จดหมายข่าว มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์ ฉบับ ๙๙

Page 1

มู ลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์ Lek-Prapai Viriyahpant Foundation 3);3)$ ;7 , <= 1 >= 1 ?%'้ A $* + <%B)7 C ,.33$ D,7 ; D,8 , 1%3A,8 3 7 1 ?์ / 6E ่ A 67 C ,% /F&G63่ / 6E ่ A 1%3>= 1 ?%'ABD%.%3HI, จดหมายข า วรายสามเดื อ น

ป ท ี ่ ๑๘ ฉบั บ ที ่ ๙๙ กรกฎาคม-กั น ยายน ๒๕๕๖

!"#$"%&!$็( : )%*)+,% -+..#/0$1

AEC สัญญาณวิบัติประชาชาติ หน้า ๑

ฟ  น พลั ง ความสั ม พั น ธ เ ครื อ ญาติ ส ายผู  ด ู แ ลพระเพลา นางเลือดขาวฉบับวัดเขียนบางแกว จากการสร า งประวั ต ิ ศ าสตร แ ห ง ชาติ ส ู  ก ระบวนการ สร า งประวั ต ิ ศ าสตร ท องถิ่น วลัยลักษณ ทรงศิริ หน้า ๗

ศาลเจ า ศรั ท ธาและการเกื ้ อ กู ล ชุ ม ชน อภิญญา นนทนาท หน้า ๑๒

รู  อ ดี ต รู  ป  จ จุ บ ั น รู  พ ิ พ ิ ธ ภั ณ ฑ รูจันเสน เก็ บ ตกสาระการอบรมยุ ว มั ค คุ เ ทศก พ ิ พ ิ ธ ภั ณ ฑ จ ั น เสน รุ  น ๑๗

!"#$"%&!$็(

ธีระวัฒน แสนคำ

)%*)+,% -+..#/0$1

หน้า ๑๔

สรุปบรรยายสาธารณะ สถาปตยกรรมมลายูในทองถิ่นสามจังหวัดชายแดนใต Najib Bin Ahmad หน้า ๑๙

ประชาสัมพันธ

กิจกรรมบรรยายเชิงวิชาการ ของมู ล นิ ธ ิ เล็ ก-ประไพ วิริยะพันธุ เรื่อง ‘SAY FONG CIVILIZATION‘ มรดกประวั ต ิ ศ าสตร แบบอาณานิ ค ม บรรยายโดย วลัยลัก ษณ ทรงศิริ

AEC สัญญาณวิบัติประชาชาติ ! ขาพเจาจำไดวาหลายปที่ผานมามีผูหลักผูใหญในสังคมนำความคิดเชิงวาทกรรมชุดหนึ่ง มาเผยแพรในสังคมเรื่อง รายไดประชาชาติ [Gross Domestic Product : GDP] กับ ความ สุขมวลรวมของประชาชาติ [Gross National Happiness : GNH]

ดีวีดีเสวนาสัญจรคนคอนศตวรรษ หนั ง สื อ ใหม ข องมู ล นิธ ิฯ

5 เนื่องจากสังคมไทยใหความสำคัญกับการเพิ่มรายไดเพื่อความร่ำรวยในทางวัตถุที่ เปนรูปธรรมจนขาดความสุขทางจิตวิญญาณที่เปนนามธรรม อันเปนความสงบสุขที่แทจริง สังคมที่ถูกนำมาอางอิงเปนแบบอยางในชวงเวลานั้นก็คือ ภูฏาน อันเปนประเทศเล็กบนเทือก เขาหิมาลัย ทำใหเกิดการสรางสัมพันธทางการทูตกับภูฏานและมีการนำทัวรนำเที่ยวกันอยาง ครึกโครมของหนวยงานของรัฐและภาคเอกชน และตางกลับมายกยองกลาวขวัญถึงการเปน

!"#$%&'่%)$*+,-.-/+็1-23456 )-3-&467,.8์

:

หน้า ๒๒

หน้า ๒๓-๒๔


2K <K ่ : L

M ;7 ; <K่ N N

! โลกหิมาลัยคือแดนหิมพานตที่หิมะสีขาวเงินยวงปกคลุมครึ่งป และอีกครึ่งปเปนปาเขาสีเขียวสดภายใตทองฟาที่สดใสไรมลทิน จากเมฆและฝน เปนดินแดนกึ่งโลกมนุษยกับสวรรคที่อยูเหนือยอด เขาหิมาลัยขึ้นไป ! ความเปนมนุษยของคนในโลกหิมาลัยไมวาภูฏาน เนปาล ทิเบต และที่อื่นๆ นั้น แลเห็นความสัมพันธระหวางมนุษยและสิ่ง เหนือธรรมชาติอยางชัดเจน ตางกันกับบรรดามนุษยโลกที่อยูใต เขาหิ ม าลั ย ที ่ น ั บ วั น ความสั ม พั น ธ ก ั บ สิ ่ ง เหนื อ ธรรมชาติ แ ละ จักรวาลอยูในสภาพที่เลือนรางทุกวัน โดยเฉพาะมนุษยโลกใน สังคมไทยที่แตกอนเคยโออวดถึงความเปนเมืองพุทธ เปนสยาม เมืองยิ้ม เปนประเทศที่อุดมสมบูรณและมีสันติสุข โดยเฉพาะสุข ทั้งกายและใจ ในมิติของจิตวิญญาณ แตหลังจากไปคบคาสมาคม กับอเมริกา อังกฤษ ฝรั่งเศส ที่เปนอสุรกายของโลก ความเชื่อใน พระศาสนาอันเปนที่มาของศีลธรรม จริยธรรม และความสงบสุข ทั้งกายและใจในจิตวิญญาณก็สลายไปในหมูคนรุนพอแมและลูก หลานที่กลายเปนทาสทางความคิดของบรรดาอสุรกายไป แผนผังจำลอง “โครงสรางทางสังคม” ของคนไทยในยุคนี้ ที่มีชาวบานอยูเปนฐานของประมิด ซึ่งมีโครงสรางของราชการกดทับ และมีระบบแบบเดรัจฉานครอบงำอีกทอดหนึ่ง

! คนไทยทุกวันนี้ถูกความโลภความตองการทางวัตถุ แสวงหา อำนาจและเงินตราจนโงหัวไมขึ้น เกิดความขัดแยงแยงชิงกันจาก ความโลภ โมหะ และราคะที่ทำใหเกิดความโกรธเกลียดถึงขั้นมี การฆาลางทำรายกันแลว ซึ่งก็นับวันจะทวีคูณขึ้นเรื่อยๆ

สังคมที่มีความสุขมวลชนของประชาชาติ ผลที่ตามมาก็คือทำใหมี การติดตอแลกเปลี่ยนกันทางวัฒนธรรม มีทั้งทีมงานทีมวิชาการ จากประเทศไทยไปภูฏานและจากภูฏานมาไทย ไดเรียนรูอะไร หลายอยางระหวางกัน

! จึงดูเปนเรื่องนาขบขันสำหรับขาพเจา ที่เกิดมีผูโหยหาความสุข มวลรวมประชาชาติ [GNH] แบบอยางภูฏานบาง แตแทนที่จะไป เรียนรูจากเขากลับไปเอาคัมภีรของอสุรกายเรื่องประชาธิปไตย สาธารณและเศรษฐกิจทุนนิยมสามานยไปเผยแพร

! ขาพเจาเคยมีโอกาสรวมเดินทางไปแลกเปลี่ยนเรียนรูกับเขา เหมือนกัน จนเกิดพัฒนาความเขาใจไปในเชิงนอกรีตนอกรอยจาก คนอื่นๆ โดยคิดวาบรรดาทานทั้งหลายที่เขาไปภูฏานนั้นยังมองอะไร ที่ยังไมถนัดในเรื่องอะไรคือ ความสุขมวลชนของคนภูฏาน เพราะ ไมคอยไดไปซักถามเรียนรูและสังเกตเห็นอะไรจากการที่เขาไปใน สังคมของคนภูฏาน แตดูยินดีในการเสวนาแลกเปลี่ยนเชิงสั่งสอนให กั บ คนภู ฏ านในเรื ่ อ งเศรษฐกิ จ ทุ น นิ ย มและประชาธิ ป ไตยแบบ อเมริกาที่ทางไทยโอวาเปนเรื่องทันสมัย

! ความสุ ข กายและสุ ข ใจของคนภู ฏ านและคนในโลกหิ ม าลั ย เกิดจากความเชื่อมั่นศรัทธาในพระพุทธศาสนามหายานที่เรียกวา “วัชรยาน” ซึ ่ ง เป น ลั ท ธิ ศ าสนาแบบตั น ตริ ก ที ่ ม องว า มนุ ษ ย จ ะ บรรลุความหลุดพนทางโลกเขาสูนิพพานไดดวยประสบการณใน เรื่องรูป รส กลิ่น เสียง โดยสรางบุคลาธิษฐานใหเกิดตัวตนขึ้นทั้ง ในสิ่งที่เปนความชั่วและความดี เชน ความชั่วจะแลเห็นในรูปของ มารอสุรกาย อมนุษย สัตวราย สวนสิ่งที่เปนความดีงามเปนเทพ เปนพระ และสัญลักษณที่เปนมงคลเปนตน

! ดูไปแลวเคยคิดวาแทนที่จะไปเรียนรูอะไรคือความสุขเพื่อจะ ไดนำมาสรางขึ้นบางในเมืองไทย กลับเปนเรื่องการนำทุกขที่เกิดจาก ประชาธิปไตยสาธารณและทุนสามานยไปสอนเขา

! บนสวรรค ข องคนในโลกหิ ม าลั ย มี พ ระเทพพุ ท ธเจ า หลาย พระองค และพระเทพโพธิสัตวหลายพระองคที่อุบัติมาแตอดีต ปจจุบัน และในอนาคต แตพระเทพโพธิสัตวที่เปนที่กราบไหววิงวอน ของคนทั้งหลายองคสำคัญก็คือ “พระโพธิสัตวอวโลกิเตศวร” เปน พระเทพแหงความกรุณาปรานีที่จะทรงชวยเหลือมนุษยใหหลุดพน ความโลภ กิเลส และตัณหา

! ในความเขาใจของขาพเจา ภูฏานเปนประเทศของผูคนในโลก หิมาลัย [Himalayan world] เปนโลกของผูคนที่ตางทั้งภพภูมิกับ คนไทยและคนอื่นๆ ที่อยูแตเชิงเขาหิมาลัยลงไปถึงจดทะเลจรด มหาสมุทร จากที่ไดเขาไปเห็นและสัมผัส

J

!

