดิบเพื่อ นำสงมาสำหรับการหลอมเปนเครื่องใช เครื่องประดับ ตลอดจน มโหระทึกที่โนนหนองหอ P การทำงานของนักโบราณคดีในประเทศไทยยังดำเนินตอไป เพื่อคนพบความรูขอมูลหลักฐานใหมที่ยังรอการคนพบ และชวย เปลี่ยนความรูความเขาใจทางวิชาการหลากหลายประการ กอใหเกิด ประโยชนตอการทำความรูจักบานของเราเองใหไดเพิ่มมากขึ้น ทวา ดวยขอจำกัดทางงบประมาณและจำนวนบุคลากรในการทำงานยอม เปนเรื่องหนักหนวงตอไปสำหรับการทำงานโบราณคดีเพื่อคนหา รากเหงาของสังคมไทย อานรายละเอียดเพิ่มเติมพรอมภาพประกอบและตัวอยางวีดีโอการ บรรยายไดที่ http://www.lek-prapai.org/watch.php?id=1002 ñ๑ù๙
»ปÕี ·ท∙Õี ่ ñ๑ ÷๗
©ฉ ºบÑั ºบ ·ท∙Õี่ ù๙ ø๘
สรุป บรรยายสาธารณะ “ความรู ท างภู ม ิ ศ าสตร แ ละวั ฒ นธรรม กับการทำความเขาใจประเทศเพื่อนบาน” »ปÔิÂยªชÒาµตÔิ ÊสÖึ§งµตÕี
P P วันพุธที่ ๓ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๖ ที่ผานมา มูลนิธิเล็กประไพ วิริยะพันธุ ไดจัดใหมีการบรรยายสาธารณะในหัวขอ “ความรู ท างภู ม ิ ศ าสตร แ ละวั ฒ นธรรมกั บ การทำความเข า ใจ ประเทศเพื่อนบาน” โดยไดรับเกียรติจากคุณศรัณย บุญประเสริฐ นักเขียนสารคดี นักเดินทาง ที่มีความสนใจในเอเชียตะวันออก เฉียงใตมาเปนวิทยากรรวมบรรยายและแลกเปลี่ยนความคิดเห็น P คุณศรัณย บุญประเสริฐ เริ่มการบรรยายดวยการนำพาผูฟง เขาไปรูจักกับการศึกษาภูมิศาสตรซึ่งเปนศาสตรพื้นฐานที่คุณศรัณย ใช เ ป น เครื ่ อ งมื อ สำคั ญ ในการเรี ย นรู แ ละทำความรู จ ั ก กั บ โลก โดยเสนอวาภูมิศาสตรคือการศึกษาภาพรวมของโลก ศึกษามนุษย ศึ ก ษาสั ต ว ภู ม ิ ศ าสตร เ ป น ศาสตร ท ี ่ เ รี ย นรู ท ุ ก อย า งจากโลก จากพื้นดิน จากพืช จากสิ่งแวดลอม จากมนุษย และจากวัฒนธรรม P
ในการศึกษาภูมิศาสตรดำเนินไปใน ๒ แนวทาง คือ
P ๑. ธรณีวิทยา เปนการศึกษาเกี่ยวกับแผนดิน น้ำ แรธาตุ ภูเขา กลาวรวมๆ คือ การศึกษาแผนดินทุกสิ่งปรากฏอยูบนและใตผืนดิน ของโลก เพื่อทำความเขาใจกับสภาพแวดลอม ซึ่งชวยใหเขาใจกับสิ่ง แวดลอมที่อยูและการคาดการณปรากฏการณธรรมชาติ P ๒. แผนที่ เปนเครื่องมือสำคัญสำหรับภูมิศาสตรในการ จดบันทึกสิ่งที่พบเห็นบนพื้นโลกลงไปบนกระดาษ ฉะนั้นแผนที่จึง เปนการวาดตำแหนงที่ผูทำแผนที่สนใจ พบเห็นแลวบันทึกลงไป บนกระดาษ
ò๒ð๐
