รวมบท 1-5 เลย

Page 1

บทนำ หลักการและเหตุผล

! งานวิจัยเรื่องการเปลี่ยนแปลงสังคมและวัฒนธรรม กรณีศึกษา บานดานซาย บานนาเวียง และบานนาหอ อำเภอดานซาย จังหวัดเลย เปนหนึ่งในชุดงานวิจัยโครงการอบรมและวิจัยเชิงปฏิบัติการทางประวัติศาสตร โบราณคดี และชาติพันธุ ที่มีจุด ประสงคหลักสำคัญที่ตองการสนับสนุนและสรางนักวิจัยทองถิ่นในสนามวิจัยนั้นๆ เพื่อใหไดขอมูลในเชิงลึก อีกทั้ง ยังจะขอมูลที่ไดนำไปใชใหเกิดประโยชนสูงสุดแกทองถิ่นตนเอง ! เนื่องจากนักวิจัยทองถิ่นเหลานี้ก็คือผูรูและหลายทานก็เปนผูนำทองถิ่น อันไดแก ครู กำนัน ผูใหญบาน องคการบริหารสวนตำบล และพระภิกษุสงฆเหลานี้ ที่เปนคนทองถิ่น โดยเฉพาะกลุมครูนับวามีบทบาทอยางสูงใน การทำวิจัย กลาวคือ ครูนอกจากจะรูอะไรในทองถิ่นแลว หากยังทราบการเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงจากภายนอก อยางไรก็ตามจุดออนของนักวิจัยที่เปนคนในทองถิ่นก็คือ ยังขาดความรูความเขาใจในเรื่องแนวคิด และวิธีการในการ ศึกษารวบรวมและวิเคราะหขอมูลอยางเปนระบบ ซึ่งจะแกไขไดก็ตองดวยการอบรมใหมีความรูเรื่องประวัติศาสตร โบราณคดี กับชาติวงศวรรณนา ขณะเดียวกันตองใหมีการรวมมือกับนักวิจัยจากภายนอกที่มีความรู ความเขาใจ ใน กระบวนการวิจัย เพื่อที่จะทำใหการเสนอรายงานและผลงานเปนไปอยางมีกรอบและหลักการที่ดี ผลที่จะตามมาก็ จะเปนสิ่งดีกับทั้งนักวิจัยที่เปนคนในทองถิ่นกับคนที่มาจากภายนอก นับเปนการสรางและพัฒนานักวิจัยทั้งสอง กลุมในเวลาเดียวกัน ! เหตุผลดังกลาวจึงนำไปสูความสำคัญของปญหาของโครงการวิจัยชิ้นนี้ ดวยการมุงประเด็นศึกษาเรื่องการ เปลี่ยนแปลงทางประวัติศาสตรสังคมและวัฒนธรรม กรณีศึกษา หมูบานดานซาย บานนาเวียง และบานนาหอ อำเภอดานซาย จังหวัดเลย มาเปนประเด็นหลักสำหรับการวิจัย ! สวนเหตุผลสำคัญที่ตองเลือกศึกษาประวัติศาสตรทองถิ่นก็เนื่องจาก ประการแรก การศึกษาเกี่ยวกับ ประวัติศาสตรความเปนมาของทองถิ่น อันเกี่ยวกับพื้นที่และสภาพแวดลอมทางภูมิศาสตร ทำใหเห็นถึงความเกาแก ของทองถิ่นจากหลักฐานโบราณคดีและประวัติศาสตร ทั้งดวยเอกสารและโบราณวัตถุ โดยนักวิจัยทองถิ่นจะไดเรียน รูจากการรวบรวมขอมูลที่มีในทองถิ่นมาใหนักวิจัยสวนกลางซึ่งเปนนักมานุษยวิทยา ชวยกันวิเคราะหตีความ แลว รายงานเปนเรื่องราวออกมา ! ประการตอมา เปนประวัติศาสตรสังคมของกลุมชนในชุมชนตางๆ ที่อยูในทองถิ่นเดียวกันโดยเนนจากกลุม ชนที่อยูในปจจุบัน ยอนกลับไปยังรุนเกาๆ วาเคลื่อนยายมาจากไหน เขามาตั้งถิ่นฐานและมีความสัมพันธกันทาง สังคมอยางไร ขอมูลทางสังคมดังกลาวนี้ถือวามีความสำคัญมากอีกทั้งเปนสิ่งที่นักวิชาการจากภายนอกเขาไปเก็บ ขอมูลยาก เพราะมักเขาไปเกี่ยวของกับเรื่องสวนตัวภายในครอบครัว ซึ่งถาจะทำไดก็ตองใชเวลาที่จะสรางความ สัมพันธจนเปนที่พอใจของชาวบาน จึงจะไดผลดี แตถาหากเปนสิ่งที่คนในเปนคนศึกษาแลว คงไมตองใชเวลานาน เทาใด เพียงแตตองไดรับการอบรมความรูและวิธีการทางชาติวงศวรรณนามาจากนักมานุษยวิทยาเสียกอน จึงจะ ทำไดอยางมีระบบ ! ดังนั้นงานศึกษาชิ้นนี้จะทำให ทราบเครือขายความสัมพันธทางสังคม เศรษฐกิจ และวัฒนธรรม ของบรรดาชุมชนทั้งหลายที่อยูในทองถิ่นเดียวกัน ผูคนเหลานี้อธิบายความเปนมาของพวกคนที่สัมพันธกับหลัก ฐานของทองถิ่นทางประวัติศาสตรโบราณคดีออกมาในรูปของตำนาน ประเพณี พิธีกรรม อยางไรถึงไดเกิดสำนึก มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

1


ทองถิ่นรวมกัน จากเรื่องทางประวัติศาสตรทองถิ่น ทั้งทางประวัติศาสตรโบราณคดี และประวัติศาสตรสังคม ก็จะ สงตอความรูความเขาใจมาสูการคนควาเรื่องราวของวัฒนธรรมทองถิ่น ซึ่งเปนเรื่องปจจุบัน และการเปลี่ยนแปลง ในชีวิตวัฒนธรรมของผูคนในชุมชนตางๆ ที่อยูในทองถิ่นเดียวกัน ซึ่งการคนควาในเรื่องนี้ก็ตองกระตุนการอบรม ใหนักวิจัยที่เปนคนในทำ เพราะมีพื้นฐานความรูและรูจักผูคนที่อยูในทองถิ่นเดียวกันมากกวาคนที่มาจากภายนอก ซึ่งถาหากไดรับการอบรมใหรูจักการสังเกตและการตั้งคำถามแลว ก็จะไดหลักฐานขอมูลที่มีความนาเชื่อถือไดดีกวา การทำงานของคนจากภายนอก

วัตถุประสงคของการศึกษา

! ๑. เพื่ออบรมใหทุนนักวิจัยที่เปนคนในทองถิ่น จนสามารถทำการวิจัยรวมกับนักวิจัยที่มาจากภายนอกได อยางเสมอภาค ! ๒. เพื่อศึกษา วิเคราะห และสังเคราะห หลักฐานทางโบราณคดี ประวัติศาสตร และชาติพันธุ มาสรางเปน องคความรูทางประวัติศาสตรทองถิ่นและวัฒนธรรมทองถิ่น ที่ผูคนทั่วไปในทองถิ่นมีสวนรวมและยอมรับ ! ๓. เพื่อนำความรูทางประวัติศาสตรทองถิ่นและวัฒนธรรมพื้นบานไปประยุกตใชใหเกิดประโยชนตอชุมชน อาทิ เปนพื้นฐานในการจัดตั้งพิพิธภัณฑทองถิ่นเพื่อเปนแหลงเรียนรูแกผูคนทั้งจากภายในและภายนอกทองถิ่น เปน หลักฐานที่จะนำไปใชในการพัฒนาทางวัฒนธรรมของทองถิ่น รวมทั้งเรื่องราวและเนื้อหาในเรื่องทองถิ่นศึกษาตาม โรงเรียน

ระเบียบวิธีวิจัย

! งานวิจัยชิ้นนี้ เปนงานวิจัยเชิงคุณภาพ คณะวิจัยแบงออกเปน ๒ สวน คือ สวนแรกเปนนักวิจัยทองถิ่น ประกอบดวยกลุมชาวบานที่ประกอบอาชีพแตกตางในหลายสาขา และมีหลายวัย (แตสวนใหญเปนผูที่มีอายุ ๔๐ ป ขึ้นไป) กับนักวิจัยสวนกลาง ผูทำหนาที่ประสานงานในการรวบรวม รวมตรวจสอบ รวมสังเคราะห และรวม วิเคราะหขอมูลตางๆ ที่นักวิจัยทองถิ่นนำเสนอ

ขอบเขตการวิจัย

สวนการศึกษาครั้งนี้ไดเลือกชุมชนลุมน้ำหมันในเขตตำบลเทศบาลดานซาย บานนาเวียง และบานนาหอ เปนสนามวิจัย

ระยะเวลาในการวิจัย

งานวิจัยครั้งนี้ใชเวลาศึกษาทั้งสิ้น ๑๘ เดือน จากเดือนมิถุนายน ๒๕๔๖ ถึงเดือนพฤศจิกายน ๒๕๔๗ โดย สรุปการทำงานเปนชวงเวลาไดดังนี้ มิถุนายน ๒๕๔๖! ! เตรียมเอกสารเบื้องตน กรกฎาคม-ตุลาคม ๒๕๔๖! ปฐมนิเทศคณะวิจัย, ลงมือเก็บขอมูลภาคสนาม พฤศจิกายน ๒๕๔๖! ! รายงานความกาวหนางานวิจัยครั้งที่ ๑ ธันวาคม ๒๕๔๖พฤษภาคม ๒๕๔๗! รับคำแนะนำจากคณะที่ปรึกษาจากการนำเสนอรายงานความกาวหนา ครั้งแรก มาวางแผนในการเก็บขอมูลภาคสนามในระยะที่ ๒ มิถุนายน ๒๕๔๗! ! รายงานความกาวหนางานวิจัยครั้งที่ ๒ มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

2


กรกฎาคม ๒๕๔๗!

รับคำแนะนำจากคณะที่ปรึกษา จากการนำเสนอรายงานความกาวหนา ครั้งที่ ๒ มาวางแผนในการเก็บวิเคราะหขอมูล ! ! ! ! และเขียนรายงาน กันยายน ๒๕๔๗! ! นำเสนอรายงานความกาวหนางานวิจัยครั้งที่ ๓ กันยายน-พฤศจิกายน ๒๕๔๗ ! เก็บขอมูลเพิ่มเติม แกไข และปรับปรุงกอน!นำเสนอรายงานวิ จ ั ย ครั ้ ง สุดทาย

หัวหนาโครงการ !

รศ. ศรีศักร วัลลิโภดม

ที่ปรึกษา ! !

รศ. ดร. มรว. อคิน รพีพัฒน รศ.ดร. สุเทพ สุนทรเภสัช รศ. ปรานี วงษเทศ

นักวิจัยทองถิ่น !

! ! ! ! !

หัวหนานักวิจัยสวนทองถิ่น นายแพทยภักดี สืบนุการณ นักวิจัยกลุมดานซาย ๑. นายสงเคราะห กาญจนโกมล ! ๒. นายชวลิต พรหมรักษา ๓. นายสมเดช สิงหประเสริฐ ! ๔. นายสนั่น สิงหสถิต นักวิจัยกลุมนาเวียง ๑. นางฉวี อรรคสูรย ! ๒. นางประพันธจิต มิ่งแกว ๓. นางละเอียด พันธโสดา นักวิจัยกลุมนาหอ ! ๑. นายชุบ บูรณวิชิต ! ๒. นายศิริพงษ ยศพิมพ ๓. นางวิลาวัลย ยศขุน ! ๔. นายวัฒนา หอมวุฒิวงษ ผูประสานงานโครงการ นายเอกรินทร พึ่งประชา

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

3


บทที่ ๑ ดานซายในบริบทจังหวัดเลย ! ดานซายเปนอำเภอหนึ่งของจังหวัดเลย จัดอยูในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือหรืออีสาน หากทวากลับมี สภาพทางภูมิศาสตรที่แตกตางจากภาคอีสานซึ่งมักเปนที่ราบสูงอยางสิ้นเชิง ตรงกันขาม ดานซายกลับมีสภาพทาง กายภาพที่มีลักษณะเฉพาะ คือ เปนที่ราบแคบๆ อยูกลางหุบเขาและมีลำน้ำสายสำคัญไหลผานกลางที่ราบ

สภาพทางกายภาพ อำเภอดานซายขึ้นกับจังหวัดเลย ตั้งอยูหางมาทางทิศตะวันตกของตัวจังหวัดราว ๘๒ กิโลเมตร มีพื้นที่ ประมาณ ๑,๗๓๓.๙๐๕ ตารางกิโลเมตร และมีอาณาเขตติดตอกับพื้นที่ใกลเคียงดังนี้ ! ทิศเหนือ ติดตอกับแขวงเมืองบอแตน ประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว มีลำน้ำเหืองเปน เสนกั้นอาณาเขต ทิศใต ติดตอกับอำเภอหลมเกา จังหวัดเพชรบูรณ ทิศตะวันออก ติดตอกับอำเภอทาลี่ อำเภอภูเรือ และอำเภอวังสะพุง จังหวัดเลย ทิศตะวันตก ติดตอกับอำเภอนาแหว จังหวัดเลย และอำเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก ! ลักษณะภูมิประเทศของอำเภอดานซาย ประกอบดวยเทือกเขาสลับซับซอน ภูเขาทอดตอมาจากเทือกเขา เพชรบูรณ แยกไดดังนี้ ทางทิศตะวันออกมีภูแปก ภูทุงแทน ภูน้ำอุน ทางทิศใตมีภูลมโล ภูทุงแทน ภูแผงมา ทางทิศ ตะวันตกมีภูหินรองกลา ภูผาผึ้ง ภูเขาเหลานี้สวนใหญจะเปนภูเขาที่เปนสาขาของเทือกเขาเพชรบูรณ และเปนภูเขาที่ สูงชัน มีปาไมขึ้นหนาแนน ตลอดจนมีสัตวปาชุกชุม ! มีที่ราบระหวางหุบเขา บางแหงเปนที่ราบสูงลุมๆ ดอนๆ โดยเฉพาะที่ตั้งอำเภอเปนที่ราบมีภูเขาขนาบสาม ดาน มีที่ราบแคบๆ ยาวไปทางทิศเหนือ ซึ่งมีเทือกเขาอยูทั้งสองขางทางทิศตะวันออกและทิศใต ทิศตะวันตกมีภูเขา มาก เฉลี่ยแลวมีที่ราบประมาณ ๒๐ เปอรเซ็นต ของพื้นที่ทั้งหมด พื้นที่ระหวางหุบเขาจะใชทำนา สวนตามเชิงเขา เหมาะสำหรับทำไร เชน ไรขาวโพด ไรขาว ถั่วลิสง ถั่วเขียว ถั่วแดง และฝาย ฯลฯ พื้นดินเปนดินรวนและดินปน ทราย ตามภูเขามีปาไมเบญจพรรณอยูทั่วไป

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

4


ทัศนียภาพเมืองดานซายจะตั้งอยูในที่ราบกลางหุบเขาขนาบทั้งสามดาน

สภาพอากาศ

สภาพภูมิอากาศทั่วไปของอำเภอดานซายจะมีอากาศแปรปรวนตลอดเวลา อากาศรอนจัดในฤดูรอน หนาว จัดในฤดูหนาว และมีฝนตกชุกระหวางเดือนมิถุนายนถึงตุลาคม

สถานที่สำคัญ

ถึงแมอำเภอดานซายจะเปนอำเภอชายแดนขนาดเล็ก แตกลับอุดมไปดวยความงามตามธรรม-ชาติ และเปน ดินแดนสำคัญทางดานประวัติศาสตร จึงทำใหมีสถานที่สำคัญและสถานที่ทองเที่ยวมากมาย ดังนี้ ! ๑. พระธาตุศรีสองรัก เปนพระธาตุเกาแกสรางขึ้นในสมัยกรุงศรีอยุธยา ตั้งอยูหางจากที่วาการอำเภอ ดานซายประมาณ ๒ กิโลเมตร เปนพระธาตุคูบานคูเมืองของจังหวัดเลย ๒. เจดียวัดศรีภูมิ ตั้งอยูวัดศรีภูมิ บานนาหอ ตำบลนาหอ หางจากตัวอำเภอประมาณ ๕ กิโลเมตร เชื่อกันวา วัดศรีภูมิที่มีความเกาแกที่สุดในอำเภอดานซาย มีพระพุทธรูปเกาแกเปนจำนวนมาก นอกจากนั้นยังมีหนังสือผูก โบราณอีกมากมาย ! ๓. ตนโพธิ์เสี่ยงอยูที่ทุงนาบานนาดี ตำบลนาดี หางจากตัวอำเภอประมาณ ๑๒ กิโลเมตร ตามตำนานกลาว เอาไววา ไดเกิดการรบระหวางลาวกับไทย อยางรุนแรง พระอินทรจึงเนรมิตทำคันคูเปนที่กั้นกำบังขาศึก จากนั้นมี นายธนูทองคนหนึ่งซึ่งพักอยูในถ้ำธนูทองไดยิงธนูทองใสขาศึกจนมีชัยชนะ สงครามจึงสงบลง หลังจากนั้น พระอินทรจึงนำตนโพธิ์ลงมาจากเมืองสวรรคชั้นดาวดึงส โดยอธิษฐานวา “ถาบานเมืองจะรมเย็นเปนสุขเจริญไปขาง หนา ขอใหตนโพธิ์จงขึ้นเจริญงอกงาม ถาบานเมืองจะเกิดความเดือดรอนขึ้นอีก ขอใหตนโพธิ์นี้จงตาย อยาไดขึ้น เลย” ดวยเหตุนี้จึงเรียกวาตนโพธิ์เสี่ยงจนกระทั่งปจจุบัน ! ๔. แกงสองคอน เปนแกงหินที่สวยงาม เกิดในลำน้ำหมัน อยูหางจากตัวอำเภอประมาณ ๖ กิโลเมตร ! ๕. น้ำตกแกงชาง อยูในบริเวณเสนกั้นชายแดนไทย-ลาว บานปากหมัน ตำบลปากหมัน หางจากตัวอำเภอ ประมาณ ๒๒ กิโลเมตร

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

5


การคมนาคม

การคมนาคมติดตอกับอำเภอดานซาย เสนทางคมนาคมเฉพาะทางบกเทานั้น เสนทางที่สำคัญมีดังนี้ ! ๑. ถนนสายดานซาย-เลย เปนเสนทางติดตอระหวางอำเภอดานซายกับที่ตั้งจังหวัดเลย ระยะทางประมาณ ๘๒ กิโลเมตร ! ๒. ถนนสายดานซาย-หลมสัก เปนเสนทางติดตอระหวางอำเภอดานซายกับอำเภอหลมเกา และอำเภอ หลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ ระยะทางถึงอำเภอหลมสักประมาณ ๖๔ กิโลเมตร ! ๓. ถนนสายดานซาย-นาแหว เปนเสนทางติดตอระหวางอำเภอดานซายกับอำเภอนาแหว ผานภูเขาสูงมาก ระยะทางประมาณ ๓๕ กิโลเมตร ! ๔. ถนนสายดานซาย-นครไทย เปนเสนทางติดตอระหวางอำเภอดานซายกับอำเภอนครไทย จังหวัด พิษณุโลก ผานภูเขาสูง ระยะทางประมาณ ๔๕ กิโลเมตร ! ๕. ถนนสายดานซาย-นาขา เปนเสนทางติดตอระหวางอำเภอดานซายกับหมูบานนาขา ตำบลปากหมัน อยู ติดเขตแดนประเทศสาธารณรัฐประชาชนลาว มีระยะทางประมาณ ๒๘ กิโลเมตร

พระธาตุศรีสองรักษ อนุสรณสถานแหงสัมพันธไมตรีระหวางสยามและลานชาง

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

6


ลำน้ำสายหลัก

แมน้ำจะเปนลำน้ำสายเล็กและสั้น ใชเดินเรือไมได นอกจากใชบริโภคและใชในการเกษตรกรรมเทานั้น มี แมน้ำที่สำคัญดังนี้ ! ๑. ลำน้ำหมัน เกิดจากภูเขาลมโล ตำบลกกสะทอน ทางทิศใตของอำเภอดานซาย ไหลไปทางทิศเหนือ ผาน ตำบลดานซาย ตำบลนาหอ ตำบลนาดี และตำบลปากหมัน ไหลไปตกลำแมน้ำเหือง ยาวประมาณ ๖๕ กิโลเมตร ! ๒. ลำน้ำปาสัก เกิดจากภูเขาใหญ และภูเขาขวางในตำบลอิปุม ไหลผานตำบลอิปุม ตำบลวังยาว ผานเขาเขต อำเภอหลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ ไปบรรจบแมน้ำเจาพระยาที่อำเภอทาเรือ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ! ๓. ลำน้ำพุง เกิดจากภูเขาทุงแทน ตำบลโปง ไหลผานตำบลโปงเขาเขตอำเภอหลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ ไป ตกแมน้ำปาสัก

ปากหมัน จุดรวมของลำน้ำหมันที่ไหลมาบรรจบกับลำน้ำเหือง หางจากตัวอำเภอดานซายราว ๖๐ กิโลเมตร

ทรัพยากรธรรมชาติ ดานทรัพยากรธรรมชาติ สวนใหญเปนปาไมเบญจพรรณ ไดแก ไมเต็ง ไมรัง ไมแดง ไมประดู ไมตะเคียน ไม ยาง ไมมะคา ไมชิงชัน และไมตะแบก เปนตน นอกจากนี้ยังมีของปาซึ่งพอจะเปนสินคาได เชน หวาย ชัน หัวยาขาว เย็น อบเชย และแกนคูณ สวนแรธาตุตางๆ เคยไดรับการสำรวจจากกรมทรัพยากรธรณีแตยังไมเปนที่เปดเผย มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

7


การปกครองV

การปกครองของอำเภอดานซาย แบงการปกครองสวนภูมิภาคเปน ๑๐ ตำบล ๙๕ หมูบาน และการปกครอง สวนทองถิ่น ประกอบดวยเทศบาลตำบล ๑ แหง สภาตำบล ๓ แหง องคการบริหารสวนตำบล ๙ แหง1 ! นับแตตั้งเปนอำเภอดานซายมาจนถึงปจจุบันนี้ มีนายอำเภอปกครอง ดังนี้ ๑. พระแกวอาสา (ทองดี) ! ! ! พ.ศ. ๒๔๔๙–๒๔๕๒ ๒. หลวงศุภกิจอุปกรณ! ! ! พ.ศ. ๒๔๕๒–๒๔๕๖ ๓. หลวงพินิจอักษร! ! ! ! พ.ศ. ๒๔๕๖–๒๔๕๘ ๔. ขุนชัยประชานุบาล! ! ! พ.ศ. ๒๔๕๘–๒๔๖๒ ๕. หลวงพลานุกูล! ! ! ! พ.ศ. ๒๔๖๒–๒๔๖๖ ๖. ขุนพิพัฒนสพุงเขต! ! ! พ.ศ. ๒๔๖๔–๒๔๖๖ ๗. หลวงแกวโกมล! ! ! ! พ.ศ. ๒๔๖๖–๒๔๖๗ ๘. ขุนวิสัยอุดรกิจ ! ! ! ! พ.ศ. ๒๔๖๗–๒๔๖๘ ๙. ขุนวิจารณจำนง! ! ! ! พ.ศ. ๒๔๖๙–๒๔๗๓ ๑๐. ขุนสฤษดิ์บำรุงเมือง! ! ! พ.ศ. ๒๔๗๓–๒๔๗๖ ๑๑. ขุนจารุวรประศาสน! ! ! พ.ศ. ๒๔๗๗–๒๔๗๘ ๑๒. ขุนกุวังคดิลกวิลาศ! ! ! พ.ศ. ๒๔๗๘–๒๔๗๙ ๑๓. ขุนวิวัฒนบุญคุปต! ! ! พ.ศ. ๒๔๗๙–๒๔๘๐ ๑๔. นายหิรัญ สุวรรณรังษี! ! ! พ.ศ. ๒๔๘๑–๒๔๘๒ ๑๕. ขุนกาญจนลักษณ! ! ! พ.ศ. ๒๔๘๒–๒๔๘๔ ๑๖. นายเสถียร นาครวาจา! ! ! พ.ศ. ๒๔๘๔–๒๔๙๐ ๑๗. นายตวน ไกรศรีวรรธนะ!! ! พ.ศ. ๒๔๙๑–๒๔๙๔ ๑๘. นายคม จันทะบาตร! ! ! พ.ศ. ๒๔๙๔–๒๔๙๖ ๑๙. นายดาบไพศาล วรามิตร! ! ! พ.ศ. ๒๔๙๖–๒๔๙๘ ๒๐. นายเสถียร หุนตระกูล! ! ! พ.ศ. ๒๔๙๘–๒๕๐๑ ๒๑. นายประเสริฐ รัตนารมย! ! ! พ.ศ. ๒๕๐๑–๒๕๐๑ ๒๒. นายสันทัด บุญประคอง!! ! พ.ศ. ๒๕๐๑–๒๕๐๕ ๒๓. นายจัด สุรเดโช!! ! ! พ.ศ. ๒๕๐๕–๒๕๑๑ ๒๔. นายสงัด แชมนอย! ! ! พ.ศ. ๒๕๑๑–๒๕๑๔ ๒๕. นายทัศน คำยำ! ! ! ! พ.ศ. ๒๕๑๔–๒๕๑๕ ๒๖. รอยตรีพยนต พิเรนทร! ! ! พ.ศ. ๒๕๑๕–๒๕๑๗ ๒๗. รอยตรีพิชัย วรรณพัฒน! ! ! พ.ศ. ๒๕๑๗–๒๕๑๙ ๒๘. เรือตรีไพเวศ เศรษฐประณัยน! ! พ.ศ. ๒๕๑๙–๒๕๒๒ ๒๙. นายธวัช เสถียรนาม! ! ! พ.ศ. ๒๕๒๒.-๒๕๒๖ 1 เอกสารจากสำนักงานอำเภอดานซาย, ๒๕๔๔ : ๙. มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

8


๓๐. นายอานนท พรหมนารท!! ๓๑. นายไพรัตน สกลพันธุ! ! ๓๒. นายฉลวย สุขรัตน! ! ๓๓. นายสุมิต อุนโอสถ! ! ๓๔. นายวิมล จันทวานิช! ! ๓๕. นายสมบัติ ตรีวัฒนสุวรรณ! ๓๖.นายประชิล นิลเขต! ! ๓๗. นายกฤช รังสิเสนา ณ อยุธยา! ๓๘. นายครรชิต พงษสุชาติ! ! ๓๙. นายเสนห นนทะโชติ! ! ๔๐. นายนิพนธ สกลวารี! ! ๔๑. นายธนวัฒน สวรรยาธิปต!ิ

! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! !

พ.ศ. ๒๕๒๖–๒๕๒๙ พ.ศ. ๒๕๒๙–๒๕๓๒ พ.ศ. ๒๕๓๒–๒๕๓๓ พ.ศ. ๒๕๓๓–๒๕๓๕ พ.ศ. ๒๕๓๕–๒๕๓๖ พ.ศ. ๒๕๓๖–๒๕๓๗ พ.ศ. ๒๕๓๗–๒๕๓๙ พ.ศ. ๒๕๓๙–๒๕๔๐ พ.ศ. ๒๕๔๐–๒๕๔๑ พ.ศ. ๒๕๔๑–๒๕๔๓ พ.ศ. ๒๕๔๓–๒๕๔๔ พ.ศ. ๒๕๔๔-ปจจุบัน

! จำนวนประชากรเมื่อสิ้นเดือนสิงหาคม ๒๕๔๓ มีทั้งสิ้น ๕๐,๖๖๕ คน เปนชาย ๒๕,๙๐๖ คน เปนหญิง ๒๔,๗๕๙ คน อำเภอดานซายแบงการปกครองออกเปน ๑๐ ตำบล คือ ตำบลดานซาย ตำบลนาหอ ตำบลนาดี ตำบล ปากหมัน ตำบลกกสะทอน ตำบลโปง ตำบลอิปุม ตำบลวังยาว ตำบลโคกงาม และตำบลโพนสูง V สวนการศึกษาครั้งนี้ไดเลือกชุมชนลุมน้ำหมันในเขตตำบลเทศบาลดานซาย บานนาเวียง และบานนาหอ เปนสนามวิจัย

แผนที่แสดงเสนความสูงของภูเขาและแองที่ราบของลุมน้ำหมัน เมืองดานซาย มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

9


แผนที่แสดงตำแหนงของหมูบานในงานวิจัย

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

10


บทที่ ๒ หมูบานในลุมน้ำหมัน ลำน้ำหมันเกิดจากเขาคอนไก2 บริเวณบานหมากแขง ตำบลกกสะทอน ดานทิศใตของอำเภอดานซาย มี ทิศทางการไหลของแมน้ำยอนจากทิศใตขึ้นสูทิศเหนือ ในอดีตลำน้ำหมันเปนรองน้ำลึก น้ำใสไหลเย็น มีแกงหินมากมาย เชน แกงอู แกงธาตุ แกง ฮวก แกงขวย และแกงคอน เปนตน อีกทั้งยังมีวังน้ำลึกที่มีสภาพสมบูรณ เปนวังน้ำขนาดกวาง ลึก และวน หากนับตั้งแตบริเวณ ทาน้ำวัดโพนชัยขึ้นไปจนถึงบริเวณที่ตั้งเขื่อนกั้นน้ำ (ดานทิศใตของอำเภอดานซาย) มีวังน้ำสำคัญดังนี้ คือ ทาวัด โพนชัยเรียกวา “วังเวิน” ถัดขึ้นไปคือวังปากศอก, วังกกเดื่อ, วังหัวแกอู, วังลางไส, วังหัวแกงธาตุ, วังหนองเขียว, วัง เฮี้ย, วังโปงกวาง (อดีตจะมีกวางลงมากินโปงจึงเรียกวาวังโปงกวาง), วังมน, วังหางแกงคอน, วังยาว และวังปากน้ำพุ เปนตน วังน้ำตางๆ เหลานี้จะมีสัตวน้ำพวกปลา ปู หอย กุง ตะพาบน้ำ (ปลาฝา) อาศัยชุกชุม ผูคนถิ่นนี้จึงอาศัยปลา เปนอาหารหลัก โดยเฉพาะในลำน้ำหมันจะพบปลาซิว, ปลาขั้นเรือ, ปลาปก, ปลาลวด, ปลาดุกอี้แอน, ปลาขม, ปลา หลำบี้, ปลาจอก, ปลาแกง, ปลาเกาะ, ปลาเคือง และปลาแข เปนตน สวนลำน้ำศอกจะพบปลาบู ปลาบก และปลาซิว เปนตน ในยามหนาแลงหรือที่เรียกวา “น้ำพรอง” น้ำจะลงเกือบแหง แตวังน้ำที่มีน้ำขังอยูจะกลายเปนที่ชุมนุมของ ปลา ปจจุบันวังน้ำเหลือเพียงไมกี่วัง เนื่องจากสภาพแวดลอมเปลี่ยนไป สาเหตุที่สำคัญคือ ยอนหลังไปราว ๒๐๓๐ ป กระทรวงเกษตรและสหกรณสงเสริมใหเกษตรกรปลูกพืชเศรษฐกิจอยางขาวโพด ชาวบานจึงถางปาเพื่อทำไร พรอมทั้งนำรถไปไถดิน ดินที่ถูกไถนี้เมื่อเวลาฝนตกจะถูกน้ำชะลางหนาดินกลายเปนโคลนขุนจากเขาทั้งสองดาน ตลอดลำน้ำลงสูหวย กอนไหลลงสูน้ำหมัน สงผลใหลำน้ำหมันตื้นเขินและวังน้ำหายไป อีกทั้งยังสงผลใหน้ำไหลไม สะดวกยามน้ำหลาก ประกอบกับในชวงหลัง (รอบสองทศวรรษที่ผานมา) เทศบาลตำบลดานซายทำการขุดลอกน้ำ หมัน แตขุดเฉพาะบางชวงของลำน้ำ จึงทำใหลำน้ำหมันมีสภาพเปนคอขวด คือ ชวงบนกวาง ชวงลางแคบ พอน้ำ หลากมามากจึงลนทวมตลาด ที่ผานมาในชวงเวลาดังกลาวบริเวณตลาดดานซายเกิดน้ำทวม ๔-๕ ครั้ง และทวม หนักที่สุดคือป ๒๕๔๕ ! นอกจากนี้ชาวบานในเขตเทศบาลตำบลดานซายสมัยกอนยังใชน้ำจากหนองคู บริเวณหนองน้ำแหงนี้มีปลา ดุก ปลาชอน ปลาเข็ง (ปลาหมอ) ปลากระดี่ และปลาไหล เปนตน นอกจากนี้ ยังมีพืชผักที่กินได คือ ผักตบ ผักบุง โสน ผักอี่แปะ และบัวหลวง เปนตน

2 เหตุที่เรียกวาเขาคอนไก มีเรื่องเลาในอดีตวา เทือกเขาดังกลาวเปนที่อยูของชาวเขาเผามง มีการปลูกฝน ตรงกันขามคนพื้นเมืองนิยม

สูบฝนแตปลูกฝนไมได ดังนั้นเมื่อคนพื้นเมืองตองการฝนจึงหาบหรือคอนไกขึ้นไปแลกกับฝนของมง เพราะมงตองการแลกเฉพาะไก เทานั้น จนกลายเปนชื่อเรียกของภูเขาลูกนี้ ตอมาเขาคอนไกเปลี่ยนชื่อเปนภูลมโล เปนคำที่ทหารสมัยกอนเรียก (สมัยปราบผูกอการ รายคอมมิวนิสต ราวหลังป ๒๕๑๐) มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

11


! สวนการเดินทางโดยทางเรือในสมัยกอนไมนิยมมากนัก ใชอาศัยเพียงแคขามฝงลำน้ำ เรือที่ชาวบานใชเรียก วา “เรือพาย” ขุดมาจากไมซุงทั้งตน สวนมากเปนไมตะเคียน ปจจุบันเรือเหลานี้ไมไดใชในชีวิตประจำวันและไมมีให เห็นอีกแลว ยกเวนเก็บรักษาไวที่วัดโพนชัย ! ลำน้ำหมันยังใชเปนสนามแขงเรือพายของคนสมัยกอนในชวงออกพรรษา แตไดเลิกแขงไปหลายสิบปแลว เพราะลำน้ ำ หมั น เริ ่ ม ตื ้ น เขิ น ไม ม ี ค ุ  ง น้ ำ ที ่ จ ะแข ง เรื อ ป จ จุ บ ั น (ป ๒๕๔๖–๒๕๔๗) เทศบาลดานซายทำการขุดลอกลำน้ำ หวังใหกลับมามีสภาพเหมือนเดิม นอกจากนี้ความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับลำน้ำ หมันยังเห็นไดจากปริมาณของปาไผที่ขึ้นอยูสองฟากของลำน้ำเริ่มนอยลง เพราะชาวบานตัดนำไปสรางและใชงาน ในบาน ! ปจจุบันสภาพแวดลอมของลำน้ำหมันเปลี่ยนแปลงไปมาก แตไมถึงกับทำใหน้ำเนาเสีย เพียงแตปจจุบันมี ลักษณะตื้นเขินและวังน้ำลดลง ประการสำคัญ ชุมชนลุมน้ำหมันใชน้ำจากลำน้ำในการอุปโภคและบริโภคลดลง โดย เฉพาะในเขตเมืองหรือตลาดแทบจะไมไดใชน้ำจากลำน้ำหมันก็วาได เพราะใชน้ำประปาแทน กลาวคือ ชวงแรกใชน้ำ ประปาภูเขา กระทั่งป ๒๕๓๗ สุขาภิบาลดานซายไดเปลี่ยนมาเปนประปาสวนภูมิภาค สวนชาวบานนอกเขตเมือง และตลาดยังคงใชน้ำซับจากภูเขา ดังนั้นจึงไมแปลกที่เด็กในเขตตลาดดานซายมักวายน้ำไมเปน เพราะไมไดมีชีวิตอยู กับลำน้ำหมันอีกแลว

สภาพลำนำหมันชวงไหลผานบานนาเวียง กำลังไดรับการขุดลอก

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

12


ดานความเชื่อ ลำน้ำหมันยังใชเปนสวนหนึ่งของการประกอบพิธีกรรมไหลเรือไฟ ลอยกระทง และที่สำคัญ ชวงป ๒๕๓๐กระทรวงมหาดไทยสั่งใหคณะกรรมการจังหวัดเลยหาแหลงน้ำศักดิ์สิทธิ์ เพื่อนำขึ้นทูลเกลาฯ ถวาย เปนน้ำสรงมุรธาภิเษกในพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษาครบ ๕ รอบของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว คณะ กรรมการจังหวัดไดพิจารณาแมน้ำหมันวาเปนลำน้ำที่ไหลผานพระธาตุศรีสองรัก อันศักดิ์สิทธิ์คูบานคูเมืองดานซาย จังหวัดเลย จึงนำน้ำจากแหลงนี้มาประกอบพิธีกรรมเสกน้ำศักดิ์สิทธิ์ ณ อุโบสถวัดศรีสุทธาราม อำเภอเมืองเลย หลัง จากนั้น จึงใชน้ำจากลำน้ำหมันในพิธีกรรมศักดิ์สิทธิ์เสมอมา อาจกลาวไดวาการตั้งถิ่นฐานของคนดานซายมักคำนึง ถึงแหลงน้ำและแหลงทรัพยากรทางธรรมชาติตางๆ เชน แมน้ำ ลำธาร หวย หนอง คลอง บึง ภูเขา และปาไมเปน หลัก เนื่องจากตองอาศัยน้ำดื่มและใชในการดำรงชีวิต ตลอดจนใชปลูกพืชผักนานาพันธุ อีกทั้งยังอาศัยสัตวน้ำ เชน กุง หอย ปู และปลา เปนอาหาร รวมทั้งอาศัยไมในปาสำหรับปลูกสรางเปนที่อยูอาศัย อาศัยสัตวปา และพืชพันธุใน ปาเปนอาหารและยา ดังนั้นหมูบานตางๆ ในเขตอำเภอดานซายมักจะตั้งอยูบริเวณริมน้ำหมัน และอาศัยกุง หอย ปู และปลา เปน อาหาร อาศัยปาไม เชน ปาภูอังลัง ปาขุนน้ำศอก ปาโคกนอย ปาโคกวัว ปาซำบอน ปาโปงดินออน ปาภูหวยชาง หวย เตย หวยตีนตั่ง มาปลูกสรางที่อาศัย นำพืชพันธุและของปามาเปนอาหาร นำสมุนไพรในปามาทำเปนยาใชในชีวิต ประจำวัน

สภาพทั่วไปของชุมชนลุมน้ำหมัน

สภาพของชุมชนลุมน้ำหมันนี้ จะกลาวเฉพาะพื้นที่หมูบานวิจัย ซึ่งประกอบดวย บานดานซาย บานนาเวียง และบานนาหอ

V

บานดานซาย สภาพทั่วไปของหมูบานเมื่อ ๖๐–๗๐ ปกอน เปนชุมชนเล็กๆ มีผูคนอาศัยอยูเปนหยอมๆ ตั้งบานเรือนอยู หางกันเปนคุมๆ ระหวางบานหนองคู บานหนองของ บานเดิ่น บานหัวนายูง และบานนาเวียง การเดินทางติดตอกัน จะอาศัยการเดินเทา เพราะยังไมมียานพาหนะใดๆ บริการ สวนการไปมาหาสูกันกับผูคนในทองถิ่นอื่น ตางหมูบาน ตำบล อำเภอ และจังหวัด อาศัยการเดินเทาเชนเดียวกัน เชน หากเดินทางไปเมืองเลยจะตองเดินทางถึง ๓ วัน หรือไป อำเภอหลมเกา หลมสัก ตองเดินทาง ๒ วัน ไปอำเภอนครไทยเดินทาง ๒ วัน เปนตน สวนการติดตอสื่อสารกอนที่ จะไมมีไปรษณียจะอาศัยคนเดินเมล (คนรับจางเดินหนังสือราชการกอนที่ไปรษณียจะเขาไปบริการ) ปจจุบันบานดานซายตั้งเปนเทศบาลตำบลดานซาย ประกอบดวยหมูบานตางๆ ดังนี้ บานดานซาย (บาน หนองคู) บานเหนือ (บานหนองของ) บานเดิ่น และบานหัวนายูง บานหนองคู (บานดานซายปจจุบัน) การตั้งถิ่นฐานของบานหนองคู เริ่มแรกไมทราบวาผูคนกลุมใดมาตั้ง ถิ่นฐาน แตหากสันนิษฐานจากภาษาพูดและขนบธรรมเนียมประเพณีของผูคนในทองถิ่นนี้ นาจะมีผูคนจำนวนหนึ่ง อพยพมาจากเมืองหลวงพระบาง รวมกับคนในพื้นเพเดิมที่ตั้งถิ่นฐานอยูกอนแลว เพราะจากหลักฐานการสรางพระ ธาตุศรีสองรัก พ.ศ. ๒๑๐๓–๒๑๐๖ พระมหาจักรพรรดิแหงกรุงศรีอยุธยา กับพระเจาไชยเชษฐาแหงกรุงศรีสัตนาค นหุต (เวียงจันทน) รวมกันสราง คาดวานาจะมีผูคนมาตั้งถิ่นฐานอยูบริเวณนี้กอนสรางพระธาตุศรีสองรัก และบาน หนองคูคงจะเปนหมูบานแรกที่มีผูคนมาตั้งถิ่นฐาน มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

13


บริเวณที่ตั้งหมูบานจะเปนที่ราบแคบๆ ยาวตามริมน้ำหมัน นอกจากนี้ภายในหมูบานยังมีหนองน้ำกักเก็บ น้ำไวใชไดตลอดป ชาวบานเชื่อวานาจะเปนการขุดเปนคูขึ้น หรือนาจะเปนทางน้ำเดิม (แมน้ำหมัน) ตอมาสายน้ำ เปลี่ยนทางเดินกลายเปนกุดหรือบุง มีน้ำขังตลอดปหรือเรียกวา “หมันหลง” จึงพอจะเชื่อถือได จนกลายเปนที่มา ของชื่อหมูบาน “บานหนองคู” ยอนหลังไป ๕๐ ป หมูบานนี้ยังเปนที่ตั้งสถานที่ราชการ คือ ที่วาการอำเภอดานซาย สถานีตำรวจภูธร อำเภอดานซาย สุขศาลา (สถานีอนามัย) โรงเรียนประชาบาลตำบลดานซาย (ปจจุบันคือโรงเรียนชุมชนบาน ดานซาย) มีโรงงานอุตสาหกรรมขนาดยอมตั้งอยู คือ โรงงานกลั่นสุรา ชาวบานเรียกโรงตม (เหลา) และมีรานคาตั้ง เรียงรายอยูริมถนนแกวอาษาทั้งสองขาง บานหนองของ บานหนองของหรือบานเหนือ ตั้งอยูเหนือลำน้ำหมัน ถัดจากบานหนองคูไปทางทิศตะวัน ตกของหมูบาน ในหมูบานมีหนองน้ำ ถึงฤดูฝนจะมีน้ำไหลเชื่อมตอกับหนองคู มีปลาและสัตวน้ำอื่นๆ ขึ้นจากหนอง คูไปวางไขที่หนองน้ำแหงนี้ ชาวบานเรียกหนองน้ำนี้วา “หนองของ” หนองน้ำทั้งสองนี้มี ปลาดุก ปลาชอน ปลาเข็ง (ปลาหมอ) ปลากระดี่ และปลาไหลชุกชุม ชาวบานอาศัย ปลาเปนอาหาร ! สวนเหตุที่เรียก “บานหนองของ” สันนิษฐานวา คำวา “ของ” หมายถึงภาชนะที่สานดวยไมไผสำหรับใส ปลา เมื่อชาวบานจับปลาไดจะเอาไปใสของ จนมีเรื่องเลาขานกันตอมาวา ชาวบานไดจับปลาในหนองน้ำไดปลา จำนวนมาก เมื่อเอาปลาใสของจนเต็มแลวยัดปลาลงไปในของอีก จนของแตก ชาวบานจึงเรียกหนองน้ำนี้วา “หนอง ของแตก” และกลายเปนชื่อหมูบาน “บานหนองของแตก” ตอมาคำวา “แตก” หายไป เรียกสั้นๆ วา “บานหนอง ของ” ปจจุบันบานหนองของเปลี่ยนชื่อเปน “บานเหนือ” เพราะหมูบานนี้ตั้งอยูเหนือบานหนองคู นอกจากนี้ผูเฒาผูแกยังเลาตอมากันวา หนองน้ำแหงนี้มีสภาพที่มีความลึกและกวาง มีน้ำขังและใสสะอาด ตลอดป มีปาไมหนาแนนรมครึ้มรอบบริเวณ ริมหนองน้ำเปนที่ราบ มีหญาขึ้นปกคลุม เหมาะสำหรับเปนที่เลี้ยงสัตว เชน วัวและควาย ชาวบานถือวาหนองน้ำและบริเวณรอบๆ เปนพื้นที่ที่ทุกคนใชรวมกันไดโดยไมมีใครเปนเจาของ (เปนที่สาธารณะ) มีวัดเกาแกตั้งอยูใกลหนองน้ำนี้ มีหลักฐานปรากฏอยูจนทุกวันนี้คือ ตนโพธิ์ใหญมีอายุเปนรอยป มีเศษอิฐใหเห็นเปนหลักฐานวาในสมัยกอนมีวัดตั้งอยู กอนที่จะเปนวัดราง แลวไปตั้งวัดใหม คือ วัดโพนชัย ขณะเดียวกันยังมีเรื่องเลาวา ในอดีตชวงหลังสงกรานตชาวบานแตละหมูบานจะรวมกันแหดอกไมไปบูชาที่ พระธาตุศรีสองรักเปนประจำทุกป ชาวบานนาหอก็เปนชาวบานกลุมหนึ่งที่รวมกันแหดอกไมไปบูชาพระธาตุศรี สองรัก ในขบวนแหมีดนตรีพื้นบานซึ่งประกอบดวยฆองและกลอง ชาวบานที่ไปรวมแหดอกไมจะมีทั้งผูเฒาผูแก และหนุมสาว ขากลับจากแหดอกไมบูชาพระธาตุศรีสองรักแลวมักจะแวะบูชาดอกไมตามวัดรายทางที่ผาน ซึ่งเสน ทางตองผานวัดใกลหนองน้ำ เมื่อบูชาดอกไมที่วัดแลวจะแวะเลนสาดน้ำกันที่บริเวณหนองน้ำแหงนี้ ผูที่ไมมีขันน้ำ จะใชมือวักใสกัน คนถือฆองลืมตัววางฆองไว แลวลงเลนสาดน้ำกันสนุกสนานเพลิดเพลิน พอถึงเวลากลับบานก็หา ฆองไมพบ จึงรองบอกเพื่อนรวมขบวนแหดอกไมวา “ฆองเหี่ย” (ฆองหาย) หนองน้ำแหงนี้จึงไดชื่อวา “หนองฆองเหี่ย” นานเขาเรียกสั้นๆ วา “หนองฆอง” ตอมาออกเสียงเพี้ยนกลาย เปน “หนองของ” และเรียกชื่อหมูบานที่อยูบริเวณนั้นวา “บานหนองของ” จนถึงทุกวันนี้ บานเดิ่น บานเดิ่นตั้งอยูทางทิศตะวันออกของบานหนองของ อยูริมน้ำศอกและมีพื้นที่บางสวนตั้งอยูริมน้ำ หมัน

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

14


! น้ำศอกเปนสาขาหนึ่งของลำน้ำหมัน เหตุที่เรียกวา “ลำน้ำศอก” เพราะลำน้ำในชวงระหวางบานเดิ่นกับบาน หวยตาดมีลักษณะคดเคี้ยวไปมาคลายขอศอก ตรงหลักกิโลเมตรที่ ๓ บนถนนดานซาย-เลย จะมีทางแยกขวาเขาไป เปนทางเดินเทา เชื่อมติดตอกับหมูบานหวยตาด บานโคกงาม บานหนองบัว (ภูเรือ) ติดตอไปยังตัวเมือง จังหวัดเลย ในอดีตผูคนจะใชเสนทางนี้เดินทางติดตอกัน ซึ่งตองผานและขามลำน้ำที่คดเคี้ยวไปมาคลายขอศอกนี้ถึง ๗ ครั้ง (ภาษาถิ่นเรียก ๗ ซง) จึงเรียกลำน้ำนี้วา “ลำน้ำศอก” ! บริเวณที่ตั้งหมูบานเดิ่นเปนที่ราบและลานกวางเกิดขึ้นตามธรรมชาติอยูทิศใตของหมูบาน บริเวณนี้มีตน มะมวงใหญ (มะมวงอุงนก) ขึ้นเองตามธรรมชาติอยู ๓ ตน มีอายุเปนรอยป (ปจจุบันเหลือใหเห็น ๑ ตน และยืนตน ตายใกลจะลมอีก ๑ ตน) ที่ราบหรือลานกวางนี้ชาวบานเรียกวา “เดิ่น3” หมูบานแหงนี้จึงเรียกชื่อวา “บานเดิ่น” มีวัด โพนชัยเปนวัดเกาแกของชุมชนตั้งอยูในเขตหมูบานนี้ บานหัวนายูง บานหัวนายูงตั้งอยูริมน้ำหมันคนละฝงกับบานหนองของ เยื้องไปทางทิศใต และตั้งอยูฝงตรง กันขามกับพระธาตุศรีสองรัก ในอดีตมีสภาพเปนปาใหญ มีตนไมนานาพันธุขึ้นอยูทั่วไป มีสัตวปาชุกชุม มีผลไมที่ เปนอาหารของนกทุกชนิด ! ที่ตั้งของหมูบานเปนที่ราบแคบๆ ตามริมน้ำหมัน เมื่อกอนมีบานเรือนตั้งอยูประมาณ ๘–๑๐ ครัวเรือน รวม เปนหมูบานเดียวกับหนองของ (มาแยกเปนหมูที่ ๑๔ ของตำบลดานซาย เมื่อประมาณ ๓๐ ป) ทางทิศตะวันตกของ หมูบานติดริมน้ำหมัน ทางฝงซายของลำน้ำหมันตรงกันขามกับหมูบาน มีลำหวยน้ำอูไหลจากปาเขาทางทิศตะวัน ตกมารวมกับลำน้ำหมัน บริเวณปากน้ำอูจะเปนลานหินเปนแนวยาวลงมาตามน้ำ และมีกอนหินทั้งขนาดใหญและ เล็กอยูกลางลำน้ำหมันเปนจำนวนมาก พอถึงหนาแลงปริมาณน้ำลดลง จะมองเห็นสายน้ำไหลผานแกงหินสวยงาม ชาวบานเรียกวา “แกงอู” พื้นน้ำใกลแกงอูมีทรายและกอนกรวดมากมาย เหมาะสำหรับเปนที่เลนน้ำและเปนที่พัก ผอนของชาวบาน ปจจุบันน้ำตื้นเขิน มีดินไหลมาทับถมกอนหินและลานหินทำใหไมเห็นแกงอีกแลว ! ทางดานทิศตะวันออกของหมูบานมีเนินเขาเตี้ยๆ ชาวบานเรียกวา “โพน” มีตนไมใหญนอยขึ้นอยูหนาแนน และมีทุงนาแคบๆ ติดกับเนินเขา บริเวณโพนหรือเนินเขานี้มีนกหลายชนิดอาศัยอยู โดยเฉพาะนกยูง มีเปนจำนวน มาก จึงทำใหหมูบานไดชื่อวา “บานหัวนายูง” และทุงนาไดชื่อวา “นานกยูง” ตอมาเรียกชื่อสั้นเขาเปน “บานหัวนา ยูง” ทุงนาเปน “นายูง” คำวา “นก” หายไป บริเวณโพนหรือเนินดังกลาวเปนปาใหญรกชัฏ มีลิงและคางอาศัยอยู ชาว บานเรียกโพนนี้วา “โพนภูคาง” ในอดีตเปนปาชาของบานหัวนายูง ปจจุบันเปนที่ตั้งสำนักงานองคการบริหารสวน ตำบลดานซาย V จากหมูบานทั้งหมดที่กลาวมา ทำใหเห็นวาการตั้งชื่อแตละหมูบาน ผูเฒาผูแกหรือหัวหนาหมูบานจะ พิจารณาจากสิ่งที่เปนธรรมชาติที่มีในหมูบาน เชน ลำหวย หนองน้ำ ตนไมใหญ เนินหรือโพน เชน บานหวยตาด บานหนองของ บานกกโพธิ์ บานโพนหนอง เปนตน ซึ่งมีเจตนาจะใหหมูบานของตนมีชื่อเรียกที่ชัดเจน เปนสิริ มงคลแกผูคนในหมูบาน บานนาเวียง บานนาเวียงตั้งอยูริมแมน้ำหมัน หางจากอำเภอดานซายไปทางทิศเหนือประมาณ ๒ กิโลเมตร มีอาณาเขต ติดตอดังนี้ 3 คำวา “เดิ่น” เปนภาษาพูดของประชาชนชาวลาว ซึ่งหมายถึงสนามหรือลาน เชน สนามบิน จะเรียกวา เดิ่นเฮื่อเหาะ (เฮื่อเหาะ คือ

เครื่องบิน)

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

15


ทิศเหนือ ติดตอกับที่ทำกินของหมูบานบุงกุม (นาดินเบา) ทิศใต ติดตอกับชุมชนบานดานซาย ทิศตะวันตก ติดตอกับแมน้ำหมัน ทิศตะวันออก ติดตอกับทุงนาและภูเขาอังลัง พื้นที่โดยสวนใหญเปนที่ราบและเปนภูเขาสูงต่ำสลับที่ราบเชิงเขา มี ๓ ฤดู คือ ฤดูฝน ฤดูหนาว และฤดูรอน ทรัพยากรทางธรรมชาติมีปาไมอุดมสมบูรณ มีตนน้ำอยูบนภูเขามากมาย เชน ตนน้ำหวยยางบงและตนน้ำบวกเดียว เปนตน ตนน้ำที่อยูบนเขาเหลานี้จะมีน้ำตลอดทั้งป สภาพโดยทั่วไปของบานนาเวียงเปนหมูบานเล็กๆ การตั้งบานเรือนไมแออัดเนื่องจากมีจำนวนประชากร นอย กลาวคือ บานนาเวียงมีบานเรือนเพียง ๖๐ หลังคาเรือน มีประชากร ๒๒๐ คน การสรางบานเรือนมีลักษณะ เหมือนกับบานไทยทั่วไป หลังคาใชหญาคามุง ตัวบานและพื้นบานจะใชไมไผสับเปนแผนหรือที่เรียกวาฟากตีเปน ผนังและปูเปนพื้น มีเรือนทำกับขาวเรียกวา “เรือนนอย” ภายในหองครัวจะมี “หิ้งขา” ตั้งอยูเหนือเตาไฟที่ใชขี้ไตมา เปนเชื้อเพลิง หิ้งขาสานมาจากไมไผขึ้นรูปเปนตาขายแลวติดไวบริเวณใตขื่อบานเหนือเตาไฟ เมื่อเวลาจุดไฟหุงหาอาหาร ควันจากขี้ไตและเศษฟนไปรมอุปกรณตางๆ ที่วางไวบนหิ้งขา เชน เครื่องจักสานหรืออาหารแหง ถือเปนการรักษา เครื่องใชใหคงอยูและถนอมอาหารบางประเภทใหเก็บไวไดนาน นอกจากนี้ยังมีการสรางระเบียงหนาบานหรือเรียก อีกชื่อหนึ่งวาชาน เพื่อใชเปนพื้นที่ใชสอยเล็กๆ นอยๆ รวมทั้งเปนที่สำหรับพาดบันไดบานและมีโองน้ำตั้ง การดำรงชีวิตในสมัยกอนนี้เมื่อยังไมมีความเจริญทางดานวัตถุตางๆ หากพูดถึงดานที่อยูอาศัยจะสรางดวย ไมไผ คือ นำไมไผมาผาสลับแลวสานเปนแผนๆ เพื่อนำมาทำเปนฝาบาน สวนหลังคาจะใชใบจากหรือหญามุงหลังคา บาน เมื่อเปรียบเทียบกับสมัยนี้แลวแตกตางกันมาก คนสมัยนี้จะนิยมสรางบานดวยไม อิฐ ปูน และมุงดวยหลังคา สังกะสีและกระเบื้อง เพื่อใหเกิดการคงทนแข็งแรง หมูบานนาเวียงมีวัดศรีโพธิ์เปนศูนยกลางของหมูบาน ในขณะที่โรงเรียนของหมูบานในสมัยกอนกลับไมมี ตองเดินทางดวยเทาจากหมูบานเขามาเรียนที่ตัวอำเภอดานซายเปนระยะทางถึง ๒ กิโลเมตร (โรงเรียนชุมชนบาน ดานซาย) ที่สำคัญเมื่อถึงหนาฝนถนนจะเปนโคลนตมเดินทางไปดวยความยากลำบาก ตัวอยางหนึ่งที่ชาวบานมักเลาขานเกี่ยวกับความยากลำบากในการเดินทางก็คือ การเดินทางเขาไปเรียน หนังสือตอที่จังหวัดเลยจะตองใชเวลาในการเดินทาง ๒-๓ คืน ขามภูหลายลูก ตองอาศัยวัดเปนที่พักแรม สวนเหตุที่ ตองเดินทางไปเรียนทองที่ไกลๆ เพราะโรงเรียนสมัยนั้นไมมี ตองอาศัยโรงเรียนในหมูบานใกลเคียง เชน โรงเรียนใน ตัวอำเภอดานซาย หรือโรงเรียนในจังหวัดเลย หรืออำเภอหลมสักเปนสถานศึกษา ชาวบานสวนใหญในสมัยกอนจึง ไมไดเรียนหนังสือ ปจจุบันนี้ตลาดรานคาในหมูบานไมมี ตองเดินทางเขาไปหาซื้อเครื่องใชในตลาดดานซาย สวนอาหารพวกปู และปลา ชาวบานจะหากันในแมน้ำหมันและตามทุงนา โดยชาวบานจะหาปลาดวยการใชสวิงไปชอนหรือนำไป ซอนวางดักปลา ปู และหอย นอกจากนี้ยังมีการปลูกผักและหาของปา ! สวนระบบสาธารณูปโภคตางๆ พบวา เดิมหมูบานไมมีไฟฟาใช สมัยกอนชาวบานในหมูบานใชขี้ไตเปนเชื้อ เพลิง ทำใหเกิดแสงสวางในเวลากลางคืน ตอมาไดมีการประยุกตใชตะเกียงเพลิง ตะเกียงเจาพายุ ตะเกียงโปะ โดย ตะเกียงเหลานี้ไดใชน้ำมันกาดเปนเชื้อเพลิง เชนเดียวกับน้ำประปาก็ไมมีใชเหมือนทุกวันนี้ ชาวบานในหมูบานใชน้ำ มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

16


บอไวบริโภค น้ำหมันไวใชอุปโภค ภาชนะที่ใชหาบน้ำแตกอนก็ใชไมไผและหวายมาสานเปนคุและกระบุง ขณะที่ โทรศัพท เดิมไมมีบริการเชนกัน การติดตอตองอาศัยแตโทรเลขและจดหมาย สงขาวใหญาติที่อยูหางไกล ดานสุขอนามัย เมื่อชาวบานเจ็บไขไดปวยจะมีวิธีการรักษาตามแบบชาวบาน โดยหมอชาวบานจะเปนผูหา ยาสมุนไพรตามบานและตามปามาใสน้ำใหกิน เพื่อรักษาโรคตางๆ หรือหากเด็กในหมูบานหกลม แขนหัก ขาหัก จะ มีหมอทางไสยศาสตรมาเปาเพื่อรักษา ในสมัยกอนถนนหนทางในหมูบานจะเปนถนนลูกรัง หนาแลงมีฝุน หนาฝนจะเปนโคลน ไปไหนมาไหน ลำบาก ติดตอสื่อสารกันยาก น้ำประปาก็ไมมีใช ใชน้ำคลอง น้ำบอ ไฟฟาก็ไมมีใช ตองใชขี้ไต ขี้ไตคือเชื้อที่ทำให ติดไฟงาย ทำใหเกิดแสงสวาง หรือใชตะเกียงโดยใชน้ำมันกาดเปนเชื้อเพลิง ปจจุบันสังคมเปลี่ยนแปลงไป โดยเฉพาะชวงทศวรรษที่ผานมา หมูบานมีการพัฒนามากขึ้น และนำความ เจริญมาสูหมูบาน ทำใหหมูบานไดรับความสะดวกสบายกวาสมัยกอน เชน ถนนหนทางในหมูบานเปลี่ยนมาเปน ถนนคอนกรีต น้ำประปาและไฟฟามีใชกันทั่วทุกหลังคา การคมนาคมติดตอสื่อสารสะดวก มีทีวีไวดูขาวสาร ดูหนัง ดูละคร มีโทรศัพทสวนตัวและโทรศัพทสาธารณะหมูบานไวติดตอสื่อสาร บานนาหอ บานนาหอตั้งอยูทางทิศเหนือของตนน้ำหมัน หางจากตัวอำเภอดานซายมาดานทิศเหนือราว ๗-๘ กิโลเมตร มีอาณาเขตติดตอดังนี้ ทิศเหนือ ติดกับบานหนองผือ ทิศใต ติดกับบานโพนหนอง ทิศตะวันออก ติดกับภูเขาและบานหวยตาด ทิศตะวันตก ติดกับภูเขาและบานหนองสิม อำเภอนาดวง ดานภูมิอากาศของบานนาหอแตละชวงฤดูแตกตางกันมาก กลาวคือ ชวงฤดูรอนอากาศจะรอน ชวงฤดู หนาวอากาศจะหนาวจัด ดานการสรางบานเรือน สมัยกอนการสรางบานเรือนโดยทั่วไปจะสรางเปนกระทอมหลังเล็กๆ มุงดวยหญา คา สวนฝาและพื้นบานทำดวยไมไผ หากครอบครัวใดมีฐานะดีจะสรางบานดวยเสาไมจริงหรือเสาตั้งหิน ฝาบานตี ดวยไมเนื้อแข็ง สวนหลังคาจะมุงแปนเกล็ด สถานที่สำคัญมีวัดศรีภูมิ ศาลเจาบาน (ดงหอ) ภูผาแดด เหตุที่เรียกวาภูผาแดด เพราะตอนเชาจะมีแสงแดด สองไปยังภูผาแดดกอนที่อื่น บริเวณภูผาแดดจะมีถ้ำตามคำบอกเลาของคนเกาคนแกเลาวา ภายในถ้ำมีพระพุทธรูป และของมีคาอยูในถ้ำ เมื่อถึงเดือนเจ็ดของทุกป เจาพอกวน เจาแมนางเทียม พอแสน นางแตง และชาวบาน จะพากัน ขึ้นไปบนภูผาแดดเพื่อทำพิธีขอฟาขอฝนเปนการสืบทอดมาจากบรรพบุรุษ ซึ่งปจจุบันยังคงประกอบพิธีกรรมนี้ ดานสาธารณูปโภค ยอนหลังไปหลายสิบป บานนาหอยังไมมีไฟฟาใช เดิมชาวบานตองอาศัยกระบอกไม บรรจุน้ำมันยางผสมเศษไมผุเปนเชื้อเพลิง “กระบองขี้ไต” ตอมามีการใชตะเกียงน้ำมันกาดสวนน้ำประปาก็ไมมีเชน กัน ชาวบานตองอาศัยน้ำจากลำน้ำหมันและลำหวยมวงซึ่งไหลมาจากบนเขาหวยมวง รวมทั้งตองขุดบอกักเก็บใน ยามแลง สวนภาชนะใสน้ำจะสานจากไมไผเอายางและหมันบดใหละเอียดผสมกับ “ขี้ชี” มาทาไมไผที่สานปองกันรู รั่วเวลาตัก เรียกวา คุ นอกจากนี้ยังมีเครื่องใชในครัวเรือนชนิดอื่น เชน หมอดินเผาสำหรับนึ่งขาวเหนียวและใสแกง ตม สวนถวยจานที่ใชอยางปจจุบันก็ไมมีจะดัดแปลงกะลามะพราวแทน รวมทั้งขันทำจากกะลามะพราวเชนกัน มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

17


ถนนหนทางสมัยกอนไมมีอยางที่เห็น ตองอาศัยทางควายและทางเดินเกวียน เสนทางคมนาคมเริ่มสะดวก เมื่อราวกอนป ๒๕๑๐ สมัย นายจัดสุระ เดโช เปนนายอำเภอดานซาย ขณะนั้นมี กองอำนวยการรักษาความปลอดภัย แหงชาติหรือ กรป. กลาง โดยมี จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตเปนผูริเริ่มใหบุกเบิกเสนทางจากตัวอำเภอดานซายสูบาน ปากหมันซึ่งเปนที่ตั้งของกรป.กลาง เพราะเห็นวาในอำเภอดานซายการเดินทางไมสะดวก ทางอำเภอดานซายจึงรวม มือกับกรป.กลาง บุกเบิกเสนทางพรอมทั้งขยายเสนทางแตยังไมไดราดยาง คงเปนหินลูกรัง พอเฒาคนหนึ่งแหงหมูบานนาหอเลาวา ราวป ๒๕๑๒ ไดซื้อจักรยานยนตมาขี่ ถนนยังเปนลูกรัง กระทั่งป ๒๕๒๒ ถนนสายนี้ถึงราดยางเพียงบางชวงไปถึงแคบานโพธิ์หนอง จนป ๒๕๓๓ จึงราดยางถึงบานปากหมัน การปกครอง เดิมบานนาหอและบานเกาขึ้นอยูกับตำบลดานซาย กอนแยกออกเปนตำบล นาหอในราวป พ.ศ. ๒๕๑๕ เนื่องจากมีประชาชนมากขึ้นจึงกระจายอำนาจสูทองถิ่น ตั้งผูใหญบานและกำนัน

การจัดการดานทรัพยากรน้ำในลุมน้ำหมัน

! ดังที่เกริ่นไวเบื้องตนวา ลำน้ำหมันเกิดจากภูเขาคอนไก (ภูลมโล) ภูเขาลูกนี้มีพื้นที่ครอบคลุม ๓ จังหวัด คือ จังหวัดเลย จังหวัดเพชรบูรณ และจังหวัดพิษณุโลก ไหลยอนไปทางทิศเหนือ ผานตำบลกกสะทอน ตำบลดานซาย ตำบลนาหอ ตำบลนาดี ไปบรรจบแมน้ำเหืองที่ตำบลปากหมัน (ตำบลดังกลาวที่อยูในเขตอำเภอดานซายทั้งหมด) ! สภาพของลำน้ำ เปนลำน้ำสายเล็กๆ และแคบ แตมีน้ำไหลตลอดป มีลำหวยมากมายที่ไหลลงสูลำน้ำสายนี้ ตนน้ำในชวงที่น้ำไหลผานตำบลกกสะทอน สภาพพื้นที่เปนภูเขาสูงต่ำลดหลั่นและสูงชัน มีแกงและโขดหินติดตอ กันเปนระยะทางไกล บางชวงน้ำจะไหลลอดโขดหิน หนาแลงจะมองไมเห็นน้ำ (ชาวบานเรียกวาน้ำดั้น ดั้นแปลวา ลอด) ฤดูฝนน้ำไหลเชี่ยวมาก ! สภาพของลำน้ำในชวงที่ไหลผานตำบลดานซาย คือ หมูบานหัวนายูง บานเหนือ บานเดิ่น บานหนองคู บานนาเวียง และบานนาหอ ตำบลนาหอ เปนพื้นที่ราบ กระแสน้ำไหลไมแรงนัก ! ในอดีต (เมื่อ ๕๐–๖๐ ปกอน) ในหนาฝนผูคนจะใชน้ำฝนที่รองจากหลังคาบานของแตละครัวเรือน เก็บใส โองใสตุมไวดื่มไวใชจนตลอดฤดู (มีฝนตกตามฤดูกาล) สวนหนาแลงตั้งแตเดือนพฤศจิกายน-เดือนพฤษภาคม น้ำใน ลำน้ำหมันจะใสสะอาด ผูคนที่ตั้งบานเรือนอยูริมฝงน้ำนี้จะใชน้ำในลำน้ำหมัน สำหรับดื่ม อาบ และซักลางสิ่งของ ตางๆ ไดตลอดป แตละหมูบานจะมีทาน้ำเปนของตนเอง และมีเสนทางลำน้ำเชื่อมกับถนนสายหลักของหมูบาน ตอนเชาของแตละวันคนในครัวเรือนจะนำภาชนะ (คุ-ถัง) ลงไปตักน้ำในลำน้ำขึ้นมากักเก็บไวในโองหรือตุม (สวน มากเปนหนาที่ของฝายหญิง) ใหพอดื่มกินไดตลอดทั้งวัน จะมากหรือนอยขึ้นอยูกับจำนวนผูคนในครัวเรือน และตัก น้ำสำหรับใชมาเก็บไวในโองหรือตุมอีกทีหนึ่ง เพื่อใชลางถวยชามและภาชนะอื่นๆ ในครัวเรือน ! การซักเสื้อผาและเครื่องนุงหมอื่นๆ ชาวบานจะนำไปซักที่ทาน้ำในตอนเย็นทุกวัน ชาวบานทุกคนจะลงไป อาบน้ำที่ทาน้ำในหมูบานของตนเอง สวนมากจะอาบน้ำวันละครั้ง คือ ตอนเย็นของแตละวัน หลังจากทำงาน เหน็ดเหนื่อยมาแลวทั้งวัน ! การใชน้ำในการเกษตร หนาแลง ชาวบานจะปลูกพืชผัก เชน หอม กระเทียม ผักชี ผักกาด กะหล่ำปลี กะหล่ำดอก เปนตน ตามริมฝงทั้งสองฟาก โดยใชน้ำในลำน้ำหมันรดพืชที่ปลูกไว ในหนาฝน ชาวบานหัวนายูง บาน เดิ่น บานเหนือ และบานหนองคู จะไมใชน้ำในลำน้ำหมันชวยในการทำนา เพราะที่นาอยูสูงจากระดับน้ำและไดน้ำ ฝนจากลำหวยที่ไหลจากภูเขาซึ่งมีปริมาณมากพอสำหรับการทำนาอยูแลว แตชาวบานนาเวียง บานนาหอ ที่มีที่นา อยูใกลลำน้ำหมัน เขาจะใชน้ำจากลำน้ำชวยในการทำนา เรียกวา นาน้ำพัด โดยการทำพัด (ระหัด) วิดน้ำเขานา ซึ่งจะ ทำนาไดปละครั้ง คือ ในหนาฝนเทานั้น ในปจจุบันยังพอมีพัดใหเห็นอยูบาง มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

18


!

ระบบ “น้ำภูเขา” กอนป ๒๕๐๖ ชาวบานหนองคู บานเหนือ บานเดิ่น และบานหัวนายูงใชน้ำจากลำน้ำหมัน สำหรับดื่ม อาบ และอื่นๆ หลังจากนั้นมา สุขาภิบาลดานซายไดจัดสรางประปาภูเขาจากหวยน้ำอุน (หวยน้ำอุน เปนสาขาหนึ่งของ หวยน้ำศอกและลำน้ำหมัน ตนน้ำอุนเกิดจากภูเขาในหมูบานกกเหี่ยนและบานกางปลา ทางทิศตะวันออกเฉียงใต ของบานเดิ่น) โดยกั้นเปนฝายน้ำลน (ฝายคอนกรีต) บนภูเขาในเขตหมูบานเดิ่น แลวตอทอเหล็กเชื่อมติดตอกันเขา มาในหมูบานเดิ่น บานหนองคู บานเหนือและบานหัวนายูง ใหชาวบานใชดื่ม อาบ และอื่นๆ (ใชน้ำจากธรรมชาติ ไม ตองผานกรรมวิธีทำน้ำใหสะอาดแตอยางใด เพราะชาวบานเชื่อวา น้ำที่ไหลจากภูเขานั้นสะอาดอยูแลว) สุขาภิบาล ดานซายเก็บคาบริการการใชน้ำประปาภูเขาครัวเรือนละ ๒๐ บาทตอเดือน ! ตอมาราวป ๒๕๓๘ สุขาภิบาลดานซายไดโอนกิจการประปาภูเขาใหกับการประปาสวนภูมิภาค สาขา ดานซาย การประปาสวนภูมิภาคยังคงใชน้ำจากหวยน้ำอุนและน้ำจากลำน้ำหมันมาผลิตเปนน้ำสะอาด จำหนายให แกชาวบานในเขตเทศบาลตำบลดานซายไปทางทิศใตประมาณ ๖ กิโลเมตร หากเขื่อนนี้สรางเสร็จ สามารถกักเก็บ น้ำไดจำนวนหนึ่ง คงชวยบรรเทาความเดือดรอนจากภัยน้ำทวมของหมูบานใตเขื่อนไดในระดับหนึ่ง ! จึงเห็นไดวา คนสมัยกอนการมาตั้งถิ่นฐานที่อยูอาศัย การทำมาหากินจะตองหาทำเลที่มีแหลงน้ำ มีพื้นที่ ทำการเพาะปลูกพืชตางๆ มีพื้นที่ในการเลี้ยงสัตว ที่สำคัญที่สุดคือแหลงน้ำ ไมวาจะน้ำดื่ม น้ำใชในครัวเรือน น้ำที่ใช ในการเพาะปลูก ชาวบานนาหอก็อาศัยแหลงน้ำ คือลำน้ำหมัน สมัยกอนผูคนยังไมมากจึงทำใหลำน้ำหมันสะอาด สามารถใชดื่มได ครั้นตอมาเมื่อมีผูคนมากขึ้นจึงทำใหลำน้ำหมันสกปรก ไมสามารถใชดื่มได ชาวบานจึงหาวิธีทำน้ำ ดื่มโดยการขุดบอน้ำตามเชิงเขาที่มีน้ำซึมใตดิน การทำการเกษตรตองอาศัยลำน้ำหวยบนภูเขาที่สูงแลวทำรองน้ำลง มาหาพื้นที่แปลงเกษตร น้ำหวยบนภูเขาจะไหลตลอดป ถาพื้นที่ทำการเกษตรอยูใกลลำน้ำหมันชาวบานก็จะทำพัด เพื่อเอาน้ำขึ้นไปบนแปลงเกษตร ถาพื้นที่ทำการเกษตรอยูสูงกวาลำน้ำหมัน ก็อาศัยลำหวยบนภูเขาที่สูงทำรองน้ำ ไหลลงสูแปลงที่ทำการเกษตร โดยอาศัยลำหวยน้ำตับที่อยูดานภูผาแดด ปจจุบันชาวบานก็ยังอาศัยลำหวยน้ำตับนี้อยู !

“พัด” หรือระหัดวิดน้ำ หมูบานนาหอตั้งอยูติดกับแมน้ำหมัน ที่นาทำการเกษตรก็อยูติดแมน้ำหมัน การจะเอาน้ำจากแมน้ำหมันขึ้น ไปบนพื้นที่นา เมื่อสมัยกอนยังไมมีเครื่องยนตสูบน้ำ ชาวบานนาหอจึงหาวิธีวิดน้ำขึ้นพื้นที่นา โดยการทำพัดหรือ ระหัดวิดน้ำ ทำดวยไมไผ ใชงานไดเพียง ๑ ป เทานั้น ถึงปตอไปก็ทำใหม ปจจุบันนี้หมูบานนาหอยังมีการทำพัดใชอยู ! จึงกลาวไดวาพัดมีประโยชนหลายอยางตอชาวบานในลุมน้ำหมัน โดยเฉพาะเกษตรกรผูทำนาไดอาศัยพัดวิด น้ำเพื่อทำนา ปลูกพืช และเลี้ยงสัตวไดอยางเพียงพอ โดยไมตองรอน้ำฝน สวนการใชพัดทางการเกษตรจะใชได เฉพาะคนที่มีที่นาอยูใกลลำน้ำหมันเทานั้น หางออกไปไมสามารถใชไดเนื่องจาก น้ำที่พัดขึ้นมาอาจสงแรงไปไมถึง

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

19


พัดหรือระหัดวิดน้ำ ภูมิปญญาทองถิ่นวัฒนธรรมลุมแมน้ำหมัน

ซึ่งปจจุบันชาวบานยังคงใชพัดนี้อยูที่บานนาเวียงและนาหอ

! ขั้นตอนการทำพัด เริ่มตนจากการตัดลำไมไผเปนทอนๆ ยาว ๒ เมตร แลวนำมาตอกลงกลางลำน้ำหมัน เปน แนวสลับฟนปลา และวางรูปเฉียงลงตามลำน้ำหมัน ซึ่งเรียกกันวา “ลงหลักหรวย” เพื่อใหน้ำไหลไปทางเดียวกัน คือ ลงไปที่พัด พัดก็จะหมุนขึ้น พอตอกลงหลักเสร็จแลวคอยนำใบมะพราวหรือปลายไมไผมาใสทับไวใหแนนหนา สวน เสาทวนหรือแกนกลางทำจากแกนไมเนื้อแข็งมีความยาวประมาณ ๖-๗ เมตร เสาทวนนี้จะตองมีความทนทานมาก ! ขณะที่ดุมพัดทำจากแกนไมเนื้อแข็งมีความยาวประมาณ ๒ เมตร หนาประมาณ ๒๐ เซนติเมตร เปนทอน ยาวกลม ดุมจะตองเจาะใหเปนรูเพราะจะไดเอาธนูเสียบ โดยธนูทำจากไมที่อยูในไร จะเปนไมอะไรก็ไดแตตองมีอายุ ประมาณ ๑-๒ ป สวนขื่อจะทำดวยไมไรเชนกัน ทำเปนวงกลม ใชไมไรยาวมัดตอกันเปนวงลอมกลม สำหรับกรงจะ ใชไมไรที่เสียบกับดุมจรดวงพัดเปนวงกลม ! สวนใบพัดใชไมไผผาสับเปนซีกเล็กแลวเอามาสานเปนแพติดไวเปนระยะๆ ตรงกรงและขื่อ ระยะชวงหาง ใหเทากัน เสร็จแลวตอดวยไมไผเปนทอนยาวประมาณ ๑.๕๐เมตร ไมไผนี้จะตองทะลุปลองออก เพื่อที่จะไดตักน้ำ ขึ้นไปเทใสรางน้ำซึ่งอยูขางบนเรียกวา “บั้งพัด” ! ขณะที่บั้งพัดใชไมไผตัดเปนกระบอกยาวประมาณ ๒ ปลอง และจะตองทะลุปลองแลวเอามามัดตัดกับขาง ใบพัด โดยมัดเปนรูปเฉียง เสร็จแลวพัดก็จะหมุนไปเรื่อย ๆ สงน้ำไปตามรางน้ำ ซึ่งจะมีทั้งรางน้ำสั้น คือรางน้ำที่รอง น้ำจากบั้งพัด และรางน้ำยาว คือตองใชไมไผเปนทอนยาวที่ทะลุปลองแลวมาตอกันเปนทอนยาว ที่สงน้ำไหลไปหา นา มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

20


! นอกจากนี้ยังตองทำแพพื้น คือพื้นน้ำขางลางตรงพัดหมุนจะตองทำแพไวใต เพราะกันน้ำเซะพื้น โดยใช ไมไผสับใหเปนแพ (เรียกวาฟาก) ปูลงพื้นดินในน้ำหรือจะใชไมเปนทอนลำยาวก็ไดเหมือนกัน V จึงกลาวไดวา พัดถูกนำมาใชประโยชนเพื่อวิดน้ำทำนามานานแลว พัดจึงมีประโยชนตอคนลุมน้ำหมันมาก เพราะนอกจากไดใชน้ำทำนาแลวยังไดหาปูหาปลางายสะดวกสบาย เพราะเปนแหลงที่อยูอาศัยของสัตวน้ำ เมื่อกอน คนที่มีพัด เรียกไดวาเปนคนที่มีฐานะดีมาก เพราะวาไดทำนามีน้ำทำนาตลอดทั้งป ไมตองรอน้ำจากฝน ไดทำนามี ขาวไวกินและขายตลอดทั้งป ปจจุบันหลายครอบครัวในบานนาเวียงและนาหอยังคงใชพัดอยูเชนเดิม !