คนในโลกหิมาลัยไมวาภูฏานและทิเบตเพรียกหาดวยมนตรา

!"#$%&'่%)$*+,-.-/+็1-23456 )-3-&467,.8์


1 3 1 P % Q $ - 17,&%&, J R R S

“อาการของการเป น ทาสป ญ ญานั ้ น คื อ คิ ด ไม เ ป น สั ง เกตและวิ พ ากษ ว ิ จ ารณ ไ ม เ ป น ท อ งจำตะบั น และเชื ่ อ ตะบั น ลั ก ษณะเช น นี ้ ค รอบคลุ ม ไปถึ ง การศึ ก ษาของเด็ ก และนั ก ศึ ก ษาในโรงเรี ย นและตามมหาวิ ท ยาลั ย ด ว ย หลั ง สงครามโลกครั ้ ง ที ่ ๒ เป น ยุ ค สงครามเย็ น ที ่ โ ลกแบ ง ออกเป น สองค า ย คื อ ค า ยคอมมิ ว นิ ส ต ท ี ่ ร ั ส เซี ย และจี น เป น ผู  น ำ กั บ ค า ยประชาธิ ป ไตยที ่ อ เมริ ก า อั ง กฤษ ฝรั ่ ง เศสเป น ผู  น ำ” และคาถาวา “โอม มณี ปทเม หุม” เพื่อทำใหเกิดสติปญญาที่นำ ไปสูความหลุดพนไดทุกขณะจิต เหตุนี้จึงมีคาถาที่ปรากฏในรูป ของธงมนตร ระฆังมนตร ลอมนตรและจารึกอยูในแทบทุกพื้นที่ ของบานเมือง

มาครั้งความอยากจะมี GNH แบบภูฏานก็กลายเปนลมเปนแลง เพราะไมมีทางจะเกิดขึ้นไดในสังคมทุนนิยมประชาธิปไตยแบบใชเงิน ซื้อเสียงที่สรางความโลภความอยากทางวัตถุอยูตลอดเวลา จึงไม เกิดผลอะไรนอกจากดิ่งลงไปสูหวงแหงความทุกขมวลรวมมากกวา

! เปนมนตราที่ทองบนอยูในทุกขณะจิตที่เวนวางจากการทำ กิจกรรมในชีวิตประจำวัน อยางเชนในยานตลาดและรานคาที่มี การซื้อขาย คนที่เปนพอคาและแมคาจะมีระฆังมนตรขนาดเล็กที่ ถือและแกวงไดเปนประจำ จะแกวงสวดมนตแมแตในขณะขายของ เพื่อใหเกิดแสงสวางแหงความหลุดพน เสมือนมณีเพชรรัตนที่ ทำใหเกิดสภาวะหลุดพนที่เบิกบานไรมลทินเชนดอกบัว

! แตเมื่อเรื่อง GNH หมดไปก็เกิดความหวังใหมขึ้นมาแทนคือ AEC [Asian Economic Community] ซึ่งดูเผินๆ ก็เหมือนกับวา เปนโครงการและกระบวนการที่คิดขึ้นและสรางขึ้นโดยคนในกลุม ประเทศอาเซียน [ASIAN] เพราะมีการรวมคิดรวมประชุมอยู เนืองๆ เชนมีการประชุมสุดยอดอาเซียนระหวางกัน เปนตน

! สำหรับขาพเจาคิดวาคาถา “โอม มณี ปทเม หุม” นี้คือสิ่งที่ให คนสามารถกำหนดปจจุบันอยางมีสติปญญาเพื่อเขาถึงความสุขที่ แทจริง ที่ทำใหเกิดภาพรวมที่วา ความสุขมวลรวมของประชาชาติ [GNH] ! ขาพเจาไมเคยเห็นคนไทยรุนพอแมลูกและหลานในสังคมไทย ปจจุบันเขาใจในสิ่งนี้เลย โดยเฉพาะพวกคนที่ไดรับการอบรมและ ถูกครอบงำดวยระบบเศรษฐกิจ การเมือง จากอสุรกายอเมริกันที่มี อยูทั่วทุกระแหงในวงราชการ การคาธุรกิจ และการศึกษาของ ประเทศ ! ปจจุบันความตองการเรื่องความสุขมวลรวมของประชาชาติดู ซบเซาไป ไมมีใครใครพูดถึง มีแตการสงเสริมใหมีการไปทองเที่ยว ที่ภูฏานแทน ซึ่งก็คงไมมีอะไรดีไปกวาการทองเที่ยวเพื่อบริโภค ความสนุกมากกวาไปเรียนรู แตที่นากลัวก็คืออาจไปแพรความโลภ ความอยากทางวัตถุใหกับรัฐและประชาชนภูฏานเพื่อเชื้อเชิญความ ทุกขมวลรวมประชาชาติ [Gross national suffering] เสียมากกวา

! แตมองใหลึกแลวก็จะเห็นไดวามีมหาอำนาจใหญทางการเมือง และเศรษฐกิจของโลกอยูเบื้องหลัง ดังเห็นไดจากการมีผูนำหรือผู แทนสำคัญเขามารวมประชุมดวยทุกครั้ง ซึ่งหนทางที่จะเขามา ครอบงำไดนั้นก็ตองอาศัยการประชุมแบบจีทูจี คือประชุมกัน ระหวางรัฐบาลกับรัฐบาลในหมูประเทศอาเซียนดวยกัน แตมี ประเทศมหาอำนาจเขามารวมในลักษณะ G+5 หรือ + 6 เปนตน ! ซึ่งเมื่อมีการประชุมกันทุกครั้งแลวก็พอมองเห็นไดวาในทาง เศรษฐกิจและการเมืองประเทศอาเซียนซึ่งไทยเปนสมาชิกหนึ่งนั้น ลวนเปนประเทศสองฝายฟา คืออยูระหวางมหาอำนาจทางตะวันตก ที่มีอเมริกาเปนหัวหอกกับมหาอำนาจตะวันออกที่มีจีนเปนหัวเรือ ใหญ แตในความรูสึกของขาพเจาคิดเฉพาะประเทศไทยวา เปน ประเทศขี้ขาสองฝายฟาที่แยที่สุด เพราะขาดสติ ป ญญาและ ประสบการณในการสรางความรูความเขาใจในการตอสู ตอตาน และตอรอง อันเนื่องมาจากเปนขี้ขาทางปญญาของอสุรกายอเมริกัน มาไมต่ำกวาครึ่งศตวรรษ

! สังคมไทยเปนสังคมที่ปวยมานานแลว มักหาความหลุดพน ใหมๆ ดวยการสรางวาทกรรมอยูเนืองๆ ไมใชมีแตเรื่องการแทน GDP ดวย GNH เพื่อครั้งนี้เทานั้น ครั้งกอนๆ ก็มี เชน เรื่องการ อยากเปนนิกส [Nicks] คือเปนประเทศเศรษฐกิจใหม เปนหนึ่งใน เสือหาตัวของเอเชียตะวันออกเฉียงใต เปนตน

! อาการของการเปนทาสปญญานั้นคือคิดไมเปน สังเกตและ วิพากษวิจารณไมเปน ทองจำตะบัน และเชื่อตะบัน ลักษณะเชนนี้ ครอบคลุมไปถึงการศึกษาของเด็กและนักศึกษาในโรงเรียนและตาม มหาวิทยาลัยดวย หลังสงครามโลกครั้งที่ ๒ เปนยุคสงครามเย็น ที่โลกแบงออกเปนสองคาย คือคายคอมมิวนิสตที่รัสเซียและจีนเปน ผูนำกับคายประชาธิปไตยที่อเมริกา อังกฤษ ฝรั่งเศสเปนผูนำ

! แตผลที่ตามมาของการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อการลงทุนก็ลมจม ทำใหเกิดภาวะฟองสบู ทำใหบรรดาชนชั้นกลางและนายทุนใหญ นอยทั่วประเทศลมจม ลมละลาย และฆาตัวตายกันเปนแถวๆ ไป

! ไทยคือทาสที่ซื่อสัตยและซื่อบื้อของอเมริกันโดยยืนหยัดในการ เปนประเทศประชาธิปไตยแบบมีพรรคการเมืองและรัฐสภาอยาง แข็งขันในโอวาทของอเมริกัน ทั้งๆ ที่เนื้องานในการปฏิบัติคือ