P “แผนที่” มีความสำคัญสำหรับการเริ่มตนศึกษาภูมิศาสตร ประวัติศาสตรของแผนที่มีมาอยางยาวนาน แผนที่เกาที่สุดในโลก พบในผนังถ้ำในประเทศสเปน (ถ้ำอัลตามีรา-Cueva de Altamira) แรกเริ่มคนที่เขาไปพบเขาใจวาเปนการเขียนภาพผนังถ้ำธรรมดา แตตอมากลับพบวามันเปนแผนที่รูปดาว เพราะมีการเขียนจุดตางๆ ใหญนอยเปนเหมือนกับทองฟาและดวงดาว P กาวกระโดดครั้งสำคัญของแผนที่เกิดขึ้นภายหลังการคิดวาง เสนระบุตำแหนงลงไปบนแผนที่ คือ เสนละติจูด [Latitude] เสน ลองจิจูด [Longitude] เสนสมมติถูกลากลงไปบนแผนที่เพื่อชวย ในการระบุตำแหนงของสิ่งตางๆ บนพื้นโลก P สำหรับแผนที่ในประเทศไทย เดิมแผนที่ของไทยก็จะเปนไป แบบเดียวกันกับแผนที่สมัยโบราณของโลกคือ ไมมีทิศทางและ อัตราสวนที่แนชัด เขียนขึ้นภายใตโลกทัศนของผูวาดแผนที่ กลาว คือเห็นอยางไรก็เขียนขึ้นมาอยางนั้นตามจินตนาการไมไดมีการ คำนึงถึงความถูกตองของทิศทางหรืออัตราสวนใดๆ อยางแผนที่ สมัยอยุธยามีการวาดภูเขา แมน้ำ ลงไปบนผาไหม มีการเขียนระบุ สถานที่ เชน แมกลอง เพชรบุรี นครศรีธรรมราช เปนตน P สวนความรูในการทำแผนที่แบบปจจุบัน ไทยเริ่มใหความ สนใจกับแผนที่แบบใหมจากการเขามาของจักรวรรดินิยมตะวัน ตก ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว ซึ่งชาว ตะวันตกเริ่มเขายึดครองอาณานิคมในเอเชียตะวันออกเฉียงใต ทำใหตองมีการแบงสันปนสวนพื้นที่ระหวางรัฐตามแบบรัฐสมัย ใหม [Modern State] ที่รัฐมีขอบเขตที่แนนอนชัดเจน มีเสน พรมแดน ตางจากรัฐกอนสมัยใหม [Pre-Modern State] ที่เคยเปน มาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต รัฐไมเคยมีเสนเขตแดนชัดเจน มีแต “ปริมณฑลทางอำนาจ” ระหวางรัฐรับรูระหวางกันและขอบเขต ของอำนาจดั ง กล า วมี ก ารเลื ่ อ นไหลไปตามสถานการณ ข อง ศูนยอำนาจ P พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัวไดวาจาง นายเจมส เอฟ. แมคคารธี ชาวอังกฤษ ใหเขามาจัดทำแผนที่สยามแบบ ¨จ´ดËหÁมÒาÂย¢ข่ÒาÇวÁมÙูÅล¹นÔิ¸ธàเÔิ Åล¡ก ็ -»ปÃรÐะäไ¾พ ÇวÔิÃรÂย Ôิ Ðะ¾พÑั¹น¸ธØุ ์
àเ Áม Éษ Òา Âย ¹น - ÁมÔิ ¶ถØุ ¹น Òา Âย ¹น ò๒ õ๕ õ๕ ö๖
สมัยใหมชุดหนึ่ง ตอมาในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจา อยูหัว โปรดเกลาฯ ใหมีการตั้งโรงเรียนแผนที่ขึ้นเพื่อผลิตบุคลากร ในการทำแผนที่ขึ้นตอมาดวย P ในเรื ่ อ งของแผนที ่ เ ป น ประเด็ น หนึ ่ ง ทำให ไ ทยมี ป ญ หากั บ ประเทศเพื่อนบานเรื่องเขตแดนอยูเสมอ ดวยเพราะเราใชแผนที่ อัตราสวน ๑ : ๒๐๐,๐๐๐ แตเพื่อนบานใกลเคียงอยางกลุม อินโดจีน กลับใชแผนที่อัตราสวน ๑ : ๒๕๐,๐๐๐ ตามอยาง ฝรั่งเศสเคยทำไว อัตราสวนที่คลาดเคลื่อนกันเชนนี้ทำใหการ กำหนดเส น พรมแดนบนแผนที ่ ร ะหว า งไทยกั บ เพื ่ อ นบ า นเป น ปญหา ดังเห็นไดจากกรณีขอพิพาทพรมแดนปราสาทพระวิหาร กับประเทศกัมพูชา พ.