การสรางบานเรือนในชุมชนลุมน้ำหมัน

สวนสภาพบานเรือนของชุมชนลุมน้ำหมันทั้ง ๓ ชุมชนมีลักษณะคลายๆ กัน กลาวคือ การดำรงชีวิตของ คนรุนปู ยา ตา ยาย เมื่อ ๖๐–๗๐ ปกอน การสรางที่อยูอาศัย วัสดุอุปกรณในการกอสรางที่อยูอาศัยหาไดจากปา บริเวณรอบหมูบานตรงบริเวณโคกวัว (ปจจุบันคือ โรงเรียนศรีสองรัก) หรือบริเวณโคกนอยที่ตั้งทหารพราน ภูแกงขี้ ควายบานนาหวา การขนไมจากปาสูหมูบานจะอาศัยแรงคนชวยกันแบกหาม ถาเกินกำลังคนก็อาศัยแรงงานสัตว (ควาย) เปนพาหนะลากจูง ! การปลูกบานแลวแตฐานะของแตละครอบครัว ผูมีฐานะดีจะสรางบานถาวร เปนเสาไมเนื้อแข็ง (ไมจริง) ถากเปนเสากลมๆ พื้นแปน ฝากระดาน (พื้นแปน ฝาแปน หมายถึง ไมกระดานที่เลื่อยเปนแผนๆ จากไมเนื้อแข็ง) หลังคามุงดวยแปนเกร็ด (กระเบื้องไม) บานเปนทรงมะลิลา มีจั่ว มีระเบียงหนาบาน กั้นฝาระหวางหองนอนกับ ระเบียง มีประตู ๒ ขาง เวนหองกลาง มีหนาตางดานขางเปนชวงแคบๆ เรียกวาปองเอี้ยมหรือปองเยี่ยม สวนระเบียง ดานหนาปลอยโลง หองนอนโลง แตจะใชผากั้น (ผามาน) กั้นเปนหองนอนของพอ-แมและลูกอยางเปนสัดสวน พื้นที่ของตัวบานจะมีขนาด ๘ X ๑๖ ศอก ปลูกเรือนไฟ (เรือนครัว) แยกตางหาก โดยสรางฐานติดตอกัน ระหวาง เรือนนอนกับเรือนไฟจะมีฮาน (ราน) โองน้ำกิน สวนน้ำใชแยกตั้งไวใกลเรือนครัว น้ำกินน้ำใชไดจากลำน้ำหมัน ใช ภาชนะคุบรรจุ (ตัก) หาบขึ้นมาใสโอง น้ำกิน น้ำใช น้ำกินตองรีบตักแตเชาๆ เพราะน้ำจะใสสะอาดดีในตอนเชา ! รั้วบาน (ฮั้ว) รอบบริเวณบานจะปลูกไมมะเยา (ไมสบู) เปนเสาหลัก ใชไมขาวหลาม หรือไมหางชาง (ไมไผ ชนิดหนึ่ง) เปนเคราใชตอกมัด (ไมตอกทำจากไมไผที่มีอายุไมเกิน ๑ ป) บานสวนมากจะไมมีรั้วจะปลอยโลงๆ สะดวกในการติดตอของเพื่อนบานที่อยูบานใกลเรือนเคียง ! ผูมีฐานะปานกลางจะปลูกบานตามฐานะของตนเอง คือ วัสดุอุปกรณที่ใชจะเปนไมไผ มี เฉพาะเสาเทานั้นที่ จำเปนจะตองใชไมเนื้อแข็ง (เสาไมแกนหมายถึงไมเนื้อแข็งที่ตายแลว สวนที่เปนกระพี้หายไปเหลือเฉพาะแกน ปลวกกัดกินยาก) พื้นฝาทำดวยฟากใชไมไผสับแลวเล็มเปนแผนๆ กอนนำไปแชน้ำเพื่อลดปริมาณน้ำตาลในเนื้อไม ปองกันมอดกัดกิน ถือเปนภูมิปญญาชาวบานที่ไมตองใชสารเคมีมีพิษ ไมไผนี้จะนำมาปูพื้นและกั้นฝา หลังคามุงดวย หญาแฝก (แฝกคือหญาคา นำตนที่มีความสูงประมาณ ๑ วา ทำเปน “ตับ”) การทำหลังคานั้นจะตองทำใหเปนทรง แหลมมีจั่ว ภาษาถิ่นเรียกวา “แปลญอก” (ออกเสียงที่จมูก) ทั้งนี้เพื่อใหเม็ดฝนที่ตกลงมาไหลเร็วไมตกคางบนหลังคา ปองกันการผุพังของแฝก ใหมีอายุใชการไดนานๆ การจัดตับบนหลังคาจะใชไมตอกผูกมัดติดกันใหแนน บาน ประเภทนี้มีอายุใชงานประมาณ ๑๐–๑๕ ป ก็จะตองซอมแซมทุกๆ ป สวนเรือนครัวและเรือนไฟ จะปลูกแยกตาง หาก สวนผูที่มีฐานะยากจนจะปลูกบานเปนตูบ (กระตอบ) วัสดุอุปกรณจะเปนไมไผเกือบทั้งหมด เสาอาจจะเปน ไมจิงหรือไมแกนลอน หรือไมก็ไมมอกปอกลื่ม ไมจิงจะตองทุบเปลือกออก หลังคามุงแฝกใชหวายหรือไมตอกผูกมัด กันโยก มีอายุการใชงาน ๓-๕ ป บานก็ชำรุดตองซอมแซมหรือไมก็รื้อถอนปลูกสรางใหม มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

21


เปนที่นาสังเกตวาการปลูกสรางบานสมัยกอนจะใชหวายหรือไมตอกแทนตะปู การปลูกบานของคนยุคนั้น จะใชแรงงานของคนในหมูบาน อาจเปนเพื่อนบานหรือญาติพี่นองชวยกันทำ จะจายคาจางเฉพาะสวนที่ทำไมเปน เชน บานประตูและหนาตางตองจางคนจากที่อื่น บานสวนใหญนิยมปลูกบานใตถุนสูง ใชเปนที่ผูกวัวควาย เลาไก และตั้งที่ทอผา เก็บฟน และทำงานอื่นๆ ที่ตองอาศัยรมเงา ชาวบานจึงใชใตถุนบานไดสารพัดประโยชนและคุมคา ปจจุบันชาวบานในชุมชนลุมน้ำหมันมักไมใชไมในการสรางบาน กลับหันมานิยมการปลูกบานดวยการกอ อิฐฉาบปูน ใชหลังคาโครงเหล็ก เวนแตประตูหนาตางที่ยังคงใชไม ทั้งนี้เพราะชาวบานมองวา การปลูกบานที่มี ลักษณะแบบนี้ดูทันสมัยและนาอยูมากกวา

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

22


บทที่ ๓ ประวัติศาสตรและความทรงจำ ประวัติศาสตรและความทรงจำคือเหตุการณสำคัญๆ ในอดีตที่สัมพันธกับคนในชุมชนลุมน้ำหมัน เปนการ สังเคราะหขอมูลที่ไดจากเอกสารสำคัญตางๆ ทั้งจากสวนกลาง คือ หนังสือและตำราทั่วไป รวมทั้งจากสวนทองถิ่น ที่นักประวัติศาสตรทองถิ่นไดเรียบเรียงขึ้น นอกจากนี้ยังมีความทรงจำของคนทองถิ่นที่มีการเลาเรื่องถายทอดจาก คนรุนหนึ่งสูอีกรุนหนึ่งอยางไมรูจบ ดานซาย: บริบททางประวัติศาสตรสังคม หลักฐานแรกที่เปนเครื่องยืนยันใหเห็นความสำคัญของ “ดานซาย” ในฐานะเสนการเดินทางของคนสมัย โบราณระหวางนครไทย เขตพิษณุโลก กับเมืองตางๆ ในทองถิ่นอีสานคือการคนพบพระพุทธรูปหินทรายขนาดเทา คน ๒ องค รูปแบบศิลปะทวารวดีแบบทองถิ่นที่เขาสมอแครง เขตพิษณุโลก4 และการคนเสมาหินแบบอีสานที่เมือง นครไทยสลักเปนภาพนูนต่ำรูปสถูปเหมือนที่พบบริเวณลุมแมน้ำชีและลุมน้ำสาขา เชน ในเขตวังสะพุง จังหวัดเลย รวมถึงการคนพบเสมาหิน วัดหนาพระธาตุ สลักพระพุทธรูปนั่งขัดสมาธิเพชร ทำขึ้นในสมัยราวพุทธศตวรรษที่ ๑๙–๒๐ ลงมา แมกระทั่งศิลปวัตถุรูปแบบศิลปะลพบุรีในราวพุทธศตวรรษที่ ๑๘ ที่วัดกลาง เมืองนครไทย เปนตน ! นอกจากนี้จารึกสุโขทัยหลักที่ ๑ ยังกลาวถึงการติดตอกับเมืองเวียงจันทน เวียงคำ วาในสมัยนั้น แมจะไม ปรากฏหลักฐานของการเกิดบานเมืองในบริเวณที่เปนเขตจังหวัดเลยในปจจุบัน หากทวานาจะเริ่มมีหมูบานขึ้น ประปราย เพราะอยูในเสนทางโบราณที่ใชติดตอระหวางเมืองสำคัญของแควนสุโขทัยกับลานชาง คือ เมืองสระ หลวงสองแคว ลุมน้ำนาน และเมืองเวียงจันทน ลุมแมน้ำโขงของภาคอีสานเหนือ เสนทางโบราณที่วานี้คือเสนทางที่ ขึ้นไปตามลำน้ำแควนอย ผานเมืองนครไทย จังหวัดพิษณุโลก ไปยังอำเภอดานซาย กอนตอไปเขตอำเภอวังสะพุง จังหวัดเลย เรื่อยไปจนถึงเวียงจันทนและเวียงคำ เมืองซึ่งมีความสำคัญรองจากหลวงพระบาง ศูนยกลางของ อาณาจักรลานชางในสมัยนั้น ตอมาเมื่อราชอาณาจักรสยามเปนปกแผน มีศูนยกลางอำนาจอยูที่แมน้ำเจาพระยา ยังใชเสนทางนี้ติดตอกับ อาณาจักรลานชาง ผานขึ้นไปตามแมน้ำปาสัก ผานจังหวัดเพชรบูรณ เมืองหลมเกา และวกเขาไปทางดานซายเสน ทางเดิม หรืออาจแยกขึ้นเหนือจากอำเภอวังสะพุง เปนตน ! ขณะที่พงศาวดารกรุงศรีอยุธยา 5 กลาววา สมัยพระบรมไตรโลกนาถเรื่อยมาจนมาถึงสมัยสมเด็จพระ มหาจักรพรรดิ ลวนแสดงใหเห็นถึงการติดตอกันระหวางบานเมืองในลุมน้ำนาน ผานนครไทยไปยังจังหวัดเลย อุดรธานี และบานเมืองทางฝงลาวดวยกันทั้งสิ้น สวนเอกสารที่กลาวถึงกลุมชนใน “เชลียง-กัมพุช” มีอยูในเอกสาร ๒ เลม คือ จดหมายเหตุของบาทหลวงตา ซารต กับจดหมายเหตุของลาลูแบร ที่ทำการบันทึกปากคำของผูรูในกรุงศรีอยุธยาวา บรรพบุรุษของพระเจาอูทอง มาจากทางเหนือ เหมือน “ตำนานสิงหนวัติ” แตแตกตางกันที่มีการระบุวา “ผานเมืองนครไทย” ที่อยูทางตะวันออก 4 ศรีศักร วัลลิโภดม, แองอารยธรรมอีสาน, ๒๕๓๓. 5 ศรีศักร วัลลิโภดม, เรื่องเดียวกัน, ๒๓๙–๒๔๐. มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

23


เฉียงเหนือของเมืองพิษณุโลก แสดงวาคนกลุมนี้เดินทางมาทางลุมแมน้ำโขงเขาสูบริเวณลุมน้ำนาน-ยม ตามเสนทาง คมนาคมที่มีอยูกอน ตั้งแตยุคเหล็กสมัยกอนประวัติศาสตร ราว ๒,๕.. ปมาแลว6 จริงอยูแมพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา จดหมายเหตุของบาทหลวงตาซารต และจดหมายเหตุของลาลูแบรจะไม กลาวถึง “ดานซาย” โดยตรง หากทวาการเดินทางติดตอระหวางกลุมคนสองภูมิภาคนี้ที่ใชเสนทางผานนครไทยยอม หมายความวาตองผานดานซายเชนกัน ดวยเหตุผลที่วาดานซายเปรียบเสมือน “ชุมทาง” กอนที่จะแยกไปตามทอง ถิ่นตางๆ นั่นเอง ! สำหรับทัศนะของกลุมนักวิชาการทองถิ่น7 สันนิษฐานวา เมื่อไทยเราอพยพมาจากดินแดนตอนใตของ ประเทศจีน มาตามลุมแมน้ำโขง โดยมาตั้งอาณาจักรลานนาไทยขึ้น และอีกทางหนึ่งมาตามลุมแมน้ำโขงโดยมาตั้ง อาณาจักรลานนากอนที่จะเขามาสูแควนสุวรรณภูมิ ซึ่งเดิมแควนนี้เปนที่อยูของขอม มอญ ละวา และขอมไดแผ อาณาเขตปกครองแควนสุวรรณภูมิเอาไวทั้งหมด ดังนั้น เมื่อไทยอพยพเขามาสูดินแดนตอนนี้จึงตองมาอยูภายใต การปกครองของขอม ! ชาวไทยที่มาอยูเมืองดานซาย คงเปนชาวไทยที่อพยพมาตามสายลุมแมน้ำโขง คือดินแดนอาณาจักรลานชาง ชาวไทยกลุมนี้มีพอขุนบางกลางหาวและพอขุนผาเมืองเปนหัวหนา (พอขุนบางกลางหาวและพอขุนผาเมืองเชื่อวา เปนเชื้อสายราชวงศสิงหนวัติ) พอขุนบางกลางหาวและพอขุนผาเมืองนำไพรพลขามลำน้ำเหืองแลวเดินทางมาตาม ลำน้ำหมัน จนถึงบริเวณซึ่งเปนที่ราบกวางจึงไดหยุดพักพลและตั้งชุมนุมชนขึ้นที่หมูบานเกา (ขณะนี้เปนหมูบานอยู ในเขตตำบลนาหอ อำเภอดานซาย) จากนั้นพอขุนผาเมืองไดไปตั้งเมืองดานขวาขึ้น (ขณะนี้เปนหมูบานรางอยู ระหวางหมูบานนาเบี้ย กับหมูบานหัวนาแหลม ตำบลนาหอ มีปรากฏซากวัดเกาแกใหเห็นอยูจนถึงทุกวันนี้) สวน พอขุนบางกลางหาวไดตั้งเมืองดานซายขึ้นที่บานนาหอ ตำบลนาหอ แลวจึงยายมาตั้งอยูที่บริเวณหนองคูหรือบาน ดานซายปจจุบัน ! ตอมาพอขุนผาเมืองพาไพรพลอพยพไปสรางเมืองอาศัยอยูชั่วคราวอีกหลายแหง แตเมืองเหลานั้นคงไม เหมาะสำหรับจะใหคนจำนวนมากอาศัยอยูได เพราะสิ่งแวดลอมไมอำนวยจึงอพยพลงมาทางใต สรางเมืองใหมขึ้น มาคือ เมืองราด8 ! สวนพอขุนบางกลางหาวพาผูคนอพยพไปอยูที่เมืองบางยาง (ปจจุบันคืออำเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก) สวนเมืองดานซายภายหลังที่พอขุนบางกลางหาวอพยพไปแลวยังคงตั้งเปนเมืองตลอดมา กระทั่งกอน พ.ศ. ๑๘๐๐ (ราว พ.ศ.๑๗๙๗) พอขุนบางกลางหาวเจาเมืองบางยางกับพอขุนผาเมืองเจาเมืองราด ไดรวมทำการรบกับขอมจนมี ชัยชนะ ยึดแควนสยามจากหัวหนาขอมชื่อวา “โขลนลำพง” แลวตั้งราชอาณาจักรไทยขึ้น มีกรุงสุโขทัยเปนราชธานี ตั้งแต พ.ศ. ๑๘๐๐ เปนตนมา เมื่อขึ้นครองราชสมบัติ พอขุนบางกลางหาวจึงเปลี่ยนพระนามเปนพอขุนศรีอินทรา ทิตย ปฐมกษัตริยผูครองกรุงสุโขทัย ! ขณะที่พอขุนบางกลางหาวตั้งตนเปนใหญอยูที่นครบางยาง สันนิษฐานวาไดตั้งเมือง “ดานซาย” เปนเมือง หนาดานทางดานตะวันออก แบบราชธานีของไทยสมัยโบราณ ที่ตองมีเมืองหนาดานอยูทั้งสี่ทิศ และเมืองดานซายก็ อยูไมไกลจากนครบางยางนัก หากเดินอยางแข็งขันวันเดียวก็ถึง 6 สุจิตต วงษเทศ, เอกสารเรื่องชำระประวัติศาสตรแควนสุโขทัย กรณี เมืองพิษณุโลก, ๒๕๔๖,

หนา ๔๐–๔๑.

7 สาร สาระทัศนานันท, พระธาตุศรีสองรักและเมืองดานซาย, ๒๕๒๘, สมชาย พุมสะอาด และประเสริฐ

ลีวานันท, ๗๓ จังหวัด เลม ๓, ๒๕๒๙ : ๕๓๐–๕๓๑.

8 นักวิชาการทองถิ่นกลุมนี้สันนิษฐานวา เมืองราดเปนเมืองศรีเทพ เขตทองที่อำเภอศรีเทพและอำเภอวิเชียรบุรี จังหวัดเพชรบูรณ มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

24


ดานซายคงตั้งเปนเมืองเพื่อประชิดแดนขอมมาแตครั้งนั้น แตเนื่องจากภูมิประเทศประกอบไปดวยภูเขา พื้นที่ราบมีจำกัด ผูคนที่อพยพมาจึงมีจำนวนนอย เมืองที่ตั้งจึงยังคงเปนเมืองที่เล็กตลอดมา ในขณะที่คำวา “ดานซาย” ไดมีผูสันนิษฐานวา เปนเพราะเมืองดานซายอยูทางซายของเมืองบางยาง บาง กระแสวาเปน “ดานชาง” ทั้งนี้คงมาจากที่ตั้งของเมืองนี้อยูตอแดนอาณาจักรลานชางอันเปนที่ชางปาอาศัยเดินทาง ไปมา และที่ตั้งของเมืองก็มีชางลงกินโปงอยูกอน (ที่ใกลเนินนาขาซึ่งเปนที่ตั้งของสถานีตำรวจภูธรชายแดน) ดังนั้น จึงไดตั้งชื่อวา “เมืองดานชาง” จนเมื่อกลายมาเปนเมืองหนาดานของพอขุนบางกลางหาวจึงเปลี่ยนมาเปนเมือง “ดานซาย“ เพราะเปนดานที่อยูทางซายของเมืองบางยางเมื่อหันหนาไปทางทิศใต ดังที่กลาวมาแลว ! อยางไรก็ตาม แมขอสรุปประเด็นทางประวัติศาสตรยังมีขอเสนอที่ขัดแยงกันในสวนของที่ตั้งของเมือง ตางๆ หากทวาขอถกเถียงและการนำเสนอของนักวิชาการเหลานี้ ก็ทำใหเห็นวา ดานซายคือเมืองหนึ่งที่ตั้งอยูบน เสนทางการคาโบราณของคนสมัยกอน ที่ใชเดินทางติดตอระหวางแองที่ราบอีสานและลาวกับพื้นที่ในที่ราบลุมน้ำ เจาพระยาตอนเหนือ อันเปนศูนยกลางความเจริญของสยามประเทศในอดีต ขณะที่ศิลาจารึกพระธาตุศรีสองรัก9 พ.ศ. ๒๑๐๖ ของเมืองดานซาย จังหวัดเลย แสดงใหเห็นวาอำนาจทั้ง สองฝาย (อาณาจักรสยามกับลาวลานชาง) กำลังแพรอิทธิพลอยูนั้น สงผลกระทบตอกันในอาณาบริเวณระหวางแม น้ำเหืองกับแมน้ำปาสักตอนบน อาจกลาวไดวาเพชรบูรณเปนที่มั่นสำคัญแหงหนึ่งของอาณาจักรอยุธยา สำหรับ ปองกันการลวงล้ำเขามาของอาณาจักรลานชาง พรอมกันนั้นเสนทางตามแมน้ำปาสักนาจะเปนเสนทางการคาอัน สำคัญ ซึ่งนำของปานานาชนิดในลุมแมน้ำโขงและน้ำเหืองเขามาอยุธยาในยามปกติดวย ดังนั้นดานซายจึงเปรียบเสมือนมุมหนึ่งของเครือขายทางเศรษฐกิจระหวางพุทธศตวรรษที่ ๒๒–๒๓ ที่มีรูป ทรงสามเหลี่ยม เพราะศิลาจารึกพระธาตุศรีสองรักแสดงใหเห็นวา กลางพุทธศตวรรษที่ ๒๒ อำนาจทางการเมือง ของลานชางกับอาณาจักรอยุธยาไดบรรจบกันในบริเวณแมน้ำเหืองกับลุมแมน้ำปาสักตอนบน แตความจริงแลว อาณาจักรลานชางใชวาเพิ่งมีสวนเกี่ยวของกับบริเวณดังกลาวในขณะนั้นเทานั้น เพราะเมื่ออาณาจักรไดเวียดมา รุกรานหลวงพระบาง (พ.ศ. ๒๐๒๒) พระเจาไชยจักรพรรดิแผนแผว (พ.ศ. ๑๙๘๕–๒๐๒๓) แหงอาณาจักรลานชาง หลบหนีลงเรือลองมาเมืองเชียงคาน จังหวัดเลย ขณะเดียวกัน ทาวแทนคำ โอรสของพระเจาไชยจักรพรรดิแผนแผว ก็ไดครองเมืองดานซายอีกดวย แสดงวาอยางชาที่สุด ในราวครึ่งหลังพุทธศตวรรษที่ ๒๑ บริเวณลุมน้ำเหืองไดเขามา อยูภายใตอิทธิพลของอาณาจักรลานชางแลว10 จากขอเสนอดังกลาวจึงเปนไปไดวา บริเวณดังกลาวซึ่งรวมถึง “ดานซาย” นาจะมีบทบาททางเศรษฐกิจมา ชานาน ในฐานะที่เปนจุดเชื่อมโยงเมืองหลวงพระบางกับเมืองในลุมแมน้ำปาสักและลุมแมน้ำเจาพระยาตอนลาง ซึ่ง สอดคลองกับประวัติความเปนมาของอำเภอดานซาย จังหวัดเลย11 ที่วาอำเภอนี้เดิมเปนเมืองโบราณตั้งขึ้นในสมัย อยุธยา อาจตั้งขึ้นในรัชสมัยของสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ (พ.ศ. ๒๐๙๑-๒๑๑๑) เพื่อใชเปนที่รวบรวมพลและ อำนวยความสะดวกแกประชาชนพลเมืองทั้งฝายกรุงศรีอยุธยาและกรุงศรีสัตนาคนหุต ที่ถูกเกณฑมาสรางพระธาตุ ศรีสองรัก เพราะปรากฏในศิลาจารึกวา พระธาตุองคนี้ตองใชเวลากอสรางนานถึง ๓ ป จึงจำเปนอยางยิ่งที่จะตอง จัดหาที่พักอาศัยใหแกราษฎรจำนวนมาก 9 อางจาก, ยูชิมากิ มาซูฮารา, ราชอาณาจักรลาวลานชาง. ๒๕๔๐, หนา ๗๐. 10 เพิ่งอาง.

11 กาญจนา สวนประดิษฐ, ผีตาโขน ศึกษาเฉพาะกรณีอำเภอดานซาย วิทยานิพนธศิลปศาสตรมหาบัณฑิตไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัย

ศรีนครทรวิโรฒ มหาสารคาม, ๒๕๓๓. มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

25


! สมัยสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ แหงกรุงศรีอยุธยา เมืองดานซายยังมีบทบาทสำคัญทางประวัติศาสตร กลาว คือสมัยพระเจาตะเบงชะเวตี้พระเจาแผนดินพมาไดยกกองทัพมาตีกรุงศรีอยุธยา พระมหาจักรพรรดิยกกองทัพออก รบเพื่อปองกันพระนครและไดสูญเสียพระศรีสุริโยทัยพระมเหสีไปในขณะที่ชนชางกับพระเจาแปรแมทัพหนาของ พระเจาตะเบงชะเวตี้ ตอมาเมื่อพระเจาตะเบงชะเวตี้สิ้นพระชนม พระเจาบุเรงนองไดเปนพระเจาแผนดินสืบตอมา ทางพมากำลังเขมแข็งยิ่งขึ้น หาเรื่องตีกรุงศรีอยุธยา โดยแตงพระราชสาสนมาขอชางเผือกจากไทย แตไทยไมยอม จึง เกิดศึกหลายคราว ! ฝายกรุงศรีอยุธยามีสมเด็จพระมหาจักรพรรดิเปนพระเจาแผนดิน และกรุงศรีสัตนาคนหุต (เวียงจันทน) มี พระเจาไชยเชษฐาเปนพระเจาแผนดิน เมื่อเห็นพมามีกำลังเขมแข็งจึงอยากไดพันธ-มิตรเพื่อรวมกันรบพมา ทั้งสอง นครจึงทำสัญญาทางพระราชไมตรี โดยรวมใจกันสรางพระเจดียองคหนึ่งขึ้นที่เมืองดานซาย เมื่อ พ.ศ. ๒๑๐๓ ตรง กับปวอก โทศก จุลศักราช ๙๒๒ และสรางเสร็จเมื่อ พ.ศ. ๒๑๐๖ ตรงกับปกุน เบญจศก จุลศักราช ๙๒๕ เพื่อเปน สักขีพยานแหงการทำสัญญาทางพระราชไมตรี และเปนเครื่องหมายเขตแดนระหวางสองพระนครพระเจดียองคนี้ จึงไดชื่อวา “พระธาตุศรีสองรัก” ! เปนที่นาสังเกตวา การสรางพระเจดียตองใชเวลานาน จำเปนตองเกณฑราษฎรทั้งชาวไทยและลาวมาชวย กันสราง ผูคนที่ถูกเกณฑมานี้จึงจำเปนตองสรางบานเรือนและไรนา เกิดเปนหมูบานตางๆ รอบๆ บริเวณองคพระ ธาตุ เชน หมูบานนาไทย (ชาวไทยกรุงศรีอยุธยา) บานนาเวียง (ชาวเวียงจันทน) และบานนาผาขาว (คือพวกพระ สงฆและพราหมณที่มารวมทำพิธีสรางพระเจดียนี้) หมูบานตางๆ เหลานี้จึงปรากฏอยูในปจจุบัน12 ! ลวงเขาสูสมัยรัตนโกสินทร เมืองดานซายจัดเปนเมืองอยูในเขตภาคเหนือมาโดยตลอดจนกระทั่งในป พ.ศ. ๒๔๓๓ ตรงกับสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ทรงพระราชดำริวา การปกครองแผนดินแบบ แบงเมืองตามฐานะเมืองเอก โท ตรี และจัตวา หัวเมืองใหญมีอำนาจควบคุมหัวเมืองนอยนั้นยังมีดินแดนที่อยูหาง พระเนตรพระกรรณอีกมาก ทั้งที่ยังหางไกลความเจริญ ประกอบกับในชวงเวลาดังกลาว ดินแดนอินโดจีนกำลังถูก รุกรานจากประเทศมหาอำนาจลาเมืองขึ้น ฝรั่งเศสเขายึดครองประเทศเวียดนามและประเทศกัมพูชา พระบาท สมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวจึงมีตราสารโปรดเกลาฯ ใหจัดการบริหารราชการสวนภูมิภาคขึ้นใหม โดยได รวมหัวเมืองเอก โท ตรี และจัตวา เขาดวยกันแลวแบงออกเปน ๔ กองใหญ หรือเรียกกันวาหัวเมืองลาว ๔ ฝาย ซึ่ง ประกอบดวยหัวเมืองลาวฝายตะวันออก หัวเมืองลาวฝายตะวันออกเฉียงเหนือ หัวเมืองลาวฝายเหนือและหัวเมือง ลาวฝายกลาง13 ! เฉพาะหัวเมืองลาวฝายเหนือไดรวมเมืองตางๆ ๕๔ เมือง เขาดวยกันรวมเรียกกันวาหัวเมืองลาวฝาย เหนือ ในจำนวนเมืองที่อยูในหัวเมืองลาวฝายเหนือนั้นมีเมืองดานซายรวมอยูดวย ในเอกสารตราตั้งซึ่งเปนหนังสือ สำคัญที่เจากระทรวงประทับตราสงไปยังหัวเมืองตางๆ เรียกวา “เมืองดานซาย” ขึ้นกับเมืองหลมสัก ตอมาในชวง พ.ศ. ๒๕๓๕ มีการปฏิรูปการปกครองทองถิ่นออกเปนมณฑล จึงไดโอนเมืองดานซายมาขึ้นกับมณฑลพิษณุโลก จน กระทั่ง พ.ศ. ๒๔๕๐ จึงโอนมาสังกัดจังหวัดเลย 14

12 สุดารา สุจฉายา และปาริชาติ เรืองวิเศษ. เลย, ๒๕๓๘, หนา ๒๒–๒๓. 13 เติม วิภาคยพจนกิจ, ประวัติศาสตรลาว. ๒๕๓๐, หนา ๓๔๗–๓๖๘. 14 เพิ่งอาง. มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

26


ในทัศนะของชาวบานทั่วไป เดิมมักเขาใจกันวาเมืองดานซายเปนดินแดนที่อยูในเขตภาคเหนือ เชนเดียวกับ เมืองหลมสัก เมืองนครไทย และเมืองพิษณุโลก เพราะจากหลักฐาน 15 ปรากฏวา กอนหนานี้คือสมัยพระบาทสมเด็จ พระจอมเกลาเจาอยูหัวแหงกรุงรัตนโกสินทร มีหลักฐานบันทึกวา จังหวัดเลยมีชุมชนหนาแนนขึ้นทั้งหมด ๓๓ ชุมชน ตอมาในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวไดพัฒนาขึ้นเปนอำเภอตางๆ คือ อำเภอกุดปอง (ปจจุบันเปนอำเภอเมือง) อำเภอทาลี่ และอำเภอนากอก อำเภอตางๆ เหลานี้ขึ้นอยูกับมณฑลอุดร สวนเมืองเชียงคาน ขึ้นอยูกับเมืองพิชัย วังสะพุงขึ้นอยูกับหลมสัก ขณะที่ดานซายจะขึ้นอยูกับมณฑลพิษณุโลก ตอมาเมื่อลัทธิลาอาณานิคมเขามามีอิทธิพลตามประเทศตางๆ ในภูมิภาคอินโดจีน เมืองดานซายจึงตกอยู ภายใตการปกครองของฝรั่งเศสอยูระยะหนึ่ง เมื่อครั้งไทยเสียดินแดนฝงขวาของแมน้ำโขงซึ่งอยูตรงขามกับหลวง พระบางใหแกฝรั่งเศส ตามสนธิสัญญาระหวางไทยกับฝรั่งเศส ซึ่งตกลง ณ กรุงปารีส ลงวันที่ ๑๓ กุมภาพันธ ค.ศ. ๑๙๐๔ (พ.ศ. ๒๔๖๖ หรือ ร.ศ.๑๒๒) เนื่องจากการวัดเขตแดนจากแมน้ำโขงมาตามลำแมน้ำเหือง พอมาถึงตอนลำ แมน้ำหมันไหลตกแมน้ำเหืองก็วัดวกเขามาตามลำน้ำหมันอีก เมืองดานซายซึ่งตั้งอยูทางฝงซายของลำแมน้ำหมันจึง ตกเปนของฝรั่งเศส ขณะนั้นเมืองดานซายตั้งเปนอำเภอไดไมนาน ทางฝายไทยจึงไดยายที่ทำการของอำเภอไปอยู บานนาขามปอม ตำบลรองจิก อำเภอภูเรือ (สมัยนั้นพื้นที่เขตอำเภอภูเรือขึ้นกับอำเภอดานซาย) เปนการชั่วคราว และเรียกวาอำเภอนาขามปอม ตอมาไทยไดทำสนธิสัญญากับฝรั่งเศสอีกครั้ง ลงวันที่ ๒๓ มีนาคม ค.ศ.๑๙๐๗ (พ.ศ. ๒๔๔๙ หรือ ร.ศ. ๑๒๕) โดยไทยยอมยกเมืองพระตะบอง เสียมราฐ และศรีโสภณ ใหแกฝรั่งเศส ฝายฝรั่งเศสยอมคืนเมืองดานซาย เมืองตราด และเกาะทั้งหลายที่อยูใตแหลมลิงลงไปจนถึงเกาะกูดใหแกไทย ดังนั้น เมืองดานซายจึงคืนมาเปนของ ไทย โดยนัยแหงสนธิสัญญาฉบับดังกลาวรวมเวลาที่เมืองดานซายตกเปนของฝรั่งเศสอยู ๓ ป ๑ เดือน ๑๐วัน เจาเมืองคนสุดทายของเมืองดานซายคือ พระแกวอาสา (กองแสง) ซึ่งกอนที่เมืองดานซายจะตกเปนของ ฝรั่งเศสไมกี่ปไดอพยพไปอยูที่บานหาดแดง แขวงเมืองแกนทาว (ปจจุบันอยูในเขตประเทศสาธารณรัฐ ประชาธิปไตยประชาชนลาว) และเมื่อเมืองดานซายเปนของฝรั่งเศส พระแกวอาสาไดกลับมาเปนเจาเมืองดานซาย อยูชั่วขณะหนึ่ง พอเมืองดานซายกลับมาเปนของไทยแลว พระแกวอาสาก็กลับไปอยูบานหาดแดงอีก และถึงแก อนิจกรรมที่นั่น ! เมื่อทางการประกาศพระราชบัญญัติปกครองทองที่ ร.ศ.๑๑๖ (พ.ศ. ๒๔๔๐) จึงเปลี่ยนการปกครองแบบ เดิมมาเปนแบบเทศาภิบาล แบงทองที่ออกเปนมณฑล เมือง อำเภอ ตำบล หมูบาน เมืองดานซายไดเปลี่ยนฐานะเปน อำเภอดานซาย โดยนัยแหงพระราชบัญญัติปกครองทองที่ดังกลาวจึงขึ้นอยูในมณฑลพิษณุโลก ตอมาอำเภอดานซาย ไดโอนมาอยูในเขตการปกครองของจังหวัดเลยเมื่อ พ.ศ. ๒๕๔๐ ตามประกาศของกระทรวงมหาดไทย ลงวันที่ ๔ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๐ และยังคงขึ้นอยูในเขตการปกครองของจังหวัดเลยมาจนกระทั่งถึงปจจุบัน ! จึงเห็นไดวาหลังจากลัทธิจักรวรรดินิยมตะวันตกไดเบงบานในชวงตนรัตนโกสินทร สงผลใหรัฐไทยตอง ปรับเปลี่ยนนโยบายในการบริหารประเทศใหทัดเทียมอารยประเทศ นับจากสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยู หัวเรื่อยมา จนสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ที่มีการปฏิรูปการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมครั้งใหญ อาทิ การแบงเขตการปกครองเปนหมูบาน ตำบล อำเภอ และจังหวัด ดังที่กลาวมาแลว หรือการปฏิรูปการศึกษาที่เรง สงเสริมใหสรางโรงเรียนประชาบาลในทุกหมูบานที่มีวัด รวมทั้งสงเสริมใหประชาชนเรงผลิตผลทางการเกษตรเพื่อ

15 ธวัช

ปุณโณทก, ศิลาจารึกอีสาน. ๒๕๓๒, หนา ๑๙๗.

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

27


สงออก ทำใหเกิดพืชเศรษฐกิจ อาทิ ขาวโพด ถั่วลิสง มันสำปะหลัง และออย เปนตน ขยายตัวไปทั่วหัวระแหง เปนตน โดยทั้งหมดอยูภายใตการกำกับดูแลจากรัฐสวนกลาง ! อยางไรก็ตามนโยบายดังกลาวกลับสงผลกระทบกับดานซายในแงภูมิศาสตรการปกครอง กลาวคือ มีการ กำหนดขอบเขตของอำเภอ ตำบล และหมูบานขึ้นใหม ขณะเดียวกันก็แตงตั้งผูนำการปกครองอยางเปนทางการทั้ง นายอำเภอ กำนัน และผูใหญบาน รวมทั้งมีการสรางโรงเรียนประชาบาลดานซาย และกอตั้งสรางงานสาธารณสุข ตรงขามกับการสรางถนนหนทาง และสาธารณูปโภคตางๆ อาทิ ไฟฟาและประปา กับพัฒนาในชวงหลังหรือในยุค ปจจุบัน โดยเฉพาะอยางยิ่ง การพัฒนาดานสาธารณูปโภคพื้นฐานดังกลาวนาจะเปนผลพวงมาจากการที่ทางการ ประกาศใชแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติในสมัยจอมพลสฤษดิ์ ธนะ-รัชต ชวงป พ.ศ. ๒๕๐๐ โดยมี วัตถุประสงคที่จะพัฒนาใหประชาชนมีสภาพความเปนอยูที่ดี แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑ นั้นระบุวัตถุประสงคสำคัญ คือ การยกมาตรฐานการครองชีพของประชาชนใหมีระดับสูงขึ้นกวาเดิม ดวยการระดมและใชทรัพยากรเศรษฐกิจ ของประเทศใหเปนประโยชนมากที่สุด เพื่อขยายการผลิตและเพิ่มพูนรายไดประชาชาติไดรวดเร็วยิ่งขึ้น หรือจะ กลาวอีกนัยหนึ่งเปนการเพิ่มปริมาณสิ่งของและใหบริการแกประชาชนแตละคนใหสูงมากขึ้น อันเปนทางชวยให ประชาชนสามารถดำรงชีพอยูไดดวยความผาสุกทั้งในดานวัตถุและดานจิตใจ ! นับแตนั้นมา เมืองดานซายก็อยูในการปกครองของจังหวัดเลยมาจนถึงปจจุบัน ในป พ.ศ. ๒๕๑๑ ไดมีการ แยกพื้นที่การปกครองในอำเภอดานซายสวนหนึ่งออกมาเปนอำเภอภูเรือ ในป พ.ศ. ๒๕๑๓ ไดแยกพื้นที่การ ปกครองบางสวนออกมาเปนอำเภอนาแหว16 อีกตัวอยางหนึ่งคือยุคที่ลัทธิคอมมิวนิสตกำลังเฟองฟู พื้นที่ดานซายและอำเภอใกลเคียงหลายสวนก็ตกอยู ในพื้นที่สีชมพู (ที่ซองสุมของผูกอการรายคอมมิวนิสต) ฝายรัฐพยายามใชนโยบายตางๆ มากมายเพื่อกำจัดลัทธิดัง กลาวใหหมดไป ยุทธวิธีหนึ่งคือการสรางเสนทางคมนาคม การสงกระแสไฟฟา ระบบน้ำ และบริการสาธารณสุขให ถึงยังพื้นที่สีชมพู ชวงเวลานั้นเอง ถนนหนทางและความเจริญตางๆ จากเมืองไดไหลทะลักสูหมูบานมากมาย รวม ทั้งพื้นที่ในอำเภอดานซายดวยเชนกัน แมกระทั่งการที่รัฐพยายามผลักดันนโยบายสงเสริมการทองเที่ยว เพื่อเสริมรายไดในยามที่เศรษฐกิจของ ประเทศตกต่ำ เชน แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๕ ชวงป ๒๕๓๐–๒๕๓๔ มีการประกาศเปนปสงเสริมการทองเที่ยวไทย พรอมทั้งพัฒนาและปรับปรุงแหลงทองเที่ยวตางๆ มากมายรวมทั้งพื้นที่ในจังหวัดเลยที่สมบูรณไปดวยแหลงทอง เที่ยวทางธรรมชาติและวัฒนธรรม17 และการละเลนผีตาโขนในงานบุญหลวงดานซายก็ถูกเปดตัวใหสังคมทั้งระดับ ประเทศและโลกไดรับรูกันอยางกวางขวาง กลายเปนงานประเพณีที่ถูกบรรจุอยูในแผนสงเสริมการทองเที่ยวของ การทองเที่ยวแหงประเทศไทย ดังนั้นการจะทำความเขาใจตอสภาวการณการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมในอำเภอดานซายใน รอบครึ่งศตวรรษหลัง กรอบแนวคิดเรื่องแผนพัฒนาประเทศที่สืบเนื่องจากแผนดินพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจา อยูหัว จนกระทั่งมีการนำแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติในรัชกาลปจจุบัน นาจะใชเปนแนวทางสืบคนและ ทำความเขาใจพัฒนาการทางประวัติศาสตรสังคมรวมสมัยของวัฒนธรรมลุมน้ำหมันในเขตอำเภอดานซาย จังหวัด เลย ใหเขาใจยิ่งขึ้น 16 สำนักงานอำเภอดานซาย, เอกสารประกอบรายงานอำเภอ, ๒๕๓๕ : ๕. 17 การทองเที่ยวแหงประเทศไทย,การติดตามและประเมินผลโครงการปทองเที่ยวไทย. ๒๕๓๐, หนา ๑๐– ๒๗. มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

28


ถนนสายดานซาย-ปากหมัน ผลของการพัฒนาอันเนื่องมาจากการปราบปรามผูกอการรายคอมมิวนิสตเมื่อ ๓๐ ปกอน

ชุมชนลุมน้ำหมัน: เรื่องเลาและความทรงจำ

ชุมชนลุมน้ำหมันเรื่องเลาและความทรงจำ ในหัวขอนี้จะทำใหเห็นพัฒนาการของชุมชนและหมูบานใน ชุมชนลุมน้ำหมันที่สัมพันธกันอยางใกลชิด โดยเฉพาะในแงความสัมพันธทางสังคมที่เห็นเปนภาพเคลื่อนไหว ราวกับมีชีวิตในมิติปจจุบัน นับจาก เรื่องเลาของบานนาหอ นาเวียง และดานซาย เริ่มแรกบานนาหอมีชื่อเดิมวาบานนาเหาะ เหตุที่ชื่อบานนาเหาะเพราะมีที่มาจากเรื่องเลาจากคนเฒาคนแกที่ วา ทาวเหาะหานาง ซึ่งตอมาเปนที่ตั้งหอโรงของเจาเมืองดานซาย (พระแกวอาสา ทาวกองแสง) และที่ตั้งหอโรงเจา เมืองอยูที่บริเวณวัดศรีภูมิบานนาหอ (วัดศรีภูมิสรางเมื่อ พ.ศ. ๒๐๓๕) มีขาทาสบริวารรับใชเจาเมือง ตอมาได เปลี่ยนเปนบานนาหอ ขึ้นกับตำบลดานซาย ดวยเหตุที่ตั้งของหอโรงของเจาเมืองดานซายนี้เอง ชาวบานจึงพากันเรียกชื่อหมูบานตามวา บานหอ ตอมา พากันเติมคำวา “นา” ลงขางหนาหอโรงเพราะมีที่นาอยูใกลบาน แลวตัด “โรง” ออกคงเหลือแตนาหอจึงพากันเรียก บานนาหอมาจนทุกวันนี้ การกอตั้งของชุมชน มีเรื่องเลาขานวา เปนกลุมคนที่อพยพมาจากประเทศลาว อาศัยตั้งบานเรือนตามลำน้ำ หมัน เปนหมูบานเล็กๆ ดั้งเดิม คนในอำเภอเดนซาย โดยเฉพาะชาวบานนาหอ เปนคนที่อพยพมาจากตอนใตของ ประเทศจีนลงมาตามลุมแมน้ำโขงเขามาในเขตลาว แถวเมืองเกาะ เมืองฮัม เมืองบอแตน โดยมีผูนำสองทานคือ มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

29


พอขุนบางกลางทาว และพอขุนผาเมือง พอมาถึงเมืองบอแตนก็อพยพขามลำน้ำเหืองกอนเขาสูลำน้ำหมัน ตั้งบาน เรือนอยูที่บานเกาเปนแหงแรก กระทั่งตอมาบานเกามีผูคนมากขึ้นจึงขยายหมูบานออกไป กลายเปนบานนาหอ ตามประวัติศาสตรที่เลาสืบตอกันมา พอขุนบางกลางทาวก็มาตั้งอยูที่นี่ (หมายถึงพื้นที่ในอำเภอดานซาย) หลายป แตไมอาจระบุไดวาเมื่อใด เห็นวาเมืองดานซายออกจะคับแคบก็พาไพรพลสวนหนึ่งอพยพไปอยูที่อำเภอ นครไทย สวนพอขุนผาเมืองยายไปอยูที่เมืองราด ปจจุบันเปนเขตอำเภอวิเชียรบุรี จังหวัดเพชรบูรณ จากคำบอกเลาของผูเฒาผูแกประกอบกับหลักฐานการสรางวัดศรีภูมิ ระบุไวป พ.ศ. ๒๐๓๕ สรางในสมัย อยุธยา สวนวัดพระธาตุศรีสองรักสรางป พ.ศ. ๒๑๐๓ แลวเสร็จป พ.ศ. ๒๑๐๖ จึงเปนหลักฐานยืนยันวา บานนาหอ นาจะเปนเมืองที่เกากวาบานดานซาย สวนพระภิกษุรูปใดเปนเจาอาวาสองคแรกนั้น ไมมีใครทราบประวัติที่แนชัด ดังนั้นวัดศรีภูมินาจะมีความสัมพันธกับพระแกวอาสาในแงที่วา ทานเคยมีบานอยูที่บานนาหอ ขางๆ วัดศรี ภูมิซึ่งเรียกกันวา “หอโฮง” หรือ “หอโรง” คนรุนกอนเคยเห็นซากบานปรากฏอยู เตียงนอน สิ่งของเครื่องใช กระโถน และถวยชามของพระแกวอาสาก็ปรากฏและเก็บรักษาไวที่วัด ! บานนาเวียงเปนหมูบานหนึ่งในตำบลดานซาย การกอตัวของชุมชนยากที่จะคนควาเรื่องราวใหแนชัดวากอ ตัวขึ้นมาไดอยางไร อยางไรก็ดีมีเรื่องเลาขานวาคนที่อาศัยอยูในเมืองดานซาย เปนกลุมคนไทยนอยที่อพยพมาตามลุม แมน้ำโขง มีพอขุนผาเมืองนำไพรพลขามลำน้ำเหือง เดินทางตามลำน้ำหมัน มาหยุดพักและตั้งชุมชนที่บานเกากอน สวนพอขุนบางกลางทาวมาอยูที่บานนาหอ แลวจึงมาตั้งเมืองดานซายอยูที่หนองคู ! ตามตำนานเลาขานกันวา การกอตัวของชุมชนบานนาเวียงบริเวณริมน้ำหมันและบริเวณทุงนา ซึ่งตั้งหาง จากอำเภอดานซายไปทางทิศเหนือประมาณ ๒ กิโลเมตร เชื่อกันวา ชาวพระนครทั้งสองกลุมคือกรุงศรีอยุธยาและ กรุงศรีสัตนาคนหุต (เวียงจันทน) มารวมกันสรางพระเจดียศรีสองรักษ ชาวเวียงจันทนไดเดินทางมาพำนักอยูทุงนา หมูบานนี้จึงไดชื่อวาบานนาเวียง ดังนั้นจึงเปนไปไดวาบรรพบุรุษของชาวบานนาเวียงนี้คงมีเชื้อสายมาจากลาวเวียงจันทนและกลุมไทยนอย ตามตำนาน ๒ เรื่องที่เลาขานมา ! จวบจนกระทั่งพระแกวอาสา (ทาวกองแสง) เปนเจาเมืองดานซาย เอาใจใสปกครองบานเมือง ทรงทำนุ บำรุงพระพุทธศาสนาในเขตปกครองใหเจริญรุงเรือง ไดพาชาวบานรวมกันสรางโบสถ เจดีย กุฏิ และกำแพง ตามวัด ตางๆ มากมาย เชน ที่วัดโพนชัยบานเดิ่น วัดศรีสะอาดบานหนามแทง วัดศรีภูมิบานนาหอ วัดศรีสะอาดบานเกา รวม ทั้งวัดโพธิ์ศรีบานนาเวียง เปนตน ! สิ่งที่นาสนใจอีกประการหนึ่งจากเรื่องเลาและความทรงจำก็คือ ผูนำทองถิ่นผูมีนามวา พระแกวอาสาหรือ ทาวกองแสง ! พระแกวอาสา เปนเจาเมืองดานซาย ตามประวัติเลาสืบตอกันมาวา ทานเกิดเมื่อป ๒๓๘๕ เปนบุตรของ พระมหาณรงคกับนางกำตา ศึกษาเลาเรียนทั้งการตอสูและคาถาอาคมจากผูมีความรูสมัยนั้น และศึกษาอักษรธรรม จากวัด จนเชี่ยวชาญทั้งสองแขนงวิชา ! เมื่อถึงวัยสรางครอบครัวไดแตงงานกับนางทวม บุตรของหัวหนาแสน มีบุตรธิดากับนางทวมดวยกัน ๔ คน สืบทอดลูกหลานจนกระทั่งปจจุบัน ดังเห็นไดจากคนสายตระกูล “สิงหประเสริฐ” และ “ศรีณรงคฤทธิ์” (นามสกุล ศรีณรงคฤทธิ์เปลี่ยนจากสิงหประเสริฐ) ! กระทั่งป พ.ศ. ๒๔๑๗ สมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว พวก “ฮอ” เขามายึดครอง หลวงพระบาง ขณะนั ้ น ยั ง เป น ส ว นหนึ ่ ง ของไทย รั ช กาลที ่ ๕ โปรดเกล า ฯ ให เจ า พระยาสุ ร ศักดิ์มนตรีเปนแมทัพใหญไปปราบฮอ มีการระดมพลในเขตเมืองพิษณุโลก สวรรคโลก สุโขทัย และพิชัย เขามา มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

30


สมทบกับทหารจากกรุงเทพฯ ทหารเมืองดานซายซึ่งขึ้นตรงกับพิษณุโลกจึงถูกเกณฑเขาสมทบกับกองทหารครั้ง นั้นจำนวน ๑๐๐ กวาคน โดยการนำของพระแกวอาสา (ทาวกองแสง) เรื่องเลามีอยูวา เมื่อพระแกวอาสาเคลื่อนพลไปปราบฮอ ขณะกำลังจะขี่ชาง ทานใหทหารเอกนำหอกและ งาวเสียบหามตนเองขึ้นคอชางดวย เพื่อแสดงความเปนผูอยูยงคงกระพันใหเห็นเพื่อสรางขวัญใหกองกำลังทหาร จน เปนที่ร่ำลือมาก ภายหลังปราบฮอไดสำเร็จ รัชกาลที่ ๕ โปรดเกลาฯ พระราชทานบรรดาศักดิ์เปน “พระแกวอาสา”

อาคารพิพิธภัณฑทองถิ่นพระแกวอาสาที่กำลังกอสราง ตั้งอยูภายในบริเวณวัดศรีภูมิ บานนาหอ เชื่อกันวาพื้นที่ขางๆ วัด เดิมนั้นเปนที่อยูของผูนำทองถิ่นทานนี้

! พระแกวอาสาปกครองเมืองดานซายใหอยูเย็นเปนสุข จนถึงป พ.ศ. ๒๔๓๖ ไดใหทาวทองดี ผูมีศักดิ์เปน หลานและพรรคพวกไปประชุมที่พิษณุโลก พรอมกันนั้นไดนำเงินหลวงไปสงพิษณุโลก ปรากฏวาทานไดรับ จดหมายจากทาวทองดีวาเงินหลวงขาดไป ๑๐ ชั่ง ทางราชการจะเอาโทษของใหพระแกวอาสาหนีเอาตัวรอดโดยดวน เมื่อพระแกวอาสาไดรับจดหมายจึงสอบถามไปยังทาวทองดีอีกครั้ง ก็ยังคงยืนยันเชนเดิม จึงปรึกษาหารือในหมูญาติ พี่นองและผูใกลชิด แลวลงความเห็นวาควรอยูตอสูตอไปเพราะเปนผูบริสุทธิ์ แตพระแกวอาสาเกิดนอยใจจึงไดหนี ไปตายดาบหนา แมจะมีผูทักทวงมากมายก็ตาม มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

31


! ในที่สุดพระแกวอาสาไดอพยพหนีจากดานซายพรอมครอบครัว วันนั้นชาวเมืองดานซายรวมกันมาสงเปน จำนวนมากและเสียใจตอเหตุการณที่เกิดขึ้น หลังจากนั้นพระแกวอาสาและครอบครัวไดตั้งหลักฐานที่บานหาดแดง แขวนเมืองแกนทาว ประเทศลาวปจจุบัน เมืองดังกลาวทานยังไดรับสมญานามวา “เจาพอคำแดง” ขณะที่เมือง ดานซายทาวทองดีไดขึ้นเปนเจาเมืองแทน

ถนนแกวอาสา ชื่อนี้มีที่มาจากผูนำทองถิ่นในอดีต ผูซึ่งเปนที่เคารพนับถือของคนดานซาย

! ลวงเลยเขาสูป พ.ศ. ๒๔๔๖ ฝรั่งเศสเดินทางเขายึดครองดานซายพรอมนำศิลาจารึกตำนานพระธาตุศรีสอง รักลองแมน้ำโขงไปยังเมืองเวียงจันทน แตเรือกลับลมแถวอำเภอปากชม จังหวัดเลย ทำใหศิลาจารึกหายไป ครั้งนั้น พระครูลุน พระผูใหญรูปหนึ่งแหงวัดหนามแทงพรอมกับพระแกวอาสา (เจาเมืองดานซายขณะนั้น) ไดขอคัดลอก ศิลาจารึกไวกอนที่ฝรั่งเศสจะยึดครอง แลวเขียนขอความในศิลาจารึกอยางเดียวกัน ปจจุบันตั้งอยูที่พระธาตุศรีสอง รัก

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

32


! ตอมาป พ.ศ. ๒๔๔๙ ฝรั่งเศสไดคืนเมืองดานซายใหโดยแลกเปลี่ยนกับเมืองเขมรที่เปนของไทยบางสวน ชวงที่ฝรั่งเศสยึดครองดานซาย ขางฝายไทยไดยายอำเภอดานซายไปตั้งบานขามปอม ตำบลโพนสูง เมื่อเรื่องราวยุติจึง ยายอำเภอกลับมาที่เดิม ! ชวงเวลานั้นยังมีเรื่องเลากันวา ชาวดานซายที่อยูฝงซายของลำน้ำหมันไดอพยพยายถิ่นเปนการชั่วคราวมา อยูอีกฟากฝงหนึ่ง เพราะเกรงวาตนเองจะตกอยูในการควบคุมของฝรั่งเศส ! กระทั่งสมัยสงครามโลกครั้งที่ ๒ (พ.ศ. ๒๔๘๔–๒๔๘๘) ที่อำเภอดานซายไดระดมพล โดยเกณฑชาย ฉกรรจมาฝกวิชาทหาร เรียกวากองพันอาสาสมัคร ใชบริเวณโรงเรียนชุมชนบานดานซายเปนสถานที่ฝกอบรม มี ขาราชการและชายฉกรรจเขารวมกันฝก มีกำลังพลหนึ่งกองพัน มีนายแสงวงศ จองดอย (กำนัน) เปนผูบังคับ กองพัน ปรากฏวากำลังกองพันนี้มิไดสงไปสูรบกับประเทศใดเนื่องจากรัฐบาลไดประกาศเปนพันธมิตรรวมกับญี่ปุน สูรบกับฝายพันธมิตร (มีสหรัฐอเมริกา อังกฤษ และฝรั่งเศส) ! นอกจากนี้ราวปลายป พ.ศ. ๒๔๘๗ ตอตน ๒๔๘๘ ทหารญี่ปุนจำนวนหนึ่งเดินทัพจากประเทศพมาผาน ภาคเหนือของไทย ผานอำเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก เดินทางเขาสูอำเภอดานซาย มาพักอยูที่ศาลาวัดโพนชัย ชาว ดานซายผูอยูรวมในเหตุการณครั้งนั้นไดเลาวา ทหารญี่ปุนมาซื้อกลวยน้ำวา (สุก) ที่รานแมจันดา หัวสะพานน้ำหมัน ผูซื้อผูขายพูดกันไมรูเรื่อง แมคายกมือขึ้น ๒ ขาง ทหารญี่ปุนจายเงิน ๑๐ บาท ทั้งที่ขณะนั้นกลวยราคาหวีละ ๑๐ สตางค ทหารญี่ปุนหมวดนี้เดินทางตอไปจังหวัดเลยกอนเขาสูอุดรธานี มีขาวเลาตอกันมาวา ทหารญี่ปุนหมวดนี้ถูก เสรีไทยฆาตายที่จังหวัดอุดรธานี ! นอกจากนี้ยังมีการอพยพยายถิ่นฐานของผูคนกันมาก เพราะภัยสงครามและความอดอยากขาดแคลน ชาว บานหวาดกลัว เสียขวัญ บางหมูบานมีโจรปลนพระพุทธรูปในวัดและปลนชาวบาน เจาหนาที่รัฐหลายคนเบียดเบียน ชาวบาน ผูเดือดรอนหลายคนจึงหาทางหนีเพื่อเอาชีวิตรอด ซึ่งเปนสภาพที่ไมเคยเปนมากอน ! สมัยสงครามโลกขาวยากหมากแพง ประกอบกับฝนไมตก ทำใหแลง ชาวบานทำนาไมไดผล เหตุการณ ภายนอกหมูบานก็ไมเอื้ออำนวยใหพอคาแมขายนำสินคาเขามาขาย ขาวจึงราคาสูง อาหารทุกอยางราคาแพง เสื้อผาก็ ขาดแคลน ทำใหเกิดการปลน การฆา แยงชิงทรัพยสมบัติ สำหรับบานนาหอและดานซายถือวาเกิดขึ้นนอยมาก ตาง จากที่หลมสักมีขาวปลนฆาแทบทุกวันเพราะคนยากจน คนไมมีกินก็ตองปลน คนไหนมีกินก็จะถูกปลนเปนประจำ เมืองหลมสักจึงเปนเมืองนักเลง อยางไรก็ตามแมชุมชนลุมน้ำหมันในดานซายจะมีการปลนไมกี่ราย แตทำใหชาว บานหวาดผวาเปนอยางมาก ไมมีใครกลาออกไปเดินนอกบานคนเดียว หรือเดินดวยกันสองคนก็ตาม ไปไหนมาไหน ตองไปเปนกลุมเปนฝูง ไมเชนนั้นจะโดนปลนจี้ตามเสนทางตางๆ ชาวบานจึงตองหามีดพราเสียบหลังไวคอยปองกัน กันเกือบทุกคน โดยเฉพาะการปลนวัวลักควายชาวนาหอไดรับผลกระทบเปนอยางมาก ! ชวงเวลานี้เอง บริเวณที่เปนตลาดดานซายในปจจุบันยังคงเปนพื้นปา และเปนทุงนา เสนทางเดินติดตอ ระหวางหมูบานยังเปนดินที่อาศัยการเดินเทาหรือเกวียน ฤดูฝนการเดินทางลำบากมาก ชาวบานจึงไมนิยมเดินทาง ไปมาหาสูกันในชวงนี้ เพราะเสนทางรกและมีตนหญาปกคลุม อาจเกิดอันตรายได กระทั่งกองทัพญี่ปุนไดสรางถนนเชื่อมโยงระหวางนครไทย-ดานซาย เพื่อใชเปนเสนทางยุทธศาสตรเดินทัพ นำกองกำลังทหารของตนเดินทางเขาสูจังหวัดอุดรธานี จึงทำใหมีถนนตัดผานดานซาย มีรถประจำทางสายหลมสักดานซาย-เลย เริ่มวิ่งกอนป พ.ศ. ๒๕๐๐ (ไมใชรถประจำทางอยางที่เห็นในปจจุบัน เปนคนของชาวบานธรรมดา ใคร มีรถยนตก็ออกมารับจาง ยังไมมีสัมปทาน มีบริการเพียง ๒-๓ คัน) คาโดยสารราคาแพงมาก จากดานซายถึงเมืองเลย ราคา ๔๐–๕๐ บาท ใชเวลาในการเดินทางถึง ๓ วัน ๓ คืน ชาวบานตองนอนคางบนรถยนต ชวงหนาฝนรถมักติด

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

33


หลม อยางไรก็ตาม พัฒนาการของถนนหนทางในชวงนี้ไดสงผลทำใหมีผูคนจากทองถิ่นตางๆ เดินทางเขามาทำการ คาในดานซายเปนระยะ หลังจากนั้นไมนาน กรมทางหลวงไดมาตั้งแคมปหรือโรงพักของกุลี (ผูใชแรงงานในการกอสรางถนน) ตาม จุดตางๆ เปนระยะๆ ในการกอสรางเสนทางสายหลมสัก-ดานซาย กระทั่งสมัยจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต (หลังป พ.ศ. ๒๕๐๐) จึงมีการนำรถแทรกเตอรเขามาทำการแผวถางทาง ทำใหงานกอสรางถนนดำเนินไปอยางรวดเร็ว ชาวบานรุนนั้นยังจำไดวา เกิดศัพทคำวา “survey” ในหมูชาวบาน แตฟงไมรูวาแปลวาอะไร รูแตวารถ แทรกเตอรเปนสิ่งที่สนใจของชาวบานเปนอยางมาก ในขณะที่ความเจริญตางๆ ในเขตตลาดดานซาย โดยเฉพาะการสรางถนนนั้นเริ่มใชการไดอยางจริงจังราวป พ.ศ. ๒๕๐๘ หลังจากหนวยปราบปรามผูกอการรายคอมมิวนิสต (นปค.) จากกรุงเทพฯ เริ่มเขามาพัฒนา โดยตั้ง ศูนยบัญชาการที่บานปากหมัน โดยใชการพัฒนาดานถนนหนทางเปนฉากบังหนา แตจริงๆ คงเปนเหตุผลทางการ เมือง นาจะมีการสงทหารมาหาขาวตามตะเข็บชายแดนซึ่งเปน “พื้นที่สีชมพู” ชาวบานสวนใหญรับรูวาพื้นที่ในอำเภอดานซายบางหมูบาน เปนที่ตั้งฐานกำลังของผูกอการราย คอมมิวนิสต โดยเฉพาะที่หมูบานกกสะทอนเปนปาที่เชื่อมโยงกับอำเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก ซึ่งเปนฐานกำลัง ที่สำคัญ จึงมีเครือขายติดตอถึงกัน เหตุการณเริ่มวิกฤติจริงๆ เมื่อตำรวจตระเวนชายแดนถูกยิงตาย ในราวปลายป พ.ศ. ๒๕๑๒ หลังจากนั้นจึงเริ่มปะทะกันตลอดเกือบสิบป ทำใหทหารเสียชีวิตเปนรอยๆ คน ชาวบานยังถูกลูกหลง ตายดวย ชาวบานเสียขวัญพอควร เพราะเกรงวาทางการจะพายแพคอมมิวนิสต ทางการจึงสงกองกำลังมาประจำใน พื้นที่แถบนี้มากมาย เขตไหนที่อันตรายก็จะไมยอมใหชาวบานผานเขาไปทั้งกลางวันและกลางคืน ถึงขนาดหามชาว บานใสชุดสีเขียวๆ ไมเชนนั้นอาจถูกยิงตาย คิดวาเปนผูกอการราย มีกับระเบิดฝงเต็มไปหมด เวลาคนไปหาของปา บนภูยังโดนกับระเบิดมาแลวก็มี ! เรื่องราวเหลานี้เปนสิ่งที่นาสะเทือนใจชาวบานมากที่สุด แตชาวบานที่เดือดเนื้อรอนใจมากที่สุดก็คือชาว บานกกสะทอน พัฒนาการของตลาดและเมืองดานซาย ประการสำคัญเปนผลสืบเนื่องมาจากผลของการปราบปรามผู กอการรายของหนวยราชการ ในเขตบานกกสะทอน อำเภอดานซาย หมูบานชาวเขาพวกแมวมีกลุมคอมมิวนิสต เขาไปแทรกซึม ตั้งกองกำลัง ทางราชการจึงสงตำรวจทหารเขาไปสรางฐานปฏิบัติการณเพื่อตอตานคอมมิวนิสต ชวงนั้นอำเภอดานซายไดยินเสียงปนยิงกันตลอดเวลา ถึงขนาดที่เวลาใครถูกฆาตายในดานซาย จะเขาใจวาถูก คอมมิวนิสตฆา กองกำลังคอมมิวนิสตตั้งฐานไดอยูไมนานก็แตก ชาวบานจำไดแมนยำวา เปนวันเสียงปนแตก คือวันที่ ๒ พฤศจิกายน ๒๕๑๒ หากทวาเมืองดานซายก็ยังไมไดพัฒนามากนัก ความเจริญดานถนนหนทางเจริญเติบโตอยาง ชาๆ อยางไรก็ตามเริ่มจากมีผูคนตางถิ่นเขามาคาขายและทำกินมากขึ้นกวาเดิม เปนไปไดวาพวกพอคาเกิดความมั่นใจ ในความปลอดภัย เพราะมีทหารและตำรวจคอยดูแล ในชวงเวลานี้เองที่ถนนหนทางพัฒนาขึ้นมาก สงผลใหรถประจำทางที่ใหบริการโดยผานระบบสัมปทาน เปดบริการในชวงเวลานี้ นอกจากนี้ระบบสาธารณูปโภคตางๆ ไดเริ่มพัฒนาสูดานซายเชนกัน เห็นไดจากการตั้ง ที่ทำการไฟฟาอำเภอ เพียงแตยังขยายการสงไฟยังไมทั่วถึง และมีเวลาเปด-ปดไฟฟาที่แนนอน คือกลางวันงดจาย ไฟฟา ไฟฟาจะจายใหเฉพาะตอนหกโมงเย็นถึง ๓-๔ ทุม หลังจากนั้นตองใชตะเกียงน้ำมันกาด หรือหากบานใครมี ฐานะดีจะใชไฟฟาจากการปนของเครื่องยนต

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

34


! ขณะที่ความทรงจำรวมสมัยของดานซาย หรือในชวงทศวรรษแหงป พ.ศ. ๒๕๓๐พัฒนาการของเมืองและ ตลาดดำเนินไปอยางตอเนื่องและกาวอยางชาๆ จนแทบจะไมเห็นการเปลี่ยนแปลง กระทั่งหลังป พ.ศ. ๒๕๓๐ เปนตนมา ตลาดดานซายไดพัฒนาไปอยางรวดเร็วกลายมาเปนตลาดโชคเจริญที่เห็นอยูในปจจุบัน มีกิจการหางราน ตางๆ เปดกันมากขึ้น โดยเฉพาะราวป พ.ศ. ๒๕๓๒ ธนาคารกรุงไทยเขามาดำเนินกิจการเปนรายแรก หลังจากนั้น ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณจึงเขามาอาศัยหองเชาในตลาดดานซายเปดสำนักงานชั่วคราว สวนธนาคาร ออมสินเพิ่งเปดบริการไดไมถึง ๕ ป โดยตั้งอยูใกลกับพระธาตุศรีสองรัก ! กลาวกันวาชวงที่ยังไมมีธนาคาร พวกขาราชการอยางพวกครู เวลาจะรับเงินเดือนแตละเดือนทางราชการจะ ตั้งคณะกรรมการเพื่อเดินทางเขาไปรับเงินเดือนที่ตัวจังหวัดเลย ตองขี่มาเขาไป ตอมาพอมีถนนเดินเทาสะดวกจะปน จักรยาน กระทั่งรถยนตเขามาจึงเปลี่ยนมาโดยสารรถเขาตัวเมือง และหลังสุดเมื่อธนาคารเขามาตั้งจึงเปลี่ยนมารับ เงินเดือนผานธนาคาร สะดวกสบายยิ่งขึ้น ดังนั้นทุกวันสิ้นเดือนที่เงินเดือนออกตลาดดานซายจึงคึกคักไปดวยกลุม ขาราชการ ! เมื่อเศรษฐกิจเริ่มเฟองฟู หางรานในตลาดเริ่มพัฒนา พื้นที่ทำนาจึงลดลง เพราะคนขยายพื้นที่สรางบานออก นอกตัวตลาด ขณะเดียวกันชาวบานในทองถิ่นก็ขายที่ใหคนตางถิ่น ที่ดินจึงเปลี่ยนกรรมสิทธิ์เปนของคนนอกใน ชวงนี้อยางรวดเร็ว

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

35


บทที่ ๔ เศรษฐกิจและการดำรงชีพ เนื่องจากลักษณะภูมิประเทศในลุมน้ำหมัน อำเภอดานซาย จังหวัดเลย เปนเทือกเขาสลับซับซอน มีที่ราบ ระหวางหุบเขาบางแหง บางแหงเปนที่ราบสูงลุมๆ ดอนๆ โดยเฉพาะที่ตั้งของชุมชนที่เปนสนามวิจัยนั้นมีภูเขา ขนาบสามดาน ประการสำคัญมีที่ราบแคบๆ ยาวไปทางทิศเหนือ ทำใหชาวบานทำการเกษตรโดยเฉพาะการปลูกขาว ไดในเฉพาะพื้นที่ระหวางหุบเขา สวนตามบริเวณเชิงเขาเหมาะกับการทำไร เชน เดิมจะปลูกขาวไร ตอมาเปลี่ยนเปน ไรขาวโพด ไรขาว ถั่วลิสง ถั่วเขียว ถั่วแดง และฝาย เปนตน ตามภูเขามีปาไมเบญจพรรณอยูทั่วไป ดังนั้นเนื้อหาใน สวนนี้จะกลาวถึงลักษณะการดำรงชีพและเศรษฐกิจที่สำคัญของคนลุมน้ำหมัน

การดำรงชีพ: เศรษฐกิจยุคยังชีพ

เมื่อ ๕๐–๖๐ ปกอน เศรษฐกิจแบบยังชีพถือเปนระบบเศรษฐกิจที่เดนชัดของคนลุมน้ำหมันไมวาจะเปน บานดานซาย บานาเวียง และบานนาหอ เพราะชาวบานมีวิถีการดำรงชีพแบบพึ่งพาธรรมชาติเปนหลัก ไมวาจะ เปนการใชสัตวปาเปนอาหารหลัก หรือการเลี้ยงสัตวบานบางประเภทก็เพื่อไวใชงานดานการเกษตรหรือใชบริโภค ภายในครัวเรือนเทานั้น ขณะที่การทำการเกษตรก็พึ่งพาอาศัยธรรมชาติ รวมทั้งผลผลิตที่ไดก็เก็บไวใชภายในครัว เรือน หากเหลือจะนำไปแลกเปลี่ยนกับสิ่งของที่ตนเองไมมีกับเพื่อนบานหรือชุมชนใกลเคียง !

สัตวปาและสัตวทั่วไป สัตวปามีกระรอก กระแต เตา อีเห็น อีเกง กวาง หมูปา หมี เมน และเสือ ซึ่งเมื่อประมาณ ๖๐ กวาปกอน คนในอำเภอดานซายคนหนึ่งเลาวา เคยเดินทางเขาปาแถบหวยกบหมื่น (ปจจุบันคือ กม. ๗ ที่ตั้งหนวยทหารพราน) ในเขตชายเขาเพื่อไปเก็บซากควายที่ถูกเสือกัด นอกจากนี้ยังมีสุนัขปา มีหมาไน และหมาจิ้งจอก ! นอกจากนี้ยังมีเลากันวา ในอดีตมีอี่เกง (ฟาน) วิ่งเขามาที่ตลาดดานซาย วิ่งชนตูกระจกที่บานเจ็กอู และวิ่ง หนีภัยเขามาที่บริเวณโรงเรียนชุมชนดานซาย ภารโรงและนักเรียนตองชวยกันจับ สวนเกงมีชุกชุมบริเวณปาบานนา หวา ปาหวยชาง หวยเตย หวยตีนตั่ง ปาภูเปอย และปาโปงดินออน พวกชาวบานและนายพรานจะลาตั้งแตบริเวณ พระธาตุศรีสองรัก เรื่อยขึ้นไปตามปาริมน้ำหมันและตามปาริมหวยตางๆ ! การลาเกง ชาวบานเรียกวา “นำฮอยฟาน” หรือ “ไลเหลา” (คำวาเหลาหมายถึงปาละเมาะ) เดิมเปนปาใหญ ตอมาเมื่อชาวบานโคนตนไมใหญเพื่อปลูกขาวไร และในปตอไปจะยายไปทำที่ใหม จนเวลาผานไป ๒-๓ ป ปานี้กลับ ฟนเปนปาละเมาะอีกครั้ง เวลากลางคืนเกงจะออกหากินผลไมตามปาในปาใหญ สวนตอนกลางวันเกงจะเขามาหลบ ซอนอยูในปาละเมาะ เมื่อชาวบานพบรอยเทาเกงริมปาละเมาะจะชักชวนนายพรานและเพื่อนบานไปไลลา นาย พรานจะมีอาวุธปนและทำหนาที่เฝาระวังตามขอบหรือริมปาละเมาะ เมื่อเกงวิ่งหนีออกมา พรานจะยิงเกง เมื่อยิงเกง ไดจะชวยกันชำแหละเนื้อ “แบงพูด” กัน (“พูด” คือการนำไมตอกมารอยชิ้นเนื้อเปนพวงๆ) นายพรานคนที่ยิงเกงจะ ไดสวนแบงมากกวาคนอื่น ชาวบานที่ไปตามยิงเกงในปาละเมาะจะมีจำนวนหลายคน คือ ประมาณ ๕–๑๐ คน ! สวนสัตวทั่วๆ ไป พวกหอย มีหอยขม หอยขาว และหอยโขง (ปจจุบันสูญพันธุแลว) สิ่งที่นาสนใจคือ มี สัตวพันธุหนึ่งที่ถูกนำไปสรางเปนเรื่องเลาพื้นบานก็คือ ตำนานแมอีปุม มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

36


! กบ เขียด เมื่อถึงเดือนหกมีฝนตกจะชอบรองระเบ็งเซ็งแซเรียกหาคูสมสูกัน (กบ เขียดออกัน) วางไขในน้ำ มีลักษณะเปนวุนหอหุมไข คลายเม็ดแมงรักแชน้ำ ไขเจริญเติบโตแตกเปนตัวอยูในน้ำ มีหางงอกออกมาเปนรูปราง คลายปลา สวนทองปองไมมีครีบ เรียกวา อีฮวก หรือ ลูกออด ดำรงชีวิตอยูในน้ำระยะหนึ่ง จะมีขาหลัง ๒ ขา งอก ออกมา หางจะหดสั้นเขา ตอมาขาหนางอก ๒ ขา หางจะหายไปในที่สุด รูปรางเปลี่ยนสภาพเปนกบ เขียด กระโดด ขึ้นจากน้ำมาอาศัยอยูบนบกตอไป ! ปลายฤดูฝนตนฤดูหนาว หมูบานในแถบตำบลอีปุม วังยาว โปง และบานกกสะทอน ในเวลากลางคืนจะ ไดยินเสียงรองของสิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่งคลายเสียงเปดรอง กาบๆ ๆ ๆ ระงมไปทั่วลำหวยในหุบเขา ซึ่งมีน้ำใสไหลผาน แตละหมูบาน ชาวบานเหลานี้จะไมสงสัยในเสียงรองนั้นเลย เพราะเขารูแลววาเปนเสียงรองของอะไร แตหากเปน ผูคนจากทองถิ่นอื่นไดยินเขา จะตองบอกวา เปนเสียงรองของเปด และเกิดขอสงสัยวา ใครนำเปดไปเลี้ยงไวใน หุบเขา และทำไมจึงรองในเวลากลางคืน ! แตหากถามชาวบานเขาจะตอบทันทีวาเปนเสียงรองของ “ญากาบ” มีรูปราง ลักษณะวงจรชีวิตและเปนสัตว ครึ่งบกครึ่งน้ำประเภทเดียวกับกบ เขียด อึ่งอาง แงด แตมีลูกตาสีแดงและมันแวววาวคือ พอแมของอีปุม จะตางกันก็ แตการเริ่มตนชีวิต กบเขียดจะผสมพันธุวางไขมีลูกมีหลานในตนฤดู สวนญากาบจะผสมพันธุมีลูกหลานในปลายฤดู ฝนตนฤดูหนาว ! เปนที่นาสังเกตวาลูกของกบ เขียด ภาษาหนังสือหรือภาษาไทยภาคกลางเรียกวา ลูกออด แตภาษาทองถิ่น (ดานซาย) เรียกวา อีฮวก ถาเปนลูกของกบก็จะเรียกวา อีฮวกกบ ถาเปนลูกของเขียดจะเรียกตามชื่อของมัน เชน อีฮ วกเขียดลาย อีฮวกเขียดหยวก และอีฮวกหัวลาน (ลูกของเขียดตาบปาด) เปนตน ! สำหรับลูกของญากาบ จะเรียกวา อีปุม (จะไมเรียกวาลูกออดหรืออีฮวก) รูปรางลักษณะของอีปุมจะเหมือน กับอีฮวกหรือลูกออดทุกประการ ! ปจจุบัน เมื่อถึงตนฤดูฝน (พฤษภาคม-กรกฎาคม) ที่ตลาดสดเทศบาลดานซาย แมคาจะนำอีฮวกหรือลูกอ็อด ทั้งสุกและสดมาวางจำหนาย สวนปลายฤดูฝนตนฤดูหนาวจะมีอีปุมทั้งสดและสุกวางขายที่ตลาดสดเทศบาลตำบล ดานซายเชนกัน ทั้งอีฮวกและอีปุม ชาวบานเขาจะหาซื้อมาปรุงเปนอาหารพื้นบาน โดยนำอีฮวก-อีปุม มาบีบทองให แตกเพื่อเอาขี้หรือลำไส (สวนที่กินไมได) ออก ลางน้ำใหสะอาด นำมาปรุงเปนแกงคั่วใสใบชะพลู (ใบอีเลิด) แกง เอาะใสผักตางๆ หรือนำตัวสดๆ มาเคลาเกลือซอยหั่นหอมแดงบางๆ คลุกเคลาเขากัน หอดวยใบตองพับเปนรูป สี่เหลี่ยมผืนผา พับหัวทายใชไมไผผาซีกคีบไวเรียกวา “คะแนบ” นำยางไฟใหสุก สงกลิ่นหอมกรุน กินกับขาวเหนียว นึ่งรอนๆ รสชาติอรอยเหาะ (มาก) ! ดังที่กลาวแลวขางตน อีปุมมีรูปรางลักษณะเหมือนกับ อีฮวก (ลูกออด) ทุกประการ จะตางเพียงแต อีปุมมี ขนาดใหญกวา (เทาหัวแมมือผูใหญ) ลำตัวยาวกวา และสวนทอง (พุง) ใหญกวา อีฮวก ! มีนิทานเลาสืบตอกันมาวา เหตุที่อีปุมมีทองใหญลำไสยาว สืบเนื่องมาจาก กาลครั้งหนึ่งนานมาแลว มีชาง โทนตัวหนึ่ง เดินเขาไปในปา (โคก) ซึ่งบริเวณนั้นเปนที่อยูอาศัยของจักจั่นจำนวนมาก จักจั่นเห็นสัตวอะไรใหญโต เดินมา รูสึกตกใจกลัว จึงไดชวยกันสงเสียงรองกองไปทั่วปา ชางไดยินก็ตกใจ วิ่งหนีไปจนสุดชีวิต ชนตนไมลม ระเนระนาด ตนไมที่ถูกชางวิ่งชนจนโคนลม หนึ่งในจำนวนนั้นมีตนขนุนซึ่งลูกดกเต็มตนถูกชางวิ่งชนผลรวงหลน จนหมดตน ความตกใจกลัวของชางยังไมหยุดเพียงเทานั้น ยังวิ่งเตลิดเปดเปงไปจนถึงลำหวย ซึ่งมีอีปุมอาศัยอยูเปน จำนวนมาก ชางวิ่งย่ำเขาไปในน้ำเหยียบอีปุมทองไสแตกตาย ที่เหลือรอดตายก็นำความไปเลาใหแม (ญากาบ) ฟง ญา กาบรูสึกเสียใจและเศราใจเปนอยางยิ่ง ที่ลูกๆ มาประสบเคราะหกรรมในครั้งนี้

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

37


! ญากาบจึงนำความไปรองแกเทวดาผูเปนเจาปาในบริเวณนั้น เทวดาไดฟงคำบอกเลาจากญากาบ จึงหยั่งรูได ทันทีวาสัตวใหญโตตัวนั้นคือชางนั่นเอง จึงเรียกหาใหชางมาสอบปากคำ ชางเลาเหตุการณที่เกิดขึ้นทั้งหมดใหเทวดา ฟง เทวดาจึงเรียกจักจั่นมากลาวโทษ โดยใหจักจั่น ควักไส-พุง ของตนไปแทนไสของอีปุม และใหชางยอมมอบ หำ ของตนไปแทนผลขนุน ! นิทานเรื่องนี้จึงบอกใหรูวา จักจั่นไมมีลำไส-พุง (อวัยวะภายใน) ชางไมมี “หำ” ก็ดวยผลกรรมดังกลาวมา แลว ! เรื่องของสัตวปายังทำใหเห็นภาพชีวิตของชาวบานอีกอยางหนึ่ง คือ นายพรานหรือพรานปา กลาวคือ ชาว บานที่จะเปนนายพรานไดนั้นตองเปนคนที่รูจักปาวาแคบกวางแคไหน ซอกแซกไปตามผืนปา รูวาตรงไหนมีอะไร และมีสภาพเปนอยางไร นอกจากนี้ยังตองรูวาสัตวปามีอะไร ฤดูนี้มีสัตวอะไรชุกชุม สัตวประเภทใดกินเปนอาหารได มีผลหมากรากไมพันธุใดที่กินได รวมทั้งตองเปนผูชายที่พละกำลังแข็งแรงและตองแมนปน ประการสำคัญสุด นาย พรานจะมีคาถาอาคม ชาวบานเลากันวา ทุกวันขึ้น ๘ และ ๑๕ ค่ำ จะตองนำดอกไมและปนไปบูชาที่หาง (หางคือที่ ดักสัตวที่นายพรานปลูกไวชั่วคราวในปา) และทองคาถาตามที่เขาไดรับการสืบทอดวิชาจากคนรุนกอน นายพราน แตละคนก็จะมีคาถาที่แตกตางกันไป ! สวนการลาสัตวของนายพรานสวนใหญจะใชวิธีการดักซุมที่หาง เมื่อเห็นสัตวเดินผานก็จะยิง หรือไมอาจใช วิธี “ไรดอน” ดอนคือปา แตเปนปาที่เกง กวาง และสัตวตางๆ มักมาหลบซอน มีสภาพปาคอนขางรกทึบ นายพราน จะสังเกตดูรอยเกงกวาง ถาเปนรอยเทาใหมๆ แสดงวาเพิ่งเดินผานเขามา ก็จะหาทางดักสัตว โดยสงเสียงรอง “วูๆ...วูๆ...วูๆ....” ใหสัตวกลัว พอสัตววิ่งออกมานายพรานจะยิงทันที ดวยเหตุนี้นายพรานจึงจำเปนตองแมนปนดัง ที่กลาวไว เพราะหากไมแมน ไมเพียงแตจะไมไดสัตว หากแตสัตวปาอาจแวงกลับมาทำรายนายพรานได !

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

38


พระสงฆจากวัดโพนชัยจะออกบิณฑบาตแทบทุกเชาบริเวณรอบตัวอำเภอดานซาย ภาพชีวิตดังกลาวสะทอนใหเห็นวา แมเมืองดานซาย โดยเฉพาะเขตตลาดจะพัฒนาสูความเปนเมืองมากแลวก็ตาม ทวา ชาวบานยังคงศรัทธาในศาสนาอยู

!