!"#$%&'่%)$*+,-.-/+็1-23456 )-3-&467,.8์

O


2K <K ่ : L

M ;7 ; <K่ N N

เผด็จการมาโดยตลอด เพราะโครงสรางทางการเมืองการปกครอง เปนอำนาจรวมศูนยที่ไมเคยคิดที่จะกระจายลงลางตามอุดมคติของ ประชาธิปไตย 5 แตที่สำคัญเนนระบบการเลือกตั้งที่ฉอฉลที่เปนการซื้อเสียง กันเขามาเปนผูแทนในพรรคการเมือง เปดโอกาสให้พรรคการเมือง ที่มีเสียงขางมากสามารถมีอำนาจในสภาและเขายึดครองอำนาจและ งบประมาณในการปกครองและบริหารไดอยางเต็มที่ เปนสิ่งที่นำมา ซึ่งการทุจริตฉอราษฎรบังหลวงในหมูขาราชการ นักการเมือง พอคา และนักธุรกิจอยางกวางขวาง ! คนเหลานี้ที่มีอำนาจหนาที่เปนคนของรัฐแทบไมมีความคิดอัน ใดในเรื่องผลประโยชนของประเทศชาติและความสงบสุข ความอยูดี กินดีของประชาชน แตตั้งหนาตั้งตาโกงกิน มอมเมา และหลอกลวง ประชาชนในรูปของประชานิยม ในรูปแบบและวิธีการตางๆ นานา ซึ่งเปนวิธีการแบบเดียวกันของทุกพรรคการเมืองที่ผลัดกันเขามามี อำนาจเปนรัฐบาล ! “ประชานิยมคือฉิบหายนิยม” ที่รัฐบาลนำรายไดของประเทศที่ เปนภาษีอากรจากประชาชนมาแจกจายใหกับประชาชนตามทองถิ่น ตางๆ เพื่อการหาเสียง ซื้อเสียงในการเลือกตั้งและในการสรางการ ยอมรับเพื่อความชอบธรรมในการโกงชาติของพรรคการเมืองที่ เปนรัฐบาลที่เปนเผด็จการทางรัฐสภา ทำใหประชาชนที่มีการ ศึ ก ษาน อ ยและตามไมทันรัฐบาล ตามไม ท ั น โลกของทุ น นิ ย ม ชื ่ น ชอบให ก ารสนั บ สนุ น และยอมให ร ั ฐ บาลและนั ก การเมื อ ง สนตะพายเหมือนการลามควายและจูงควาย จึงเกิดปรากฏการณ ของคนเสื้อแดงและโจรเสื้อแดงขึ้น ซึ่งกำลังสรางความพินาศ ฉิบหายใหกับประเทศชาติบานเมืองในขณะนี้อยางสุดๆ ! คนเสื้อแดงกับโจรเสื้อแดงแมจะอยูดวยกัน แตก็ตางกันใน เรื ่ อ งที ่ ว  า คนเสื ้ อ แดงเป น พลเมื อ งที ่ เ กิ ด มาจากประชาชนคน เบื้องลางที่มีการศึกษานอย อันเปนคนสวนใหญของประเทศที่ไดรับ การกดขี่และดูถูกจากบรรดาขุนนางและขาราชการของรัฐรวมศูนย มาเปนเวลาชานาน แตก็ถูกหลอกโดยคนที่เปนโจรเสื้อแดงที่เปนนัก ธุรกิจการเมืองใหมาเปนพวกดวยระบบประชานิยม ที่นอกจากจะ ลงทุนใชเงินแจกแลว ยังหนุนใหมีอำนาจในการขัดขืนและขมขู บรรดาขาราชการและเจาหนาที่ของรัฐในการรักษาความสงบและ ความมีระเบียบและกฎหมายของบานเมือง ! โจรเสื้อแดงกลายเปนคนมีอำนาจแบบถูกกฎหมาย เพราะทำ อะไรก็ไมผิดกฎหมายภายใตรัฐบาลโจรเสื้อแดงที่สามารถควบคุม ตำรวจ อัยการ ทหาร ขาราชการ และนักวิชาการไดอยางเบ็ดเสร็จ จนทำอะไรก็ไดก็ไมผิด ถึงผิดก็ทำใหเปนถูกได ! แตที่เลวรายที่สุดก็คือโจรเสื้อแดงและรัฐบาลเสื้อแดงก็คือ ลิ ่ ว ล อ และขาทาสประเทศมหาอำนาจทางตะวันตกและตะวันออก T

ทุกวันนี้เราอยูใน “มาตุภูม”ิ ซึ่งเปนสวนหนึ่งของ “ชาติภูมิ” และ ชาติภูมิของผูคนทั้งหลายนั้นลวนอยูใน “โลกภูมิ” หากไมสามารถสราง ความสมดุลในระหวางทั้งสามภพภูมิจนมีสวนใดสวนหนึ่งครอบงำ จนสวนอื่นๆ ออนแอ โดยเฉพาะ “มาตุภูม”ิ หรือบานเกิดเมืองนอน ของทุกผูคน สิ่งที่จะตองเผชิญหนาทามกลางความออนแอนั้น คงไมพน “นรกภูม”ิ เปนแน

โดยเฉพาะอเมริกาผูเปนจอมอสุรกายแหงโลก ซึ่งคอยเสริมอำนาจ และการสรางความชอบธรรมในเรื่องทางการเมืองและเศรษฐกิจ ใหแกรัฐบาลทรราชทั้งทางตรงและทางออม จนทำใหกลุมคนรักชาติ และรักความยุติธรรมที่มีกองกำลังไมกลาออกมาตอตานและขับไล ทรราช เพราะกลัวการแทรกแซงมหาอำนาจที่เปนอสุรกายเหลานี้ ! ความชั่ว รา ยของอเมริกัน มหาสกปรกในที่น ี้น ั้น ขา พเจา หมายถึ ง รั ฐ บาลอเมริ ก ั น ที ่ ม ี พ รรคการเมื อ งทั ้ ง เดโมแครตและ ริ พ ั บ ลิ ก ั น ผลั ด กั น เข า มาเป น ใหญ ใ นรั ฐ บาล หาได ห มายถึ ง คนอเมริกันในลักษณะที่เปนปจเจกชนโดยทั่วไปไม่ เพราะคน เหลานี้มีทั้งคนดีคนที่รักความยุติธรรม รักอุดมการณประชาธิปไตย และมีสำนึกในเรื่องมนุษยธรรม ! แตรัฐบาลกลับมีคืออสุรกายสองหนา หนาหนึ่งคือนักบุญที่ รายคาถาเผยแพรความเปนประชาธิปไตยใหเห็นตัวอยางที่ดีของ โลก โดยใชสื่อแทบทุกรูปแบบทั้งทางตรงและทางออมเพื่อสราง ภาพพจน ข องอเมริ ก ั น ที ่ เ ป น เสาหลั ก ของประชาธิ ป ไตยและการ เป น ตำรวจโลก แต อ ี ก หน า หนึ ่ ง คื อ ป ศ าจร า ยทางเศรษฐกิ จ ทุนนิยมเสรีที่หิวโหยและแสวงหาทรัพยากรและแหลงทรัพยากร !"#$%&'่%)$*+,-./- +็1-23456 )-3& - 467,.8 ์


1 3 1 P % Q $ - 17,&%&, J R R S

ของบรรดาประเทศต า งๆ ทั ่ ว โลก โดยเฉพาะประเทศใน ดินแดนตะวันออกกลางที่มีแหลงน้ำมันอุดมสมบูรณ และประเทศ ในกลุมอาเซียนที่ประเทศไทยและประเทศกัมพูชานับเนื่องเปน ประเทศที ่ ม ี ค วามอุ ด มสมบู ร ณ ใ นเรื ่ อ งความหลากหลายทาง ชีวภาพและทรัพยากรทางพลังงาน เปนที่ตองการและแยงชิงของ ประเทศมหาอำนาจทางเศรษฐกิจหลายๆ ประเทศทั้งทางตะวันตก และตะวันออก ! รั ฐ บาลอเมริ ก ั น มี ค วามก า วหน า ล้ ำ หน า มหาอำนาจอื ่ น ๆ ในการเขาไปแทรกแซงและจัดการกับทั้งไทยและเขมรอยางเห็น ไดชัด โดยใชรัฐบาลไทยที่มีสภาวะเปนขี้ขาทางความคิดมาแตสมัย รั ฐ บาลจอมพลสฤษดิ ์ ธนะรั ช ต คื อ ใช ไ ทยเป น ฐานทาง ประชาธิ ป ไตยต อ ต า นฝ า ยคอมมิ ว นิ ส ต แ ละโฆษณาความเชื ่ อ ใน เรื ่ อ งประชาธิ ป ไตยและเศรษฐกิจทุนนิยม โดยสร า งความเป น ประชาธิปไตยแตเปลี่ยนภายนอกเทานั้น หาไดเขาไปสนับสนุนให เกิดความเปนภัยตอสังคมไทยไม ยังคงปลอยใหเปนเผด็จการมา แทบทุกยุคทุกสมัย นับแตเผด็จการทหารมาจนเผด็จการพลเรือน ที ่ เ กิ ด จากนั ก ธุ ร กิ จ การเมื อ งที ่ ข าดคุ ณ ธรรมในความเป น

! ในทุ ก วั น นี ้ ท ุ ก พรรคการเมื อ งแทบไม ม ี ค นที ่ อ ยากมี อ าชี พ เปนนักการเมืองที่เปนนักประชาธิปไตยเลย เพราะไมอาจหาเสียง เลือกตั้งเขามาเปนผูแทนราษฎรได ซึ่งบางครั้งก็มีเล็ดลอดเขามาได ก็เปนแตพรรคเล็กๆ ที่ไมมีเสียงไดในสภา อยูไดขณะหนึ่งก็ถูก ดู ด กลื น เข าพรรคใหญ ที ่ ล วนเป นพรรคของนั กธุ รกิ จการเมื องที ่ มุงหวังเขามาเปนรัฐบาล มีอำนาจรวมศูนยและงบประมาณรวมศูนย ในการจัดการขายทรัพยากรและที่ดินของประเทศเพื่อความมั่งคั่ง และมีอำนาจยศถาบรรดาศักดิ์ของตนเองและพวกพอง เกิดการ คอรรัปชั่น การละเมิดกฎหมาย ละเมิดศีลธรรมและจริยธรรม และ ความรับผิดชอบในการทำใหประชาชนสวนใหญในแผนดินอยูดีกินดี ! ทุกวันนี้รัฐบาลเผด็จการกำลังทำทุกอยางในการขายทรัพยากร และขายประเทศ โดยผูมีอำนาจทางเศรษฐกิจขามชาติในนามของ รัฐบาลประชาธิปไตยที่อเมริกาและมหาอำนาจทางเศรษฐกิจของโลก ยอมรับและคอยปกปอง ! ในสวนประเทศเขมรก็คลายกันกับไทย มีรัฐทรราชฮุนเซ็น มีอำนาจเผด็จการขั้นเด็ดขาด เพราะสามารถกดขี่ประชาชนไวได