ศ. ๒๕๐๕ และยืดยาวมาจนปจจุบัน ตลอด จนขอพิพาทกับประเทศลาวในพรมแดนที่บานรมเกลา เปนตน P ลักษณะภูมิศาสตรพิเศษคือ สิ่งแวดลอมทางธรรมชาติที่มี ความพิเศษแตกตางจากสภาพแวดลอมโดยรอบ เชน วัดภู ประเทศ ลาว พระธาตุอินแขวน ประเทศพมา เขาพระวิหาร ประเทศกัมพูชา ซึ่งพื้นที่เหลานี้คือพื้นที่ภูมิศาสตรพิเศษที่ธรรมชาติรังสรรคขึ้น เมื ่ อ ผู ค นผ า นเข า มาพบเห็ น จึ ง เกิ ด จิ น ตนาการว า พื ้ น ที ่ เ หล า นี ้ ม ี ความพิเศษหรือความศักดิ์สิทธิ์ จึงทำการอุทิศใหกับผีหรือสิ่ง ศักดิ์สิทธิ์เหนือธรรมชาติ P ภายหลังเมื่อศาสนาจากภายนอกเขามาทั้งพราหมณและพุทธ พื้นที่พิเศษเหลานี้จึงไดถูกสถาปนาใหมอีกครั้งใหกลายเปนพื้นที่ ศักดิ์สิทธิ์ของเทพเจาในศาสนาใหมนั้น P เมื ่ อ เป น เช น นี ้ แ ล ว ข อ พิ พ าทเรื ่ อ งเขตแดนระหว า งไทยกั บ กัมพูชา “เขาพระวิหาร” จึงไมควรดำเนินไปเชนนี้ เนื่องจาก เขาพระวิหารมีภูมิศาสตรพิเศษเปนจะงอยผายื่นออกไปจากเทือก เขาพนมดงรัก จึงไดรับการสถาปนาจากผูคนที่อาศัยอยูในพื้นที่ รวมกันอุทิศใหเปนพื้นที่ศักดิ์สิทธิ์แกผีตนน้ำ ตอมาเมื่ออาณาจักร พระนครไดขยายอำนาจเขามาถึงก็ไดมีการเขารวมสรางปราสาท หินถวายใหกับผีตนน้ำแหงนี้ P ฉะนั้นหากมองในดานของประวัติศาสตรและภูมิศาสตรเชนนี้ แลว จะเห็นไดวาพื้นที่แหงนี้ไมใชของประเทศใดประเทศหนึ่งภายใต เสนพรมแดน แตเปนพื้นที่พิเศษสำหรับคนทองถิ่นทั้งสองฝงของ เทือกเขาพนมดงรักไดรับประโยชนรวมกัน P P “คนไทยมั ก ไม ร ู เกี ่ ยวกั บภูม ิศาสตร เรารูแ คแ ผนที่เมือง หลวง แต ไม ร ู จั ก พื ้ น ที ่ เ ลย” P
เปนคำกลาวของคุณศรัณยในชวงทายของการบรรยาย
P “ภู ม ิ ศ าสตร เ ป น สิ ่ ง ที ่ เ ราควรจะรู เพราะความไม ร ู ท าง ภูมิศาสตรทำใหเราไมเขาใจที่เราอยู อยางพื้นที่ลุมน้ำเจาพระยา แผนดินเกิดใหมจากการทับถมของตะกอนดินปากแมน้ำ ดานลาง ¨จ´ดËหÁมÒาÂย¢ข่ÒาÇวÁมÙูÅล¹นÔิ¸ธàเÔิ Åล¡ก ็ -»ปÃรÐะäไ¾พ ÇวÔิÃรÂย Ôิ Ðะ¾พÑั¹น¸ธØุ์
ของชั้นดินมีกำมะถันและแทรกพรอมกับไอน้ำหรือน้ำใตดินขึ้นมา บนผิวดินอยูตลอด คนสมัยกอนการปลูกขาวปละครั้ง เก็บเกี่ยว เสร็จน้ำมาก็ปลอยน้ำใหทวมนาทวมซังขาวจนเปอยกลายเปนปุย ใหกับดิน พอน้ำลดจึงไถกลบและเริ่มทำนาใหม แตการทำเชนนั้น นอกจากให ป ุ ย แล ว ยั ง เป น การละลายกำมะถั น ในดิ น ที ่ ท ำให ด ิ น เปรี้ยว U ฉะนั้นเมื่อทุกวันนี้เราทำนาหลายครั้งตอป