การเลี้ยงวัวและควาย การเลี้ยงวัวและควายถือเปนอาชีพหลักอยางหนึ่งของคนลุมน้ำหมัน เพราะสมัยกอนปาดงพงพีมีมาก ที่ เลี้ยงกวางขวาง ในหนาแลงจะเลี้ยงตามทุงนา พอหนาฝนไลเขาปา ในภาวะปกติจะไมมีการลักวัวควายกัน เลี้ยงแบบ ปลอยไปตามธรรมชาติ เมื่อโตไดที่คนตางถิ่นจะมาซื้อ เพื่อนำไปไถไรไถนา นอกจากนี้ยังมีพวกนายฮอยที่นำวัวควาย ไปขายยังตางถิ่น ! นายฮอยเปนผูที่มีความชำนาญ มองออกวาควายตัวไหนมีลักษณะเปนเชนไร โดยดูจากเขา หัว และเล็บ นาย ฮอยจึงเปนเหมือนนายหนาขายวัวควาย ซื้อจากบานหนึ่งราคาตัวละสองสามรอย พอไปขายอีกบานหนึ่งอาจไดราคา สูงถึงสี่หารอย ! นายฮอยสวนใหญจะเปนคนหนุมที่มีรางกายกำยำแข็งแรง อายุอยูระหวาง ๓๐–๕๐ ป และตองเปนคนขยัน มีลูกหลานมากพอที่จะชวยงานได มีพอมีแมที่มีเงินทองพอใหหยิบยืมได หรือเปนผูมีฐานะนั่นเอง และทุกครั้งที่จะ มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

39


เดินทางนำวัวควายออกไปขายในตางถิ่นจะตองตอนฝูงสัตวไปรวมแถวนาธาตุ นาไทย ใกลๆ กับพระธาตุศรีสองรัก เพื่อทำการเคารพบูชาองคพระธาตุใหคุมครองปลอดภัยจากภยันตรายตางๆ ตกกลางคืนจะกอไฟผิง หาขาวหาปลา กิน กอนออกเดินทางในวันรุงขึ้น หลังจากนั้น ค่ำไหนก็นอนนั่น บางรายเดินทางไกลไปถึงจังหวัดพิจิตรก็มี ในการ เดินทางไปคาขายระหวางเมืองตางๆ จึงใชเวลานาน บางครั้งอาจไปนานถึง ๖ เดือน และมีนายฮอยบางคนหายหนา ไปนานเปนแรมปก็ยังมี

แม “นายฮอย” จะหายไปจากวัฒนธรรมลุมน้ำหมันหลายสิบปแลวก็ตาม แตการเลี้ยงวัวควายยังปรากฏใหเห็นอยูทั่วไป กลายเปนอาชีพที่ไมไดรับความนิยมนัก

พืชพันธุพื้นบานและปาไม สวนพืชผักตามทุงนาทั่วไป เชน ผักกูด ผักหนาม ผักชีชาง ผักคาว ผักหนอก ผักปกั้ง ผักกาม ผักเนา (ชะอม) ผักหวาน ผักยอดแตก อีลอก ดอกกระเจียว ผักสามใบ ผักฮงฮวย และผักลิ้นหาน ! ผักที่เกิดตามธรรมชาติในทุงนามีผักชี้เขียด ผักหนอก จะมีมากในชวงตนฤดูฝน ผักที่มีมากตลอดฤดูฝน ไดแก ผักกาดนา ผักตบ ผักอีฮิน ผักกานจอง ผักแวน ผักพาย ผักอีแปะ และกินดิบไดเกือบหมด เวนผักขี้เขียด มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

40


! เห็ดที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติมีเห็ดปลวก เห็ดโคน เห็ดหนาเศรา เห็ดละโงก เห็ดไขเหลือง เห็ดผึ้ง เห็ดหนา แดง เห็ดหนาสิ้ว และเห็ดหนาหมุย ทานดิบไมไดเลยสักเห็ด และมีเฉพาะฤดูฝนเทานั้น ! เห็ดที่เกิดตามขอนไม ไดแก เห็ดบด เห็ดขาว เห็ดตีนปลวก เห็ดสนุน เห็ดแคน เห็ดมัน จะขึ้นตามขอนไม (ตาย) ไมจิก ไมฮัง และไมกอ ฯลฯ ทานดิบไมได ชาวบานเขาจะนำมาแกง (นึ่งจิ้มน้ำพริก) ผัดใสหมู ไก ไข เห็ดที่ อรอยสุดๆ คือ เห็ดโคน เห็ดปลวก และเห็ดหนาเศรา ตามลำดับ ! หนอไมที่มีขึ้นในปาตามธรรมชาติ (เฉพาะฤดูฝน) คือ หนอไมไผ ไมฮวก ไมคาย ไมบง ไมหก ไมซาง ไมเฮี้ย และหนอไมดังกลาวรับประทานที่สุก กลาวคือ หนอไมทุกชนิดตองตมใหสุกกอนรับประทาน ใชประกอบอาหารได หลายอยาง เชน ตมสุกจิ้มน้ำพริก ผัดใสหมู ไข ทำเปนซุป (ซุปหนอไม) และทำหนอไมดองเก็บไวไดนานๆ คนพื้น บานเขาแกงหนอไมตองใสน้ำคั้นจากใบยานาง คนโบราณบอกวา ใบยานางมีสารชนิดหนึ่งที่สามารถปองกันโรค ปวดขอ-ปวดเขาได นับเปนภูมิปญญาชาวบานโดยแท ! นอกจากนี้ยังมีการปลูกพืชผักพวกหอม กระเทียม ผักกาด และผักชี โดยสวนใหญพืชผักเหลานี้ชาวบานมัก จะปลูกไวกินเอง ไมนิยมซื้อขาย ครอบครัวหนึ่งๆ ใชพื้นที่ริมน้ำหมันคนละ ๒๐–๓๐ ตารางวาก็สามารถปลูกไดแลว หรือบางครั้งอาจอาศัยที่ดินของพี่นองที่ติดกับลำน้ำหมันปลูก ถือเปนการถอยทีถอยอาศัย หากเหลือจากกินในครัว เรือนก็อาจนำไปขาย !

การทำนา คนลุมน้ำหมันไมวาจะเปนบานหนองคู บานเหนือ บานเดิ่น และบานหัวนายูง ตั้งบานเรือนอยูตามลำน้ำ หมัน ซึ่งเปนที่ราบแคบๆ ดังนั้นพื้นที่ราบสวนใหญจึงใชปลูกสรางบานเรือนเปนที่อยูอาศัย คงเหลือที่ราบเพียงสวน นอยไวสำหรับปลูกขาวซึ่งเปนอาหารหลัก เชน ที่หมูบานหนองคู มีทุงนาชื่อ นาแวงใหญ นาแวงนอย หมูบานเหนือ (หนองของ) มีทุงนาชื่อ นาหนองของ นาไท นาหนองดินจี่ และนาเปอยเลือด หมูบานเดิ่น มีทุงนาชื่อ นาขี้หมู และ นาคำ หมูบานหัวนายูง มีทุงนา ชื่อนายูง นาปากศอกและนาชางน้ำ ! ชาวนาผูเปนเจาของนาในแตละหมูบานจะทำนาปละครั้งในฤดูฝนเทานั้น เริ่มประมาณปลายเดือน พฤษภาคมหรือตนเดือนมิถุนายน เมื่อฝนตกจะจัดเตรียมพื้นที่แลวลงมือหวานกลา เมื่อตนกลามีอายุครบ ๑ เดือน จึง จะถอนตนกลาไปปกดำในแปลงนาที่เตรียมไว ซึ่งจะปกดำประมาณปลายเดือนมิถุนายนถึงเดือนกรกฎาคม ! การเตรียมพื้นที่นาเพื่อปกดำตนกลา คือการไถและคราด สวนมากจะเตรียมที่นาในขณะพื้นนามีน้ำขัง เพื่อ ใหการไถและคราดสะดวกขึ้น การไถการคราดนาจะใชแรงควายและแรงคนเทานั้น การดำนาจะมีการบอกเลาและ ไหววานญาติพี่นองหรือชาวบานในหมูบานเดียวกันไปชวยปกดำ (ภาษาชาวบานวา ไปเอาแฮงกัน และมีการตอบแฮง วนเวียนกันไป) เมื่อตนขาวเติบโตขึ้น เจาของนาจะตองดูแลโดยถอนตนหญาออกจากแปลงนาถางหญาออกจาก คันนา และดูแลน้ำในนาใหมีปริมาณน้ำขังพอเหมาะอยางสม่ำเสมอ ตนขาวจะตั้งทองประมาณเดือนกันยายน ออก รวงประมาณเดือนตุลาคม และเก็บเกี่ยวประมาณเดือนพฤศจิกายน-เดือนธันวาคม การเก็บเกี่ยวและการตีขาว และ เก็บขาวเปลือกเขายุงฉางจะใชการเอาแฮงกันเหมือนการปกดำ (ภาษากลางเรียกวาการลงแขกดำนาและเกี่ยวขาว) พันธุขาวที่ใชปลูกเปนเมล็ดพันธุขาวเหนียว (พันธุพื้นเมือง) เชน ขาวหมากปอ ขาวหมากน้ำ ขาวขี้ตม และ ขาวเกล็ดเตา เปนตน มีทั้งพันธุหนักและพันธุเบา พันธุหนักปลูกในนาลุม มีน้ำขัง ขาวพันธุดอนปลูกในนาดอน ! สวนผลผลิตขาวที่ไดจะเก็บไวกินในครัวเรือน แบงปนใหญาติพี่นอง หรือเอาไวแลกเปลี่ยนสิ่งของอื่นๆ ที่ จำเปน เชน แลกเกลือ แลกปลารา เปนตน จะมีการซื้อขายบางก็เล็กๆ นอยๆ สวนขาวเจาไมนิยมปลูก ถาจะปลูกก็เอา

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

41


ไวสำหรับทำขนมเทานั้น สวนชาวบานที่มีที่นานอยมักไดผลผลิตขาวกินไมคุม ป จะปลูกขาวไรอีกสวนหนึ่งเพื่อเพิ่ม ผลผลิตขาวใหมีขาวไวกินตลอดป ! สวนผูที่ไมมีที่นา ตองไปหาพื้นที่ตามเชิงเขา (ไมมีเจาของ) นอกหมูบานเพื่อทำไรขาว โดยการตัดฟนปา โคน ตนไม เริ่มตนประมาณเดือนธันวาคม-มกราคม ตัดฟนทิ้งไว 2-3 เดือน จึงทำการเผาไมที่ตัดฟนไว ประมาณเดือน พฤษภาคม (ตนฤดูฝน) ก็เตรียมที่สำหรับปลูกขาวไร โดยการขุดหรือถากตนหญาและตอไมเล็กๆ ที่งอกขึ้นมาหลัง การเผาไร จนพื้นไรเตียนหมด เมื่อฝนตกลงมาพื้นดินชุมพอที่จะทำหลุมปลูกขาวไรได เจาของไรก็จะทำหลุม (เครื่อง มือที่ใชทำหลุม เรียกวา ลุง) เปนแถวหางกันประมาณ ๓๐–๔๐ ซม. แลวนำเมล็ดพันธุขาวไปหยอดลงในหลุมๆ ละ ๕-๖ เมล็ด กลบหลุมปองกันนกและหนูมากิน เมื่อตนขาวงอกขึ้นมาอายุ ๑–๒ เดือน จะดายหญาออกจากตนขาว (ไม ตองใสปุย) เมื่อตนขาวมีอายุครบกำหนดจะตั้งทอง ออกรวง เมื่อเมล็ดขาวแกจะเก็บเกี่ยว นำมาเก็บไวในยุงฉาง ! พันธุขาวไร มีทั้งพันธุหนักและพันธุเบา (พันธุเบาเรียกวา “ขาวดอ” จะไดเวลาเก็บเกี่ยวกอนขาวพันธุหนัก) พันธุขาวไรมีขาวปลาซิว ขาวขาว ขาวเพลิง ขาวก่ำ (ขาวที่มีเมล็ดสีดำ) ขาวเล็บชาง และขาวฮาว (เวลานึ่งสุกจะมี กลิ่นหอมมาก) เปนตน ! การปลูกขาวไรแตกตางจากการปลูกขาวนา คือ ใชเมล็ดพันธุขาวตางกัน พื้นที่ที่ปลูกขาวไรเปนที่ดอนไมมี น้ำทวมขัง อาศัยน้ำฝนชวยใหดินชุมชื้นเทานั้น การปลูกใชเมล็ดขาวเปลือกปลูกในหลุมไมตองเพาะตนกลา ! จึงเห็นไดวาการทำนาในลุมน้ำหมัน นับตั้งแตบานนาเวียงเรื่อยมาจนถึงบานนาหอเรื่อยไปถึงบานนาขา มีสิ่ง สำคัญอยูอยางหนึ่งคือ ชาวบานจะใชระหัดวิดน้ำเขาสูไรนา เรื่องของระหัดวิดน้ำชาวบานจะทำเปนแทบทุก ครอบครัว อยางสมัยกอนจะชวยกันทำ คลายๆ กับวาลงแขก เชน วันนี้ถาเปนงานหนัก อยางงานขึ้นโครงที่ตองเปน ลอกตัวใหญ ถาบานนั้นมีลูกมีหลาน ๓-๔ คนพอทำไดก็ทำกันเอง ถามีคนเดียวตองอาศัยญาติพี่นองมาชวยกัน หรือ ไมเพื่อนบานหลายๆ คนจะมาชวยกัน พอทำโครงเสร็จจะสานใบพัดมีความยาว ๑ เมตร และกวาง ๔๐–๕๐ ซ.ม. ไมที่ ใชทำใบพัดจะใช ไมหก ไมซาง และไมเหี๊ยะ (ไมที่คลายไมไผเปนปลองที่มันบางๆ) ! ปจจุบันชาวบานยังคงใชระหัดหรือพัด ขณะที่บางบานอาจเปลี่ยนมาใชเครื่องยนตสูบเพราะเห็นวาสะดวก และประหยัดเวลาแตตองเสียคาใชจายสูง ! จึงเห็นไดวา การปลูกขาวของชาวบานในลุมน้ำหมันจะปลูกขาวเหนียว กินบาง ขายบาง พอเลี้ยงตัวได คนที่ ทำนาไดสวนใหญจะมีอายุ ๔๐ ปขึ้นไป สวนคนอายุต่ำกวานี้แทบจะทำนาไมเปนแลว เปลี่ยนอาชีพไปทำงานรับจาง ใชแรงงานกันในเมือง (กรุงเทพฯ และปริมณฑล)ปลอยใหคนแกเฝาบาน ! การทำนาจึงมีการทำทั้งในที่นาลุมและที่นาดอน โดยอาศัย “พัด” หรือระหัดวิดน้ำจากลำน้ำหมันขึ้นไปทำ นา ดังที่กลาวมาแลว ปจจุบันยังมีใชกันอยู สมัยกอนยังคงใชควายไถนา เมื่อถึงหนานาในราวเดือน ๕ เดือน ๖ ชาว บานจะใชควายผูกติดกับไถ ซึ่งทำมาจากไมที่คดงอมีรูปทรงเหมาะแกการไถนา หลังจากไถนาเสร็จแลวจะคราดนา เพื่อรากเศษหญาและทำใหดินรวนซุย ในชวงเวลานี้ชาวนาจะแบงที่ดินไว ๑-๒ แปลงเพื่อหวานกลา เมื่อตนกลาอายุ ได ๑ เดือนจะถอนไปดำ หลังจากนั้น ๔-๕ เดือนจึงเก็บเกี่ยวผลผลิต และจะใชครกกระเดื่องตำขาว เพราะไมมีโรงสี สวนผลผลิตที่ไดจะเก็บไวกินภายในครัวเรือน ! การทำนาจะเริ่มขึ้นในชวงฤดูทำนา (กรกฎาคม-พฤศจิกายน) ชาวบานใชควายไถนา สมัยกอนการทำนามี การลงแขกกันหรือเอาแฮงกัน สมัยกอนหมูบานตางๆ ยังไมมีโรงสี การตำขาวตองใชแรงคน เครื่องมือที่ใชตำขาวก็ คือครกกระเดื่องหรือที่เรียกวา “มองตำขาว”

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

42


ภูมิปญญาทองถิ่น

เนื่องจากพื้นที่ในเขตชุมชนลุมน้ำหมันอุดมสมบูรณดวยทรัพยากรธรรมชาติตางๆ จึงทำใหชาวบานใช วัตถุดิบทางธรรมชาติที่มีอยูโดยจัดสรรและปรุงแตงใหเหมาะกับวิถีการดำรงชีวิตของตน ดังเห็นไดจากภูมิปญญา ทองถิ่นตางๆ มากมาย เชน การทำน้ำผักสะทอน การทำหนอไมดอง และเรื่องราวสำรับอาหารพื้นบาน เปนตน น้ำผักสะทอน ! ชวงระยะเดือน ๔ และเดือน ๕ ของทุกป ทางหมูบานจะมีการทำน้ำผักสะทอน จากใบสะทอน ตนสะทอน เปนไมยืนตนชนิดหนึ่ง ปลูกไดตามบานและขึ้นเองตามปา มีเนื้อแข็ง ตนสูงชะรูด พอถึงเดือนสี่ใบจะรวงหลนจน หมด แลวถึงแตกใบออนมา ชวงนี้ชาวบานก็จะขึ้นไปลิดกิ่ง คัดใบสะทอนขนาดกลางแกกลางออน (ไมแกไมออนจน เกินไป) แลวคอยนำใบสะทอนมาตำหรือทุบใหละเอียด ตอจากนั้นก็นำมาหมักใสในโองไวประมาณ ๒ คืน จนถึงเชา วันที่ ๓ ใหนำเอาใบสะทอนที่หมักขึ้นมาคั้นเอาเฉพาะน้ำ กอนนำไปตมในกระทะ เคี่ยวจนน้ำผักสะทอนแหงออกมา เปนรสชาติของน้ำผักสะทอนที่แทจริง ชาวบานจะนำน้ำผักสะทอนมาใชทำอาหารพื้นบานไดหลายอยาง เชน ใชใสแกงออม ใชทำแจว ปลา กบ เขียด ใชเปนสวนผสมของน้ำพริกแจวดำ ใชใสสมตำ และอีกหลายๆ อยาง ภูมิปญญาชาวบานที่คนสมัยกอนไดทำไว คนรุนใหมๆ ไดสืบทอดและอนุรักษไวใหหมูบานตอไปเรื่อย ๆ จนรุนลูกรุนหลานตอไป

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

43


ตนสะทอนที่ชาวบานในลุมน้ำหมัน จะใชใบออนที่ผลิออกในชวงเดือนกุมภาพันธ-มีนาคม มาปรุงแตงกรรมวิธีพื้นบาน จนไดน้ำผักสะทอนในปรุงแตงรสชาติอาหาร จนเกิดเปนเอกลักษณของทองถิ่น

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

44


เมื่อเริ่มหมักใบออนของตนสะทอน

เมื่อหมักคางคืนไดที่ สีของน้ำสะทอนจะเปลี่ยนเปนสีเขียว มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

45


กวาที่จะไดน้ำสะทอนมาปรุงอาหาร ตองใชเวลาเคี่ยวน้ำผักสะทอนเปนวันๆ

หนอไมอัดปบ

V วิธีการทำหนอไมอัดปบ เริ่มจากไปหาหนอไมลวกหรือจะใชหนอไมไรมาทำก็ได หลังจากไดหนอไมมาแลว ใหกอไฟเอา หนอไมเผาพอใหเปลือกหนอไมยุบหรือพอที่จะลอกเปลือกไดงาย ปลอกเปลือกตัดสวนที่แกออกเอาเฉพาะที่ออน

! สวนขั้นตอนการอัดปบ ใหนำปบมาลางทำความสะอาดใหเรียบรอย เสร็จแลวคอยนำหนอไมลวกที่ลอก เสร็จแลวนำมาลางใหสะอาด แลวนำมาใสในปบใหเต็มโดยประมาณ ๑๓–๑๔ กิโลกรัม จากนั้นรินน้ำเขาใสในปบให เต็มแลวนำเอาไปตมใหเดือดประมาณ ๑-๒ ชั่วโมง จนหนอไมสุกคอยยกลงจากเตา ! หลังจากนั้นจึงเตรียมอุปกรณที่จะใชปดฝาปบ โดยนำสังกะสีแผนเรียบมาตัดเปนฝาวงกลมเล็กๆ พอที่จะปด รูใหสนิท วิธีการปดฝาก็นำไมหรือขนไกมาจุมน้ำกรดทารอบๆ ปากปบที่ตัดไวนำมาปดโดยใชหัวแรงมาบัดกรีรอบ ปากปบใหสนิท ก็เปนอันเสร็จสิ้นขั้นตอนการทำหนอไมอัดปบ ! การทำหนอไมดอง ! ตอนการทำหนอไมดองเริ่มจากการไปหาหนอไมโดยใชหนอไมหก หนอไมไร หรืออาจเปนหนอไมไผ นำมา ปลอกเปลือก ลอกเอาแตสวนที่จะใหทำหนอไมดอง โดยใชสวนหนอนำมาลางใหสะอาด แลวฝานเปนชิ้นเล็กพอ ประมาณ เมื่อฝานเสร็จถึงนำเกลือมาหมักแชไวในโองหรือไห โดยใชถุงพลาสติกคลุมปากโองและไหใหสนิท หมัก แชพอใหออกรสเปรี้ยวก็นำมาใชปรุงอาหารได โดยชาวบานจะทำหนอไมดองกันหมดทุกหลังคา

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

46


! หนอไมเหลานี้ ชาวบานจะนำไปทำอาหารประเภทตางๆ มากมาย เชน ใชทำแกง ผัด รวมไปถึงใชทำบุญใน งานตางๆ ในหมูบาน ! พืชผักพื้นบานในสำรับกับขาว ! คนลุมน้ำหมันบริโภคขาวเหนียวเปนอาหารหลัก เดิมมักนั่งลอมวงกินขาวกัน โดยกับขาวกับปลาใสในพา กะหยองที่มีเชิงเตี้ยๆ คลายขันโขกของคนภาคเหนือ มีขาวเหนียวใสกระติบ อาหารที่ขาดไมไดคือ น้ำพริกแกมกับผัก สดนึ่งและตม ! น้ำพริกที่นิยมทำกินกันคือ น้ำพริกสม ปรุงดวยพริกสด เกลือ กระเทียมโขก แตงรสชาติดวยน้ำผักสะทอน และมะนาว สวนน้ำพริกแจวดำ เตรียมจากพริกแหง คั่วไฟออนๆ ใหหอม ตำผสมกับหอมและกระเทียมปงไฟ แตง รสดวยน้ำผักสะทอน รับประทานกับผักสดพื้นบานตางๆ ! นอกจากนี้ยังมีกับขาวพวกหมก แกง หรือยาง โดยเฉพาะแกงที่นิยมกินกันคือ แกงหนอไม แกงผักหวาน ตม แจว และซั้ว ! ซั้วคือการนำเนื้อวัวหรือเนื้อไกมาฉีกเปนชิ้นๆ แลวนำไปตมกับเครื่องแกงที่ประกอบดวยพริก กระเทียม และขิงเผา ผสมกับตะไคร โขลกใหละเอียด ปรุงรสดวยน้ำผักสะทอนและเกลือ สวนขนมขาวตมที่เปนของทองถิ่นมี ไมมาก เปนของพื้นๆ คือ ขาวเหนียวนึ่งจิ้มน้ำผึ้ง หรือขาวเหนียวปนเปนกอนแลวนำเกลือมาใสเปนไสพอใหมีรสชา ติเค็มๆ ขาวเหนียวนึ่งคลุกมะพราว เปนตน ! อาหารยอดนิยมอีกอยางหนึ่งของคนลุมน้ำหมันคือลาบ ลาบปรุงแตงจากเนื้อวัวหรือควาย สับใหละเอียด ใส สวนผสมตางๆ เชนขาวคั่ว ตนหอม กระเทียม ตะไคร ใบสะระแหน และใบมะกรูด แตงรสดวยพริกแหงตำผสมกับ น้ำผักสะทอน ! ! จึงเห็นไดวานอกจากขาวเหนียวแลว ในครัวของคนลุมน้ำหมันยังตองมีเกลือติดเปนประจำ เพราะเกลือถือ เปนเครื่องปรุงหลัก โดยเฉพาะอยางยิ่งในอดีต เกลือทะเลเปนสิ่งที่หายากและราคาแพง เนื่องจากการคมนาคมไม สะดวก เกลือที่ใชกันทั่วไปคือเกลือสินเธาวจากบานบอโพธิ์ หมูบานหนึ่งในอำเภอนครไทย สวนน้ำผักสะทอนชาว บานมักใชแทนน้ำปลาและปลารา ! การทอผาและการจักสาน ! นอกจากนี้ในสมัยกอน คนลุมน้ำหมันโดยเฉพาะผูหญิงแทบทุกครัวเรือนจะมีการทอผาฝายใชกันใน ครอบครัว ใชเวลาวางในชวงกลางคืนอิ้วฝาย เข็นฝาย ปนฝาย ทำเปนเสนดายไวทอเปนผืน ไวสำหรับตัดเย็บผาหม ผาขาวมา ที่สำคัญการทอผาถือเปนงานพื้นฐานของผูหญิงสมัยกอนที่จะตองทอผาใหไดถึงจะเปนแมบานแมเรือนที่ ดี ปจจุบันการทอผาของคนลุมน้ำหมัน แมจะมีผูสานตอแตก็ไมนิยมทำกัน (เริ่มไมนิยมทอผาเมื่อ ๒๐ กวาปมาแลว) เนื่องจากมีผาสมัยใหมที่ไมตองเสียเวลาในการทอ ดูแลงาย ที่สำคัญชาวบานสวนใหญมองวาทันสมัยกวา จึงทำให คนรุนเกาเลิกทอผา ขณะที่เด็กรุนใหมก็ทอผาไมเปน การทอผาจึงเปนเพียงแคความทรงจำเทานั้น ! สวนงานเครื่องจักสาน สมัยกอนชาวบานทำไดกันทุกครอบครัว เพราะเปนสิ่งของเครื่องใชในชีวิตประจำ วัน คือ ใชในครัวเรือน ใชจับสัตว และใชในการทำการเกษตร เชน ใชไมไผในการทำยุงฉางขาว เปนตน ปจจุบันมี ชาวบานเพียงไมกี่คนที่ยังคงทำเครื่องจักสานใชอยู เพราะการดำรงเลี้ยงชีพเปลี่ยนไปจากเดิม คือ ทำนานอยลง ทำงานรับจางมากขึ้น มีเครื่องใชจากภายนอก เชน เครื่องพลาสติก เปนตน

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

47


! จึงเห็นไดวารายไดของชาวบานสวนใหญไดมาจากการขายขาวเปนหลัก แตก็ถือเปนรายไดที่นอยมาก เพราะ สวนใหญจะปลูกกินเฉพาะในครัวเรือน อีกเหตุผลหนึ่งคือ มีหลายครอบครัวที่ไมมีที่นาก็จะมาขอแบงปนขาวทำให ขาวที่ปลูกไมพอขาย สิ่งที่นาสนใจคือ ระบบเศรษฐกิจชุมชนแบบยังชีพของลุมน้ำหมันเริ่มมีการเปลี่ยนแปลงอยาง เห็นไดชัดในชวงสงครามโลกครั้งที่ ๒ เปนตนมา

การคาและตลาด

ในชวงหลังสงครามโลกครั้งที่ ๒ การดำรงชีพแบบยังชีพยังปรากฏใหเห็นเชนเดิม แตสิ่งที่นาสนใจคือ การ เติบโตขึ้นของการคาและการคาระบบตลาดนาจะเกิดขึ้นในชวงนี้ เนื่องจากพื้นฐานของคนในวัฒนธรรมลุมน้ำ ทำการคาแบบเปดรานขายของไมเปน ดังเห็นไดจากในชวงเวลาดังกลาวเริ่มมีคนตางถิ่นอพยพเขามาทำการคาที่ ดานซาย โดยจะหาทำเลที่ตั้งรานในเขตอำเภอดานซาย ซึ่งเปนที่ตั้งของหนวยราชการตางๆ และมีถนนหนทาง สะดวก ดังนั้นจึงไมเห็นรานคาเติบโตขึ้นในหมูบานอื่นๆ ของพื้นที่ลุมน้ำหมัน รวมทั้งบานนาเวียงและนาหอ ยกเวน บานดานซายซึ่งเปนศูนยกลางของอำเภอ ! อยางไรก็ตามสมัยนั้นรานรวงตางๆ ในตลาดดานซายยังมีไมมาก แตละรานจึงตั้งเรียงรายเฉพาะตามถนนดิน ทางเกวียนและตั้งหางๆ กัน ที่สำคัญมีแตคนตางถิ่นมาทำการคาแทบทั้งสิ้น แตก็เขามาในจำนวนที่นอยมาก การเขา มาไมใชลักษณะแบบเปนการอพยพกลุมใหญ โดยแรกเริ่มที่เขามาจะขอเชาที่คนดานซาย ตอมาเมื่อทำการคาเจริญ กาวหนาจึงซื้อที่เปนของตนเอง และมีหลายคนแตงงานกับคนทองถิ่นกลายเปนผูครอบครองกรรมสิทธิ์ไปโดย ปริยาย สวนคนดานซายกลับไมมีใครตั้งรานคาเพราะอาชีพคาขายนั้นคนพื้นเมืองทำไมเปน ! กลุมคนตางถิ่นที่เดินทางเขามาประกอบอาชีพคาขายในตลาดดานซายในชวงเวลาดังกลาว แบงเปนกลุม ตางๆ ตามเชื้อชาติ ดังนี้ ! คนตางชาติกลุมคนจีน คนดานซายจะเรียกวาเจกนำหนา เชน เจกยวน เจกหลอ เจกอู เจกสุก เจกตั้ง เจกพก เจกอิ้ว เจกลิ่มและเจกจอย กลุมคนจีนเหลานี้มีลูกหลานสืบสกุลจนกระทั่งปจจุบัน อาทิ เจกหลอขายกาแฟ ลูกหลาน คือรานจตุพรและรานสมตำไกยาง เจกอูรับจางตัดเย็บเสื้อผา ไมมีผูสืบสกุล เจกสุกรับจางตีทอง ตนสกุลแซกวาน (มี ลูกหลานมากมาย) เจกตั้งขายของเบ็ดเตล็ดและจำหนายเนื้อสัตว (โคและกระบือ) ตนสกุล “เพียรวิทยา” เจกพกตั้ง โรงตมเหลา เจาของโรงสีขาว ตนสกุล “เรงสมบูรณ” เจกอิ้ว (ยายไปอยูอำเภอนครไทย มีลูกหลานสืบสกุล) เจกลิ้ม (ยายไปอยูอำเภอนครไทย มีลูกหลานสืบสกุล) และเจกจอย มีลูกหลานสืบสกุลเปนสามีของนางผัง บานเดิ่น ! กลุมคนจีนสวนใหญเดินทางมาจากหลมสักเขามาดานซายเพื่อขยับขยายที่ทำกิน เปนพวกหูตากวางไกล มองเห็นอนาคตวาตอไปเมืองดานซายคงจะพัฒนาทำการคาไดจึงเดินทางเขามา เมื่อทำการคาแลวก็มีเงินมีทองกัน เกือบทุกราย ! สินคาที่คนจีนนำมาขายสวนใหญ คือ ผายอมสี ดาย ตะปู รองเทายาง รม และหมวก เปนตน วิธีการทำการ คาของคนจีนก็อยางที่เกริ่นไวแลววา นอกจากจะตั้งรานในตัวตลาดดานซายแลว ยังมีการทำการคาเร โดยเดินทาง เขาไปขายสินคาตามหมูบานตางๆ สวนระบบการแลกเปลี่ยนมีทั้งการใชเงินตรา และผลิตผลทองถิ่นที่ชาวบานมีมา แลกเปลี่ยน เชน ปลาแลกกับรองเทายาง หรือไมแลกกับตะปู เปนตน ! สิ่งที่นาสนใจคือกลุมพอคาคนจีนเหลานี้ นอกจากจะทำหนาที่เปนผูซื้อและผูขายสินคาแลว ยังมีบทบาทใน การรับทราบขอมูลขาวสารของชาวบานวา มีผลผลิตอะไรในทองถิ่นที่เปนที่ตองการของตลาด ซึ่งจะสงผลตอการ เพิ่มผลผลิตนั้นๆ เชน เมื่อเกิดภาวะสงครามโลกครั้งที่ ๒ ทำใหสินคาจำพวก เสื้อผา เครื่องอุปโภคขาดแคลน ราคา มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

48


ฝายสูงมาก ความตองการของตลาดดังกลาวไดกูกถายทอดสูกลุมชาวบาน ทำใหชาวบานมีการตื่นตัวเรื่องการทอผา มากขึ้น เปนตน ! สวนคนภาคเหนือของไทย (ชาวแพรและนาน) เชน หนานจักร นอยยศ ยะคำ นอยสาร มะโนนัย หนานหวัน มาระวัง หนานกันทา พอสม นอยยศจันผง หนานแกว มาถา นอยหวัน ใหมวงศ (คนที่บวชเปนพระภิกษุสึกออกมา เรียกวา “หนาน” ผูบวชเณรสึกออกมาเรียกวา “นอย”) คนเหนือที่เขามาประกอบอาชีพในทองถิ่นนี้ ประกอบอาชีพ คาขายเปนสวนใหญ และไดแตงงานกับคนในทองถิ่นนี้ มีลูกหลานสืบทอดมาจนถึงทุกวันนี้เชนกัน อาชีพที่กลุมคน เหนือเขามาทำ เชน หนานจักรคาขายเสื้อผาและของอื่นๆ ไมมีผูสืบสกุล นอยยศคาขายเสื้อผาสำเร็จรูป ตนสกุลยะคำ มีลูกหลานสืบสกุล นอยสารคาขายเสื้อผาและอื่นๆ มีลูกหลานสืบสกุล ตนสกุลมะโนนัย หนานหวันคาขายเสื้อผา สำเร็จรูป มีลูกหลานสืบสกุล ตนสกุลมาระวัง นอยทะคาขายเสื้อผาเบ็ดเตล็ด มีลูกหลานสืบสกุล ตนสกุลมะละคำ หนานกันทา มีลูกหลานสืบสกุล ตนสกุลพอสม หนานแกว อาชีพรับจาง หมอยาสมุนไพร และหมอดูมีลูกหลานสืบ สกุล ตนสกุลมาถา นอยหวันอาชีพรับจาง มีลูกหลานสืบสกุล ตนสกุล ใหมวงศ ! ! กลุมคนญวนชาวบานเรียกวา “แกว” (เวียดนาม) มีองดั้ง องกาย องใบ (“อง” แปลวา “นาย”) ประกอบอาชีพ ตางกัน เชน องดั้งขายกาแฟและอาหาร (พะโล) ไมมีผูสืบสกุล องใบตัดผมและขายของเบ็ดเตล็ด ตนสกุลมุงชีพ (มี ลูกหลานคือราน ช. สโตร) และองกายปนกระเบื้องดินเผา (มุงหลังคา) ไมมีผูสืบสกุล กลุมคนญวนเหลานี้หนีภัยมา ตั้งแตครั้งประเทศเวียดนามตกอยูในการครอบครองของฝรั่งเศส โดยเดินทางผานเขามาทางจังหวัดหนองคายกอน เขามาสูจังหวัดเลย ! นอกจากนี้ยังมีกลุมคนกะลาจากรัฐฉานในพมา เขามาทำการคาเร จำพวกฆอง เข็มขัด เงิน และเข็ม เปนตน ! เปนที่นาสังเกตวา คนตางชาติและคนภาคเหนือเปนผูชายทั้งนั้น กลุมคนดังกลาวลวนมีอัธยาศัยดีมีความ สนิทชิดเชื้อกับคนในทองถิ่นและเปนกันเองกับทุกๆ คน รวมทั้งเปนที่เคารพนับถือของคนทั่วไป ที่สำคัญทำใหเห็น วากลุมคนตางๆ เหลานี้ เมื่อเขามาทำการคาที่ดานซายแลวมักไดแตงงานกับชาวบานและสืบเชื้อสายตอๆ มาจน กระทั่งปจจุบัน

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

49


ตลาดดานซายแมจะมีอาคารสมัยใหมปลูกสรางขึ้นมากมาย แตรานคาเรือนไหวที่ปลูกสรางมากวาครึ่งศตวรรษ ก็ยังปรากฏใหเห็นอยูในบางมุม

การดำรงชีพ: เศรษฐกิจยุค ๒๕๐๐-๒๕๓๐ ในยุคนี้ พื้นฐานในการดำรงชีพของคนในวัฒนธรรมลุมน้ำยังคงเปนแบบยังชีพเชนเดิม เพียงแตวามีวิถีการ ดำเนินชีวิตบางอยางเริ่มปรับเปลี่ยนอยางชาๆ ใหสอดคลองกับนโยบายของรัฐสวนกลาง กลาวคือ เมื่อรัฐประกาศใช แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๐๔–๒๕๐๙ ถึงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ ๓ พ.ศ. ๒๕๑๔–๒๕๐๙ รัฐมุงจะยกมาตรฐานการครองชีพของชาวบานใหสูงขึ้น ดวยการพัฒนาเศรษฐกิจ และทำใหการใชทรัพยากรตางๆ ใหเกิดประโยชนสูงสุด พยายามกระจายการผลิตใหมีมากประเภทขึ้น เพื่อจะทำให แรงงานในภาคเกษตรเปลี่ยนแปลงไปสูภาคอุตสาหกรรมและธุรกิจอื่นๆ ! การเปลี่ยนแปลงที่เห็นไดชัดในชวงนี้คือ เมื่อทางการมีนโยบายใหชาวบานนำอาวุธปนมามอบใหกับทางการ ในชวงที่ผูกอการรายคอมมิวนิสตกำลังรุกราน นายพรานจึงไมมีอาวุธลาสัตวในปา อาชีพนายพรานจึงพาลหายจาก หมูบานไปทีละคนสองคน จนปจจุบันไมมีใครเปนนายพราน มีแตคนหาของในปา ! นอกจากนี้เมื่อเสนทางการคมนาคมสะดวกยิ่งขึ้น ทำใหการติดตอระหวางหมูบาน อำเภอ และจังหวัด เริ่ม สะดวก มีรถยนตเขามาในหมูบาน ขาวของและสินคาทางการเกษตรที่ชาวบานผลิตไดเริ่มขายได ทำใหชาวบานตื่น ตัวทำการเกษตรมากขึ้น ชาวบานมักจะทำงานตลอดทั้งป สังเกตเห็นไดชัดวา คลอยหลังเมื่อยี่สิบกวาปกอน กิจกรรม ตางๆ ในชีวิตประจำวันของชาวบานเริ่มเปลี่ยนไป เชน การทำบุญที่วัด การออกลาสัตวตามปา และการจับปลาตาม มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

50


ลำน้ำเริ่มนอยลง เพราะตองเรงรัดทำงานในไรในนา อีกตัวอยางหนึ่ง คือ ที่ดินตามหัวไรปลายนา ตามปาเขา กอน หนานี้แทบไมมีใครสนใจ แตนับจากนั้นชาวบานไดแผวถางปลูกขาวและพืชเศรษฐกิจจำพวกขาวโพดและถั่ว จน กระทั่งปจจุบันภูเขากลายเปนเขาหัวโลน ! สวนการทำนาในชวงเวลานี้ยังมีวิธีการปลูกขาวเหมือนอดีตที่ผานมา คือใชแรงควายในการไถ-คราด ใชแรง คนในการปกดำและเก็บเกี่ยว แตจะเปลี่ยนจากไหววานญาติพี่นองหรือการเอาแฮงกันแบบดั้งเดิมมาเปนการจายคา จาง เจาของนาจะตองจายคาจางผูที่มาปกดำและเก็บเกี่ยวเปนรายวัน วันละ ๖, ๘, ๑๐, ๒๐ บาท และทำอาหารกลาง วันเลี้ยงผูมารับจางมาดวย ในชวงป พ.ศ. ๒๕๒๕–๒๕๓๐ จะมีการนำเครื่องทุนแรง คือรถไถเดินตามมาใชแทนแรง ควาย แตจะมีเฉพาะผูมีเงินเทานั้น คาจางแรงงานก็เพิ่มขึ้นตามภาวะเศรษฐกิจ ! นอกจากนี้ยังมีการเปดกิจการใหญๆ อยางการตั้งโรงสี ซึ่งตั้งอยูบริเวณดานในซอยอาหารรานนองตาย ปจจุบัน สวนโรงเหลาตั้งบริเวณหลังที่วาการอำเภอดานซายปจจุบัน เปดกิจการไดระยะหนึ่งก็เปลี่ยนมาดำเนิน กิจการโรงสีเพราะเห็นวามีรายไดดีกวา เนื่องจากชาวนาหมูบานอื่นๆ ในอำเภอดานซายตองสงมาที่นี่ หลายปตอมา กิจการโรงสีเริ่มซบเซาเพราะมีการแขงขันสูง ตางคนตางเปด อีกอยางคนทำนานอยลง หันไป ปลูกพืชเศรษฐกิจอยางอื่น เชน ขาวโพดและถั่วลิสง เปนตน ทายที่สุดจึงตองลมเลิกกิจการไปเพราะไมคุมทุน ปจจุบันเหลือโรงสีแหงเดียวตั้งอยูบานหัวนายูง ! ขณะที่โรงเลื่อยกลับตั้งนอกตัวอำเภอดานซาย ที่บานโปงชี เมื่อราวป พ.ศ. ๒๕๐๖ เจาของเปนคนไทยเชื้อ สายจีนยายมาจากเมืองชลบุรี ไดรับสัมปทานปาไมทั้งหมดของอำเภอดานซาย ภูเรือ และนาแหว (สมัยนั้นยังขึ้นอยู กับอำเภอดานซาย) ทำการแปรรูปแลวสงไปขายภาคกลาง ตัดปาไมจนเกลี้ยงเปนแถบๆ มาปดกิจการในป พ.ศ. ๒๕๒๗ เพราะไมหมดปา ! อยางไรก็ตามในสภาพเชนนี้ชาวบานยังสามารถดำรงชีวิตอยูได เนื่องจากมีรายไดที่ไมใชตัวเงินเชน การผลิต เพื่อบริโภคเอง และการเก็บหาจากปาหรือหยิบยืมจากญาติพี่นอง เชน การยืมขาวหรือเงินแกขัดชั่วครั้งชั่วคราว

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

51


ถั่วลิสงพืชเศรษฐกิจที่เขามามีบทบาทในชีวิตของคนลุมน้ำหมันไดไมกี่สิบป

การดำรงชีพ: เศรษฐกิจยุคหลัง ๒๕๓๐ การทำเกษตรกรรมของคนลุมน้ำหมันไดปรับเปลี่ยนอยางเห็นไดชัด กลาวคือนับตั้งแตปลายทศ-วรรษ ๒๕๒๐ที่ภาครัฐไดเริ่มการสนับสนุนการปลูกพืชการคา ชาวบานหันมาปลูกพืชพาณิชยหรือพืชการคามากขึ้นกวา เดิม การปลูกพืชการคานั้นมิใชแตเพียงตองการเงินสดในการใชจายในชุมชนหมูบาน แตยังเนื่องมาจากปจจัยหลาย ประการ เชน การสนับสนุนของรัฐนับสืบเนื่องมาจากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมฉบับที่ ๔ เปนตนมา ความ จำเปนในการจัดการทรัพยากรดินและน้ำใหมีประสิทธิภาพสูงสุด และความตองการของตลาดทั้งภายในและ ภายนอกประเทศ ! ชวงเวลานี้การปลูกขาวของชาวบานนับวาเปลี่ยนไปมาก โดยเฉพาะการใชแรงควายจะหายไป หันไปใช ควายเหล็ก ชาวนาทุกคนสามารถซื้อรถไถนาไดในระบบเงินผอน (ปจจุบันไมมีการใชแรงควาย) การชวยเหลือกันใน ระหวางญาติพี่นองในการปกดำ เก็บเกี่ยว (การเอาแฮง) ไมมีแลว คาจางแรงงานเพิ่มขึ้นจากวันละ ๒๐ บาท เปน ๕๐ บาท ปจจุบันคาจางเพิ่มขึ้นเปนวันละ ๑๐๐–๑๒๐ บาท (ถาจายคาจางวันละ ๑๐๐ บาท จะตองทำอาหารกลางวันเลี้ยง

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

52


๑ มื ้ อ ) การรั บ จ า งป ก ดำ เก็ บ เกี ่ ย ว เป น คนวั ย กลางคน ส ว นมากเป น ผู  ห ญิ ง คนหนุ  ม สาวไปหางานทำในเมืองใหญและทำนาไมเปน ! การทำไรขาวตามเชิงเขาในชุมชนนี้ไมมีใหเห็นแลว ปาตามเชิงเขาเปลี่ยนไปปลูกพืชเศรษฐกิจ เชน ขาวโพด ขิง และอื่นๆ ! ในอดีต การปลูกขาวใชพันธุขาวพื้นเมือง เคยใชพันธุอะไรก็ใชอยางนั้น นานเขาขาวกลายพันธุ คุณภาพไมดี ผลผลิตลดลง การใชปุยถือวาไมจำเปน ถาจะใชก็ใชมูลวัว-ควาย ตนขาวเปนโรคยอดดวน เปนขี้ใบเหลือง ใชหนอ ไมไผปามาสับ-ฟนใสในแปลงนา เปนการบรรเทาโรคตนขาว ! ชวงเวลานี้ชาวบานจึงใชพันธุขาวที่ทางราชการนำมาแจกหรือนำมาจำหนาย หรือใหกูยืม เชน ขาวเหนียว พันธุ “ก.ข.๖” และ “ก.ข.๘” มีการเปลี่ยนพันธุขาวทุกป ใสปุยเคมี เมื่อตนขาวเปนโรคใชสารเคมี มีการใชยาปราบ ศัตรูพืชฆาปูที่มาทำลายตนขาว ใชยาฆาหญา ยาคุมหญา แทนการถอนหญาและถางหญาแบบดั้งเดิม ! ปจจุบันทุงนาบางสวนเปลี่ยนสภาพไป เปนตนวา นาแวงนอย นาแวงใหญ นารองกอก นาเปอยเลือด ใน หมูบานหนองคู (ตลาดดานซาย) กลายสภาพเปนที่อยูอาศัย ผูคนปลูกสรางเปนอาคารบานเรือน รานคา มีสภาพเปน ยานการคา มีคนอยูอาศัยหนาแนน นาขี้หมู บานเดิ่น กลายสภาพเปนที่อยูอาศัย เปนที่ตั้งธนาคารและรานคาตางๆ ! โดยทั่วไปพืชที่ปลูกกันมากที่สุด คือ ขาว ซึ่งเปนการผลิตดั้งเดิม รองลงมาเปนพืชการคาที่มักปลูกในฤดูแลง คือ ถั่วเหลืองและถั่วลิสง ปลูกพืชผัก ไดแก หอม กระเทียม และผักอื่นๆ ไดมีการปรับเปลี่ยนการผลิต แตเดิมชาว บานเคยปลูกขาวปละสองครั้งและทำสวนบนพื้นที่สูง รัฐและบริษัทเอกชนไดเขาไปสงเสริมการปลูกพืชการคา เชน ถั่วเหลืองแทนขาวนาปรัง เพราะมีความตองการถั่วเหลืองภายในประเทศมากเพื่อผลิตน้ำมันพืชและกากถั่วเหลือง ! ประการสำคัญพืชเศรษฐกิจจำพวกขาวโพดและถั่ว ยังไดรับการสงเสริมของเกษตรอำเภอไดจัดหาเมล็ดพันธุ และปุยมาแจก เพื่อตองการยกฐานะของชาวบานที่ยากจนจากการทำนา ใหมีรายไดเพิ่มขึ้น ชาวบานก็อยากได มีกินมี ใช จากที่เคยยากจนก็เริ่มฟนตัว มีฐานะความเปนอยูดีขึ้น แตในทางตรงกันขามกลับทำลายปาไมซึ่งเปนทรัพยากรที่ สำคัญของทองถิ่น เพราะตองเขาไปถากถางเขตพื้นที่ปา จากขาวโพดก็เปลี่ยนมาเปนมันสำปะหลัง ถั่วลันเตา จน ลาสุดสงเสริมใหปลูกกระชายดำ พืชเศรษฐกิจเหลานี้เขามาดานซายชวงหลัง เดิมชาวบานปลูกเพียงขาวและงา ! การปลูกขาวโพดสวนใหญจะใชที่ดินตามชายปาหรือบนภูเขา กระทั่งระยะหลัง เมื่อทางรัฐไดประกาศพื้นที่ ดังกลาวเปนเขตปาสงวนในราวป พ.ศ. ๒๕๓๒ จึงทำใหชาวบานตองถอยรนที่ทำกินลงมา ประกอบกับราคา ผลผลิตขาวโพดไดราคาไมแนนอน จึงทำใหการปลูกเริ่มลดลง พันธุขาวโพดสวนใหญที่ปลูกคือ ขาวโพดพันธุเกษตร สำหรับเลี้ยงสัตว มีระยะเวลาในการปลูก ๒ ชวง ชวงแรกเริ่มตนฤดูฝน ราวเดือนพฤษภาคม-มิถุนายน เก็บเกี่ยวชวง เดือนสิงหาคม-กันยายน ทำใหไดขาวโพดที่มีคุณภาพไมสูดีเพราะมีเชื้อรา สวนชวงที่สองปลูกราวเดือนตุลาคมพฤศจิกายน เก็บเกี่ยวเดือนธันวาคม-กุมภาพันธ ! นอกจากนี้ยังมีการปลูกมันสำปะหลัง ถั่วเขียว ถั่วแดง และออย สวนมะขามหวานเปนพืชที่ทางการสงเสริม ใหปลูกไดไมถึง ๑๐ กวาปที่ผานมา เพราะเห็นวามะขามมีราคาดี ประกอบกับสภาพดิน น้ำ และสภาพอากาศที่เอื้อ อำนวยตอการเจริญเติบโต ทำใหเกษตรกรหันมาปลูกเปนอาชีพอยางจริงจัง และเพิ่มที่การเพาะปลูกมากขึ้น ทำให ปจจุบันมะขามราคาตก ชาวบานปลูกและดูแลแทบจะไมคุมกับทุนที่ลงไป พันธุมะขามที่ปลูกคือ สีทอง สีชมพู อินทผลัม และน้ำผึ้ง เปนตน ! ขณะเดียวกันยังมีการปรับเปลี่ยนวิถีแหงการทำนา กลาวคือ ในรอบสองทศวรรษที่ผานมา การทำนาได เปลี่ยนไปมาก มีการใชรถไถแทนควาย ทำใหสะดวกสบายมากขึ้น แตสิ้นเปลืองคาใชจาย สวนการใชครกกระเดื่อง ไดเลิกไปนานหลายสิบปแลว หลังจากโรงสีไดเขามาตั้งที่ดานซาย มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

53


! ในสวนของปาไม คนในลุมน้ำหมันสวนใหญจะตัดเฉพาะเมื่อตองการแปงบาน สวนที่ตัดเปนการคาคือกลุม นายทุนซึ่งเปนคนจากนอกหมูบาน ในราวป พ.ศ. ๒๕๓๒ ทางภาครัฐสั่งปดปา ดังที่กลาวแลวนั้น คงเห็นวาปาไม ทรุดโทรมไปมาก ทำใหนายทุนที่ไดสัมปทานตองลมเลิกกิจการไป ! ปจจุบันพื้นที่ในชุมชนลุมน้ำหมันจึงไมมีโรงไมโรงเลื่อย มีแตโรงคาไมหนาโรงพยาบาลดานซายซึ่งเปนไมที่ สั่งมาจากแมสอด หรือไมหากจะปลูกบานก็มักเดินทางไปสั่งไมจากอำเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก หรือไมก็โรงคา ไมอำเภอวังสะพุง จังหวัดเลย ซึ่งสั่งไมมาจากจังหวัดมุกดาหาร เขาใจวามุกดาหารก็สั่งไมนำเขามาจากประเทศลาว อีกทอดหนึ่ง ! กระทั่งรอบทศวรรษที่ผานมา บานเมืองเจริญขึ้น การคมนาคมสะดวก ยานพาหนะมีมากมาย การตอนวัว ตอนควายไกลๆ กลายเปนเรื่องการกีดขวางการจราจร ประกอบกับมีการพัฒนาเทคโนโลยีมีรถไถนา การใชวัวควาย ไถนาจึงคอยๆ หายไป สวนสัตวเลี้ยงชาวบานจะเลี้ยงวัวและควาย แตจะไมไดเลี้ยงเปนอาชีพ เลี้ยงเพื่อใชงานทางการ เกษตรและขาย ครอบครัวหนึ่งเลี้ยงประมาณ ๕–๑๐ ตัว หรือไมก็เลี้ยงหมูและไก เปนตน นอกจากนี้ยังมีการหาปูและปลาตามหวย หนอง คลอง บึง เก็บผักตามปามากินกัน ไมไดเก็บเพื่อขาย ที่ สำคัญเกือบทุกหลังคาเรือนยังมีการทำผักสะทอนไวขายและไวกิน สวนการคาขาย ตลาดดานซายเปนศูนยกลางของ ระบบแลกเปลี่ยนและซื้อหาขาวของของอำเภอ สวนหมูบานตางๆ อยางบานนาเวียงและบานนาหอ บางครอบครัว ก็เริ่มเปดรานขายของเบ็ดเตล็ด บางครอบครัวก็ปลูกผักขายในตลาดสด อาชีพเสริมก็มีการทอผาและจักสานสวิง รวมทั้งยังมีอาชีพที่ทางราชการสงเสริมใหเกิดกลุมอาชีพใหมๆ มีกลุมทอผา เปนตน ! สวนปญหาหนี้สินพบวามักเกิดขึ้นเมื่อน้ำทวมไรนา ทำใหขาวเสียหาย ผลผลิตไดนอยไมพอกินก็ตองไปหา ซื้อจากที่อื่น ไมมีรายไดก็ตองเปนหนี้ มาสมัยนี้รัฐบาลเอาเงินมาใหยืม ครอบครัวละหมื่น สองหมื่น สามหมื่น แต ครอบครัวที่ยากจนก็ไมมีสิทธิ์ใหยืม กลัวไมมีเงินใชหนี้ สวนครอบครัวที่มีอันจะกินก็มากหนอย สามหมื่น สี่หมื่นก็ มี และในชวงเวลานี้เองที่ธนาคารตางๆ เริ่มเขามาตั้งในอำเภอดานซาย ไมวาจะเปนธนาคารออมสินและธนาคารกรุง ไทย ! จึงเห็นไดวปจจุบันการเกษตรที่ทำเพื่อการคานี้ กระบวนการผลิตจะถูกควบคุมโดยกลไกตลาดเกือบทุกขั้น ตอน ตั้งแตประเภทของพืชที่ปลูก ระยะเวลาที่ปลูก การตระเตรียมดิน การเก็บผลผลิต การใชเทคโนโลยีตางๆ จาก ภายนอก ชุมชนมีสวนในการจัดการนอยกวา ตางจากการปลูกพืชเพื่อบริโภค หรือขายในชุมชน

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

54


บทที่ ๕ สุขภาพและสาธารณสุข ! การดูแลรักษาสุขภาพ มีองคประกอบหลักในการดูแลสุขภาพของชาวบานแบงสาระสำคัญได ๒ สวน ใหญๆ คือ การใหบริการของสถานพยาบาล และการที่ชาวบานดูแลหรือพึ่งตนเอง ขณะเดียวกัน การดูแลสุขภาพ ของตนเองหรือการพึ่งตนเองในดานสุขภาพยังสามารถแบงออกเปน ๒ สวนยอยๆ กลาวคือ การดูแลสุขภาพอนามัย ทั่วๆ ไป หรือชวงที่ไมไดเจ็บไขไดปวย ไดแก การกิน การทำงาน การพักผอน กับอีกสวนหนึ่ง คือการดูแลตนเองเมื่อ เจ็บปวย หมายถึง การชวยเหลือตนเองไดเมื่อมีอาการเจ็บปวย โดยไมตองพึ่งพาบริการ การดูแลสุขภาพชวงกอนป พ.ศ.๒๕๐๐ ในชวงเวลาดังกลาว การติดตอสื่อสารและการคมนาคมของคนลุมน้ำหมันกับทองถิ่นอื่นๆ เปนไปดวย ความยากลำบาก แตสภาพแวดลอมทางธรรมชาติยังอุดมสมบูรณ จึงสามารถพึ่งพาตนเองไดภายในชุมชน รวมไปถึง การดูแลดานสุขภาพ เพราะแทบทุกทองถิ่นจะมีหมอตำแยสำหรับทำคลอดและมีหมอพื้นบานคอยดูแลรักษาโรค ทั่วไป โดยอาศัยสมุนไพรที่มีอยูมากมายรอบบริเวณหมูบาน ประการสำคัญมีความเชื่อเรื่อง “ผี” ที่มีผลตอการดูแล รักษาสุขภาพ รวมทั้งการปฏิบัติภารกิจประจำวัน และเหตุการณสำคัญๆ ในชีวิต เชน การคลอดลูก การแตงงาน การ ทำนา เปนตน ความเชื่อกับการรักษาพยาบาลในชุมชนลุมน้ำหมัน ในอดีตคนลุมน้ำหมันมีความเชื่อและยอมรับนับถือผีสาง เทวดา และสิ่งศักดิ์สิทธิ์อยางเปนชีวิตจิตใจ โดย เฉพาะความเชื่อในเรื่อง “ผี” จะมีปรากฏอยูทั่วไปในทุกหมูบาน เชน ผีพอ ผีแม ผีเชื้อ (ญาติพี่นอง) ผีไร ผีนา จะ สังเกตเห็นไดวา ทุกๆ บานจะมีหิ้งอยูบนที่สูงภายในบาน เรียกวา หิ้งของฮักษา (รักษา) ประจำบาน เพื่อคุมครอง คนในบานใหอยูเย็นเปนสุข หิ้งของฮักษานี้ เจาของบานจะตองนำดอกไม ธูปเทียน ไปคารวะ กราบไหวทุกๆ วันพระ (ขึ้นหรือแรม ๑๕ ค่ำ) เปนที่นาสังเกตวา ของฮักษาถือวาเปนสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่ผูใดจะละเมิดไมได กลาวคือ ถาเจาของบานไมเอาใจใสใน การสักการบูชาตามกำหนดแลว ก็อาจจะทำใหคนในบานประสบภัยพิบัติตางๆ นานา อาจจะเกิดเจ็บไขไดปวยหรือ ประสบอุบัติเหตุก็ได โดยเฉพาะอยางยิ่งคนอื่นหรือคนนอกบานจะเขาไปอาศัยหลับนอนในบานของผูอื่นไมได ถือวา ผิด “ของฮักษา” อยางรายแรง จะตองไดรับอนุญาตจากเจาของบาน โดยเจาของบานจะบอกกลาวของฮักษาประจำ บาน หรือที่ชาวบานเรียกวา (คอบของฮักษา) เสียกอนจึงจะเขาไปพักนอนได มิฉะนั้นแลวของฮักษาจะลงโทษ เจาของบานหรือลงโทษแขกที่มานอนพักก็ได ! ในการทำบุญหรือจัดงานภายในบาน เชน พิธีแตงงาน ทำบุญอุทิศสวนกุศล หรืองานบวช เจาของบานจะ ตอง “คอบ” ของฮักษาเสียกอน และนอกจากนี้ยังตองมีการบอกกลาวหรือคอบผีเชื้อเสียกอน โดยการจัดหาอาหาร คาวหวานใสภาชนะ หรือที่เรียกกันในภาษาพื้นบานวา “แตงพาขาวนอย” แลวเชิญดวงวิญญาณของปู ยา ตา ยาย ที่ มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

55


ลวงลับไปแลวใหมารับประทานอาหารที่เจาของบานจัดใหเสียกอน มิฉะนั้นอาจจะเกิดอัปมงคลขึ้นในบาน เชน ใน การแตงงาน ถาเจาภาพไมบอกกลาวผีเชื้อ เจาสาวที่จะแตงงานก็อาจจะรองไหขึ้นโดยไมทราบสาเหตุ เปนตน ! นอกจากของฮักษาและผีเชื้อแลว คนลุมน้ำหมันยังมีความเชื่อเกี่ยวกับผีไร ผีนา ผีเจาที่อยางจริงจัง แตละป หลังจากเก็บเกี่ยวขาวหรือผลิตผลจากไรแลว เจาของไร เจาของนา หรือเจาของที่จะตองทำพิธีเลี้ยงผีเหลานี้เปน ประจำทุกป ดวยการนำเอาอาหารคาวหวาน เชน ไกตมทั้งตัว ไขตม ของหวาน บางทีก็มีของชำรวยอื่นๆ เชน เรือ แพ มีด และดาบ (ทำดวยตนกลวยหรือกานกลาย) เปนตน ! จากความเชื่อเรื่องผีและสิ่งศักดิ์สิทธิ์ตางๆ นี้เอง อำนาจหรืออิทธิฤทธิ์ของผีจึงเขามามีบทบาทตอชีวิตจิตใจ ของคนลุมน้ำหมันมาก โดยเฉพาะอยางยิ่งผูที่เจ็บไขไดปวยมักจะคิดวามีสาเหตุมาจากผีเปนสวนใหญ ผูที่เจ็บปวย ดวยโรคตางๆ เมื่อรักษาดวยยาสมุนไพรแลวยังไมหาย คนในบานก็จะมุงประเด็นไปหาผีทันที จะตองมีการไปหาขอ หาแขว (หาสาเหตุของการปวย) จากหมอยามหรือคนจับยามสามตา (หมอยามหรือคนจับยามสามตา คือผูที่หยั่งรู สาเหตุอันเนื่องมาจากผีตางๆ) ซึ่งหมอยามนี้มักจะมีอยูแทบทุกหมูบาน ! การไปหาหมอยามนี้ชาวบานเรียกกันวา “ไปจับยาม” ผูที่ไปจับยามก็บอกหมอยามวา นายนั้น หรือนางนี้ (บอกชื่อผูที่เจ็บปวย) ปวยมานานแลวรักษายังไงก็ยังไมหาย อยากทราบวาเปนเพราะอะไร (ผีอะไร) ผูที่ไปถามจะตอง สมมุติฐานขึ้นในใจวา “เปนเพราะสิ่งนั้นแหละ” ถาเปนจริงก็ขอใหไดขอไดแขว (ทราบสาเหตุ) ผูที่เปนหมอยามก็จะ หาสาเหตุโดยการนับขอมือกลับไปกลับมา ถามีสาเหตุมาจากสิ่งที่ผูถามตั้งสมมุติฐานไวในใจแลว หมอยามก็บอกวา “แหมนแลว” (ใชแลว) เปนเพราะสิ่งนั้นแหละ ผูที่ไปถามก็จะถามตอไปวา “ถาไดขอไดแขวแลว ก็จะสักการะดวย อาหารคาวหวาน พรอมดวยของชำรวย เชน เรือ แพ นาวา มีด ดาบ หมอยามก็จะตอบวา” เขาใจแทละ ! เมื่อผูถามกลับไปถึงบานและจัดแจงหาอาหารคาวหวาน และของชำรวยตางๆ ไปสักการะเลี้ยงดูตามที่ยาม บอก ผูที่เจ็บปวยสวนมากก็จะหายเปนปกติอยางไมนาเชื่อ ! ในการไปจับยามหรือไปหาหมอยามนี้ บางทีก็ตองใชเวลาหนอย เพราะสิ่งที่ผูถามตั้งสมมุติฐานไวในใจนั้น อาจจะไมใชสาเหตุของความเจ็บปวย อาจจะเปนเพราะผีตัวอื่นก็ได ถาเปนเชนนี้ ผูที่ถามก็ตองถามตอไปวา “ถาอยาง นั้นก็คงเปนเพราะสิ่งนี้” เขาใจไหม หมอยามหรือผูจับยามก็จะนับขอมือกลับไปกลับมาอีก และถาตรงกับสิ่งที่ผูถาม ตั้งสมมุติฐานครั้งหลัง หมอยามก็จะบอกวา “ไดขอไดแขวแลว” (ทราบสาเหตุแลว) ขอใหนำอาหารคาวหวานและ ของชำรวยไปสักการะเลี้ยงดูเสีย ผูเจ็บปวยก็จะหาย การปฏิบัติโดยการเชื่อผีและยอมรับนับถือผีนี้ จะปรากฏวาไดผล เกือบ ๑๐๐% ! ปจจุบันความเชื่อในเรื่องผีตางๆ มีจำนวนลดนอยลงตามลำดับ สวนใหญจะไมเชื่อผีกันเลย จะสังเกตเห็นได วาเมื่อมีผูเจ็บปวย ญาติจะนำสงโรงพยาบาลทันที จะยังมีหลงเหลืออยูบางก็เฉพาะคนเฒาคนแกที่มีอายุมาก และมีอยู ในหมูบาน ตำบลที่หางไกลตัวอำเภอเทานั้น แสดงวาคนลุมน้ำหมันในยุคโลกาภิวัตนนี้มีการปรับปรุง เปลี่ยนแปลง ความรูสึกนึกคิดและสภาพความเปนอยูใหกาวหนาทันสมัยยิ่งขึ้น !

การดูแลการตั้งครรภและคลอดบุตร: อีกหนึ่งตัวอยางของภูมิปญญาพื้นบาน ในสมัยกอน การคลอดลูกเปนไปดวยความลำบากทุลักทุเล เสี่ยงอันตรายตอชีวิตเปนอยางมาก เนื่องจาก ไมมีหมอไมมีผดุงครรภและไมมีโรงพยาบาลอยางสมัยนี้ มีแตหมอพื้นบานซึ่งเรียกกันวาหมอตำแยเทานั้น พอเริ่มตั้ง ทอง ๒-๓ เดือน ผูตั้งทองจะมีอาการหงุดหงิดและอาเจียน อยากกินสิ่งโนนสิ่งนี้ โดยเฉพาะของที่มีรสเปรี้ยว เชน มะขาม สมโอ ฯลฯ เมื่อไดกินแลวจะรูสึกสบายใจ มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

56


! พอถึงเดือนที่ ๔-๕ ก็จะไมรูสึกหิวของเปรี้ยวอีก พอยางเขาเดือนที่ ๖-๗ เด็กที่อยูในทองจะเริ่มดิ้น บางทีผู เปนแมหรือผูที่ตั้งครรภก็จะรูสึกไมคอยสบาย คือมีอาการรอนทองและรอนคอ วิธีแกคือเอาเงินปอม (เงินสมัยกอนมี ลักษณะเปนกอนกลม) ใสภาชนะที่บรรจุน้ำมะพราวออนใหกิน อาการดังกลาวก็จะหาย เพราะน้ำมะพราวเปนยาเย็น พอถึงเดือนที่ ๙ ซึ่งเปนเดือนที่ครบกำหนดคลอดหรือออกลูก เด็กในทองก็จะดิ้นมากขึ้นและแรงขึ้นตามลำดับ ถา เด็กในทองไมดิ้นแรงก็แสดงวาเด็กในทองนั้นปวย หมอตำแยจะหายาใหกิน ! สมัยกอนคนที่ตั้งทองเรียกวา “แมมาน” คนที่เปนแมมานนี้ หมอตำแยจะแนะนำไมใหนั่งๆ นอนๆมากเกิน ไป เพราะจะทำใหคลอดลูกยาก ใหหมั่นทำงาน เชน ตักน้ำและตำขาว เพื่อใหทอง “คลอน” จะไดออกลูกงาย แมมาน นี้ถาเดินมากเกินไปมักจะเกิดอาการเจ็บโคนขา เวลาเดินจะรูสึกเจ็บปวดพอสมควร เมื่อเกิดอาการดังกลาวตองไปหา หมอตำแยมา “แปงทอง” หรือลูบคลำทอง (ตรวจครรภ) อาการเจ็บปวดก็จะหายไปและเดินไดสะดวกขึ้น ! เมื่อใกลถึงวันคลอดประมาณ ๔-๕ วัน แมมานจะรูสึกเจ็บเล็กเจ็บนอย ตองไปตามหมอตำแยมาแปงทอง ลูบคลำทองอีก คราวนี้หมอตำแยจะบอกวา ใกลจะคลอดเต็มทีแลว ใหเตรียมที่เตรียมทางเอาไว คือใหเอาเชือกมาผูก ราวสูงกวาศีรษะ หยอนลงมาแลวทำเปนหวง (วงกลม) เอาผาพันหวงไวเพื่อกันไมใหเจ็บมือเวลาจับหวง ! ตอมาแมมานจะเจ็บมากขึ้นและถี่ขึ้น หมอตำแยจะมาอยูใกลๆ ลูบทอง คลำทอง และชวนคุยใหกำลังใจไป เรื่อยๆ เมื่อแมมานเจ็บมาก หมอตำแยก็จะบอกใหนั่งคุกเขา ถางขาออก แลวมือก็จับหวงหรือถวงที่ทำดวยเชือก เพื่อ ใหตั้งตัวตรง หมอตำแยก็จะบอกใหคอยๆ เบง และแปงทองใหคลอด และบางทีก็เขยาทองดวยเพื่อใหลูกออกมาโดย เร็ว ทำอยางนี้ไปเรื่อยๆ จนกวาลูกจะออกมา ! เมื่อลูกออกมาแลวแตรกยังไมออกมา หมอตำแยจะกดทองเพื่อใหรกหรือนองออกมา ถารกออกนานผิดปกติ หมอตำแยก็จะเอาหมอนมาตีหลังผูคลอด ๓ ครั้ง พรอมกับพูดวา “รีบออกมา รีบออกมา อยางของอยาคา“ เมื่อรก หรือนองออก ใหรีบเอาไมปงมาหนีบ “สายแห” ที่รุงรังหางจากตัวเด็กประมาณ ๒ นิ้ว แลวใชติวไมที่คมๆ ตัดสายแห ออกจากเด็ก แลวก็เอารกใสกะโปะน้ำเตาไปฝงไวใตบันได ! การฝงรกใหใชมือขวาในการขุดดินและการฝง ถาใชมือซายจับก็เชื่อกันวา เด็กที่เกิดมาจะเคยชินมือซาย การ ที่นำรกไปฝงไวใตบันไดนั้นก็เพื่อใหเด็กรักบานเกิดเมืองนอนของตน ซึ่งภาษาของชาวบานเรียกกันวา ใหเด็กหวงรก หวงแหของตน ไปที่ไหนๆ ก็ใหรูสึกคิดถึงบานและกลับไปอยูในภูมิลำเนา เพื่อเปนกำลังในการชวยเหลือพอแม ประกอบสัมมาอาชีพตอไปในอนาคต ! การอยูไฟหลังคลอด สมัยกอนไมมียากินอยางสมัยนี้ ยาที่ใชในการขับน้ำคาวปลาและใหมดลูกเขาอูก็ไมมี จึงใชวิธีอยูไฟ ภาษาชาวบานเรียกวา “อยูกรรมคำเดือน” ใหผูอยูไฟกินน้ำรอน อาบน้ำรอน ซึ่งตมตัวยาสมุนไพรรวม กันหลายอยาง และกอนจะกินหรืออาบน้ำรอน ตองไปหาหมอมาเปาหลังและเปาเตาไฟเสียกอน เรียกวา การดับพิษ ไฟ มิฉะนั้นจะทำใหหลังพองและเปนแผลเนื่องจากถูกน้ำรอนมาก ! กอนที่จะอยูไฟหรืออยูกรรมคำเดือน ตองจัดทำเตาไฟหรือปานเตาไฟขึ้นเฉพาะ โดยเอาไมไผมาทำเปนขอบ สี่เหลี่ยมผืนผา เอากาบกลวยมารองพื้นกันไมใหความรอนถึงพื้น เพราะอาจจะเกิดไฟไหมขึ้นระหวางการอยูไฟ เสร็จ แลวเอาดินเหนียวมาอัดใหแนน แลวเอาหินหรือกอนอิฐมา ๓ กอน เรียกวากอนเสา หาปบที่สะอาดใสน้ำมาตั้งแลว กอไฟดวยฟนเปนดุนๆ ! สวนยาสมุนไพรหรือไมที่จะนำมาตมมีหลายอยาง เชน ใบหนาด ใบเปา ใสลงในปบที่บรรจุน้ำเพื่อตมอาบ ตมกิน นอกจากนี้ยังมีสมุนไพรอื่นๆ อีกที่นำมาตมผสมกัน เชน ไมน้ำนอย ไมหนามหาง ไมเครือเขาแกลบ (เถาวัลย) ไมฝาง หัวยาขาวเย็น กอนที่จะนำยาสมุนไพรดังกลาวมาตม จะตองตัดใหเปนทอนๆ ยาวประมาณ ๑ คืบ ตากแดดให แหง แลวเอามัดรวมกันใสลงไปในปบเพื่อความสะดวกในการเปลี่ยนยาเมื่อยาจืดแลว มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

57


! ยาทุกอยางที่นำมาตมนั้น เมื่อน้ำเดือดใชถวยกระเบื้องอยางหนา (ถวยตราไก) ตักน้ำรอนมาดื่มได และหลัง จากดื่มน้ำรอนผสมยาสมุนไพรลงไปแลว ผูเปนแมจะมีน้ำนมใหลูกกิน และกินไปเรื่อยๆ จนกวาจะออกไฟ ! อยางไรก็ตามตัวยาที่กลาวมาแลว ใชวาจะใหผลแกผูอยูไฟเหมือนกันทุกคน บางคนใชอยางเดียวกัน แตบาง คนอาจจะแตกตางจากผูอื่น สิ่งที่นาสังเกตคือ ถายาสมุนไพรชนิดใดกินแลวไดผล ก็จะมีน้ำนมออกมาใหลูกกิน แตถา กินแลวไมมีน้ำนม แสดงวายานั้นไมไดผล ตองเปลี่ยนยาชนิดใหม และถาผูใดเคยกินยาชนิดใดในการคลอดบุตร อยูไฟครั้งแรกแลว ในการคลอดบุตรและการอยูไฟครั้งตอไปตองกินยาชนิดเดิม ไมตองเปลี่ยนเปนยาชนิดอื่น ! กำหนดเวลาการอยูไฟนั้นไมไดกำหนดไวแนนอน สวนมากมักจะอยูกันตั้งแต ๒๐–๓๐ วันหรือ ๑ เดือน จึง เรียกวาคำเดือนหรือกรรมเดือน ทั้งนี้เพื่อใหอวัยวะเพศแหงและมดลูกเขาอู โดยการอาศัยความรอนจากไฟในเตาและ ความรอนจากน้ำรอนที่ดื่มตลอดเวลาในการอยูไฟ อยางไรก็ตาม การคลอดบุตรคนแรกหรือที่ชาวบานเรียกวา “มาน หัวสาว” มักจะอยูไฟนาน คือประมาณ ๑ เดือน สวนลูกคนตอๆ มาอาจจะอยูเพียง ๒๐–๒๕ วัน แลวแตความ ตองการและความจำเปนของบุคคลนั้นๆ ! ในระยะเวลาที่อยูไฟนี้จะตองใหรางกายไดรับความรอนมากที่สุดเทาที่จะทำได โดยการอาบน้ำรอน กินน้ำ รอน และเอารางเขาใกลๆ ไฟ (ขางไฟ) ใหมากที่สุด เพื่อใหอวัยวะเพศแหงและมดลูกเขาอูดังกลาวมาแลว นอกจากนี้ หลังจากอาบน้ำรอนแลว ยังนิยมใหผูที่อยูไฟเอาผานุง ผาถุง หรือผาหมมาคลุมศีรษะไวนานๆ เพื่อใหรางกายไดรับ ความรอนมีเหงื่อไหลออกมามากๆ จึงเปดออก ทำอยางนี้เปนประจำหลังอาบน้ำรอน จะชวยใหรางกายและอวัยวะ เพศเขาสูสภาพปกติเร็วขึ้น ! ระหวางการอยูไฟจะตองพยายามใหรางกายไดรับความรอนเสมอกัน โดยการนอนหันหนาเขาหาเตาไฟบาง หันหลังใหเตาไฟบาง นั่งหันหนาเขาเตาไฟบาง หันหลังเขาเตาไฟบาง อยางนี้เปนตน เมื่ออยูไฟนานพอสมควรแลว กอนจะออกไฟก็มักจะหาฤกษงามยามดีอีก และทำพิธีบายศรีสูขวัญใหแมและเด็กกอนจะออกไฟดวย ! อาหารการกินของผูอยูไฟ มักถูกจำกัดใหกินอาหารเฉพาะสิ่งที่ไมใหโทษแกทั้งแมและเด็ก อาหารที่นิยมกิน กันในสมัยนั้นไดแก เนื้อหมูตากแหง ปลายาง ขาวจี่ (ขาวเหนียวปนเปนกอนแลวนำไปยางไฟ) ตมหนอขา หมกหัวขา ออน ผักนึ่ง เปนตน สวนอาหารที่ถือวาแสลงเอามากและผูอยูไฟจะกินไมไดเลยก็มีหลายอยาง เชน ผักชะอม แมงดา ผักไห เนื้อวัว ของหมักดอง ของเย็น เชน แตงโม ฟกทอง เปนตน มีขอที่นาสังเกตคือเนื้อกบนั้นถือวาไมใชของแสลง เพราะถากินแลวจะชวยใหตอกระดูกตอเอ็นของผูอยูไฟ และจะทำใหมีความสุขกายสบายใจเร็วขึ้น ! นอกจากอาหารที่นิยมใหผูอยูไฟกินและอาหารที่แสลงแลว ยังมีอาหารอีกชนิดหนึ่งซึ่งไมใชอาหารแสลง แต ถือเปนความเชื่อของคนลุมน้ำหมัน คือ หามผูอยูไฟกินปลาชอน เพราะเหตุที่วา ปลาชอนชอบกินลูกของตัวเองและ ปลาชนิดอื่นเปนอาหาร ถาหากวาผูอยูไฟกินปลาชอนแลว อาจเปนเสนียดจัญไรระหวางแมกับลูก คือในอนาคตอัน ใกล ลูกกับแมก็อาจจะมีอันพลัดพรากจากกันก็ได ผูอยูไฟจึงไมกินปลาชอนโดยเหตุผลดังกลาวมาแลว ! นอกจากนี้แมบางคนอาจเกิดการผิดหมอกรรม หรือมีอาการผิดปกติเกิดขึ้นระหวางการอยูไฟ ซึ่งผูอยูไฟมัก จะมีอาการเวียนศีรษะ หนามืด ตาลาย เปนลมหมดสติ สาเหตุที่ผิดหมอกรรมเกิดจากหลายสาเหตุ เปนตนวา กิน อาหารแสลง เชน เนื้อวัว ผักไห ผักชะอม ฟกทอง ของหมักดอง ของบูดเนา ฯลฯ หรืออาจเปนเพราะไดรับกลิ่นที่มา รบกวนอยางแรง เชน กลิ่นของผักชะอม กลิ่นควันไฟที่เกิดจากการเผาขยะ และกลิ่นชาง เปนตน ! วิธีแกไขอาการผูที่ผิดหมอกรรมยังไมมียารักษา แตชาวบานจะใชผาที่ยอมดวยหมอนิล นำไปนึ่งใหรอนแลว เอามาคลุมศีรษะของผูอยูไฟไว ประมาณ ๑๕–๒๐ นาที อาการที่ไมสบายตางๆ จะคอยๆ หายไปในที่สุด ! ในขณะที่แมบางรายอาจเกิดการตกเลือดหรือเลือดออกมากผิดปกติ นานๆ จะปรากฏสักครั้งหนึ่ง โดยที่ใน สมัยนั้นยังไมมีหมอและยาที่ทันสมัย ชาวบานจึงตองพึ่งยาสมุนไพรโดยหมอยาพื้นบานเปนผูจัดหาให ในกรณีที่มี มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

58


การตกเลือดหลังจากการอยูไฟนั้น คุณยายสงา แกนสารี อดีตกรรมการชมรมผูสูงอายุ โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราช ดานซาย ไดกรุณาบอกชื่อยาในการรักษาอาการดังกลาว ซึ่งประกอบดวย ! ๑. หญาไซ ! ๑! กำมือ ! ๒. พริกไทย! ๗! เม็ด ! ๓. กระเทียม! ๗! กลีบ ! สำหรับหญาไซนั้นใหเอามาจำนวน ๑ กำมือ แลวตัดหัวทายออก หั่นใหละเอียดพอสมควร แลวผสมกับพริก ไทย กระเทียม จำนวนดังกลาว โขลกใหละเอียด ทำเปนลูกกลอน (กอนกลมๆ) นำมารับประทาน ผูที่ตกเลือดหลัง อยูไฟก็จะหาย ทารกและเด็กเล็ก: การดูแลเมื่อครั้งวันวาน ทารกแรกเกิดจากครรภของมารดา เปนวัยที่ออนนุมนิ่มและเปราะบาง เปนระยะเวลาที่เสี่ยงตอการเปนการ ตายการติดเชื้อ ตลอดจนโรคาพยาธิทั้งหลาย ซึ่งมีปะปนอยูทั่วไปในที่สกปรกอับชื้น เพราะฉะนั้น การดูแลเอาใจใส เด็กของผูเปนบิดามารดา จึงเปนสิ่งที่สำคัญยิ่ง หากเปนสมัยปจจุบัน (พ.ศ. ๒๕๔๗) ก็ไมนาวิตกกังวลเปนหวงเทาไร นัก เพราะความเจริญในดานการสาธารรสุขเกี่ยวกับการรับฝากครรภ การทำคลอด ตลอดจนการเลี้ยงดูรักษาเด็ก มี วิวัฒนาการอันกาวหนาและทันสมัยมาก มีนายแพทย พยาบาลผดุงครรภ และโรงพยาบาลพรอมดวยเวชภัณฑในการ ดูแลรักษาเด็กอยางพรอมมูล ! แตถาหากเรามายอนไปอดีตสมัย ปู ยา ตา ยาย ยังเปนเด็ก และเปนหนุมเปนสาวประมาณ ๗๐–๘๐ ป ที่ผาน มา การตั้งครรภ การฝากครรภ การทำคลอด ตลอดจนการเลี้ยงดูเด็กเล็กเด็กแดงจะไมเปนอยางทุกวันนี้ เพราะวายัง ไมมีโรงพยาบาล ไมมีสถานีอนามัย ไมมีแพทย พยาบาลผดุงครรภ หยูกยาที่ใชในการรักษาคนที่เจ็บปวยมีแตยา สมุนไพรซึ่งไดแก ใบไม รากไม ตนผัก ตนหญาที่ขึ้นอยูตามปาเขาลำเนาไพร หมอพื้นบานที่พอจะรูเรื่องยาสมัยนั้นก็ รักษากันตามมีตามเกิด ผลของการรักษามีรอดบาง ตายบาง เปนภาพที่ปรากฏใหเห็นจนชินตาในชุมชนลำน้ำหมัน ! โดยเฉพาะการบริบาลทารกและการเลี้ยงดูเด็กเล็กในสมัยกอนนั้น ทำกันไปตามความรูความสามารถของ ผูคนในสมัยนั้น และแตละทองถิ่นก็อาจจะผิดแผกแตกตางกันไปบาง สวนคนลุมน้ำหมันมีวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับการ เลี้ยงดูเด็กตั้งแตเริ่มคลอดจนถึงเด็กมีอายุ ๒-๓ ขวบ กลาวคือ เมื่อเด็กคลอดออกจากครรภของมารดาแลว (ทำคลอด โดยหมอชาวบาน เรียกวา หมอตำแย) ตามปกติเด็กที่เกิดมาใหมๆ มักจะรองไหทันที ถาหากเด็กคนใดไมรอง หมอ ตำแยจะรีบหาผามาพัดใหเด็กถูกความเย็นแลวตื่นตัวและรองไห ! หลังจากคลอดแลว หมอตำแยจะใหผูเปนแมนั่งบนตั่งหวาย (ตั่งที่สานดวยหวาย มีรูปทรงกลม สูงประมาณ ๒๐ เซนติเมตร) หลังพิงกระทอขาวปลูกหรือโองน้ำ หรือที่นอนหลายๆ ผืนเทินกัน โดยใหแมหลับตาไว แลวหมอ ตำแยจะชวยจัดทอง คลำทอง เขยาหรือกดทอง เพื่อใหรกหรือนองออกมาเร็ว ครั้นรกออกมาแลวหมอตำแยจะหา เสนดวยมามัดสายสะดือ โดยมัดใหหางจากสะดือเด็กประมาณ ๒-๓ ขอมือ เสร็จแลวจะนำหัวขมิ้นที่ลางใหสะอาด (น้ำที่ตมพออุน) ชำระรางกายเด็กซึ่งมีเลือดและไขคราบติดอยูตามซอกแขนขา ผม ปาก หู ตองชำระลางออกใหหมด ! เมื่ออาบน้ำเสร็จแลวจะนำเด็กไปนอนไวในกระดงฝดขาวที่เตรียมไว ใชเบาะรองพื้น ใชผาหมใหญๆ โคง รอบตัวเด็กเพื่อใหเกิดความอบอุน ขางบนผาหมที่โคง ใชผาบางๆ ปดไวเพื่อปองกันยุงหรือแมลงที่จะมารบกวนเด็ก เหตุที่เอาเด็กนอนบนกระดงนั้น ผูเฒาผูแกหลายคนใหเหตุผลที่ตรงกันวา เพื่อใหเปนที่สังเกตเห็นงายวา ลูกนอยหรือ เด็กที่เกิดใหมอยู ณ ที่ใด นอกจากนี้เมื่อยามที่ตองการจะเคลื่อนยายเด็กก็จะจับขอบกระดงโยกยายไปมาไดสะดวก มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