อเมริ ก ั น ทำเฉยกั บ การปกครองแบบรวมศู น ย ข องรั ฐ บาลไทยมาโดยตลอด ทั ้ ง ๆ ที ่ เ ป น สิ ่ ง สำคั ญ สำหรั บ การปกครองแบบประชาธิ ป ไตยในประเทศที ่ ม ี ป ระชาชนกว า ๖๐ ล า นคน และให ก ารรั บ รองพรรคการเมื อ งที ่ กว า นซื ้ อ เสี ย ง ชนะการเลื อ กตั ้ ง เข า มาเป น รั ฐ บาลและมี เ สี ย งส ว นใหญ ใ นรั ฐ สภา ให ค วามร ว มมื อ ทางเศรษฐกิ จ ในระบบทุนนิยมเสรี บรรดาพอคานักธุรกิจที่เขามาเปนนักการเมือง นักการเมืองในอุดมคติของประชาธิปไตย แตอาศัยการซื้อเสียง แจกเงิน และหาเสียงจากประชาชนที่ตองการศึกษาและขาดความรู ในเรื่องประชาธิปไตยเขามาเปนผูแทนราษฎรเพื่อโอกาสในการเขา มาเปนรัฐบาลมีอำนาจในการบริหาร และเพื่อมีเสียงในสภาที่มี อำนาจทางนิติบัญญัติ ! อเมริกันทำเฉยกับการปกครองแบบรวมศูนยของรัฐบาลไทย มาโดยตลอด ทั้งๆ ที่เปนสิ่งสำคัญสำหรับการปกครองแบบ ประชาธิปไตยในประเทศที่มีประชาชนกวา ๖๐ ลานคน และใหการ รับรองพรรคการเมือง ที่กวานซื้อเสียง ชนะการเลือกตั้งเขามาเปน รั ฐ บาลและมี เ สี ย งส ว นใหญ ใ นรั ฐ สภา ให ค วามร ว มมื อ ทาง เศรษฐกิจในระบบทุนนิยมเสรี บรรดาพอคานักธุรกิจที่เขามาเปน นั ก การเมื อ งเปลี ่ ย นแปลงโครงสร า งสั ง คมเศรษฐกิ จ ที ่ เ คยเป น เกษตรกรรมแบบชาวนา [Peasant society] มาเปนอุตสาหกรรม ทุนนิยมที่เนนการลงทุนจากทั้งภายนอกและภายใน โดยเฉพาะการ เปดเสรีใหทุนขามชาติและนักธุรกิจขามชาติเขามาลงทุน ยึดครอง ที่ดินและครอบครองการผลิตทั้งสินคาภายในและสินคาสงออก สงรายไดออกไปนอกประเทศ !"#$%&'่%)$*+,-.-/+็1-23456 )-3-&467,.8์

มานานแลว และเมื่อสิ้นสุดของสงครามเวียดนาม ฮุนเซ็นตองการ ประกาศใหทั่วโลกไดรับรูวากำลังเปนประชาธิปไตย ตองการเลือก ตั้ง แตก็ซื้อเสียงและโกยเสียงเลือกตั้งจนพรรคของตนไดเปนรัฐบาล แบบประชาธิปไตยที่มีพรรคการเมืองตามแบบอยางอเมริกัน แตสิ่ง ที่ทั้งไทยและเขมรคลายกันมากและคลายกันอยางสนิทแบบชิดเชื้อก็ คือ ตางก็เปนรัฐบาลโจรเหมือนกันคือ โจรฮุนเซ็นกับโจรเสื้อแดง มีกิจกรรมรวมกันคือการขายประเทศขายทรัพยากรเหมือนกัน รวม ทั้งมีการรวมกันดวยการแตงงานระหวางคนในครอบครัวของโจร ฮุนเซ็นและโจรเสื้อแดง ! ยิ่งกวานั้นตลอดเวลา ๕-๖ ปที่ผานมาก็มีเหตุการณที่ทำให แลเห็นความสัมพันธแบบพึ่งพิงกันระหวางผูนำของโจรทั้งสอง ประเทศนี้บอยๆ เชนหัวหนาโจรไทยที่หนีคุกลี้ภัยอยูนอกประเทศ แอบเขาไปเยี่ยมเยียนและพึ่งพาโจรเขมรอยูบอยครั้ง เพื่อการขยายตัว ในการขายทรัพยากรและขายประเทศรวมกัน ดังเห็นไดจากกรณี การพิ พ าทในเรื ่ อ งเขตแดนที ่ ป ราสาทพระวิ ห ารบนเทื อ กเขา พนมดงเร็กที่มีแนวโนมในการตัดสินขององคกรโลกที่อเมริกันมี สวนอยูเบื้องหลัง อันจะทำใหไมใชเสียเฉพาะในบริเวณปราสาท R


% & M- ;7";' (<K่ ) &N$ %N& 2K!<K"่ #:$ L

*++,

พระวิหาร แตจะกินพื้นที่ตะเข็บชายแดนจากเทือกเขาลงไปสูที่ราบ และทะเลที่อุดมไปดวยทรัพยากร โดยเฉพาะในทะเลอาวไทยที่ บริษัทขุดเจาะน้ำมันของอเมริกันจะไดสัมปทาน ! แตสิ่งที่จะฉิบหายอยางสุดๆ ก็คือ มหาอสุรกายอเมริกัน กับประเทศที่เปนลิ่วลอหนุนใหเกิดภาคีรวมมือกันทางเศรษฐกิจ ระหว า งกลุ  ม ประเทศอาเซี ย นในโครงการที ่ เ รี ย กว า ประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน [AEC] ซึ่งขาพเจาคิดวาเปนหลุมพรางของ อเมริกันและมหาอำนาจขามชาติ เปนการเผยแพรแนวคิดและ ดำเนินการเคลื่อนไหวมาชานาน ที่เห็นชัดก็คือการเขามาเกี่ยวของ ของคนสำคั ญ อเมริ ก ั น ที ่ เ ข า ไปเขมรและมาไทยอยู  บ  อ ยๆ เช น รัฐมนตรีตางประเทศไปเขมร ประธานาธิบดีอเมริกันมาไทย รวมทั้ง การเคลื่อนไหวอยางลับๆ จากเจาหนาที่สถานทูตอเมริกันเขามา พบปะกับพรรคการเมืองโจรที่เปนรัฐบาลบอยๆ โดยเฉพาะบุคคลที่ เปนเอกอัครราชทูตอเมริกันในประเทศไทย ! ทั้งหมดนี้นำไปสูการประชุมเศรษฐกิจอาเซียนที่จัดขึ้นที่ไทย และเขมรดวย ประชุมกันหลายครั้งหลายระดับทั้งในไทยและในเขมร ซึ่งในที่สุดก็เผยรางเปลือยกายของโครงการรวมมือนี้ในรูปของจีทูจี คือระหวางรัฐบาลตอรัฐบาลและมีจีบวกแถมเขามาเปน G+6 บาง G +5 บาง เพราะบรรดาจีบวกเหลานั้นหมายถึงรัฐบาลของมหาอำนาจ ที่อยูนอกกลุมประเทศอาเซียน ไดแก อเมริกา จีน ญี่ปุน เปนตน ! ซึ่งก็สงใหเห็นวาโครงการพัฒนาเศรษฐกิจรวมระหวางกลุม ประเทศอาเซียนนี้ นาจะไมไดทำใหเกิดประโยชนระหวางกันของ คนในสังคมอาเซียนรวมกัน แตนาจะผองถายไปอยูกับนายทุนและ คนรวยในประเทศมหาอำนาจทั้งทางตะวันตกและตะวันออกมากกวา การผนวกเอาจี บ วกทั ้ ง หลายเข า มานี ้ แ หละที ่ ท ำให เ ห็ น ว า เป น โครงการพัฒนาเศรษฐกิจที่อยูระหวางสองฝายฟา ที่มีอเมริกันฟาก หนึ่งและจีนฟากหนึ่งนั่นเอง 5 แตผูคนในประเทศสองฝายฟาที่นาจะย่ำแยกวาคนในประเทศ อื่นในกลุมอาเซียนเดียวกันก็คือ คนไทยตาดำๆ ทั้งประเทศ เพราะ คนในระดับลางทั่วไปที่เปนคนสวนใหญมีความลาหลังทางการ ศึกษา ขาดสติปญญาและความรูที่จะทำใหทันการเปลี่ยนแปลง ทางเศรษฐกิจและสังคม และที่สำคัญก็คือขาดความเชื่อมั่นใน ตนเอง จึงถูกมอมเมาและครอบงำใหคลอยตามและยอมตามความ คิดความเห็นของบรรดาขาราชการ พอคา นายทุน นักวิชาการ นักการเมืองในพรรครัฐบาลที่มีอำนาจอยางศิโรราบ ! รั ฐ บาลเผด็ จ การทรราชของโจรเสื ้ อ แดงคื อ ลู ก กะโล ข อง อเมริกัน โดยมีอเมริกันเปนมาเฟยคุมกันอยูภายนอก จะทำอะไร ก็ได ผิดกฎหมาย ผิดศีลธรรมจริยธรรม และมนุษยธรรมก็ได ลวนมีอำนาจจากภายนอกยอมรับและสรางความชอบธรรมดวยการ ใชสื่อและเอาสื่อเปนเครื่องมือในการสรางการยอมรับและรับรู S