เราก็ไถกลบ เผานา เลยจึงทำใหเกิดปญหาดินเปรี้ยวตามมาตองใสปุย กลายเปนปญหา อื่นๆ ตามมาอีกมาก” P ความไมรูในเรื่องภูมิศาสตรมีปญหาสำหรับสังคมไทยมาก โดยเฉพาะในเรื่องของ “พรมแดน” เพราะคนไทยไมเคยรูและ ถูกชักชวนใหเขาใจผิดและมีปญหาขอพิพาทระหวางประเทศ อยาง ในกรณีของ “เขาพระวิหาร” ที่ถูกนำไปกลายเปนประเด็นเรื่อง ปญหาความขัดแยงระหวางประเทศ ถูกชักนำดวยสำนึกชาตินิยม จนทำใหคนมีความเกลียดชังกับเพื่อนบาน ทั้งที่จริงแลวเสน เขตแดนเพิ่งมีขึ้นแตก็ทำใหคนเกิดปญหากันมาก หากมีความ เขาใจในภูมิศาสตรประวัติศาสตร เราจะเขาใจไดวาพรมแดนตอง จัดการดวยปริมณฑลทางอำนาจที่มีความเลื่อนไหลเคลื่อนไหวได ไมใชไมบรรทัดมาตั้งวัดแบงพื้นที่บนพื้นโลก P “เวลาคุณไปทองเที่ย ว คุณตองมีความรู คุณจะมองโลก เปลี่ยนไป มองภูเขาลูกหนึ่งเราก็จะไมไดมองใหเห็นแคความ สวย แตจะมองเห็นถึง ความหมายแฝงไวในสิ่ง นั้น เราจะสนุ ก มากขึ้นเขาใจเพื่อนบาน เขาใจดินแดนตางๆ ไดมากทีเดียว” P การมองโลกเชนนี้เปนการบูรณาการทำใหเขาใจสิ่งตางๆ รอบ ตัวไดดีขึ้นดวย P “ความรู ความเชื่อมโยง การบูรณาการเปนสิ่งสำคัญสำหรับ การเรียนประวัติศาสตรและโบราณคดี ในทุกวันนี้ผูเรียนมีความ เขาใจที่แยกสวนมากเกินไปจนขาดการบูรณาการความรูดานอื่นๆ โดยเฉพาะความรูทางภูมิศาสตร ความเขาใจในแผนที่ทำใหเรา มองเห็นภาพตางๆ ไดชัดเจน การเดินทางดวยความเขาใจในผูคน และพื้นที่ซึ่งเราเดินทางไปจะทำใหเดินทางไดสนุก เขาใจและเทา ทันโลกไดมากขึ้น” P วลั ย ลั ก ษณ ทรงศิ ร ิ กลาวปดทายการบรรยายสาธารณะ ครั้งนี้ พรอมกับขอเสนอเปดโลกทัศนในการเดินทางของคนไทย ที่ควรเปลี่ยนไป อานรายละเอียดเพิ่มเติมพรอมภาพประกอบและตัวอยาง วีดีโอการบรรยายไดที่ http://www.lek-prapai.org/watch.php?id=1007
ò๒ñ๑
»ปÕี ·ท∙Õี ่ ñ๑ ÷๗
©ฉ ºบÑั ºบ ·ท∙Õี่ ù๙ ø๘
»ปÃรÐะªชÒาÊสÑัÁม ¾พÑั¹น¸ธ์ วันพุธที่ ๕ มิถุนายน ๒๕๕๖
เรื่อง “สถาปตยกรรมมลายูในทองถิ่นสาม
จังหวัดภาคใต” บรรยายโดย ณายิบ อาแวบือซา
กิจกรรมบรรยายเชิงวิชาการ ของมูล นิธิ เ ล็ก -ประไพ วิริยะพันธุ
“บรรยายสาธารณะประจำป ๒๕๕๖” วันพุธเดือนเวนเดือน เวลาบายโมงถึงบายสี่โมง ติดธุระหรืออยูไกล ไมตองมา เพราะทุกวันนี้รถติดเหลือใจ เพราะสามารถรั บ ชมถ า ยทอดสดได จ ากทางเว็ บ ไซต ข องมู ล นิ ธ ิ ฯ www.lek-prapai.org การบรรยายเริ่มเวลา ๑๓.๐๐ น.-๑๖.๐๐ น. ติดตอไดที่มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ ๐๒-๒๘๑-๑๙๘๘, ๐๒-๒๘๐-๓๓๔๐ หรือสำรองที่นั่งไดทาง https://www.facebook.com/lekfound