59


รวมทั้งเมื่อเวลาที่จะปลุกเด็กใหตื่น (ตามประเพณี หากเด็กนอนในกระดงครบ ๓ คืนแลว จะมีพิธีปลุก) จะใชมือ เคาะขอบกระดง ใหกระดงสะเทือน เด็กก็จะตื่นงาย เมื่อเด็กไดมานอนอยูในกระดงแลว ตอนนี้ญาติจะหาน้ำที่สะอาดใสขันมา เอาเงิน เอาคำ เอาปลายเข็ม เอา สมุด ดินสอ ปากกา มาจุมลงในน้ำนั้น เมื่อจุมแลวก็ยกออกไว แลวใชปุยฝายจุมน้ำที่เตรียมไวและหยอดใสปากเด็ก พรอมกันนี้ก็พูดวา “ขอลูกนอยที่เกิดมาใหมนี้ จงเปนผูมีเงิน มีทอง มีสติปญญาเฉียบแหลม มีวิชาความรู สามารถ อานออกเขียนไดเปนอยางดี” ถาหากเด็กรองใชปุยฝายหรือสำลีมาจุมน้ำ แลวบีบน้ำใหเด็กกินทีละนอยๆ การกระทำ เชนนี้ชาวบานเรียกวา เอาน้ำเงิน น้ำคำ ตอนรับกอน เพื่อใหเปนสิริมงคลแกตัวเด็กและแมก็ยังไมมีน้ำนมใหเด็กกิน จึงใหเด็กกินน้ำเงิน น้ำคำไปพลางกอน สวนรกที่ตัดจากสายสะดือเด็กนั้น จะนำมาใสน้ำเตาลูกใหญๆ ที่แหวะขางดานหนึ่งแลวนำไปฝงไวใตบันได แลวถมใหแนน ใชไมกระดานหรือกอนหินทับไว เพื่อปองกัน หมู หมา เปด ไก มาขุดคุย ในระยะนี้จะใหลูกนอยนอนอยูบนกระดงจนครบ ๓ คืนแลว ญาติจะไปขอรองผูหลักผูใหญหรือผูเฒาผูแก คนหนึ่งซึ่งเปนที่เคารพนับถือของคนในละแวกนั้นมาทำการปลุกเด็ก การปลุกเด็กตองปลุกระหวางที่เด็กหลับอยู มี วิธีทำก็คือ ผูปลุกจะใชมือเคาะที่ขอบกระดงพรอมกับพูดวา “ลุก ลุก ลุก” ถาเด็กนั้นเปนผูชาย ผูปลุกจะพูดตอไปวา ลุกไปทำมาหากิน ทำไร ทำนา ไปหาจอบ หาเสียม หามีด หาพรา ไปคา ไปขาย ไปเปนเจาเปนนาย (ขาราชการ) ถา เปนลูกผูหญิง จะพูดวา รีบลุกไป รีบลุกไปหาหูก หาฝาย หาอิ้ว หาหลา ลุกขึ้นมาทำอยูทำกิน ขณะนั้นเด็กจะตื่นและ รองไห แมก็จะเอาลูกมาดูดนมหรือเอาน้ำใหกิน ตอจากนี้แมจะจัดหาที่นอนใหใหม ไมตองนอนบนกระดงอีกตอไป โดยจะจัดหาเบาะไวใหเด็กนอนอยูใกลๆ แม และถาหากแครที่แมใชนอนในการอยูไฟกวางขวางพอ จะใหเด็กนอนบนแครดวย หลังจากนั้นแมจะตั้งใจอยูไฟ โดยการอาบน้ำรอน กินน้ำรอน ตอมาสัก ๒-๓ วัน นมของแมจะเตงตึงขึ้น แสดงวาแมมีน้ำนมใหลูกกินแลว แมจะ อุมลูกและใหลูกดูดนมแม ถาเปนแมใหมหรือลูกคนแรก น้ำนมจะออกมาชาหนอย แตถาเปนลูกคนตอๆ มา น้ำนม ของแมจะออกเร็วขึ้น ภายในเวลา ๒-๓ วัน แมจะมีน้ำนมใหลูกดื่มกินอยางเพียงพอ ขณะที่แมอยูไฟจะเอาใจใสดูแลลูกนอย จัดที่นอน คือ เบาะ ผาออม ผาหมใหสะอาด มิใหมดหรือแมลงมาไต ตอม อาบน้ำใหลูกนอยอยางนอยวันละครั้ง ถาเด็กตื่นนอนและรองไห แมจะเอาลูกดูดนม การใหลูกดูดนมทานวาให เอาลูกดูดนมโดยการสับเปลี่ยนขางกัน คือขางซายบาง ขางขวาบางใหสม่ำเสมอกัน ไมใหลูกดูดนมแตเพียงขางหนึ่ง เปนประจำ เพราะจะทำใหเตานมของแมโตไมเทากัน เตานมขางที่ถูกดูดมากมักจะโตกวาอีกขางหนึ่ง ครั้นเมื่อลูก หยานมหรือออกนมแลว แมอาจจะเสียใจภายหลังเพราะเตานมโตไมเทากัน เรื่องนี้ผูเปนแมจะตองระมัดระวังเปน พิเศษจะตองปองกันไวกอน จะมาแกไขภายหลังไมได ! อาหารการกินของทารกหรือลูกนอยในระยะที่แมอยูกรรมคำเดือนนี้ สวนมากแมจะใหกินนมแมเทานั้น ไมมีนมมีเนยมาเสริมแตอยางใด แตอาจจะมีบางราย ซึ่งนานๆ อาจจะมีสักคนหนึ่ง คือเมื่อเด็กกินนมแมแลวแตยัง รองไหอยู ดูคลายๆ กับวาเด็กกินอาหารไมอิ่ม แมก็จะเอาขาวเหนียวมาเคี้ยวปอนตั้งแตยังอยูหมอกรรมก็มี ! พอแมพนจากการอยูไฟ เด็กก็โตขึ้นมาบาง แมก็จะเอาขาวมาปอนในเวลากลางวัน วันละครั้งหรือ ๒ ครั้ง สวนในเวลากลางคืนจะใหลูกดูดนมแมอยางเดียว ขาวที่ใชปอนลูกนอยนั้นแมจะเอาขาวเหนียวที่นึ่งสุกแลวมาเคี้ยว ใหละเอียดผสมเกลือเล็กนอย บางรายจะเคี้ยวขาวผสมกลวยน้ำวาสุก เสร็จแลวเอาใบตองกลวยตีบหรือกลวยน้ำวา หรือถาจะใหดีก็เอาใบเปา เลือกเอาเฉพาะใบใหญๆ งามๆ สัก ๒-๓ ใบวางซอนกัน เคี้ยวขาวใสใหมากพอประมาณวา ใหลูกกินอิ่ม เสร็จแลวนำหอหมกไปยางไฟใหสุก ยกออกแลวปลอยใหเย็นจึงนำมาปอนลูก ลักษณะการปอนขาวลูก สวนมากแมจะนั่งเหยียดขาทั้งสองขาง ถลกผาถุงขึ้นเหนือเขา แลวเอาลูกนอยนอนระหวางขาทั้งสอง หันหัวลูกนอย มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

60


ขึ้นพาดหัวเขาแม เอาผาออมหรือผาหมผืนเล็กๆ มาปกปดหนาทองของเด็กไว แลวก็หยิบขาวที่หมกสุกแลวใสปาก ลูกทีละนอย เอาขาวใสวักน้ำใสดวยโดยระวังใหขาวกับน้ำผสมกันดี ไมขนหรือเหลวจนเกินไป ลูกก็จะคอยๆ กลืน และคอยๆ ปอนไปจนลูกอิ่มแลวก็พอ การปอนขาวเคี้ยวอยางนี้แมจะทำอยูจนลูกมีอายุประมาณ ๕-๖ เดือน (ขณะ นั้นลูกจะนั่งแลว) ! ตอจากนั้นแมก็จะปอนดวยขาวสุกเคี้ยวผสมอาหาร เชน ไข เนื้อสัตว เนื้อปลา โดยไมตองนำไปหมกไฟ สวน น้ำดื่มก็ฝกหัดใหเด็กกินน้ำจากขันหรือแกว และการใหอาหารเด็กดังกลาว ในวันหนึ่งๆ แมจะใหอาหาร ๓ มื้อ คือ เชา กลางวัน และเย็น ในระยะนี้ควรปอนขาวและใหกินนมแมสลับกันไปจนกวาลูกอายุได ๑ ขวบ จึงใหลูกหยานม หรือออกนมแม แตเด็กบางคนไมยอมออกและยังคงกินนมแมไปจนถึงอายุได ๒ ปก็มี ! การนอนของลูกนอยเปนสิ่งที่แมตองเอาใจใสมากเหมือนกัน ในเวลากลางคืนแมจะเอาลูกนอยนอนขางๆ แม เมื่อลูกตื่นขึ้นและรองไหแมก็จะใหลูกดูดนมทันที เพราะฉะนั้นจะเห็นวาขณะที่แมเลี้ยงลูกออนๆ นั้น แมก็จะ ตองทนระกำลำบากตองอดตาหลับขับตานอน รางกายของแมในระยะนั้นจะไมสมบูรณเทาที่ควร ในเวลากลางวัน แมจะใหลูกนอนในอูหรือเปล โดยใชผาขาวมาผืนใหญๆ ผูกปลายทั้งสองขางติดกับเสาใหสูงพอประมาณ ใชไมหรือ หมอนถางยันหัวทาย แลวใหลูกนอนอยูในอูหรือเปลผานั้น แมก็ไกวลูกไปบาง ทำงานไปบาง ปากของแมก็เหกลอม ไปพลางเพื่อใหลูกหลับสนิท คำกลอมหรือเหนั้นสวนมากมักจะใชคำวา “อื่อ-อือ” ลากเสียงยาวๆ และใชเวลานาน จนกวาลูกจะหลับสนิท บางคนก็วาเปนกลอนยาวๆ เชน ! “นอนอูผา หลับสาเดอ แมซิกอม นอนอูแกว หลับแลว แมซิไกว” ! “แมไปไห (ไร) เอาขาวบายไข (ไขยัดไส) มาหา แมไปนา เอาขาวบายปลา มาปอน นอนสาหลา หลับตาแมสิ กลอม” ! “หลับตาสาเดอ เจาอยาแอว (รองไหออดออน)” ! หรือ “อื่อ-อือ-อื่อ-อือ” เปนตน ! การกลอมลูกนอยนั้นตองทำเสียงยาวๆ ชาๆ ทั้งนี้เพื่อใหลูกหลับสนิทและอิ่มตา ตื่นขึ้นมาจะสดชื่น ไม รองไห ถาหลับนอยหรือหลับไมพอตา เด็กจะรองไหอยางรำคาญ เมื่อลูกตื่นขึ้นทุกครั้ง แมก็จะอาบน้ำและปอนขาว เปนประจำ ! ครั้นเมื่อลูกโตขึ้นอายุประมาณ ๗-๘ เดือน เด็กจะเริ่มคลาน ตอนนี้แมจะตองระมัดระวังเปนพิเศษ เผลอไม ได เพราะเด็กอาจจะคลานไปตกรองตกเรือนทำใหเด็กไดรับอันตรายหรือบาดเจ็บ หรือบางทีก็คลานไปหยิบอะไรตอ มิอะไรใสปาก หรือไปจับสิ่งสกปรก บางทีก็ไปจับเอาไฟจนเจ็บปวดก็มี บางทีก็ไปทำลายขาวของใหเสียหายก็มี ! เมื่อเด็กโตขึ้นอายุประมาณ ๑ ขวบ หรือมากกวานั้นเล็กนอย เด็กก็จะหัดเดินสะเปะสะปะ สมัยกอนพอแม มักจะทำที่หัดเดินใหลูกที่ลานบาน ซึ่งชาวบานเรียกวา “ไมหัน” หรือ “ไมหมุน” ทำเสร็จแลวก็ใหเด็กจับไมคานที่ยื่น ออกมา แลวลูกคอยๆ เดินไป ไมก็จะหมุนเวียนเปนวงกลมไปรอบๆ ทั้งนี้เพื่อใหเด็กพยุงตัวหัดเดินไปชาๆ จนกวาจะ เดินเองได ทั้งนี้แมจะตองคอยดูแลระมัดระวังอยางใกลชิดดวย เพราะบางทีมือของเด็กอาจจะหลุดจากไมคาน หกลม เจ็บปวดได ! โรคที่มักเกิดกับเด็กตั้งแตคลอดจนถึงประมาณ ๑ ขวบ มักจะมีโรคขี้เหลือง ขี้ดำ ตัวเหลือง มีขี้ตามากผิด ปกติ ชอบรองไหในตอนเย็นหรือหัวค่ำ ซึ่งเรียกกันวาเด็กเปน “ป” หรือบางแหงเรียกวาเปน “กำพั้น” โรคอีกอยาง หนึ่งคือโรคทองขึ้น ทองเฟอ ซึ่งเรียกกันในสมัยนั้นวา เปน “ทองแซ” การที่เด็กปวยเปนกำพั้น หรือเปนป หรือเปน ทองแซ สวนมากจะรักษาโดยไปตามหมอชาวบานมาเปาโดยใชคาถาที่ไดร่ำเรียนมาแลว หรือบางทีก็ไปหาวานไพล บาง มหาหิงบาง มาฝนหินผสมกับน้ำพอประมาณ แลวใชทาบริเวณทองเด็ก หรือทารอบๆ สะดือ (หามทาตรง มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

61


สะดือ) การรักษาโดยวิธีดังกลาว เด็กบางคนก็หาย บางคนก็ไมหายหรือหายชา บางรายที่เปนหนักๆ รักษาไมหายลม ตายไปบางก็มี แตก็มีเปนจำนวนนอย ! สำหรับเด็กที่เปนแผลหรือผดผื่นคัน ยาที่ใชรักษาในสมัยนั้นก็คือหัวขมิ้น คือชาวบานมักใชหัวขมิ้นมาฝน กับหินหรือเอามาตำใชน้ำผสมเล็กนอย แลวนำมาทาใหทั่วรางกายเด็กภายหลังจากการอาบน้ำแตละครั้ง สวนมากได ผลดี คือหายจากโรคดังกลาวแทบทุกราย ทั้งนี้เพราะสมัยกอนยังไมมีแปงที่จะนำมาโรยอยางเชนในปจจุบัน ! เพราะฉะนั้นคนโบราณมักจะปลูกขมิ้นและวานไพลไวหลังบานแทบทุกครัวเรือน เพราะเห็นวาเปนสิ่ง จำเปนที่จะตองใชทำยาดังกลาว นอกจากนี้ขมิ้นยังใชผสมการปรุงอาหารไดดวย ! จึงเห็นไดวาการคลอดลูกเปนสิ่งที่คนทองถิ่นใหความสำคัญมากที่สุด มีขั้นตอนและกระบวนการที่ซับซอน สามารถอธิบายไดถึงการดูแลสุขภาพกายและจิตไดเปนอยางดีดังที่กลาวไวขางตน ซึ่งแตกตางจากการแพทยปจจุบัน ที่เนนเฉพาะการดูแลเพียงสุขภาพกายอยางเดียว อยางไรก็ตามความผิดพลาดที่เกิดจากการคลอดลูก เชน แมหรือลูก เสียชีวิต จะมีอัตราตายคอนขางสูงเมื่อเทียบกับปจจุบัน เนื่องจากเทคนิคการทำใหปราศจากเชื้อโรคระหวางการ ทำคลอดยังไมดีพอ ถือเปนสิ่งที่ทำใหคนทองถิ่นและครอบครัวมีความกังวลใจในเรื่องนี้เปนอยางมาก จึงทำใหทอง ถิ่นไดพัฒนาวิธีการคลอดและการถายทอดใหกับคนรุนหลังเปนอยางดี ! สวนการพึ่งบริการจากรัฐนั้น จะมีสุขศาลาใหบริการใน พ.ศ. ๒๔๘๔ โดยมีเจาหนาที่ ๒ คน และใหบริการ ฉีดวัคซีนปองกันโรคฝดาษ และดูแลการคลอดที่มีปญหา แตชาวบานยังนิยมคลอดที่บานโดยหมอตำแย แตสามารถ ชวยแกปญหาที่เกิดจากการคลอดลูกไดดีขึ้น นอกจากนี้ยังสามารถดูแลรักษาพยาบาลโรคติดเชื้อไดบาง โดยเฉพาะ อยางยิ่งโรคอุจจาระรวง เพราะถาหมูบานไหนเปนแลวจะแพรกระจายอยางรวดเร็ว จนถึงกับทำใหเสียชีวิตเปน จำนวนมากได เนื่องจากทองถิ่นสวนมากบริโภคน้ำจากธรรมชาติ และยังไมตระหนักถึงการบริโภคน้ำที่สะอาด และ เจาหนาที่ที่ใหบริการมาจากตัวจังหวัด นอกจากนี้ยังมีการคัดเลือกคนในทองถิ่นไปเรียนเรื่องการผดุงครรภและกลับ มาดูแลคนทองถิ่นเอง ชาวบานตองเสียคาใชจายในการรักษาพยาบาลเองเปนสวนมาก ยกเวนเรื่องวัคซีน เนื่องจาก งบประมาณที่ไดมามีจำนวนจำกัด และบางครั้งพบวาเจาหนาที่สุขศาลาเปดใหบริการสวนตัว เนื่องจากเงินเดือนหรือ คาตอบแทนมีนอยและไมเพียงพอ ! ป พ.ศ. ๒๔๙๗ ไดยกฐานะสุขศาลาเปนสถานีอนามัยชั้นสอง มีบุคลากรประมาณ ๕ คน แตยังไมมีแพทย ประจำ สามารถใหบริการที่สถานีอนามัยไดมากขึ้น ! ความสัมพันธระหวางสุขศาลาและสถานีอนามัยชั้นสองกับทองถิ่นเปนไปดวยดี ถอยทีถอยอาศัย เมื่อมีผู ปวยเสียชีวิต ไมมีการรองเรียน และมักจะเสียชีวิตที่บาน การดูแลสุขภาพชวงป พ.ศ. ๒๕๐๐-๒๕๓๐ การพึ่งตนเองของทองถิ่นมีรูปแบบที่หลากหลายมากขึ้น เชน มีความเชื่อวายาแผนปจจุบันสามารถรักษา โรคไดหายขาดและทันใจ จึงพบเห็นรถขายยาเรจากทองถิ่นอื่นเขามาชักจูงใหซื้อ โดยอาศัยการฉายภาพยนตรกลาง แปลง ซึ่งในชวงดังกลาว ไฟฟาและโทรทัศนยังไมเขามาแพรหลาย และยาที่ขายสวนมากเปนพวกยาถายพยาธิ ยาแก ปวด ยาใสแผลสด และยารักษาโรคฟนผุ เปนตน ! โดยเฉพาะเทคนิคการขายยาถายพยาธิ จะอาศัยการเลนกลเขามาประกอบทำใหชาวบานหลงเชื่อ รถขายเรจะ เขามาหลังฤดูเก็บเกี่ยว โดยอาศัยพื้นที่ของวัดและโรงเรียนตามหมูบานตางๆ เปนสถานที่ขายยาและจัดการแสดง มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

62


และจะมาเปนประจำทุกปในชวงเวลาเดียวกัน รวมทั้งยังมีหมอเถื่อนซึ่งเปนคนทองถิ่นอื่นที่พอมีความรูทางดานการ แพทยบาง เชน การฉีดยา การเย็บแผล การทำฟน การลอกตอกระจก บางคนเปนทหารเสนารักษ บางคนไดความรู จากแพทยสนามคอมมิวนิสต โดยที่จะมีเครื่องมือทางการแพทย โดยเฉพาะอยางยิ่งยาฉีด ผูปวยสวนมากเปนโรคไข ไมทราบสาเหตุ ไขมาลาเรีย และโรคติดเชื้อ เมื่อผลการรักษาออกมามักเปนที่พึงพอใจของชาวบาน จะมีการบอกตอ กันอยางรวดเร็ว และบางครั้งหมอเถื่อนที่เขามาไดมีครอบครัวที่ดานซาย ! นอกจากนี้ยังเริ่มมีรานขายยาแผนปจจุบัน จำหนายยาใหกับคนในทองถิ่นแลว สิ่งที่นาสังเกตคือ ยังมีชาว บานจากประเทศลาวเขามาซื้อยาอีกดวย และพบวามีการจัดยา จำหนายยาเปนชุดๆ เพื่อแกปญหาการปวดขอปวด หลัง ! สวนการคลอดลูกยังพึ่งพาหมอตำแยเหมือนเดิม แตหมอพื้นบานที่ใชสมุนไพรเริ่มมีบทบาทนอยลง และ ความเชื่อสาเหตุของความเจ็บปวยคอยๆ เปลี่ยนไป ประกอบกับสภาพปาไมเริ่มลดลง วิถีการดำรงชีวิตไดรับอิทธิพล จากทองถิ่นอื่นมากขึ้น เนื่องจากมีการติดตอสื่อสารกับทองถิ่นอื่นมากขึ้นเพราะการคมนาคมดีขึ้น และคนทองถิ่น ดานซายไดมีโอกาสไปศึกษาตอในตัวเมืองมากขึ้น เชน พิษณุโลก เพชรบูรณ และเลย เปนตน นอกจากนี้ยังมี ขาราชการจากทองถิ่นอื่นเขามาปฏิบัติงานในดานซายมากขึ้นเชนกัน โดยเฉพาะทหารและตำรวจที่เขามาตอสูกับ คอมมิวนิสต ! ผลของการพัฒนาดังกลาว ทำใหความรูในการดูแลสุขภาพตนเองของทองถิ่นที่เปนความเชื่อเชนสมัยกอน เริ่มเปลี่ยนไป คือ ชาวบานหันมาใหความสำคัญกับการดูแลสุขภาพที่อาศัยความรูทางการแพทยแผนปจจุบันมากขึ้น แตก็ยังไมไดรับการพัฒนาที่ดีพอ ! สวนการใชบริการของสถานบริการสาธารณสุขนับวาเพิ่มจำนวนขึ้นอยางมาก มีการสรางสถานีอนามัยชั้น หนึ่ง มีเจาหนาที่ประจำประมาณ ๒๐ คน และมีแพทยมาประจำ ๑ คน ใหบริการที่สถานีอนามัยมากขึ้นอีก เชน ผาตัดเล็ก การรักษาบาดแผล กระดูกหัก โรคติดเชื้อตางๆ และยังออกใหบริการนอกสถานีอนามัยไดอีกดวยเกี่ยวกับ การคลอดลูก สามารถทำใหทองถิ่นมีความศรัทธามากขึ้น บุคลากรสวนมากมาจากตัวจังหวัด มีงบประมาณมากขึ้น แตชาวบานยังตองชวยจายคารักษาพยาบาล ยกเวนในกรณีที่ไมมีจริงๆ สามารถยกเวนคารักษาพยาบาลได แตยังไมมี ระบบประกันสุขภาพที่ชัดเจน ! ในขณะที่คาตอบแทนสำหรับบุคลากรมากขึ้น ดวยเหตุนี้จึงทำใหคนทองถิ่นหลายคนเริ่มสนใจสงลูกหลาน ไปเรียนเกี่ยวกับการแพทยและสาธารณสุขมากขึ้น ! ป พ.ศ. ๒๕๒๐ อำเภอดานซายอยูในพื้นที่ที่มีการสูรบระหวางทหารฝายรัฐบาลกับคอมมิวนิสต จึงไดรับ การคัดเลือกใหตั้งโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราช อันเปนผลพวงของนโยบายของภาครัฐที่ตองการจะทำใหชาวบาน ที่อยูในทองถิ่นดังกลาวมีความศรัทธาตอรัฐบาล เปนสวนหนึ่งของสงครามแยงชิงประชาชน บริการพื้นฐานหลาย อยางมาพรอมๆ กัน เชน ไฟฟา ถนนลาดยางใชไดทุกฤดูกาลติดตอกับจังหวัดเลย เพชรบูรณ พิษณุโลก เปนตน ทำให คุณภาพในการบริการประชาชน การเขาถึงดีขึ้นมาก ชาวบานนิยมมาคลอดลูกที่โรงพยาบาล โรคติดเชื้อตางๆ สามารถรักษาใหหายขาดไดอยางรวดเร็ว การผาตัดใหญ เชน ไสติ่งอักเสบ ผาทองคลอด กระเพาะทะลุ สามารถ ดำเนินการไดที่โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชดานซาย ซึ่งภาวะดังกลาวทำใหผูปวยเสียชีวิตนอยลง ตอมามีการสราง สถานีอนามัยตามตำบลตางๆ ใหบริการสุขภาพขั้นพื้นฐาน มีระบบการใหภูมิคุมกันโรคที่ดีขึ้น

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

63


! จากบริการที่รัฐบาลไดพัฒนาอยางกาวกระโดดในอำเภอดานซาย ทำใหชาวบานมีความศรัทธาตอระบบ บริการที่รัฐจัดใหเปนอยางมาก และเอาใจใสตอการดูแลสุขภาพของตนเอง หมอตำแยและหมอพื้นบานเริ่มมีบทบาท ลดลง การดูแลสุขภาพหลังป พ.ศ. ๒๕๓๐ ปจจุบันหรือหลังป พ.ศ. ๒๕๓๐ เปนตนมา การพึ่งตนเองของชาวบานนอยลง ความรูในการดูแลสุขภาพ ไมไดรับการสานตอจากรุนปูยาตายาย โดยเฉพาะวิถีชีวิตที่สอดคลองกับธรรมชาติ ไดถูกละเลย เมื่อมีความเจ็บปวย ก็มักจะใชบริการรานขายยา และมีความเชื่อวาสุขภาพที่ดีจะตองไดรับการรักษาพยาบาลที่ดี ดังนั้นชาวบานจึงละเลย ที่จะปฏิบัติตนใหมีสุขภาพดี เพราะมีความเชื่อวาถาสุขภาพเสียก็สามารถใชบริการของรัฐแกได ! สมัยนี้หมอเถื่อนไดพัฒนาปรับเปลี่ยนรูปแบบ เชน ยังมีการออกฉีดยาและทำฟนปลอม เปนตน สวนในทอง ที่ทุรกันดาร ระบบธุรกิจขายตรงที่เกี่ยวกับสุขภาพเริ่มเขามาในทองถิ่นที่มีรายไดเพิ่มขึ้น ทั้งหมดเปนเพราะวา กระบวนการสืบทอดความรู การประยุกตใชความรู การเรียนรูของคนในทองถิ่นตอกระแสการติดตอจากภายนอก ไมไดรับการจัดระบบที่ดีพอจากคนในทองถิ่น เพราะสวนใหญจะมีเจาหนาที่รัฐเปนผูดำเนินการชี้นำและจัดการเกี่ยว กับสุขภาพ โดยขาดการมีสวนรวมของทองถิ่น ! การใชบริการมีมากขึ้น โดยที่รัฐบาลเปนผูชี้นำทั้งสิ้น มีการพัฒนาระบบหลักประกันสุขภาพถวนหนา ที่ ตองการจะเห็นชาวบานเขาถึงระบบบริการอยางทั่วถึงและเปนธรรม มีการจัดสรรเงินใหกับโรงพยาบาลและสถานี อนามัยมากขึ้น ทำใหชาวบานที่ดอยโอกาสบางกลุมไมตองเสียคารักษาพยาบาล คุณภาพในการรักษาพยาบาลทำไดดี มากขึ้น อัตราการตายของมารดาและทารกนอยลงมาก โรคติดตอที่สำคัญๆ เชนไขมาลาเรียก็พบนอยลง แตจะพบผู ปวยอุบัติเหตุ และโรคเอดส โรคมะเร็ง โรคหัวใจ เพิ่มขึ้น โรงพยาบาลไดรับงบประมาณมากขึ้นเพื่อมาขยายพื้นที่ บริการและครุภัณฑที่ทันสมัย ! ชาวบานเริ่มมีความรูมากขึ้นในการใชบริการ ดวยการคมนาคมและการสื่อสารที่ดีขึ้น ทำใหไดรับขอมูล ขาวสารมากขึ้น การใชบริการถูกกระตุนดวยการโฆษณา บางครั้งการเจ็บปวยเพียงเล็กนอยก็ไปใชบริการกับแพทย เฉพาะทางในโรงพยาบาลขนาดใหญ ! ความสัมพันธระหวางชาวบานและสถานบริการเปลี่ยนไป ชาวบานมีความคาดหวังตอโรงพยาบาลมากขึ้น และนำไปสูการฟองรองงายขึ้นในกรณีที่ใหบริการไมถูกใจ

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

64


บทที่ ๖ ประเพณี พิธีกรรม และความเชื่อ ! ศาสนาและความเชื่อที่สำคัญของคนในลุมน้ำหมันคือ การนับถือพุทธศาสนาควบคูไปกับความเรื่องผีหรือ การนับถือผี ดังเห็นไดจากขนบธรรมเนียมประเพณีตางๆ ของชุมชน เชน ความเชื่อเรื่องผีตางๆ ความเชื่อเจาพอกวน และเจาแมนางเทียม เปนตน ขณะเดียวกันก็มีงานบุญประเพณีที่มีลักษณะเฉพาะของแตละชุมชนที่สัมพันธกับสิ่ง ศักดิ์สิทธิ์เหนือธรรมชาติ เชน งานไหวภูอังลังของบานนาเวียงและงานไหวภูผาแดดของบานนาหอ เปนตน สวน ประเพณีสำคัญทางพุทธศาสนาจะรวมกันจัดที่วัดประจำชุมชนของตนเอง

วัดและชุมชน

ดานความเชื่อทางพุทธศาสนาของคนในลุมน้ำหมันจะมีวัดประจำหมูบาน เปนศูนยกลางของชุมชน ประกอบพิธีกรรมตางๆ วัดที่สำคัญของชุมชนมีดังนี้ !

วัดโพนชัย วัดโพนชัยตั้งอยูในหมูที่ ๓ ตำบลดานซาย อำเภอดานซาย จังหวัดเลย มีอาคารเสนาสนะประกอบดวย อุโบสถ อาคารคอนกรีต ปูชนียวัตถุมีพระประธานขนาดใหญ หนาตักกวาง ๒ เมตร สูง ๓ เมตร สรางดวยปูน พระ ธาตุเจดียศรีสองรักจำลอง กออิฐถือปูน ขนาดกวาง ๓.๗๕ เมตร สูง ๑๕ เมตร ! ตามประวัติวัดโพนชัยตั้งเมื่อ พ.ศ. ๒๑๐๕ ไดรับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อ พ.ศ. ๒๑๑๐ ชาวบานชวย กันปราบพื้นที่ซึ่งเปนรูปเนินคลายจอมปลวกที่มีเรื่องเลาวาเปนขุยของพญานาค จึงตั้งชื่อวัดวา วัดโพนชัย สวนชาว บานเรียกวาวัดโพน ถือเปนวัดคูบานคูเมืองของอำเภอดานซาย ซึ่งจัดใหมีการทำบุญเทศนมหาชาติในเดือน ๗ ชาว บานเรียกกันวาบุญหลวง ในงานจะมีผีตาโขนใหญผัวเมีย ๑ คู และผีตาโขนเล็กนับรอยมาเลนในงานจึงมีการแหผีตา โขน โดยจัดเปนประเพณีแหผีตาโขนเปนประจำทุกป การบริหารและการปกครอง มีเจาอาวาสทานที่ทราบนามคือ ! รูปที่ ๑ พระชา พ.ศ. ๒๔๐๖–๒๔๒๖ ! รูปที่ ๒ พระแดง พ.ศ. ๒๕๒๗–๒๔๓๖ ! รูปที่ ๓ พระบุบผา พ.ศ. ๒๔๓๗–๒๔๕๒ ! รูปที่ ๔ พระขาว พ.ศ. ๒๔๖๓–๒๔๘๓ ! รูปที่ ๕ พระครูชำนาญคณานุกิจ พ.ศ. ๒๔๘๔–๒๔๘๙ ! รูปที่ ๖ พระสอน พ.ศ๒๔๘๙–๒๔๙๑ ! รูปที่ ๗ พระครูสุมนวุฒิกร ตั้งแต พ.ศ. ๒๔๙๒ เปนตนมา การศึกษามีโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกธรรม เปดสอน พ.ศ. ๒๔๗๐ นอกจากนี้มีหอสมุดสราง พ.ศ. ๒๕๒๘

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

65


!

วัดโพธิ์ศรี วัดโพธิ์ศรีบานนาเวียง ตั้งอยูหมูที่ ๑๒ บานาเวียง ตำบลดานซาย อำเภอดานซาย จังหวัดเลย มีพื้นที่ ประมาณ ๓ ไร ๓ งาน ปจจุบันมีพระจำพรรษาอยู ๒ รูป คือเจาอาวาส ๑ รูป และพระลูกวัด ๑ รูป ! ประวัติความเปนมาของวัดโพธิ์ศรีบานนาเวียง เริ่มกอตั้งขึ้นสมัยกอสรางองคพระธาตุศรีสองรัก เริ่มแรกได กอตั้งเปนสำนักสงฆ โดยมีชาวบานเวียงจันทรเปนผูกอตั้ง ตอมาภายหลังมีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงใหมาเปนวัด ตอจากนั้นมีการสรางกุฏิขึ้น ๑ หลัง ซึ่งไมหลังใหญสรางอยูติดริมแมน้ำหมัน และตอมายายมาสรางทางทิศใต พรอม กับการสรางโบสถขึ้นอีก ๑ หลัง ซึ่งการสรางโบสถในสมัยนั้นสรางดวยฝาไม และในป พ.ศ. ๒๕๓๗ มีการบูรณะ ซอมแซมจากฝาไมก็เปลี่ยนมาเปนกอกำแพงปูนขึ้น ซึ่งมีความแข็งแรงและดีกวาเดิม ! หลายปตอมามีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงจากสำนักสงฆมาแตงตั้งเปนวัด ชื่อวัดโพธิ์ศรีบานนาเวียง มี หลวงตาหลาเปนภิกษุดูแลและบริหารงานวัดพรอมกับพระลูกวัด คือหลวงตาสมบูรณ หลวงตานาน และในป พ.ศ. ๒๕๑๕ หลวงตาหลาไดรับการแตงตั้งเปนเจาอาวาส และในชวงที่เปนเจาอาวาสอยูนั้นไดมีการสรางกุฏิขึ้นอีก ๒ หลัง เพื่อไวใหพระและสามเณรเขามาพักและจำพรรษาอยูที่วัด ปตอมาไดสรางศาลาการเปรียญขึ้นอีก ๑ หลัง ปจจุบันชาวบานและพี่นองจากบานใกลเรือนเคียงไดชวยกันกอสรางจนแลวเสร็จ ซึ่งทางวัดไมไดใชงบประมาณจาก ทางราชการแตอยางใด และในป พ.ศ. ๒๕๓๙ หลวงตาหลาไดมรณภาพ พระสมบูรณก็ขึ้นมารับชวงตอจากเจา อาวาส ! พระสมบูรณขึ้นมาบริหารวัดไดไมนานก็ออกจากวัดไปจำพรรษาอยูที่วัดในอำเภอเมืองเลย ตอจากนั้นทาง วัดรวมกับชาวบานในหมูบานไดแตงตั้งหลวงตานาน (พระอนันตขึ้นมารักษาการแทนอยูที่วัดโพธิ์ศรีบานนาเวียง ตั้งแตป พ.ศ. ๒๕๓๙–๒๕๔๓) ! ป พ.ศ. ๒๕๔๓ หลวงตานานไดรับการแตงตั้งใหเปนเจาอาวาสอยูที่วัด และในชวงที่หลวงตานานเปนเจา อาวาสไดมีการพัฒนาวัดอยูเปนลำดับ มีการสรางกุฏิขึ้น ๒ หลัง ศาลาอเนกประสงค ๒ หลังและไดสรางซุมประตู โคง สรางหอระฆัง สรางโรงครัว สรางเมรุ โดยทางวัดไมไดใชงบประมาณจากทางราชการแตอยางใด งบประมาณที่ ใชในการกอสราง ทางวัดไดรวมมือรวมแรงใจและกำลังทรัพยจากพี่นองในหมูบานและหมูบานใกลเคียง และพี่นอง ที่ไปทำงานในกรุงเทพ-สมุทรสาคร ไดรวมกันจัดตั้งผาปาสามัคคีขึ้นเพื่อถอดถวายที่วัด

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

66


วัดโพธิ์ศรี วัดประจำหมูบานนาเวียง

! ปจจุบันวัดมีพระอยู ๒ รูป คือมีเจาอาวาส ๑ รูป คือพระอนันต และพระลูกวัด ๑ รูป นอกจากนี้ การบริหาร งานตางๆ ในวัดจะรวมมือกับผูใหญบาน องคการบริหารสวนตำบล คณะกรรมการหมูบาน และพี่นองชาวบานมี สวนรวมกันบริหารจัดการใหโปรงใส เพื่อทำใหผูบริจาคเงินมาทำบุญที่วัดโพธิ์ศรีแหงนี้ไดรูไดเห็นวา ทางวัดไดนำ เงินทำบุญทุกบาททุกสตางคมาทำนุบำรุงในดานศาสนาจริง !

วัดศรีภูมิ วัดศรีภูมิบานนาหอ สรางเมื่อ พ.ศ. ๒๐๓๕ สมัยกรุงศรีอยุธยาตอนตนเปนราชธานี ปจจุบันวัดศรีภูมิมีกุฏิ สรางเปนทรงไทยโบราณ หลัวคามุงดวยเกร็ดไม ตั้งเสาดวยกอนหิน ตอมามีการเปลี่ยนแปลง เนื่องจากเกร็ดไมที่มุง หลังคาเกิดการผุชำรุดจึงใชสังกะสีมุงแทนเมื่อ พ.ศ. ๒๕๐๐ ! อุโบสถฝาผนังกอดวยอิฐฉาบปูน หลังคามุงดวยสังกะสี (เมื่อกอนมุงดวยเกร็ดไม) สวนโบสถฝาผนังกอดวย อิฐฉาบปูน หลังคามุงดวยสังกะสี (เมื่อกอนมุงดวยเกร็ดไม) นอกจากนี้ยังมีเจดียอีก ๑ องค กอดวยอิฐฉาบปูน องค เจดียจะมีถวยลายครามติดอยูรอบ ๆ สูงประมาณ ๑๓ เมตร ระหวางโบสถกับเจดียจะมีที่บรรจุกระดูกของพระที่ มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

67


ปกครองวัด (ชาวบานเรียกวาเจาอาทิ) หากวันไหนมีงานที่วัด จะตองแตงขันหาขันแปด (ดอกไมธูปเทียน) ไปบอก กลาววาจะมีการจัดงาน เพื่อไมใหมีเหตุรายเกิดขึ้น ซึ่งถือเปนความเชื่อของชาวบานเพราะมีการปฏิบัติสืบตอกันมา ปจจุบันก็ยังปฏิบัติกันอยู ! ป พ.ศ. ๒๕๒๖ มีการสรางศาลาการเปรียญขึ้นอีก ๑ หลัง พ.ศ. ๒๕๒๗ มีการสรางเมรุและกุฏิ ๓ หลัง ป พ.ศ. ๒๕๔๕ ซอมแซมกุฏิ ๑ หลัง และสรางซุมประตูเขาบริเวณวัด พ.ศ. ๒๕๔๖–๒๕๔๗ กำลังกอสรางอาคาร พิพิธภัณฑวัฒนธรรมทองถิ่นและหอพิพิธภัณฑพระแกวอาสา ! การปกครองของวัด ตามคำบอกเลาของคนรุนกอนสืบทอดกันมาวา มีเจาวัดปกครอง คือ พระครูหลักคำ (หลักฐานคือที่บรรจุกระดูกของพระครูหลักคำอยูระหวางโบสถกับเจดีย) ตอมาก็พระที่ปกครองวัด (ไมสามารถระบุ เวลาได) ดังนี้ ! ๑. หลวงพอคำ ! ๒. หลวงพอขัน ! ๓. หลวงพอจวง ! ๔. หลวงพอสำรอง (เจาอาวาส) ! ๕. หลวงพอมะมิ (เจาอาวาส) ! ๖. พระอาจารย สุวัตจ เขมเทโว (ปจจุบัน) ! อยางไรก็ตามแมวัดทั้ง ๓ นี้ (รวมทั้งวัดบานหนามแพง อยูนอกเขตพื้นที่วิจัย แตก็ถือเปนวัดหนึ่งที่สัมพันธ กับพระธาตุศรีสองรักดวยเชนกัน) จะอยูกันคนละหมูบาน หากทวาก็มีความเชื่อที่สัมพันธกับองคพระธาตุศรีสอง รักในแงของการจัดงานประเพณีโดยตรง กลาวคือวัดโพนชัยบานดานซาย วัดโพธิ์ศรีบานนาเวียง และวัดศรีภูมิ บานนาหอ วัดเหลานี้มีจารีตปฏิบัติอยางหนึ่งคือตองมีพระจำพรรษาหรือจำวัดอยาไดขาด นอกจากนี้วัดทั้งสามยัง ตองจัดงานบุญหลวงเปนประจำทุกป จะจัดงานใหใหญหรือเล็กประการใดก็ตองจัด เพราะถือเปนวัดเกาแกที่มีอายุ ใกลเคียงกัน อีกทั้งยังเปนวัดที่ชาวบานใหความเคารพสักการบูชามาก วัดปาเนรมิตวิปสสนา นอกจากนี้ในชุมชนลุมน้ำหมันยังมีวัดที่สำคัญอีกวัดหนึ่งคือ วัดเนรมิตวิปสสนา ประวัติของวัดบันทึกไววา เย็นวันหนึ่งของเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๒๑ เปนเวลาออกพรรษาแลว ขณะที่ทานหลวงพอมหาพันธี สีลวิสุทโธ (พระครูภาวนาวิสุทธิญาณ) พำนักจำพรรษาอยูที่วัดจำปา บานหนองเหล็ก ตำบลหนองบัวทอง อำเภอรัตนบุรี จังหวัดสุรินทร (บานเกิด) ทานไดปรารภในที่ประชุมสงฆวา ทานจะออกธุดงคเดินทางไปเรื่อยๆ จะไมพำนักเปน หลักแหลงถาวร เหตุผลที่ทานออกเดินทาง หลวงพอทานมิไดแจงใหทราบ ที่ประชุมมีความเห็นพองตองกันวา หลวงพอมีอายุมากแลวเกรงวาจะไดรับความลำบาก อยากจะใหทานมีที่พำนักถาวรเพื่อจะไดเปนที่พึ่งอาศัย เปนเนื้อ นาบุญแกบรรดาญาติโยมทั้งหลายไดมีที่พึ่งยึดเหนี่ยว หลวงพอทานก็เห็นชอบดวย ! ในวันที่ ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๒๒ หลวงพอไดเปนประธานออกเดินธุดงค พรอมดวยคณะสงฆ อุบาสก อุบาสิกา เปนผูรวมเดินทาง จากวัดจำปามุงสูวัดบานโพนสูง อำเภอสุวรรณภูมิ จังหวัดรอยเอ็ด พำนักปกกลดอยูที่ นั้นเปนเวลา ๑ เดือน ในวันที่ ๒ กุมภาพันธไดออกเดินทางจากวัดโพนสูง มุงสูอำเภอชนแดน จังหวัดเพชรบูรณ พำนักอยูวัดวังทรายทอง ตำบลวังโปง อำเภอชนแดน ประมาณ ๗ วัน หลังจากนั้นไดออกเดินทางมายังอำเภอ ดานซาย จังหวัดเลย ไดพำนักอยูพระธาตุศรีสองรักเปนเวลา ๓ เดือน ระหวางนั้นหลวงพอไดตัดสินใจหาสถานที่ให เปนหลักแหลง มีหลายแปลงใหทานเลือก ทานไดเลือกเอาบริเวณ “ภูเปอย” เปนสถานที่ตั้งวัด (ที่ปจจุบัน) ประมาณ มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

68


ตนเดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๒๒ หลวงพอพรอมคณะไดขึ้นมาปกกลดอยู ณ ที่ตั้งวัดปจจุบัน พรอมกับเรงดำเนิน การปลูกสรางที่พักอาศัยชั่วคราวขึ้นตั้งแตนั้นเปนตนมา ก็เริ่มดำเนินการปรับพื้นที่ปลูกสรางถาวรวัตถุตามกำลัง ศรัทธาญาติโยม ศิษยานุศิษยที่เลื่อมใสศรัทธาในเจาพระคุณหลวงพอ การกอสรางดำเนินงานตอไปอีกจนกระทั่งเห็น เต็มรูปแบบโครงการที่ไดตั้งเอาไว

วัดปาเนรมิตวิปสสนา

สถานที่ตั้งวัดนั้นเดิมเปนเขตปาสงวน มีนายออดเปนผูถือครองทำไรเผาถานจนเปนที่โลงเตียนเหมือนภูเขา หัวโลน เมื่อตั้งขึ้นจึงทำการปลูกปาอนุรักษใหคงสภาพเดิมมากที่สุด ปจจุบันจึงเห็นปามีสภาพหนาแนนรกทึบ รมรื่น ! เนื้อที่ของวัดมีทั้งหมด ๒๐ ไร ทิศเหนือติดถนนดานซาย-นครไทย ทิศตะวันออกติดปาไมริมเหว ทิศตะวัน ตกติดปาไมริมฝงแมน้ำหมัน ทิศใตติดกับปาไมริมเหว และทางวัดขอสงวนปาไมติดกับทางดานทิศใตออกไปอีก ๒,๕๐๐ ไร ! หลวงพอทานไดมอบหมายใหคุณแมเพ็ญศิลป โรจนแพทย เปนผูขออนุญาตใหใชพื้นที่เขตปาสงวนแหงนี้ เปนสถานที่ตั้งวัด โดยมีหลวงพอเปนผูดำเนินการปรับพื้นที่ทำการกอสรางและเปนเจาอาวาสองคแรกของวัดเนรมิต วิปสสนา นับเปนวัดใหมในอำเภอดานซาย ที่นักทองเที่ยวจากตางถิ่นเขาไปเที่ยวชมจำนวนมาก และทึ่งในความใหญ โตของวัด

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

69


ความเชื่อเรื่องผี ความเชื่อเรื่องการถือผีและสิ่งศักดิ์สิทธิ์เหนือธรรมชาติเปนความเชื่อดั้งเดิม ที่คนทองถิ่นเชื่อกันวา ตามปา ตามภูเขา ถ้ำ แมน้ำ หวยหนอง คลองบึง และตามบริเวณหมูบานจะมีผี ดวงวิญญาณของสิ่งศักดิ์สิทธิ์อาศัยอยู ผูใด ละเมิดหรือไมเคารพบูชาจะไดรับอันตราย เจ็บไขไดปวย หรือประสบเคราะหกรรมตางๆ นานา หรือหากครอบครัว ใดเกิดเจ็บไขไดปวยก็อาจไปหาหมอยามหรือหมอตรวจดวง ถาหมอยามทวงทักวามีเหตุมาจากผีตนใดตนหนึ่งจะ ทำใหเจ็บปวยไข ญาติผูปวยจะบอกกลาวขอขมาลาโทษ แลวนำเครื่องเซนพวกขาวปลาอาหารทั้งหวานและคาว ไป เซนไหวผีที่หมอยามอางถึง ความเชื่อเรื่องผีของชาวดานซายแบงสาระสำคัญสังเขปดังนี้ ความเชื่อเรื่องผีปอบ! ! คนลุมน้ำหมันเชื่อวาผีปอบคือผีชนิดหนึ่ง สิงอยูในรางกายของคน ผูที่ผีปอบอาศัยรางอยูเรียกวา “เปนปอบ” หรือ “เปนผีปอบ” ผีชนิดนี้จะออกจากรางผูเปนเจาของไปสิงสูราง (เขากิน) บุคคลอื่น เพื่อกินเลือดและอวัยวะภายในเปน อาหาร (ปอบเขากิน) บุคคลที่ถูกปอบเขากินสวนมากจะเปนคนออนแอหรือเจ็บปวยออดๆ แอดๆ แตมีบางเหมือน กันที่คนแข็งแรงจะถูกปอบกิน นอกจากนี้ชาวบานยังมองวา ผีปอบเกิดจากบุคคลที่เรียนวิชาเวทมนตรหรือคาถาอาคมจนมีคาถาแกกลา หากทวาบุคคลเหลานี้กลับไมปฏิบัติตามขอหาม (ขอขะลำ-ศึกษารายละเอียดจากสวนทายของบทนี้) ที่อาจารย กำหนดไว อีกทั้งยังนำวิชาไปใชในทางที่ผิด เอาเปรียบหรือสรางความเดือดรอนแกสังคม บุคคลประเภทนี้จะถูก กลาวหาวาเปนปอบหรือเปน “ผีปอบวิชา” หากไมยอมชำระ (ซำฮะ) ก็จะเปนผีปอบจนเจาตัวตาย แตถึงอยางไรผี ปอบไมตายตามเจาของดวย ผีปอบจะตระเวนหาบุคคลอื่นเพื่ออาศัยรางตอไป บุคคลที่ผีปอบอาศัยมักจะเปนญาติ สนิทของผูที่เคยเปนผีปอบเรียกวา “ปอบเชื้อสาย” จำนวนผีปอบในแตละคนเมื่อเปนปอบแลว จะมีจำนวนผีปอบมากมายตางกัน ผูเปนผีปอบยังไมแกกลาก็มี ปอบอาศัยจำนวนนอย เชน ๑-๒ ตัว หากผีปอบแกกลาก็จะมีถึง ๙ ตัว คนที่ผีปอบเขากินพรอมกันทั้ง ๙ ตัว อาการผู ปวยที่ถูกกินจะหนัก ถือวาปอบแกกลาแข็งแรงมาก (ปอบวิชา) ผีปอบที่เขารางกายผูปวยจะออกยาก เพราะมี เลหเหลี่ยมมากมาย ถาหมอไลผีปอบมีอาคมไมกลาแข็งจริงๆ จะถูกผีปอบในรางคนไขขูตะเพิดได สวนรูปรางผีปอบมี ๒ ลักษณะ คือ เห็นดวยตาเปลา จะเห็นเวลากลางคืน ตามหนทางเกาๆ หรือบริเวณทาง สามแพรง ใตรมไมใหญจะมองเห็นเปนรางหมูใหญ หมาดำใหญ และลิงใหญ หรืออาจเห็นในนิมิตเปนเพียงภาพแหง ความฝน จะฝนเห็นหมู หมา ลิง ดังกลาวมาแลว นอกจากนี้ยังสังเกตไดจากอาการ คือผูเปนผีปอบจะมีอาการแฝง ตางๆ หลายประการ เชน เรื่องอาหาร ถาขาววาปอบวางเวนไปเขาสิงรางคน (กินคน) ผูเปนเจาของปอบจะหิวอาหา รดิบๆ เชน ลาบ กอย หากวันไหนออกไปกินคนแลวถูกหมอเสกเปาทุบตีดวยคาถา วันนั้นเจาของปอบจะ เหน็ดเหนื่อยและปวดราวทั้งรางกาย ดังนั้นจึงทำใหชีวิตประจำของผูที่เปนผีปอบหรือผูถูกกลาวหาวาเปนผีปอบ มีสองแบบที่สำคัญ คือ แบบ แรกดำรงชีวิต ดวยการประกอบอาชีพเหมือนคนธรรมดาทั่วไป แตชอบทำตัวลึกลับหรือไมชอบคบหาสมาคม แบบ ที่สอง คือ มีอาชีพเฉพาะ เชน หมอยาและหมอลำผีฟา เปนตน

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

70


สวนมากบุคคลที่ถูกผีปอบเขากินจะเปนออนแอหรือเจ็บปวย คนที่ถูกกินสวนมากจะเปนหญิง มักจะมี อาการผิดปกติจากคนธรรมดา เชน เพอ คลั่ง นัยนตาแข็งกราว มีเรียวแรงผิดปกติ อาจรองไหหรือหัวเราะเปนระยะๆ ชักกระตุกตะโกนทาทายไมเกรงกลัวใคร อาการของผูปวยที่ผีปอบเขากิน ถาผูปวยหรือคนปกติมีอาการผิดปกติทันทีทันใด เชน เพอ คลุมคลั่ง คุมดี คุมราย ตาเปนประกาย กระวนกระวาย รองเสียงดังตะโกนใสคนรอบขาง สวนมาจะรองวาไมเกรงกลัวใคร อาหารของผีปอบ เชื่อวาผีปอบจะกินเลือดเนื้อสด ๆ ของคนและสัตว โดยเฉพาะกินเลือด เนื้อ ตับ ไส พุง จนผูถูกกินถึงแกความตาย หากไปหากินคนอื่นไมไดเพราะถูกหมอวิทยาคมปองกันไว ผีปอบก็จะกินคนผูเปน เจาของปอบเอง การรักษาคนไขที่ผีปอบเขากิน เมื่อชาวบานเห็นญาติพี่นองที่มีอาการผิดปกติดังกลาวแลวในขางตน มักจะ วินิจฉัยวาถูกผีปอบเขากิน ญาติจะเชิญหมอธรรมซึ่งเปนผูที่มีอาคามาไลปอบโดยเสกน้ำมนตใหดื่มบางและรดบาง หรือไมก็ใชกานกลวยตีและทิ่มตามตัว เมื่อปอบกลัวจะออกจากรางคนไขไป แตสวนมากญาติผูปวยอยากจะทราบวา เปนผีปอบของใคร ก็จะขอรองใหหมอธรรมไลปอบโดยใชสายสิญจนผูกคอ ผูกผม ผูกขอมือ และผูกขาไว ทำให ปอบกลัวแลวถามชื่อนามสกุล ถามคาถาที่เรียนใหทองคาถาใหฟง บางครั้งมีการสาบานวาจะไมเขามากินผูปวยคน เดิมอีก โดยใชน้ำปสสาวะเปนน้ำสาบานใหดื่มก็มี เสร็จแลวจึงใหหมอปลอยผีปอบออกจากรางผูปวยไป เมื่อปอบ ออกจากรางไปแลว ผูที่ถูกปอบเขากินก็ไดสติเปนปกติ และมักจะถามญาติที่มาเฝาดูวาใครเปนอะไรหรือ พี่นองที่มา ชุมนุมกันมากมาย เปนตน การปองกันผีปอบ ผีปอบจะกลัวคาถาอาคมและหมอธรรม เขาลักษณะหนามยอกเอาหนามบง ผีปอบจึงไม เขารางผูชาย ยกเวนเด็กๆ เพราะผูชายจะเรียนคาถาอาคม หรือไมก็มีเครื่องรางของขลังประจำตัว ผีปอบจึงมักเขากิน ในรางกายผูหญิง เพราะชาวอีสานมีความเชื่อวาผูหญิงอีสานจะเรียนและใชอาคมและเครื่องรางของขลังไมได เครื่องรางของขลังแมผูหญิงจับตองก็จะคลายมนตศักดิ์สิทธิ์ เครื่องรางของขลังจะอยูกับผูหญิงอยางมีอำนาจ เฉพาะ ที่หมอเสกธรรมเสกไวปองกันภูตผีเปนตระกุดฝายอาคม และคาถาอาคมบางอยางที่ผูหญิงเรียนไดเทานั้น ดังนั้น การปองกันผีปอบ หมอธรรมจึงเสกฝายอาคม ผูกคอ แขน และขาของหญิงที่ปอบเขาบอย ๆ เพื่อ เปนการปองกันไมใหผีปอบเขากินในรางกายอีก ปกติหมอธรรมจะไมฆาผีปอบใหตาย โดยเรียกเขาหมอปดดวยผา ยันตถวงน้ำหรือฝงดิน ความเชื่อเรื่องผีปา ผีน้ำ และผีเรือน ผีปาหมายถึงคนตายที่ประสบอุบัติเหตุ เชน ตกตนไม ถูกสัตวปาขบกัด ถูกงูกัด หรือถูกอสรพิษกัดจนถึงแก ความตาย จะกลายเปนดวงวิญญาณลองลอยวนเวียนเปนเจาปา อยูตามบริเวณที่เกิดเหตุนั้นๆ ! ผีน้ำก็เชนเดียวกัน จะประสบอุบัติเหตุ ตายในน้ำ จะเปนผีสิงอยูในวังน้ำนั้นๆ หากมีผูคนเขาไปกล้ำกลาย บุกรุกจะประสบเคราะห มีอันเปนไปตางๆ นานา ! ผีเรือน หมายถึงหัวหนาครอบครัวที่ถึงแกกรรม (ปู ยา ตา ยาย พอและแม) ดวงวิญญาณของทานจะสิงสถิต อยูใกลๆ ลูกหลาน คอยปกปองคุมครองลูกหลานใหอยูเย็นเปนสุข ประกอบอาชีพทำไรทำนาไดผลผลิตสมบูรณ ลูก หลานทุกคนตองรักใครปรองดองกัน ชวยเหลือ หวงหาอาทรซึ่งกันและกัน ใครฝาฝนก็จะเกิดเจ็บไขไดปวย หรือเหตุ เภทภัยตางๆ ดังนั้นหากสมาชิกครอบครัวคนใดประสบเหตุเภทภัย จะไปหาหมอยามเพื่อจับยามวามีผีตนใดมารบกวน และจะมาเอาโทษอยางไร เมื่อไดความชัดเจนตามที่หมอยามบอก ลูกหลานจะปฎิบัติตาม เชน ใหขอขมาลาโทษหรือ มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

71


นำอาหารไปเซนไหวแลวแตกรณี เครื่องเซนไหวจะมีอาหารหวานและคาวประเภทตางๆ อาทิ ขาวสวย ปลาปง หรือ อาหารอื่นๆ ที่ผูตายยังมีชีวิตอยูชอบกิน โดยลูกหลานจะจัดเปนสำรับเรียกวา “พาขาวนอย” ยกไปเซนไหว ที่บริเวณ สวนหลังบาน เวลาเซนจะจุดเทียนบอกกลาวสิ่งที่ผูปวยไขละเมิดตอญาติพี่นอง และสัญญาวาจะไมประพฤติและ ปฎิบัติเชนนี้อีก หรือในโอกาสที่ลูกหลานมีพิธีแตงงาน ขึ้นบานใหม งานบวช หรือตองเดินทางไปทองถิ่นอื่นจะบอกเลาใหผี ปู ยา ตา ยาย หรือ “ผีเสื้อ” ซึ่งสิงสถิตอยูในตัวบานใหรูเรื่องราว โดยจะจัดเครื่องเซนเปนสำรับ มีอาหารคาวหวาน ดอกไม ธูปเทียน ผูทำพิธีจะจุดเทียน ๑ เลม ไวบนสำรับ ปจจุบันมีหลายครอบครัวที่ยังมีความเชื่อในเรื่องดังกลาว โดยจะนับถือและปฎิบัติอยูเปนประจำ นอกจากนี้ ในหลายครอบครัวยังคงมีความเชื่อเรื่องผีบานรวมกันกลายเปนผีประจำหมูบาน แตสิ่งที่นาสังเกตคือ ผีที่รับการ ยกยองมักเปนบุคคลที่สรางคุณความดีและมีฐานะ ทำใหผูคนเคารพนับถือจะไดรับการยกยอง และมอบใหเปนผู ปกครองหรือหัวหนาหมูบาน (เหมือนผูใหญบานในปจจุบัน) รักษาความสงบเรียบรอยของหมูบาน ใหผูคนใน หมูบานประกอบอาชีพและดำรงชีวิตอยูเย็นเปนสุข เมื่อบุคคลดังกลาวถึงแกกรรม วิญญาณจะลองลอยวนเวียนอยู ในบริเวณหมูบานหรือชุมชนนั้นๆ ชาวบานจะรวมกันจัดหาสถานที่ที่เปนปา มีตนไมใหญรมรื่น มีน้ำซับ น้ำตามธรรมชาติ อยูในที่ลับแล (ภาษาถิ่นเรียกวาอยูตามซอกหลีก) เพื่อปลูกสรางหอหรือศาล เรียกวาหอเจา หรือศาลเจา สำหรับใหดวงวิญญาณ ของหัวหนาที่ลวงลับไปแลวสิงสถิตอยู แตละปชาวบานจะรวมกันจัดหาจัดทำอาหารหวานคาว มีขาวตม ไกตม เหลา ดอกไม เทียน ไปเซนไหว บวงสรวงและอธิษฐานใหลูกหลานไดอยูเย็นเปนสุข อยาไดมีสิ่งชั่วราย เหตุเภทภัยตางๆ มากล้ำกลาย ขอใหทุกคนในหมูบานมีความรักใคร สามัคคีปรองดอง พึ่งพาอาศัยหวงหาอาทรซึ่งกันและกัน ทำไรทำ นาไดหมากไดผล พิธีนี้จัดทำในตอนฤดูฝนของแตละป ! ปจจุบันความเชื่อตางๆ เกี่ยวกับเรื่องผียังคงปรากฏอยูในโลกทัศนทางความเชื่อของคนเฒาคนแกอยู เพียง แตธรรมเนียมปฏิบัติในเรื่องความเชื่อไมเขมงวดเทาสมัยกอน ในขณะที่เด็กรุนใหมสวนใหญกลับเห็นวาเปนเรื่องเลา ของคนรุนกอนมากกวาที่จะเปนเรื่องจริง แตก็ไมถึงกับลบหลู

การถือฤกษยาม

คนรุนปูยาตายายจะเคารพนับถือผูมีความรูความสามารถมีสติปญญาดี มีความรูทางดานคาถา อาคม หมอดู และหมอยาม โดยเฉพาะเรื่องความเชื่อเรื่องฤกษยาม ชาวดานซายใหความสำคัญเปนอยางมาก เพราะมีสวนสำคัญใน การกำหนดฤกษยามในการดำรงชีวิตประจำวันและการประกอบพิธีตางๆ เชน การปลูกบาน ขึ้นบานใหม งาน แตงงาน งานบวช พิธีสูขวัญบายศรี การเดินทางไปคาขายในตางถิ่นจะหาฤกษหายามดีเปนตัวกำหนดในการ ประกอบกิจกรรมนั้นๆ ฤกษงามยามดีตามวันตางๆ อาทิ ฤกษงามยามดีของวันอาทิตยและวันพุธ คือ เวลาเชา ตั้งแต ๕-๘ นากา ถาเปนเวลา ๕-๖ นากา เรียกวา “เวลาตองกลวย (ใบ) เลื่อม” ตอนเชา ดวงตะวันเริ่มสองแสง กระทบใบกลวยจะเกิดแสงสีเลื่อมๆ เรียกวาเวลา “ตองกลวยเลื่อม” ถือวาเปนวันฤกษดี ยามดี วันศุกร–วันเสาร เวลา “งายแก” คือ เวลา ๙–๑๑ นากา (“งาย” หมายถึง เวลาอาหารเชาเรียกวากินขาวงาย ในชวงเวลา ๘-๙ นากา ถาลวงเลยเวลานี้ไปถึงเวลา ๑๐–๑๑ นากา เรียกวาเวลา “งายแก”) วันจันทรคือเวลาเที่ยง หรือ ๑๒ นากา เปนเวลาสั้นกวาทุกวัน วันพฤหัสบดีคือเวลาตั้งแต ๑๓–๑๕ นากา (เวลาบาย) มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

72


วันอังคารคือเวลา ๑๖–๑๘ นากา หรือเรียกอีกแบบชาวบานวา “เวลาควายแหลง” (“แหลง” คือ คอกซึ่งอยู บริเวณใตถุนบาน) เวลา ๑๗–๑๘ นากา ชาวบานจะตอนวัวควายเขาคอก เปนที่สังเกตวาฤกษงามยามดีจะมีเฉพาะเวลากลางวัน คือตั้งแตตะวันขึ้นถึงตะวันตก (ดวงอาทิตยตกตกเวน-ดวงจันทร เรียกวา “อีเกิ้ง” กลางคืนไมสะดวก เพราะไมมีไฟฟา อาศัยแสงสวางจากจุดไตจากตะเกียงอีปอก (ไมมีนากาอาศัยตะวัน อีเกิ้งจึงเปนนากาบอกเวลาของคนดานซายสมัยกอน)

ฮีตสิบสอง: ประเพณีและพิธีกรรมในรอบป

นอกเหนือจากฮีตสิบสองที่เปนธรรมเนียมปฏิบัติทั่วไปในอีสานแลว ชาวบานยังผนวกประเพณีและ พิธีกรรมในรอบปที่สัมพันธกับพุทธศาสนาและการนับถือถือผี โดยมีงานประเพณีที่สำคัญดังนี้ ! เดือน ๔ ! บุญขาวเปลือกขาวสาร มีขึ้นชวงเดือน ๔-๕ สมัยกอนชาวบานทุกครอบครัวจะนำขาวเปลือก ขาวสารไป รวมกันไวที่ลานวัด (ใตตนโพธิ์) เมื่อรวมกันเสร็จแลว ตกเย็นชาวบานจะมารวมตัวกันที่วัดเพื่อทำพิธีสวดมนตเย็น ตกกลางคืนจะมีคนเฒาคนแกมานอนกันที่วัด กระทั่งเชาจะประกอบพิธีทางสงฆอีกครั้งเปนอันเสร็จพิธีทางศาสนา หลังจากนั้นจะเปนหนาที่ของ “หมอขวัญ” ที่จะมาทำการสูขวัญขาว เมื่อสูขวัญขาวเสร็จ จะนำขาวที่เหลือออกมา ขายใหกับญาติโยมหรือชาวบานในราคาที่ถูก แลวนำเงินที่ไดทำบุญมอบใหทางวัด ปจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงไปและตางไปจากเดิมมาก กลาวคือเมื่อถึงวันบุญ ชาวบานจะนำขาวเปลือก ขาวสารไปรวมที่ศาลาวัด โดยแยกขาวสารใสไวโองหรือกะละมัง สวนขาวเปลือกจะใสไวในถุงปุยหรือกระสอบ ตก เย็นจะทำการสวดมนตเย็น หลังจากนั้นจึงแยกยายกันกลับบาน โดยไมมีการนอนเฝาอยูที่วัดเหมือนสมัยกอน สวน ตอนเชาจะทำพิธีสงฆเหมือนเดิม หลังจากนั้นหมอขวัญจะประกอบพิธีสูขวัญขาวเปนอันเสร็จพิธี ตอจากนั้นคณะ กรรมการวัดจะนำขาวที่ไดจากการทำบุญนี้ออกจำหนายใหกับชาวบานที่ถูกกวาตลาด แลวนำเงินที่ไดมาไวพัฒนาวัด ตอไป เปนอันเสร็จพิธีการทำบุญขาวเปลือกขาวสารอยางสมบูรณ ! การสูขวัญเปนประเพณีโบราณที่บรรพบุรุษไดเคยประพฤติปฏิบัติสืบตอกันมา เชื่อกันวาทำใหเกิดสิริมงคล ตอการดำเนินชีวิตของชาวบาน การประกอบพิธีสูขวัญตองอาศัยผูรูที่เคารพนับถือของชาวบานเปนผูประกอบพิธีจึง ถือเปนสิริมงคล คือที่หมูบานตองจัดบุญขาวเปลือก-ขาวสารนั้น เปนเพราะวาความเชื่อของคนในหมูบาน ซึ่งมี ความเชื่อวาถาหมูบานไดทำบุญขาวเปลือก-ขาวสารแลว จะสงผลไปถึงขาวที่ชาวบานปลูกไวจะเจริญงอกงาม อุดม สมบูรณดี และจะไดขาวเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ และเหตุผลที่ทางหมูบานตองจัดบุญขาวเปลือก-ขาวสารอีกอยางหนึ่ง ก็ คือเปนการบูชาและรำลึกถึงพระคุณของขาวที่ไดใหพี่นองชาวบานในหมูบานมีอยูมีกินมาจนถึงทุกวันนี้ ! ! งานไหวพระพุทธบาท จัดราวเดือน ๓ หรือเดือน ๔ กอนงานบุญมาฆบูชา รอยพระพุทธบาท ดานซายไมใชของดั้งเดิม เพิ่งสรางมาไมเกิน ๕๐ ป คนสรางเปนผูสูงอายุมาจากทองถิ่นอื่น คนสวนใหญเรียกวาคุณ ตาเฉื่อย (นายเฉื่อย คำเกษม) เปนชางสารพัด ! ! จุดประสงคการสรางพระพุทธบาทเพื่อใหชาวพุทธทั้งหลายไดระลึกถึงบุญคุณพระพุทธเจา ปหนึ่ง จะมีงานปดทองพระพุทธบาทเพื่อเปนสิริมงคลแกตัวเอง เปนการสืบทอดศาสนาเปาหมายของงานมีจุดประสงค หลักในการสรางความดี แตคนรุนหลังเริ่มนำสิ่งแปลกปลอมๆ ของใหมๆ เขามา ยังดีที่ชาวบานยังใหการสนับสนุน และเคารพมืดฟามัวดิน ถือเปนงานที่ใหญที่สุดงานหนึ่งของชาวดานซาย มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

73


! ! สมัยกอนชาวบานที่เคารพศรัทธาจะเดินทางไปบูชากราบไหวและปดทองรอยพระพุทธบาท เพราะ เชื่อวาเปนงานบุญที่ทำแลวไดบุญและสุขใจมาก โดยงานจัดติดตอถึง ๓ วัน ๓ คืน วันแรกทำบุญตักบาตร วันที่สอง ฟงเทศน วันที่สามตอนเชามีการทำบุญตักบาตรเลี้ยงพระภิกษุสงฆเปนการปดงาน สวนการทำบุญขาวเปลือก ตักบาตรขาวสารอาหารแหงจัดขึ้นระหวางวันที่หนึ่งกับวันที่สอง โดยทั่วไปผูมารวมงานนิยมซื้อทองคำเปลวปดรอย พระพุทธบาท ! ! งานไหวพระพุทธบาทที่จัดขึ้นชวงแรกถือวาใหญโตใกลเคียงกับงานไหวพระธาตุศรีสองรัก ระยะ หลังมีการประกวดนางงาม จัดมวย การละเลนสารพัด มหรสพหลากชนิด เชน หนังกลางแปลงและรำวง เปนตน โดยเฉพาะรำวงเปนการละเลนที่ทำใหผูมารวมงานถึงกับเลือดตกยางออกและตายก็มี กลาวคือ งานไหว พระพุทธบาทเริ่มเปลี่ยนแปลงไปจากหนามือเปนหลังมือเมื่อ ๑๐–๑๕ ปที่ผานมา เมื่อมีกลุมพอคาเขาไปเปน กรรมการจัดงานรวมกับกลุมขาราชการบางหนวยงานที่พยายามทำงานสนองนโยบายระดับบน ไดเสนอกิจกรรม การเลนและมหรสพเพื่อความสนุกสนานของงาน ขางฝายพอคาก็เสนอใหเขาเอาอะไรมาแสดงเพื่อดึงดูดใหคนมา เที่ยวงานมากขึ้น เพราะเมื่อผูคนมากขึ้นกลุมตนเองก็จะขายของและสินคาไดมากตาม แรกๆ นำหนังกลางแปลงเขา มาฉาย ตอมาเอารำวงเขามาเริ่มสอเคาวุนวาย มีตอยกันบนเวที อาจกลาวไดวาดานซายเพิ่งมีรำวงเปนครั้งแรกก็จาก งานนี้ เพราะโดยทั่วไปคนจะไปรำวงก็ไมกลาไป ตองกินเหลายอมใจถึงจะกลา คนกินเหลา รำไปรำมาเหยียบเทากัน บาง ชกตอยกัน ! ! แตงานเริ่มถดถอยหรือทำใหชาวบานทั่วไปเริ่มเบื่อระอาเมื่อมีการประกวดนางงาม และการขายธง สมมุติวาคนนี้ธงสีแดง ธงสีเขียว ธงสีเหลือง ใครเชียรเบอรไหนก็ไปซื้อธง กรรมการก็เอาทอนไมมาวางไว สีไหนได ธงมากสีนั้นก็ชนะ ไมไดดูความงาม คนที่เปนผูจัดนางงามมาก็เปนคณะกรรมการ ก็แขงกันซื้อธงมาปก กะให นางงามตัวเองชนะ ทำไปทำมาความแตก นับธงไมครบบาง นับเกินบาง ขาดบาง ทำใหเกิดการชกตอยทะเลาะวิวาท ซ้ำคนมารวมงานก็ตอยกัน จนตำรวจตระเวนชายแดนตองเขาไปควบคุม ชาวดานซายไมเคยเจองานแบบนี้ เกิด โกลาหลอลหมาน จนงานประกวดตองลมเลิกกลางคัน ตัดสินไมได ! ! หลังจากนั้นมีรำวงเขามาตอจากการประกวดนางงาม รำวงรูสึกวาจะรำไดหลายปอยู ใหมๆ คนรำก็ เหนียมอาย มีความสุภาพเรียบรอยในการรำอยู พอนานเขา เกิดการเตะตอยกัน บางคนก็โกง ไมจายคารอบ ทำให ทะเลาะวิวาทกัน ! ! แมจะทะเลาะกัน แตงานไหวพระพุทธบาทยังคงดำเนินอยู แตในแงความเชื่อเริ่มลดนอยลง งานปด รอยพระพุทธบาทมีแตคนเฒาคนแก เปนการทำบุญเฉพาะกลุมเทานั้น สวนคนหนุมคนสาวสวนใหญจะชอบความ สนุกสนาน สุดทายมีการวางระเบิดบนเวทีรำวง มีคนตายมากมาย งานหยุดไปหลายป เพิ่งจะมารื้อฟนขึ้นใหมไมนาน มานี้ เดือน ๕

บุญสงกรานต ตรุษสงกรานตเริ่มตั้งแตวันที่ ๑๓–๑๕ เมษายน วันแรกถือเปนวันมหาสงกรานต วันที่สอง เปนวันเนา และวันสุดทายเปนวันเถลิงศก ชาวบานหรือผูเฒาผูแกคนโบรานถือเปนวันขึ้นปใหม วันแรกมีพิธีสรงน้ำพระพุทธรูปที่วัดตามประสาชาวบานเรียกกันวาสรงน้ำพระเจานอย เพราะจะนำพระไป ตั้งไวที่รานหรือหอพระเจานอย ตอนเชาทางวัดจะรวมมือกับกวนจ้ำจัดเตรียมนิมนตพระพุทธรูปไวที่จะสรงชวงบาย ชาวบานในหมูบานจะนำน้ำอบ น้ำหอม และดอกไม ไปวัดเมื่อพรอมกวนจ้ำจะกลาวคำบูชาคารวะตอพระพุทธรูป

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

74


และพระภิกษุสงฆขอสรงน้ำ กอนทำการสรงน้ำพระพุทธรูปโดยใชชอดอกไมจุมน้ำอบน้ำหอมสลัดใสองคพระพุทธ รูป ภายหลังสรงน้ำพระพุทธรูป ตกกลางคืนอาจมีบางครอบครัวมารวมตัวเพื่อพบปะญาติพี่นองพูดคุย สนุกสนานเฮฮา ตามละแวกหมูบานจะมีการละเลนตางๆ และมีการสาดน้ำตลอด ๓ วัน คือชวงสงกรานตตาม ประเพณีบานนาเวียง หามชาวบานออกไปทำงาน ไมวางานอะไรก็แลวแตใหพักอยูบาน เพราะชาวบานเขาถือกันมา ชานาน ถาไมเชื่อฟงอาจทำใหเกิดเหตุรายกับครอบครัว ไมอยางใดก็อยางหนึ่ง จนกวาจะครบ ๓ วัน ถึงจะออกไป ทำงานไดตามปกติ นอกจากนี้พอกลางคืนมีการแหขาวพันกอน แหไปวัดธาตุศรีสองรักกอนแลวจึงแหไปวัดอื่น เชน วัดหนาม แทง วัดนาเวียง วัดบุงกุม และวัดนาหอ ขณะเดียวกันคนเฒาคนแกคนหนุมสาวในหมูบานจะมารวมตัวกันที่ลาน หมูบานเพื่อรวมสนุกกัน มีการละเลนกันหลายอยาง เชน การโยนเงิน การยิงเงิน การเลนหมากและ (การเลนสะบา) การเลนน้ำ ปะแปง และที่ขาดไมไดอีกอยางหนึ่ง คือ คนหนุมสาวที่อยูในหมูบานจะพากันไปตักน้ำที่แมน้ำหมันไปไว ใหคนเฒาคนแกไวอาบน้ำในวันสงกรานต การละเลนตางๆ และขนบธรรมเนียมที่ไดปฏิบัติกับคนเฒาคนแกมีอยู ๓-๔ วัน เมื่อถึงตอนเย็น ทุกคนจะมา รวมตัวกันที่วัดเพื่อทำพิธีสรงน้ำพระพุทธรูป ตอจากนั้นจะสรงน้ำใหกับพระสงฆที่อยูในวัด เมื่อเสร็จพิธีกรรมสงฆ แลว คนเฒาคนแกและคนหนุมสาวในหมูบานจะมารดน้ำรอบตนโพธิ์ เพื่อใหเปนสิริมงคลแกตนเอง ตอจากนั้นจะ เลนสาดน้ำกันอยางสนุกสนาน ในตอนเชาของวันสุดทายของงาน จะมีการทำบุญตักบาตร ตอนบายมีการแขวนธงยาว และกอพระเจดีย ทรายที่วัด นอกจากนี้ ยังมีการสรงน้ำพระสงฆ ผูหลักผูใหญ และผูเฒาผูแก ขออโหสิกรรมมีพิธีบายศรีสูขวัญ พระพุทธรูปหรือพระเจานอย ในขณะที่บางวัดอาจอัญเชิญพระพุทธรูป ๔ องคไปไวที่หอทรง เพื่อใหพี่นอง ประชาชนนำเอาน้ำหอมไปสรงน้ำ ถัดจากวันสงกรานตอีกดวย โดยมีการสรงน้ำทุกวันจนกวาจะแหดอกไมเสร็จ หรืออยางชาไมเกินวันหรืออยางชาไมเกินวันเพ็ญเดือนหก แตกตางกับสมัยปจจุบันมาก เพราะคนสมัยนี้ไมมีการละเลนแบบสมัยกอนและประเพณี จึงทำใหคนในสมัย ปจจุบันนี้ไมคอยจะรูจักการละเลนและประเพณีแบบสมัยกอน คนหนุมสาวยุคนี้จะไมคอยเลนอยูในหมูบาน สวน มากจะออกไปเที่ยวที่หมูบานอื่นหนุมสาวบางสวนที่เหลืออยูในหมูบานก็จะมีการกินเหลาสังสรรคกับเพื่อนๆ ใน หมูบาน เดือน ๖ บุญสูตรซำฮะ การทำบุญสูตรซำฮะจะทำภายในเดือน ๖ (ประมาณเดือนกรกฎาคม) จะเปนวันไหนก็ไดที่ เปนวันดี ไมใชวันหลมหลวง วันไหม วันเกากอง และวันจม วันที่กลาวมานี้ชาวบานไมเลือกทำบุญ หมูบานนาเวียง จะจัดทำสวดบุญคุณบานทุก ๗-๘ ปเทานั้น ! กอนประกอบพิธี กวนจ้ำและผูเฒาผูแกจะเปนผูใหคำแนะนำในการกำหนดวันประกอบพิธี เมื่อถึงวันงาน ชาวบานจะมาชวยกันหาสิ่งของที่จำเปนในการแตงบุญคุณบาน ! วันแรกของงานชาวบานจะชวยปลูกผามจัดเปนที่นั่งใหพระภิกษุสงฆสวดมนตเย็น โดยชาวบานทุก ครอบครัวจะเตรียมเอาทรายใสกระถังหรือกระปองน้ำ ๑ ขวด ฝายผูกแขนหลายเสน เอามาตั้งไวใหพระสวดใหครบ ๓ วัน เพื่อเปนสิริมงคลและใหหมดเคราะห นอกจากนี้ยังรวมกันแตงเครื่องสักการบูชา แตงเครื่องรอยเครื่องพัน ประกอบดวย มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

75


! ! !