โดยปดปากบรรดาสื่อที่เปนธรรมหมด แตที่สำคัญเปนตัวการ ทำให เ กิ ด ความขั ด แย ง ที ่ ร ุ น แรงขึ ้ น ให ม หาอสุ ร กายเหล า นี ้ แทรกแซงดวยกำลังอาวุธและการฆาฟนดังแบบอยางที่เกิดขึ้นที่ ลิเบีย ซีเรีย อิรัก และอียิปตในขณะนี้ ! ประเทศไทยและคนไทยเปนเหยื่อของการขายทรัพยากร ขาย คน ขายแรงงาน เพื่อประโยชนของนายทุนทั้งในชาติและขามชาติ มากอนหนาที่จะเกิด AEC ในรูปของการสรางระบบคมนาคม ขนสงและเปดพื้นที่การคาเสรีที่เรียกวา East west corridor หรือ โครงการสรางความสัมพันธระหวางเมืองใหญๆ ที่เปนศูนยกลาง เศรษฐกิจของประเทศที่เปนภาคี เชน โครงการหาเชียงระหวางไทย ลาว พมา ในภาคเหนือ และที่สำคัญก็คือการทำใหเกิดโครงสราง พื้นฐานในเรื่องการคมนาคมและการขนสงอยางกวางขวาง ไมวาจะ เปนการสรางถนน ขยายถนน สรางแหลงอุตสาหกรรม โรงไฟฟา ทาอากาศยาน ทาเรือทะเลน้ำลึกที่ลวนกอใหเกิดการซื้อขายเวนคืน ที ่ ด ิ น ที ่ ท ำให เ กิ ด ความเดื อ ดร อ นในชี ว ิ ต วั ฒ นธรรมของคนใน สังคมทองถิ่นทั้งสิ้น ! แต ที ่ ขานรั บ AEC อย างน ากลั วในโครงการขายประเทศ ขายแผนดินของรัฐบาลเผด็จการขี้ขาอเมริกันก็คือ การสรางและ กำหนดผั ง เมื อ งใหม แ ทบทุ ก บ า นเมื อ งของประเทศ โดยเฉพาะ กรุงเทพฯ ธนบุรี เชียงใหม เชียงราย นครราชสีมา ขอนแกน อุดรธานี และอุบลราชธานี เปนตน เปนการกำหนดการเปลี่ยนแปลงจากขาง บน จากแผนที่ภาพถาย โดยไมคำนึงถึงผูคนในสังคมทองถิ่นที่อยูมา แตกอน มีการไลรื้อเวนคืนเพื่อทำถนน ทำศูนยการคา แหลง อุตสาหกรรม เขื่อนพลังงานไฟฟา นิคมอุตสาหกรรมกันอยาง กวางขวาง ซึ่งเมื่อทำเสร็จแลวก็มีคนกลุมใหมเขาครอบครองแทนที่ ซึ่งคนเหลานั้นก็มีคนตางบานตางประเทศที่เปนพอคา นายทุน และคน มีฐานะจากภายนอก รวมทั้งแรงงานฝมือที่มาจากภายนอก สำหรับ คนไทยที่เปนคนภายในที่ปรับตัวไมทัน โดยเฉพาะคนเสื้อแดง รวมทั้ง โจรเสื้อแดงระดับลางดวยก็มีสภาพที่หมดตัวและคอยๆ หมดตัว จนเปนทาสติดที่ดิน แรงงานชั้นเลวของนายทุนจากภายนอกไป ! ในทัศนะนอกรีตของขาพเจาจึงใครสรุปในที่นี้อยางมีอคติ ในฐานะเปนคนไทยที่รักชาติ รักบานเกิดเมืองนอน ! AEC หรือประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนที่เรียกวา รัฐบาลกับ รัฐบาล [G to G] และรัฐบาลผนวกที่มาจากนอกภูมิภาคอาเซียนที่ เรียกวา G+ จะเปน G+4, +5, +6 อะไรทำนองนั้น ลวนเปนการ จั ด การพั ฒ นาเศรษฐกิ จ การเมื อ งในยุ ค โลกาภิ ว ั ต น ท ี ่ ม าจาก มหาอำนาจทางเศรษฐกิจขามชาติของโลกไรพรมแดนที่ใชรัฐบาล เผด็จการของโจรปลนชาติขายแผนดิน ใชอำนาจในการปกครอง และบริหารในระบบการเมืองที่เรียกวาประชาธิปไตยขายเสียงและ ทุนนิยมเดรัจฉาน ทำลายบานเมืองและผูคนใหสิ้นชาติสิ้นแผนดิน อยางที่บรรดาวิญูชนทั้งหลายเห็นกันอยูในทุกวันนี้ !"#$%&'่%)$*+,-./- +็1-23456 )-3& - 467,.8 ์


1 3 1 P % Q $ - 17,&%&, J R R S

Q)%$#+%1#+%&<%B D7BQ$G+4)7C,.33$

ฟนพลังความสัมพันธเครือญาติสายผูดูแล พระเพลานางเลื อ ดขาวฉบับ วั ด เขีย นบางแกว

จากการสร า งประวั ต ิ ศ าสตร แ ห ง ชาติ ส ู  ก ระบวนการ สร า งประวัต ิศาสตรท องถิ่น

-.+2.+,34์ 6%7)#%#

! “เพลานางเลือดขาว” ฉบับวัดเขียนบางแกว ตนฉบับเปน กระดาษเพลาจารหรือเขียนดวยเสนดินสอดำ อักษรไทยยอ ภาษา ไทยจำนวน ๓๐ หนา ๑๗๑ บรรทัด พรรณนาแบบรอยแกว

ในศรัทธาตอพระศาสนาของเธอ เมื่อเดินทางไปที่ใดก็มีเรื่องเลา ติ ด พื ้ น ที ่ ใ นทุ ก แห ง ที ่ น างเลื อ ดขาวเดิ น ทางไปถึ ง และอุ ป ถั ม ภ พระศาสนาและสาธารณูปโภคทองถิ่นในรูปแบบตางๆ!

! สั น นิ ษ ฐานว า น า จะเริ ่ ม บั น ทึ ก เป น ลายลั ก ษณ อ ั ก ษรราว แผนดินสมเด็จพระมหาจักรพรรดิแหงกรุงศรีอยุธยา ซึ่งครองราชยระหวาง พ.ศ. ๒๐๙๑-๒๑๑๑ และคงมีการคัดลอกตอกัน มาอีกหลายฉบับ ตอมา พระครูอินทเมาลีฯ เจาคณะปาแกว หัว เมืองพัทลุงบูรณะ วัดเขียนบางแกว วัดสทัง และวัดสทิงพระ และ สันนิษฐานวาจารเปนฉบับสุดทายเมื่อราว พ.ศ. ๒๒๗๒ ในรัชกาล พระเพทราชา ซึ่งเปนฉบับที่ใชกันอยางแพรหลายในปจจุบัน

! สวนเนื้อหาเปนตำนานพระราชูทิศซึ่งปรากฏวามีหลายฉบับ และหลายสำนวนตามวัดตางๆ โดยที่สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพชี้แจงวา ทานพบตั้งแตเมืองนครศรีธรรมราชจนถึง เมืองพัทลุง และสันนิษฐานวานาจะมีตนแบบที่ไดรับพระราชทาน จากพระเจาแผนดินกรุงศรีอยุธยามาเพียงไมกี่ฉบับ แตมาเขียน คัดลอกเพิ่มขึ้นอีกเปนจำนวนมาก โดยมีเนื้อความเชนเดียวกันคือ เจาอาวาสวัดตางๆ ขอพระราชทานการซ อ มแซมดู แ ลวั ด และ ขาพระโยมสงฆไวแกทองถิ่นนั้นๆ หามไมใหเจาเมืองหรือเจาหนาที่ ตางๆ มาขมเหง หากไมเชื่อฟงก็มีการแชงใหตกนรกอเวจี

! เนื้อหาแบงออกเปนสองตอนคือ เลาเรื่องนางเลือดขาวเรื่อง หนึ่ง และตำนานพระราชูทิศของพระมหากษัตริย การกัลปนาอุทิศ ที่ดิน ไรนา ถวายขาพระโยมสงฆใหเปนประโยชนของวัดอยาง เด็ดขาดเรื่องหนึ่ง ! เนื้อหาหลักของการบอกเลาในตำนานนางเลือดขาวกลาวถึง ศรัทธาในพระพุทธศาสนาของนางเลือดขาวและกุมารผูสามีที่ได สรางกุฏิ วิหาร อุโบสถ พระธรรมศาสนา พระพุทธรูป และพระ มหาธาตุไวตามทองถิ่นตางๆ มากมาย จนเกิดคำร่ำลือถึงความดีงาม

บานของนายคลุมและนางพุม ชูสุวรรณ ครอบครัวผูดูแลพระเพลาและตกเปนสมบัติ ของลูกสาวหนึ่งในแปดของตระกูล ซึ่งอยูอาศัย สืบตอจนถึงเจาของในปจจุบันผูเปนหลานตา และยายทวด

!"#$%&'่%)$*+,-.-/+็1-23456 )-3-&467,.8์

! เมื่อรวบรวมมาไวที่หอพระสมุดวชิรญาณในกรุงเทพมหานคร ตอมาจึงนำเอาตำราพระกัลปนาฉบับตางๆ รวม ๓ ฉบับในจำนวน ทั ้ ง สิ ้ น จากการเก็ บ รวบรวมไว ๑๖ ฉบั บ มารวมพิ ม พ อ ยู  ใ น “ประชุมพระตำราบรมราชูทิศเพื่อกัลปนา” จัดพิมพโดยสำนัก นายกรัฐมนตรี พ.ศ. ๒๕๑๐ ตำราพระกัลปนาเหลานี้ถือเปน เอกสารที่มีการลงตราประทับเพื่อยืนยันเอกสิทธิ์ที่ทองถิ่นตางๆ ไดรับจากการเปน “ขาพระโยมสงฆ” หรือ “ขาโปรดคนทาน-