áแ¼ผ§งËห¹นÑั§งÊส×ืÍอ Êส×ื่ÍอÊสÒาÃรÐะ
สถาปนิกและผูสนใจศึกษาเรื่องราวทางนิเวศวัฒนธรรมใน สามจังหวัดชายแดนใต Z พื้นเพของ “คุณณายิบ อาแวบือซา” อยูที่อำเภอ รือเสาะ จังหวัดนราธิวาส แตไดรับการศึกษาในระบบที่ กรุงเทพมหานครตั้งแตชั้นมัธยม ชั้นอาชีวศึกษาที่อุเทนถวาย ใชชีวิตทำงานในบริษัทตางชาติอยูหลายป ภายหลัง เมื่อกลับบานเกิดก็ศึกษาตอเนื่องที่จังหวัดยะลาพรอมๆ ไปกับทำงานธุรกิจสวนตัว Z เพราะเกิดในครอบครัวของผูมีรากเหงาทั้งของฝายบิดาและมารดา จากเมื อ งป ต ตานี ท ี ่ ไ ด ร ั บ การศึ ก ษาจากตะวั น ออกกลางในยุ ค แรกๆ จนกระทั ่ ง เป น พื ้ น ฐานในการเป ด โรงเรี ย นในระบบของรั ฐ ไทยเป น กลุมแรกในพื้นที่สามจังหวัด ทำใหณายิบสามารถเขาถึงผูคนและขอมูล แบบลึกซึ้งไดไมยาก Z ความสนใจในเรื่องราวของภูมิวัฒนธรรมบานเกิดเมืองนอนโดย เฉพาะงานทางสถาปตยกรรมแบบมลายูที่เริ่มสูญหายไปอยางรวดเร็ว รวมทั้งการมีโอกาสเดินทางไปสำรวจเยี่ยมชมชุมชนชาวมลายูในประเทศ เพื่อนบานหลายแหง ทำใหการศึกษาทางดานสถาปตยกรรมมลายูที่ณา ยิ บ กำลั ง ทำอยู น ี ้ เ ป น สิ ่ ง ที ่ ค วรนำมาบอกเล า เผยแพร เพราะใน สถานการณปจจุบันงานศึกษาเชนนี้ทำไดยาก และที่มีอยูก็มีเรื่องราวอยู ไมมากนัก
พิเศษ! สมัครสมาชิกจดหมายขาว สั่งซื้อหนังสือและดีวีดีเฉพาะของมูลนิธิฯ ลดราคาหนังสือและดีวีดีทุกประเภททันที
P ผูสนใจสมัครสมาชิกจดหมายขาวมูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ เพียงเขียนรายละเอียดในใบสมัครจากเว็บไซต www.lek-prapai.org สงมายังที่อยูหรืออีเมลของมูลนิธิฯ รับสิทธิพิเศษทันที Z ๑. สั ่ งซื ้ อ หนั งสื อ และดีว ี ดี เ ฉพาะของมูลนิธิฯ ไมว า ใหม หรือ เก า ลดราคาทุกปกทุกชิ้น ๒๐ % (เฉพาะสั่งซื้อกับมูลนิธิฯ เทานั้นไมรวม กรณีซื้อจากงานหนังสือตางๆ หรือรานหนังสือ) ò๒ò๒
๒๐%
Z ๒. สามารถบอกรับจดหมายขาวแบบออนไลนฟรีหรือสมัครรับ จดหมายขาวแบบสิ่งพิมพคาใชจายปละ ๑๐๐ บาท จำนวน ๔ ฉบับ Z ๓. สามารถรับรหัสสมาชิกเพื่ออานจดหมายขาวแบบออนไลน ตั้งแตฉบับที่ ๑ ถึงฉบับปจจุบันฟรี และสามารถ Download จดหมาย ขาวในรูปแบบไฟล pdf ไดทุกฉบับ Z ๔. สามารถรับขาวสารกิจกรรมของมูลนิธิฯ ไดกอนใครอื่น หรือ สามารถเขารวมกิจกรรมตางๆ ไดในราคาพิเศษ ¨จ´ดËหÁมÒาÂย¢ข่ÒาÇวÁมÙูÅล¹นÔิ¸ธÔิàเÅล็¡ก-»ปÃรÐะäไ¾พ ÇวÔิÃรÔิÂยÐะ¾พÑั¹น¸ธØุ์
àเ Áม Éษ Òา Âย ¹น - ÁมÔิ ¶ถØุ ¹น Òา Âย ¹น ò๒ õ๕ õ๕ ö๖