๑. การเย็บจอก มีใบลำไย ใบมะมวง และใบขนุน ๒. การทำกระทงมี ๒ ชนิด ! ! - กระทงใหญ กวาง ๑ ศอก ความยาว ๑ วา (ของกวนจ้ำ) ! ! - กระทงเล็ก (ขนาดแคคืบ) รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ทำ ๙ กระทง ตามประจำวัน แตละกระทงมีแกงสม แกงหวาน เมี่ยง หมาก กลวย ออย เทียน พลู และทุกกระทงจะมีดายสายสิญจนวน ๓

รอบ กระทงวันอาทิตย ! มีเครื่อง ๖ กระทงวันจันทร ! มีเครื่อง ๑๕ กระทงวันอังคาร ! มีเครื่อง ๘ กระทงวันพุธ ! มีเครื่อง ๑๗ กระทงวันพฤหัสบดี! มีเครื่อง ๑๙ กระทงวันศุกร ! มีเครื่อง ๒๑ กระทงวันเสาร ! มีเครื่อง!๑๐ กระทงวันราหู ! มีเครื่อง ๑๒ ! กระทงวันลักขณา ! มีเครื่อง ๙ ! ทุกกระทงจะมีเครื่องสักการะเหมือนกันหมด แตจะใสตามวันที่ระบุมา และนิมนตพระภิกษุสงฆมาสวด พระพุทธมนตเย็นเปนเวลา ๓ วัน ในวันสุดทายชาวบานทุกหลังคาเรือนและบานใกลเคียงจะเตรียมเงินทำบุญพรอม รับน้ำมนต ชวงเวลาดังกลาวจะมีพราหมณมาประกอบพิธีสูตรสะเดาะเคราะหกระทงประจำวัน (พราหมณคือคนธร รมดาๆ แตถือขอปฏิบัติเครงครัดกวาชาวบานทั่วๆ กลาวคือจะไมตัดผม ทุกวันพระจะตองเขาวัด ถือศีล ๘ ปฏิบัติตัว คลายกับพระภิกษุสงฆ) ใครเกิดวันไหนก็ไปจุดเทียนเล็กใสกับกระทงวันเกิดของตนเอง พรอมทั้งใสเงินลงไปใน กระทง สงกระทงใหญพระสวดสะเดาะเคราะหใหทั้งหมูบาน แลวนำไปลอยที่แมน้ำ ยิงปนสงสามนัด เพื่อสะเดาะ เคราะหใหทั้งหมูบานใหทุกคนอยูรมเย็นเปนสุขตลอดไป ! บุญสูตรซำฮะจึงเปนความเชื่อของชาวบานมาตั้งแตสมัยคุณปูยาตายาย พอแมพี่นอง จนสืบทอดมาสูสมัย ปจจุบันก็ยังมีพิธีกรรมนี้อยู เพราะชาวบานเชื่อวาถาหมูบานไดจัดสูตรบุญคุณบานไปแลวจะทำใหชาวบานมีการกิน ดีอยูดี ไมมีโรคภัยไขเจ็บมาเบียดเบียนทำอะไรก็เจริญรุงเรือง ไมมีอุปสรรคและเปนสิริมงคลใหกับตัวเองและ ครอบครัวและคนในหมูบานตอไป ซึ่งเปนเหตุผลที่ชาวบานตองจัดพิธีกรรมอันนี้ขึ้นทุกป และเปนความเชื่ออีกทาง หนึ่งของหมูบานก็คือ ถาในปไหนทางหมูบานไมมีการจัดสูตรบุญคุณบานก็จะทำใหหมูบานทำอะไรไมราบรื่นจะมี อุปสรรคตางๆ เกิดขึ้นในหมูบาน ซึ่งเปนความเชื่อตั้งแตสมัยกอนจนมาสูปจจุบันนี้ ! ประเพณีไหวพระธาตุศรีสองรัก18 งานประเพณีไหวพระธาตุศรีสองรักจัดขึ้นชวงเดือน ๖ งานจัด ๔ วัน ๓ คืน ภายในงานจะมีหนวยงานราชการมาขายดอกไมธูปเทียนเพื่อใหผูคนที่มาเที่ยวงานไดซื้อทำบุญกับองคพระธาตุ ศรีสองรัก แตละคืนจะมีมหรสพตลอดทั้งคืน ตอนเชามีการบูชาองคพระธาตุศรีสองรักนำโดยเจาพอกวน เจาแมกวน เจาแมนางเทียม พอแสน และนาง แตง ทุกคนมารวมตัวกันในบริเวณองคพระธาตุศรีสองรักเพื่อทำพิธีบูชาองคพระธาตุ เมื่อเสร็จพิธีแลวชาวบานที่มา รอลางองคพระธาตุ โดยจะนำน้ำใสถังหิ้วขึ้นมาใหเจาพอกวน พอแสนที่ขึ้นไปบนองคพระธาตุเพื่อทำการลางธาตุ 18 กลาวโดยละเอียดอีกครั้งในหัวขอพิธีกรรมที่สัมพันธกับเจาพอกวน ในบทถัดตอไป มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

76


สวนวันสุดทายของงาน คือวันขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๖ ชวงเชาจะมีชาวบานทั้งจากทั่วสารทิศและหมูบานใกล เคียง ทั้งที่อยูในจังหวัดเดียวกันและตางทองถิ่น ที่เคยบนไวกับองคพระธาตุศรีสองรัก เมื่อครบกำหนดจะมาแกบน โดยนำเอาตนผึ้งมาถวายองคพระธาตุศรีองรัก วิธีการทำตนผึ้ง ชาวบานจะนำเอาตนกลวยตนเล็กๆ มาตกแตงใบซึ่งมีดวยกันหลายวิธี เชน วิธีแรกทำจาก ตนกลวยเล็กๆ หรือใชขี้ผึ้งเปนแผนเล็กๆ เอามาเสียบไมแลวนำมาปกตามตนกลวยเพื่อใหสวยงาม วิธีที่สองคือใช ไมไผมาสานเปนแผนเล็กๆ มาเสียบกับไม แลวนำมาปกติดกับตนผึ้งเพื่อใหสวยงามเปนอันเสร็จพรอมที่จะนำมา ถวาย (ตนผึ้งมี ๒ ขนาด คือ ใหญและเล็ก) ชวงกลางวันของงานจะมีการบวชพระ ณ บริเวณองคพระธาตุศรีสองรัก การบวชพระนี้ถือเปนความเชื่อที่มี มานานแลววาชาวไทยที่มีอายุ ๒๐ ปขึ้นไปถาไดบวชในงานพระธาตุแลวจะไดบุญวาสนา มหาศาลและปฏิบัติ สืบสานประเพณีตั้งแตบัดนั้นจนมาถึงปจจุบัน

ตนผึ้งของบูชาที่คนทองถิ่นนิยมมาแกบนที่พระธาตุศรีสองรัก

เดือน ๗ พิธีแฮกนา เมื่อถึงเดือน ๗-๘ นามีน้ำมากชาวบานจะลงมือไถนา สมัยกอนกอนที่จะดำนาชาวบานตอง ประกอบพิธีแฮกนา ดวยการทำคันแฮกใหสูงจากคันนา โดยใชไมตอกยาวราว ๒-๓ เมตร สานเปนรูปปลาแขวนไว ดานทาย พรอมสรางตูบนอยปกไวกับคันแฮกที่แจนา แลวปกตนขาว ๙ ตน พรอมทองคาถา ดังนี้ ปกตนที่ ๑ วา ปกตนนี้มีดวยสายตะวันออก !ปกตนที่ ๒ วา ปกตนนี้ดีดวยพระจันทรออกขาวใส มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

77


!ปกตนที่ ๓ วา ปกตนนี้ดีดวยใบแสนหนอ !ปกตนที่ ๔ วา ปกตนนี้ดีดวยแสนฮวง !ปกตนที่ ๕ วา ปกตนนี้ดีดวยแสนเม็ด !ปกตนที่ ๖ วา ปกตนนี้ดีดวยขาวปาแสนเหลา !ปกตนที่ ๗ วา ตนนี้ดีกวาขาวแสนหมื่น !ปกตนที่ ๘ วา ปกตนนี้ดีมีฤทธิ์บเศรา (บเศราหมายถึงไมโศกเศรา) !ปกตนที่ ๙ วา ไดขาวแสนลาน ขาวหมื่นเยีย (เยียหมายถึงกระบุง-กระทอ) เมื่อปกครบ ๙ ตนแลวเอาไมปกลอมไว เดือน ๘ บุญหลวง โดยทั่วไปงานบุญหลวงของชาวอีสานมักจัดขึ้นในชวงเดือน ๔ แตบานนาเวียงจัดขึ้นเดือน ๘ แต จะจัดขึ้นหลังจากงานบุญหลวงวัดโพนชัยบานดานซายจัดเสร็จสิ้นแลว เหตุที่ถือเชนนี้เพราะถือวาวัดโพนชัยเปนวัด เกาแกของอำเภอดานซาย ตองใหวัดเกาแกประกอบพิธีกอน เดิมพิธีทำบุญหลวงจะใหกวนจ้ำและพระภิกษุปรึกษาหารือเพื่อเลือกวันที่จะประกอบพิธี แตปจจุบันผูใหญ บานและคณะกรรมการหมูบานไดเขาไปมีสวนรวมในการกำหนดพิธีกรรมงานบุญหลวงดวย

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

78


ขบวนแหเจาพอกวนรอบองคพระธาตุศรีสองรักในงานบุญหลวง

เมื่อหารือกำหนดวันเปนที่เรียบรอย ถึงมีการประชุมในสวนของชาวบานเพื่อจัดเตรียมความพรอมเรื่องขาว ของเครื่องใชตางๆ ที่จะนำมาประกอบพิธีในวันงาน โดยทั่วไปงานบุญหลวงจัดขึ้น ๔ วัน คือ วันแรกคือวันแตงวัด วันที่สองเปนวันโฮม ถัดมาวันที่สามเปนวันแหพระ ทายสุดเปนวันฟงเทศน วันแรกเปนวันแตงวัด ชาวบานจะนำกลวย ออย เมี่ยง หมาก ธูป เทียน ปน ดาบ ขาวตอก ดอกไม และโองน้ำ เพื่อใชเตรียมทำน้ำมนตที่พระเทศนตลอด ๑ วัน ๑ คืน ในวันสุดทาย ฝายชายจะชวยกันประกอบประตูโขง ทำ ดอกบัว ทำดอกธนู และทำดาบ เสร็จแลวจะทำกระทงแตงเครื่องรอย เครื่องพันไวใชวันเลิกงาน ขณะที่ฝายหญิงจะ ชวยกันทำความสะอาด และชวยกันเย็บ “ธงพันชั้น” ที่ใชเศษผาหลายผืนและหลากสีมาเย็บ แลวชวยกันติดสายรุง รอบศาลาและรอบลานวัด ฝายหญิงอีกกลุมหนึ่งจะชวยกันทำกับขาวไวตอนรับแขกเหรื่อจากหมูบานอื่นๆ ที่จะนำ กัณเทศนมาถวายวัด ! นอกจากนี้ยังจัดเตรียมสถานที่ที่จะใชแหพระในวันสุดทายใหเปนที่เรียบรอย เพื่อที่ระหวางงานของวัน ตางๆ ชาวบานจะไดสนุกสนานเฮฮากันเต็มที่ ไมเชนนั้นงานจะดำเนินไปไมสะดวก ขอสำคัญอีกประการหนึ่งคือหาก ไมปฏิบัติตามก็จะทำใหผิดธรรมเนียม มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

79


! เสร็จจากการแตงวัดแลว ขางฝายผูเฒาแมแกจะเตรียมอาบน้ำอาบทา กระทั่งกินขาวเย็นเสร็จจะจัดเตรียม ที่นอนไมวาจะเปนหมอน ผาหม ผานวม และหิ้วขันหมากมานอนที่ศาลาวัดเพื่อเตรียมการเบิกอุปคุตในเชาของวัน โฮม ประมาณหนึ่งถึงสองทุม ผูเฒาผูแกจะเดินทางมาที่วัด ใครมากอนจะเตรียมฆอง กลอง และฉาบ ตีรอคอยคนที่ อยูทางบานเขาเรียกกันวา “ตีฆองตีกลอง โฮมคน โฮมพอ และโฮมแม” ใหออกมารวมงานกันที่วัด เพื่อรอการเบิกอุป คุตประมาณตีสี่ตีหาของวันโฮมในงานบุญหลวง แตกวาจะถึงตีสี่ก็ใชเวลานานหลายชั่วโมง ชาวบานหลายคนจึงงวง นอน ผูเฒาผูแกหรือหนุมสาวก็ตองชวยกันรองรำทำเพลงอยูบนศาลาวัดตลอดคืน วันโฮม กระทั่งถึงเวลาอันสมควรที่จะเตรียมการเบิกอุปคุต ฝายคณะกรรมการวัดจะจัดคนไปเฝาประตูวัดวา มีทางเขาออกที่วัดกี่ทางก็จัดไปตามนั้น เฝาเพื่อไมใหคนขางนอกเขามาในวัดเวลาเบิกอุปคุต และไมใหคนขางในออก ไปขางนอกวัด พูดงายๆ วาคนในหามออกคนนอกหามเขา เวลาเบิกอุปคุตถามีคนเขามาในบริเวณวัดหรือแมกระทั่ง สัตวไมวาจะเปนแมว สุนัข ก็ตามแต ถือเปนสิ่งตองหาม ตองไมใหเกิดขึ้น เพราะหากปลอยใหเขามาในงานวัดแลวจะ มีเรื่องไมดีเกิดขึ้น เชน อาจเกิดการทะเลาะวิวาทกัน หรือเรื่องอื่นๆ ดังนั้นผูดูแลประตูเขาออกจะตองตรวจตาอยาง ระมัดระวัง จนกวาการเบิกอุปคุตจะเสร็จเรียบรอยถึงจะเลิกเฝาได เริ่มจุดแรก การเบิกอุปคุตจะมีผูเฒาแมแก โดยมีพราหมณใสชุดสีขาวเดินนำหนาตรงไปที่บริเวณที่ประกอบ พิธีอีกกลุมหนึ่ง ก็หามฆองใบใหญไปตีเวลา พิธีเสร็จเปนจุดๆ ชาวบานที่ตีฆอง ตีกลอง และตีฉาบ ก็จะแหตามกันไป ระหวางนั้นจะตองเตรียมปนยาวไว ๑ กระบอก จุดแรกจะทำพิธีใชเวลานานพอควรคือราวครึ่งชั่วโมง เมื่อทำพิธีสวดเสร็จก็ตองใหผูมีหนาที่เก็บหินซึ่งเปน ตัวแทนของนางมัจฉาในแมน้ำ แลวโยนหินลงไปในแมน้ำสามกอน โดยคนงมจะตองหากินใหเจอทั้งสามกอนเชน กัน งมครบสามกอนแลวคอยตีฆองใหญ ผูถือปนตองคอยดูวาเมื่อทำพิธีเสร็จแลวจะตองคอยเตรียมยิงปนจนครบ สามนัด เสียงฆอง เสียงกลอง เสียงฉาบ และเสียงผูคนรองโฮรอง และก็แหไปมุมอื่นใหครบสี่มุมของวัด พอครบสี่ มุมของวัดแลว ก็จะมีการรำวงกันรอบวัดครบสามรอบ เพื่อใหกวนจ้ำและนางแตงผูเปนตัวแทนรางทรงเจาทั้งหลาย ไดรำเปนปฐมฤกษ ถึงเวลาเชาวันใหม เมื่อชาวบานกินขาวกินปลาและทำงานบานเสร็จแลว จะเดินทางมารวมตัวกันเปนกลุมที่ วัดอีกครั้ง จัดสรรเครื่องแตงตัวที่ตลกขบขันออกมาฟอนรำกันบริเวณรอบวัด เสียงฆอง กลอง ฉาบ และแคน ตีดัง เปนจังหวะทำใหเกิดความคึกครื้นและเราใจ นอกจากนี้มีการเซิ้งบุญจะมีคำพูดที่สอดคลองกันเซิ้งเปนจังหวะไป จะ มีผีตาโขนใหญ ผีตาโขนเล็ก ผีตาโขนสมัยกอนหนาตานากลัวมากไมมีสีสันสวยงามเหมือนปจจุบัน มีหนากากเปนกาบมะพราวหรือใช หวดนึ่งขาวเกาๆ ขาดๆ ที่ไมใชแลวเอามาทำเปนหัวผีตาโขน ผาก็ตองเอาผาที่เกาๆ ขาดๆ เชนกันใชเครื่องประดับ แตงกายที่เปนแบบของธรรมชาติพื้นๆ สำหรับผาที่เอามาเย็บเปนตัวเสื้อผีตาโขนจะเย็บดวยมือ ใชเข็มดายเย็บกันเปนเดือนๆ ไมไดใชจักเย็บผา เหมือนปจจุบัน ผาจะเปนผาที่นอนเกาๆ ปลอกผาหมนวมที่ไมใชแลว หรือผาจีวรพระสงฆที่ไมใชแลวไปเที่ยวขอ ของคนนั้นคนนี้ แลวก็ผาถุงเกาๆ เอามาเย็บประติดประตอกันเอา ชุดของผีตาโขนทั้งหนากากและเสื้อผาเปนของธรรมชาติที่ไมมีการแตงเติมไมมีสีสัน ผีตาโขนจะเปนผีตา โขนที่นากลัวมาก คำวา “บุญหลวง” ใครๆ ก็รูวาตองมีผีตาโขน เมื่อกอนเขาเรียก “ผีนำคน” พอนานเขาเรียกเพี้ยนเปนผีตาโขน สวนเหตุที่เรียกผีนำคน เพราะเวลาประกอบงานบุญหลวง ผีตาโขนจะคอยนำคนออกตลาดตอนดึก เวลาชวงเชา แมคาจะเอาของไปขายที่ตลาดสด แมคาสวนมากจะเดินหาบกระบุงใสสิ่งของไปขายตลาดเชาทุกวัน ผีตาโขนจะตอง มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

80


ออกไปคอยดักขโมยของขายของแมคาหรือแบงเอาไปกิน บุคคลที่ใสผีตาโขนจะไมมีใครรูเลยวาเปนใคร แตมีความ รูสึกวาในสมัยนั้นถาใครไดใสผีตาโขนจะรูสึกเทและโกมากสำหรับหนุมๆ สาวๆ เพราะไมมีอะไรที่จะใหชาวบานได แสดงออกการละเลนผีตาโขนจะเลน โดยเฉพาะผูเฒาผูแก และเด็กจะไมมีโอกาสเลย เด็กหนุมวัยรุนก็จะไมมีโอกาส ไดใสเลย จะมีก็แตคนแก เพราะเขาถือกันวา “เด็กปากบแลว แขว (ฟน) บดำเลนบุญบไดไมดี” ผีตาโขนยุคตางๆ ผีตาโขนยุคอดีตจะใชวัสดุที่มีตามธรรมชาติ มีอุปกรณที่สำคัญ คือ หวดนึ่งขาวเหนียว เย็บ ติดกับปลีมะพราว ใชไมเนื้อออนทำจมูก ไมมีการแตงแตมสีสันมากมายนัก เสื้อผาของผีตาโขนจะทำดวยเศษผา และ มุงเกาๆ ผูใดจะทำหนากากผีตาโขนจะตองไปแอบทำหนากากผีตาโขน เพื่อไมใหใครจำหนาของตนเองได และเมื่อ เสร็จสิ้นงานแลว หนากากผีตาโขนนั้นจะตองนำไปทิ้งน้ำ ปจจุบันผีตาโขนมีรูปแบบที่เปลี่ยนไปจากเดิมมาก โดยมีการนำวัสดุสมัยใหม เชน สีเรซิน ยูรีเทน มาเปน สวนประกอบ ในการตกแตงมีการเพิ่มลดลวดลายสีสันมาเปนสวนประกอบมากขึ้น แตวัสดุที่ใชก็ยังคงอนุรักษเดิม อยู เสื้อผาผีตาโขนมีการดัดแปลงมาใชผาลายไทย ผาสมัยใหมที่มีสีสันมากขึ้น การเตนก็มีลีลาทวงทีทำนองตามยุค สมัย ผูเลนผีตาโขนมีอุปกรณการเลนผีตาโขนที่สำคัญอยู ๒ อยาง คืออาวุธผีตาโขนนอยทุกๆ ตัวจะมีอาวุธประจำ กายคือดาบหรืองาวที่ทำจากไมเนื้อออน เชน ไมงิ้ว ไมฉำฉา สวนดามของดาบแกะสลักเปนรูปอวัยวะเพศชาย และ นิยมใชสีแดงทาตรงปลายดาบ สวนเครื่องดนตรีที่ทำใหเกิดเสียงดังจังหวะประกอบทาเดินหรือทาเตนไดแก “หมาก กะแหลง” (ปกติใชแขวนคอวัวหรือคอควาย) กระดิ่งกระพรวน หรือกระปอง ที่บรรจุกอนหินไวขางใน ! จึงเห็นไดวาประเพณีการเลนผีตาโขนของคนลุมน้ำหมัน มีพัฒนาการสืบเนื่องมายาวนาน เดิมจะเลนตาม ธรรมชาติ เริ่มมีการเปลี่ยนแปลงไปเมื่อทางราชการไดมองเห็นความสำคัญของประเพณีทองถิ่น จึงไดใหการ สนับสนุน อนุรักษ และสงเสริมงานประเพณีบุญหลวงเปนที่รูจัก และแพรหลายของนักทองเที่ยวชาวไทยและตาง ประเทศ พอถึงวันที่สามคือวันแหพระ ทั้งคนและพระภิกษุจะมารวมตัวกันที่วัดเปนจำนวนมาก เพราะชาวบานใกล เรือนเคียงเดินทางมารวมงานบุญดวย หนุมๆ สาวๆ จะแตงตัวออกมาอวดกันในงาน ผูบาวจะมาเที่ยวบานผูสาว ฝาย ผูสาวจะมาเที่ยวบานผูบาว ใครเปนเจาของบานหรือเจาภาพตองเตรียมอาหารการกินและเหลายาปลาปงคอยตอนรับ แขกผูมาเยือน พอถึงเวลาบายราวสองสามโมง จึงเริ่มเขาสูพิธีการแหพระ ทางวัดจะจัดฝายชายที่แข็งขันไปหาม พระพุทธรูป พระสงฆ และสามเณร ไปบริเวณที่คณะกรรมการจัดไว หลังจากนั้นจะเปนหนาที่ของพราหมณตองทำพิธีสูขวัญพระพุทธรูป หลังสิ้นสุดพิธีสูขวัญจะเตรียมหาม สามเณรและพระภิกษุพรอมแหบั้งไฟ ตามดวยขบวนแหของกลุมชาวบานที่มารวมงาน ขบวนแหดังกลาวจะมีกวนจ้ำเปนผูนำ ตามดวยผูใหญบาน ผูเฒา ผูแก และชาวบาน ระหวางแหพระภิกษุจะ ตีฆองและกลอง สงเสียงโหรองเปนที่สนุกสนานไปจนกวาครบสามรอบ หลังจากนั้นพระภิกษุจะขึ้นไปที่ศาลาเพื่อ จะไดทำพิธีทางศาสนาและใหพรแกผูที่มารวมทำบุญ ฝายชาวบานที่เสร็จจากแหพระแลวจะจุดบั้งไฟแขงกันของใครขึ้นสูงกวาคนนั้นชนะเลิศ สวนผูเฒาก็ไปนั่ง ฟงเทศนตออีก ๑ คืนกับ ๑ วัน วันสุดทายเปนวันฟงเทศน ชาวบานตองเตรียมแห “กันหลอน” สวนทางวัดจะนิมนตพระภิกษุตามวัดตางๆ มารวมเทศน เพราะพระภิกษุที่วัดในหมูบานเทศนไมไหว เนื่องจากตองสวดทั้งวันทั้งคืน แมจะมีหลายรูปแตพระ บางรูปก็ยังเทศนไมได แลวพระบางรูปยังบวชไมถึงเวลา พระภิกษุที่ขึ้นธรรมาสนเทศนตองจำพรรษาหลายพรรษา และตองอานตัวธรรมที่อยูในใบลานได มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

81


ชาวบานที่นั่งฟงเทศนเมื่อหิวขาวก็ลากลับบาน มาอาบน้ำเปลี่ยนเสื้อผา กินขาว เสร็จคอยกลับไปที่วัดฟง เทศนตอ ตกกลางคืนใครงวงก็นอนหลับไดพอประมาณ แตหามนอนเตลิด นอนพอพักผอนสายตา กลางวันจะมีกันหลอนของชาวบานเพื่อไปถวายพระที่วัด กอนถวายตองนำกันหลอนไปแหรอบบานเพื่อให พี่นองชาวบานไดทำบุญรวมกันหลายๆ คน ชาวบานเรียกวา “บุญแหรอบไปบานโนนบานนี้” พอคลอยบายชาวบาน จะแหกันหลอนกลับมาที่วัด ถากันหลอนแหมาถวายพระองคใดที่กำลังเทศนอยู ถูกกันหลอนที่แหมาถวายพระองค กันหลอนตนนั้น คนที่แหกันหลอนก็ยังไมรูเลยวาที่ไดทำกันหลอนมานั้น พระภิกษุรูปใดจะไดรับชาวบาน ถึงไดเรียกกันวา “ตนกันหลอน” พอถวายตนกันหลอนเสร็จเรียบรอย จะรอใหพระเทศนเสร็จกอน มัคนายกวัดก็ได แตงขันหา ขันแปด พาญาติโยมทั้งหลายคารวะเจาอาธิ พระพุทธ และพระสงฆ สิ้นสุดวันฟงเทศนลวงค่ำพอดี พอรุงขึ้นวันใหมก็ตักบาตรที่วัด เลิกแลวก็ทำกระทงแตง กระทงเครื่องรอย เครื่องพันสวด ชำระสะสางสงกระทงลงแมน้ำหมัน เปนอันเสร็จพิธีทั้งหมดพอเสร็จจากงานบุญหลวงหรืองานผีตา โขนแลวก็เขาพรรษาตอฟงเทศนกันที่ทุกคืนจนครบ 3 เดือน ออกพรรษา ประเพณีไหวภูอังลัง ! งานไหวภูอังลังเปนประเพณีของหมูบานนาเวียงที่มีมาแตโบราณ แตชาวบานหมูบานอื่นที่เคารพศรัทธา หรือมีความเชื่อตอภูอังลังก็นิยมเดินทางเขามาประกอบพิธีดวยเชนกัน กลาวคือเมื่อถึงเดือน ๘ วันอาสาฬหบูชาหรือ วันกอนเขาพรรษา ๑ วัน ชาวบานนาเวียงและหมูบานใกลเคียงจะไปตักบาตรทำบุญที่วัดตอนเชาเสร็จเรียบรอยแลว กวนจ้ำ นางแตง ชาวบาน และพระภิกษุสงฆ ๔ รูปจะรวมกันเดินทางขึ้นภูอังลัง ในสวนของชาวบานจะจัดเตรียมน้ำ กับขาว และเครื่องที่จะนำไปแตงสักระบูชาภูอังลัง ระหวางทางก็จะตีฆอง ตีกลอง และตีฉาบ เปนที่สนุกสนาน เมื่อ เหนื่อยก็พักกันระหวางทาง หายเหนื่อยก็เดินกันตอ แตมีขอกำหนดวาตองเดินทางไปถึงภูกอนเที่ยง และระหวางเดิน ขึ้นหามดื่มน้ำและกินอาหารเปนอันขาด จึงตองอาศัยความศรัทธาและความอดทนสูง ดังนั้นหากครอบครัวใด ผูเฒา ผูแกขึ้นไปไมไดก็จะสงลูกหลานเปนตัวแทนขึ้นไปไหวภูอังลัง ! พอไปถึงสถานที่ประกอบพิธี ชาวบานจะชวยกันแตงเครื่องบูชา แตงเครื่องรอย เครื่องพัน และจัดหาใบไม ใหญมาเย็บจอกใหได ๑๒๕ จอก เครื่องไหวแตละจอกประกอบดวย กลวย-ออย, แกงสม, แกงหวาน, เมี่ยง, หมาก, เทียน, ดอกไม, ขนมหวาน, เนื้อยาง, ปลายาง, ผลไม, ขาวโพด, ขาวตม, ขาวตอก และใบพลู ทั้งหมดที่กลาวมานี้อยาง ละ ๑๐ ชิ้น บริเวณลานประกอบพิธีมีขอหามวาหามคนเขานั่งเลน หามผูหญิงผานลานหินซึ่งจัดทำเปนอาสนะของพระภิกษุ ดัง นั้นเวลาประกอบพิธี ผูหญิงนั่งขางหนึ่ง ผูชายจะนั่งอีกฟากหนึ่ง ! หลังจากนั้นกวนจ้ำจะเปนผูจัดศาลทำหิ้ง ๕ หิ้ง ใสเครื่องไหวหิ้งละ ๒๕ จอก โดยกวนจ้ำจะเปนผูประกอบ พิธีถวายเครื่องสักระบูชาเจาภูอังลัง ตอจากนั้นชาวบานจะรวมกันถวายภัตตาหารเพลแกพระสงฆ เมื่อฉันเสร็จแลว เทศน ๑ กัณฑ กอนที่กวนจ้ำจะประกอบพิธีตอเพื่อขอฟาขอฝนใหตกตามฤดูกาล ขอใหพี่นองไดมีน้ำใชในนา ขอเจา ปา เจาเขา และเหลาเทวดาทั้งหลายไมวาจะเปน ภูอังลัง ภูผาแดด ภูผาดาง ผาแดงนางไอ มารวมเพื่อเปนสักขีพยาน เพื่อใหชาวบานอยูเย็นเปนสุขหมดเคราะหหมดโศก ขอใหทำนาทำไรไดผลอุดมสมบูรณ เสร็จแลวจึงแขวนธงสักระ บูชาภูอังลัง แลวจุดบั้งไฟเปนการเสี่ยงทายวาปนี้ปริมาณน้ำฝนจะดีไหม ถาฝนดีจะไดทำนาก็ขอใหบั้งไฟที่จุด เสี่ยงทายขึ้นดี ถาไมมีฟาไมมีฝนก็อยาไดขึ้น

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

82


ทิวเขาหลังนาขาวคือภูอังลัง ภูเขาศักดิ์สิทธิ์ของหมูบานนาเวียงและหมูบานใกลเคียง

! ! พอเสร็จแลวจากพิธีตางๆ สุดทายก็กวนจ้ำนำทำพิธีคารวะตอเจาภูอังลัง เพื่อวาลูกหลานทุกคนที่ขึ้นไปรวม พิธีในครั้งนี้อาจจะไปทำอะไรไมถูกไมควรขอคารวะขออภัยเจาของพื้นที่ สิ่งนี้เราทุกคนมองไมเห็นอยาลบหลู ใครที่ รับผิดชอบหอบหิ้วสิ่งของขึ้นไปก็ตองรับผิดชอบเอาลงมา ระหวางการเดินทางขึ้นลงจะมีการตีฆองและกลองรองรำ สนุกสนาน เมื่อกลับลงมาเชิงเขาสาดน้ำขี้โคลนเลนกันเปนที่สนุกสนาน กอนแยกยายกลับบานเปนอันเสร็จพิธี ! ชาวนาเวียงเชื่อกันวาหากครอบครัวไหนไมไปรวมไหวภู ปถัดๆ จะตองนำเครื่องเซนไปทำบุญเปนสองเทา หากปฏิบัติไหวภูทุกปจะทำใหหมูบานอยูเปนเปนสุข ไมเกิดความเดือดรอน ประสบแตความสุข อีกทั้งยังเปนการ เตรียมตัววาปนี้ควรจะวางแผนในการเพาะปลูกอยางไร ถาฝนฟาดีก็ตัดสินใจทำนา แตหากน้ำทาขาดแคลนก็ใหชาว บานระมัดระวังในการทำกิน ! นอกจากนี้ชาวบานยังเชื่อวาบนภูอังลังมีลูกแกวขนาดเทาลูกมะพราวมาสถิต กอนที่จะวิ่งไปภูผาแดด พรอม กับระเบิดสงเสียงดัง แตเดี๋ยวนี้ลูกแกวไมคอยเกิดแลว ชาวบานเองก็ไมทราบวาเปนเพราะอะไร แตก็ยังสักการบูชา เหมือนเดิม ลูกแกวไมเกิดใหชาวบานนาเวียงเห็นมาแลว ๑๐ ปแลว ปจจุบันประเพณีไหวภูอังลังในแงพิธีกรรมไมไดเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมมากนัก ของที่ใชแตงบูชาภูอังลังยัง เหมือนเดิม และจุดประสงคก็คลายๆ กันคือเพื่อใหปกปกรักษาคุมครอง คนที่อยูในหมูบานใหปลอดภัย แตสิ่งที่ เปลี่ยนแปลงไป คือจำนวนชาวบานที่ขึ้นไปบูชาภูลดลงมาก คือนับจำนวนคนไดในแตละป ตางกันอยางสิ้นเชิงจาก สมัยกอนที่ผูคนนิยมขึ้นไปบูชาเปนจำนวนมาก อยางไรก็ตามทางหมูบานยังคงปฏิบัติสืบสานประเพณีนี้อยูอยางตอ เนื่องทุกๆ ป มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

83


สวนสาเหตุที่ชาวบานไมนิยมขึ้นบูชาภูอังลังเพราะวาสถานที่ประกอบอยูบนภู ตองเดินทางไกลขึ้นเขา การ เดินทางลำบาก ทำใหเดินขึ้นเขาไมไหว สูคนสมัยกอนไมไดขึ้นเขาเกง มีความอดทนสูง ประกอบกับหลายครอบครัว เปลี่ยนอาชีพจากการเกษตรไปทำอาชีพอื่น เชน รับจาง และรับขาราชการ เปนตน รวมไปถึงการที่ชาวบานไดรับการ ศึกษาที่สูงขึ้น ก็มีสวนสำคัญตอการทัศนะและโลกทัศนตอความเชื่อดังกลาว ประเพณีไหวภูผาแดด ! งานไหวภูผาแดดเปนประเพณีของหมูบานนาหอที่ธรรมเนียมปฏิบัติเชนเดียวกับประเพณีไหวภูอังลังของ ชาวนาเวียง เพียงแตจะประกอบพิธีขึ้นหลังจากงานไหวภูอังลังราวหนึ่งสัปดาห สวนความเชื่อตอภูผาแดดก็มี ลักษณะเชนเดียวกับภูอังลัง คือชาวบานเชื่อวาเมื่อไดประกอบพิธีไหวภูทุกปจะทำใหหมูบานอยูเปนเปนสุข ไมเกิด ความเดือดรอน ประสบแตความสุข อีกทั้งยังเปนการวางแผนในการเพาะปลูกวาจะตัดสินใจอยางไรในการทำนา เพราะแตหากน้ำทาขาดแคลนก็ใหชาวบานระมัดระวังในการทำกินยิ่งขึ้น เดือน ๙ ! บุญขาวประดับดิน หรือวันหอขาวประดับดิน ตรงกับวันแรม ๑๕ ค่ำ เดือน ๙ เครื่องเซนประกอบดวย ขาวสารอาหารแหงรวมกันแลวหอไปถวายพระที่วัด เพื่ออุทิศใหญาติพี่นอง พอแม ปูยาตายาย และเจากรรมนายเวร ที่ลวงลับไปแลว พอถึงวันแรม ๑๒ ค่ำ เดือน ๙ ชาวบานจะจัดเตรียมอาหารคาวหวานตลอดจนผลไมพรอมทั้งหมาก พลู หอดวยใบตองใสในกระทงเพื่อนำไปวางไวที่ใดที่หนึ่งในบริเวณวัด พรอมจุดเทียนบอกกลาวใหผูที่ลวงลับไป แลวไดมารับเอาอาหารหวานคาว ตอจากนั้นเตรียมสิ่งของตางๆ ไปใสบาตรและถวายทานแดพระสงฆ ฟงเทศนและ กรวดน้ำอุทิศสวนกุศลไปใหผูที่ลวงลับไปแลวเปนอันเสร็จพิธี V

! เดือน ๑๐ ! บุญขาวสาก ตรงกับวันขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๐ ชาวบานจะสานกรวยดวยไมตอกเปนชะลอมเอาขนม ผลไม ขาว ใสในชะลอมเอาไปวัด ถวายพระโดยเจาของกรวยขาวสากจะเขียนชื่อผูที่ลวงลับไปแลวติดไวที่กรวยขาวสาก เพื่อเปนการอุทิศสวนกุศลไปใหผูที่ลวงลับไป เปนอันเสร็จพิธีทำบุญขาวสาก บุญขาวสากเปนประเพณีของคนสมัยกอนที่มีการทำตอเนื่องมาเรื่อยๆ จนมาถึงสมัยปจจุบัน คนในหมูบาน ยังทำและจะสืบทอดไปสูรุนใหมตอไป และจะไมมีวันหมดไปจากหมูบาน ความเปนมาของขาวสาก ขาวสากหมาย ถึงสิ่งของที่กินไดใสลงไปในกรวย กรวยคือชะลอมที่สานดวยไมไผ การทำบุญขาวสากนี้เปนการทำบุญเพื่ออุทิศสวน บุญสวนกุศลไปใหผูที่ลวงลับไปแลว ไดรับสวนบุญกุศลที่ญาติมิตรแตละคนทำไปใหในทุกๆ ป การทำบุญขาวสากในสมัยกอนนี้จะทำแบบตามมีตามเกิด คือใชสิ่งของที่กินไดและหางายในหมูบาน สวน ในสมัยปจจุบันนี้ ชาวบานจะนำสิ่งของที่กินไดทั้งอาหารสดและอาหารแหงใสลงไปในกรวยขาวสาก เมื่อเตรียม เสร็จแลวก็จะนำเอาไปถวายใหกับพระสงฆที่วัดในตอนเชา เพื่อจะไดทำพิธีสวดสงไปใหผูที่ลวงลับไปแลว ไดรับเอา สิ่งของตางๆ ที่ญาติไดอุทิศไปใหเปนอันเสร็จพิธี ! นอกจากนี้เดือน ๑๐ ขึ้น ๑๕ ค่ำ แมน้ำหมันนองจะมีการแขงเรือกัน ตั้งแตบานหวยปลาผา บานนาดี บานเกา นาหอ บุงกุม นาเวียง และดานซาย มาแขงเรือกันที่ทาโฮงและแขงที่วัดโพธิ์ศรีนาเวียง บุงกุม และนาหอตามลำดับ ขณะเดียวกันชวงกลางเดือนเขาพรรษาหรือวันออกพรรษาจะมีการแขงกลองกิ่ง (เรียกวาเส็งกอง) มีวัดโพน ชัย วัดนาเวียง วัดหนามแทง และวัดนาหอ ผลัดกันแขงไปวัดนั้น สวนพระเณรพากันไปเก็บหมากแตก หมากเยาบน มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

84


ภูเขา นำมาตอกเอาน้ำมันมาไวจุดไฟกันในวันออกพรรษา จุดเรือไฟ และตามบริเวณกำแพงสวางไสว สมัยนี้ประเพณี ดังกลาวไดหายไปหลายสิบปแลว เดือน ๑๑ ! บุญออกพรรษา มีขึ้นในชวงเดือน ๑๑ ของทุกป หลังจากพระสงฆจำพรรษาครบ ๓ เดือน ชาวบานในสมัย กอนจะมารวมตัวกันที่วัด ทั้งในตอนเชาและตอนเย็น คือชวงเชาจะมีการแหตนผึ้ง ตนผาปารอบวัด ๓ รอบ เพื่ออุทิศ ไปใหผูที่ลวงลับไปแลวไดรับสวนกุศลที่ญาติทำไปใหในวันออกพรรษา สวนตอนเย็นจะทำเหมือนตอนเชา คือจะมีการแหตนผึ้งและตนผาปารอบวัด ๓ รอบ หลังแหเสร็จแลวจะ นำไปถวายใหกับพระสงฆ เพื่อใหพระสงฆทำพิธีอุทิศสวนกุศลไปใหกับผูที่ลวงลับไปแลวมารับสวนบุญไป สวน ตอนกลางคืนจะมีการลองเรือไฟโดยใชลำกลวยมาทำเปนแพ และประดับดวยแสงเทียนลองไปตามแมน้ำ และพิธี เสร็จก็ประมาณ ๓ ทุม ปจจุบันบุญวันออกพรรษาจะมีชาวบานในหมูบานและหมูบานใกลเคียงมารวมทำบุญกันมากกวาแตกอน การทำบุญในตอนเชาและตอนเย็นยังคงเหมือนเดิม แตที่เปลี่ยนแปลงไปบางคือมีการละเลนของคนสมัยใหมที่ สนุกสนาน คือมีคนหนุมสาว เด็กๆ ในหมูบานจะมีการจุดพลุ ประทัด ดอกไมไฟ เพื่อสรางสีสันใหกับงานวันออก พรรษาอยางสนุกสนาน จนถึงเวลา ๒๓.๐๐ น. จะหยุดการละเลนทุกอยาง เปนเสร็จพิธีงานวันออกพรรษา นอกจากนี้กอนวันออกพรรษา ๒ วัน ยังมีการทำปราสาทผึ้ง ไหลเรือไฟ ที่แมน้ำหมัน เพื่อบูชาพระแมคงคา ทางหมูบานจะจัดเตรียมหาไมไผมาไวทำเปนตนประสาทผึ้งและเรือไฟ อุปกรณในการทำตนผึ้งจะใชไมไผสานเปน โครงขึ้นเปนรูปตนประสาทผึ้งจำนวน ๑ ตน เมื่อสานเสร็จจะนำกาบกลวยไปโอบรอบตนปราสาทผึ้งกอนที่จะสลัก เปนลวดลายตางๆ เมื่อทำเสร็จแลวชาวบานก็จะนำเทียนหลอกอนเล็กๆ มาติดตามตนประสาทผึ้งเพื่อใหสวยงาม พอ ตกเย็นชาวบานจะนำตนประสาทผึ้งไปแหรอบวัด ๓ รอบ กอนนำไปถวายพระภิกษุสงฆ เปนอันเสร็จพิธี สวนตอนกลางคืนจะมีการลองเรือไฟ วัสดุสำคัญในการทำเรือไฟคือตนกลวยนำมาทำเปนเรือแพกอนที่จะ นำไมไผมาสานเปนรูปจระเข เรือ และมา แลวใชกาบกลวยมาโอบรอบจระเขเรือและมากอนตกแตงประดับเทียนให สวยงาม ในตอนกลางคืนก็จะมีการนำเรือไฟออกมาลองไปตามลำน้ำ เปนอันเสร็จพิธีวันออกพรรษา V

! เดือน ๑๒ ! ประเพณีลอยกระทง ลอยกระทงไมใชเปนประเพณีดั้งเดิมของวัฒนธรรมลุมน้ำหมัน แตเปนประเพณีใหม ซึ่งเริ่มขึ้นกอนป พ.ศ. ๒๕๐๐ ไมนานนัก โดยหลายหนวยงานรวมกันจัด เชน อำเภอ ตำรวจ ตำรวจตระเวนชายแดน โรงเรียน และตัวแทนบานคุมตางๆ ทำแบบการลอยกระทงสุโขทัยของภาคเหนือ ใหชาวบานทำคนละกระทงใบ เล็กๆ มารวมกัน แลวประธานในพิธีจะกลาวบูชาพระแมคงคา ไปลอยกันที่หนองน้ำใกลตลาดใหม เปนการลอย กระทงเหมือนกับทางภาคกลาง หลังจากนั้นไมถึงสิบป รูปแบบของการจัดงานไดพัฒนาขึ้น มีการจัดประกวดนางนพมาศ สรางกระทง ใหญๆ ลอยอยูไปในน้ำเพื่อใหนางนพมาศลงไป ระหวางสรางไฟฟาเกิดดูดคนงานตาย เพราะตอสายไฟลงไปในน้ำ แตทุกวันนี้ก็ยังจัดอยู เพียงแตยายมาสรางกระทงบนบก นอกจากนี้ยังมีการประกวดประชันกันนางนพมาศ ประกวดกระทงนอยกระทงใหญ เปนเหตุทำใหคน ทะเลาะกัน เพราะเมื่อมีการแขงขันประกอบกับมีการกินเหลาเมายาก็มีการโกงกันขึ้นมา

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

85


!

เดือนอาย บุญเขาปริวาสกรรม เดือนอายนิมนตพระสงฆเขาปริวาสกรรม เปนพิธีกรรมเพื่อใหพระภิกษุผูกระทำผิดได สารภาพตอหนาคณะสงฆ (ไมใชการลางบาป) แตเปนการฝกสำนึกความผิดขอบกพรองของตัวเอง เดือนยี่ บุญขาวแจก บุญขาวแจกคือการทำบุญทานไปใหญาติที่ลวงลับไปแลว มักทำตอนเดือนยี่ ถาบานไหนมีบุญ ขาวแจก กอนถึงวันแตงหนึ่งวัน กลุมผูชายในหมูบานจะชวยกันปลูกผามเพื่อใหญาติพี่นองและชาวบานมานั่งแตง เครื่องทาน ผามสรางจากไมไผที่มีลำตนไมใหญนักนำมาทำเปนเสา มุงหลังคาดวยกานมะพราว พื้นปูดวยกะลา ในวันนี้ญาติพี่นองและชาวบานยังจะไปชวยกันเตรียมขาวของที่จะทำบุญใหผูลวงลับ เชน เสื่อ ผาหม หมอน รองเทา ถวยจาน และตะเกียง โดยจะนำมาหอเขารวมกันใสกรวยใบใหญเรียกวา “กรวยบัง” และยังชวยทำ อาหารในวันงาน โดยมักนิยมทำขนมจีน อาหารหวานก็ลอดชอง มีการฆาหมูฆาวัวเพื่อนำมาทำกับขาวไวเลี้ยงพระ ญาติพี่นอง และชาวบานที่มารวมงาน บานไหนมีฐานะดีจะจางหมอลำมาแสดงทั้งคืน แตบางบางก็มีเฉพาะเครื่องไฟ ติดใหสวางไสว เมื่อถึงวันแตงจะประกอบพิธีที่ผามในชวงสายๆ ชาวบานที่มารวมงานจะนำขิง ถั่ว ขาวสาร เงิน ดอกไม ธูป และเทียนมารวมงาน สวนเจาภาพจะนิมนตพระภิกษุสงฆและสามเณรมาเทศนถวายอาหารเพล หลังจากฉันเสร็จจะ ฟงพระเทศนกอนประกอบพิธีถวายบังกรวยแดญาติผูลวงลับพรอมถวายขาวของในบังกรวยใหพระ เดิมการทำบุญ ขาวแจกนับเปนงานบุญที่ยิ่งใหญ เพราะทำใหญาติพี่นองไมวาอยูไกลก็จะไดมีโอกาสพบปะกันอีกครั้ง เดือน ๓ บุญขาวจี่ ชาวบานจะทำในชวงหมดภาระหนาที่จากการทำนาก็จะมารวมกันทำบุญ ทำขาวจี่ถวายพระสงฆ คือจะนำไมเสียบขาวเหนียวปงไฟจนใกลสุกแลวทาดวยไข ปงตอไปจนเหลือง งานบุญนี้ทางวัดประจำหมูบานจะ กำหนดวันแลวประกาศใหชาวบานไดรับทราบ เมื่อถึงวันงานชาวบานก็จะนำขาวจี่ไปถวายพระสงฆที่วัด ชาวบาน เชื่อวาการทำบุญขาวจี่จะไดอานิสงคมาก แมปจจุบันชาวบานหลายคนจะเปลี่ยนอาชีพจากการทำนาก็ยังคงความเชื่อ นี้อยู

ประเพณีและพิธีกรรมในวัฏจักรชีวิต

! พิธีกรรมในวัฏจักรชีวิตก็คือ การประกอบพิธีกรรมที่สัมพันธกับวิถีการดำเนินชีวิตของนับนับตั้งแตเกิด19 แก เจ็บ และตาย ดังสรุปไดดังนี้ การบวช เมื่อลูกหลานมีอายุครบ ๒๐ ปบริบูรณจะนิยมบวชพระ ถาอายุต่ำกวาก็บวชเณร แตการบวชเณรนี้ไมมีพิธี มากมาย แตการบวชพระมีพิธีมาก โดยชาวบานถือวาชายใดกอนจะแตงงานตองบวชใหพอแมกอนเพื่อลางบาปลาง กรรม 19 โปรดดูในบทสุขภาพและสาธารณสุขของคนลุมน้ำหมัน มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

86


เครื่องใชในการบวช มีเบ็ง (เตียงนอน) รมรองเทา ผาไตร บาตร คันตาลปด ตนหมากเบ็ง ๒ ตน ทำดวย หมากแกะสลัก มะพราว ๒ ลูกหรับนำหัวนาค (เอาเมล็ดขาวเปลือกเฉียบเทียบ) แลวสูขวัญนาคเสร็จพิธีแลวก็แห ขบวนไป บวชพระที่มีโบสถ นิมนตพระภิกษุสงฆ ๖ รูป พระหัวสูตร ๒ รูป ! การแตงงาน ! สมัยกอนกอนที่คนหนุมสาวที่จะแตงงานกันเปนฝงเปนฝามีครอบครัวนั้น พอเปนหนุมเสียงแตกชาวบาน เขาจะเรียกกันวา สอนบาวขึ้นสอนสาวขึ้นแลว คนสมัยกอนไมคอยไดออกไปไหนอยูแตบาน พอโตขึ้นหนอยก็พอแม สอนใหไปทำไรทำนา ทำสวน เลี้ยงพอแมพี่นองอยูบาน คนสมัยโบราณเขายึดถือคำพูดเปนสิ่งสำคัญมาก กอนที่ บุคคลใดคนหนึ่งจะมีครอบครัวหรือแตงงาน ถาคนไหนไมวาหญิงหรือชาย ขยันทำมาหากิน ทำไรทำนาเกง จะมีผู หลักผูใหญหมายตาไวเปนเขยเปนสะใภของตนเอง ! สวนใหญหนุมสาวเขาไมไดเกี้ยวพาราศีกันเอง จะมีพอสื่อเขามาคุยกอนวาคนนั้นคนนี้เขาสนใจจะพามาหา หรือมาคุยดวยไดไหม หรือตางคนตางไมกลามาคุยกันก็จะฝากคำพูดไปกับพอสื่อใหไปพูดแทน คำตอบคำถามฝาย หญิงฝายชายพอสื่อรูหมดนัดพบกันที่ไหนงานอะไรพอสื่อเปนคนนำไปพบกัน แตกอนที่พอแมฝายหญิงเขาให จะให ลูกสาวเขาออกมาพบหรือมาเที่ยวดูหนังหรืองานตางๆ ดวย กับผูชายคนนั้นตองเปนคนที่พอแมฝายหญิงหมายมั่น ถูกใจ พูดงายๆ วาเปนคนขยัน เปนคนที่จะดูแลเลี้ยงลูกของเขาได การแสดงออกของฝายชายวาใหฝายหญิงรูวารัก ชอบจริงๆ พอไดพูดคุยกันบางแลวก็จะขอเสนอตัวไปทำงานชวยที่บาน เชน ฤดูทำนาก็ตองตื่นเชาไปทำนาแตเชามืด ฤดูทำไรก็ตองไปแตเชามืดทุกวัน ไปทำงานทำหนาที่หลายอยางเพื่อใหพอแมพี่นองและฝายหญิงเขาไดรับรูวาฝาย ชายเขาตองการมาเปนเขยบานนี้จริง เปนการปองกันหนุมคนอื่นๆ เขามาจีบแขงดวย ฝายหญิงไดรูไดเห็นการกระทำ หรือการปฏิบัติตอตนเปนที่นาพอใจแลว คิดวาจะเปนที่พึ่งใหกับตนเองและครอบครัวไดก็ตองออกปากไปบอกพอ แมใหมาสูขอตามประเพณี ! การแตงงานเปนสามีภรรยาตามประเพณีสมัยกอน การปฏิบัติหนาของฝายชายและฝายหญิงถือเปนสิ่ง สำคัญมาก เพราะธรรมดาคนเราเมื่อแตงงานกันแลว จะตองอยูดวยกันเปนเวลานาน การที่สามีภรรยาจะอยูรวมกัน ดวยความปกติสุข ทั้งสองฝายจะตองรูจักปฏิบัติใหถูกใจกันตามประเพณี มีความอดทนอดกลั้นสูง โบราณมักถือกัน วาสามีเปนหัวหนาครอบครัวหรือเปรียบวาสามีเปนชางเทาหนา ภรรยาเปนชางเทาหลัง พอแมผูเฒาผูแกจึงสอนใหผู เปนภรรยาปฏิบัติตนตอสามีโดยใหเกียรติสามีมากกวาตน และผูเฒาผูแกก็สอนใหสามีภรรยาปฏิบัติตอกัน ใหยกยอง นับถือวาเปนภรรยา ใหเกียรติซึ่งกันและกัน อยาดูหมิ่นกัน อยาประพฤตินอกใจครอบครัวตนเอง ใหขยัน อยา เกียจคราน รูจักเก็บในสิ่งที่สามีหามาให เปนแมบานที่ดี ใหรูจักรักเคารพญาติพี่นองทั้งสองฝาย ! การแตงงานอาจเปนการแตงงานกับคนขามหมูบานก็มี แตสมัยกอนไมคอยไปแตงงานไกลบานนัก มักแตง อยูกับคนในหมูบานใกลเคียง หรือหมูบานเดียวกันเพราะจะไดอยูใกลพอแมพี่นอง มีอะไรก็จะไดพึ่งพาอาศัยกัน ! กอนแตงงานฝายเจาบาวจะมาอยูบานเจาสาวบางคูจะหนีตามกันไปกอน เพราะทางผูใหญไมรักไมชอบดวย ก็เลยมีอุปสรรคเรื่องความรัก คอยกลับมาแตงงานกันที่หลังถือวาทำผิดที่บาน ตองกลับมาขอขมาลาโทษจากพอแม เมื่อกอนแตงงานกันแลวทะเบียนสมรสเขาจะไมยึดถือเปนสิ่งสำคัญ คนสวนมากจะไมจดทะเบียนสมรส ถาจะเลิก กันมีเรื่องระหองระแหงในครอบครัว โกรธกันไมพอใจกันก็หอบผาหอบผอนหนีกลับบาน ก็ไปมีแฟนใหมไดเลย ผูชายจึงไปมีครอบครัวใหม มีลูกใหมไปเรื่อยๆ ! ปจจุบันรูปแบบการแตงงานไมวามีฐานะหรือไมมีฐานะ มักจัดงานแตงงานเลิศหรู ไมมีเงิน ก็ตองไปกูหนี้ยืม สินเอามาแตงงาน เพื่อหนาตาตนเองหมดเทาไหรไมวามีลูก ๒ คน ๓ คน ใชหนี้ยังไมหมด มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

87


! จึงเห็นไดวาตามปกติหนุมสาวมีโอกาสพูดจาเกี้ยวพาราสีไดตามปกติ ญาติผูใหญไมไดหวงหามแตประการ ใด แตการกระทำดังกลาวตองอยูในขอบเขต ไมเชนนั้นอาจเปนการ “ผิดผี” ครั้นเมื่อหนุมสาวตกลงปลงใจจะ แตงงานกัน ฝายชายจะสงเถาแกไปสูขอฝายหญิง เมื่อตกลงกันไดแลวจะตกลงวันแตงงานหรือ “กินดอง” ไมมีการ หมั้นหมาย แตมีขอหามวาหามจัดกินดองในเดือนคี่ เดือนยี่ เดือน ๓ เดือน ๕ จะจัดเฉพาะเดือน ๒ เดือน ๔ เดือน ๖ เดือน ๖ และเดือน ๑๒ (เปนเดือนคู) จะเปนขางแรมหรือขางขึ้นก็ได แตจะใหตองเปนวันขางขึ้นจะดีมาก ถือเปนวัน สิริมงคล เพราะขางแรมคลายกับตะวันใกลตก เกิดความเชื่อวาไมดี ! กอนวันแตงงานถือเปนวันสุกดิบหรือวันเตรียมงาน พอถึงวันแตงจะมีขบวนแกบาวเขยออกจากบานเจา ภาพฝายชาย โดยจัดขันหมากเปนขบวนในตอนเชา มีการโหรองเปนที่สนุกสนาน เมื่อถึงบานเจาสาวจะมีการกั้น ประตูเงินประตูทอง ฝายชายตองเสียคาผานประตู กระทั่งเจาบาวขึ้นบันไดบานจะมีเด็กหญิงสาวบริสุทธิ์ ชวยลางเทา ใหเจาบาว ตอนนี้เจาบาวตองเสียคาตอบแทนใหเด็กลางเทา (ใชน้ำปะพรม) จึงเขาพิธีแตงงานเรียกวา การปลงเงิน สินสอดตามที่ตกลงไว การปลงสินสอดใหเพิ่มตอเปน ๙ บาท โดยใหญาติผูใหญฝายชายเปนผูปลงมีคำวา ดังนี้ ปลงบาท ๑ ใหไดวัวแมลาย ปลงบาท ๒ ใหไดควายเขาซอง ปลงบาท ๓ ใหไดฆอง ๙ กำ ปลงบาท ๔ ใหไดคำ ๙ หมื่น ปลงบาท ๕ ใหไดขาวหมื่นเลาและแสนเยีย (เยียหมายถึงกระบุง กระทอ) ปลงบาท ๖ ใหไดเมียเทียมขาง ปลงบาท ๗ ใหไดชางกับน้ำ ปลงบาท ๘ คนฉลาดเอาเงินมาใหคนโงเอาเงินมาปน ปลงบาท ๙ ขี้ฮาย (คนไมดี) ขอใหเกิดเปนดี เศรษฐีใหเอาเงินมาใหทั่วเทพไทวาเกาค้ำเกาคูณ ในพิธีเจาบาวและเจาสาวรวมทั้งญาติทั้งสองจะนั่งลอมวง โดยมีหมอขวัญทำหนาที่เปนพราหมณกลาวคำ อวยพร เสร็จแลวใชเสนฝายผูกขอมือของคูบาวสาว สวนผูใหญที่เขามาในงานทุกคนก็จะรวมผูกขอมืออวยพรให บาวสาวเชนกัน ! เสร็จแลวญาติฝายหญิงจะจูงมือเจาบาวไปยังหองที่เตรียมไวใหคูบาวสาว เปนการบอกกลาววา นับแตนี้ เจา บาวตองมาอยูกินกับเจาสาว สวนใหญผูชายที่เปนผูหญิงจะจูงมือเจาสาวไปอีกหองหนึ่งเพื่อทำการรับขวัญ เปนอัน เสร็จพิธีแตงงาน เปนที่นาสังเกตวาจะไมมีพิธีรดน้ำสังขคูบาวสาวเหมือนภาคกลาง แตปจจุบันชาวบานเริ่มใหความ สำคัญกับพิธีรดน้ำมากขึ้น ! หลังจากนั้นเปนงานเลี้ยงแขกผูมารวมงาน จะจัดใหญโตมากนอยเพียงใดแลวแตฐานะ สวนมากก็ใชบานเจา สาวเปนที่จัดเลี้ยง ซึ่งตางไปจากปจจุบัน (ยอนหลังไปราว ๑๐ กวาป) ที่เจาภาพนิยมแจกการดเชิญใหรวมกินโตะจีน เปนงานฉลองมงคลสมรส โดยจะเชาสถานที่ราชการในอำเภอดานซายเปนที่จัดงานเลี้ยง

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

88


การเจ็บปวย20 การรักษาพยาบาลมีหมอชาวบานรักษา เมื่อปวยไขก็เอายาสมุนไพร (ฮากไม) มาฝนใหกิน แขนหัก ขาหัก มี หมอเปาเสกใสน้ำมันยาทา เพื่อใหกระดูกจอดกัน (ติดกัน) ถาฟกช้ำดำเขียวใหเอาใบหนาดและใบเปามาอังไฟประคบ ใหกันหรือยางบนเตาไฟ การที่หมอเปาจอดกระดูกไดนั้น ชาวบานจะตองเตรียมเครื่องคายเพื่อใหหมอเปาประกอบพิธีตั้งคาย การตั้ง คายเมื่อเครื่องเซนจำพวก เหลา ไข ขัน ๕ หรือ ขัน ๘ เงินใสคาย ๑ เฟอง (สิบสองสตางค) เมื่อหายแลวใหยกเลิกคาย ในสมัยกอนถาจะไปโรงพยาบาลไปหาหมอกระดูกก็คงไปไมได เพราะไมมีรถจะตองเดินเทา กวาจะไปถึงโรงพยาบาล ในเมืองเลย ตองใชเวลาอยางนอย ๒ วัน ๒ คืน ฉะนั้นการรักษาจึงรักษากันตามมีตามเกิด การตาย ! ชาวบานจะมองเรื่องการตายเปนเรื่องธรรมดา (ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต) แตทุกคนก็ไมอยากตาย ถาเวนไดก็ อยากเวน ถาหนีไดก็อยากหนี ทั้งๆ ที่รูวเวนอยางไร หนีอยางไร ก็ไมพนความตาย แตก็จำตองพยายามดูแลใหตนเอง มีอายุยืนยาวที่สุด ! ถามวากลัวตายหรือไม เกือบทุกคนจะตอบวา “กลัว” ใครๆ ก็ไมอยากตาย ไมวาตายในลักษณะใด คนโบราณ มีความเขาใจวา คนตายกลายเปนผี ดวงวิญญาณจะลองลอยไปทุกหนทุกแหง เที่ยวหลอกหลอนคนที่ยังไมตาย โดย เฉพาะคนแกเมื่อตายไปแลว เปน “ผีเชื้อ” วนเวียนอยูกับลูกหลาน ถามีคนตายในหมูบานชาวบานจะกลัวมาก ตอน กลางคืนจะไมยอมออกนอกบาน ! การตายดีคือตายเพราะเจ็บปวยหรือตายเมื่อแกชราแลว สวนการตายไมดีคือการถูกบังคับใหตาย เชน ถูกฆา ตาย ตายจากการเกิดอุบัติเหตุ ตายเพราะถูกสัตวมีพิษขบกัด ถูกฟาผา เปนตน ! ชาวบานมองเรื่องของความตายวา ถาตายตั้งแตยังเล็ก พอแมญาติพี่นองจะเศราโศกเสียใจ แตก็ยังมีความ หวังวา เด็กพึ่งเกิดไดไมนาน คงจะกลับมาเกิดใหมอีกครั้ง ดังนั้นหากเด็กอายุ ๑-๒ ขวบ เกิดตาย พอแมมักจะเอาสี ปายหนาผาก แกม คอ คาง หรือทอง ปนเครื่องหมายไว เผื่อวาเด็กกลับมาเกิดใหมกับญาติพี่นองคนใดก็ตาม ถา ปรากฏวามีสีปายติดมาดวยก็เขาใจวาเปนลูกของตนที่มาเกิดใหม จะดีใจและมั่นแวะเวียนไปเยี่ยมถามขาวอยูเสมอ ความเชื่อเหลานี้จะคอยๆ เลือนหายไปตามสภาพสังคมในปจจุบัน ! แตหากเปนกรณีคนหนุมสาวตายนับเปนการสูญเสียครั้งยิ่งใหญ รูสึกโศกเศราเสียใจอยางยิ่ง เปนเวลานาน กวาจะลืมได สวนพอหรือแมตายทิ้งลูกเล็กๆ ไว นับเปนที่นาเวทนา สวนมากจะคิดถึงอนาคตของเด็กวาจะทุกขได ยากลำบากเพียงใด ขณะที่คนเฒาคนแกตายถือเปนเรื่องธรรมดา แตลูกหลานก็ยังหวงหาอาลัยอยู ! เปนที่สังเกตวาการตายของพอหรือแมขณะที่ลูกยังเล็กทำมาหาเลี้ยงตัวเองไมได ฝายที่ยังอยูตองรับภาระใน การเลี้ยงดูลูกใหเติบโต ใหไดรับการศึกษาจนกระทั่งชวยเหลือตนเองได แตคนสมัยกอนไดใหขอสังเกตไวดังนี้ ! พอตายแมยังอยูก็เหมือนหนึ่งวาอยูทั้งพอและแม เพราะแมสามารถเลี้ยงดูลูกไดดี ทำหนาที่ไดทั้งพอและแม แมจะไมยอมแตงงานใหมจนกวาลูกจะเติบโต ! หากแมตายพอยังอยู ทานก็เปรียบวาเหมือนตายทั้งพอและแม เพราะพอมักจะไปมีภรรยาใหม ทิ้งลูกไวให ปูยาตายายเลี้ยงดู เปนธรรมชาติของคน ภรรยาใหมจะไมรักลูกติดสามี ซึ่งมีจำนวนมากดวย ภรรยาใหมที่รักลูกติด สามีก็พอมีใหพบเห็นไดบาง แตฝายสามีจำนวนไมนอยที่รักลูกติดภรรยาเหมือนลูกของตนเอง ถาทั้งสองฝายตางมี 20

ศึกษารายละเอียดการเจ็บปวยและความเชื่อของคนทองถิ่นในบทสุขภาพและการสาธารณสุข

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

89


ลูกติดเหมือนกัน และฝายภรรยามีคุณธรรม การอยูรวมกันในครอบครัวก็จะมีความสุข อีกนัยหนึ่งพระทานใหขอคิด เปนคำเปรียบเทียบไววา “ขาดพอเหมือนถอหัก ขาดแมเหมือนแพแตก” ! ขาดพอเหมือนถอหักหมายความวาลูกที่ขาดพอซึ่งเปนผูนำครอบครัว ยังมีแมที่จะคอยประคับประคองหา ไมหาพายมาคอยๆ ถอแพพายพาลูกเขาหาฝงได สวนการขาดแมเหมือนแพแตกหมายความวาลูกที่ขาดแมดูแลเหลือ แตพอ พออาจจะไปมีครอบครัวใหม ทิ้งลูกใหตกระกำลำบาก ลูกตองตะเกียกตะกายชวยเหลือตัวเองเพื่อความอยู รอด ! ดังนั้นคนเราจะยากดีมีจน เปนใหญเปนโตขนาดไหนสุดทายของชีวิตก็คือตองตาย หากทวาการตายของใคร คนใดคนหนึ่งในหมูบานกลับเกิดพิธีกรรมมากมาย กลาวคือนับจากชาวบานหรือญาติจะชวยกันหาไมมาทำโลงศพ บางศพก็ใช ”กะลา” ที่สานดวยไมตอกที่ชาวนาเอารองตีขาวนามาหอ และไมมียาฉีดกันเนาเหมือนสมัยนี้ เอาศพไว เพียง ๑-๒ คืนเทานั้นก็นำไปฝงที่ปาชาตอนกลางคืนก็งันศพ (เรียกวางันเฮือนดี) มีการเลนหมากเสือกินวัวและหมาก ขาวจ้ำ วิธีเลนหมากขาวจ้ำมีฝายชายฝายหญิงไมจำกัดจำนวน เอาขาวมากอนหนึ่ง ถาฝายหญิงเลนก็เอาขาวจ้ำลงที่ ฝามือฝายหญิง จ้ำไปจ้ำมาเอาขาวไวฝามือคนใดคนหนึ่งโดยมิใหฝายชายรูแลวใหฝายชายทายวาขาวอยูกับมือใคร ถา ฝายชายทายไมถูก ฝายหญิงจะตีฝามือฝายชายแลวฝายหญิงเลนตอ หากฝายชายทายถูก ฝายชายจะตีฝามือฝายหญิง เปลี่ยนใหฝายชายเลนตอไป สวนมากมักมีแตผูบาวผูสาวเลนกัน สวนขั้นตอนของพิธีกรรมศพประกอบดวย การอาบน้ำศพ (ในอดีตไมมีการอาบน้ำศพ) ถาตายโหงไมอาบ ใหเพราะถือวาตายไมบริสุทธิ์ จะมัดเอาไปฝงเทานั้น สวนตายธรรมดาจะเอาน้ำอบน้ำหอมอาบให หมายความวาเอา น้ำพระพุทธมนตนี้อาบใหศพ เพื่อใหหมดจดจากบาปกรรมทั้งหลายที่เขากระทำแลว หลังจากนั้นจะมีการแตงตัวใหศพ ทาแปง ทาน้ำหอมให เวลาเอาแปงทาเอาน้ำหอมทา ใหภาวนาในใจวา “สี ละคันเธทิ อิมัสสะ มะตะสะสิรัสสะ วิเลปะนัง กะโรมะ” แปลวา เราทั้งหลายขอใหรางผูตายนี้ดวยของหอม แลวจึง ทาแปงแลวแตงตัว คือ ใสเสื้อผาใหศพ ตามประเพณีโบราณใหทำกลับกัน นุงกางเกงใหใสกระดุมดานหลัง ใสเสื้อก็ ใหติดกระดุมดานหลัง หรือทำกลับกันกับคนเปนนั่นเอง สวนเวลานุงผาใสเสื้อใหปริกรรมวา “ปะริสุทธะสีเลนะ อิมัสสะ มะตะสะระรัสสะ อังวัง การี กะโลมะ” แปลวาเราทั้งหลายแตงกายใหผูตายนี้ดวยเครื่องประดับคือศีลอัน บริสุทธิ์ ตอมาเปนการหวีผมศพมีดวยกันหลายวิธีกลาวคือ วิธีแรกเปนการหวีมาขางหนาใหกลาวคำวา “อนิจจา วะ ตะ สังขารา อุปปาทะวะยะธัมมิโน” แปลวา รางกายไมเที่ยงหนอ เกิดขึ้นมาก็เสื่อมสิ้นดังนี้ วิธีที่สอง หวีไปขางหลัง ใหทองวาคาถาวา “อุปปชชิตวานิรุชฌันติ” แปลวารางเกิดขึ้นแลวแตกตาย ทำลายขันธไปเปนเรื่องธรรมดาหนอ สวนขั้นตอนการรดน้ำศพจะทองคาถาปริกรรมเวลารดน้ำศพใหวาดังนี้ “อิทัง มะตะกะสะรสีรัง อุทะถัง อิ ยะ สัญจิตัง อะโทสิกัมมัง” แปลวาขอใหผูตายอโหสิกรรมแกขาพเจา เหมือนน้ำที่ขาพเจาไดรดแลวนี้เถิด หลังจากนั้น จึงเอาเงินใสปากศพ ประเพณีโบราณมักเอาเงินใสปากศพดวย เพราะเห็นวาผูตายไมมีเงินใชในปรโลก แตทางธรรม เปนการเตือนใหคนเปนรูวาหาไวมากๆ เวลาตายจะยัดใสปากใหบาทเดียว นอกจากนี้ยังมีการเอาหมากใสปากศพ สมัยกอนคนกินหมากถือวาอยูในสังคมผูใหญนาเกรงขาม พรอมใชขี้ผึ้งปดตาปดปากศพมีความหมายวา บอดเสีย บางบางครั้ง ใบเสียไดบางคราว แลวเราก็จะสบาย สวนการมัดศพ ใหใชผาขาวหอใหแลวมัด ๓ เปาะที่ขอมือ ที่คอและที่เทา โดยหันหัวศพไปทางทิศตะวันตก ขณะที่การเอาศพลงโลง มีขอหามวา หามพูดคำวาหนัก ทานวา “ขะลำ“ คำวา ขะลำ คือคำไมดี จะใชคนกี่คนก็ใหคน เทานั้นยก และใหยกครั้งเดียว มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

90


นอกจากนี้ยังมีการเลี้ยงขาวศพ แตงไวพอสมควรก็เอาขาวนั้นใหสัตวกิน พรอมจัดงานสวดอภิธรรมใหบุญ แกผูตาย สวนวันเผาศพมีขอหามวาหามเผาวันพระและวันอังคาร บางหมูบานเวนวันพุธ หากเปนสมัยกอน หากการตายเกิดขึ้นในหมูบานและเปนคนที่มีฐานะดีจะตั้งศพสวด ๒-๓ วัน แลวนำไป เผาที่ปาชานอกหมูบาน หากเปนคนยากจนไมมีเงินทองที่จะเก็บรักษาศพบำเพ็ญกุศลก็จะใชเสื่อจันทบูรหรือไมเสื่อ ลำแพนที่ชาวบานเรียกวา “กะลา” (ไมไผสับตีเปนแผน) หอและใชตอกผูกกอนนำไปฝงทันที ! ปจจุบันพิธีกรรมศพเปลี่ยนไปมาก หมูบานมีการสรางเมรุที่ปาชา หากเปนคนยากจนจะมีกองทุนฌาปนกิจ (เริ่มป พ.ศ. ๒๕๓๕) ประจำหมูบานชวยเหลือ จึงสามารถตั้งศพบำเพ็ญกุศลได ๓ วัน แตสิ่งที่ชาวบานยึดถือปฏิบัติ มาแตโบราณกาลคือจะไมเผาศพในวันพุธ สวนวันที่ชาวบานนิยมเผาคือวันจันทร วันพฤหัสบดี และวันเสาร สวนวัน อังคารและวันศุกรไมนิยมเผา ยกเวนแตการตายโหงดวยอุบัติเหตุ ตายวันไหนใหเผาวันนั้น !

ธรรมเนียมและขอปฏิบัติอื่นๆ นอกเหนือจากจากฮีตสิบสองและประเพณีในวัฏจักรแหงชีวิต คนในลุมน้ำหมันยังมีประเพณีสัมพันธกับวิถี ดำเนินชีวิตที่สำคัญดังนี้ !

พิธีกรรมขึ้น (ปลูก) บานใหม การปลูกบานใหมตองประกอบพิธีเสาขวัญและเสาแฮก โดยจะตองยกเสาขวัญที่จะตั้งอยูตรงกลางบานกอน เสาอื่น โดยทำการผูกออย ดอกไมดวยดายขาวที่ปลายเสา สวนหลุมของเสาขวัญจะใสเงินพวกสตางคแดง สตางคหา และสตางคสิบของคนโบราณลงไป สวนเสาแฮกคือเสาแรกของตัวบานทางดานทิศเหนือประกอบพิธีเหมือนเสา ขวัญเชนกัน ! การปลูกบานมีขอหามวา หามปลูก “ปมะ” เพราะปมะโรง มะเส็ง มะเมีย และมะแม ถือเปนปไมดี คือสิ่งที่ ถือเปนอัปมงคล เชน มะโรงสื่อถึงโรงศพ และมะเส็งคือเส็งเคร็ง เปนตน ดังนั้น ในสี่ปนี้ชาวบานจะไมนิยมปลูกบาน โดยเฉพาะสมัยกอนชาวนาเวียงจะถือมาก ไมมีการปลูกบานกันเลยก็วาได ! สวนวันที่ปลูกจะขึ้นอยูกับหมอยามจะจับยามวาวันไหนเปนวันพินาศ วันไหนเปนวันดี ในสวนตรงนี้จะขึ้น อยูกับหมอยาม ในปจจุบันถือเอาความความสะดวกสบายและความพรอมดานการเงินเปนหลัก เรื่องความเชื่อหมอ ยามเปนรอง ! เดิมการปลูกบานใหมของคนลุมน้ำหมันจะตองใหหมอยามดูฤกษดูยามพรอมทั้งดูวาพื้นที่นี้สมควรที่จะ ปลูกบานหรือไม เปนเสนียดจัญไรไหม เมื่อกอนนี้ที่ดินดังกลาวเปนที่ตั้งหรือตำครกกระเดื่องและเปนที่เก็บยุงขาว หรือไม หากเคยทำมาจะหามสรางบานบริเวณนั้นเปนอันขาด เพราะชาวบานเชื่อวา เมื่อสรางบริเวณนั้นแลวจะเปน บาปเปนกรรมซึ่งไมสามารถอธิบายได หรือหากจำเปนตองปลูกบานในพื้นที่นั้นจริงๆ ก็จะใหหมอยามประกอบพิธี แกเคล็ด ทำพิธีไลผี เสนียดจัญไร เสกคาถาและทำกระทงวางทั้งสี่ทิศของที่ดิน (บางหมูบานนำ “ควายตู” มาติดแอก ไถ ทำการไลผีเสียกอน) ! เวลาปลูก หมอยามยังตองกำหนดวาบานหลังนี้ควรมีกี่หอง เสากี่ตน (มักตกลงกับเจาของบานถึงความ เหมาะสมทางดานฐานะดวย เชน ฐานะดีอาจมีเสาหลายตน) ที่สำคัญตองมีเสาแฮกและเสาขวัญ

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

91


! สวนมากเสาแฮกตั้งตรงขามกับเสาขวัญ เสาขวัญจะอยูที่ดานเหนือหองนอน ในวันลงเสาแฮก เจาของบาน จะจัดเตรียมดายสายสิญจน หมากพลู มะพราว และออย หมัดรวมกัน เสร็จแลวหมอยามจะแสกคาถาไปผูกที่เสาแฮก กอนที่จะยกเสาแฮกปกลงดิน สวนเสาขวัญจะทำเหมือนกัน เพียงแตจะแตกตางที่ การทำเสาขวัญจะตองกลึงเลาให เปนทรงกลมเสียกอนเพื่อใหมีลักษณะพิเศษ ! ปจจุบันแมชาวบานจะนิยมปลูกบานสมัยใหมที่ใชอิฐฉาบปูน แตก็ยังนิยมประกอบพิธีเสาแฮกและเสาขวัญ อยู เพราะเชื่อวาจะทำใหอยูบานหลังนั้นอยางรมเย็นเปนสุข

เครื่องเซนที่เสาเรือน (ผีเรือน) ของการปลูกบานใหม

การทำบุญบาน ชาวบานในชุมชนลุมน้ำหมันเชื่อวาหากตองการใหชีวิตอยูดีมีความสุข พวกตนจะตองทำบุญบานปละครั้ง ทำใหครบ ๓ รอบ โดยจะนิมนตพระภิกษุสงฆมาสวดมนตเย็น สวนตอนเชาใสบาตรเปนเวลา ๓ วัน ชาวบานทุกครัวเรือนจะนำขวดน้ำ ทราย และฝายผูกแขนหรือ “ฝายชะตา” มาไวสถานที่ประกอบพิธีกรรม พรอมนิมนตพระภิกษุสงฆมาสวดมนตเย็นเพื่อประกอบพิธีสวดฝายที่ชาวบานไดจัดเตรียมมาครัวเรือนละเสน มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

92


ชาวบานจะนำฝายชะตามาปกราวแขนไวบนพานมงคล ซึ่งภายในใสกรวยดอกไม ธูปเทียน ๔ เลม และเทียน เวียนหัวอีก ๑ เลม สำหรับจุดทำน้ำมนตตั้งไวเบื้องหนาพระพุทธรูปพรอมดายสายสิญจน นอกจากนี้ยังทำกระทงใหญ ๑ กระทง กวาง ๒ ศอก ยาว ๔ ศอก และกระทงเล็ก ๘ กระทง ทำจากกาบ กลวยและไมตอก (ไมไผเหลาเปนชิ้นเล็กๆ และบางๆ) สอดประสานกันเปนรูปสี่เหลี่ยม กระทงใหญมีเครื่องบูชา อยางละรอย เครื่องบูชาที่ใสกระทงไดแกแกงสม แกงหวาน เมี่ยง หมากพลู กลวยออย ขาวขาว ขาวดำ ขาวแดง ชอ ดอก (ชอทำมาจากไมไผฝานเปนปนเหมือนไมตอก แลวเอามีดผาใหเปนฝอย ตอนปลายใหฝอยตั้งลงลาง) และธง หรือตุงตามจำนวนเครื่องดังกลาว สวนกระทงนอยใสเครื่องบูชาตามกำลังวัน คือ วันอาทิตย วันจันทร ๑๕ วันอังคาร ๘ วันพุธ ๑๗ วัน พฤหัสบดี ๑๙ วันศุกร ๒๑ วันเสาร ๑๐ และพระราหู ๑๒ โดยจะวางกระทงนอยตั้งลอมกระทงใหญใสเครื่องบูชา แลวใสบาตรถวายอาหารพระ พระจะสวดพระพุทธมนตจุดไฟที่ดายดวงชะตา เมื่อเสร็จพิธีสงฆ พราหมณจะประกอบพิธีสวดกระทงจนจบ กอนที่จะนำกระทงไปบูชาไวตามทิศตางๆ แลวนำไปลอยน้ำ พอสวดจบใหยิงปน ๑ นัด เพื่อขับไลเสนียดจัญไรใหพนไป ! ความเชื่อเรื่องขะลำ ! ความเชื่อเรื่องขะลำก็คือความเชื่อเรื่องเสนียดจัญไร เพราะขะลำหมายถึงสิ่งตองหามนอกรีตนอกประเพณี ถาปฏิบัติไมถูกตองหรือไมเหมาะสมหรือทำไมถูกตองตามกฎเกณฑที่วางไว ดังนั้น เมื่อบุคคลใดบุคคลหนึ่งทำผิด จารีตมักจะถูกตอวาเปนผูทำขะลำ ทำใหผูกระทำผิดเกิดความเกรงกลัวและละอายตอสิ่งที่กระทำลงไป ! ขอหามที่สำคัญของบานนาหอคือหามเหยียบธรณีประตู หามหญิงตั้งครรภเย็บผา หามสระผมวันพฤหัสบดี หามผิวปากกลางคืน หามนั่งขวางประตู หามลืมสากไวในครก หามตากผาซิ่นไวหนาบาน และหามผาฟนวันพระ เปนตน ! ขอหามเหลานี้เปนวีธีการสอนทางออมของผูใหญสมัยกอน ทำใหลูกหลานสมัยกอนตางเกรงกลัวจนไมกลา กระทำสิ่งนั้นๆ กลายเปนผลดีตอผูเชื่อฟง ดังนั้นชาวบานจึงระมัดระวังทั้งตนเองและคอยอบรมลูกหลานสืบตอกัน มาไมใหกระทำผิด เพราะเกรงจะเกิดขะลำกับพวกตน

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

93


บทที่ ๗ เจาพอกวน: วัฒนธรรมลุมน้ำหมัน คนในวัฒนธรรมลุมน้ำหมันนอกจากยังคงความเชื่อและศรัทธาในพระพุทธศาสนา และความเชื่อเรื่องผี ตางๆ ดังที่กลาวในบทที่แลว ชาวบานยังเชื่อในอำนาจลึกลับและศักดิ์สิทธิ์เหนือธรรมชาติ เชน ความเชื่อเรื่องเจาพอ กวน เจาแมนางเทียม และเหลาบริวารไดแกพอแสนและนางแตง คือ ชาวบานเชื่อวา เจาพอกวนและเจาแมนางเทียม คือบุคคลที่วิญญาณผีเจานายแตงตั้งเปนรางทรง ซึ่งไดรับการเลือกตั้งโดยวิญญาณพระเสื้อเมืองมาเขาทรงบุคคล นั้นๆ การแตงตั้งเจาพอกวนและเจาแมนางเทียมจะเกิดขึ้นไดก็ตอเมื่อ เจาพอกวนและเจาแมนางเทียมเสียชีวิตหรือถูก ถอดถอนจากตำแหนงเมื่อแกชรา อยางไรก็ตามเจาพอกวนและเจาแมนางเทียมที่ไดรับการแตงตั้งใหม มักเปนกลุม เครือญาติของเจาพอกวนเจาแมนางเทียมเสมอ สวนวิญญาณที่เขาประทับเจาพอกวนและเจาแมนางเทียม มีดังนี้ ! “เจาองคหลวง” คือวิญญาณที่เขาประทับทรงเจาพอกวน เปนวิญญาณของกษัตริยอาณาจักรลานชางในอดีต นอกจากนี้ยังมี “เจาองคไทย” หรือวิญญาณของกษัตริยแหงกรุงศรีอยุธยาในอดีต นอกจากนี้ยังมีวิญญาณ “เจาเมือง วัง” เจาเมืองที่อพยพมาจากอาณาจักรลานชาง พรอมกับพอขุนผาเมือง และพอขุนศรีอินทราทิตย และไดรับมอบ หมายจากพอขุนศรีอินทราทิตยใหปกครองรักษาเมืองอยูที่ดานซาย ทายสุด “เจาแสนเมือง” เปนวิญญาณของอุปราช (อุปฮาด) ที่ไดรับมอบหมายเชนกับเจาเมืองวังใหชวยบริหารบานเมืองคูกับเจาเมืองวัง ! สวนวิญญาณที่เขาประทับทรงเจาแมนางเทียม คือ “เจาเมืองกลาง” เปนวิญญาณของเจานายที่อพยพมาจาก อาณาจักรลานชาง ที่ไดรับมอบหมายใหปกครองดูแลบานเมือง ชุมชนดานซายแหงนี้ และ “นางเคา” “นางจวง” “นางจัน” และ “นางนอย” คือ วิญญาณเจานายที่เปนชายาและนางสนมของเจาเมืองที่ติดตามมาจากอาณาจักรลาน ชาง !