ริมคลองบางแกวซึ่งแตกอนเปนทาน้ำ ชาวบาน บานพรุเคยใชเปนทาเรือสัญจรไปมา และ สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพเสด็จจาก วัดเขียนบางแกวขึ้นที่ทาน้ำ เพื่อเดินลัดทุง ไปยังบานของนายคลุมและนางพุม ครอบครัวผูดูแลพระเพลา

กลุมเครือญาติที่เปนลูกหลานผูดูแลพระเพลา ในสายของนายแคลว ชูสุวรรณ ผูเปนแพทย ตำบลจองถนนซึ่งยายบานมาอยูกับภรรยาที่ บานทุงแซะ ไมไกลจากบานพรุ บานเดิมของ พอเทาใดนัก และสืบประเพณีสมโภชพระเพลา ตอมาจนสิ้นชีวิต แตไมมีทายาทผูใดสืบประเพณี นี้ตอ เนื่องจากสวนใหญทำอาชีพรับราชการ หรือออกเรือนไปอยูกับสามีที่อื่น

U


2K <K ่ : L

M ;7 ; <K่ N N

ลุกขึ้นสูกับอำนาจของผูนำทองถิ่นที่อาจไมมีความชอบธรรมในยุค สมัยนั้น จนกลายเปนสิ่งเทียบกับของศักดิ์สิทธิ์แสดงถึงการไมตอง สงสวยหรือเสียภาษีใหหลวง จึงตองมีการเก็บรักษาและสืบตอมอบ ตกทอดกันเปนอยางดี 5 ดังนั้นทำใหคนทั่วไปหามนำหนังสือเพลาหรือตราพระราชสาร กัลปนานี้มาอานโดยพลการ ผูที่อานไดคือผูรักษาเพลาเทานั้น โดย มีธรรมเนียมแตดั้งเดิมเลาสืบตอกันมาวา วิธีการอานเพลา ผูอาน ตองนุงขาวหมขาว เปนผูบริสุทธิ์อยูในศีลธรรม กอนอานจะตอง จำลองรูปชางเผือกขึ้นมาแลวใหผูถือเพลานั่งอานเพลาบนหลัง ชาง การเก็บรักษาหนังสือเพลา นิยมเก็บรักษาไวในกระบอก ไมไผขนาดใหญซึ่งสามารถปองกันแมลง ดูแลรักษางาย และ สามารถสะพายติดตัวไดสะดวก และไมไดกลาววามีการเก็บรักษาไว ที่วัดแตประการใด

พระครูกาเดิม ฐานภทฺโท เจาอาวาสวัดเขียนบางแกวในปจจุบัน นำเอกสารหนังสือบุดเขียนดวยสีรง ภาษาไทย เปนคำกลอนนิทาน เรื่องหนึ่ง เก็บรักษาไวในพิพิธภัณฑสถานของวัดเขียนบางแกว ซึ่งเก็บรวบรวมโบราณวัตถุไวจำนวนหนึ่ง

พระกัลปนา” โดยพระมหากษัตริยแหงกรุงศรีอยุธยาพระราชทาน กลุมคนเหลานี้เพื่อดูแลรับใชวัดในทองถิ่นนั้นๆ โดยไมควรมีผูใด แมจะเปนขุนนางหรือเจาเมืองลวงละเมิดถือสิทธิ์เพื่อประโยชนใน ชาวขาพระเปนสวนตนมิได ในเอกสารกลาววา ขาพระกัลปนา หรือ พวกขาโปรดคนทาน เหลานี้ มีระเบียบแปลกอยูอยางหนึ่งก็คือ หาม สมรสและหาม (เปน) มหาดอาษา ซึ่งนาจะเปนการสรางกฎเกณฑ เพื่อใหเปนขอกำหนดชวงเวลาเพียงหนึ่งชั่วคนเพื่อมิใหกลายเปน ชุมชนอิสระ ไมขึ้นแกผูใดหรือเจาเมืองใดๆ จนถึงขั้นลูกหลานจน กลายเปนปญหาแกการปกครองในทองถิ่นนั้นๆ ได ! นั ก วิ ช าการทางประวั ต ิ ศ าสตร แ ละโบราณคดี ห ลายท า น (เชน ศรีศักร วัลลิโภดม, ชุลีพร วิรุฬหะ) สันนิษฐานวาพระตำรา เหลานี้คือพระราชสารตราที่กษัตริยแหงกรุงศรีอยุธยาใหไวแก ชุมชนหนึ่งๆ ที่มีความสำคัญมาก จนสามารถติดตอโดยตรงกับ ราชสำนั ก ที่กรุงศรีอยุธยาโดยผานอำนาจของเจาเมืองที่หัวเมือง พัทลุง และสันนิษฐานวาเปนการสรางชุมชนหนาดานที่อยูในเขต ติดตอกับหัวเมืองมลายูซึ่งมีพระสงฆเปนผูนำอยางเบ็ดเสร็จ เพื่อ ดูแลปกปองตนเองจากการรุกรานของกลุมโจรสลัดมลายู หรือการ L

! ความสำคั ญ ของพระเพลาที ่ ม ี ต  อ ชาวบ า นเมื อ งพั ท ลุ ง นอกเหนือไปจากเรื่องเลาในเวลาตอมาแลวก็มีการบันทึกไวเปน หลั ก ฐานเอกสารการบันทึกเหตุการณเมื่อสมเด็จฯ เจาฟากรม พระยานริศรานุวัดติวงศ ทรงพระนิพนธในจดหมายระยะทางไป ตรวจราชการแหลมมลายู ร.ศ. ๑๒๑ (พ.ศ. ๒๔๔๖) (อางถึงใน หนังสือศิลปากร ๑๗ (๒) : ๒๓-๔๕ กรกฎาคม ๒๕๑๖) กลาววา ชาวบานนับถือหนังสือเพลาวาเปนหนังสือศักดิ์สิทธิ์ สตรีจับตอง ไมได “เพลานาวัดคูหา เปนของเกาไมมีใครกลาอาน เปนแต บูชาไว...ไดยืมยายแกเจาของไปดู ยายแกเปนเมียตาแก ผัวมา ไมรอด ใหลูกชายถือมา ผูหญิงถูกไมได” ! การที ่ ผ ู  ห ญิ ง จั บ ต อ งไม ไ ด น  า จะมี ก ารถื อ กั น เป น ปกติ ว  า ผูหญิงมีรอบเดือนอันเปนสิ่งที่ถือวามีมลทิน ไมสามารถจับตอง สิ่งของหรือพื้นที่ศักดิ์สิทธิ์ได ! เพลานางเลื อ ดขาวจากวั ด เขี ย นบางแก ว ถื อ ว า เป น สำนวน สำคัญ เพราะนำมาจากวัดพระบรมธาตุสำคัญในเขตทะเลสาบ สงขลาและเปนชุมชนดั้งเดิมที่สำคัญมาแตโบราณ เมื่อมีการเขียน พงศาวดาร หัวเมืองตางๆ ทั่วประเทศหลังจากการปฏิรูปการ ปกครองเปนแบบมณฑลเทศาภิบาล ดึงอำนาจเขาสูสวนกลาง อยางเต็มที่แลว สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพไดแนะนำให หลวงศรีวรวัตร (พิณ จันทโรจวงศ) ลูกหลานเจาเมืองพัทลุงใช เพลานางเลือดขาวอางอิง และเขีย นขึ้นใหมเปนพงศาวดารเมื อ ง พัทลุงฉบับ พ.ศ. ๒๔๖๐ โดยใชตนฉบับจากวัดเขียนบางแกว เขียนเปนภาคเมืองพัทลุงยุคดึกดำบรรพ์ ! เมื่อเดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๔๒ สมเด็จพระเจาบรมวงศ เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพไดเสด็จไปราชการหัวเมืองฝาย ใต เมื่อไปถึงวัดเขียนบางแกว อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุงใน ปจจุบัน พระรัตนธัชมุนี พระสงฆผูใหญแหงเมืองนครศรีธรรมราช !"#$%&'่%)$*+,-./- +็1-23456 )-3& - 467,.8 ์


1 3 1 P % Q $ - 17,&%&, J R R S

บันทึกไววา มีเอกสารโบราณที่เขียนไวใน พระเพลาทั้งอักษรไทยโบราณและอักษร เขมรจำนวนมาก และสอบถามเพื่อขอยืม เพื่อใหสมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพทรงตรวจ แตผูดูแลก็ไมอยากใหมา (เรื่องรายงานการจัดการศึกษาและการพระ ศาสนากับกวีนิพนธของทานเจาคุณพระ รัตนธัชมุนี หนังสือในงานพระราชทาน เพลิ ง ศพพระครู ร ั ต นธาตุ ม ุ น ี , ๒๐ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๗๙) ! แตตอมาอีกระยะหนึ่งผูดูแลพระเพลา คงเปลี่ยนใจ เพราะพบวาหลังจากนั้นใน ราวสิบปเมื่อ พ.ศ. ๒๔๕๒ ตนฉบับ พระเพลาฉบับวัดเขียนบางแกวไดมาอยูที่ หอพระสมุดวชิรญาณแลว ในฐานะเปน ของประทานจากสมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ

ภาพบน พระสงฆจากวัดเขียน บางแกว นำโดยทานเจาอาวาส พระครูกาเดิม ฐานภทฺโท ซึ่งมี ศักดิ์เปนอาของคุณพิกุล ไชยชนะ หลานตาทวดของผูดูแล พระเพลา ภาพกลางขวา เครื อ ญาติ ทั้งหมดของสายตระกูลผูดูแล พระเพลาในงานทำบุญสมโภช และเพิ่งไดพบกับ “ตาหลวง ตาเพลา” ในจินตนาการกวา รอยป ซึ่งพบวาเปนเอกสาร สำคั ญ อย า งยิ ่ ง ในหอจดหมายเหตุ แ ห ง ชาติ ความรูสึกตื่นเตนของทุกคนสรางความเขาใจที่ เปลี่ยนแปลงไป เมื่อพบวาสิ่งศักดิ์สิทธิ์ประจำ ตระกูลมีรูปธรรมที่จับตองไดอยางไร

! เมื่อไปตรวจสอบในทองถิ่นใกลเคียง กั บ วั ด เขี ย นบางแก ว ที ่ อ ำเภอเขาไชยสน จังหวัดพัทลุงในปจจุบัน ก็พบวามีการ บอกเลาเรื่อง “ตำราพระเพลา” หรือ “พระเพลา” ซึ ่ ง เชื ่ อ มโยงกั บ ข อ มู ล เหตุ ก ารณ ท ี ่ ม ี ก ารบั น ทึ ก ไว ใ นคราวที ่ สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพเลาวา เสด็จโดยเรือแจวจากวัดเขียนมายังบานของ ผูดูแลพระเพลาที่ “บานพรุ” ริมคลอง บางแกว หางจากวัดเขียนราว ๑-๒ กิโลเมตร ! ชาวบานจำนวนมากยังจำคำบอกเลาของบรรพบุรุษที่เลาถึง ครั้งที่สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพเสด็จขึ้นที่ทาน้ำริม คลองบางแกว แลวเดินขามทุงในระยะไมไกลนักไปที่บานของ “นายคลุมและนางพุม” ที่มีนามสกุลตอมาคือ “ชูสุวรรณ” ผูดูแล พระเพลาวัดเขียนบางแกวและขอตนฉบับพระเพลาฉบับนี้ไปเก็บ รักษาไว ณ หอพระสมุดวชิรญาณในกรุงเทพมหานคร ! แมหลักฐานขอมูลตางๆ จากสวนกลางจะไมมีการกลาวถึง เหตุการณชวงนี้แตอยางใด แตลูกหลานผูดูแลรักษาพระเพลายังเก็บ ภาพสำคัญ ซึ่งคาดวาเปนภาพถายในชวงเวลาที่สมเด็จฯ กรมพระยา ดำรงราชานุภาพเสด็จ ณ บานของนายคลุมและถายภาพเปนที่ระลึก ซึ่งนาจะอัดลางภาพและสงมาใหภายหลังเมื่อราว พ.ศ. ๒๔๔๒ หรือ ประมาณ ๑๑๔ ปมาแลว ตนฉบับภาพถายนั้น ยังคงเก็บรักษาอยู ที่ลูกหลานในตระกูลจนถึงปจจุบัน !"#$%&'่%)$*+,-.-/+็1-23456 )-3-&467,.8์

ภาพลางซาย ภาพถายของนายคลุมและนางพุม ตนตระกูลชูสุวรรณ ผูดูแลพระเพลาที่สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุ ภ าพเสด็ จ ล อ งเรื อ จาก วัดเขียนบางแกวแลวขึ้นที่บานทาพรุ เพื่อไปขอ พระเพลามาเก็บรักษาไวยังพระนคร เปนภาพที่ ลูกหลานไดรับมาและเก็บไวจนปจจุบัน และเผย แพรเมื่อมีการทำบุญครั้งนี้

! เมื่อเราอานจากเอกสารตางๆ คงมองเอกสารฉบับนี้ในฐานะ หลักฐานสำคัญทางประวัติศาสตรของเมืองพัทลุงที่ถูกนำมาใชเปน เอกสารชั้นตนเพื่ออางอิงในการเขียน “พงศาวดารเมือง” หรือการ เขียนประวัติศาสตรสมัยใหมในชวงหลังการปฏิรูปการปกครอง เป น แบบมณฑลเทศาภิ บ าล ซึ ่ ง เป น ช ว งที ่ เ มื อ งไทยก า วเข า สู  การเปนรัฐชาติแบบสมัยใหมอยางเต็มตัว [Modern State] และ การเขียนประวัติศาสตรก็ถือเปนความจำเปนในการสรางชาติหรือ สรางความเปนประเทศในยุคนั้น ! และเราคงไมเขาใจในมิติหนาที่ของพระเพลาหรือพระตำรา ในฐานะของการเปน “สิ่งศักดิ์สิทธิ์” ในครอบครองของผูคน ในตระกูลหนึ่งที่เคยมีหนาที่ดูแลพระเพลาแทนวัดเขียนบางแกวและ ชาวบานในทองถิ่นนั้นทั้งหมด ชาวบานผูดูแลเรียกพระเพลานี้วา “ตาหลวงตาเพลา” !

นายคลุมและนางพุม ซึ่งมีภาพปรากฏเปนหลักฐาน และนาจะ N


2K <K ่ : L

M ;7 ; <K่ N N

ถายในชวงที่มีการขอพระเพลานำไปไวที่หอพระสมุดวชิรญาณ โดย สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพเสด็จลองเรือจากวัดเขียนมา ถึงทาน้ำหนาบาน มีบุตรชายหญิง ๘ คน เปนชาย ๕ คน หญิง ๓ คนตระกูล “ชูสุวรรณ” บานอยูริมคลองบางแกว เรียกวาบานพรุ จะทำพิธีสมโภชเพลาหรือ “สมโภชทวดเพลา” ในวันแรม ๒ ค่ำ เดือน ๖ ของทุกป ! ลูกชายคนโตคือนายแคลว ชูสุวรรณ เปนแพทยตำบลจองถนน เปนหมอแผนโบราณไดวิชาและตำรายามาจากนายคลุมผูพอ และมี ตำรายาที่เรียกวาหนังสือบุดอยูเปนจำนวนมากทั้งภาษาไทยและ ภาษาขอม แตชวงหนึ่งที่ไมมีผูใดสืบทอดเพราะร่ำเรียนวิชาแบบสมัย ใหมกันหมด บางคนมีความเชื่อวาเอาหนังสือบุดไปฝนแลวเอามา พนเปนยาแกหูน้ำหนวก ! หลังจากสมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพนำหนังสือ เพลาจากไป เลากันวานองชายคนสุดทองของนายแคลวเจ็บหนัก

! เมื ่ อ เราอ า นจากเอกสารต า งๆ คงมองเอกสารฉบั บ นี ้ ใ นฐานะ

หลั ก ฐานสำคั ญ ทางประวั ต ิ ศ าสตร ข องเมื อ งพั ท ลุ ง ที ่ ถ ู ก นำมาใช เป น เอกสารชั ้ น ต น เพื ่ อ อ า งอิ ง ในการเขี ย น “พงศาวดารเมื อ ง” หรื อ การเขี ย นประวั ต ิ ศ าสตร ส มั ย ใหม ใ นช ว งหลั ง การปฏิ ร ู ป การ ปกครองเป น แบบมณฑลเทศาภิ บ าล ซึ ่ ง เป น ช ว งที ่ เ มื อ งไทยก า ว เข า สู  ก ารเป น รั ฐ ชาติ แ บบสมั ย ใหม อ ย า งเต็ ม ตั ว [Modern State] และการเขียนประวัติศาสตร ก็ถือเปนความจำเปน ในการ สร า งชาติ ห รื อ สร า งความเป น ประเทศในยุ ค นั ้ น ! และเราคงไม เ ข า ใจในมิ ต ิ ห น า ที ่ ข องพระเพลาหรื อ พระตำราใน ฐานะของการเปน “สิ่งศักดิ์สิทธิ์” ในครอบครองของผูคนใน ตระกู ล หนึ ่ ง ที ่ เ คยมี ห น า ที ่ ด ู แ ลพระเพลาแทนวั ด เขี ย นบางแก ว และ ชาวบ า นในท อ งถิ ่ น นั ้ น ทั ้ ง หมด ชาวบ า นผู  ด ู แ ลเรี ย กพระเพลานี ้ ว  า “ตาหลวงตาเพลา” คนทรงบอกวา ตาหลวงตาเพลาไปอยูกรุงเทพฯ แลวและทางบาน ไมไดทำพิธีตอเนื่อง การเจ็บปวยจึงเปนการเตือนใหทำพิธีกรรม ตอไป ! หลั ง จากนั ้ น นายแคล ว และต อ มาจนถึ ง นายคลุ  ม ยั ง คงทำ พิธีกรรมไหวตาหลวงตาเพลามาโดยตลอด แมตัวจริงจะไมอยูเสีย แลว ใชพระสงฆจากวัดขียนบางแกวอยางนอย ๑ รูป ในจำนวน นิมนต ๕ รูป ซึ่งจะนิมนตวัดอื่นๆ มาสมทบก็ได และเชื่อวาหาก