ดีวีดีเสวนาสัญจรคนคอนศตวรรษ ๑. ดี ว ี ด ี เ สวนาสั ญ จรคน ค อ นศตวรรษ "ส อ งซอด สอดสอง เมืองสกล" ฟงความผูหลักผูใหญในบาน เมือง ฝกฟนใจเพื่ออนาคต เมื่อ ๑๗ มีนาคม ๒๕๕๕ ณ เทศบาล เมืองสกลนคร เปดประเด็นโดย ร ศ . ม . ร . ว . อ ค ิ น ร พ ี พ ั ฒ น์ อาจารยศรีศักร วัลลิโภดม และ พอเล็ก กุดวงศแกว ผลิตเพื่อผูสนใจรับรูการเสวนาในเมืองสกลนครโดย อาจารยผูหลักผูใหญและปราชญอาวุโสชาวสกลนครและผูเขารวมเสวนา หลากหลาย รวมทั้งสารคดีสัมภาษณประกอบการเสวนาตลอดกวาสาม ชั่วโมง แผนแรกสีฟาเขมเปนรายการเสวนาและสารคดีแบงเปนตอนยอย ๕ ตอน ในประเด็นตางๆ ๕ ชวงที่จะนำทานไปรูจักเมืองสกลนคร ใหลึกและกวางกวาที่เคย สวนแผนสีบานเย็นเปนบันทึกการเสวนา อยางเดียวราวสามชั่วโมง ] ๒. ดี ว ี ด ี เ สวนาสั ญ จรคน
ค อ นศตวรรษที ่ ก รุ ง เทพฯ “ไลรื้อชุมชน : ความขัดแยง ระหวางกรรมสิทธิ์โดยกฎหมาย และสิทธิชุมชน ภาวะลาหลัง ทางวัฒนธรรมในเมืองไทย” Z บั น ทึ ก การเสวนาฉบับเต็มเปด ประเด็นโดย ศ.ดร.เสนห จามริก, รศ. ดร. ม.ร.ว. อคิน รพีพัฒน และรศ.ศรีศักร วัลลิโภดม สวนอีกแผน
นำเสนอสารคดีสั้นความผูกพันของผูคน ยานบานเมือง และการรื้อ ทำลาย บันทึกการเสวนาพรอมสารคดีประกอบสัมภาษณผูมีสวนไดสวน เสียจากกรณีไลรื้อหลายแหงไดแก ๑. ยาน...ความเปนชุมชน ๒. สิทธิ ชุมชน ๓. ความขัดแยง
๓. ดีวีดีเสวนาสัญจรคน ค อ นศตวรรษที ่ แ ม ก ลอง : “แม ก ลองวิ ว ั ฒ น ” หรื อ “ท อ งถิ ่ น วิ บ ั ต ิ ” ฟ ง นั ก วิ ช าการผู เ ป น ราษฎร อาวุ โ ส รศ. ม.ร.ว. อคิ น รพีพัฒน และอาจารยศรีศักร วั ล ลิ โ ภดม ร ว มกั บ สมาชิ ก วุฒิสภาจังหวัดสมุทรสงคราม คุณสุรจิต ชิรเวทย ซึ่งเปนผูที่ทำงาน คลุ ก คลี ก ั บ การศึ ก ษาท อ งถิ ่ น และมองเห็ น สั ง คมไทยเปลี ่ ย นผ า น มาอย า งยาวนาน เป น การกระตุ น เตื อ นให เ กิ ด การฉุ ก คิ ด และเกิ ด แรงบั น ดาลใจที ่ ส ำคั ญ เพื ่ อ สร า งภู ม ิ ค ุ ม กั น ในการตั ้ ง รั บ กระแส ความเปลี่ยนแปลงทางสังคมที่เกิดขึ้นอยางรุนแรง
บั น ทึ ก การเสวนาและสารคดี ป ระกอบสั ่ ง ได ใ นราคา แผ น ละ ๖๐ บาท และจั ด ส ง ทั ่ ว ประเทศ "ฟรี " ผูสนใจสั่งซื้อไดท ี่ : มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ E-mail : vlekprapaifoundation@gmail.com หรือ https://www.facebook.com/lekfound โทรศัพท ๐๒-๒๘๑-๑๙๘๘, ๐๒-๒๘๐-๓๓๔๐ รานหนังสือริมขอบฟา วงเวียนอนุสาวรียประชาธิปไตย ถนนราชดำเนิน กรุงเทพฯ โทร. ๐๒-๖๒๒-๓๕๑๐ หมายเหตุ: มูลนิธิฯ ไมมีวัตถุประสงคในการแสวงหากำไรแตมุงเผยแพรความรู เพื่อเปนประโยชนสูสาธารณะ จึงมีคาใชจายเฉพาะคาผลิต DVD เทานั้น