ตำนานการสรางพระธาตุศรีสองรักกับที่มาของระบบความเชื่อ “เจาพอกวน” “เจาแมนางเทียม” “พอแสน” และ “นางแตง”

ตามตำนานที่เลาสืบกันมาในกลุมคนลุมน้ำหมันกลาววา ป พ.ศ. ๒๑๐๓ สมัยสมเด็จพระมหาจักรพรรดิแหง กรุงศรีอยุธยา และพระเจาไชยเชษฐาธิราชแหงอาณาจักรลานชาง ทรงตกลงทำสัญญาทางพระราชไมตรี โดยรวมใจ กันสรางเจดียองคหนึ่งขึ้นที่เมืองดานซาย อยูบนคาคบไมระหวาง “ตนรัง” สองตน ใหชื่อวาเจดียศรีสองรัก ใหเปน เครื่องหมายเขตแดนระหวางสองพระนคร และเปนสักขีพยานแหงการทำสัญญาพระราชไมตรี เสร็จเรียบรอยมีการ ฉลองในวันเพ็ญขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๖ ของทุกป ! ในระหวางการกอสรางเจดียศรีสองรัก มีเรื่องเลาวาพระไชยเชษฐาธิราชไดแตงตั้งใหขุน แสน หมื่น และเจา นางรวมทั้งขาราชบริวาร เพื่อควบคุมดูแลการกอสรางเจดียศรีสองรักและปกครองเมืองนี้ ใหอยูในจารีตที่เคยปฏิบัติ มาใน ๑๒ เดือน แมเหตุการณบานเมืองมีการเปลี่ยนแปลงไปเพียงใด แตความเชื่อดังกลาวยังคงปฏิบัติอยู เมื่อขุน มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

94


แสน หมื่น เจานาง และขารับใชไดสิ้นชีวิตลง เจาขุนไกร และเจานางนอยโสดา ซึ่งเปนเครือญาติกับขุนและหมื่นได ดูแลเมืองนี้สืบตอมา นำพาชาวบานใหปฏิบัติเชนเคย ! กระทั่งวันหนึ่งระหวางที่ขุนไกรนำขุน แสน หมื่น เจานาง และบริวารทั้งหลายเตรียมสิ่งของกระทำ พิธีกรรมเดือน ๗ ประจำปเชนที่เคยปฏิบัติกันมา เมื่อเตรียมสิ่งของที่ใชประกอบพิธีกรรมเรียบรอย จึงประกอบพิธี บูชาวิญญาณบรรพบุรุษ ที่มีพระคุณตามจารีตประเพณี สักพักหนึ่ง ขุนไกรกลับมีทาทางผิดปกติ กอนพูดกับเสนาวา ! “รูไหมเราคือใคร มาจากไหน” ! ทุกคนตอบวา “ไมรูคะนอย” (ไมรูครับผม) ! ตอจากนั้นขุนไกรที่เปนเจาของรางพูดวา “เราคือเจาเมืองวัง มาอาศัยรางของขุนไกรเปนรางทรงเพื่อสื่อสาร กับพวกเจา” ! นับตั้งแตนี้เปนตนไป เราจะมาพบกับทุกๆ คน คือในเดือน ๔ เดือน ๗ ตอจากนั้นไดแตงตั้งเจานางนอยเปน รางทรงเจานาย รวมทั้งพอแสน นางแตง และบริวาร โดยวิธีผูกขอมือขาทาสบริวาร คอยดูแลเมื่อประกอบพิธีกรรม ตางๆ ตามวัน ตามเดือน ตามปที่กำหนดไว พรอมอบรมสั่งสอนใหทุกคนอยูในศีลในธรรม และพฤติตนใหเปนแบบ อยางที่ดีกับชาวบาน อีกทั้งยังทำนายวาเหตุการณบานเมืองปนี้วาเปนอยางไร ควรกระทำอะไรกอนหลัง ! เมื่อไดเวลาวิญญาณเจาเมืองวังจึงออกจากรางทรงของขุนไกร ตั้งแตวันนั้นเปนตนมา จึงมีรางทรงวิญญาณ เจานายเปนสื่อกลางในการติดตอระหวางโลกวิญญาณกับมนุษย ถือวาขุนไกร เปนรางทรงวิญญาณเจานายฝายชาย เปนทานแรก สวนเจานางนอยเปนรางทรงวิญญาณเจานายฝายหญิงเปนทานแรก

ระบบความเชื่อ “เจาพอกวน” ในวัฒนธรรมลุมน้ำหมัน

! ระบบความเชื่อเจาพอในที่นี้หมายถึงความเชื่อของคนลุมน้ำหมันที่มีตอเจาพอกวน เจาแมนางเทียม พอ แสน และนางแตง ตลอดจนธรรมเนียมและขอปฏิบัติตางๆ ของความเชื่อดังกลาวนั่นเอง เจาพอกวน ลำดับผูทำหนาที่เจาพอกวนตั้งแตอดีตจากตำนานเลาสืบตอกันมาของชาวอำเภอดานซาย21 ดังนี้ ๑. เจาพอกวนขุนไกร (พ.ศ. ๒๑๑๕–๒๑๖๓) ! จากที่กลาวแลวทำใหทราบวาขุนไกรเปนผูที่เจานายแตงตั้งเปนคนแรก ตั้งแตป พ.ศ. ๒๑๑๕เปนตนมา จนถึงป พ.ศ. ๒๑๖๓ ไดถึงแกกรรม ๒. เจาพอกวนไชยกุมาร (พ.ศ. ๒๑๗๑–๒๒๐๙) ! ไชยกุมารเปนนองขุนไกร ที่วิญญาณเจานายเลือกใหเปนเจากวนตอจากเจาพอกวนคนที่ ๑ ถึงแกกรรม ตำแหนงวางเวนอยูระยะเวลาหนึ่ง ระหวางนั้นยังไมไดแตงตั้งไชยกุมารเปนรางทรง ในการประกอบพิธีกรรม พอ แสนที่เปนหัวหนาจึงเปนผูนำและคอยชี้แนะแนวทางในการประกอบพิธีกรรมใหกับไชยกุมาร จนเขาใจขั้นตอน ตางๆ และประพฤติตนเหมาะสม จึงไดรับการแตงตั้งจากวิญญาณใหเปนเจาพอกวนในป พ.ศ. ๒๑๗๑ และถึงแก กรรม พ.ศ. ๒๒๐๙ ๓. เจาพอกวนบุญมี (พ.ศ. ๒๓๖๙–๒๔๐๙) 21 ดอกบัวทอง (นามแฝง), ประวัติปฐมกาลองคเจดียศรีสองรัก. ๒๕๐๖, หนา ๒๑–๓๗. มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

95


! ป พ.ศ. ๒๓๑๐ พมายึดครองกรุงศรีอยุธยา สภาพบานเมืองเกิดความแตกแยก ผูคนขวัญเสีย หลบลี้หนีภัย เพื่อความอยูรอด ระหวางนั้นตำแหนงเจาพอกวนไดวางเวนเปนเวลานานถึง ๑๕๐ ป แตการประกอบพิธีกรรมตาม ประเพณีของชาวดานซายยังคงปฏิบัติเชนเดิม โดยมีพอแสนเปนผูนำในการประกอบพิธี แตไมมีวิญญาณเจานายมา เขาทรง จนถึง พ.ศ. ๒๓๖๙ ในพิธีเลี้ยงหอหลวงประจำป เจานายจึงแตงตั้งรางทรงอีกครั้งหนึ่ง โดยใหนายบุญมี เปน รางทรงวิญญาณเจานายตั้งแตป พ.ศ. ๒๓๖๙ เจาพอกวนบุญมีถึงแกกรรม พ.ศ. ๒๔๐๙ ! ๔. เจาพอกวนสีจัน (พ.ศ. ๒๔๑๔–๒๔๔๕) ! เมื่อเจาพอกวนบุญมีถึงแกกรรม นายสีจัน เชื้อบุญมี เปนผูนำหมูบานที่ชาวบานใหความเคารพนับถือ ประพฤติตัวเปนแบบอยางที่ดีอยูในศีลธรรม จึงไดรับการเขาทรงใหเปนเจาพอกวน นายสีจันถึงแกกรรมป พ.ศ. ๒๔๔๕ อยูในตำแหนงเจาพอกวน ๔๙ ป ๕.เจาพอกวนเฮียง (พ.ศ. ๒๔๔๕–๒๕๓๑) ! นายเฮียง เชื้อบุญมี เปนบุตรของนายสีจัน และนางเข็มทอง เชื้อบุญมี มีภูมิลำเนาที่บานเดิ่น หมูที่ ๑ ตำบล ดานซาย อำเภอดานซาย จังหวัดเลย เขาสูตำแหนงเจาพอกวนป พ.ศ. ๒๔๔๕ เมื่ออายุ ๔๐ ป นายเฮียงไดรับแตงตั้งใหเปนรางทรงวิญญาณเจานาย เปนเจาพอกวนที่ทุกๆ คนเคารพศรัทธา ไมวาจะไปที่ไหน ประชาชน พระภิกษุ สามเณร พรอมทั้งขาราชการในอำเภอดานซาย ตางใหความเคารพและใหเกียรติ ถึงแมจะอยูใน รางทรงหรือไมก็ตาม เพราะถือวาเจาพอกวนเปนตัวแทนเจานายที่มีพระคุณตอชุมชนอำเภอดานซาย จังหวัดเลย เจาพอกวนเฮียงถึงแกกรรมในเดือนเมษายน ๒๔๘๕ อยูในตำแหนงเจาพอกวนเปนเวลา ๔๐ ป ๖. เจาพอกวนแถว (พ.ศ. ๒๔๙๙–๒๕๓๑) ! เจาพอกวนแถว เชื้อบุญมี ไดรับการแตงตั้งใหเปนเจาพอกวนอันดับที่ ๖ นับแตป พ.ศ. ๒๔๙๙กอนแตงตั้ง เจาพอกวนแถวเปนรางทรง ตำแหนงนี้วางอยูเปนเวลา ๑๔ ป ! ตามประวัติบอกวากอนเจาพอกวนแถวจะมาเปนรางทรง เคยเปนชางไมที่มีฝมือขึ้นชื่อ คนหนึ่งในอำเภอ ดานซาย เมื่อเจานายแตงตั้งใหเปนเจาพอกวนแลวงานที่เคยทำจึงตองเลิกทำ ตามขอปฏิบัติของเจาพอกวน ในการ ประกอบพิธีกรรมยังคงปฏิบัติตามจารีตประเพณีไมเคยขาด แตอยูมาระยะหนึ่งเจาพอกวนแถว เจานายไดพักการเปน ตัวแทนเจานายอยู ๑๒ ป ตั้งแตปพุทธศักราช ๒๕๐๕–๒๕๑๒สวนผูที่สั่งใหพักในการเปนตัวแทนเจานายคือ วิญญาณเจาเมืองวัง !

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

96


หอหลวงบานดานซาย

หอหลวงบานนาเวียงปกคลุมดวยตนไผรกครึ้ม มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

97


สาเหตุการพักเปนตัวแทนเจานายนั้นเพราะเจาพอกวนแถวยังเปนคนดิบ ยังไมไดรับการบวชเรียน จึงลาไป บวชเรียนเพื่อศึกษาหลักธรรมคำสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจา ! ในระยะเวลา ๑๒ ปที่ไมมีตัวแทนเจานาย การประกอบพิธีกรรมยังดำเนินตามปกติ สวนผูนำพาประกอบพิธี คือเจาพอกวนแถว แตไมมีการใชรางเจาพอกวนแถวประกอบพิธีกรรม กระทั่ง พ.ศ. ๒๕๑๒ประเพณีเลี้ยงหิ้งเจา เมืองวัง วิญญาณเจานายมาใชรางทรงของเจาพอกวนแถว แสน นางแตง เสนาและบริวาร ตางพากันชื่นชมยินดี จัด เครื่องสักการะเจานายแลวกลาวคำวา ! “สาธุ สาธุ ทานโทษทานชีวิต จิตและชอบ ย่ำเกลา ย่ำกระหมอม เจาเปนเจา เจาเมืองวัง คะนอยพรอมพลับ กับกัน คารวะเจาเมืองวัง คะนอย ใหรับจับโจม เอาขันดอกไมดวยเทอญ” ! กลาวจบ เจาพอกวนแถวในรางทรงเจาเมืองวัง ดับเทียน รับเครื่องสักการะของทุกคนที่อยูในพิธีนั้นพรอม กันกราบ ๓ ครั้งดวยความออนนอม ! ในยุคที่ ๒ ของเจาพอกวนมีการพัฒนา ปรับปรุง และอบรมพอแสน นางแตง เสนาประชาชนใหอยูใน ระเบียบวินัย ขอปฏิบัติ และศีลธรรมอันดี ไมใหประพฤตินอกลูนอกทาง ใหทำตัวเปนแบบอยางที่ดีตอตนเองและผู อื่น ใหเอาใจใสวัดและศาสนาโดยเฉพาะวัดโพนชัย วัดพระธาตุศรีสองรัก ตองชวยกันดูแลและชวยกันอนุรักษ สิ่งของตางๆ เปนตนวา โบราณสถาน โบราณวัตถุตางๆ ไมใหใครทำลายและขโมย ! ชวงเวลาดังกลาว ยังมีการดำเนินการบูรณปฏิสังขรณจัดภูมิทัศนและไดปรับปรุงบริเวณเจดียศรีสองรักครั้ง สำคัญ คือเปลี่ยนเสนทางเขาออกจากทางตะวันตกมาเปนการเขาวัดทางทิศตะวันออกแทน พรอมทั้งปรับปรุงถนน รอบบริเวณเจดียศรีสองรัก, สรางสะพานคอนกรีตขามลำน้ำหมัน, สรางบันไดนาคขึ้นทางใหมดานทิศตะวันออก, บูรณะอุโบสถ, สรางศาลารายรอบองคเจดียศรีสองรัก, สรางศาลาที่พักเจาพอกวน เจาแมนางเทียม, ซื้อที่ดินดานทิศ ตะวันออกเพื่อขยายพื้นที่, ถมลำน้ำหมันเกา เปลี่ยนลำน้ำหมันใหไหลทางใหม โดยใชรถขุดลำน้ำใหม, ปรับปรุง บริเวณเจดียศรีสองรักโดยปูกระเบื้อง ปลูกสวนหยอม และปลูกตนไมมงคลและไมในวรรณคดี, ตั้งเวรยามสับเปลี่ยน การดูแลเจดียศรีสองรัก, จัดธูปเทียนดอกไมและแผนทองคำปลิวไวใหคนไดนำไปสักการบูชาและปดทองเจดียศรี สองรัก, สรางเหรียญจำลองเจดียศรีสองรัก, สรางเจดียศรีสองรักจำลอง, อนุญาตใหนำผีตาโขนออกไปแสดงนอกเขต พื้นที่ได, จัดสวัสดิการและคาตอบแทนใหกับพอแสนที่มารักษาเวรยาม, ประการสำคัญที่สุดก็คือมีการอนุญาตใหทำ เซียมซีเสี่ยงทาย และกำหนดชุดเครื่องแตงกายพอแสนที่ปฏิบัติหนาที่ในพิธีกรรม ! เจาพอกวนแถวไดนำคณะพอแสน เจาแมนางเทียม นางแตง ประชาชนทั่วไปประกอบพิธีกรรมตามจารีต ประเพณีอยางเครงครัด เปนที่เลื่อมใสศรัทธาแกผูพบเห็น ชื่อเสียงของดานซายเลื่องลือไปทุกถิ่นฐานของ ประเทศไทยและตางประเทศ เจาพอกวนแถวถึงแกกรรมดวยโรคชรา ในป พ.ศ. ๒๕๓๑ ๗. เจาพอกวนถาวร (พ.ศ. ๒๕๓๑-ปจจุบัน) ! เดิมนายถาวร เชื้อบุญมี ประกอบอาชีพรับเหมากอสราง และเปนผูใหญบานเดิ่น หมูที่ ๓ ตำบลดานซาย อำเภอดานซาย จังหวัดเลย ! ตั้งแตป พ.ศ. ๒๕๓๑ เปนตนมา เจาพอกวนแถวผูเปนบิดาลมปวย จึงมอบหมายงานประกอบพิธีกรรมให กับลูกชาย คือนายถาวร โดยใหศึกษาพิธีกรรมตางๆ จากพอแสนดานและคณะพอแสน และเปนผูดูแลจัดเตรียม สิ่งของรวมกับเจาแมนางเทียม คณะแสน นางแตง ในการประกอบพิธีกรรม

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

98


! กระทั่ง พ.ศ. ๒๕๓๑ เปนวันเลี้ยงหิ้งเจาเมืองวัง เปนปที่ไมมีผูแทนเจานาย แตมีผูนำพิธีกรรมคือ พอแสน ดานเปนผูนำประกอบพิธีกรรม และมีนายถาวร เชื้อบุญมี คอยสังเกตการณรวมอยูดวย ปรากฏวาตอนเชาเมื่อแสน ดานนำเครื่องสักการะบอกกลาวหิ้งวิงวอนเจานายใหมาลง (หมายถึงการที่วิญญาณลงมารับเครื่องบวงสรวงและ เครื่องสังเวย) กลาวเสร็จทุกคนพรอมกันกราบ ๓ ครั้ง สักพักหนึ่งวิญญาณเจานายจึงไดมาใชรางนายถาวร ! เมื่อเจานายแตงตั้งใหเปนรางทรงแลว ตองประพฤติตัวอยูในกรอบประเพณีที่มีมาแตโบราณไมใหบกพรอง ขอใดขอหนึ่ง เหตุนี้นายถาวรจึงตองลาออกจากการเปนผูใหญบานตั้งแตวันนั้นเปนตนมา การแตงกายตอง เปลี่ยนแปลงไป คือจากการใสกางเกงเปลี่ยนเปนโจงกระเบนแทน ผมที่เคยตัดตองปลอยไวใหยาว เกลาไวบนศีรษะ ตองอยูในขอปฏิบัติของตำแหนงเจาพอกวนอยางเครงครัด กระทั่งเมื่อพอกวนแถว เชื้อบุญมี ถึงแกกรรม นายถาวร เชื้อบุญมี จึงไดรับการแตงตั้งตำแหนงเจาพอกวนจากเจานาย เปนเจาพอกวนคนที่ ๗ สืบตอมาจนถึงปจจุบัน

พอกวนจากหมูบานหนึ่งในอำเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก ที่เดินทางมารวมประเพณีไหวพระธาตุศรีสองรัก เมื่อราว ๗๐–๘๐ ปกอน

! เจาแมนางเทียม เจาแมนางเทียมเปนผูนำทางวัฒนธรรมฝายหญิง ผูทำหนาที่เปนรางทรงวิญญาณเจานายฝายซาย หรือฝาย ของเวียงจันทน คือ วิญญาณของขุน หมื่น แสน และบริวารตางๆ ที่มาสรางพระธาตุศรีสองรัก ตั้งแต พ.ศ. ๒๑๐๓ ไดเสียชีวิตลง

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

99


! ทั้งขุน หมื่น แสน บริวาร สรางหอหิ้งขึ้นเปนที่สิงสถิตวิญญาณที่เรียกวา “หอหลวง” แตยังขาดสื่อกลาง ติดตอกับวิญญาณเหลานั้น จึงทำการบวงสรวงอัญเชิญวิญญาณมาเขาทรง ในการทำพิธีบวงสรวงดังกลาว ผูนำคือเจา ขุนไกรและเจานางนอย เปนผูนำเสนาขาราชบริพาร กระทำพิธีกรรมในเดือน ๗ ขึ้น ๙ ค่ำ ประมาณ พ.ศ. ๒๑๑๕ ณ บริเวณหอหลวง วิญญาณเจานายจะมาเขาทรงเจาขุนไกรเปนอันดับแรก ประกอบดวยวิญญาณเจาแสนเมือง เจาเมือง วัง เจาองคไทยและเจาองคหลวง เมื่อวิญญาณดังกลาวมาประทับทรงครบทุกองคแลวจึงหมดวาระของเจาขุนไกร ! ตอจากนั้นเปนการทำพิธีบวงสรวงขอใหวิญญาณเจานายมาแตงตั้งบุคคลที่เห็นสมควรเปนผูแทนเจานาย กระทำพิธีกรรมอยูระยะหนึ่ง เจานายไดมาใชรางเจานางนอยเปนอันดับแรก ประกอบดวยวิญญาณของเจาเมืองกลาง นางเคา นางจัน นางจวง และเจาองคไทย ตั้งแตวันนั้นมาจึงมีรางทรงเจานายเพิ่มขึ้น ใหชื่อวา “เจาแมนางเทียม”

ภาพนางเทียมในยุคตางๆ ที่ติดในอาคารพระธาตุศรีสองรักษ

เจาแมนางเทียมตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน22 มีจำนวน ๗ คนดังนี้ ๑. เจาแมนางเทียมนอย (พ.ศ. ๒๑๑๕–๒๑๑๘) 22

สัมฤทธิ์ สุภามา, บทบาทเจาพอกวนเจาแมนางเทียมตอชุมชน : กรณีศึกษาอำเภอดานซาย จังหวัดเลย, วิทยานิพนธศิลปศาสตร มหาบัณฑิต สาขาไทยศึกษาเพื่อการพัฒนา สำนักงานบัณฑิตศึกษา สถาบันราชภัฎเลย, ๒๕๔๔, หนา ๖๓–๓๗. มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

100


! มีเรื่องเลาขานกันวา “เจานางนอย” เปนนองตางมารดาของพระไชยเชษฐาธิราช ไดมารวมกอสรางพระธาตุ ศรีสองรักรวมกับคณะขุน แสน หมื่น ในการชวยจัดเตรียมสิ่งของตางๆ ที่ใชประกอบพิธีกรรมตามจารีตประเพณีใน ๑๒ เดือน ระหวางการกอสราง ขุนไกรจึงนำขุน แสน หมื่น เจานางนอย และชาวบานประกอบพิธีกรรมบวงสรวง สังเวยวิญญาณบรรพบุรุษที่บริเวณหอหลวง พรอมอันเชิญวิญญาณเจานายมาใชรางบุคคลที่เหมาะสม เพื่อใหเปนสื่อ กลางในการติดตอกันระหวางโลกวิญญาณกับโลกมนุษย เพื่อสรางขวัญและกำลังใจใหกับทุกคน การอันเชิญครั้งนี้ ไดผลเพราะเจานายแตงตั้ง “เจานางนอย” เปนรางทรงฝายหญิงเปนทานแรกเรียกวา “เจาแมนางเทียม” มีหนาที่เปน รางทรงฝายซาย ตั้งแต พ.ศ. ๒๑๑๕–๒๑๘๑ ๒. เจาแมนางเทียมโสดา (พ.ศ. ๒๒๐๒–๒๒๕๒) ! เจาแมนางเทียมนอยโสดาอันดับที่ ๒ เปนบุตรของเจาแมนางเทียมเจาแมนางนอย กลาวคือ ขณะที่เจาแม นางเทียมคนที่ ๑ ถึงแกกรรม เจานางนอยยังเด็กอยู ขณะนั้นยังหาผูเหมาะสมที่จะสืบทอดตำแหนงเจาแมนางเทียม คนตอไปไมได ทำใหตำแหนงเจาแมนางเทียมวางเวนเปนเวลา ๒๑ ป สวนการประกอบพิธีกรรมตางๆ นั้น ดำเนินไป ตามปกติ โดยการนำของพอแสน กระทั่งป พ.ศ. ๒๒๐๒ เปนวันประกอบพิธีเลี้ยงหิ้งเจาเมืองกลาง เวลา ๑๐.๑๙ น. เจาพอกวน เจานางนอยโสดา พอแสน นางแตง และชาวบานตางพรอมใจไหวหิ้งเจาเมืองกลาง ระหวางนั้นทุกคน ตางออนวอนใหเจานายคือเจาเมืองกลางมาใชรางผูที่เหมาะสมเปนรางทรง เจานางนอยโสดาลุกขึ้นไปที่หนาหิ้งแลว กมลงกราบสามครั้ง พรอมกันหันหนามาทางแสน นางแตง แลวถามวาทุกคนอยูสบายดีหรือ ปนี้เราไดแตงตั้งเจา นางโสดาเปนรางทรงของเรา ถึงแกกรรมในป พ.ศ. ๒๒๕๒ ๓. เจาแมนางเทียมศรีเมือง (พ.ศ. ๒๓๓๖–๒๓๗๖) ! ระหวาง พ.ศ. ๒๓๑๐ เปนตนมาบานเมืองไมสงบสุข เพราะกรุงศรีอยุธยาแตกเสีย ทำใหตำแหนงเจาแมนาง เทียมก็วางลงเปนเวลา ๑๒๔ ป แตการประกอบพิธีกรรมตางๆ ในเมืองดานซายยังคงปฏิบัติเชนเคย โดยมีพอแสน เปนผูนำ กระทั่ง พ.ศ. ๒๓๓๖ ในพิธีเลี้ยงหิ้งบานเจาเมืองกลางประจำปที่บานของเจาแมศรีเมือง เจานายจึงลงมาใช รางทรงอีกครั้งหนึ่ง คือไดแตงตั้งเจาแมศรีเมืองเปนตัวแทนเจานาย เจาแมศรีเมืองไดนำพาพอแสนและนางแตง บูรณะพระธาตุศรีสองรัก หอหลวง และวัดโพนชัยรวมกับฝายเจาพอกวน จนบานเมืองมั่นคงถาวรทุกคนอยูดวยกัน อยางสันติสุขจนสิ้นอายุของเจาแมศรีเมือง ในป พ.ศ. ๒๓๗๖ ! ๔. เจาแมนางเทียมเพชรทอง (พ.ศ. ๒๓๖๑–๒๔๐๑) ! เจาแมเพชรทอง ศรีพรหม เปนบุตรของเจาแมนางเทียมศรีเมือง อยูที่บานหนองของ ตำบลดานซาย อำเภอ ดานซาย จังหวัดเลย ไดรวมพิธีกรรมตางๆ อยางใกลชิดเสมอมา เมื่อเจาแมศรีเมืองไดเสียชีวิตลงในป พ.ศ. ๒๓๕๑ ตำแหนงเจาแมนางเทียมวางลงเปนเวลานานหลายป เพราะไมมีรางทรงที่เหมาะสม หากแตการประกอบพิธีกรรม ตางๆ พอแสนเขื่อนเปนผูนำประกอบพิธีกรรม ๑๒ เดือน แทนเจาแมนางเทียม แตไมมีการเขาทรงเพียงแตทำ พิธีกรรมตามประเพณี ! ในวันที่ ๑๕ เมษายน พ.ศ. ๒๓๖๑ หลังจากวันสงกรานต ๑ วัน คณะพอแสนฝายซายและคณะนางแตง และ ชาวบานไดมาพรอมกันที่หิ้งเจาเมืองกลางและตระเตรียมสิ่งของเพื่อบวงสรวงเซนไหวประจำป เจานายใหมากิน เดือน กินป และเลนสงกรานต วันที่ ๑๔ เมษายน เปนวันเริ่มตนการเลี้ยงหิ้งบานเจาแมนางเทียม หรือการลงเลน สงกรานตของเจานาย มีการเตรียมสิ่งของประกอบพิธีกรรมเชาวันที่ ๑๕ เมษายน พ.ศ. ๒๓๖๑ คณะพอแสน นางแตง รวมทั้งนางเพชรทองมาพรอมกัน ณ บริเวณ หิ้งประกอบพิธีกรรม ไดเวลาเสียงดนตรี ฆอง พังฮาดตาดชัยตีบรรเลง ๓ ยก พักและนำขาวปลาอาหารมาเลี้ยงทุกคนที่มาในงาน เสร็จแลว เวลา ๙.๑๙ น. ได เวลาแสนเขื่อนนำเครื่องสักการบูชาหิ้งแลวประกาศใหทุกคนพรอมกันคารวะหิ้งเจานายโดยการกราบ ๓ ครั้ง เสร็จ มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

101


แลวทุกคนไดพรอมกันกลาวออนวอนขอวิญญาณเจานาย ไดแตงตั้งผูแทนเจานายเพราะวางเวนมานาน ตอมานาง เพชรทอง ศรีพรหม ไดลุกขึ้นเดินตรงมายังหนาหิ้งเจาเมืองกลาง กมกราบ ๓ ครั้ง แสนเมืองจันทนเห็นเชนนั้นจึงยก เรื่องสักการะถวายเจาเมืองกลาง ในรางของนางเพชรทอง และนางเพชรทองไดรับเครื่องสักการะแลวพูดวา ปนี้เรา มาใชรางตั้งแตวันนี้เปนตนไปใหทุกคนจงรับทราบเอาไว นางเพชรทอง ศรีพรหม เปนตัวแทนเราแลว ! เจาแมนางเทียมเพชรทอง ไดนำพอแสนและนางแตงไปรวมกับทางฝายเจาพอกวนในการพัฒนาพระธาตุศรี สองรักและวัดโพนชัยหลายเดือน หลายปผานไปเจาแมนางเทียมเพชรทองถึงแกกรรม ในป พ.ศ. ๒๔๐๑ ! ๕. เจาแมนางเทียมขาน (พ.ศ. ๒๔๗๓–๒๕๒๐) ! หลังจา เจาแมนางเทียมเพชรทองถึงแกกรรม ตำแหนงเจาแมนางเทียมวางลง เนื่องจากเจาแมนางเทียมเพชร ทองไมมีลูกสาวเพื่อสืบทอดตำแหนง หลานที่เปนลูกนองสาวมีหลายคน ไมรูคนใดจะไดเปนผูเหมาะสมสืบทอด ตำแหนงเจาแมนางเทียมคนตอไป ราวป พ.ศ. ๒๔๗๓ เปนวันเลี้ยงหิ้งเจาเมืองวัง คณะพอแสนและนางแตงทั้งฝายขวาและฝายซาย ตางมา พรอมกันที่บานเจาเมืองวัง คือบานเจาพอกวนเพื่อทำความสะอาดหิ้งเจาเมืองวัง อาวุธ อุปกรณ เครื่องใชตางๆ พรอม ทั้งเตรียมอาหารคาวหวานถวายเจานาย วันนี้นางขาน สิงหประเสริฐ มารวมงานดวยแตไมพูดกับใครไดแตยิ้มและ รองไห ! วันที่สองของงานเปนวันเลียบไหเหลา เมื่อพิธีเริ่ม นางขาน สิงหประเสริฐ ไดลมหมดสติลงทามกลางผูคน ที่มารวมงาน เจาพอกวนใหไปตามพอแสนมาทำนายวาเปนเชนไร เมื่อแสนมาตรวจดูแลวทราบวา เจาเมืองกลางได แตงตั้งผูแทนคือ เจาแมนางขานเปนรางทรงเจานายฝายซาย ตอจากนั้นเจาพอกวนจึงถามเจาแมนางขานวาจะรับ ตำแหนงตัวแทนเจานายหรือไม ขณะนั้นนางขานลุกนั่งอยูแลวตอบวารับเปนตัวแทนเจานาย อาการมึนงงจึงหายไป เหมือนปาฏิหาริย เปนปกติ ถือวาเดือนมีนาคม ปพ.ศ. ๒๔๗๓ วิญญาณเจานายไดแตงตั้งนางขาน เปนตัวแทนเจา นายตั้งแตนั้นเปนตนมา ! ตอมาป พ.ศ. ๒๔๙๐ เจาแมนางเทียมขานถูกเจานายสั่งพักการเปนตัวแทนเจานาย เพราะเจาแมนางเทียม ขาน ประสบอุบัติเหตุ ไมสามารถประกอบพิธีกรรมตางๆ ได ๖. เจาแมนางเทียมฉบับ (พ.ศ. ๒๕๒๐–๒๕๒๖) ! เจาแมฉบับ เชื้อบุญมี เปนบุตรของนายหวน และนางจอมแพง พรหมรักษา อยูบานเลขที่ ๑๕บานหนอง ของ ตำบลดานซาย อำเภอดานซาย จังหวัดเลย เกี่ยวของกับเจาแมนางเทียมขาน ศรีประเสริฐ ในฐานะเปนหลานสาว ขณะนั้นลูกสาวของเจาแมนางเทียมขานยังไมเหมาะสมที่จะรับเปนตัวแทนเจานาย เพราะทุกคนยังเด็กอยู เจานายจึง เลือกนางฉบับเปนรางทรงกระทั่งป พ.ศ. ๒๕๒๖ จึงถึงแกกรรม ๗. เจาแมนางเทียมคำฝูง (พ.ศ. ๒๕๒๘-ปจจุบัน) ! เจาแมนางเทียมคำฝูง เชื้อบุญมี เปนบุตรของนายสงกรานต และนางขาน สิงหประเสริฐ ไดรับแตงตั้งเมื่อ พ.ศ. ๒๕๒๘ จากวิญญาณเจานายใหเปนรางทรง โดยกอนที่จะไดรับการแตงตั้ง นางคำฝูง ยังอยูที่กรุงเทพฯ ติดตาม สามี คือ นายสะดวก เชื้อบุญมี (อดีตผูแทนราษฎรจังหวัดเลย) ไปปฏิบัติราช-การที่กรุงเทพฯ คืนวันหนึ่งนางคำฝูงอยากเดินทางกลับบานที่อำเภอดานซาย เหมือนมีคนมาเรียกใหกลับ และรูสึก กระวนกระวายมากจนนอนไมหลับ รุงเชาจึงไดเดินทางกลับมาอำเภอดานซาย จึงรูวาชาวบานกำลังเตรียมอุปกรณ เครื่องใชเลี้ยงหอหลวง แตไมไดคิดอะไร กระทั่งบายของวันรุงขึ้น นางคำฝูงปวดหัวมากจนหมดสติ มารูสึกตัวก็เมื่อ มานั่งทามกลางผูคน ประกอบไปดวยเจาพอกวน พอแสน นางแตง และชาวบานผูศรัทธา เจาพอกวนถามวา “พรอม

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

102


ที่จะรับตำแหนงเจาแมนางเทียมหรือไม” นางคำฝูงตอบทันทีวา “รับ” ทั้งๆ ที่ไมรูสึกตัว จนมาทราบภายหลังวาตน คือคนที่ไดรับการคัดเลือกใหเปนตัวแทนเจานายฝายซายในตำแหนงเจาแมนางเทียม ตั้งแตวันนั้นเจาแมนางเทียมคำฝูงไดปฏิบัติพิธีกรรมตามจารีตประเพณี จนเปนที่เคารพนับถือของแสน นาง แตง และขาราชบริพาร และคนในเขตอำเภอดานซาย ภูเรือ นาแหว จังหวัดเลย และอำเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก และอำเภอหลมเกา จังหวัดเพชรบูรณ ! พอแสน ตำนานความเปนมาของพอแสนมีที่มาจากเรื่องเลาในการสรางพระธาตุศรีสองรักเชนเดียวกับเจาพอกวน และเจาแมนางเทียม กลาวคือพอแสนคือขาเฝาเจานาย ประกอบกับสังคมชาวอำเภอดานซายในอดีต เคยมีแบบแผน การปกครองแบบอาญาสี่ ประกอบไปดวย เจาเมือง อุปฮาด หรืออุปราชและราชวงศ ชนชั้นการปกครองซึ่งชาวบาน ถือวาเปนเจานาย เรียกบุคคลที่อยูในการปกครองวา “ขา” ผูที่อยูใตการปกครองจึงเรียกวาขาเฝา ประกอบดวยชนชั้น การปกครองที่เรียกวา แสน เปนตำแหนงขาเฝานั้นมีทั้งหมด ๑๙ ตำแหนง แบงเปน ๒ ฝาย คือ ! ขาเฝาฝายขวา คือขาเฝาฝายเจาเมืองวัง (ฝายเจาพอกวนในปจจุบัน) มี ๑๐ ตำแหนง คือ ๑. แสนดาน (หัวหนาแสน) คือ นายจำป พรหมรักษา ๒. แสนหอม คือ นายเหรียญทอง เชื้อบุญมี ๓. แสนฮอง คือ นายคำจันทร ยะพรึก ๔. แสนศรีสองฮัก คือ นายพัฒนา เชื้อบุญมี ๕. แสนศรีฮักษา คือ นายประไพ เชื้อบุญมี ๖. แสนกำกับ คือ นายละเอียด เชื้อบุญมี ๗. แสนตางใจ คือ นายสายยนต เชื้อบุญมี ๘. แสนศรีสมบัติ คือ นายบรรยง ทรงวุฒิ ๙. แสนหนูริน คือ นายวัง นนทะโครต ๑๐. แสนกลาง คือ นายทวี เชื้อบุญมี ขาเฝาฝายซาย คือ ขาเฝาฝายเจาเมืองกลาง (ฝายเจาแมนางเทียมในปจจุบัน) มี ๙ ตำแหนง คือ ๑. แสนเขื่อน (หัวหนาแสนฝายซาย) ! คือ นายทองดี พรหมรักษา ๒. แสนคำบุญยอ คือ นายสกล สิงหประเสริฐ ๓. แสนจันทร คือ นายชมภู กันสุทธิ์ ๔. แสนแกวอุนเมือง คือ นายจาน เชื้อบุญมี ๕. แสนกลางโฮง คือ นายละคร พรหมรักษา ๖. แสนบัวโฮม คือ นายสมจิตร เชื้อบุญมี ๗. แสนสุขะ คือ นายเริง สอนจันทร ๘. แสนเมืองแสน คือ นายพิมพา เชื้อบุญมี ๙. แสนเมืองจันทร คือ นายบุญชวย บูรณวิชิต ตำแหนงที่กลาวมาขางตนจำนวน ๑๙ ตำแหนง ชาวดานซายเชื่อวาผูที่จะไดเปนขาเฝาใหกับวิญญาณของเจา นาย จะเปนไดโดยการสืบทอดทางสายโลหิต โดยวิญญาณของเจานายจะเปนผูเลือก ในระหวางที่มาเขาทรงในราง ของเจาพอกวน เมื่อวิญญาณเจานายเลือกผูใดแลวบุคคลนั้นจะเปนขาเฝาและเปนที่ยอมรับของคนทั่วไป แสนจะตอง สืบสายโลหิตมาจากวงศตระกูลของแสนคนกอน มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

103


!

นางแตง ตำนานความเปนมาของนางแตงมีที่มาจากเรื่องเลาในการสรางพระธาตุศรีสองรักเชนเดียวกับเจาพอกวน เจาแมนางเทียม และนางแตง ประกอบดวยกลุมคนที่เปนผูหญิงสี่คน มีความใกลชิดกับเจาแมนางเทียม ซึ่งทำหนาที่ เปนรางทรงเชนเดียวกัน ปจจุบัน นางแตงประกอบดวย ๑. นางเพลินจิต อรรคสูรย ๒. นางบัวกลับ เชื้อบุญมี ๓. นางอินถรา พรหมรัก ๔. นางพิศสมัย ราศรีชัย

ขอปฏิบัติของเจาพอกวน นางเทียม พอแสน และนางแตง

แมในชีวิตประจำวัน เจาพอกวน เจาแมนางเทียม พอแสน และนางแตง จะเปนปุถุชนธรรมดา หากทวาก็มี วิถีการดำเนินชีวิตที่ตางออกไปจากชาวบานทั่วไป คือ มีขอหาม กฎเกณฑและระเบียบตางๆ ในการควบคุมวิถีการ ดำเนินชีวิตประจำวัน ! เจาพอกวน: ขอปฏิบัติ ขอปฏิบัติรางทรงเจานาย เจาพอกวน แตกตางจากบุคคลทั่วไป เชน หามตัดผม ใหเกลาผมเปนมวยไวที่ ทายทอย คาดศีรษะดวยผาขาวอยูเสมอ ยกเวนขณะทำพิธีเขาทรงจะปลอยผมสยาย นอกจากนี้เจาพอกวนยังตองนุงโจงกระเบนดวยผาพื้นสีเขมๆ เชน สีน้ำเงิน สีน้ำตาล สีคราม หรือผากลอม สวมเสื้อสีขาว และมีผาพาดบาสีขาว ประการสำคัญ ตองถือศีล ๕ และศีล ๘ ในวันพระ ตองมีอัธยาศัยที่ดี มีไมตรี กับทุกๆ คน ยึดมั่นในคำสั่งสอนของพระพุทธเจาและเคารพวิญญาณเจานาย ตองทำหนาที่เปนตัวแทนของวิญญาณ เจานายในการปกครองดูแลปฏิบัติหนาที่ของแสน ตองเปนผูนำในการประกอบพิธีที่เกี่ยวกับการเซนไหววิญญาณเจา นายและพิธีกรรมในรอบ ๑๒ เดือน ! สวนขอหาม คือ ไมประกอบอาชีพอื่นใดอีก นอกจากการเปนรางทรงของวิญญาณเจานายอีกทั้งยังหามเดิน ลอดใตถุนบาน ราวตากผา และรั้ว รวมทั้งตองไมกินอาหารที่เหลือจากคนอื่น ไมกินอาหารจำพวกเนื้อสัตวตางๆ เชน เนื้อสุนัข เนื้องู เนื้อเสือโครง เนื้อเสือเหลือง เนื้อเสือดาว เนื้อราชสีห เนื้อชาง เนื้อมา เนื้อหมี นอกจากนี้ยังไมกินซาก สัตว เนื้อที่เกิดจากสัตวมีพิษกัดตอย สัตวที่เกิดโรคระบาด รวมทั้งไมกินอาหารในงานศพ! ! สวนขอปฏิบัติของเจาแมนางเทียมมีลักษณะเหมือนกับเจาพอกวนเชนเดียวกัน ! พอแสน: ขอปฏิบัติ พอแสนมีขอปฏิบัติที่แตกตางออกไปจากสามัญชนโดยทั่วไป ขอปฏิบัติเหลานี้เชื่อกันวาวิญญาณเจานายเปน ผูกำหนดขึ้น โดยมอบใหรางทรง คือ เจาพอกวน เจาแมนางเทียมเปนผูดูแลความประพฤติของแสนและวิญญาณเจา นาย ขอปฏิบัติของขาเฝามีดังนี้ ในชีวิตประจำวันตามปกติ แตงกายสุภาพ แตเวลาเขาเวรยามรักษาเจดียศรีสองรักและการประกอบ พิธีกรรมตามวัน เดือน ป จะตองนุงผาโจงกระเบนสีเขม ปกติคือสีน้ำเงิน สวมเสื้อแขนยาวสีขาว และมีผาสีขาวพาด บา แตพอแสน ๑๐ คน ประกอบดวย แสนดาน แสนหอม แสนฮอง แสนศรีสองรัก แสนหนูริน แสนเขื่อน แสนคำ บุญยอ แสนจันทร แสนแกวอุนเมือง และแสนบัวโฮม เวลาประกอบพิธีกรรมเลี้ยงปที่หอหลวงและงานบุญหลวง จะ มีเครื่องแตงตัวเฉพาะ คือเปนเสื้อแขนยาวผาอกไมมีกระดุม ใชเชือกผูกรัดเอวแทน มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

104


นอกจากนี้ตองรักษาศีล ๕ ในวันปกติ และศีล ๘ ในวันพระ หามเดินลอดรั้วและราวตากผา หามกินเนื้อ สัตว ๑๐ อยาง เชนเดียวกับเจาพอกวนและเจาแมนางเทียม หามกินอาหารในงานศพ และไมกินอาหารที่เหลือจากคน อื่น รวมทั้งยังตองเปนผูมีอัธยาศัยดี มีไมตรีกับทุกคน ประกอบอาชีพดวยความขยันและสุจริต ตองตั้งใจปฏิบัติ ตน เปนผูนำรวมกับเจาพอกวน เจาแมนางเทียม ประกอบพิธีกรรมในรอบ ๑๒ เดือน และยึดมั่นในพระพุทธศาสนา พรอมทั้งศรัทธาตอเจานาย ! ขอปฏิบัติดังกลาวบรรดาพอแสนทุกคนตองถือปฏิบัติอยางเครงครัดและสม่ำเสมอ ! กลุมพอแสนทั้ง ๑๙ คน ทำหนาที่เปนผูดำเนินการประกอบพิธีกรรมรวมกับรางทรงของเจาพอกวน เจาแม นางเทียม โดยไดจัดแบงแสนออกเปน ๒ ฝาย คือ แสนฝายขวา และแสนฝายซาย ! ฝายขวามีแสนดานเปนหัวหนา ฝายซายมีแสนเขื่อนเปนหัวหนา ทุกคนมีหนาที่ประกอบพิธีกรรม อยางชัดเจนและตายตัว ไมทำหนาที่ซ้ำซอนกัน ปฏิบัติหนาที่ของตนดวยความตั้งใจอยางเครงครัด การทำหนาที่ผิด พลาดจะถูกวิญญาณของเจานายในรางทรงตำหนิ หรือลงโทษได แตถามีขอผิดพลาดเสมอ หรือปฏิบัติตัวไมเหมาะ สม อาจจะถูกวิญญาณของเจานายในรางทรงปลดออกจากการเปนแสน

พอกวนบานนาหอตองถือศีลปฏิบัติเครงครัดไมยิ่งหยอนไปกวาเจาพอกวนดานซาย

! สวนขอปฏิบัติของนางแตงมีขอปฏิบัติเชนเดียวกับพอแสน แตแตกตางกันเรื่องเครื่องแตงกาย คือ นางแตง ใหนุงผาถุงสีฟาหรือสีเขม สวมเสื้อสีขาวและผาพาดบาเฉียงสีขาว

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

105


สถานภาพ “เจาพอกวน” ในบริบทสังคมและวัฒนธรรมลุมน้ำหมัน

เจาพอกวนดำรงตนหลายสถานภาพรวมอยูในคนเดียวกัน แตตางกาลและสถานที่กัน คือมีสภาพเปนตัวของ ตัวเอง มีสภาพเปนรางทรงวิญญาณเจานาย และมีสภาพเปนตัวแทนของวิญญาณเจานาย ดังนี้ ! - รางทรงของเจาพอกวนที่เปนตัวของตัวเอง มีการดำรงชีวิตเชนเดียวกับชาวบานโดยทั่วไป มีการแตงงาน มี ลูกหลานสืบสกุล มีความเปนอยูเหมือนกับชาวบานทั่วๆ ไป ! - เจาพอกวนในสถานภาพเปนรางทรงวิญญาณเจานาย คือในชวงเวลาที่มีการประกอบพิธีกรรม เชิญ วิญญาณเจานายมาเขาทรงในรางกายเจาพอกวน ! - เจาพอกวนในสถานภาพเปนตัวแทนของวิญญาณเจานาย คือสวนที่รางทรงเขาไปมีบทบาทรวมกิจกรรม ตางๆ กับสังคมชาวดานซาย โดยไมตองมีการเขาทรง แตชาวอำเภอดานซายจะใหความเคารพเปนอยางมาก !

บทบาทเจาพอกวนในยุคปจจุบันยังตองประกอบพิธีเปาเสกพวงมาลัยรถยนต เนื่องจากชาวบานในทองถิ่นเชื่อวาเมื่อนำมาใหเจาพอกวนประกอบพิธี จะทำใหเกิดสิริมงคลและไมเกิดอุบัติเหตุ

! ดวยเหตุนี้จึงทำใหสถานภาพของเจาพอกวนมีสถานะทางสังคมอยูในลำดับที่สูงกวาชาวบานโดยทั่วไป เพราะชาวบานมีความเคารพตอวิญญาณเจานาย เมื่อรางทรงที่ชาวบานเชื่อวา เปนสื่อติดตอกับวิญญาณเจานายได จึง ใหความเคารพรางทรงจนตราบเทาทุกวันนี้

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

106


! ขณะที่เจาแมนางเทียมมีสถานภาพเปนรางทรงใหเจานาย คือในชวงเวลาที่มีการประกอบพิธีกรรมเชิญ วิญญาณเจานายมาเขารางทรงของเจาแมนางเทียม จะสังเกตไดวาในขณะที่วิญญาณเจานายมาเขาทรง รางทรงจะมี ปฏิกิริยาทาทางเปลี่ยนแปลงมีบุคลิกเปนที่เกรงขาม ซึ่งไดรับความเคารพจากชาวบานเปนอยางมาก ! สวนพอแสนมีสถานภาพเปนบริวารใหกับวิญญาณเจานาย คือ ในชวงเวลาที่เจานายมาเขาทรงในรางทรง ของเจาพอกวนและเจาแมนางเทียม บรรดาแสน จะตองปฏิบัติหนาที่ตามที่เคยปฏิบัติสืบตอกันมาอยางเครงครัด จะ ไมแสดงกิริยาอาการไมสุภาพตอรางทรงวิญญาณเจานายไมมีสัมมาคารวะ ถึงแมในยามปกติก็จะตองแสดงกิริยา มารยาทตอรางทรงของเจานายดวยความเคารพยำเกรง ถาไมปฏิบัติตามดังกลาวก็จะถูกวิญญาณเจานายปลดออกจาก ตำแหนง ! ทายสุด นางแตงมีสถานภาพเปนบริวารวิญญาณเจานาย คือในระหวางที่เจานายใชรางทรงของเจาพอกวน และรางทรงเจาแมนางเทียม นางแตงแตละคนตองปฏิบัติหนาที่ตามที่เคยปฏิบัติสืบตอกันมาอยางเครงครัด นางแตง ทุกคนตองมีสัมมาคารวะตอรางทรงเจานายฝายขวา ละฝายซาย แตถาไมปฏิบัติตามดังกลาวจะถูกวิญญาณเจานาย ปลดออกจากตำแหนง เปนที่นาสังเกตวา นอกเหนือจากความเชื่อ “เจาพอกวน” ในตัวอำเภอดานซายจะเปนที่เคารพนับถือของคน ดานซาย หากยังรวมถึงคนในทองถิ่นใกลเคียงอีกหลายชุมชนก็ใหความเคารพนับถือความเชื่อนี้เชนกัน ประการ สำคัญ ในหมูบานนาเวียงและบานนาหอ ยังมีความเชื่อ “เจากวน” ปลีกยอยเปนของตัวเอง เพียงแตไมเรียก “เจา” หากเรียกวา “พอกวน” อีกทั้งยังมีนางเทียม พอแสน และนางแตง ทั้งนี้ เพราะรางทรงพอกวนในระดับชาวบานถือ คนทรงที่ติดตอกับผีบรรพบุรุษระดับหมูบาน ไมใชเจานายเหมือน “เจาพอกวน” อยางไรก็ตาม ระบบ “พอกวน” ตามหมูบานตางๆ เหลานี้ยังตองขึ้นตรงกับเจาพอกวนดวยเชนกัน ดังเห็นได จากการประกอบพิธีกรรมสำคัญตางๆ พอกวนจะตองมารวมงานเพื่อแสดงถึงความเคารพและศรัทธาเสมอ หรือใน การประกอบพิธีกรรมงานบุญหลวงที่มีการแหผีตาโขน คนในวัฒนธรรมลุมน้ำหมันก็จะตองใหวัดโพนชัยที่เจาพอ กวนมีสวนรวมในการประกอบพิธีกรรมจัดขึ้นกอน แลวถึงใหวัดตางๆ ที่พอกวนประจำหมูบานนั้นๆ อยูจัดขึ้นได

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

107


บทที่ ๘ พิธีกรรมที่สัมพันธกับความเชื่อ “เจาพอกวน” และ “เจาแมนางเทียม” !

ความเชื่อเรื่อง “เจาพอกวน” และ “เจาแมนางเทียม” มีความสำพันธกับพิธีกรรมตางๆ ที่สำคัญ ดังนี้

ประเพณีไหวพระธาตุศรีสองรัก

ประเพณีไหวพระธาตุศรีสองรักจัดขึ้นชวงวันขึ้น ๑๒–๑๕ ค่ำ เดือน ๖ เพื่อฉลองสมโภชและบูชาองคพระ ธาตุศรีสองรัก เปนงานที่ชาวดานซายปฏิบัติสืบมาหลายชั่วอายุคน ! วันแรกมีพิธีกรรมทางพุทธศาสนา ตอมาสมัยหลังมีการเปดงานแบบพิธีรีตองโดยทางราชการ วันที่สองมี พิธีลางพระธาตุ วันที่สามเปนวันเตรียมสถานที่สำหรับการบูชาพระธาตุ และวันสุดทายเปนวันไหวพระธาตุ กลาว คือ พิธีกรรมในวันแรก วันแรกของงานไหวพระธาตุศรีสองรักจะนิมนตพระสงฆ ๙ รูป เจาพอกวน เจาแมนางเทียม พอแสน และ นางแตงทั้งหมด รวมทั้งเจาหนาที่จากทางราชการ กลุมชาวบานมารวมกันประกอบพิธี นับเปนจำนวนพันๆ คน เพื่อ เตรียมเครื่องสักการะมาไหวพระธาตุ เครื่องสักการะมีขันบูชาเปนเครื่องบูชาที่จัดวางรวมไวในพาน ภายในพานใสเทียน ๕ เลม ดอกไมสีขาว ๕ ดอก รวมเรียกวา ขัน ๕ และในบางพานยังใสเทียน ๘ เลม ดอกไมสีขาว ๘ ดอก จะเรียกวาขัน ๘ สวนบายศรีทำจากใบตองเปนรูปกรวยคว่ำ ประดับกาบทั้งสี่ดานครอบบนปากพาน ภายในกรวยครอบใส เครื่องบูชาตางๆ คือ ไขไกตม กลวย ออยควั่น ปนขาวเหนียว เทียนเวียนหัว ยอดตนกลวย และฝายผูกขอมือ นอกจากนี้ยังมีตนผึ้งเครื่องบูชาทำขึ้นดวยตนกลวยและแผนขี้ผึ้ง รูปรางคลายกับองคพระเจดีย หรืออาจใช ลำตนสวนยอดของตนกลวยมาประดับดวยแผนขี้ผึ้งที่ตัดเปนชิ้นเล็กๆ เทียนเซน คนเซน และสัตวเซน มีจำนวน เทากับจำนวนคนและสัตวเลี้ยงภายในบาน สวนเทียนเวียนหัวมีความยาวเทากับรอบศีรษะของผูที่เปนหัวหนา ครอบครัว สำหรับผาและธงหมพระธาตุใชผาที่มีความยาวเทากับพื้นที่รอบเรือนธาตุ และรอบสวนฐานขององคพระ ธาตุ โดยธงพระธาตุทำมาจากผาขาว ตัดชายเปนสามเหลี่ยมและมีฝายประดับที่ขอบผืนธงทั้งสองขาง ดานเครื่องวัตถุมงคลมีพระพุทธรูปและดินธาตุ หรือเศษอิฐเศษปูนที่แตกชำรุดออกมาจากองคพระธาตุ สวนเครื่องเซนมีทั้งอาหารคาวและหวานจัดใสกระทงกาบกลวยรูปสี่เหลี่ยมมี ๙ กระทง กระทงใหญ ๑ กระทง และ กระทงเล็ก ๘ กระทง แตละกระทงใสขาวเหนียวนึ่ง ขาวเหนียวคลุกกับขมิ้น ขาวเหนียวคลุกกับปูนแดง และขาว เหนียวคลุกกับงาดำ นอกจากนี้ยังมีหมากพลู ดอกไมสีขาว และเทียน ที่ขอบกระทงกาบกลวยปกธงเล็กๆ รอบทั้งสี่ ดาน รวมทั้งยังเตรียมบั้งไฟที่นำมาจุดไหวพระธาตุมี ๙ ลำ ! พิธีกรรมที่สำคัญงานไหวพระธาตุศรีสองรักประกอบดวย วันแรกเปนงานไหวพระธาตุ ตอนเชามีพิธีทำบุญ ตักบาตรและถวายภัตตาหารแดพระภิกษุสงฆ ๙ รูป ที่บริเวณศาลาลานวัดดานบันไดทางขึ้นไปยังองคพระธาตุ ตอ มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

108


จากนั้นเปนพิธีเปดงานไหวพระธาตุ มีผูวาราชการจังหวัดเปนประธานในพิธี ตอนค่ำมีการจัดมหรสพพวกหมอลำ ลิเก มวย และภาพยนตรตลอดงานทุกคืน พิธีกรรมในวันที่สอง วันที่สองมีพิธีสำคัญ คือพิธีลางองคพระธาตุศรีสองรัก พิธีเริ่มตอนสายๆ โดย “เจาพอกวน” ผูนำในการ ประกอบพิธีและผูรวมพิธีจะเขาสูพิธีที่วัดพระธาตุศรีสองรัก พรอมทั้งนำเครื่องบูชาประกอบดวยดอกไม เทียน และ แผนขี้ผึ้งมาในพิธี พิธีเริ่มจากนางแตงทั้งสี่คนนำดอกไม เทียน และแผนขี้ผึ้งที่ผูรวมในพิธีนำมาจัดใสขันบูชา ตอมา เจาพอกวนนำแสนทุกคนและผูรวมในพิธีที่เปนชายเขาไปนั่งลอมรอบองคพระธาตุ บริเวณกำแพงแกว เจาแมนาง เทียมและนางแตงจะนั่งอยูบริเวณที่พำนักในการประกอบพิธีฝายหญิง ซึ่งอยูบริเวณชายคาพระอุโบสถ ดานทิศ ตะวันตกติดกับกำแพงแกว สวนผูรวมในพิธีที่เปนหญิงจะนั่งอยูที่บริเวณนอกกำแพงแกว จากนั้นแสนจะจุดเทียนที่ขันบูชามอบใหกับเจาพอกวน เจาแมนางเทียม และพอแสนถือคนละขัน พรอมกับ ผูเขารวมพิธีทุกคนจะกลาวคำสักการบูชาองคพระธาตุ ตอจากนั้นเจากวนและพอแสนจะปนขึ้นไปบนองคพระธาตุ แลวสาดน้ำรอบทั้งสี่ดาน เมื่อครบสามรอบจึง ลง จากนั้นผูรวมงานฝายชายจะชวยกันนำถังน้ำไปตักน้ำที่ลำน้ำหมัน ซึ่งอยูติดกับบริเวณวัดพระธาตุศรีสองรักมา ลางองคพระธาตุ สวนผูรวมงานฝายหญิงจะตักน้ำมาลางกำแพงแกว หรืออาจจะฝากถังน้ำที่ตนเองตักมานั้นใหผูรวม พิธีที่เปนชายเขาไปลางองคพระธาตุแทน เมื่อผูรวมในพิธีลางพระธาตุเสร็จ เจาพอกวน นางเทียม พอแสน และนางแตงจึงนำผูรวมในพิธีทุกคนสักกา ระองคพระธาตุอีกครั้งหนึ่ง เปนอันเสร็จพิธีลางพระธาตุ วันที่สามของงานประเพณีนมัสการพระธาตุศรีสองรัก ไมมีการประกอบพิธีใดๆ ยกเวนเตรียมสถานที่ที่ใช ในการประกอบพิธีอุปสมบทในวันถัดไป ในวันนี้ญาติพี่นองของผูเขารวมงานอุปสมบทจะจัดเตรียมเครื่องบวชที่ ศาลาการเปรียญที่วัดโพนชัย สวนที่พระธาตุศรีสองรัก บรรดาแสนจะนำผาพระธาตุขึ้นไปโอบรอบเรือนธาตุ และโอบฐานชั้นที่สองของ องค นอกจากนี้ยังนำธงพระธาตุไปปกไวที่มุมกำแพงแกวทั้งสี่มุม

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

109


!

!

พิธีสรงธาตุศรีสองรัก ในงานประเพณีไหว พระธาตุศรีสองรักในปจจุบัน

พิธีกรรมในวันที่สาม วันนี้เปนวันสุดทาย มีพิธีที่สำคัญอยู ๒ อยาง คือ พิธีทำบุญตักบาตร-บายศรีสูขวัญนาค และพิธีสักการะ พระธาตุ พิธีทำบุญตักบาตรและบายศรีสูขวัญนาคจะเริ่มตอนเชา มีเจากวน นางเทียม แสน และนางแตง เปนผูนำใน การประกอบพิธีที่วัดโพนชัย จากนั้นมีการทำบุญตักบาตร ถวายภัตตาหารเชาแดพระภิกษุสงฆ หลังจากนั้นพระสงฆ จะแสดงพระธรรมเทศนา เสร็จแลวจึงประกอบพิธีบายศรีสูขวัญนาค สวนชวงบายประกอบพิธีอุปสมบทที่พระอุ โบสถวัดพระธาตุศรีสองรัก เมื่อการประกอบพิธีทำบุญตักบาตรและบายศรีสูขวัญนาคเสร็จสิ้นลง จึงแหนาคไปยัง วัดพระธาตุศรีสองรัก นอกจากนี้ยังมีการประกอบพิธีสะเดาะเคราะหเมือง คืองานบูชาพระธาตุเริ่มขึ้นตอนสาย โดยพิธีเริ่มจากเจา พอกวน เจาแมนางเทียม พอแสน และนางแตง นำขบวนแหนาคและขบวนของชาวบานมายังวัดพระธาตุศรีสองรัก ในขบวนของเจาพอกวนและเจาแมนางเทียมจะมีเครื่องบูชาพานบายศรี นอกจากนี้ยังมีตนผึ้งของเจาพอกวนและเจา แมนางเทียม ซึ่งทำมาคนละตน สวนขบวนของชาวบานที่มารวมในพิธีนั้นไดนำเครื่องบูชาประกอบดวยตนผึ้ง เทียน เวียนหัว และเทียนเซนคนเซนสัตวมารวมในพิธีดวย จากนั้นพอแสนไดชวยกันอัญเชิญพระพุทธรูปไมทั้ง ๓ องค จากภายในพระอุโบสถออกมาประดิษฐที่ฐาน ชั้นแรกขององคพระธาตุ และบริเวณใกลๆ ยังมีกระทง “กะเบียนหยอง” ทำไวใสดินพระธาตุวางเรียงกันอยู ๓ ใบ ตอ มาเจาพอกวน เจาแมนางเทียม พอแสน และนางแตง รวมกันเดินเวียนซายรอบองคพระธาตุสามรอบ แลวใหพอแสน มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

110


ชวยกันนำตนผึ้งไปบูชาองคพระธาตุ พรอมทั้งนำบายศรีวางตรงมุมบนฐานชั้นแรกขององคพระธาตุทั้งสี่มุม จากนั้น ชาวบานที่มารวมในพิธีจึงทยอยนำเครื่องบูชาบูชาองคพระธาตุ โดยเฉพาะอยางยิ่งการนำเทียนเวียนหัวและเทียนเซน คนเซนสัตวมาประกอบพิธี เนื่องจากชาวบานเชื่อวาการปฏิบัติเชนนี้เปนการสะเดาะเคราะหใหกับผูคนและสัตว เลี้ยง ที่อยูภายในบานใหปราศจากโรคภัยไขเจ็บและภัยอันตรายตางๆ จากนั้นชาวบานจึงชวยกันนำอาหารคาวและอาหารหวานที่ตนนำมาจัดใสในกระทงกาบกลวย ๙ กระทง และกะเบียนหยอง ๑๐๐ ชุด โดยจัดไวที่กำแพงแกวทางดานทิศใต กระทั่งเพลจึงถวายภัตตาหารเพลแดพระภิกษุสงฆ ที่มาทำพิธีอุปสมบทบริเวณศาลาทางขึ้นพระธาตุ ตอมาเจาพอกวน เจาแมนางเทียม พอแสน นางแตง และชาวบานจึงมารวมตัวกันที่ลานพิธีบริเวณดานนอก กำแพงแกวทางดานใต จากนั้นพอแสนจะนิมนตพระสงฆ ๔ รูป ทำพิธีสะเดาะเคราะหบานเมือง มีเจาพอกวนเปน ประธานในพิธีจุดเทียนเครื่องบูชา ซึ่งประกอบดวยขาวเหนียวนึ่ง ๑ กระติบ และเหรียญเงินจำนวนหนึ่ง แลวนำชาว บานไหวพระและอาราธนาพระสงฆสวดสะเดาะเคราะห เมื่อพระสงฆสวดสะเดาะเคราะหเสร็จแลวจึงกรวดน้ำ จากนั้นพอแสนจึงชวยกันนำกระทงเครื่องเซนใบใหญไปลอยน้ำในลำน้ำหมัน และนำกระทงเครื่องเซนอัน เล็กไปวางไวที่พื้นดินตามทิศตางๆ ทั้งแปดทิศ สวนนางแตงจะชวยกันนำกระเบียนหยองไปวางไวบนกำแพงแกว รอบองคพระธาตุศรีสองรัก ตอมาเปนพิธีสักการบูชาองคพระธาตุหรือสรงน้ำพระธาตุ จัดขึ้นตอนบาย มีแสนเปนผูนำในการประกอบ พิธีจุดเทียนที่ขันบูชา แลวนำชาวบานทุกคนกลาวคำสักการบูชาพระธาตุ จากนั้นเจาพอกวนจึงนำบรรดาแสนและ ชาวบานฝายชาย ที่อยูบริเวณดานในของกำแพงแกวเดินประพรมน้ำอบน้ำหอมรอบองคพระธาตุ โดยเดินเวียนซาย ไปสามรอบ สวนเจาแมนางเทียม นางแตง ไดนำชาวบานฝายหญิงที่อยูบริเวณนอกกำแพงแกวเดินประพรมน้ำอบ น้ำหอมรอบกำแพงแกว โดยเดินเวียนซายไปจนครบสามรอบเชนเดียวกัน ! หลังจากนั้นจึงประกอบพิธีบายศรีสูขวัญพระธาตุศรีสองรัก โดยทำขึ้นตอจากการสรงน้ำพระธาตุ พิธีเริ่ม ดวยเจาพอกวนนำแสนทุกคนและชาวบานฝายชายนั่งลอมรอบองคพระธาตุศรีสองรักภายในกำแพงแกว สวนเจาแม นางเทียม นางแตง และชาวบานฝายหญิงนั่งรอบนอกกำแพงแกว จากนั้นพอแสนจึงจุดเทียนที่พานบายศรีที่ตั้งอยูทั้ง สี่มุมขององคพระธาตุศรีสองรัก แลวกลาวคำสวดหรือคำสูขวัญพระธาตุ มีใจความในเชิงขอใหอำนาจและบารมี แหงองคพระธาตุศรีสองรักชวยดลบันดาลใหชาวบานที่เขารวมพิธี และผูที่มีความเคารพนับถือรอดพนจากภัยพิบัติ และขอใหอยูเย็นเปนสุข ! สวนการประกอบพิธีสูขวัญพระธาตุ คือการเวียนเทียนรอบองคพระธาตุและมีการบูชาวัตถุมงคลไปสักกา ระ พิธีเริ่มขึ้นเมื่อพอแสนชวยกันนำเทียนเวียนหัวที่ชาวบานนำมารวมงานตั้งแตเชามาฟนเปนเกลียวรวมกันเปน มัดๆ พรอมกันนี้พอแสนและผูรวมพิธีที่เปนชายไดนำขันหรือถังใสน้ำสะอาดถือเขามานั่งลอมรอบองคพระธาตุศรี สองรักภายในกำแพงแกว จากนั้นเจาพอกวนจะจุดเทียนเวียนหัวทีละมัดแลวสงใหแสนที่นั่งอยูขางๆ ทางดานขวา มือ กอนสงตอไปเรื่อยๆ ทางดานขวาจนครบสามรอบ โดยใหเทียนหยดลงน้ำในถังหรือขันน้ำที่วางไวขางหนาของ แตละคน เมื่อเวียนเทียนครบสามรอบ เจาพอกวนจะนำเทียนเวียนหัวแตละมัดจุมน้ำในขันที่วางเรียงอยูดานหนา จาก นั้นแสนและผูเขารวมในพิธีที่เปนชายไดชวยกันนำ “น้ำมนตพระธาตุ” ไปแบงใหกับผูรวมในพิธีที่อยูนอกกำแพง แกวดวยถือวาเปนน้ำศักดิ์สิทธิ์ สวนเทียนเวียนหัวที่จุดเวียนรอบพระธาตุ พอแสนจะชวยกันนำไปแจกใหกับผูรวม ในพิธีที่มีความศรัทธาและนำไปสักการะ

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

111


! หลังจากนั้นเจาพอกวนจะนำดินพระธาตุในกะเบียนหยอง ซึ่งวางอยูบนฐานขั้นแรกขององคพระธาตุมาทำ พิธีมอบใหกับผูที่มีความศรัทธาที่มาขอบูชาดินธาตุไปสักการะ ตอจากนั้นเจาพอกวนและเจาแมนางเทียมจะจุดบั้งไฟ บูชาพระธาตุจำนวนเปนปฐมฤกษ กอนที่ชาวบานจะรวมกันจุดตามมาจนครบ ๙ ลำ ! สวนพิธีบูชาสักการะองคพระธาตุก็คือการอุปสมบทภิกษุ โดยเขาไปประกอบพิธีอุปสมบทหมูมารวมตัวกัน ที่พระอุโบสถวัดพระธาตุศรีสองรัก เพื่อถวายเปนพุทธบูชา เมื่อเสร็จพิธีแลวภิกษุใหมตองแยกยายไปอยูตามวัดตางๆ เนื่องจากวัดพระธาตุศรีสองรักเปนวัดที่ไมมีพระอยูจำพรรษา ! ฝายเจาพอกวนนำพิธีและแสนจะนำชาวบานกลาวคำขอขมาองคพระธาตุ ที่อาจมีการลวงเกินในระหวาง การประกอบพิธีตางๆ ถือเปนการสิ้นสุดพิธีสักการบูชาองคพระธาตุศรีสองรัก พิธีกรรมไหวเจาเมืองวัง งานไหวเจาเมืองวังจัดเพื่อเซนไหววิญญาณผีบรรพบุรุษหรือ “เจานายฝายขวา” และเชิญวิญญาณผี บรรพบุรุษหรือวิญญาณผีเจานายฝายขวามาเขาทรงราง “เจาพอกวน” พิธีไหวเจาเมืองวังจะจัดที่บานของเจาพอกวน เนื่องจากมีการสรางหิ้งติดไวในบานบนฝาบานทางดานทิศ ตะวันตก เปนที่สิงสถิตดวงวิญญาณของเจาเมืองวัง งานจัดขึ้น ๒ วัน คือ วันขึ้น ๙–๑๐ ค่ำ เดือน ๔ ของแตละป แตมี ขอหามวาไมมีการประกอบพิธีในวันพุธเพราะถือเปนวันไมดี ดังนั้นหากปใดในวันขึ้น ๙ ค่ำ เดือน ๔ ตรงกับวันพุธ จะเลื่อนการจัดงานออกไปหนึ่งวัน เปนวันขึ้น ๑๐–๑๑ ค่ำ เดือน ๔ พิธีไหวเจาเมืองวังเริ่มตนจากพิธีตั้งไหเหลาในวันแรก และทำพิธีเลียบไหเหลาในวันถัดมาการประกอบพิธี สวนใหญจัดทำกันบริเวณหนาหิ้ง ซึ่งอยูในบานเจาพอกวน

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

112


ดานหนาคือเครื่องเซนเจาเมืองวัง ประกอบพิธีที่บานเจาพอกวนดานซาย สวนดานหลังคืออาวุธประจำตัวเจาเมืองฝายลาว ที่พอแสนนำมาใชในขบวนแหงานบุญหลวง

พิธีตั้งไหเหลา การประกอบพิธีตั้งไหเหลามีลำดับขั้นตอนที่สำคัญ คือ การถวายเครื่องเซนวิญญาณผีเจานายฝายขวา การ สักการะหิ้งวิญญาณผีเจานายฝายขวา และการตั้งไหเหลา การถวายอาหารเครื่องเซนแดวิญญาณเจานายฝายขวาจะเริ่มขึ้นในชวงสาย ชาวบานจะเดินทางสูบานเจาพอ กวนเพื่อนำเครื่องประกอบพิธีตางๆ เชน ดอกไม ธูปเทียน เหลา ขาวสาร ขาวเหนียว น้ำมันงา ฝายผูกขอมือ และเงิน บริจาคตามกำลังศรัทธา จากนั้นจึงเริ่มมีการประกอบพิธีถวายเครื่องเซนวิญญาณเจานายฝายขวา พิธีเริ่มจากเสียงฆองดังขึ้น ผูทำ หนาที่จัดเตรียมเครื่องเซนพวกสำรับคาวหวานมาวางหนาอาสนะที่ปูไวดานลางใตหิ้งบูชาสำหรับใหรางทรงนั่ง ระหวางที่เขาทรง พอแสนจึงจุดเทียนที่หิ้งบูชาและที่สำรับเครื่องเซน จากนั้นเจาพอกวนจะนำผูเขารวมพิธีทุกคนสัก การะหิ้งบูชาดวยการกราบสามครั้ง พรอมกันนี้บรรดาแสนและนางแตงทุกคนกลาวคำบูชาวิญญาณผีเจานายฝายขวา ตอมาแสนจะหยิบดอกไม เทียน หมากพลู และจอกเหลาที่อยูในสำรับเครื่องเซนไปวางไวบนหิ้งบูชา และใชใบพลูจุม ลงในจอกเหลาแลวประพรมน้ำเหลาลงบนหิ้งบูชาสามครั้ง กอนที่เจาพอกวนจะนำชาวบานผูมารวมพิธีทุกคนสักกา ระหิ้งบูชาอีกครั้งหนึ่ง ตอมาพอแสนจะดับเทียนที่หิ้งบูชาและที่สำรับเครื่องเซน พรอมกับยกสำรับเครื่องเซนออก ไป เมื่อเสร็จสิ้นพิธีชวงดังกลาว จะมีการเลี้ยงอาหารผูที่มาเขารวมพิธีทั้งหมด

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

113


การประกอบพิธีแกบะ (แกบน) ที่หอหลวงดานซาย ในภาพจะมีเหลาพอแสนเปนผูประกอบพิธี

เมื่อรับประทานอาหารแลวเสร็จจะถึงพิธีตั้งไหเหลาเพื่อสักการะหิ้งวิญญาณผีเจานายฝายขวา ชาวบานเชื่อ วาหิ้งที่อยูในบานเจาพอกวนที่มีดวงวิญญาณของเจาเมืองวังสิงสถิต การประกอบพิธีสักการะหิ้งวิญญาณเจานายฝาย ขวาทำขึ้นหลังจากที่ไดรับประทานอาหารเสร็จสิ้นแลว โดยมีพอแสนเปนผูเริ่มตนในการประกอบพิธี จากนั้นพอแสนจะจุดเทียนที่หิ้งและที่ขันบูชา กอนใชใบพลูจุมลงที่จอกเหลาในขันบูชาแลวประพรมน้ำ เหลาลงบนหิ้งสามครั้ง กอนที่จะนำชาวบานสักการะหิ้งบูชา ตอมาบรรดาพอแสนคนอื่นๆ จะเชิญเครื่องบูชาที่วาง บูชาคางไวบนหิ้งตั้งแตปกอนลงมาใสไวในขันโตก และนำไปตั้งเรียงกันไวที่พื้นใตหิ้งบูชาขางอาสนะ เครื่องบูชาที่นำ ลงมาจากหิ้งไปรวมกันไวบนหิ้งบูชา เมื่อถึงพิธีไหวเจาเมืองวังในแตละป พอแสนแตละคนจะชวยกันนำเครื่องสักการบูชา เชน ดอกไม แผนขี้ผึ้ง และเทียน ของปกอนลงมาจากหิ้งบูชา และนำไปแจกจายใหกับผูรวมในพิธีนำติดตัวไปเปนวัตถุมงคล และนำไปบูชา ที่บานของตนเอง จากนั้นบรรดาพอแสนจะชวยกันทำความสะอาดหิ้งวิญญาณผีเจานายฝายขวา เสร็จแลวพอแสนจะนำชาว บานที่ถืออาวุธพวกของาวจำนวนสิบกวาคน เดินเรียงแถวลางทำความสะอาดที่ลำน้ำอุนที่บานเดิ่น ซึ่งอยูหางจาก บานเจาพอกวนไปประมาณ ๑ กิโลเมตร ในขบวนผูเชิญอาวุธถือของาวไปลางนั้นมีขบวนนักดนตรีประโคมฆองตีให จังหวะเดินตามไปดวย เมื่อทำความสะอาดอาวุธเสร็จจึงกลับมาที่บานเจาพอกวน กอนมอบของาวใหกับแสนนำไป ชโลมน้ำมันงาแลวนำไปเก็บไวที่เดิม มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

114


ขั้นตอมาแสนจะนำน้ำอบมาประพรมที่หิ้งบูชา เครื่องบูชา และอาวุธ กอนนำใบคูนและใบยอ พรอมทั้ง เทียนเล็กอยางละคูมาเสียบไวที่คานไมใตหิ้งวิญญาณผีเจานายฝายขวาและประดับตกแตงหิ้ง โดยนำเอาหมาก ไหม ขาว มาหอยประดับรอบหิ้งบูชาทั้งสี่ดานแลวนำไขคลอง ไขครองมาผูกหอยติดกับปลายของคานไมดานบนสุดของ หิ้ง โดยผูกใหไขเปดอยูทางทิศเหนือ สวนไขไกอยูทางทิศใต จากนั้นจึงนำกรวยใบตองมาแขวนประดับบนคานไม เหนือหิ้งบูชาทั้งสองขาง โดยแขวนใหอยูหางจากจุดที่แขวนไขเปดไขไกเขาไปพอประมาณ ชวงเวลาดังกลาว เจาพอกวนจะจัดเตรียมเครื่องคายบูชาจากวัสดุสิ่งของ และเครื่องบูชาที่ชาวบานผูทำ หนาที่จัดเตรียมสิ่งของเครื่องใชที่ใชในพิธีจัดเตรียมมาให เสร็จแลวเจาพอกวนจึงมอบคายบูชาที่จัดไวในพานหยอง ใหกับแสนนำไปวางสักการะบนอาสนะที่จัดไวเปนที่นั่งของเจาพอกวนหรือรางทรง จากนั้นเจาแมนางเทียมและนางแตงทุกคนจะชวยกันจัดทำพานบายศรี แลวมอบใหพอแสนนำไปวางสักกา ระไวบนหิ้งบูชา เสร็จแลวพอแสนจะพาผูรวมในพิธีทุกคน สักการะหิ้งบูชาดวยการกราบสามครั้ง จึงเปนการเสร็จ พิธีในชวงเชาวันแรกของพิธีตั้งไหเหลา ขั้นตอนสุดทายของพิธีตั้งไหเหลาจะเริ่มชวงบาย เมื่อพอแสนนำชาวบานเขามาสักการะที่หิ้งบูชา แสนจะนำ เสาไมไผที่มีความสูงราวสองชวงตัวคนมาตั้งที่บริเวณกลางพื้นเรือน เมื่อตั้งเสาดังกลาวแลว บรรดาพอแสนจึงไดชวย กันนำโองน้ำมาตั้งเรียงกันไวรอบเสาไมไผจำนวน ๒ ใบ และชวยกันตักน้ำมาใสในโองจนเต็มจากนั้นแสนจะนำ เครื่องบูชาที่ใชประดับบนหิ้งบูชา คือ รมมารมชาง แสมาแสชาง เรือเงินเรือทอง แพเงินแพทอง และเครื่องแขวน อยางละคู นอกจากนี้ ยังมีบวงคลองชางบวงคลองมาอยางละ ๑ เสน มาใสไวในชองสี่เหลี่ยมของเสาไมไผ เครื่องบูชาเหลานี้จะนำไปบูชาบนหิ้งแทนเครื่องบูชาชุดเกา จากนั้นพอแสนจะนำเครื่องมือที่ใชใน การเกษตร อาทิ มีด พรา จอบ เสียม และขวาน มารวมกันไวที่บริเวณโคนเสาลำไมไผและนำไหใสเหลาจนเต็มจำนวน ๔ ไห ไหเหลานี้มีใบตองและไมตอกสานเปนลายขัดปดไวที่ปากไหเหลาทุกไหกับมีหลอดดูดที่ทำดวยปลองไมไผยาว ประมาณ ๑ ฟุต เสียบอยูที่ปากไหเหลาทั้งสี่ไหเหลาทั้งสี่ไหดวยเชนกัน ใกลๆ กันนั้นมีถังที่ใสน้ำจนเต็มจำนวนสี่ถัง มาตั้งเรียงกันไวรอบ ๆ โองน้ำทั้งสองใบ จากนั้นพอแสนจะนำชางไมมาไมที่อยูในขันโตกใตหิ้งบูชาซึ่งอยูอยางละ ๑๒ ตัว มาใสลงไปในโองน้ำโดยแยกใสอยางละโอง ฝายชาวบานจะชวยจัดเตรียมสิ่งของเครื่องใชและยกสำรับอาหารออกมาเลี้ยงผูรวมงานในพิธี เมื่อรับ ประทานอาหารเสร็จแลว พอแสนจะนำผูรวมในพิธีทุกคนกราบสักการบูชาหิ้งผีเจานายฝายขวาอีกเปนครั้งสุดทาย จึงเปนอันสิ้นสุดพิธีตั้งไหเหลา พอตกค่ำของวันตั้งไหเหลา บรรดาชาวบานผูศรัทธาก็จะรวมจัดมหรสพ หมอลำ และภาพยนตรมาสมโภช ตลอดคืน พิธีเลียบไหเหลา พิธีเลียบไหเหลาเปนพิธีกรรมที่จัดตอเนื่องมาจากพิธีตั้งไหเหลา เริ่มตนจากการถวายอาหารเครื่องเซน วิญญาณผีเจานายฝายขวา การเชิญวิญญาณเจาเมืองวังมาเขาทรง การเลียบไหเหลา การคลองชางคลองมา และการ ประกอบพิธีเกี่ยวกับการเกษตร การถวายเครื่องเซนแกวิญญาณผีเจานายฝายขวาเริ่มขึ้นชวงสาย หลังจากชาวบานเดินทางมารวมพิธีกัน พรอมเพรียงที่บานเจาพอกวน พอแสนจะจุดเทียนที่หิ้งบูชาและที่ขันบูชา เพื่อใหผูรวมพิธีทุกคนสักการะหิ้งบูชา และถวายขันบูชาที่หิ้งวิญญาณผีเจานาย หลังจากนั้นพอแสนจะนำสำรับเครื่องเซนของคาวหวานอยางละสำรับ มอบใหหัวหนาพอแสนเพื่อใชใน การประกอบพิธี โดยหัวหนาพอแสนจะนำไกตมวางไวที่พื้นใตหิ้งบูชา กอนจุดเทียนที่สำรับเครื่องเซน พรอมนำชาว มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

115


บานที่มาในพิธีถวายเครื่องเซนวิญญาณผีเจานายฝายขวา สวนบรรดาพอแสนและนางแตงทั้งหลายจะกลาวคำบูชา วิญญาณผีเจานายฝายขวา จากนั้นหัวหนาพอแสนจึงหยิบใบพลูจุมลงที่จอกเหลาในสำรับเครื่องเซนแลวประพรม เหลาลงบนเครื่องเซนจนทั่ว กอนดื่มเหลาจนหมดจอก นอกจากนี้ยังนำผูรวมในพิธีกราบที่เครื่องเซนอีกสามครั้ง แลวยกสำรับเครื่องเซนของคาวออก กอนที่จะยก สำรับเครื่องเซนของหวานเขามาถวายเซนวิญญาณผีเจานายฝายขวาเปนลำดับตอไป ! ตอมาเปนการเชิญวิญญาณผีเจานายฝายขวา เชื่อกันวาเปนวิญญาณของ “เจาเมืองวัง” มาประทับในรางทรง ของเจาพอกวน พิธีกรรมสวนนี้เริ่มตนหลังจากดนตรีเริ่มประโคมฆอง จากนั้นแสนจะจุดเทียนยามที่คายบูชาและที่ พานใสขันเหลา กอนที่จะนำจอกเหลามาตักเหลาในขันไปวางใสไวในคายบูชา จากนั้นจาพอกวนจะกราบที่คายบูชาสามครั้ง พรอมกับหยิบใบพลูมาจุมลงที่จอกเหลา ซึ่งอยูในคายบูชา แลวประพรมน้ำเหลาลงบนคายบูชาสามครั้ง เสร็จแลวจึงดื่มเหลาที่เหลือในจอกจนหมด ตอมาพอแสนและนางแตง จะรวมกันกลาวคำบูชาวิญญาณผีเจานายฝายขวา โดยจะประกอบพิธีดังกลาวนี้ไปเรื่อยๆ จนกวาวิญญาณเจาเมืองวัง จะมาเขาทรงเจาพอกวน ! เมื่อเจาเมืองวังมาเขาทรงในรางทรงของเจาพอกวนแลว เจาพอกวนจะฟุบหนาลงกับพื้น กอนที่จะยืนขึ้น และทิ้งผาสไบสีขาวที่หม เหมือนบอกเปนสัญญาณบอกผูรวมพิธีวา วิญญาณเจาเมืองวังไดมาเขาทรงรางทรงของเจา พอกวนแลว ตอมาพอแสนอีกสองทานจะเขามาถวายชุดทรง ประกอบดวยผานุงสีแดง เสื้อคลุมแขนยาวสีขาวและผา คาดเอวสีขาว เมื่อเจาเมืองวังในรางทรงของเจาพอกวนไดใสชุดทรงใหมแลวจะขึ้นมานั่งบนอาสนะบริเวณดานหนา คายบูชา พรอมหยิบฝายสีขาวที่อยูในคายบูชามาคาดศีรษะ หยิบหมากพลูมาทัดที่หู เอามือแตะน้ำมันงาในคายบูชา มาลูบผมบนศีรษะ แตะผงขมิ้นปนมาทาบนหลังมือและแขน และใชนิ้วแตะขี้ผึ้งมาทาที่ริมฝปาก เสร็จแลวจึงนั่งหัน หนากลับมาทางดานผูรวมในพิธี จากนั้นแสนจะจุดเทียนที่ขันบูชาและนำผูรวมในพิธีทุกคนสักการะเจาเมืองวังและ ถวายขันบูชา เจาเมืองวังในรางทรงของเจาพอกวนไดแสดงการรับรูสักการะโดยการใชมือจับเปลวเทียนในขันบูชา ใหดับ พรอมหยิบเอาจอกเหลาในขันบูชามาดื่มจนหมด หากวิญญาณผีเจานายยังไมพอใจในการปฏิบัติหนาที่ของ บรรดาแสนและนางแตง หรือเห็นวามีบางสิ่งบางอยางที่ยังบกพรองอยูจะนั่งนิ่ง ไมรับขันบูชาหรือรับสักการะ จากนั้นเจาเมืองวังในรางทรงของเจาพอกวนรวมสนทนา ไตถามการปฏิบัติหนาที่ของแสนแตละคน และ ถามถึงทุกขสุขของบรรดาพอแสนและนางแตง ตลอดชาวบานผูเขารวมพิธี ตอมาจะเปนการนำสำรับเครื่องเซนคาว หวานอยางละสำรับมาสงใหพอแสนเพื่อถวายเจาเมืองวัง ชวงพิธีดังกลาว พอแสนจะนำขันลางมือถวายเจาเมืองวัง มีบรรดาพอแสนทั้งหมดที่มารวมงานชวยกันยก สำรับเครื่องเซนถวายรางทรง เจาเมืองวังในรางทรงของเจาพอกวนลางมือในขันน้ำ และเช็ดมือที่ผาสไบสีขาวที่พาด อยูบนไหลของแสน แลวหยิบเอาตะเกียบมาคีบกินอยางละคำและยกจอกเหลาขึ้นดื่มจนหมด หยิบหมากพลูออกมา จากสำรับและจับเปลวเทียนในสำรับเครื่องเซนใหดับ จากนั้นแสนจะชวยกันยกสำรับเครื่องเซนออกมากอน แลวยกของหวานถวายเปนลำดับตอไป เมื่อเจาเมือง วังในรางทรงของเจาพอกวน ไดทำการตรวจดูเครื่องประกอบพิธีที่จัดเตรียมไวตั้งแตวันกอน และไดแจงกับบรรดา แสนถึงขอปฏิบัติที่ยังบกพรองอยู เสร็จแลวจึงถอยทรงโดยการถอดฝายสีขาวที่คาดบนศีรษะออกวางไวที่คายบูชา เปนการบอกวาวิญญาณเจาเมืองวังไดออกจากรางทรงเจาพอกวนแลว เจาพอกวนจะลุกขึ้นถอดชุดทรงแลวหมผา สไบสีขาวเหมือนเดิม กอนที่เจาพอกวน บรรดาแสน นางแตง และผูเขารวมในพิธีทุกคนสักการะหิ้งบูชาดวยการก ราบสามครั้งเปนอันเสร็จพิธีในตอนเชา ผูรวมในพิธีจึงแยกยายไปพักกลางวัน มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