ดีวีดีสารคดี “พอเพี ย งเพื่อ แผน ดิน เกิด” ราคาพิ เ ศษ ! สำหรับผูสมัครสมาชิกจดหมายขาวของมูลนิธิฯ
งานสารคดีพอเพียงเพื่อแผนดินเกิด จัดทำขึ้นโดยความรวมมือของเมืองโบราณ มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ และบริษัท เอเชีย แซทเทิลไลท ทีวี จำกัด เพื่อสรางความเขาใจในทองถิ่นและความรักในมาตุภูมิ ผูสนใจสั่งซื้อไดที่ : มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ E-mail : vlekprapaifoundation@gmail.com หรือ https://www.facebook.com/ lekfound โทรศัพท ๐๒-๒๘๑-๑๙๘๘, ๐๒-๒๘๐-๓๓๔๐ รานหนังสือริมขอบฟา วงเวียนอนุสาวรียประชาธิปไตย ถนนราชดำเนิน โทร. ๐๒-๖๒๒-๓๕๑๐ หมายเหตุ คาจัดสง ๑-๑๐ แผน ราคา ๕๐ บาท ๑๑ แผนขึ้นไปราคา ๑๐๐ บาท
¨จ´ดËหÁมÒาÂย¢ข่ÒาÇวÁมÙูÅล¹นÔิ¸ธÔิàเÅล็¡ก-»ปÃรÐะäไ¾พ ÇวÔิÃรÔิÂยÐะ¾พÑั¹น¸ธØุ์
ò๒ó๓
»ปÕี ·ท∙Õี ่ ñ๑ ÷๗
©ฉ ºบÑั ºบ ·ท∙Õี่ ù๙ ø๘
หนังสือใหมชุดพอเพียงเพื่อแผนดินเกิด
จากเนื้อหาของวิดีโอสารคดี “พอเพียงเพื่อแผนดินเกิด” ผลิตเปนหนังสือและ E-book
เพื่อแผนดินเกิด
ผูเขียน ศรีศักร วัลลิโภดม และ วลัยลักษณ ทรงศิริ ราคา ๒๒๕ บาท
ผู น ำทางวั ฒ นธรรม
ผูเขียน วลัยลั กษณ ทรงศิร ิ ราคา ๒๑๕ บาท
นิเวศวัฒนธรรมใน ความเปลี ่ ย นแปลง
ฟ น พลัง ความหลาก หลายทางวั ฒ นธรรม ในสั ง คมสยาม
ผูเขียน วลัยลั กษณ ทรงศิร ิ ราคา ๒๗๐ บาท
มู ล น ิ ธ ิ เ ล็ ก -ป ร ะ ไพ ว ิ ร ิ ย ะ พั น ธ ุ ์ จัดทำหนังสือชุด “พอเพียงเพื่อแผนดินเกิด” จากเนื้อหาในสารคดีในชื่อชุดเดียวกัน หนังสือ “ชุดพอเพียงเพื่อแผนดินเกิด” มี ๔ เลม
พิเศษสำหรับสมาชิกจดหมายขาวฯ ลดราคาจากปก ๒๐ %
ผูเขียน วลัยลักษณ ทรงศิร ิ ราคา ๓๐๐ บาท
เมืองหนองหาร หลวงและภูพาน มหาวนาสี
ผูเขียน ศรีศักร วัลลิโภดม วลัยลักษณ ทรงศิริ และ รัชนีบูล ตังคณะสิงห์
เมื่อสั่งซื้อกับมูลนิธิฯ โดยตรง
ºบ·ท∙ºบÃรÃร³ณÒา¸ธÔิ¡กÒาÃร¨จ´ดËหÁมÒาÂย¢ข่ÒาÇวÏฯ นั บแต เริ ่ มมี การทำจดหมายข าวเพื ่ อบอกเล าข าวสารและสาระน ารู จากบุคลากรของมูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ ฉบับแรกเผยแพรเมื่อเดือน กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๓๙ เปนตนมา ไมเคยปรากฏบทบรรณาธิการผูรับผิดชอบการ ผลิตจดหมายขาวฯ แตอยางใด จนถึงวันนี้เวลาผานไปกวา ๑๖ ป ฉบับที่ ๙๘ จึงปรากฏบทบรรณาธิการชิ้นนี้ขึ้นเปนปฐม ] หลังจากผานการทำจดหมายขาวฯ รายสองเดือนมาจนลวงขึ้นปที่ ๑๖ จึงได ปรับเปลี่ยนใหเปนจดหมายขาวฯ รายสามเดือนในฉบับที่ ๙๑ เปนตนมา อันเนื่องมา จากจดหมายขาวของมูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ ทุกฉบับนั้น มีคอลัมน “เปดประเด็น” โดยอาจารยศรีศักร วัลลิโภดม เปนผูเขียน จะขาดไปก็อาจเพียงฉบับ หรือสองฉบับในระยะเริ่มแรกเทานั้น ระยะเวลาที่ผานไปและวัยที่มากขึ้นทำใหจำเปน ตองปรับระยะการเขียนงานของอาจารยศรีศักรใหไดมีเวลาพักบาง เพราะอาจารยทำงานเขียนหลายชิ้นเชนนี้ อยางตั้งใจเสมอมา การผอนคลายบางก็นาจะถือวาเปนการสมควร ] นอกจากงานเขียน “เปดประเด็น” ของอาจารยศรีศักร วัลลิโภดม ที่สรางขอคิดและพร่ำเตือนสติแก สังคมไทยเสมอมานับสิบป จนถึงทุกวันนี้เหตุการณบานเมืองเปนไปในทางวิบัติคลายคลึงกับที่อาจารยไดคาด คะเนและบอกกลาวไว ทานผูเปนสมาชิกจดหมายขาวฯ นับแตแรกเริ่มคงไดรับรูถึงสารที่สงผานอยางตอเนื่อง ตลอดมา จึงอยากขอเชิญชวนทานผูเปนสมาชิกใหมๆ ไดทดลองอานจดหมายขาวฯ ฉบับที่ผานมา โดยเขาไป อานไดในเว็บไซตของมูลนิธิฯ นอกจากมีเนื้อหาตางๆ นาสนใจในสาระความรูที่คงจะเปนประโยชนแลว ยังจะได ทบทวนถึงเหตุแหงความวิบัติของสังคมไทยที่พวกเรากำลังเผชิญ ณ ขณะนี้ได โดยลองพิจารณาดูวาเปน !
ดังเชนในบทความตางๆ ทีผ่ า นมาของอาจารยศรีศกั รหรือไม?
ÇวÅลÑัÂยÅลÑั¡กÉษ³ณ์ ·ท∙Ãร§งÈศÔิÃรÔิ ò๒ô๔
ÁมÙู Åล¹นÔิ ¸ธ Ôิ àเÅล็ ¡ก -»ปÃรÐะäไ¾พ ÇวÔิ Ãร Ôิ Âย Ðะ¾พÑั ¹น ¸ธØุ ์ ประธานกรรมการ ดร. ไพโรจน พงศพิพัฒน รองประธานกรรมการ อรพรรณ พงศพิพัฒน กรรมการและเหรัญญิก สุวพร ทองธิว กรรมการและเลขานุการ อมร ทองธิว กรรมการ พิจารณ วิริยะพันธุ, ตุก วิริยะพันธุ, รับพร วิริยะพันธุ ที่ปรึกษา ศรีศักร วัลลิโภดม, ดร.ธิดา สาระยา เจาหนาที่ สุดารา สุจฉายา, ลาวัลย ธรรมนิรันดร, ศรีสมร ฉัตรแกว, มรกต สาตราคม, วลัยลักษณ ทรงศิริ, รัชนีบูล ตังคณะสิงห, อรรถพล ยังสวาง, พรพิมล เจริญบุตร, ณัฐวิทย พิมพทอง, วันชนะ ศีระพัฒน, สวรรยา ดวงสำราญ, อภิญญา นนทนาท มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ ที่อยู ๓๙๗ ถ.พระสุเมรุ แขวงบวรนิเวศ เขตพระนคร กรุงเทพฯ ๑๐๒๐๐ โทรศัพท : ๐๒-๒๘๑-๑๙๘๘, แฟกซ :๐๒-๒๘๐-๓๓๔๐ E-mail :vlekprapaifoundation@gmail.com เฟสบุค https://www.facebook.com/lekfound เวบไซต www.lek-prapai.org
¨จ´ดËหÁมÒาÂย¢ข่ÒาÇวÁมÙูÅล¹นÔิ¸ธÔิàเÅล็¡ก-»ปÃรÐะäไ¾พ ÇวÔิÃรÔิÂยÐะ¾พÑั¹น¸ธØุ์