116


V พิธีตอมาจะเริ่มขึ้นในบายออนๆ เปนการเชิญวิญญาณผีเจานายฝายขวาอีกองคหนึ่ง เชื่อวาคือวิญญาณของ “เจาแสนเมือง” ที่มาประทับทรงในรางทรงของเจาพอกวน พิธีเริ่มตนขึ้นหลังจากแสนจุดเทียนที่หิ้งบูชาและที่ขันบูชา แลวนำผูรวมในพิธีสักการะ หิ้งผีเจานายฝายขวา หลังจากนั้นเจาพอกวนและแสนจะรวมกันทำพิธีเชิญวิญญาณเจาแสนเมืองมาเขาทรง

! เมื่อวิญญาณเจาแสนเมืองมาประทับทรงในรางเจาพอกวน พอแสนที่ทำหนาที่จัดเสื้อผาชุดเครื่องทรงใหกับ เจาพอกวนจะนำชุดทรงเขามาใหรางทรงใสใหม ชุดทรงของเจาแสนเมือง คือ ผานุงสีแดง เสื้อคลุมแขนยาวสีน้ำเงิน ผาคาดเอวสีขาว จากนั้นแสนจะนำผูเขารวมพิธีสักการะวิญญาณเจาแสนเมืองที่มาเขาทรง และถวายขันบูชาใหแกเจาแสน เมืองในรางทรงของเจาพอกวน เจาแสนเมืองจะใชมือจับเปลวเทียนในขันบูชาเพื่อใหไฟดับ พรอมกับยกจอกเหลาขึ้น ดื่มจนหมด เสร็จแลวจะไตถามแสนฝายเจาพอกวนหาคนกับพอแสนของฝายเจาแมนางเทียมอีกหาคน แสนทั้งสิบ คนนี้เปนผูมีหิ้งบูชาประจำตัว จะนำมงกุฎดอกไมมาประดับบนศีรษะ โดยแสนฝายเจาพอกวนสวมมงกุฎดอกไมที่ทำ ดวยดอกรัง สวนแสนฝายเจาแมนางเทียมสวมมงกุฎดอกไมที่ทำจากดอกไมปาชนิดหนึ่ง ขณะที่พอแสนดานและพอแสนสองฮักจะนำเสื้อคลุมและผาคาดเอว ซึ่งเปนชุดทรงของวิญญาณผีเจานายที่ ชาวบานนำมาถวายไวใสทับชุดแตงกายชุดเดิมของตน ตอมาเจาแสนเมืองในรางทรงของเจาพอกวนนำเอาดาบที่ แขวนอยูขางฝาขางหิ้งบูชามามอบใหแสนไปติดเทียนที่ทำจากขี้ผึ้งแทมามัดติดกับปลายดาบ กอนที่จะจุดเทียนที่ปก อยูในชองสี่เหลี่ยมของเสาไมไผ พรอมกับจุดเทียนที่มัดติดอยูกับปลายดาบ แลวนำดาบเลมดังกลาวไปมอบใหกับ แสนดานตอไป จากนั้นเจาแสนเมืองในรางทรงของเจาพอกวนจะรับจอกเหลาจากแสนศรีสมบัติ แลวสงใหแสนดื่ม คนละจอกจนครบทุกคน ! ตอมาเปนพิธีเลียบไหเหลา ถือเปนขั้นตอนสำคัญของประเพณีพิธีกรรมไหวเจาเมืองวัง คือ เปนขั้นตอนที่ วิญญาณเจาแสนเมืองในรางทรงของเจาพอกวนจะทำพิธีเลียบไหเหลา พิธีเริ่มขึ้นโดยแสนที่มีสถานภาพเปนเสนา ของเจาพอกวนทั้งสี่คน หรือเรียกรวมๆ วา “เสนาทั้งสี่” พอแสนเสนาทั้งสี่จะถือขันลงหินที่ใสเหลามานั่งลอมรอบบริเวณเขตพิธีตั้งไหเหลา เพื่อสื่อถึงสถานที่ ศักดิ์สิทธิ์ในการประกอบพิธีกรรมทั้งสี่มุม ในขณะที่มีการประกอบพิธีเลียบไหเหลา ผูใดจะลวงล้ำเขาไปในเขตพิธี ดังกลาวไมไดนอกจากผูประกอบพิธีกรรม ตอมาพอแสนจะเดินเรียงแถวเขาสูพื้นที่ประกอบพิธี โดยพอแสนทาน หนึ่งจะแบกเอาดาบ ซึ่งจุดเทียนไวที่ปลายดาบเดินนำหนาเปนคนแรก ติดตามดวยเจาแสนเมืองในรางทรงของเจาพอ กวน และพอแสนสองฮักตามลำดับ ซึ่งบุคคลดังกลาวจะเดินรอบๆ ไหเหลาที่วางรอบๆ โองน้ำและเสาไมไผเปน จำนวนสามรอบ จากนั้นเปนพิธีคลองชางคลองมา พิธีเริ่มจากหัวหนาแสนทำทารายรำเดินไปหยิบชางไมที่ลอยอยูในโองมาส องตัว แลวนำไปมอบใหแกเจาแสนเมืองในรางทรงของเจาพอกวนหนึ่งตัว จากนั้นบุคคลทั้งสองจึงเอาชางไมที่ถืออยู ในมือมาทำทาชนกัน ผลัดกันเปนฝายรุกและฝายรับอยูตลอดเวลา เสร็จแลวแสนสองฮักจึงนำเอาชางไมทั้งสองตัวไป ลอยน้ำไวในโองตามเดิม แลวเดินไปตักเอาเหลาในขันที่แสนอีกทานหนึ่งนั่งถือไวมาถวายใหเจาเมืองแสนในรางทรง ของเจาพอกวนดื่ม เดินรอบไหเหลาไปสามรอบ กอนพอแสนสองฮักจะรายรำเดินไปเอามาไมที่ลอยน้ำอยูอีกโองหนึ่ง มาสองตัวและนำไปมอบใหเจาแสนเมืองในรางทรงของเจาพอกวนตัวหนึ่งเพื่อมาทำทาชนกัน โดยจะปฏิบัติเชน เดียวกันกับการชนชางไมทุกประการ แลวพากันเดินรอบไหเหลาอีกสามรอบ ! หลังจากนั้นหัวหนาพอแสนจะรายรำไปหยิบเอาบวงคลองชาง ทำจากดายสีชมพูและสีดำฟนเปนเกลียวที่ ผูกติดอยูกับเครื่องเงินเรื่อทองบนชองเสาไมไผมอบใหเจาแสนเมืองในรางทรงของเจาพอกวน และไปนำเอาชางไม ในโองน้ำมาหนึ่งตัวมาแสดงทาหลอกลอไปมาเปนที่วาชางนั้นจะวิ่งเขาไปทำรายผูคน จากนั้นเจาแสนเมืองในราง มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

117


ทรงของเจาพอกวนจึงทำทาวิ่งไลตอนแสนสองฮักที่ถือชางไม และทำการคลองชาง โดยการนำเอาบวงคลองชางที่ ถืออยูในมือนั้น นำมาผูกรัดขอมือแสนสองฮักขางที่ถือชางไมมิใหดิ้นหลุดหรือขยับเขยื้อนได เสร็จแลวจะจับเอาชาง ไมแลวแกบวงที่รัดขอมือแสนสองฮัก พรอมกับมอบชางไมและบวงคลองชางใหแสนสองฮักนำไปไวที่เดิม เมื่อสิ้นสุดขั้นตอนของพิธีกรรมดังกลาว แสนสองฮัก แสนดาน และรางทรงจะพากันเดินรอบไหเหลาอีก สามรอบแลวเริ่มตนทำพิธีคลองมาไม โดยปฏิบัติเชนเดียวกันกับการคลองชางไมทุกประการ จะแตกตางกันเฉพาะ เครื่องประกอบพิธี คือ หัวหนาแสนจะใชมาไม และเจาแสนเมืองในรางทรงของเจาพอกวนจะใชดายสีขาวเปนบวง คลองมาเทานั้น ! ตอมาเปนพิธีที่เกี่ยวของกับการเกษตร หัวหนาพอแสนจะเปนผูหยิบเครื่องมือที่ใชในการเกษตรที่วางอยู โคนเสาไมไผมามอบใหเจาแสนเมืองในรางทรงของเจาพอกวนทีละชิ้น เมื่อเจาแสนเมืองในรางทรงของเจาพอกวน รับเครื่องมือที่ใชในการเกษตรมาแลวก็จะถือเดินวนไปรอบไหเหลาสามรอบ แลวแสนสองฮักก็จะนำเครื่องมือนั้นไป เก็บวางไวที่โคนเสาไมไผ แลวไปตักเหลาในขันที่แสนเสนานั่งถือไวมาใหเจาแสนเมืองในรางทรงของเจาพอกวนดื่ม จากนั้นพอแสนสองฮักจะนำเครื่องมือที่ใชในการเกษตรชิ้นใหมมามอบใหกับเจาแสนเมืองในรางทรงของเจาพอ กวน เพื่อใหทำพิธีตามแบบเดิมอีกตอไป ! ทั้งนี้ระหวางที่เจาแสนเมืองในรางทรงของเจาพอกวนถือเครื่องมือที่ใชในการเกษตรเดินวนรอบไหเหลา จะ ทำทาเลียนแบบการขุดดิน การทำไร การไถนา โดยทาทางที่มีความสัมพันธกับเครื่องมือการเกษตรที่ถืออยู เมื่อถือ ขวานก็จะทำทาตัดตนไมและถางไร เมื่อถือเสียมจะทำทาขุดดิน และเมื่อถือกระบุงที่ใสเมล็ดฝายไวจะหยิบเมล็ดฝาย ออกมาหวานไปในบริเวณพิธี โดยเฉพาะเมล็ดฝายที่เจาแสนเมืองในรางทรงของเจาพอกวนหวานนั้น ชาวบานที่มา รวมในพิธีจะแยงกันเก็บเพื่อนำไปบูชาและผสมกับเมล็ดพันธุฝายที่เตรียมไวในการเพาะปลูก ถือวาเมล็ดฝายที่เจา แสนเมืองในรางทรงของเจาพอกวนหวานในพิธีนี้มีความเปนสิริมงคล จากนั้นเจาแสนเมืองในรางทรงของเจาพอกวนจะตักน้ำในถังน้ำแลวสาดลงบนพื้นเรือนบริเวณที่ประกอบ พิธี ซึ่งหวานเมล็ดฝายเอาไว พรอมกับตักน้ำสาดไปยังผูรวมพิธีที่นั่งอยูรอบๆ นอกเขตพิธีกรรมดวย เสร็จแลวจึงสง กระบวยตักน้ำใหแสนสองฮักนำไปเก็บไวที่เดิม แลวกลับไปนั่งบนอาสนะตามเดิม ตอจากนั้นผูรวมในพิธีจึงสาดน้ำ ใสซึ่งกันและกันจนเปยก ! จนเมื่อเสียงฆองเริ่มบรรเลง ผูรวมพิธีจึงหยุดการเลนสาดน้ำ แลวพากับทยอยเขาไปใหเจาแสนเมืองในราง ทรงของเจาพอกวนผูกขอมือและเปากระหมอม สวนผูรวมพิธีคนใดที่นำฝายผูกขอมือและน้ำมันงามาวางรวมในการ ประกอบพิธีตั้งแตในวันแรกจะมาขอรับกลับคืนได โดยเจาแสนเมืองจะทำการปลุกเสกใหอีกครั้งหนึ่ง ผูเขารวมพิธี สวนใหญเชื่อกันวาฝายผูกขอมือและน้ำมันงาที่ผานพิธีกรรมดังกลาวทั้งสองวันนี้เปนสิ่งศักดิ์สิทธิ์ โดยเฉพาะอยาง ยิ่งน้ำมันงา ชาวบานเชื่อวาสามารถนำไปใชรักษาโรคภัยไขเจ็บ สวนฝายผูกขอมือจะนำไปผูกขอมือใหกับสมาชิกคน อื่นๆ ที่อยูในบาน ซึ่งไมไดมารวมในพิธีกรรม V เมื่อเจาแสนเมืองในรางทรงของเจาพอกวนผูกขอมือใหกับบุคคลที่มารวมในพิธีเสร็จแลวจึงถอยทรง โดยมีการปฏิบัติการ ถอยทรงเชนเดียวกันกับการถอยทรงของวิญญาณเจาเมืองวังที่มาเขาทรงครั้งแรกในชวงเชา จากนั้นจะจัดพิธีบายศรีใหกับเจาพอกวน และเจาแมกวน

! พอแสนจะนำบายศรีลงจากหิ้งบูชาวางไวที่กลางเรือน ฝายชาวบานจะชวยกันจัดเตรียมสิ่งของเครื่องใชที่ใช ในพิธีก็ยกสำรับอาหารคาวหวานจำนวนสี่สำรับ พรอมเครื่องบูชาบายศรี ประกอบดวยไกตมและเหลามาวางไว ตอ มาเจาพอกวนซึ่งไดเปลี่ยนเครื่องแตงกายเปนชุดปกติแลว พรอมกับเจาแมกวนจึงออกมานั่งลอมรอบบายศรี โดยมี พอแสนทำหนาที่ประกอบพิธีบายศรีสูขวัญ มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

118


! นอกจากนี้บรรดาพอแสน นางแตง และชาวบานจะนั่งเปนวงลอมรอบบุคคลดังกลาวอีกชั้นหนึ่ง เมื่อพอ แสนทำพิธีบายศรีเสร็จแลว บรรดาแสน นางแตง และชาวบานจึงทยอยเขาไปใหเจาพอกวนผูกขอมือ จากนั้นพอ แสนจึงเชิญเครื่องบูชาทั้งหมดขึ้นไปไวบนหิ้งบูชาผีเจานาย จึงเปนการสิ้นสุดพิธีเลียบไหเหลา ! เปนที่นาสังเกตวา พิธีกรรมที่สืบเนื่องจากความเชื่อเรื่องเจาพอกวน นางเทียม แสน และนางแตง เปนสิ่งที่ ปฏิบัติสืบมาชานาน ปจจุบันขั้นตอนที่สำคัญของพิธีกรรมแทบจะไมเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมในเรื่องของความเชื่อ สมัยกอนชาวบานเชื่อถือและศรัทธาแรงมาก อาจเปนเพราะดานซายยังไมมีหมอ ไมมีผูดูแลอาการเจ็บไขไดปวย โดยตรง ชาวบานจึงตองหวังพึ่งตรงนี้ ใหเจาพอกวน เจาแมนางเทียม เขาทรงวาเจ็บไขไดปวยเกิดจากอะไร สวนมาก ชาวบานมองวา อาการของโรคเปนเพราะผีตางๆ ไดมาสิงรางผูปวย จึงตองหาเจากวนและนางเทียมเขาทรงหาทาง แกไขตอไป ! หากแตสิ่งที่เปลี่ยนไปคือ เมื่อสังคมพัฒนาในดานตางๆ ทางการเรียนรู ความกาวหนาทางการแพทย จึง ทำใหเด็กรุนใหมบางคนที่ไดรับการศึกษา หรือไมก็ผูที่ออกไปทำงานนอกหมูบานหลายคนไมเชื่อตอความเชื่อดัง กลาว แตก็ไมถึงกลับลบหลู รูสึกเฉยๆ และไมติฉินนินทาวาเปนเรื่องมงาย ตรงกันขามกับชาวบานทองถิ่นไกลๆ จาก หลายจังหวัด ไมวาจะเปนจากพิษณุโลก พิจิตร ขอนแกน และกรุงเทพฯ (คนจากทองถิ่นใกลๆ อยางชาวนครไทย ผูที่ มีความเคารพตอความเชื่อถือนี้ ก็เดินทางมารวมงานมาชานานแลว) หลายคนถึงกับใหความเคารพนับถือเปนอยาง มาก ดังจะเห็นไดจากงานพิธีกรรม กลุมคนเหลานี้มักจะเดินทางมารวมงานเพื่อแกบน สวนเหตุผลที่เขาใหคือ ทานมี ความศักดิ์สิทธิ์ บนบานศาลกลาวทานก็ชวย จึงเคารพศรัทธา

งานไหวเจาเมืองกลาง

! งานไหวเจาเมืองกลางจัดขึ้นชวงกลางเดือน ๕ จัดตอเนื่อง ๒ วัน โดยกำหนดขึ้นในชวงวันที่ ๒-๓ ของบุญ สงกรานต หรือประมาณวันที่ ๑๔–๑๕ เมษายนของทุกป เปนพิธีกรรมที่ชาวดานซายจัดทำขึ้นเพื่อเซนวิญญาณผี บรรพบุรุษที่เปน “เจานายฝายซาย” ใหมาเขาทรงราง “เจาแมนางเทียม” โดยจัดขึ้นที่บานของทาน จะมีหิ้งติดฝาบาน ทางดานทิศตะวันออก เชื่อกันวาเปนที่สถิตดวงวิญญาณเจาเมืองกลาง ! พิธีไหวเจาเมืองกลางจะเริ่มจากพิธีสักการะหิ้งวิญญาณผีเจานายฝายซาย จัดใหมีขึ้นในวันแรกของพิธี สวน พิธีเชิญวิญญาณผีเจานายฝายซายมาเขาทรงในรางทรงของเจาแมนางเทียมจะจัดขึ้นในวันที่สองของพิธี การประกอบ พิธีสวนใหญจัดทำขึ้นที่บริเวณหนาหิ้งของบานเจาแมนางเทียม สวนรายละเอียดที่สำคัญของการประกอบพิธีกรรม ๒ พิธี พอสรุปไดคือ ! พิธีสักการะหิ้งวิญญาณผีเจานายฝายซาย ดังที่กลาวแลววา การประกอบพิธีสักการะหิ้งวิญญาณผีเจานายฝายซายจะจัดขึ้นในวันแรกของประเพณีไหว เจาเมืองกลาง เพราะชาวบานเชื่อกันวาหิ้งที่อยูในบานเจาแมนางเทียมมีดวงวิญญาณเจาเมืองกลางสิงสถิตอยู การประกอบพิธีจะเริ่มขึ้นในชวงสายๆ ชาวบานจะนำเครื่องประกอบพิธี เชน ดอกไม ธูปเทียน ขาวสาร เหนียว เหลา น้ำมันงา ฝายผูกขอมือ และเงินทำบุญตามกำลังศรัทธา พิธีเริ่มขึ้นหลังจากเสียงฆองถูกประโคมขึ้น พอแสนจะจุดเทียนที่หิ้งและที่ขันบูชาจำนวนสองขัน แลวนำ ชาวบานผูเขารวมพิธีทุกคนสักการะหิ้งบูชา พรอมกับนำขันบูชาทั้งสองขันไปวางไวบนหิ้ง และใชใบพลูจุมลงที่จอก เหลาในขันบูชา กอนประพรมหลาลงบนหิ้งสามครั้ง โดยทำทีละขัน จากนั้นจึงนำชาวบานสักการะหิ้งอีกครั้ง การทำ พิธีสักการะหิ้งครั้งตอๆ ไปก็จะมีรายละเอียดและลำดับขั้นตอนเหมือนกับที่กลาวมานี้ หลังจากนั้นจึงมีงานเลี้ยง อาหารชาวบานที่เขามารวมพิธีทั้งหมด มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

119


หลังจากรวมกินอาหารเสร็จแลว แสนจะจุดเทียนที่ขันบูชาอีกสองขัน และนำผูรวมในพิธีทุกคนสักการะหิ้ง วิญญาณผีเจานายฝายซายอีกครั้งหนึ่ง ตอมาบรรดาแสนคนอื่นๆ จะนำเครื่องสักการะ เชน ดอกไม แผนขี้ผึ้ง และ เทียนของปกอนที่ชาวบานนำมาสักการะไวที่หิ้ง อีกทั้งยังนำของบนบานตอวิญญาณผีเจานายลงมาจากหิ้ง และนำไป แจกจายใหผูรวมในพิธีนำติดตัวไปเปนวัตถุมงคล เพื่อนำไปบูชาที่บานของตน จากนั้นบรรดาพอแสนจะชวยกันทำความสะอาดหิ้งบูชาวิญญาณผีเจานายฝายซาย กอนที่แสนและเจาแม นางเทียมจะนำของาว ที่ตั้งเรียงพิงอยูบนแทนไมที่ติดขางฝาบานดานทิศเหนือ ลางทำความสะอาดบริเวณชานบาน พรอมชโลมน้ำมันงาที่ใบงาวทุกดามกอนนำไปไวที่เดิม ตอมาพอแสนเขื่อนจึงนำน้ำอบน้ำหอมมาประพรมที่หิ้ง ที่ เครื่องบูชาและอาวุธ พรอมนำใบคูนและใบยอ พรอมทั้งเทียนเล็กอยางละคูมาเสียบไวที่คานไมใตหิ้งบูชาตลอดจนนำ เสนหมากไหมยาวมาหอยประดับรอบหิ้งบูชาทั้งสี่ดาน ตอมาแสนอีกคนหนึ่งจะยกโองน้ำขนาดเล็กที่ใสน้ำจนเต็มมา ตั้งไวที่ขางอาสนะเพื่อเตรียมประกอบพิธีตอไป หลังจากนั้นเจาแมนางเทียมและนางแตงทุกคนจะชวยกันจัดทำพาน บายศรีมอบใหแสน เพื่อนำไปวางที่ขางอาสนะ บายศรีนี้จะยังไมมีการประดับดอกไมและใสเครื่องบูชาไวภายใน บายศรีแตอยางใด สวนชาวบานก็จะชวยกันจัดเตรียมสิ่งของเครื่องใชที่ใชในพิธีชวยกันยกสำรับอาหารออกมาเลี้ยงผู รวมในพิธี หลังจากกินขาวเสร็จแลว แสนจะนำชาวบานทุกคนกราบสักการะหิ้งผีเจานายฝายซายอีกครั้ง เปนอันสิ้น สุดการประกอบพิธีกรรมไหวเจาเมืองกลางในวันแรก สวนตอนค่ำจะมีการจัดมหรสพตางๆ อาทิ หมอลำ ภาพยนตร มาสมโภชตลอดคืน พิธีเชิญวิญญาณผีเจานายฝายซายมาเขาในรางทรงเจาแมนางเทียม วันที่สองของการประกอบพิธีกรรมไหวเจาเมืองกลาง คือการเชิญวิญญาณผีเจานายฝายซายมาเขาทรงในราง ทรงของเจาแมนางเทียม ลำดับขั้นตอนที่สำคัญของพิธีเชิญวิญญาณผีเจานายฝายซายมาเขาทรงในรางทรงของเจาแม นางเทียมมีอยูสามขั้นตอน คือ การจัดเครื่องบูชา การถวายอาหารเครื่องเซน และการเชิญวิญญาณผีเจานายฝายซาย มาเขาทรง รายละเอียดของลำดับขั้นตอนตางๆ ในพิธีเชิญวิญญาณผีเจานายฝายซายมาเขาทรงในรางทรงเจาแมนาง เทียมมีดังนี้ ขั้นตอนแรกของพิธีเชิญวิญญาณผีเจานายฝายซายมาเขาทรงในรางทรงเจาแมนางเทียม คือ การจัดเครื่อง บูชาเริ่มขึ้นตอนสาย เมื่อชาวบานที่เขารวมพิธีมาพรอมกันที่บานเจาแมนางเทียมแลว จากนั้นชาวบานจะชวยกันยก สำรับอาหารออกมาเลี้ยงผูรวมในพิธี หลังรับประทานเสร็จแลวเจาแมนางเทียมและนางแตงทุกคนนำดอกไมสีขาว มาประดับบายศรี และนำเครื่องบูชาใสในพานบายศรี แลวมอบใหแสนนำไปวางสักการะไวบนหิ้งบูชา พรอมทั้งจุด เทียนที่หิ้งบูชา และนำผูรวมในพิธีทุกคนสักการะหิ้ง ดวยการกราบสามครั้ง ขณะที่พอแสนอีกสองทานจะชวยกันจัดเครื่องคายบูชา จากวัสดุสิ่งของและเครื่องบูชาที่ชาวบานผูทำหนาที่ จัดเตรียมสิ่งของเครื่องใชที่ใชในพิธีจัดเตรียมไว โดยแสนทั้งสองคนชวยกันยกคายบูชาที่จัดไวในพานหยองไปวางไว ที่บริเวณดานลางอาสนะที่เตรียมไวใหรางทรงนั่ง กอนเชิญวิญญาณผีเจานายฝายซายมาเขาทรงในรางทรงเจาแมนาง เทียม คือ การถวายอาหารเครื่องเซนแกวิญญาณผีเจานายฝายซาย พอแสนจะจุดเทียนที่หิ้งบูชาและที่ขันบูชา เสร็จ แลวนำผูรวมในพิธีทุกคนสักการะหิ้ง และถวายขันบูชาที่หิ้งวิญญาณผีเจานายฝายซาย จากนั้นผูทำหนาที่จัดเตรียมสิ่งของเครื่องใชที่ใชในพิธีนำสำรับอาหารเครื่องเซนที่มีเฉพาะอาหารหวานมา มอบใหพอแสนสองฮักเพื่อนำไปทำพิธีเซนไหว โดยการนำสำรับอาหารเครื่องเซนไปวางเซนไหวที่ขางๆ อาสนะที่ อยูใตหิ้ง พรอมกับนำชาวบานที่มาในพิธีถวายเครื่องเซนวิญญาณผีเจานายฝายซาย ในระหวางการถวายเครื่องเซนจะ มีการบรรเลงฆองและผางฮาด การจุดเทียนบูชาบนหิ้งและที่สำรับอาหารเครื่องเซน การกลาวคำบูชา วิญญาณผีเจา นายฝายซายและการประพรมน้ำเหลาที่หิ้งไปโดยลำดับ มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

120


ตอมาเปนพิธีเชิญวิญญาณผีเจานายฝายซายมาเขาทรงในรางทรงเจาแมนางเทียม คือ การทำพิธีเชิญวิญญาณ ผีเจานายฝายซายทั้งหาองค คือ เจาเมืองกลาง นางเคา นางจวง นางจันทร และเจาองคไทย สำหรับเจาเมืองกลางและ เจาองคไทยถือเปนเปนวิญญาณผีเจานายฝายขวา ที่สามารถเขาทรงในรางทรงทั้งฝายซายและฝายขวามาเขาทรงใน รางทรงเจาแมนางเทียม โดยเชื่อวาวิญญาณของเจาเมืองกลางและเจาองคไทยเปนวิญญาณผีเจานายที่เปนชาย และ วิญญาณของนางเคา นางจวง นางนอยเปนวิญญาณผีเจานายที่เปนหญิง การประกอบพิธีนี้เริ่มตนขึ้นหลังจากแสนจุดเทียนที่คายบูชา จากนั้นเจาแมนางเทียมจะกมกราบที่อาสนะ สามครั้ง เพื่อเปนการเชิญวิญญาณผีเจานายฝายซายใหมาเขาทรง การที่จะทราบวา วิญญาณผีเจานายฝายซายองคใด ที่มาเขาทรงในรางทรงของเจาแมนางเทียมจะสังเกตไดจากการเปลี่ยนชุดทรงของรางทรงที่สัมพันธกับวิญญาณผีเจา นายฝายซายแตละองค กลาวคือหลังจากที่วิญญาณผีเจานายฝายซายมาเขาทรงในรางทรงเจาแมนางเทียมแลว เจาแม นางเทียมจะลุกขึ้นยืน ตอมาแสนและนางแตงจะผลัดเปลี่ยนกันเขาไปถวายชุดทรงใหกับวิญญาณผีเจานายฝายซาย โดยแตละองคมีชุดแตงกายที่มีสีแตกตางกันออกไปใหเปนที่สังเกตไดดังนี้ คือ เจาเมืองกลาง ! ใสผานุงสีน้ำเงิน เสื้อคลุมแขนยาวสีฟา ผาพาดบาสีขาว นางเคา ! ใสผานุงลายมัดหมี่สีคราม เสื้อคอกระเชาสีขาว ผาพาดบาสีเหลือง นางจวง ! ใสผานุงลายมัดหมี่สีน้ำเงินเขม เสื้อคอกระเชาสีขาว ผาพาดบาสีขาว นางจันทร ! ใสผานุงลายมัดหมี่สีดำ เสื้อคอกระเชาสีเหลือง ผาพาดบาสีขาว เจาองคไทย ! ใสผานุงสีน้ำเงิน เสื้อคลุมแขนยาวสีแสด และผาพาดบาสีขาว จากนั้นวิญญาณผีเจานายฝายซายในรางทรงของเจาแมนางเทียมขึ้นไปนั่งบนอาสนะ โดยจะนั่งหันหนามา ทางดานผูเขารวมในพิธี แลวพอแสนคนหนึ่งจะทำการจุดเทียนที่ขันบูชา และนำผูรวมในพิธีทุกคนสักการะวิญญาณ ผีเจานายฝายซายที่มาเขาทรงในรางทรงเจาแมนางเทียม พรอมถวายขันบูชา ขอสังเกตในการแสดงอาการรับรูของวิญญาณผีเจานายฝายซายแตละองคคือ การปฏิบัติตอการรับเครื่องสัก การะ คือถาเปนวิญญาณผีเจานายฝายซายที่เปนชายก็จะรับการสักการะ โดยการใชมือจับเปลวเทียนในขันบูชาใหดับ พรอมทั้งหยิบจอกเหลาในขันบูชามาดื่ม แตหากเปนวิญญาณผีเจานายฝายซายเปนหญิงก็จะรับการสักการะโดยการ ใชมือจับเปลวเทียนในขันบูชาใหดับ พรอมทั้งหยิบหมากพลูในขันบูชามาเคี้ยว และหยิบจอกเหลาสงใหแสนหรือ นางแตงดื่ม จากนั้นพอแสนจะยกคายบูชามาถวายวิญญาณผีเจานายฝายซายในรางทรงของเจาแมนางเทียม ตอมา วิญญาณผีเจานายฝายซายในรางทรงของเจาแมนางเทียมเอามือแตะน้ำมันงาในคายบูชามาลูบผม แตะผงขมิ้นปนมา ทาบบนหลังมือและแขน และแตะขี้ผึ้งมาทาที่ริมฝปาก แลวจึงพูดคุยไตถามการทำงานของแสนแตละคน ตลอดจน การถามถึงทุกขสุขของบรรดาแสน นางแตง และผูรวมในพิธีตามสมควร ตอมาชาวบานจะชวยกันนำสำรับอาหารเครื่องเซนมาสงใหแสน เพื่อนำไปถวายวิญญาณผีเจานายฝายซาย พรอมกันนั้นพอแสนและนางแตงจะผลัดเปลี่ยนกันนำขันน้ำสำหรับลางมือ เขาไปถวายวิญญาณผีเจานายฝายซาย ที่มาเขาทรงในรางทรงไดลางมือ แลวเช็ดมือที่ผาสไบสีขาวซึ่งพาดอยูบนไหลของแสนและนางแตง กอนหยิบเอา หมากพลูและจอกเหลาออกมาจากสำรับเครื่องเซน และสงจอกเหลาใหแสนดื่ม วิญญาณผีเจานายฝายซายทุกองค ที่มาเขาทรงในรางทรงเจาแมนางเทียมในครั้งนี้ไมไดกินเครื่องเซนแตอยางใด ทั้งนี้เนื่องจากวันประกอบพิธีนั้นตรง กับวันพุธ แตหากวันประกอบพิธีไมตรงกับวันพุธก็จะกินเครื่องเซนตามปกติ

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

121


เมื่อวิญญาณผีเจานายฝายซายแตละองคที่มาเขาทรงเพื่อประกอบพิธีตามขั้นตอนตางๆ เสร็จแลวจะถอยทรง คงเหลือแตวิญญาณเจาองคไทย ซึ่งมาเขาทรงที่รางทรงเจาแมนางเทียมเปนลำดับสุดทายที่อยูประกอบพิธีตอไปอีก หลังจากที่รับการถวายเครื่องเซนแลว พอแสนฝายเจาพอกวนหาคน และพอแสนฝายเจาแมนางเทียมอีกหา คน ซึ่งแสนทั้งสิบคนนี้เปนผูที่มีหิ้งบูชาประจำตัว จะนำมงกุฎดอกไมมาใสประดับบนศีรษะ จากนั้นเจาองคไทยในรางทรงของเจาแมนางเทียมจะรับจอกเหลามาจากแสนทานหนึ่งแลวสงใหแสนและ นางแตงดื่มคนละจอกจนครบทุกคน ตอมาเจาพอกวนซึ่งมารวมพิธีตั้งแตเชา ไดนำแสนและนางแตงทุกคนเขาไปให เจาองคไทย ในรางทรงของเจาแมนางเทียมผูกขอมือให เชนเดียวกับผูเขารวมพิธีตางทยอยเขาไปใหเจาองคไทยในราง ทรงของเจาแมนางเทียมผูกขอมือ หากผูรวมพิธีคนใดนำฝายผูกขอมือและน้ำมันงามาวางรวมในการประกอบพิธี ตั้งแตในวันแรกก็จะมาขอรับกลับคืนไป โดยเจาองคไทยในรางทรงของเจาแมนางเทียมจะทำการปลุกเสกใหอีกครั้ง หนึ่ง ซึ่งผูที่มีความศรัทธาจะถือวาฝายผูกขอมือและน้ำมันงาที่ผานการประกอบพิธี ในประเพณี พิธีกรรมไหวเจา เมืองกลางเปนสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ตอจากนั้นเจาองคไทยในรางทรงของเจาแมนางเทียม จะตักน้ำในโองขนาดเล็กที่ตั้งอยูบริเวณขางอาสนะ สาดผูเขารวมในพิธีจนเปยกทั่วทุกคน จากนั้นพอแสนจะจุดเทียนที่ขันบูชาและนำผูรวมในพิธีสักการะเจาองคไทย ในรางทรงของเจาแมนางเทียมอีกครั้งหนึ่งแลวถวายขันบูชา เจาองคไทยในรางทรงของเจาแมนางเทียมรับการสักกา ระแลวจึงถอยทรงโดยเจาแมนางเทียมลุกขึ้นถอดชุดทรงที่สวมทับไวออกกอนกราบลงที่อาสนะสามครั้ง จากนั้นจึงจัดพิธีบายศรีใหกับเจาแมนางเทียม โดยพอแสนเปนผูเชิญบายศรีลงมาจากหิ้งบูชานำมาวางไวที่ กลางเรือน ชาวบานจะชวยกันยกสำรับอาหารคาวและอาหารหวานจำนวนสี่สำรับ พรอมทั้งเครื่องบูชาบายศรี ซึ่ง ประกอบดวยไกตมและเหลามาวางไว ขั้นตอนตอมาเจาแมนางเทียมซึ่งไดเปลี่ยนเครื่องแตงกายเปนชุดปกติแลว ได ออกมานั่งลอมรอบบายศรี โดยมีแสนทำหนาที่เปนพราหมณประกอบพิธีบายศรีสูขวัญ เมื่อประกอบพิธีเสร็จ บรรดาแสน นางแตง และชาวบานตางทยอยไปใหเจาแมนางเทียมผูกขอมือ จึงเปนการสิ้นสุดพิธี

งานเลี้ยงหอบาน หอกวนจ้ำถือเปนสิ่งศักดิ์สิทธิ์ของหมูบานหรือเรียกวา “ดงหอ” ประกอบดวยตูบเล็กๆ ๗ ตูบ หรือ ๗ หลัง หลังใหญอยูตรงกลาง ขวามือมี ๒ หลัง ซายมือมี ๔ หลัง สวนประเพณีการเลี้ยงหอกวนจ้ำ หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งวาเลี้ยงบาน ชาวนาเวียงจะประกอบพิธีนี้ไดก็ตอเมื่อ งานเลี้ยงเจาพอกวนเมืองดานซายจัดเสร็จสิ้นแลว เนื่องจากกวนจ้ำบานนาเวียงเปนผูนอยกวา และถือเปนสาขาหนึ่ง ของหอกวนจ้ำบานดานซาย พิธีเลี้ยงหอบานนาเวียงประกอบพิธีไมใหญโตเทางานเลี้ยงหอดานซาย จัดขึ้นในเดือน ๗ เหมือนกันแตไม อาจระบุวันที่แนนอน วันที่นิยมประกอบพิธีก็คือวันเสาร วันจันทร หรือวันพฤหัสบดีในชวงเชาซึ่งถือเปนวันดี วันเลี้ยงหอหรือเมื่อถึงรอบปที่จะทำการแกบน ชาวบานจะใชหมูซึ่งไดมาจากการรวบรวมเงินกันทั้งหมูบาน สวนไกจะใชหลังคาละ ๑-๓ ตัว แลวแตวาแตละบานวาบนกับเจาที่ไวกี่ตัว นอกจากนี้ยังมีเครื่องเซนที่จะใชแกบนอีก เชน เหลา ดอกไม ธูปเทียน บุหรี่ ไปถวายแกบน สวนผูนำในการประกอบพิธีคือกวนจ้ำ ในวันงานจะแตงชุดขาว มีนางแตงคอยชวยจัดเครื่องเซนตางๆ ที่ ชาวบานนำมา อาทิ เนื้อหมูสดๆ จัดใสตะกรา ๗ ตะกรา จัดไกตมหรือไกแกบะ (แกบน) ฉีกใสกระทง ๗ กระทง สง ใหพอกวนเซนที่หอ สวนไหเหลานำมารวมกันไวทีเดียว มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

122


เมื่อนางแตงจัดเครื่องเซนเปนที่เรียบรอย เจากวนจะกลาวคำถวายเพื่อใหเจาที่ที่อยูในหมูบานปกปกรักษา คุมครองคนที่อยูในครอบครัวและหมูบานใหมีความเปนอยูดีปราศจากโรคภัยไขเจ็บตางๆ นอกจากนี้ชาวบานที่มา รวมงานบางคนยังใหพอกวนเขาทรง ถามถึงเหตุการณบานเมืองและความเปนไปของหมูบานวามีความทุกขรอน หรือไมอยางไร เมื่อลงทรงแลว ใครอยากถามอะไรก็ถาม เมื่อเสร็จพิธี เจากวนจะเอาน้ำที่ทุกคนเตรียมไวสาดทุกคน เหมือนสื่อเพื่อเปนการขอฟาขอฝน เปนเสร็จพิธี หากบานใดมีลูกหลานออกจากบานไปเรียนหนังสือหรือไปทำงานอยูหางไกลเปนเวลาแรมป พอแมญาติพี่ นองที่เคยบนบานไวเมื่อปกอนจะตองแกบนพอกวนที่หอ ดวยไก ๑ ตัว เหลา ๑ ขวด และขันหา เมื่อเวลาผานไปครบ ป ปจจุบันงานเลี้ยงหอไมไดแตกตางหรือวาเปลี่ยนแปลงไปจากสมัยกอน คนสมัยกอนเคยปฏิบัติมาเชนไร ปจจุบันก็ปฏิบัติเชนนั้นอยางตอเนื่องประจำทุกป และคนในสมัยนี้จะคงอนุรักษขนบธรรมเนียมประเพณีแบบนี้ตอ ไปเรื่อยๆ ทุกป

พิธีเลี้ยงบาน

งานเลี้ยงบานเปนพิธีเซนไหวประจำป ชาวบานที่เคยบนบานศาลกลาวจะมาแกบนในวันดังกลาว หรือหาก ใครมีปญหาเดือดเนื้อรอนใจก็จะมารวมพิธีในวันนี้ พิธีเลี้ยงบานมีรายละเอียดตางๆ มากมาย โดยสรุปมีขั้นตอนของ พิธีกรรมที่สำคัญดังนี้ งานเลี้ยงบานจะประกอบพิธีที่บานเจากวน จะจัดพิธีทำในราวขางขึ้นของเดือน ๔ ทุกป เปนเวลา ๒ วัน วัน แรกเรียกวา “วันตั้งไหเหลา” มีการเอาไหเหลามาตั้งไว ๔ ไห พรอมเครื่องเซนตางๆ เชนเครื่องมือทำมาหากิน เชน มีด พรา เสียม ขวาน จอบ แห ใบหมัน ใบคูณ และเมล็ดฝาย เปนตน วันที่สองเรียกวา “วันเลียบไหเหลา” จัดขึ้นหลังจากเลี้ยงอาหารเชาแลวราวสิบโมง เจากวนจะเขาทรง โดยมี แสนเปนผูชวยและรับใชอยูขางๆ ระหวางเจากวนเขาทรงจะมีการทำนายเหตุการณตางๆ ในปนั้น เชน การทำมา หากินของชาวบานเปนอยางไร และมีโรคภัยไขเจ็บหรือไม เปนตน หลังจากนั้นจะเปนพิธีตัดไม ดายหญา หวานเมล็ดฝายและรดน้ำ โดยเจากวนเปนผูทำพิธีและมีแสนเปนผู รวมดวย พิธีเริ่มขึ้นหลังจากชาวบานผูหนึ่งตีฆองใหดังระรัว หลังจากนั้นเจากวนจะใชเทียนที่มัดติดปลายเดินนำ หนา สวนมืออีกขางหนึ่งยกเปนทาไหวไปดวย ฝายแสนจะเดินติดตามอยูขางหลัง เมื่อเจากวนรดน้ำเมล็ดฝายที่หวาน แลวจะสาดน้ำใสคนที่ไปรวมพิธี ตอไปคนที่ไปรวมพิธีจะเลนสาดน้ำจนเปยกไปทั่ว ทายสุดเจากวนจะนำดายมาผูก แขนใหแกบรรดาแสนและชาวบานทุกคนที่มารวมงาน เปนอันเสร็จพิธี

พิธีถวายชางถวายมา

พิธีถวายชางถวายมาจัดขึ้นในเดือน ๘ ขางขึ้น แสนจะเปนผูไปหาไมทองหลางมาทำชางและมาไมอยางละ ๑ ตัว พอทำเสร็จจึงนำไปใหแสนมอบใหนางเทียม นางเทียมจึงนำชางและมาไมไปถวายขึ้นหิ้งที่บานเจากวนพรอมกับ บรรดาแสน ตอนถวายชางมาจะมีการอัญเชิญวิญญานเจาบานเขาทรงเจากวน เพื่อทำพิธีรับชางมา ชางมานี้เมื่อมีมาก ขึ้นก็จะมีชาวบานผูศรัทธาตอความเชื่อนี้มาขอไปตั้งยังหิ้งเหนือหัวนอนที่บานของคน เพื่อเปนเครื่องพิทักษรักษาคุม กันภยันตรายตางๆ

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

123


พิธีไหวเจาแมนางเทียม

พิธีไหวเจาแมนางเทียมจัดขึ้นราวเดือน ๕-๖ แลวแตวันตรุษสงกรานตจะตรงกับวันไหน โดยจัดขึ้น ๒ วัน คือ วันแรกตรงกับวันเนาหรือวันที่ ๑๔ เมษายน บรรดาแสน นางแตง และชาวบานจะมาทำบายศรีและจัดดอกไมธูป เทียนไว วันที่สองหรือวันที่ ๑๕ เมษายน พิธีเริ่มตอนสายๆ พอเลี้ยงอาหารตอนเชาเสร็จ เมื่อบรรดาแสนนางแตง พรอมแลวนางเทียมจะนำบายศรี ดอกไม และธูปเทียนขึ้นถวายหิ้ง “เจาเมืองกลาง” นางเทียมจะเขาทรง พรอมกัน นั้นชาวบานจะตีฆองดังสนั่น เมื่อลงทรง นางเทียมจะเอยถึงสภาพความเปนอยูของชาวบานวาเปนอยางไร เชน อาจ พูดเรื่องลมฟาอากาศ การทำมาหากิน โรคภัยไขเจ็บ และมีการถามเหตุการณตางๆ ดวย ในพิธีนี้เจากวนไปรวม เหมือนกัน แตไมไดเขาทรง เพียงไปนั่งรวมพิธีเทานั้น

พิธีเลี้ยงหอนอย

พิธีเลี้ยงหอนอยจัดวันที่ถัดจากวันเลี้ยงหอหลวง (หรือหอใหญ) พิธีเริ่มตอนสายๆ โดยเจากวน แสน นาง แตง และชาวบานที่มีใจศรัทธาเขาเฝาพรอมกันที่หอเจา มีการทำอาหารหวานคาวถวายตามศาลเจาทุกศาลในบริเวณ หอนอย โดยเฉพาะอาหารคาวมีขอบังคับวาตองทำจากหมูหรือไกอยางใดอยางหนึ่งเทานั้น กลาวคือหากทำมาจาก หมูก็ใชหมู ๑ ตัว หากทำจากไกใหใชไก ๔ ตัว ขณะทำอาหารถวายนี้ วิญญาณเจาแสนเมืองก็เขาทรงเจากวน และมีการซักถามตามทำเนียมดังกลาวแลว การทำพิธีที่หอนอย บรรดาแสนและนางแตงตองไปทุกคน สวนนางเทียมไมไดไปรวมดวยในวันเลี้ยงหอหลวงและ หอนอย ชาวบานที่เชื่อถือตอเจากวนมักงดเวนเดินทางไปตามที่ตางๆ ตามถนนหนทาง แมน้ำลำธาร เพราะกลัวจะ ถูกสัตวรายตางๆ หรือผีที่มารวมในงานพิธีทำอันตราย ดังนั้นชาวบานจึงมักติดตาเหลวไวตามทางที่จะเขามาสู หมูบาน คลายประกาศใหคนในหมูบานไดทราบกันทั่ว

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

124


การแกบะ (แกบน) ที่หอนอย ประกอบพิธีโดยพอแสนที่ดานซาย

พิธีบนบานและการแกบน เมื่อชาวบานคนใดเดือดเนื้อรอนใจ เชน เกิดเหตุเภทภัยอะไร เจ็บปวย หรือเกรง วาจะถูกคนกระทำราย รวมทั้งมีธุระจำเปนจะตองฝาภยันตราย เชน ไปรบ เดินทางไปคาขายไกลๆ เปนตน ก็มักจะไป บนบานตอสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่หอ โดยใชเครื่องบนบานแตกตางกันไป คือบางคนอาจบนดวยควาย เรียกวาดวงเฟอง (ถวายเฉพาะหอหลวงเทานั้น) หมูเรียกวาดวงแกลบหรือหมูใหญ (จะเปนหมูตัวเล็กๆ ก็เรียกวาหมูใหญได) อนเรียก วาหมูเหลาใชแทนหมูใหญเมื่อหาหมูใหญไมได ตุนเรียกวาหมูวาน ไกเรียกวาไกคูลัว ไขเรียกวาไขคั่ว (ใชไขไก ๒ ฟอง และไขเปด ๑ ฟอง) วิธีบนบานจะแตกตางกันไปเชนกัน กลาวคือหากบนดวยดวงเฟองถือเปนการบนบานชั้นสูงสุดจะทำการ บนบานเมื่อผูนั้นอยูในภยันตรายอยางหนัก หรือทำผิดพลาดตอหอหลวงอยางมหันต หรือตองการใหชวยธุรกิจ สำคัญ วิธีบนบานชาวบานผูเดือดรอนจะนำเทียน ๖ เลมไปหาแสน เพื่อใหแสนประกอบพิธีบนบานที่หอหลวง และ ใหนางเทียม ๓ เลม เพื่อไปบนบานเจาเมืองกลาง สวนการแกบนดวงเฟอง ตองเอาสิ่งดังที่กลาวมาแลวมอบใหเจากวน นางเทียม และแสน ตามจุดตางๆ ที่ เอาเทียนไปบนบานไว เพื่อดำเนินการแกบนแกผูนั้นตอไป การบนบานดวยหมูใหญ เปนการบนบานที่มีธุรกิจหรือเหตุการณสำคัญรองลงมาจากบนบานดวยดวงเฟอง หรือเพื่อความคุมครองเมื่อตองทำธุระสำคัญ การบนบานใชนำเทียน ๓ เลม ไปหาเจากวน เพื่อบนบานเจาเมือง หรือ นำเทียน ๓ เลมไปหาหัวหนาแสนเพื่อบนบานเจาเมืองกลาง หรือจะบนบานแหงใดแหงหนึ่งก็ได แลวแตความ ประสงคของชาวบานผูนั้น วิธีแกบนก็นำเอาหมูไปถวายยัง ณ ที่ผูนั้นไดบนบานไว

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

125


การบนบานสามสิบหรือพั้นกลาง เปนการบนบานที่มีการเจ็บปวยไขทั่วๆ ไป หรือความจำเปนที่ตองขอ ความคุมครองทั่วๆ ไป การบนบานชนิดนี้มีคนนิยมมากที่สุด วิธีบนบานนั้นจะนำเทียนตามจำนวนไปยังจุดตางๆ ดัง การบนบานดวงเฟอง แตตองบอกวาใสสามสิบหรือใสพั้นกลาง เพื่อไมใหเขาใจผิด สวนการแกบนสามสิบหรือพั้นกลางมีถวายดังนี้ นำหมูวาน (ตุน) หนึ่งตัวไปถวายเจาเมืองวัง โดยมอบใหเจา กวน นำไกคูลัว (ไก) หนึ่งตัวไปถวายเจาแสนเมือง โดยมอบใหหัวหนาแสน นำไขคั่ว (ไขไก ๒ ฟอง หรือไขเปด ๑ ฟอง) ไปถวายเจาเมืองกลาง โดยมอบใหนางเทียมนำของหวานไปถวายหอนอยและหอหลวง นำตนผึ้งนอย (ตนผึ้งที่ ทำดวยตนกลวยขนาดเล็ก) หนึ่งตน ทองคำเปลว ๑๐ แผน และเครื่องเซนขัน ขัน ๕ และขัน ๘ ไปถวายพระธาตุศรี สองรักเพิ่มเติมอีกดวยทั้งนี้โดยมอบใหแสนเปนผูประกอบพิธีแกบน การไปรวมพิธีบวงสรวงประจำป ผูเขารวมพิธีตองสำรวมกิริยา ไมเชนนั้นจะถูกปรับไหมหรือถูกใสโทษ คือ สิ่งศักดิ์สิทธิ์เหลานั้นจะมาดลบันดาลทำใหผูนั้นเจ็บไขไดปวย หรือมีอันเปนไปตางๆ นานา ตองถวายดวยเครื่องเซน ดังกลาวขางตน แลวแตหมอยามหรือเมื่อเจากวนหรือนางเทียมขณะเขาทรงจะบอก นอกจากนี้ในการเขาทรงของเจากวนและนางเทียม นอกจากในพิธีบวงสรวงประจำปแลว อาจมีผูเจ็บไขได ปวยมาขออัญเชิญใหทรงก็ได เพื่อบอกสาเหตุที่เจ็บปวย ขณะที่เขาทรงตองมีแสนเขาเฝาเสมอ สวนคนที่จะนำสิ่ง ตางๆ ไปแกบน ปกติผูบนบานจะนำไปในวันบวงสรวงประจำป แตจะไปแกบนในวันอื่นๆ ก็ได แตเวนวันในชวงเขา พรรษา วันพุธ และวันพระ ถาหากใครขืนไปแกบนในวันดังกลาวถือเปนโมฆะ เพราะสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทานไมลงมารับ ของแกบน ตองทำการแกบนอีกครั้งในภายหลัง การบนบานเหลานี้ถือเปนจารีตที่เคยปฏิบัติกันมาชานาน แตทั้งนี้ขึ้นอยูกับความเชื่อถือของแตละบุคคล โดยเฉพาะกับคนรุนใหม อยางเด็กวัยรุนบางกลุมอาจคิดวาการทำเชนนั้นเปนการเชื่อถืออยางงมงาย หากยังมีอีก หลายคนที่ยังเชื่อและยึดมั่นในจารีตดังกลาว ประการสำคัญคือมีบุคคลภายนอกใหความสนใจตอความเชื่อนี้มากขึ้น เพราะมองวาทำแลวสบายใจ ทำใหเกิดโชคลาภ และแคลวคลาดจากภยันตราย

การเปลี่ยนแปลงในพิธีกรรมที่สัมพันธกับความเชื่อเจาพอกวน

ยอนหลังราว ๓-๔ ทศวรรษที่ผานมาปรากฏวา ทางฝายนายทุนและรัฐไดเขามามีบทบาทในสังคมและ วัฒนธรรมลุมน้ำหมัน ไมวาจะเปนบทบาทที่ผานจากระบบการศึกษา การทำการคา การจัดการขั้นพื้นฐานตางๆ เชน สาธารณูปโภค การบริการของรัฐผานการปกครองทั้งจากอำเภอและตำรวจ ลวนสงผลทำใหพิธีกรรมตางๆ ที่ สัมพันธกับความเชื่อเจาพอกวนเปลี่ยนแปลงไป โดยเฉพาะรายละเอียดของพิธีกรรมที่มีการลดขั้นตอนลง ขณะ เดียวกันบางพิธีกรรมกลับเพิ่มรายละเอียดของขั้นตอนที่เปนพิธีการมากขึ้น ซึ่งเห็นตัวอยางไดชัดจากกรณี ประเพณี ไหวพระธาตุศรีสองรักนับวาไดรับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงดังกลาวเปนอยางมาก ! กลาวคือมีลำดับขั้นตอนความเปนพิธีการมากขึ้น โดยเฉพาะในวันแรกของงานจะมีพิธีรีตองแบบเปน ทางการ คือตอนเชาหลังจากมีพิธีการทำบุญตักบาตรและถวายภัตตาหารแดพระภิกษุสงฆ ๙ รูป ที่บริเวณศาลาลาน วัด ดานบันไดทางขึ้นไปยังองคพระธาตุ ตัวแทนของรัฐ อาทิ หนวยงานระดับจังหวัด อำเภอ และหนวยงานราชการ ตางๆ ในอำเภอดานซายจะสงผูแทนหนวยงานของตนมารวมเปดงาน โดยมีผูวาราชการจังหวัดเปนประธานในการ เปดงาน ! ดวยเหตุนี้ งานไหวพระธาตุศรีสองรักจึงถูกผนวกเขาเปนหนึ่งในกิจกรรมเพื่อสงเสริมความมีหนามีตาของ จังหวัดเลย และเล็งผลทางการทองเที่ยว ผลที่ตามมาคือทำใหกลุมผูคนที่เขามารวมงานไมไดมีเฉพาะกลุมคนที่ มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

126


ศรัทธาตอความเชื่อแบบดั้งเดิม หากยังมีกลุมนักทองเที่ยวทั่วๆ ไปที่เดินทางเขามาสักการบูชาองคพระธาตุศรี สองรัก ! พิธีการของรัฐดังกลาวสงผลกระทบตองานไหวพระธาตุศรีสองรัก กลาวโดยสรุปไดดังนี้ ประการแรก จาก ที่พิธีการรัฐเขาไปแทรกแซงพิธีกรรมของ “ชาวบาน” เห็นไดชัดจากตัวอยางลาสุดคือ ป พ.ศ. ๒๕๔๗ คณะเจาพอ กวนและชาวบานตางเดินทางมารวมงานแตเชาเพื่อใหทันฤกษงานยามดีที่กำหนดไว ปรากฏวาพิธีการและพิธีกรรม ตางๆ ตองเลื่อนออกไป เพราะประธานเปดงานจากฝายรัฐเดินทางมายังไมถึง สรางความรูสึกที่ไมดีใหกับชาวบาน เปนอยางมาก เพราะพระภิกษุสงฆและเจาพอกวนตองคอย เหมือนไมเคารพทาน ตางจากสมัยกอน อำนาจเด็ดขาด จะอยูที่การตัดสินใจของเจาพอกวนเพียงคนเดียว ! ประการตอมา ทำใหเกิดกลุมคณะจัดงานไหวพระธาตุรูปแบบใหม กลาวคือ เดิมจัดแบบเรียบงาย โดย กำหนดฤกษยามอันเปนมงคลโดยเจาพอกวนและคณะ ตอมาเมื่อพิธีการรัฐเขามามีบทบาท ทำใหคณะจัดงานมี โครงสรางที่ซับซอน ประกอบดวยบุคคลหลายกลุมที่มาจากนอกชุมชน เชน กลุมพอคา ขาราชการจากหนวยงาน ตางๆ ประการสำคัญ คณะกรรมการชุดดังกลาวเสนอใหมีการจัดกิจกรรมรื่นเริง การละเลน และมหรสพตางๆ เพื่อ สรางสีสันและความสนุกใหกับงานไหวพระธาตุ เชน มีการแสดงของคณะหมอลำ ลิเก มวย ภาพยนตร และการ พนันประเภทตางๆ อีกทั้งยังใหมีการจัดตั้งรานขายของนับรอยราน รอบบริเวณพื้นที่ดานลางขององคพระธาตุ และ ยังไดเก็บเงินจากคาเชาที่ ! การจัดงานดังกลาวจึงเปนเหตุทำใหเกิดเสียงอึกทึกครึกโครม ทำลายความศักดิ์สิทธิ์ของพิธีกรรมแบบชาว บานอยางไมรูตัว กลาวคือขณะบริเวณดานบนขององคพระธาตุมีการประกอบพิธีกรรมศักดิ์สิทธิ์ บริเวณดานลาง กลับเปดเพลงและประกาศโฆษณาเชิญชวนใหชาวบานและนักทองเที่ยวเรเขามาเลือกซื้อสินคา มิหนำซ้ำในบางมุม ยังมีการแอบเลนการพนันขันตออยางไมเกรงบาปกรรม นอกจากนี้ ชาวบานเลาวาในบางปยังมีการชกตอยถึงกลับ เลือดตกอยางออกก็มี ! ประการทายสุดไมอาจปฏิเสธวา ผลพวงของพิธีการของรัฐดังกลาวสงผลทำใหมีผูคนและนักทองเที่ยวเดิน ทางมาไหวพระธาตุศรีสองรักกันมากขึ้น การเงินจึงสะพัดตาม ไมวาจะเปนในสวนของกิจกรรมเกี่ยวกับการทำบุญ บูชาพระธาตุ และเงินที่ไดจากการเก็บคาเชาที่มาจากรานรวงตางๆ เม็ดเงินที่สะพัดเหลานี้เมื่อสะสมนานปจึงเพิ่มพูน เปนทวี จึงกลายเปนจุดเริ่มตนที่สรางภาพลักษณที่ไมดีตอเจาพอกวน โดยถูกสังคมพิพากษาในรูปแบบการติฉิน นินทาวา เจาพอกวนมุงจัดงานเพื่อแสวงหาวัตถุและมุงประโยชนใหกับเฉพาะฝายตนมากเกินไป ! จากที่กลาวมาจะพบวา ปจจัยหรือสิ่งที่ลดทอนความศักดิ์สิทธิ์ระบบความเชื่อที่สัมพันธกับธาตุศรีสองรัก นาจะไมไดอยูที่ตัวบุคคลอยาง “เจาพอกวน” ตรงกันขาม สาเหตุสำคัญนาจะอยูที่พิธีการ “รัฐ” ที่เขามาแทรกแซง พิธีกรรม “ชาวบาน” ในรูปแบบของการจัดงานใหเปนขั้นเปนตอน รวมถึงการเขามาสนับสนุนใหจัดมหรสพรื่นเริง จนเกินขอบเขตเพื่อดึงดูดนักทองเที่ยว จนทำใหประเพณีไหวพระธาตุศรีสองรักมีความสลับซับซอนยากเกินกวาที่ เจาพอกวนจะรับมือไหว ไมวาจะเปนการจัดการดานสาธารณูปโภคเพื่อรองรับนักทองเที่ยว การดูแลความปลอดภัย และที่สำคัญสุดคือการจัดการดานการเงิน ที่เปนปจจัยทำใหเจาพอกวนกลายเปนจำเลยทางสังคม สรางความรูสึก กำกวมใหชาวบานที่เคารพและศรัทธาตอระบบความเชื่อ “เจาพอกวน” เปนอยางมาก ! กระทั่งวันหนึ่งเจาพอกวนตัดสินใจซื้อรถตูและรถกระบะ โดยลงชื่อตนเองรวมกับหัวหนางานจากฝาย ราชการหนวยงานหนึ่งเปนผูรวมซื้อ เพราะเห็นวาภาระหนาที่ของเจาพอกวนไมไดมีเฉพาะการดูแลองคพระธาตุศรี สองรัก หากยังตองเดินทางไปประกอบพิธีกรรมตางๆ ตามคำเชิญของชาวบานผูรองทุกข ซึ่งแตเดิม เจาพอกวนจะใช วิธีการทำเรื่องขอยืมรถจากโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชดานซาย มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

127


! ดังนั้นเมื่อเจาพอกวนเห็นเงินทุนที่ไดจากชาวบานทำบุญและเงินจากกิจกรรมตางๆ ที่เกี่ยวกับพระธาตุศรี สองรัก ประกอบกับเห็นวา รบกวนทางโรงพยาบาลดานซายมาเนิ่นนาน จึงตัดสินใจซื้อรถ ! การตัดสินใจดังกลาว ถือเปนจุดเปลี่ยนแปลงครั้งสำคัญของระบบความเชื่อ “เจาพอกวน” ก็วาได ทั้งนี้ เนื่องจากเมื่อตนป พ.ศ. ๒๕๔๗ มีกลุมชาวบานบางกลุมยื่นหนังสือเรียกรองตอทางราชการใหตรวจสอบความเปน มาเรื่องดังกลาว จึงทำใหทราบวาบัญชีพระธาตุศรีสองรักภายใตการดูแลของเจาพอกวนรวมกับผูบริหารหนวย ราชการในอำเภอดานซายหนวยงานหนึ่ง มีสมุดบัญชีเงินฝากหลายฉบับ รวมเปนเงินประมาณการไมต่ำกวา ๔ ลาน บาท ตั้งแตวันนั้นมา ใครๆ จึงรูวาพระธาตุศรีสองรักเปนแหลงสะสมเงินกอนโต ! หนวยราชการที่มีอำนาจสูงในระดับอำเภอดานซายจึงมองวา นาจะเปนเรื่องไมชอบมาพากล จึงเสนอวาควร จะใหพระธาตุศรีสองรักอยูภายใตการกำกับและดูแลใน “ระบบวัด” ใหพระภิกษุสงฆเขาไปจัดการและดูแลให เหมือนกับวัดทั่วๆ ไป เพื่อใหเกิดความชัดเจนในดานการจัดการ โดยเฉพาะปญหาทางการเงิน ทั้งนี้เนื่องจากมองวา พระธาตุศรีสองรักก็คือศาสนสถานที่มีสถานภาพเปนเหมือนกับวัดทั่วๆ ไป ! “ภายหลังการประชุมกรรมการมหาเถรสมาคม (มส.) มีการเปดเผยวา มส. ไดพิจารณากรณีที่ สำนักงาน พระพุทธศาสนาแหงชาติ (พศ.) ไดเขาตรวจสอบขอเท็จจริงที่ไดมีการรองเรียนเขามาวา มีกลุมคนเขาไปหาผล ประโยชนในพื้นที่วัดพระธาตุศรีสองรัก ตำบลดานซาย อำเภอดานซาย จังหวัดเลย ไดมีการทรงเจาเขาผี เซนวัวควาย โดยอางวาเปนเจาของพระธาตุศรีสองรัก พบวา มีกลุมคนที่อางวาไดรับการดูแลพระธาตุศรีสองรัก และเปนทายาท ทางสายเลือดในการดูแลพระธาตุมาดำเนินการดูแลเงินทอง มีการทรงเจาเขาผี เซนวัวควาย ซึ่งขัดกับหลักทางพุทธ ศาสนา ทั้งอางวาพระธาตุศรีสองรักไมมีสถานภาพเปนวัด แตเปนโบราณสถานที่เจานายในอดีตกาลประสงคใหผู เปนทายาทดูแล”23 V “แตจากการตรวจสอบตามเอกสารที่ปรากฏพบวา นอกจากมีเจาอาวาส ๕ รูป ในทะเบียนวัดทั่วราช อาณาจักรแลว ก็มีพระครูสุมนวุฒิกร เจาคณะอำเภอดานซาย รักษาการเจาอาวาส เมื่อพระครูสุมนวุฒิกรมรณ ภาพ ไดตั้งเจาคณะอำเภอรูปใหม คือ พระครูสิริวิชัยธัช เปนผูรักษาการแทนเจาอาวาส สืบตอมา V ขณะนี้ทางสำนักพระพุทธศาสนาจังหวัดเลย ไดยื่นขอเอกสารสิทธิที่ดินวัดพระธาตุศรีสองรัก เนื่องจากเจาหนาที่สำรวจเมื่อวันที่ ๑๐–๑๑ พฤษภาคม ๒๕๔๗ พบวา วัดพระธาตุศรีสองรักยังไมมีเอกสาร สิทธิในที่ดิน และบริเวณวัดถูกบุกรุก มีเอกชนและสวนราชการไปออกเอกสารสิทธิทับที่ดินดังกลาว จากที่ดิน เดิมของวัด ๔๐ ไร พระครูสิริวิชัยธัช จึงมอบอำนาจใหผูอำนวยการสำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดเลยไปยื่น ออกสารสิทธิในที่ดินดังกลาว V ขอมูลเหลานี้เพียงพอสำหรับกรมการศาสนา กรมศิลปากร และสำนักงานพระพุทธศาสนาแหงชาติ เขาไปดูแลผลประโยชนของวัดพระธาตุศรีสองรัก เพื่อนำเงินไปทำนุบำรุงศาสนา หรือนำเขาเปนรายไดของ แผนดิน ไมใชปลอยใหกลุมบุคคลแสวงหาผลประโยชนอยางที่เปนอยู24 V ดานพระครูปลัดชฏิล จันทโชโต เจาคณะตำบลดานซาย กลาววา ขณะนี้ประชาชนในพื้นที่นับถือเจา พอเจาแมกลุมนี้มาก ทำใหพระสงฆไมสามารถเขาไปยุงเกี่ยวไดเลย โดยเฉพาะกลุมผูทรงเจาเขาผีเปนผูมี นามสกุลเดียวกับผูบริหารในเทศบาล”25

!

23 มติชน ปที่ ๒๗, ฉบับที่ ๙๖๖๑, ๒๒ สิงหาคม, ๒๕๔๒. 24

“ทองไปในแดนธรรม,”คมชัดลึก ปที่ ๓, ฉบับที ๑๐๕๓, ๒ กันยายน ๒๕๔๗.

25 มติชน

ปที่ ๒๗, ฉบับที่ ๙๖๖๑, ๒๒ สิงหาคม, ๒๕๔๗.

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

128


ทายที่สุดขณะนี้ (เดือนสิงหาคม ๒๕๔๗) เรื่องดังกลาวถูกสงใหผูมีอำนาจในระดับจังหวัดพิจารณา ! ดังนั้นหากขอเสนอของผูบริหารระดับสูงของอำเภอดานซาย ผานความเห็นชอบในระดับจังหวัด นั่นยอม หมายความวา พระธาตุศรีสองรักที่เคยอยูภายใตการดูแลแบบจารีตประเพณีทองถิ่น โดยมี “เจาพอกวน” เปนผูดูแล ก็จะถูกพิธีการของรัฐเขาแทรกแซงใหกลายมาเปนการบริหาร “ระบบวัด” เหมือนกับวัดทั่วๆ ไป คือมีพระภิกษุสงฆ มีเจาอาวาส ซึ่งขึ้นตรงกับเจาคณะอำเภอและเจาคณะจังหวัด

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

129


บทที่ ๙ บทวิเคราะหและบทสรุป ! จากการศึกษาขอมูลของคนในลุมน้ำหมันในมิติทางเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม ทำใหเห็นภาพวิถีการ ดำเนินชีวิตของคนลุมน้ำหมันแตละชวงเวลา ซึ่งมีความแตกตางกันออกไปตามบริบทและเงื่อนไขที่แตกตางใน แตละชวงเวลา อยางไรก็ตามงานศึกษาครั้งนี้ยังเผยใหเห็นลักษณะที่สำคัญของชุมชนลุมน้ำหมันที่มีลักษณะเฉพาะ ทองถิ่นหลายประเด็นดวยเชนกัน

ลุมน้ำหมัน: ลักษณะทางกายภาพที่เปนเอกลักษณ

พื้นที่ซึ่งเปนที่ตั้งหมูบานตางๆ ในลุมน้ำหมัน อำเภอดานซาย จังหวัดเลย ถือวามีลักษณะทางกายภาพที่มี เอกลักษณะเฉพาะตัวตางจากพื้นที่เขตอื่นๆ อยางเห็นไดชัด กลาวโดยสรุปคือมีเทือกเขาเพชรบูรณที่สลับซับซอน ประกอบอยูรอบดาน ไมวาจะเปนในดานทิศตะวันออกมีภูแปก ภูทุงแทน ภูน้ำอุน ดานใตมีภูลมโล ภูทุงแทน ภูแผง มา และดานตะวันตกมีภูหินรองกลาและภูผาผึ้ง ! ชัยภูมิดังกลาวจึงทำใหเกิดที่ราบเฉพาะพื้นที่ระหวางหุบเขา บางแหงก็เปนที่ราบสูงลุมๆ ดอนๆ โดยเฉพาะที่ ตั้งอำเภอเปนที่ราบ มีภูเขาขนาบสามดาน มีที่ราบแคบๆ ยาวไปทางทิศเหนือ ซึ่งมีเทือกเขาอยูทั้งสองขางทางทิศ ตะวันออก ทิศใต และทิศตะวันตก โดยมีลำน้ำหมันเปนสายใยหลักลัดผานกลางที่ราบหุบเขาดังกลาว ชาวบานจึงมัก ตั้งถิ่นฐานบานเรือนและทำการเกษตรโดยเฉพาะการทำนาและพืชผักสวนครัวในเขตพื้นที่ราบดังกลาว สวนที่ดอน จะนำนาไร และปลูกพืชไรตางๆ เชน ขาวโพด และถั่วพันธุตางๆ ดังนั้นจึงไมใชภาพแปลกตาแตประการใด ถาเราขึ้น ไปยืนมุมสูงแลวมองยอนลงมาในเขตชุมชนลุมน้ำหมัน จะเห็นบานตั้งเรียงรายอยูกลางที่ราบหุบเขาตามลำน้ำหมัน หางเปนระยะๆ ! ประการสำคัญ ชัยภูมิที่ตั้งของชุมชนลุมน้ำหมันเชนนี้ยังเปนปจจัยสำคัญ ทำใหสังคมของชุมชนลุมน้ำหมัน คอนขางจะแยกตัวออกจากพื้นที่หรือหมูบานในเขตอำเภอหรือจังหวัดอื่นๆ ดังเห็นไดผลพวงของการพัฒนาการดาน สาธารณูปโภคพื้นฐานตางๆ ไมวาจะเปนถนน ไฟฟา ประปา หรือความเจริญแบบสังคมเมือง เพิ่งเขามาสูชุมชนลุม น้ำหมันไดอยางทั่วถึงเพียงไมกี่สิบป ในขณะที่บางหมูบานก็เริ่มมีไฟฟาและประปาใชกันไมถึงสิบป เชน บานนาหอ และนาเวียง เปนตน รวมไปถึงการรักษาและดูแลสุขภาพที่มีลักษณะความเชื่อพื้นบานผสมผสานอยูในสังคม ปจจุบันในหลายเรื่องราว ขณะเดียวกันพัฒนาการดานสาธารณสุขสมัยใหมก็ไดรับการพัฒนาอยางจริงจังไดเพียงไมกี่ สิบป ! หรือหากพิจารณาจากมิติความเชื่อตางๆ แมปจจุบันจะเริ่มปรับเปลี่ยนไปจากเดิมวิถีปฏิบัติตามแบบโบราณ หากทวาภาพชีวิตของคนลุมน้ำหมันยังเชื่อและเคารพศรัทธาความเชื่อทองถิ่นอยางเหนียวแนน เชน ความเชื่อตอ พระธาตุศรีสองรัก และความเชื่อตอเจาพอกวน จะเห็นไดวาชาวบานมีการประกอบพิธีกรรมที่สัมพันธกับความเชื่อ ดังกลาวแทบตลอดทั้งป เหตุผลดังกลาวจึงสงผลทำใหระบบความเชื่อดังกลาวเปน “หัวใจ” สำคัญของระบบทาง วัฒนธรรมของคนลุมน้ำหมัน ! กลาวไดวาลักษณะทางกายภาพของที่ตั้งชุมชนลุมน้ำหมัน ที่มีเอกลักษณเฉพาะดังที่กลาวมานี้ถือเปนปจจัย ที่สำคัญปจจัยหนึ่งตอการลิขิตวิถีการดำรงชีวิต ทั้งในมิติทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒน-ธรรมอยางเห็นไดชัด

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

130


ดานซาย : พัฒนาการทางประวัติศาสตรสังคม

จากขอมูลชุมชนประกอบกับประวัติศาสตรและความทรงจำของคนลุมน้ำหมัน จะทำใหเห็นพัฒนาการ ประวัติศาสตรสังคมเมืองดานซายปรากฏเปนหลักฐานที่ชัดเจน นับหลังจากอาณาจักรโยนกลมสลาย กลาวคือเมื่อ พอขุนบางกลางหาวกับพอขุนผาเมืองไดนำผูคนจากแควนพางคำลงมาทางทิศตะวันออกเฉียงใต ผานแควนลานชาง กอนขามแมน้ำเหืองมาขึ้นฝงขวาของลำหวยน้ำหมัน เดินทางตอจนถึงที่ราบแหงหนึ่งจึงหยุดพัก แบงผูคนตั้งถิ่นฐาน ! พอขุนผาเมืองตั้งบาน “ดานขวา”26 สวนพอขุนบางกลางหาวพาผูคนขามฟากไปพักพลชั่วคราวในที่แหง หนึ่ง เพื่อหาที่พำนักที่เหมาะสม จึงอพยพไปตั้งถิ่นฐานขึ้นที่ริมฝงหวยน้ำหมันเรียกบาน “ดานซาย” (ปจจุบันคือ หมูบานเกา) ตอมาจึงแบงผูคนขึ้นไปตามลำน้ำ ไปขุดคูคลองจากฝงซายหวยน้ำหมันขึ้นไปจรดเนินเขา เพื่อชักน้ำเก็บ ทำการเกษตร และเปนปราการธรรมชาติปองกันการรุกรานจากศัตรู เรียกหมูบานใหมนี้วาบานคายคู (ปจจุบันคือ บานหนองคูหรือเขตตัวอำเภอดานซาย) ! เมื่อตั้งหลักแหลงไดระยะหนึ่ง ปรากฏวาบานดานขวาตองประสบกับน้ำทวมบอยครั้งเมื่อฤดูฝนหลาก พอขุนผาเมืองจึงคิดยายที่ทำกินไปอยูเมืองราด27 ขณะที่พอขุนบางกลางหาวเกิดความคิดวาบางยางเปนเมืองใหญ มี ระยะทางหางจากบานคายคูไมไกลนัก ประกอบกับผูคนมีจารีตประเพณีที่คลายกัน เห็นควรที่จะอพยพผูคนไปรวมที่ บางยาง ทำใหบานคูคายและบานเกาเปรียบเสมือนเมืองหนาดาน ตอมาเมื่อมีกำลังและความพรอมมากพอที่จะขับไล พวกขอม จึงมีใบบอกแจงไปใหพอขุนผาเมืองที่เมืองราดใหนำกำลังขึ้นไปชวย จนในที่สุดก็สถาปนาเปนเจาปกครอง สุโขทัยเมื่อป พ.ศ. ๑๘๐๐ ทรงพระนามวา พอขุนศรีอินทราทิตย อยางไรก็ตามดานซายก็ยังไมไดยกตัวขึ้นเปนเมือง กระทั่งสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ กษัตริยแหงอาณาจักร กรุงศรีอยุธยา และพระเจาไชยเชษฐาธิราชแหงอาณาจักรลานชาง พรอมใจกันสรางพระธาตุศรีสองรัก (พ.ศ. ๒๑๐๓-๒๑๐๖) ขึ้นบนที่เนินสูงฝงตะวันตกของลำน้ำหมัน (ฝงซายของลำน้ำ) พัฒนาการเมืองดานซายจึงเผยเปน ภาพที่ชัดเจนในสายตาของคนในวัฒนธรรมลุมน้ำหมัน ดังเห็นไดจากเรื่องเลาและตำนานตางๆ ที่ยังอยูในความทรง จำของคนดานซาย ไมวาจะเปนตำนานการสรางพระธาตุศรีสองรัก และความเชื่อเรื่อง “เจาพอกวน” เปนตน ! ประการสำคัญ ยังมีเรื่องเลาของชุมชนในลุมน้ำหมันที่สัมพันธอยางแนบแนน ไมวาจะเปนบานเกา บานนา หอ บานนาเวียง และบานดานซาย กลาวคือชาวทองถิ่นในลุมน้ำหมันเชื่อวา บรรพบุรุษของตนเองเปนคนลาวที่ อพยพมาจากหลวงพระบาง ดวยเหตุผลกลใดไมอาจทราบแนชัด แตผานมาหลายรอยปแลว โดยใชเสนทางตามลำน้ำ โขงลัดเลาะผานเขาสูลำน้ำเหือง กอนวกเขาสูลำน้ำหมัน กระทั่งเดินทางมาพบพื้นที่ราบกวางระหวางหุบเขา จึงตั้ง หมูบานขึ้นพรอมตั้งชื่อวา “บานดานซาย” ตามสภาพที่ตั้งของหมูบานที่อยูในหุบเขา และตั้งอยูริมฝงซายของลำน้ำ หมัน28 เมื่อสรางหลักปกฐานจึงขยายที่ทำกิน เดินทางขึ้นสูดานเหนือของลำน้ำหมันในระยะทางที่ไมไกลนัก จน มาสรางเปนหมูบานใหมพรอมตั้งชื่อวา “บานนาเหาะ” 26

ประเด็นดังกลาวยังเปนขอถกเถียงอยู อยางไรก็ตามมีนักวิชาการทองถิ่นบางทานที่เชื่อวานาจะตั้งอยูริมฝงขวาของลำน้ำหมัน ระหวางหวยน้ำรินกับบานนาหัวแหลม ตำบลนาหอ อำเภอดานซาย 27

เรื่องของ “เมืองราด” กลุมนักวิชาการไดเสนอไว ๒ แนวทางหลักๆ คือ แนวทางแรกเสนอวานาจะตั้งอยูในจังหวัดเพชรบูรณ อีก แนวทางหนึ่งบอกวานาจะอยูอำเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก โปรดยอนศึกษารายละเอียดไดในบทประวัติศาสตรและความทรงจำ 28 ปจจุบันเปนหมูบานหนึ่งอยูในเขตตำบลนาหอ อำเภอดานซาย มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

131


สวนเหตุที่เรียกวา “บานนาเหาะ” ชาวบานเลาขานวา คงมาจากชื่อของ “ทาวเหาะหานาง” ซึ่งเปนผูนำคน หนึ่งในกลุมบรรพบุรุษของพวกตน ตอมาบริเวณดังกลาวไดกลายเปนที่ตั้งเปนหอโรง29 ของพระแกวอาสา ทาว กรองสา ผูนำชุมชนระดับเจาเมืองในเวลาตอมา นอกจากนี้ยังมีการรื้อฟนความสำคัญของผูนำชุมชนทองถิ่น ดวย การสรางพิพิธภัณฑทองถิ่นพระแกวอาสา ทาวกรองสา ขึ้นที่วัดดังกลาว ขณะนี้อยูระหวางการกอสราง ดวยเหตุเปนที่ตั้งของหอโรงของผูนำชุมชนนี้เอง ชาวบานจึงพากันเรียกชื่อของหมูบานวา “บานหอโรง” กอนเติมคำวา “นา” ลงขางหนา เพราะมีที่นาอยูใกลหมูบานมากมาย ตอมาชาวบานจึงตัดคำวา “โรง” ออก เหลือแต “นาหอ” และพากันเรียก “บานนาหอ” จนถึงทุกวันนี้ ! หลังจากนั้นจึงขยายที่ทำกินอีกครั้ง โดยเดินทางขึ้นสูทิศเหนือของลำน้ำหมันเชนเคย เพื่อมาตั้งหมูบานใหม ขึ้นที่บาน “นาเวียง” และ “หนองคู” โดยเฉพาะบริเวณที่ตั้งหมูบาน “หนองคู” จะมีพื้นที่เปนที่ราบแคบๆ ยาวขนาน ไปตามริมน้ำหมัน ภายในหมูบานมีหนองน้ำกักเก็บน้ำไวใชไดตลอดป ชาวบานเชื่อวานาจะเปนการขุดเปนคูขึ้น หรือ ไมอาจจะเปนเสนทางน้ำหมันเดิม ตอมาสายน้ำเปลี่ยนเสนทางเดิน พื้นที่ดังกลาวจึงกลายเปนหนองคู มีน้ำขังตลอด ป ทำใหชาวบานบางคนเรียกหนองน้ำแหงนี้วา “หมันหลง” เมื่อตั้งถิ่นฐานระยะหนึ่ง จึงไดเปลี่ยนชื่อหมูบานเปน “ดานซาย” แลวใชเรียกกันจนติดปากกระทั่งปจจุบัน หากทวามีการเปลี่ยนชื่อเมื่อใด และดวยเหตุผลใดกลับไม ปรากฏหลักฐานหรือเรื่องเลาแตประการใด ! สวนบาน “ดานซาย” เดิมทีที่ตั้งอยูบานหอในปจจุบัน คงเปลี่ยนชื่อเปนบาน “ดานซายเกา” นานๆ เขา ชาว บานเห็นวาชื่อเรียกมีคำมากเกินไป จึงเรียกสั้นๆ วา “บานเกา” ซึ่งหมายถึง หมูบานอันเปนที่ตั้งของบรรพบุรุษของ คนดานซายที่อพยพมาจากเมืองหลวงพระบางมาตั้งแตอดีต โดยมาตั้งถิ่นฐานที่นี้เปนแหงแรก กอนที่จะยายมาอยูใน เขตอำเภอดานซายในปจจุบัน ! จวบจนตนสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวแหงกรุงรัตนโกสินทร ประกาศใชพระราชบัญญัติ ปกครองทองที่ ร.ศ. ๑๑๖ (พ.ศ. ๒๔๔๐) มีการเปลี่ยนการปกครองแบบเดิมมาเปนแบบเทศาภิบาล แบงทองที่ออก เปนมณฑล เมือง อำเภอ ตำบล หมูบาน เมืองดานซายจึงเปลี่ยนฐานะมาเปนอำเภอดานซาย โดยนัยแหงพระราชบัญญัติปกครองทองที่ดังกลาว ดานซายจึงขึ้นอยูกับมณฑลพิษณุโลก หลังจากนั้น ดานซายจึงโอนมาอยูในเขตการปกครองของจังหวัดเลยเมื่อ พ.ศ. ๒๔๕๐ ตามประกาศของกระทรวงมหาดไทย ลง วันที่ ๔ มกราคม พ.ศ. ๒๔๕๐ และยังคงขึ้นอยูในเขตการปกครองของจังหวัดเลย จนกระทั่งปจจุบัน

พัฒนาการทางเศรษฐกิจสังคม

อาจกลาวไดวา ปจจุบันกระแสวัฒนธรรมจากเมืองและความเจริญตางๆ กำลังไหลบาเขาสูชุมชนใน วัฒนธรรมลุมน้ำหมัน ทำใหเกิดการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมมากมาย หากกลาวเฉพาะเศรษฐกิจ สรุป ไดวา ชุมชนลุมน้ำหมันไดรับผลกระทบของกระแสพัฒนาดังกลาวเฉกเชนกัน เพียงแตเปนภาพของการเปลี่ยนแปลง ที่เกิดขึ้นกลับไมชัดเจนเทากับชุมชนอื่นๆ ที่ตั้งอยูในเขตปริมณฑลหรือเมืองที่เจริญ ทั้งนี้อาจเปนเพราะวาสภาพทาง กายภาพที่มีลักษณะเฉพาะ กลาวคือเปนเมืองที่ตั้งอยูบนแองที่ราบหุบเขาขนาบทั้งสามดานดังที่กลาวไวเบื้องตน ทำใหไมสะดวกกับชุมชนภายนอกเทาที่ควร แมปจจุบันถนนหนทางและเสนทางการคมนาคมตางๆ จะสะดวกสบาย แลวก็ตาม เรียกไดวาถาใครไมมีธุระจำเปนก็คงจะไมเดินทางเขาไปดานซาย

29 ปจจุบันที่ตั้งหอโรงอยูบริเวณวัดศรีภูมิบานนาหอ วัดศรีภูมิสรางขึ้นใกลเคียงกับการตั้งบานนาเหาะ คือ เมื่อ พ.ศ. ๒๐๓๕ มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

132


อยางไรก็ตาม ผลของการศึกษาทำใหทราบถึงพัฒนาการทางเศรษฐกิจของชุมชนลุมน้ำหมันวา พัฒนาจาก ระบบเศรษฐกิจแบบพึ่งตนเองในอดีต จนกาวเขาสูระบบเศรษฐกิจแบบผูกโยงกับทุนนิยมจากกระแสวัฒนธรรม ภายนอก ซึ่งอาจสรุปสาระสำคัญไดคือ เศรษฐกิจชุมชนแบบพึ่งตนเอง ในอดีต ระบบผลิตเพื่อเลี้ยงดูตนเองในชุมชนหมูบานเนนการเพาะปลูก หาของปา และการลาสัตว ทั้งนี้ เพราะพื้นที่ในเขตลุมน้ำหมัน อำเภอดานซาย จังหวัดเลย ถือวามีความหลากหลายทางกายภาพที่สงผลตอการผลิต ของชุมชน คนทองถิ่นจึงพัฒนาระบบการผลิตของตนเองตามลักษณะที่ตั้งทางกายภาพของชุมชน กลาวคือชาวบาน มักจะไมตั้งถิ่นฐานในพื้นที่สูง แตจะใชพื้นที่ดังกลาวปลูกขาวเหนียวและขาวนาไร ขณะพื้นที่ราบลุมน้ำหมันและลำน้ำสาขาจะมีพื้นที่ดินเหมาะแกการเกษตร สวนใหญเปนที่นาปลูกขาว เหนียวนาปเพื่อใชกินในครัวเรือน มีการใชพัดหรือระหัดวิดน้ำในชวงหมูบานนาเวียงและนาหอในการผันน้ำเพื่อการ เพาะปลูก นอกจากนี้ยังมีการปลูกพืชผักตางๆ ตามเขตที่ราบริมฝงลำน้ำหมัน เชน หอม กระเทียม และพืชผักสวน ครัวตางๆ เปนตน การดำรงชีพดังกลาวถือเปนความพยายามของชาวบานที่จะทำพื้นที่ทุกลักษณะใหไดประโยชน สูงสุด จึงเห็นไดวา ปจจัยสำคัญในการผลิตของชาวบานในลุมน้ำหมันก็คือ ทรัพยากรธรรมชาติอันไดแก ดิน น้ำ และปา นอกจากนี้ยังทรัพยากรชาวบานและวัฒนธรรมชวยเสริมใหการดำรงชีพมีประสิทธิภาพมากขึ้น ซึ่งก็คือ แรงงานและภูมิปญญาทองถิ่นนั่นเอง สิ่งเหลานี้ทำใหชาวบานไมตองอาศัยปจจัยดานการเงินก็สามารถดำรงชีพอยูได เนื่องจากมีทุนจากธรรมชาติและวัฒนธรรมที่ทุกคนเปนเจาของและแบงปนใชสอยกันตามอัตภาพ ตางจากในยุค หลังที่ปจจัยดานการเงินเขามามีบทบาทสัมพันธในวิถีชีวิตมากขึ้น ดังนั้นเมื่อตองพึ่งธรรมชาติเปนหลัก คนในชุมชนลุมน้ำหมันจึงปรับวิถีแหงการผลิตใหสอดคลองกับระบบ นิเวศนของตนเอง ดังเห็นไดจากชุมชนตางๆ ในลุมน้ำหมัน เปนชุมชนเกษตรกรรมที่เนนการทำนาในเขตพื้นที่ลุม ที่ สามารถรับน้ำจากลำน้ำหมันทำนาปละครั้ง บางครัวเรือนมีการปลูกขาวไรเสริมและปลูกพืชผักสวนครัวตางๆ เพื่อ บริโภคในครัวเรือน มีสัตวเลี้ยงประเภทวัว ควาย ไวใชงานในไรนา นอกเหนือจากหมู เปด ไกที่เลี้ยงไวในครัวเรือน ชาวบานมีอาชีพเสริม คือ การหาของปาและเผาถาน แทบจะมีการคาขายจำกัด จึงเห็นไดวาชาวบานใหความสำคัญกับการทำนาเปนอยางมาก เพราะนานาจะหมายถึงการตั้งถิ่นฐานถาวร และความมั่นคงในการยังชีพ เพื่อเก็บเกี่ยวผลผลิตไวใชในปหรือระหวางฤดูกาลตอไป ระบบการทำนาจึงเปน “ทุนสำรอง” ของครอบครัวและชุมชนนั่นเอง รองจากนาคือการปลูกพืชผักสวนครัว ลงทุนนอยและไมตองใชแรงงานมาก สวนของปานั้นเปนแหลงของ อาหารและยารักษาโรคที่สำคัญอีกแหลงของคนทองถิ่นในอดีต ในสมัยกอนการใชประโยชนจากปาจึงเปนไปเพื่อ บริโภคในครัวเรือน ไมไดมีจุดประสงคหลักเพื่อนำไปขาย การหาอาหารตามธรรมชาติทำใหชีวิตของชาวบานสะดวก สบาย มีการแบงปนใหญาติพี่นอง หรือมีการถนอมอาหารไวกินยามนอกฤดูกาล เชน หนอไมลวก หนอไมดอง และ การทำน้ำผักสะทอน เปนตน แมในชวงเวลาดังกลาว จะมีขอจำกัดดานเทคโนโลยีการผลิต อีกทั้งยังตองเสี่ยงกับ ความไมแนนอนทางธรรมชาติ แตชาวบานจะรูวิธีวาจะตัดสินอยางไรในการทำการเกษตร ดังเห็นไดจาก การแลก เปลี่ยน หยิบยืม และแบงปนระหวางเครือญาติและภายในชุมชน

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

133


การลาสัตวและการเก็บหาของปาจึงเปนกิจกรรมที่ชวยเสริมการผลิตในชุมชน ทำใหชุมชนมีความพอเพียง ในการดำรงชีวิต การพึ่งพาฐานทรัพยากรของชุมชน ทำใหเศรษฐกิจของชุมชนหมูบานมีความยืดหยุน สามารถ รับมือกับปญหาที่เกิดขึ้น เชน ปญหาภัยธรรมชาติอยางฝนแลงหรือน้ำทวมที่ทำใหไดผลผลิตนอย เปนตน ดังนั้นปาจึงเปนที่พึ่งของชาวบานมาโดยตลอด กระทั่งรัฐเขามาแทรกแซงการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และอางความเปนเจาของแทนชุมชน (ในระยะหลัง พ.ศ. ๒๕๒๐ และกระทบกับชุมชนอยางเดนชัดหลังป พ.ศ. ๒๕๓๐) ปดกั้นหวงหามไมใหชุมชนใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติแตอนุญาตใหคนภายนอกเขาตัดฟนหัก เก็บอยางลางผลาญจนผืนปาแทบจะหมดความอุดม นอกจากนี้การผลิตบางอยางยังมีเปาหมายเพื่อเปนหลักประกันในกรณีที่ตองประสบภาวะวิกฤตทางสังคม เชน ชวงสงครามโลกครั้งที่ ๒ กรณีดังกลาวชุมชนจะนำผลผลิตบางชนิด เชน ผาฝาย ไปแลกเปลี่ยนกับชาวนครไทย คนลุมน้ำหมันจึงประกอบกิจกรรมไดหลายๆ อยางในเวลาเดียวกัน เพื่อเพิ่มความอุดมสมบูรณและสนอง ความตองการในครัวเรือน ชาวบานที่ไถนาหรือปลูกขาวนาจะจับกุง หอย ปู ปลา กบ เขียดและสัตวอื่นที่สามารถนำ ไปปรุงอาหารได พวกที่นำวัวควายไปเลี้ยงในชายปาก็จะถือโอกาสเก็บหาสิ่งของที่จำเปนในการดำรงชีพไปในตัว เชน ผักหวาน หนอไม และเห็ดตางๆ รวมทั้งทำงานจักสานและทอผา เปนตน ดังนั้นการใชชีวิตที่เรียบงายจึงไมใชคำในอุดมคติ หากแตเปนภาพชีวิตที่เกิดขึ้นจริง เพราะชาวบานเนนการ ทำนา ปลูกผัก ทำงานหัตถกรรมพื้นบาน และเก็บของปาเปนอาหารหลัก ไมเนนอาหารจากเนื้อสัตว เนื้อสัตวมักเปน อาหารพิเศษในเทศกาลตางๆ เทานั้น จึงทำใหเห็นวาไมตองมีเงินก็อยูได เพราะในทุงนาและปารอบๆ หมูบานมี วัตถุดิบทางธรรมชาติมากมาย ชาวบานไมตองพึ่งตลาด เพราะมีทุงนาและปาเปน “ซูเปอรมาเก็ต” ที่ไมตองใชเงินซื้อ หา กลาวไดวาลักษณะการพึ่งตนเองของชุมชน มีระบบเศรษฐกิจแบบพอเพียง ผลิตอาหารไวบริโภคใน ครอบครัวและชุมชน หากเหลือก็จะสำรองไวในยามวิกฤติ หรือไมก็นำไปแลกเปลี่ยนกับชุมชนใกลเคียง ความ สัมพันธภายในชุมชนแบบเครือญาติ ชวยเหลือดานแรงงาน ชวยเหลือดานสังคม ! เศรษฐกิจชุมชนยุคหลัง พ.ศ. ๒๕๐๐ ! ระยะตอมาการเปลี่ยนแปลงไดเกิดขึ้นกับชุมชนหมูบาน และถือไดวาเปนการเปลี่ยนที่เปนจุดเปลี่ยนผานที่ สำคัญของชุมชนหมูบาน เมื่อมูลคาสวนเกินจากการคาไดจูงใจใหเกิดตลาดขาวขึ้นโดยเฉพาะอยางยิ่งเมื่อเกิดกิจการ โรงสี ราวป พ.ศ. ๒๕๐๐ ชุมชนหมูบานไดเริ่มเขาไปสัมพันธระบบเศรษฐกิจภายนอกจากการนำขาวสวนที่เกิน จากการบริโภค ไปขายยังตลาดรับซื้อขาว แลวนำเงินที่ไดจากการขายขาวไปซื้อหาวัตถุดิบเพื่อนำมาผลิตเปนปจจัยใน การดำรงชีพ เชน ปลาทูเค็ม ปลากระปอง เปนตน ซึ่งเปนปจจัยที่ชุมชนผลิตไมได การเขาไปสัมพันธกับระบบเศรษฐกิจภายนอก นับวาทำใหชุมชนผอนคลายจากภาระหนักในการผลิตปจจัย ในการดำรงชีพลงบางระดับหนึ่ง ขณะเดียวกัน อีกดานก็เปนจุดเริ่มตนที่ทำใหเห็นภาพของชุมชนในวัฒนธรรมลุม น้ำหมันกำลังเผชิญหนากับการเปลี่ยนแปลงในการดำรงชีวิตแบบพอเพียงที่ปฏิบัติมา ! กระทั่งระบบเศรษฐกิจภายนอกไดเขามามีบทบาทในชุมชนมากขึ้น กลาวคือเดิมชุมชนจะตองเดินทาง รอนแรมและลัดเลาะทุงนาและปา เพื่อนำขาวไปขายยังตัวเมือง ก็เริ่มมีพอคาเขามารับซื้อขาวถึงในหมูบาน ในขณะที่

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

134


สินคาจากตลาดก็เริ่มเขามาในชุมชน ทำใหการดำเนินชีวิตเริ่มเปลี่ยนแปลงไป จากเดิมที่ชุมชนหมูบานอาศัยการหา อยูหากินจากธรรมชาติ หาผักจากปา หาปลาจากแหลงน้ำ เปนตน เริ่มมีการซื้อสินคาจากตลาด ! ปรากฏการณดังกลาวถือเปนแรงผลักดันใหชุมชนเริ่มใหความสำคัญกับการเพิ่มผลผลิตขาวใหมากขึ้น เพื่อ ใหมีขาวสวนที่เกินจากการบริโภคเพิ่มขึ้น เพื่อจะไดนำขาวไปขายเปนเงิน เพราะชวงเวลาดังกลาวเงินตราเริ่มมีความ สำคัญกับชุมชน ทั้งนี้เพราะการที่จะไดบริโภคสินคาจากระบบตลาดจะตองแลกเปลี่ยนมาดวยเงินตรา ไมใชผลผลิต เชนการแลกเปลี่ยนระหวางชุมชน ! จึงเห็นไดวา ในชวงเวลานี้รัฐและระบบเศรษฐกิจภายนอกจะผนวกชุมชนหมูบานเขาสูวิถีการผลิตเพื่อการ คาในระยะตอมาจึงเปนสิ่งที่ไมยากนัก ดังเห็นไดจากการเขามาเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตทางเศรษฐกิจของชุมชนหมูบาน โดยรัฐ ในรูปแบบของการพัฒนาชุมชนลุมน้ำหมัน จนกอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงโครงสรางทางเศรษฐกิจชุมชน ดัง เห็นไดจากการที่รัฐเขามาสรางโครงสรางพื้นฐาน เชน ถนน เปนตน เพื่อจุดประสงคหลักในการปราบปรามผูกอการ รายคอมมิวนิสต แตขณะเดียวกัน ถนนก็สัมพันธกับวิถีแหงการผลิตในระบบเศรษฐกิจ คือทำใหมีการติดตอการ ตลาดภายนอกไดงายขึ้น โดยเฉพาะการปลูกขาวถูกเชื่อมโยงกับระบบการตลาดของประเทศโดยรวม กรณีนี้เห็นได จากในชวงทศวรรษ ๒๕๒๐ วิถีการทำการเกษตรของคนลุมน้ำหมันมีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการผลิต และวิถีการ ผลิตของชุมชนเพื่อเพิ่มผลผลิตตอพื้นที่ใหสูงขึ้น เชน การเปลี่ยนแปลงพันธุขาว มีการลงทุนเครื่องจักรกล และใช ปจจัยการผลิตใหมากขึ้น ดังนั้นลักษณะที่สำคัญของระบบเศรษฐกิจชุมชนลุมน้ำหมันในชวงเวลานี้ ยังคงเปนชุมชนเกษตรกรรมที่มี วิถีชีวิตแบบพอเพียงที่สามารถพึ่งตนเองไดในระดับหนึ่ง ขณะเดียวกันก็ตองพึ่งพาภายนอกเชนกัน โดยชุมชนไดเนน การผลิตเพื่อการบริโภคเปนหลัก แตยังไมสามารถผลิตไดพอเพียงตอความตองการบริโภคของสมาชิกในชุมชน ทั้งนี้ เนื่องจาก ประการแรก ทรัพยากรธรรมชาติที่มีจำนวนมาก เพียงพอตอการรองรับจำนวนประชากรในการดำรงชีวิต อยูแบบพอเพียงและโดยเฉพาะที่ดินสามารถขยายพื้นที่ในการเพาะปลูกไดอยางไมจำกัด ประการที่สอง ความ สัมพันธแบบเครือญาติที่สามารถชวยเหลือเกื้อกูล ประการที่สาม มีระบบเศรษฐกิจแบบพอเพียงสามารถแลกเปลี่ยน ผลผลิตระหวางชุมชน ยังไมตองพึ่งพาภายนอกมากนัก ใชแรงงานในครัวเรือนเปนหลัก ไมตองใชสารเคมีในการเพิ่ม ผลผลิตทางดานการเกษตร สวนขอจำกัดของชุมชนตอการพึ่งตนเอง คือ ประการแรก การขาดแคลนแหลงน้ำ ซึ่งเปนปจจัยในการผลิต ขาวทำใหชุมชนไมสามารถผลิตขาวไวบริโภคไดเพียงพอตลอดป ตองแลกเปลี่ยนหรือซื้อจากภายนอกชุมชน ประการที่สอง ดินขาดความอุดมสมบูรณ เนื่องจากเดิมเปนปาซากที่มีนายทุนมาโคนไมใหญหมดไป พื้นที่บริเวณนี้ กลายเปนปาไผที่มีความแหงแลง ไมอุดมสมบูรณ ทำใหมีขอจำกัดในการปลูกพืชไดเพียงไมกี่ชนิดที่ทนทานตอความ แหงแลงได เชน สับปะรด กลวย ขาวโพด เปนตน ประการที่สาม การขนสงและคมนาคมแมจะมีการสรางถนนถนน ทางแลวก็ตาม แตก็ยังไมสะดวกมากนัก ทำใหตองใชเวลานาน ! เศรษฐกิจชุมชนชวงขยายตัวหลัง พ.ศ. ๒๕๓๐ ชุมชนชวงขยายตัวยุคนี้เริ่มมีการพัฒนาระบบไฟฟา ถนน และน้ำประปา ชุมชนสามารถขยายพื้นที่ในการ เพาะปลูก ปลูกพืชไดหลากหลายมากขึ้น สามารถปลูกขาวไวบริโภคไดเพียงพอ พื้นดินขาดความอุดมสมบูรณ ปลูก พืชแบบเขมขน ใชปุยและสารเคมีมากขึ้น ลักษณะการพึ่งตนเองของชุมชนเปนระบบเศรษฐกิจแบบพอเพียงและ พึ่งพาบางสวน วิถีชีวิตของชุมชนยังเปนแบบเรียบงายประหยัด เนนความพอเพียง แตตองพึ่งพาปจจัยการผลิต

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

135


ตลาด และแหลงเงินลงทุนจากภายนอกมากขึ้น จนนำไปสูการเปนหนี้สินทั้งในและนอกระบบ ดังนั้นในชวงเวลาดัง กลาวกิจการธนาคารจึงไดเริ่มมาเปดกิจการในชุมชนดานซาย วิถีการผลิตดังกลาว เห็นไดจากการปลูกพืชไร พืชหลักๆ ไดแก ขาวโพด ทำใหตองเรงเพิ่มผลผลิตดวยการใช ยาปราบศัตรูพืชและปุยเคมีอยางเขมขน ทำใหตนทุนการผลิตสูงขึ้น ชาวบานเริ่มเปนหนี้สินทั้งในระบบและนอก ระบบ แหลงเงินทุนที่สำคัญของชุมชนไดแก ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ ขณะเดียวกันชุมชนก็เริ่มรับ วัฒนธรรมจากชุมชนภายนอกเขามาในวิถีชีวิตของชุมชน มีการพึ่งพาชุมชนภายนอกมากขึ้น ชวงเวลานี้สภาพการณของชุมชนจึงเกิดการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญ ประสบกับปญหาทางดานเศรษฐกิจอยู ดวยเชนกัน เนื่องจากตนทุนการผลิตสูงขึ้น เพราะตองพึ่งพาปจจัยการผลิตจากภายนอก ทั้งดานเงินทุน เทคโนโลยี และการตลาด ขณะเดียวกันราคาผลผลิตทางการเกษตรก็มักตกต่ำ ทำใหชาวบานตองไปกูยืมเงินจากธนาคารเพื่อการ เกษตรฯ ขณะที่การเปลี่ยนแปลงทางดานสังคม วัฒนธรรมของชุมชน สงผลกระทบตอความสัมพันธภายในชุมชน ที่ มีลักษณะสงเสริมความเปนอยูแบบปจเจกชนมากขึ้น ความเปนชุมชนลดนอยลง ชุมชนแตกแยก เนนการบริโภค นิยมมากขึ้น ใหความสำคัญทางดานวัตถุมากกวาดานจิตใจ สมาชิกในชุมชนออกไปหางานทำขางนอก อยางไรก็ตาม ปจจัยที่ทำใหชุมชนสามารถดำรงอยูได คือ ความสัมพันธภายในชุมชนที่มีความสัมพันธแบบ เครือญาติ และความเชื่อทองถิ่นบางอยาง30 ที่ยังคงชวยเหลือเกื้อกูลกันในดานแรงงานและสังคม ประการตอมาใน เรื่องของระบบน้ำทางธรรมชาติที่สมบูรณ ทำใหชุมชนสามารถปลูกพืชที่หลากหลายไดมากขึ้น เชน ปรับพื้นที่ทำนา ขาว การปลูกพืชผักไวขายและบริโภคในครัวเรือน การทำสวนผลไม เลี้ยงสัตว สมาชิกในชุมชนประกอบอาชีพ หลากหลายมากขึ้น

การจัดการดูแลสุขภาพ กับสภาพสังคมและความเชื่อของคนลุมน้ำหมัน ดังที่เกริ่นไวในหัวขอสภาพทางกายภาพของชุมชนลุมน้ำที่มีลักษณะเฉพาะตัว ถือเปนหนึ่งในหลายปจจัย สำคัญที่จะสงตอผลวิถีการดำรงชีวิตดานตางๆ รวมทั้งระบบสาธารณสุขดวยเชนกัน กลาวคือ ทำใหการเดินทางของ คนลุมน้ำหมันในสมัยกอนเปนไปดวยความลำบากยิ่ง จะไปที่ไหนๆ ก็ตองเดินเทา แมแตจะไปธุระเมืองเลยหรือ หลมสักก็ตองเดินเทา ใชเวลาเดินทางถึง ๒-๓ วัน อยางดีก็ใชชาง มา ลอ เกวียน เปนพาหนะ ดังนั้นเมื่อยามเจ็บไขได ปวยจึงตองอาศัยภูมิปญญาทองถิ่นเขาไปจัดการ ไมวาจะเปนเรื่องของหมอยาพื้นบาน พืชสมุนไพรรอบบาน หมอ ตำแย รวมไปถึงระบบความเชื่อตางๆ อาทิ ความเชื่อเรื่องผีตางๆ ที่สงผลในดานภาวะจิตใจเปนอยางสูง ! จากความเชื่อผีและสิ่งศักดิ์สิทธิ์ตางๆ นี้เอง อำนาจหรืออิทธิฤทธิ์ของผีจึงเขามามีบทบาทตอชีวิตจิตใจของ คนลุมน้ำหมันมาก โดยเฉพาะอยางยิ่งผูที่เจ็บไขไดปวย มักจะคิดวามีสาเหตุมาจากผีเปนสวนใหญ ผูที่เจ็บปวยดวย โรคตางๆ เมื่อรักษาดวยยาสมุนไพรแลวยังไมหาย ดังนั้นคนในบานก็จะมุงประเด็นไปหาผีทันที จะตองมีการไปหา สาเหตุของการปวยจากหมอยาม และหมอยามนี้มักจะมีอยูแทบทุกหมูบาน เปนตน ! ตอมาเมื่อชุมชนไดรับการพัฒนาจากภาครัฐ โดยเฉพาะในชวงหลัง พ.ศ. ๒๕๐๐ เริ่มสรางถนนหนทาง ความเจริญจากตางถิ่นเริ่มเขามา ไดสงผลทำใหคนลุมน้ำหมันมีการพึ่งตนเองของทองถิ่นมีรูปแบบที่หลากหลายมาก 30 โปรดดูรายละเอียดในหัวขอเรื่องความเชื่อในบทเดียวกัน มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

136


ขึ้น เชน มีความเชื่อวายาแผนปจจุบันสามารถรักษาโรคไดหายขาดและทันใจ และยาที่ใชสวนใหญจะเปนพวกยาถาย พยาธิ ยาแกปวด ยาใสแผลสด ยารักษาโรคฟนผุ เปนตน ! ขณะเดียวกันก็มีหมอเถื่อนซึ่งเปนคนทองถิ่นอื่นที่พอมีความรูทางดานการแพทยบาง รวมทั้งเริ่มมีรานขาย ยาแผนปจจุบัน จำหนายยาใหกับคนในทองถิ่น และจัดจำหนายยาเปนชุดๆ เชน ยาแกปญหาการปวดขอและปวด หลัง เปนตน ! สวนการคลอดลูกยังพึ่งพาหมอตำแยเหมือนเดิม แตหมอพื้นบานที่ใชสมุนไพรเริ่มมีบทบาทนอยลง และความเชื่อสาเหตุของความเจ็บปวยคอยๆ เปลี่ยนไป เนื่องจากปาไมลดลง คนทองถิ่นเริ่มไดรับการศึกษามากขึ้น ประการสำคัญยังมีขาราชการจากทองถิ่นอื่นเขามาปฏิบัติงานในดานซายมากขึ้นเชนกัน โดยเฉพาะทหารและตำรวจ ที่เขามาตอสูกับคอมมิวนิสต ! ผลของการพัฒนาดังกลาว ทำใหความรูในการดูแลสุขภาพตนเองของทองถิ่นที่เปนความเชื่อเชนสมัยกอน เริ่มเปลี่ยนไป คือชาวบานหันมาใหความสำคัญกับการดูแลสุขภาพที่อาศัยความรูการแพทยแผนปจจุบันมากขึ้น แตก็ ยังไมไดรับการพัฒนาที่ดีพอ คือมีสถานบริการสาธารณสุขที่มีบุคลากรจำกัด กระทั่งป พ.ศ. ๒๕๒๐ อำเภอดานซาย อยูในพื้นที่ที่มีการสูรบระหวางทหารฝายรัฐบาลกับคอมมิวนิสต จึงไดรับการคัดเลือกใหตั้งโรงพยาบาลสมเด็จพระ ยุพราช อันเปนผลพวงของนโยบายของภาครัฐที่ตองการจะทำใหชาวบานที่อยูในทองถิ่นดังกลาวมีความศรัทธาตอ รัฐบาล เปนสวนหนึ่งของสงครามแยงชิงประชาชน บริการพื้นฐานหลายอยางมาพรอมๆ กัน เชน ไฟฟา ถนน ลาดยางใชไดทุกฤดูกาลติดตอกับจังหวัดเลย เพชรบูรณ พิษณุโลก เปนตน ทำใหคุณภาพในการบริการประชาชน การ เขาถึงดีขึ้นมาก นอกจากนี้ยังมีการสรางสถานีอนามัยตามตำบลตางๆ ใหบริการสุขภาพขั้นพื้นฐาน มีระบบการให ภูมิคุมกันโรคที่ดีขึ้น ! อยางไรก็ตาม การพัฒนาอยางกาวกระโดดในลุมน้ำหมันเชนนี้ ทำใหชาวบานมีความศรัทธาตอระบบบริการ ที่รัฐจัดใหเปนอยางมาก และละเลยตอการดูแลสุขภาพของตนเอง หมอตำแยและหมอพื้นบานเริ่มมีบทบาทลดลง ! สวนการดูแลสุขภาพยุคปจจุบันหรือหลัง พ.ศ. ๒๕๓๐ การพึ่งตนเองของชาวบานนอยลง ความรูในการ ดูแลสุขภาพไมไดรับการสานตอจากคนรุนกอน โดยเฉพาะวิถีชีวิตที่สัมพันธกับธรรมชาติกลับไมไดรับความสำคัญ เมื่อยามเจ็บปวยมักใชบริการรานขายยา และมีความเชื่อวาสุขภาพที่ดีจะตองไดรับการรักษาพยาบาลที่ดี ดังนั้นชาว บานจึงละเลยที่จะปฏิบัติตนใหมีสุขภาพดี เพราะมีความเชื่อวาถาสุขภาพเสียก็สามารถใชบริการของรัฐแกได ! ขณะเดียวกัน หมอเถื่อนไดปรับเปลี่ยนรูปแบบเขาไปรักษาในทองที่ทุรกันดาร ระบบธุรกิจขายตรงที่เกี่ยว กับสุขภาพเริ่มเขามาในทองถิ่นที่มีรายไดเพิ่มขึ้น ทั้งหมดเปนเพราะวากระบวนการสืบทอดความรู การประยุกตใช ความรู การเรียนรูของคนในทองถิ่นตอกระแสการติดตอจากภายนอกไมไดรับการจัดระบบที่ดีพอจากคนในทองถิ่น เพราะสวนใหญมีเจาหนาที่รัฐเปนผูดำเนินการชี้นำและจัดการเกี่ยวกับสุขภาพ โดยขาดการมีสวนรวมของทองถิ่น ดังนั้น ความสัมพันธระหวางชาวบานและสถานบริการจึงเปลี่ยนไปในแงของความหางเหินระหวางกัน

ชีวิต ประเพณี และความเชื่อ

หัวใจหลักของวัฒนธรรมลุมน้ำหมัน ความเชื่อของคนลุมน้ำหมันมีทั้งความเชื่อในพุทธศาสนา มีวัดประจำหมูบานเปนศูนยกลางของหมูบาน กลาวคือบานดานซายมีวัดโพนชัย บานนาเวียงมีวัดโพธิ์ศรี และบานนาหอมีวัดศรีภูมิ

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

137


! นอกจากนี้ยังมีความเคารพและศรัทธาในองคพระธาตุศรีสองรัก ที่สำคัญยังเชื่อตอสิ่งศักดิ์สิทธิ์เหนือ ธรรมชาติตางๆ มากมาย เชนความเชื่อเรื่องผีและหอเจาบานของหมูบาน ความเชื่อเรื่องการถือผีและสิ่งศักดิ์สิทธิ์ เหนือธรรมชาติของชาวดานซาย ในสมัยกอนเชื่อวาตามปา ตามภูเขา ถ้ำ แมน้ำ หวยหนอง คลองบึง และตามบริเวณ หมูบานจะมีผี ดวงวิญญาณของสิ่งศักดิ์สิทธิ์อาศัยอยู ผูใดละเมิดหรือไมเคารพบูชาจะไดรับอันตราย เจ็บไขไดปวย หรือประสบเคราะหกรรมตางๆ นานา ! หากครอบครัวใดเกิดเจ็บไขไดปวยก็อาจไปหาหมอยามหรือหมอตรวจดวง ถาหมอยามทวงทักวามีเหตุมา จากผีตนใดตนหนึ่งจะทำใหเจ็บปวยไข ญาติผูปวยจะบอกกลาวขอขมาลาโทษ แลวนำเครื่องเซนพวกขาวปลาอาหาร ทั้งหวานและคาว ไปเซนไหวผีที่หมอยามอางถึง ! ปจจุบันความเชื่อตางๆ เกี่ยวกับเรื่องผียังคงปรากฏอยูในโลกทัศนทางความเชื่อของคนรุนผูใหญอยู เพียงแต ธรรมเนียมปฏิบัติในเรื่องความเชื่อไมเขมงวดเทาสมัยกอน ในขณะที่เด็กรุนใหมสวนใหญกลับเห็นวาเปนเรื่องเลา ของคนรุนกอนมากกวาที่จะเปนเรื่องจริง แตก็ไมถึงกับลบหลู สวนความเชื่อในรอบปมักสัมพันธกับการทำนาและวิถีชีวิตทางการเกษตร รวมทั้งยังเปนที่พึ่งทางจิตใจเมื่อ ยามเจ็บไขไดปวยหรือไดรับความเดือดรอน คนในลุมน้ำหมันก็มักบนบานศาลกลาวและแกบะ (บน) ! ดวยเหตุผลดังกลาวจึงทำใหคนลุมน้ำหมันประกอบพิธีกรรมตางๆ ไมวาจะเปนพิธีกรรมในรอบปและ พิธีกรรมในวัฏจักรชีวิตที่สัมพันธกับพุทธศาสนาและความเชื่อทองถิ่น ดังเห็นไดจากการประกอบพิธีกรรมฮีตสิบ สองที่เปนธรรมเนียมปฏิบัติทั่วไปๆ ในทองถิ่นอีสาน ชาวบานยังผนวกพิธีกรรมทองถิ่นเขาไปเปนขอปฏิบัติดวย เชน งานไหวเจาเมืองวังเดือน ๔ งานไหวเจาเมืองกลางเดือน ๕ เปนตน ! อยางไรก็ตาม ชุมชนลุมน้ำหมันแตละหมูบานยังมีทั้งขนบธรรมเนียมประเพณีรวมของชุมชน เชน ความเชื่อ เรื่องผี ความเชื่อเจาพอกวน เจาแมนางเทียม และงานบุญไหวพระธาตุศรีสองรัก เปนตน (ดังที่จะกลาวเปนหัวขอ สำคัญถัดไป) ขณะเดียวกันก็มีงานบุญประเพณีที่มีลักษณะเฉพาะของแตละชุมชน เชน งานไหวภูอังลัง บานนาเวียง และภูผาแดดบานนาหอ เปนตน สวนประเพณีสำคัญทางศาสนาจะรวมกันจัดที่วัดประจำชุมชน แตเนื้อหาโดย หลักๆ มีลักษณะคลายๆ กัน กลาวคือเปนประเพณีของหมูบานที่มีมาแตโบราณของทั้ง ๒ หมูบาน แตชาวบาน หมูบานอื่นที่เคารพศรัทธาหรือมีความเชื่อตอภูอังลังและภูผาแดด ก็นิยมเดินทางเขามาประกอบพิธีดวยเชนกัน และ จะประกอบในเดือน ๘ โดยบานนาเวียงจะประกอบพิธีกรรมกอนบานนาหอสักประมาณ ๑ สัปดาห ! ทั้งนี้ชาวบานเชื่อวาทั้งภูอังลังและภูผาแดดเปนที่สิงสถิตวิญญาณลูกแกว (เปนประเภทหนึ่ง) ที่ชวยเหลือให ชาวบานอยูเย็นเปนสุข หมดเคราะห และทำการเกษตรไดผล ปจจุบันความเชื่อดังกลาวเริ่มมีการเปลี่ยนแปลงไปจาก เดิม คือคนเริ่มใหความสำคัญนอยลง ดังเห็นไดจากจำนวนชาวบานที่ขึ้นไปบูชาภูลดลงมาก ตางกันอยางสิ้นเชิงจาก สมัยกอนที่ผูคนนิยมขึ้นไปบูชาเปนจำนวนมาก ทั้งนี้อาจเปนเพราะชาวบานไดรับการศึกษามากขึ้น จึงเปลี่ยนแปลง อาชีพไปทำงานดานอื่นที่ไมใชภาคเกษตร เชน รับราชการ และเปนลูกจาง เปนตน จึงไมมีเวลาวางพอที่จะมารวมงาน ดังกลาว อยางไรก็ตามทางหมูบานยังคงปฏิบัติสืบสานประเพณีนี้อยูอยางตอเนื่องทุกๆ ป นอกจากนี้ยังพบวาสาเหตุ ที่ชาวบานไมนิยมขึ้นบูชาภูทั้งสอง เพราะสถานที่ประกอบอยูบนภู ตองเดินทางไกลขึ้นเขา การเดินทางลำบาก ทำให เดินขึ้นเขาไมไหว สะทอนใหเห็นวาคนยุคปจจุบันคุนเคยกับการนั่งรถ ไมตองเดินทางดวยเทาไปไหนไกลๆ ตางจาก สมัยกอนที่ตองอาศัยการเดินเทาเปนหลัก คนสมัยกอนจึงมีความอดทนสูงกวา นอกจากนี้คนลุมน้ำหมันยังมีการ “ประดิษฐ” ประเพณีและพิธีกรรมขึ้นมาใหมในชุมชน ดังเห็นไดจากกรณี งานไหวพระพุทธบาทที่จัดขึ้นเดือน ๓ หรือเดือนส ๔ งานจัดฉลอง ๓ วัน ๓ คืน เปนประเพณีที่ไมเคยปฏิบัติมากอน ในลุมน้ำหมัน เพิ่งสรางมาไมเกิน ๕๐ ป โดยนายเฉื่อย คำเกษม แรกเริ่มมีจุดประสงคการสรางพระพุทธบาทเพื่อให มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

138


ชาวพุทธทั้งหลาย ไดระลึกถึงบุญคุณพระพุทธเจา ปหนึ่งจะมีงานปดทองพระพุทธบาทเพื่อเปนสิริมงคลแกตัวเอง เปนการสืบทอดศาสนาเปาหมายของเขามีจุดประสงคหลักในการสรางความดี แตคนรุนหลังโดยเฉพาะภาครัฐที่มี สวนเกี่ยวของกับการจัดงาน (ยอนหลังไมเกินสิบป) เริ่มมีการนำสิ่งบันเทิงเริงรมย เนนความสนุกสนานเกินขอบเขต ทำให เกิดปญหาทะเลาะเบาะแวงในกลุมวัยรุนและนักทองเที่ยวตามมา จนถึงกับเลือดตกยางออก งานบุญจึงกลาย เปนงานแหงโศก-นาฏกรรม ทำใหคนลุมน้ำหมันปจจุบันขยาดที่จะไปนมัสการพระพุทธบาท ! การ “ประดิษฐ” ทางประเพณี ยังเห็นไดจากกรณีงานลอยกระทง เพราะถือเปนประเพณีใหมของบานดานซาย เชนกัน เริ่มกอนป พ.ศ. ๒๕๐๐ ไมนานเทาไหร โดยหลายหนวยงานรวมกันจัด เชน อำเภอ ตำรวจ ตำรวจตระเวน ชายแดน โรงเรียน และตัวแทนบานคุมตางๆ ทำแบบการลอยกระทงสุโขทัยของภาคกลาง ใหชาวบานทำคนละ กระทงใบเล็กๆ มารวมกัน แลวประธานในพิธีจะกลาวบูชาพระแมคงคา ไปลอยกันที่หนองน้ำใกลตลาดใหม เปนการลอยกระทงเหมือนกับทางภาคกลาง หลังจากนั้นไมถึงสิบป รูปแบบของการจัดงานไดพัฒนาขึ้น มีการจัดประกวดนางนพมาศ สรางกระทง ใหญๆ ลอยอยูไปมาในน้ำเพื่อใหนางนพมาศลงไป ระหวางสรางไฟฟาเกิดดูดคนงานตาย เพราะตอสายไฟลงไปในน้ำ แตทุกวันนี้ก็ยังจัดอยู เพียงแตยายมาสรางกระทงบนบก นอกจากนี้ยังมีการประกวดประชันนางนพมาศ ประกวดกระทงนอยกระทงใหญ เปนเหตุทำใหคนทะเลาะ กัน เพราะเมื่อมีการแขงขันประกอบกับมีการกินเหลาเมายา ก็มีการโกงกันขึ้นมา สรางความขัดแยงใหกับคนใน ชุมชนตามมา ! ความเชื่อตอเจาพอกวน เจาแมนางเทียม พอแสน และนางแตง เจากวนคือผูที่ทำหนาดูแลหอบานและเขาทรง เมื่อถึงเวลาประกอบพิธีเลี้ยงบานประจำป การดำรงตำแหนง ของเจากวนจะไดรับการแตงตั้งโดยผีเจาเมืองที่มาเขาทรง กลาวคือเมื่อเจากวนคนกอนถึงแกกรรม หรือถูกถอดจาก ตำแหนงเพราะมีความประพฤติตนไมเหมาะสม มักจะเลือกลูกหลานของเจากวนคนกอนเปนผูสืบทอดแทนตอไป (แตไมเคยปรากฏ เพราะเจากวนประพฤติตัวดี) เจากวนแตงตัวแตกตางจากชาวบานธรรมดา คือไวผมยาวและมีผาขาวคาดศีรษะเสมอ นุงผาโจงกระเบน และเสื้อขาว เจากวนนอกจากเขาทรงในพิธีเซนไหวประจำปแลว ยังเขาทรงเมื่อมีผูอัญเชิญใหทรง เพื่อสอบถามถึง สาเหตุบางอยาง เชน มีผูเจ็บปวย เปนตน และเปนหัวหนาในการทำพิธีกรรมตางๆ ของหมูบาน เชน งานบุญหลวง หรืองานสมโภชและนมัสการพระธาตุศรีสองรักประจำปดังกลาวแลวเปนตน สวนนางเทียมเปนหญิงไดรับแตงตั้งโดยวิญญาณผีเมืองเขาทรง การสืบทอดตำแหนงโดยสวนใหญมักเลือก ตั้งลูกหลานของนางเทียมคนกอนๆ เชนเดียวกับเจากวน คือ เมื่อตำแหนงนางเทียมวางลงโดยการถึงแกกรรม หรือ เมื่อไมสามารถปฏิบัติภารกิจได เชน เจ็บปวยนานๆ หรือชราภาพ เปนตน นางเทียมมีหนาที่เขาทรงเหมือนเจากวน ไวผมยาวเกลาไวบนกระหมอม นุงผาถุงและสวมเสื้อขาว ชาวบาน มักเรียกกันวา “เจาแมนางเทียม” ในขณะที่แสนคือผูมีหนาที่เปนขาเฝาวิญญาณผีบาน ขณะที่มาเขาเจากวนและนางเทียม และมีหนาที่ปฏิบัติ พิธีการตางๆ ในขณะที่มีงานเซนไหวหอบานประจำป รวมทั้งยังเปนผูประกอบพิธีบนบานและแกบนบานตางๆ เมื่อ มีผูนำสิ่งของมาแกบน ที่สำคัญยังเปนผูที่มีหนาที่ดูแลสถานที่หอเจา การแตงตั้งแสนกระทำโดยเมื่อวิญญาณเจาบาน เขาทรงเจากวน เลือกโดยใชดายผูกขอมือคนนั้น ผูที่จะเปนแสนจะจำกัดเฉพาะผูชายเทานั้น สวนคุณสมบัติที่สำคัญของแสนคือตองเปนผูประพฤติดี อยูในศีลธรรม หากประพฤติไมเหมาะสม เชน กิน เหลากินยา จะตองถูกถอดถอนจากตำแหนง หรือไมตำแหนงแสนอาจวางลงจากการตายหรือปลดเมื่อชรา มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

139


ดังนั้นเมื่อตำแหนงแสนใดวางลง เจากวนจะทำการเลือกตั้งบุคคลอื่นแทนตำแหนงที่วาง โดยวิธีผูกขอมือ ขณะเขาทรงดังกลาวแลว นางแตงคือขาเฝาและผูปรนนิบัติฝายหญิง นางแตงนี้นางเทียมเปนผูแตงตั้ง ขณะเขาทรงโดยผูกขอมือเชน เดียวกับเจาพอกวนแตงตั้งแสน ไมวาจะเปนแสนหรือนางแตง เมื่อมีพิธีเซนไหวประจำปจะตองไปชวยงานพิธี และเขาเฝาทั้งหอหลวงและ หอนอย บานเจากวน และบานเจาแมนางเทียม ! ระบบความเชื่อดังกลาวทำใหเห็นวา พอกวนเปนตำแหนงสูงสุดของฝายชาย ซึ่งเปนรางทรงของพระเสื้อ เมือง พระทรงเมืองฝายขวาคือฝายไทย และทำหนาที่เปนหัวหนาใหญของผูเขาทรง และขาเฝาของวิญญาณของเจา นายที่เขาทรงเจาพอกวนมีอยูดวยกัน ๔ องค คือ เจาเมืองวัง เจาแสนเมือง เจาองคหลวง เจาองคไทย ! สวนเจาแมนางเทียมเปนตำแหนงสูงสุดของฝายหญิง เปนรางทรงของพระเสื้อเมือง พระทรงเมืองฝายซาย (ฝายลาว) คือ เจาเมืองกลางและเจาองคไทย และทำหนาที่เปนรางทรงของเจานางตางๆ ที่เปนฝายหญิง ไดแก เจานาง เคา เจานางจวง เจานางจัน และเจานางนอย ! พอแสนเปนขาเฝาฝายชาย มีทั้งหมด ๑๙ คน แบงออกเปน ๒ ฝาย แตละฝายมีลำดับความสำคัญและเรียก ชื่อตำแหนงดังนี้ ขาเฝาเจาเมืองวัง หรือฝายเจาพอกวน คือขาเฝาฝายขวา มีทั้งหมด ๑๐ คน ไดแก แสนดาน (หัวหนา) แสนหอม แสนฮอง แสนหนูรินทร แสนศรีสองฮัก แสนตางใจ แสนศรีฮักษา แสนศรีสมบัติ และแสนกำกับ ! สวนขาเฝาเจาเมืองกลางหรือฝายเจาแมนางเทียม คือ ขาเฝาฝายซาย ฝายลาว มี ๙ คน ประกอบดวย แสน เขื่อน (หัวหนาแสนฝายซาย) แสนคำบุญยอ แสนจันทร แสนแกวอุนเมือง แสนบัวโฮม แสนกลางโฮง แสนสุขะ เมืองแสน และเมืองจันทน ! แสนมีหนาที่ปรนนิบัติขณะพระเสื้อเมือง พระทรงเมืองตางๆ มาเขาทรงหรือมาใชรางเจาพอกวน เจาแม นางเทียมและมีหนาที่ปฏิบัติพิธีกรรมตางๆ ขณะที่มีงานเซนไหวพระเสื้อเมือง พระทรงเมืองประจำป ผูที่ไดรับมอบ หมายจากเจาพอกวน เจาแมนางเทียม ทำการบะบน แกบะบนใหแกผูที่ตองการใหเปนสื่อกลาง ตลอดจนทำหนาที่ ดูแลศาลเจาประจำเมืองดานซายจำนวน ๒ แหง วัด ๒ แหง และทั้ง ๒ แหง คือ วัดพระธาตุศรีสองรัก วัดโพนชัย หอ หลวง หอนอย หิ้งบานเจาพอกวนและเจาแมนางเทียม ! นางแตงเปนขาเฝาฝายหญิง มี ๔ คน มีหนาที่ชวยพิธีกรรมตางๆ เกี่ยวกับพิธีเซนไหวประจำป ทั้งฝายขวา และฝายซาย รวมทั้งคอยแตงตัวปรนนิบัติและรับใชเจานางทั้ง ๔ ที่มาเขาทรงเจาแมนางเทียม ! การแตงตั้งบุคคลที่ทำหนาที่ผูเขาทรงและขาเฝา การศึกษาพบวาการแตงตั้งบุคคลที่ทำหนาที่ผูเขาทรงและ ขาเฝา โดยการบัญชาของ “เจานาย” ดวยวิธีการอัญเชิญวิญญาณของเจานายหรือพระเสื้อเมือง พระทรงเมือง มาเขา ทรง ใหเลือกบุคคลที่เหมาะสมโดยวิธีผูกขอมือในขณะที่เขาทรง ซึ่งการสืบทอดตำแหนงและอำนาจมักจะสืบทอด กันตามระบบเครือญาติ ! “เจาพอกวน” และ “เจาแมนางเทียม”: ระบบความเชื่อโบราณในโลกปจจุบัน ! ปจจุบันเจาพอกวน เจาแมนางเทียม มีบทบาทตอวิถีชีวิตชุมชนอำเภอดานซายในดานตางๆ ทั้งดานศาสนา เปนอยางมาก ดังเห็นไดจากการประกอบพิธีกรรมตางๆ ของชาวบานมักจะตองมีการบอกกลาวเจานายทุกครั้ง เชน ขึ้นบานใหม วันสงกรานต วันเขาพรรษา พิธีบุญหลวง พิธีอุปสมบท และพิธีแตงงานเปนตน ซึ่งจะพบวาคนลุมน้ำ

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

140


หมัน เมื่อจะประกอบพิธีกรรมเกี่ยวกับเจานายในแตละครั้ง จะนำเอาความเชื่อทางพระพุทธศาสนาเขามาผสมกับ ความเชื่อเกี่ยวกับวิญญาณบรรพบุรุษเจานายไดอยางกลมกลืน ซึ่งปรากฏในพิธีตางๆ คือ ! การบน (บะ) กอนจะมีการบนทำพิธีทุกครั้งที่มีเจาพอกวน เจาแมนางเทียม เปนผูนำในการประกอบพิธี ตองมีการสวดมนตตามหลักพุทธศาสนาทุกครั้ง กอนจะทำพิธีในลำดับขั้นตอนตอไป เมื่อสัมฤทธิ์ผลก็จะการแกบน (บะ) ในการแกบน เจาพอกวนจะเปนผูนำในการประกอบพิธีกรรม จะมีการสวดมนตตามหลักพุทธศาสนาทุกครั้ง กอนจะทำพิธีอื่นในลำดับตอไป ! นอกจากนี้ยังเห็นไดจากพิธีเลี้ยงวิญญาณเจานาย การเลี้ยงวิญญาณเจานายในบางครั้ง จะมีพระสงฆเขามา รวมพิธีดวย และกอนพิธีเลี้ยงจะมีการเจริญพระพุทธมนตตามหลักพุทธศาสนาเชนเดียวกัน แมกระทั่งในฮีตสิบสอง ซึ่งแสดงใหเห็นถึงการนำความเชื่อทองถิ่นปรับใหเขากับพุทธศาสนา สถานที่ประกอบพิธีกรรม ทำบุญในพระพุทธ ศาสนาของเจาพอกวน เจาแมนางเทียม แสน นางแตง และชาวดานซาย คือ วัดโพนชัย วัดพระธาตุศรีสองรัก วัดโพธิ์ ศรีนาเวียง วัดโพธิ์ศรีบานนาหอ เปนสถานที่จัดงานประเพณีบุญหลวง การละเลน ผีตาโขน เปนตน ! บทบาทเจาพอกวน เจาแมนางเทียม ทางดานศาสนาจึงเปนผูนำชุมชนในการประกอบพิธีกรรมตางๆ คนลุม น้ำหมันเปนผูเลื่อมใสในพุทธศาสนา ทุกครั้งที่มีการประกอบพิธีกรรมบะบนหรือแกบะบน รวมทั้งประกอบ พิธีกรรมตางๆ ซึ่งจะตองมีพิธีกรรมทางศาสนาเขามาเกี่ยวของ พิธีกรรมทางศาสนาเพื่อชวยลดความวิตกกังวลจิตใจ ! นอกจากนี้ยังมีบทบาทตอการรักษาพระธาตุศรีสองรักและสิ่งแวดลอมรอบขาง กลาวคือ เปนการสราง จิตสำนึกและความผูกพัน โดยการอบรมสั่งสอน การสรางเจตคติและขอผูกพันตลอดชีวิตที่จะรักษามรดกทางดาน โบราณสถาน โบราณวัตถุของทองถิ่น สำหรับอนุชนรุนปจจุบันและรุนตอไปในอนาคตใหกับพอแสนและนางแตง และชาวบานใหรูจักและชวยกันดูแลองคพระธาตุและสิ่งแวดลอมรอบขางใหมีสภาพสมบูรณ ! ประการสำคัญ ยังมีบทบาททางดานเศรษฐกิจชุมชน กลาวคือคนลุมน้ำหมันสวนใหญประกอบอาชีพทาง ดานเกษตรกรรม ชาวบานจึงเชื่อวาการที่จะมีผลผลิตอุดมสมบูรณตองมีการบอกกลาวเจานายโดยผานทางเจาพอ กวน เจาแมนางเทียม เพื่อใหเจานายใชอำนาจอิทธิฤทธิ์ของทานดลบันดาลใหไดผลผลิตที่อุดมสมบูรณ ตองเปนไป ตามอำนาจเหนือกวาธรรมชาติเปนผูดลบันดาลใหเปนไป เมื่อถึงฤดูทำนา ทำไร จะมีการประกอบพิธีการเลี้ยง วิญญาณบรรพบุรุษหรือเจานาย เพื่อบอกกลาวตอทานวาจะเริ่มฤดูกาลทำการเกษตรแลว ใหทานชวยดลบันดาลให ฟาฝนตกตามฤดูกาล ใหมีน้ำอุดมสมบูรณพืชพันธุธัญญาหาร ตลอดจนสัตวเลี้ยงตางๆ มีความอุดมสมบูรณ และไมมี อุปสรรคในการปฏิบัติงาน ! แมกระทั่งปจจุบัน มีชาวบานหลายคนเปลี่ยนไปประกอบอาชีพคาขาย รับราชการ รับจางทั่วไป และการนำ เอาสัญลักษณตางๆ ในฮีตครองประเพณี ๑๒ เดือนมาประยุกตใหเกิดรายไดในการประกอบอาชีพ เพื่อใหประสบ ความสำเร็จ ทุกคนในชุมชนเชื่อวา ตองบอกกลาวเจานายโดยติดตอสื่อสารผานตัวแทนเจานาย คือ เจาพอกวน เจา แมนางเทียมทุกครั้งไป ! เชนเดียวกัน หากพิจารณาในดานจิตใจ จะพบวาระบบความเชื่อดังกลาวเปรียบเสมือนจารีตสังคม ใหคนมุง ทำความดี อยาไดประพฤติออกนอกลูนอกทาง เพราะจะทำใหเจานายโกรธและดลบันดาลใหพบกับความวิบัติได ! ดังนั้นจึงไมใชภาพแปลกตาแตประการใด หากจะเห็นคนลุมน้ำหมันนิยมไปกราบไหวบะบนตอเจานายตาม สถานที่สำคัญ คือ เจดียศรีสองรัก หอและหิ้งตางๆ เพื่อขอใหทานไดใชอำนาจของทานในการดลบันดาลใหผูมา ขอบะบน ใหสมหวังในสิ่งที่ตนปรารถนา

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

141


! เชนเดียวกัน หากพิจาณาในแงประวัติศาสตรความเปนมาของคนลุมน้ำหมัน จะพบวาความเชื่อเรื่อง “เจา พอกวน” และ “เจาแมนางเทียม” ยังถือเปนสื่อกลางในการติดตอวิญญาณของบรรพบุรุษของกลุมตนกับโลกมนุษย ปจจุบัน ที่ทำใหเห็นพัฒนาทางประวัติศาสตรสังคมของสยามประเทศกับอาณาจักรลานชาง ! ทั้งนี้พิจารณาไดจากประวัติศาสตรและเรื่องเลาในตำนานการสรางพระธาตุศรีสองรัก ที่มีมาตั้งแตสมัยพระ มหาจักรพรรดิแหงกรุงศรีอยุธยาและพระไชยเชษฐาธิราชแหงกรุงศรีสัตนาคนหุต เมื่อป พ.ศ. ๒๑๐๓ และเชื่อกันวา ทั้งฝายไทยและฝายลาวไดสงอำมาตยราชครูมารวมกันสราง และในระหวางการสรางก็มีเรื่องเลาที่สัมพันธกับการ เกิดระบบความเชื่อ “เจาพอกวนและเจาแมนางเทียม” ที่เปนสื่อกลางเชื่อมโยงวิญญาณผีเจานายกับชาวบาน และ ยึดถือปฏิบัติมาจนกระทั่งปจจุบัน ! ในกรณีดังกลาว จะเห็นไดวามีการนำเหตุการณทางประวัติศาสตรหรือตำนานมาสนับสนุนเพื่อทำให ประเพณี พิธีกรรม ความเชื่อ ยังคงอยู โดยเฉพาะการเนนใหเห็นวาเจานายที่มาทำใหเจาพอกวน เจาแมนางเทียมมี บทบาทเดน ตองการเนนใหเห็นวาเจานายที่คนลุมน้ำหมันใหความเคารพนับถือก็คือ วิญญาณของกษัตริย พระบรม วงศานุวงศ หรือเจานายชั้นสูงที่มีสวนเกี่ยวของในการสรางเจดียศรีสองรัก การประกอบพิธีกรรมที่หิ้งเจาเมืองวัง หิ้งเจาเมืองกลาง หอหลวง หอนอย ตามลำดับ ! สวนขั้นตอนในการประกอบพิธีกรรมตางๆ ดังกลาวยอมสะทอนใหเห็นวาขั้นตอนดังกลาวไดยึดแนวคิด หลักมาจากราชสำนักของเจานาย ดังนั้นในรายละเอียดของทุกๆ พิธีกรรม ลวนมีนัยที่สำคัญทั้งสิ้น ขณะเดียวกัน พิธีกรรมบางอยางยังมีการผสมผสานใหเขากับความเชื่อตามพุทธศาสนา จนกลายเปนสิ่งที่คนลุมน้ำหมันยึดถือและ ปฏิบัติสืบตอกันมาตั้งแตบรรพบุรุษจนกระทั่งถึงปจจุบัน ! ! ระบบความเชื่อเจาพอกวนในพลวัตการเปลี่ยนแปลงทางสังคม พระธาตุศรีสองรัก ตั้งอยูในแองที่ราบกลางหุบเขาในเขตอำเภอดานซาย จังหวัดเลย ไมเพียงแตเปน พุทธสถานศักดิ์สิทธิ์ที่สรางขึ้นเพื่อเปนสักขีพยานแหงการทำสัญญาพระราชไมตรี และเครื่องหมายเขตแดนระหวาง สมเด็จพระมหาจักรพรรดิแหงกรุงศรีอยุธยา และพระเจาไชยเชษฐาธิราชแหงอาณาจักรลานชาง (พ.ศ. ๒๑๐๓) หาก ยังเชื่อมโยงกับโลกทัศนของคนทองถิ่นที่เชื่อวา องคพระธาตุที่เปนที่สิงสถิตวิญญาณผีเจานายและขุนนาง ที่ชาวบาน ใหความเคารพนับถือเปนอยางมาก ในฐานะเปนผูดูแลเมือง และดลบันดาลสิ่งตางๆ ใหเปนไปตามประสงค รวมทั้ง ยังเปนที่พึ่งทางใจเมื่อยามที่เดือดเนื้อรอนใจ โดยมี “เจาพอกวน” ผูทำหนาที่ดูแลองคพระธาตุและเปน “สื่อกลาง” ใน การประกอบพิธีกรรมติดตอกับวิญญาณดังกลาว ! หากทวาในรอบทศวรรษที่ผานมา พิธีกรรม “ชาวบาน” ดังกลาวไดรับผลกระทบอยางตอเนื่องจากพิธีการ ของ “รัฐ” ทั้งในแงของการทาทายพิธีกรรมศักดิ์สิทธิ์และชวงชิงผลประโยชนดานการเงิน ซึ่งไหลบาเขามาพรอมกับ นโยบายสงเสริมใหงานไหวพระธาตุศรีสองรัก เปนประเพณีเชิดหนาชูตาของจังหวัด ทำใหมีผูคนและนักทองเที่ยว เดินทางเขามานมัสการพระธาตุมากขึ้น จนนำไปสูปญหาดานการจัดการตางๆ ตามมา ! ทายสุด (ปจจุบัน) “รัฐ” ไดคิดพิธีการที่จะเปลี่ยนระบบการบริการจัดการแบบเดิมที่มี “เจาพอกวน” เปนผู ดูแลองคพระธาตุ มาอยูภายใตการกำกับดูแลของ “พระภิกษุสงฆ” โดยใช “ระบบวัด” มาบริหารใหเหมือนกับวัด ทั่วๆ ไป ! หากนโยบายดังกลาวถูกนำมาปฏิบัติจริง นับวาสรางความสะเทือนใจใหกับคนทองถิ่นเปนอยางยิ่ง เพราะไม เพียงแตสะทอนภาพพิธีการของ “รัฐ” ที่ไมเขาใจพื้นฐานประวัติศาสตรสังคมและวัฒนธรรมทองถิ่น หากยังเปนการ ทำลายจิตวิญญาณของคนทองถิ่นที่มีตอความเชื่อดั้งเดิมอยางไมไยดี มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

142


ความสัมพันธทางสังคมของคนลุมน้ำหมัน

อาจกลาวไดวาพื้นฐานดั้งเดิมของคนลุมน้ำหมันมีความสัมพันธกันแบบเครือญาติ ระบบอาวุโส มีผูนำทอง ถิ่นเปนของตนเอง อาทิ นายฮอย พระภิกษุ และปราชญชาวบาน เปนตน ขณะเดียวกันก็มีความเชื่อทองถิ่นของ ตนเองเปนจารีตทางสังคม เพื่อใชเปนกลไกควบคุมความสัมพันธทางสังคม กระทั่งหลังการปฏิรูปการปกครอง พ.ศ. ๒๔๔๒ ที่ภาครัฐพยายามรวบรวมอำนาจเขาสูศูนยกลาง ชุมชน ลุมน้ำหมันก็ไดรับผลกระทบเพียงบางมิติ เชน มีการเปลี่ยนผูนำทองถิ่นแบบดั้งเดิมมาเปนผูนำผานระบบรัฐ เกิด ตำแหนงผูนำทางสังคมแบบใหม เชน ผูวาราชการจังหวัด นายอำเภอ หัวหนาหนวยราชการตางๆ กำนัน และผูใหญ บาน เปนตน ในขณะที่สภาพทางเศรษฐกิจและสังคมโดยรวมยังขึ้นอยูกับความสัมพันธแบบเครือญาติและจารีต ประเพณีเปนหลัก ขณะเดียวกันความสัมพันธของคนลุมน้ำหมันกับคนตางถิ่นก็เริ่มชัดเจนมากยิ่งขึ้นในสมัยสงครามโลกครั้ง ที่สอง โดยเฉพาะในแงการคาขาย เริ่มมีคนทองที่อื่น เชน คนเหนือคาผา คนจีนคาขายอาหารและเครื่องใชในชีวิต ประจำวัน และคนเวียดนามขายอาหาร เริ่มเดินทางเขามาทำการคาเล็กๆ นอยๆ และภาพของการคาดูจะชัดเจนและ คึกคักยิ่งขึ้นหลังป พ.ศ. ๒๕๐๐ นับจากเริ่มแผนเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ที่มีการตัดถนนสายสำคัญเขาสู ดานซาย ประกอบกับการเขามาพัฒนาของราชการหนวยตางๆ โดยเฉพาะหนวยทหารที่เขามาปราบปรามผูกอการ รายคอมมิวนิสตในเขตอำเภอนาแหว ดานซาย จังหวัดเลย ยิ่งสงผลใหกลุมคนตางๆ เหลานี้เดินทางเขามาจับจองซื้อ หาและเชาที่ดินคนทองถิ่นในเขตตัวอำเภอดานซาย เพื่อประกอบการคาตามที่ตนเองถนัด ภาพของตลาดดานซายจึงมีสีสันมากยิ่งขึ้นในชวงเวลาดังกลาว แตสิ่งที่นาแปลกใจก็คือ ประการแรก คน ทองถิ่นในลุมน้ำหมันกลับไมนิยมทำการคา เรื่องดังกลาวหลายคนใหเหตุผลวา คุนเคยกับการทำการเกษตร งาน ธุรกิจคาขายไมเคยจับ จึงทำไมได ประการตอมา คนตางถิ่นที่ยายถิ่นฐานเขามาทำการคาสวนใหญเปนผูชาย และการ เดินทางก็ไมไดเปนกลุมกอนที่ใหญโต กลุมหนึ่งอาจเปนแค ๒-๓ คนเทานั้น ดวยเหตุนี้จึงพบวาในแงความสัมพันธของคนตางถิ่นตางเชื้อชาติที่เขามาอาศัยในตลาดดานซาย มักจะไม เกิดปญหากับคนตางถิ่น เนื่องจากกลุมคนเหลานี้คอนขางปรับตัวใหเขากับคนทองถิ่นไดงาย เชน แทบทุกคนมาส รางหลักปกฐานและแตงงานกับคนทองถิ่น จนคนรุนตอมากลายเปนคนทองถิ่นดานซายโดยปริยาย ตัวอยางดังกลาว ยังเห็นไดจากคนตางถิ่นหลายคนก็ยังหันมาใหความสำคัญและเคารพนับถือความเชื่อเรื่อง “ผี” โดยเฉพาะเจาพอกวน เปนตน ! อยางไรก็ดี ชวงที่ชุมชนมีการปรับตัวเปนอยางมาก นาจะนับตั้งแตปลาย พ.ศ. ๒๕๒๐ ตอตน พ.ศ. ๒๕๓๐ อันเนื่องมาจากการพัฒนาโครงสรางของภาครัฐหลายๆ ดาน โดยเฉพาะในเรื่องเศรษฐกิจ ที่ทำใหเศรษฐกิจชุมชน แบบพึ่งตนเองตองไปผูกโยงกับนโยบายหลักของรัฐ ที่เรงสงเสริมใหเกษตรเรงผลิตผลผลิตทางการเกษตร โดยเฉพาะ การปลูกขาวและพืชไร ทำใหคนลุมน้ำหมันจำเปนตองปรับเปลี่ยนวิถีการทำการเกษตรของตนใหทันกับระบบดัง กลาว ! ผลที่ตามมาก็คือชาวบานตองลงทุนในการเกษตรมากกวาเดิม เชน ตองซื้อเมล็ดพันธุจากพอคา ซื้อปุย สาร เคมีตางๆ เพื่อกำจัดแมลงและศัตรูพืช ประการสำคัญ ยังมีการเปลี่ยนมาใชเครื่องทุนแรงทำการเกษตรทดแทนการ “เอาแฮง” หรือใชวัวควายแบบดั้งเดิม สิ่งเหลานี้นี่เองที่ทำใหความสัมพันธของคนลุมน้ำหมันแบบดั้งเดิมเริ่มขาด หายไป เปลี่ยนมาเปนความสัมพันธแบบการรับจางแรงงาน ประการสำคัญยังเกิดความสัมพันธรูปแบบใหมคือ “ลูก หนี้” กับ “เจาหนี้” ทั้งในระบบก็คือธนาคาร (จะเห็นวาในชวงเวลาดังกลาว ธนาคารพาณิชยไดเริ่มเขามากอตั้งใน มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

143


อำเภอดานซายบางแลว) และหนี้นอกระบบก็คือ การกูหนี้ยืมสินจากผูมีฐานะ โดยการใชที่ดินไปจำนอง หรือตอง จายผลผลิตเปนคาตอบแทน เปนตน ! ขณะเดียวกัน ในชวงเวลานี้ระบบการศึกษาไดพัฒนาไปมาก ชาวบานมีการศึกษามากขึ้น ประกอบกับเมื่อ หนทางสะดวก คนจึงเดินทางไปศึกษาในเมืองงาย ไมวาจะเปนเมืองเลย หลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ หรือในเมือง พิษณุโลก จึงทำใหชาวบานหลายคนมีโอกาสประกอบอาชีพหลากหลายมากขึ้น อาทิ รับราชการ รับจาง เปนตน สง ผลทำใหแรงงานสำคัญในภาคเกษตรกรรมแบบดั้งเดิมขาดแคลน ซึ่งเปนอีกหนึ่งปจจัยที่ทำใหความสัมพันธทาง สังคมแบบเครือญาติดั้งเดิมตองปรับเปลี่ยนมาใชแรงงานคาจางเปนสิ่งทดแทน ! อยางไรก็ตาม แมความสัมพันธทางสังคมในปจจุบันจะมีการพัฒนาและปรับเปลี่ยนไปจากเดิมเพียงใด แตใน โลกทัศนทางความเชื่อในเรื่อง “ผี” โดยเฉพาะระบบความเชื่อตอองคพระธาตุศรีสองรักและความเชื่อ “เจาพอกวน” ยังคงสืบเนื่องมาแตอดีตจนกระทั่งปจจุบัน โดยเฉพาะกับคนรุนกอนนั้นเคารพและศรัทธาตอความเชื่อดังกลาวมาก แมในโลกทัศนของคนรุนใหมที่ผานการศึกษาจากระบบรัฐจะมีทีทาปรับเปลี่ยนไปจากเดิม คือเชื่อและศรัทธานอย ลง แตก็ไมมีใครกลาที่จะลบหลู ยกเวนก็เฉพาะการแทรกแซงของหนวยงาน “รัฐ” บางหนวยที่เขาไปสงเสริมรูปแบบ ของงานพิธีกรรมรูปแบบใหม จนทำใหชาวบานหลายคนมองวา ความเชื่อดังกลาวมีจุดประสงคหลักเพื่อ “การคา” ดังที่กลาวมาแลว ! ประเด็นสำคัญอีกอยางหนึ่ง คือทำใหเกิดกลุมผูนำชุมชนแบบใหมรวมกับชุมชนแกปญหาสังคม สูการรวม กลุมแกปญหาดานเศรษฐกิจ เนนการรวมกลุมกิจกรรมหลากหลายมากขึ้น สรางกระบวนการมีสวนรวม จัด สวัสดิการใหกับชุมชน ผูนำโดดเดน ปรับรูปแบบใหมในการบริหารชุมชนในรูป “สภาผูนำชุมชน” จัดเวทีทำแผน แมบทชุมชนพึ่งตนเอง นำไปสูกระบวนการเรียนรูกิจกรรมอื่นๆ ตลอดเวลา พัฒนาเปนศูนยการเรียนรูดาน กระบวนการมีสวนรวมและธุรกิจของชุมชน การไดรับการสนับสนุนจากหนวยงานภายนอก กองทุนเพื่อสังคม / พัฒนาชุมชน V ตัวอยางของการรวมกลุมดังกลาว ยังเห็นไดจากการรวมกลุมทอผาพื้นเมืองบานนาเวียง เพื่อฟนฟูศิลปะและ หัตถกรรมทองถิ่นใหกลับมาเติบโตไดในยุคปจจุบัน และการจัดตั้งโครงการพิพิธภัณฑทองถิ่นวัดศรีภูมิ บานนาหอ เพื่อใชรวบรวมสิ่งของเครื่องใชและของมีคาตางๆ ที่มีมาแตอดีต สิ่งของดังกลาวนั้น เพื่อใหคนรุนหลังไดศึกษาเรื่อง ราวความเปนอยูของบรรพบุรุษในอดีต วาในสมัยกอนบรรพ-บุรุษของพวกเขาวามีที่มาและมีพัฒนาทางสังคม อยางไร ! ตั ว อย า งเหล า นี ้ ถ ื อ เป น ภาพสะท อ นความสั ม พั น ธ หรื อ การรวมกลุ  ม รู ป แบบใหม ข องคนในวั ฒ นธรรมลุมน้ำหมัน ทามกลางกระแสการเปลี่ยนแปลงทางสังคมอยางรุนแรงในยุคปจจุบัน

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

144


บรรณานุกรม หนังสือ งานวิจัย และวิทยานิพนธ กรมศิลปากร. วัฒนธรรม พัฒนาการทางประวัติศาสตร เอกลักษณ และภูมิปญญาจังหวัดเลย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ คุรุสภา. ๒๕๔๒. การทองเที่ยวแหงประเทศไทย. การติดตามรายงานผลโครงการปทองเที่ยวไทย ๒๕๓๐. กรุงเทพฯ: ไมระบุที่พิมพ, ๒๕๓๐ กาญจนา สวนประดิษฐ. ผีตาโขน วิทยานิพนธมหาบัณฑิตวิชาเอกไทยคดีศึกษา (เนนมนุษยศาสตร). มหาวิทยาลัย มหาสารคาม. ๒๕๓๓ การทองเที่ยวแหงประเทศไทย. การติดตามประเมินผลโครงการปทองเที่ยวไทย. ไมระบุโรงพิมพ. ๒๕๓๐. การทองเที่ยวแหงประเทศไทย. สรุปแนวทางพัฒนาการทองเที่ยวในระดับจังหวัด ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. ไมระบุ โรงพิมพ. ๒๕๔๐. พิสิทธิ์ สารวิจิตร และคณะ. รายงานการวิจัยเรื่องการสืบทอดเจตนาความเปนชาติไทยของประชาชนในตำบล นาแหว มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร. ๒๕๒๗. ดอกบัวทอง (นามแฝง). ประวัติปฐมกาลองคเจดียศรีสองรัก. พระนคร: แสงสวางการพิมพ, ๒๕๐๖. ดานซาย, อำเภอ. เอกสารรายงานอำเภอดานซาย. ๒๕๔๓. ตรี อมาตยกุล. “จังหวัดเลย,” ศิลปากร. ปที่ ๑๙ ฉบับที่ ๒, ๒๕๑๘. เติม วิภาคยพจนกิจ.ประวัติศาสตรลาว. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสังคมศาสตรแหงประเทศไทย, ๒๕๓๐. ทวีเกียรติ เจนประจักษ. ขอพิพาทเขตแดนไทย-ลาว. กรุงเทพฯ: โรงพิมพมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, ๒๕๔๐. ธวัช ปุณโณฑก. !ศิลาจารึกอีสาน. กรุงเทพฯ: คุณพินอักษรกิจ, ๒๕๓๐. ปรานี วงษเทศ. สังคมและวัฒนธรรมในอุษาคเนย. กรุงเทพฯ: เรือนแกวการพิมพ, ๒๕๔๓. โยซิยูกิ มาซูฮารา. ประวัติศาสตรเศรษฐกิจของราชอาณาจักรลาวลานชาง สมัยคริสตศตวรรษที่ ๑๔–๑๗ จาก “รัฐ การคาภายในภาคพื้นทวีป” ไปสู “รัฐกึ่งเมืองทา”. กรุงเทพฯ: พิฆเณศ พริ้นติ้งเซ็น-เตอร จำกัด, ๒๕๔๖ ศรีศักร วัลลิโภดม. แองอารยธรรมอีสาน. กรุงเทพฯ: พิฆเณศ พริ้นทติ้ง เซ็นเตอร, ๒๕๓๓. สมชาย พุมสะอาด และประเสริฐ ลีวานันท. ๗๓ จังหวัด. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช, ๒๕๒๙. สนอง อุปลา. พัฒนาการประเพณีผีตาโขน อำเภอดานซาย จังหวัดเลย วิทยานิพนธศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาไทย ศึกษาเพื่อการพัฒนา สำนักบัณฑิตศึกษา สถาบันราชภัฎเลย. ๒๕๔๖. สุจิตต วงษเทศ. เอกสารเรื่องชำระประวัติศาสตรแควนสุโขทัย กรณีเมืองพิษณุโลก. กรุงเทพฯ : ศิลปวัฒนธรรม, ๒๕๔๖. สุดารา สุจฉายา และปาริชาติ เรืองวิเศษ. ! เลย. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพสารคดี, ๒๕๒๘. สัมฤทธิ์ สุภามา. บทบาทเจาพอกวนเจาแมนางเทียมตอชุมชน: กรณีศึกษาอำเภอดานซาย จังหวัดเลย, วิทยานิพนธ ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาไทยศึกษาเพื่อการพัฒนา สำนักงานบัณฑิตศึกษา สถาบันราชภัฎเลย. ๒๕๔๔. สาร สาระทัศนานันท. ตำนานพระธาตุศรีสองรักและประวัติเมืองดานซาย. เลย: รุงแสงธุรกิจการพิมพ, ๒๕๒๘. สาร สาระทัศนานันท. ฮีตสิบสอง. เลย: รวมใจรวมพิมพ, ๒๕๓๐. มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

145


สุทัศนพงษ กุลบุตร. ประเพณี พิธีกรรมที่เกี่ยวกับพระธาตุศรสองรัก อำเภอดานซาย จังหวัดเลย, วิทยานิพนธศิลปศาสตรมหาบัณฑิต วิชาเอกไทยคดีศึกษา (เนนมนุษยศาสตร) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาสารคาม. ๒๕๓๖. หนังสือพิมพ คมชัดลึก. “ทองไปในแดนธรรม” ปที่ ๓ ฉบับที่ ๑๐๕๓ (๒ กันยายน ๒๕๔๗) มติชน. ปที่ ๒๗ ฉบับที่ ๙๖๖๑ (๒๒ สิงหาคม ๒๕๔๗)

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

146


ภาคผนวก ก

แผนที่แสดงที่ตั้งจังหวัดเลย

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

147


แผนที่แสดงอำเภอดานซาย

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

148


ภาคผนวก ข ประวัตินักวิจัยกลุมอำเภอดานซาย หัวหนานักวิจัยสวนทองถิ่น นายแพทยภักดี สืบนุการณ ! อายุ ๔๑ ป ! อาชีพ! รับราชการ ตำแหนงผูอำนวยการโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชดานซาย ! ที่อยู! บานเลขที่ ๓๗๑ หมู ๓ ตำบลดานซาย อำเภอดานซาย จังหวัดเลย นักวิจัยกลุมดานซาย ๑. นายสงเคราะห กาญจนโกมล อายุ ๘๔ ป อาชีพ ! คาขาย สืบเชื้อสายลูกเจาเมืองดานซายในอดีต (พระแกวอาสา) ที่อยู! บานเลขที่ ๖๗ หมู ๑ ตำบลดานซาย อำเภอดานซาย จังหวัดเลย ๒. นายชวลิต พรหมรักษา อายุ ๖๘ ป อาชีพ ! เทศมนตรีเทศบาลตำบลดานซาย,ขาราชการบำนาญแขวงการทางดานซายและประธานสภา วัฒนธรรมอำเภอดานซาย ที่อยู! บานเลขที่ ๑๑ หมู ๒ ตำบลดานซาย อำเภอดานซาย จังหวัดเลย ๓. นายสมเดช สิงหประเสริฐ อายุ ๗๔ ป อาชีพ ! ขาราชการบำนาญ เคยเปนขาราชการครูปฏิบัติงานในทองถิ่นดานซายตั้งแตรับราชการ อยูใน ตระกูลเจาแมนางเทียม ! ที่อยู! บานเลขที่ ๑๒๔ หมู ๒ ตำบลดานซาย อำเภอดานซาย จังหวัดเลย ๔. นายสนั่น สิงหสถิต ! อายุ ๗๐ ป อาชีพ ! ขาราชการบำนาญ เคยเปนขาราชการครูปฏิบัติงานในทองถิ่นดานซายตั้งแตรับราชการ ! ที่อยู! บานเลขที่ ๑๗๘ หมู ๑ ตำบลดานซาย อำเภอดานซาย จังหวัดเลย

!

นักวิจัยกลุมนาเวียง ๑. นางฉวี อรรคสูรย อายุ ๗๙ ป

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

149


! !

อาชีพ ! ขาราชการบำนาญ เคยเปนขาราชการครูปฏิบัติงานในทองถิ่นดานซายตั้งแตรับราชการ ที่อยู! บานเลขที่ ๓๒ หมู ๙ ตำบลดานซาย อำเภอดานซาย จังหวัดเลย ๒. นางประพันธจิต มิ่งแกว อายุ ๔๘ ป อาชีพ ! ผูนำทองถิ่น ผูใหญบานนาเวียง ที่อยู! บานเลขที่ ๖๘ หมู ๑๒ ตำบลดานซาย อำเภอดานซาย จังหวัดเลย ๓. นางละเอียด พันธโสดา อายุ ๔๖ ป อาชีพ ! พนักงานโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชดานซายและอาสาสมัครสาธารณสุขหมูบาน ที่อยู! บานเลขที่ ๗๓ หมู ๑๒ ตำบลดานซาย อำเภอดานซาย จังหวัดเลย

นักวิจัยกลุมนาหอ ! ๑. นายชุบ บูรณวิชิต ! อายุ ๖๙ ป อาชีพ ! ขาราชการบำนาญ เคยเปนขาราชการครูปฏิบัติงานในทองถิ่นดานซายตั้งแตรับราชการ ! ที่อยู! บานเลขที่ ๕๘ หมู ๘ ตำบลนาหอ อำเภอดานซาย จังหวัดเลย ๒. นายศิริพงษ ยศพิมพ อายุ ๕๕ ป อาชีพ ! นายกองคการบริหารสวนตำบลนาหอ อดีตขาราชการครู ที่อยู! บานเลขที่ ๑๕ หมู ๓ ตำบลนาหอ อำเภอดานซาย จังหวัดเลย ๓. นางวิลาวัลย ยศขุน อายุ ๔๗ ป อาชีพ ! แมบาน อดีตผูใหญบานนาหอ ที่อยู! บานเลขที่ ๑๙ หมู ๒ ตำบลนาหอ อำเภอดานซาย จังหวัดเลย ! ๔. นายวัฒนา หอมวุฒิวงษ อายุ ๕๕ ป อาชีพ ! ขาราชการบำนาญ ที่อยู! บานเลขที่ ๗๒ หมู ๘ ตำบลดานซาย อำเภอดานซาย จังหวัดเลย ผูประสานงานโครงการ นายเอกรินทร พึ่งประชา ! อายุ ๓๖ ป ! อาชีพ ! พนักงานในสังกัดทบวงมหาวิทยาลัย ! ที่อยู ! ภาควิชามานุษยวิทยา คณะโบราณคดี พระนคร กรุงเทพฯ ๑๐๒๐๐

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ!์ 4

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น: ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด เ ล ย

150


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.