:V

คนในครอบครัวเจ็บปวยมีทุกขหรือลำบากใจในสิ่งใดก็จะนึกถึงและ บนตาหลวงตาเพลากันเปนประจำ ! เมื่อนายคลุมแตงงานจึงแยกออกมาทำพิธีที่ “บานทุงแซะ” ซึ ่ ง เป น บ า นของภรรยาชื ่ อ นางชุ ม ที ่ อ ยู  ห  า งจากบ า นเดิ ม ไม ไ กล ราว ๒-๓ กิโลเมตร พี่นองของนายคลุมที่เปนหญิงยังอยูที่บานพรุ ชื่อ “นางลอย คชปกษี” เปนแมของ “นางเรือง คชปกษี” ซึ่งปจจุบัน อายุราว ๘๐ ปแลว ก็ยังทำพิธีตอเนื่องที่บานเดิมของนายแคลว และ เพิ่งหยุดทำพิธีไปหลังจากนางลอยเสียชีวิต เมื่อนายคลุมนิมนตพระ มาสวดมนตและทำบุญ ทางบานพรุก็จะทำเพียงตั้งของไหวเทานั้น จะเห็นรูปแบบสิ่งของที่เคยใชดูเปนของดั้งเดิมและเกากวาทางบาน พรุอยางเห็นไดชัด ! นายคลุมและนางชุมมีบุตรชายหญิง ๘ คน เปนชาย ๔ คน หญิง ๔ คน คือ นางคลอง แตงงานกับคนบานทุงแซะแลวยายไปอยู ที่พังงา อายุราว ๘๗ ป มางานบุญแทบทุกครั้ง, นายประจบ อายุ ๘๒ ป เคยรับราชการเปนตำรวจยายไปมาหลายแหงจนเกษียณอายุ ราชการจึงมาอยูกับลูกสาวที่อำเภอเมือง แตก็มางานบุญโดยตลอด, นายจรัญ อายุราว ๘๐ ป ไดภรรยาอยูบานทามะเดื่อ, นางคลี่ เมือง สง (ชูสุวรรณ) อายุ ๗๗ ป อยูที่บานปาโยง เขาชัยสน, นางคลาย เสียชีวิตไปแลว เปนแมของพิกุล ไชยชนะ ผูรื้อฟนประเพณี, นายวัน อายุ ๗๑ ป อยูบานโคกแค, นายอุทัย อายุ ๖๙ ป ออกไปทำงานขาง นอกแลวยายไปอยูที่ระโนด, นางจิต ลูกสาวคนสุดทาย ไมคอยสบาย จึงอาศัยอยูที่บานเดิม พอมาถึงรุนหลานมีจำนวนทั้งหมดขณะนี้ ๓๓ คน ออกไปทำงานตางถิ่นทั้งในเขตใกลเคียง เชน พังงา สงขลา และ พื้นที่หางไกล เชน กรุงเทพฯ เพชรบูรณ และอินเดีย ! หลังจากลูกนายคลุมแยกยายออกไปทำงานหรือแตงงานยัง ตางถิ่น การทำบุญสมโภชตาหลวงตาเพลาของตระกูลก็ดูเหมือน จะขาดชวงหางไป และเมื่อบรรดานองสาวของนายคลุมที่บาน ทาแซะเสียชีวิตไปจนหมดก็ไมมีผูใดทำพิธีหรือสืบทอดประเพณี ตอไปอีก และหยุดทำพิธีกรรมนี้มานานนับสิบป ! จนเมื่อ “พิกุล ไชยชนะ” ลูกสาวของนางคลาย หลานตา ของนายแคลวในภาพถายครั้งสมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ อพยพครอบครัวกลับบานหลังจากไปทำงานที่โรงงานในจังหวัด สมุ ท รปราการ และได ร ั บ การบอกเล า ถึ ง การทำพิ ธ ี ก รรมใน ครอบครัวจากนาสาวที่อยูบานมาตลอดชีวิต เริ่มมีทุนทรัพย มากพอที่จะจัดงานสมโภช ตาหลวงตาเพลา โดยการทำบุญใหญ เชื้อเชิญญาติมิตรจากทุกสายมาพรอมกับการหาหนังตะลุงวงดัง มาเลนตลอดคืน ซึ่งสามารถทำไดเพราะมีทุนชวยเหลือจากกลุม เพื่อนที่ทำงานการเมืองในทองถิ่นสนับสนุนดวย !

!"#$%&'่%)$*+,-.-/+็1-23456 )-3-&467,.8์


1 3 1 P % Q $ - 17,&%&, J R R S

วั น นี ้ แ ม จ ะเป น การเริ ่ ม ต น รื ้ อ ฟ  น พิ ธ ี ก รรมขึ ้ น มาใหม ใ นสายตระกู ล แต ก ็ ถ ื อ เป น หมุ ด หมายที ่ ส ำคั ญ อย า งมาก สำหรั บ เครื อ ญาติ ใ นสายตระกู ล ของผู  น ั บ ถื อ พระเพลาเป น “ตาหลวงตาเพลา” และเป น การแสดงถึ ง การฟ  น พลั ง ของหลั ก ฐานทางประวั ต ิ ศ าสตร ธ รรมดาๆ ชิ ้ น หนึ ่ ง ในหอจดหมายเหตุ แ ห ง ชาติ ให ก ลั บ มามี ค วามหมายต อ ผู  ค น ในชุมชนหนึ่งในฐานะของสิ่งศักดิ์สิทธิ์ประจำตระกูลเชนเดิม แมจะไมไดยอยรอยเกาไปถึงความหมายดั้งเดิมที่มี ฐานะเปนสิ่งแสดงความเปนอิสระ ไมตองเสียภาษี และสงสวยแกเจานายผูปกครองก็ตาม ! การสมโภชตาหลวงตาเพลาอย า งเต็ ม ที ่ ท ั ้ ง การทำบุ ญ นิมนตพระสงฆจากวัดเขียนบางแกวมาในงาน การไหวตาหลวง ตาเพลาและเพิ ่ ม จั ด มหรสพสมโภชตามแบบนิ ย ม ที ่ ส ำคั ญ คื อ สามารถเตรี ย มการบอกข า วแก ส ายเครื อ ญาติ ใ ห ม าทำบุ ญ ร ว ม กันไดอยางสมบูรณเปนครั้งแรก ! จึงเปนการทำพิธีสมโภชพระเพลาที่รื้อฟนความสัมพันธทาง เครือญาติและสืบเรื่องราวของเหลาญาติที่หางหายกันไปนานให แนนแฟนขึ้นอีกครั้งในทามกลางสังคมที่ผูคนตางเคลื่อนไหวไป คนละทิศละทาง

! ! การนำเอาพระเพลาฉบับนางเลือดขาวไปเก็บรักษาไวที่หอพระ สมุดวชิรญาณ และนำไปใชเปนหลักฐานชั้นตนเพื่ออางอิงในการ เขียนประวัติศาสตรเมืองพัทลุงขึ้นใหม เอกสารนี้ถือเปนมรดกทาง ประวัติศาสตรของชาติในยุคนั้น และถูกมองในฐานะเปนบันทึกใน อดี ต ที ่ ม ี ค ุ ณ ค า ต อ การสร า งประวั ต ิ ศ าสตร ช าติ ไ ทยที ่ ก  อ ตั ว และ รวบรวมเอาบ า นเมื อ งต า งๆ อยู  ภ ายใต ป ระเทศสยามหรื อ ประเทศไทย เอกสารนี้จึงไมตางไปจากวัตถุทางประวัติศาสตรชิ้น หนึ่งในเอกสารทางประวัติศาสตรอีกมากมายที่มีอยูในหอพระสมุด หรือหอจดหมายเหตุแหงชาติในทุกวันนี้ ! และนับจากวันที่สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพนำเอา พระตำราหรือพระเพลาออกไปจาก “บานพรุ” ที่ริมคลองบางแกว เมื่อกวา ๑๑๔ ปกอนนั้น ความหมายของพระเพลาในฐานะ “ตา หลวง ตาเพลา” สำหรับชาวบานตระกูลหนึ่งที่วัดเขียนบางแกวก็ หมดลง กลับมีบทบาทเฉพาะเปนหลักฐานทางประวัติศาสตรที่ถูกใช สำหรับการผูกขาดการเปนเจาของอดีตหรือเปนสวนหนึ่งในการ สรางประวัติศาสตรแหงชาติไวแตที่สวนกลางในระยะหนึ่ง กอนจะมี การพิจารณาหลักฐานชิ้นนี้ในแงมุมอื่นๆ ในเวลาตอมา

ของทองถิ่นในฐานะสิ่งของศักดิ์สิทธิ์มีคาที่หายสาบสูญไป และถือ เป น การได ร ั บ รู  ว  า มี เ อกสารตั ว จริ ง อยู  ท ี ่ ไ หน บริ เ วณใดใน กรุงเทพมหานคร เนื้อหาในเอกสารเหลานั้นกลาวถึงสิ่งใด และ ลูกหลานไมวาจะเปนหญิงหรือชายก็สามารถจับตองเอกสารที่เปน สำเนาเหลานั้นอยางตื้นตันใจ เสมือนขาวของที่บรรพบุรุษเคย รักษาไวไดกลับมาสูมืออีกครั้ง ! นอกจากจะฟ  น ความสั ม พั น ธ ใ นหมู  เ ครื อ ญาติ ท ี ่ แ ตกฉานซานเซ็นออกไปตามสภาพสังคมที่เปลี่ยนแปลง จากชุมชนในสังคม ชาวนาเมื่อรอยกวาปที่ผานมา ครอบครัวของผูดูแลพระเพลาตาง แยกยายออกไปตั้งถิ่นฐานอยูในทองถิ่นตางๆ และหากไมมีพิธีกรรม บางอยาง เสนใยในสายสัมพันธที่มีมาแตเดิมคงจะมีอยูเฉพาะ วันทำบุญสารทเดือนสิบและวันสงกรานต เทาที่จะพอมีเวลามา ทำบุญที่บานเกาและพบปะญาติมิตรกันเทานั้น ระบบเครือญาติอัน เปราะบางที ่ ม ี อ ยู  ใ นป จ จุ บ ั น ก็ ค งทำให ล ู ก หลานในรุ  น ต อ ไปไม สามารถเชื่อมโยงถึงกันไดแตอยางใด ! ความหมายของ “ตาหลวงตาเพลา” ที่กลายมาเปนสิ่งของ สัมพันธนับถือเปนหนึ่งเครือญาติหรือยกใหเปนบรรพบุรุษและ เปนสัญลักษณของตระกูล ซึ่งนาจะเปนรูปแบบเดียวกับระบบ ความเชื่อแบบ Totemism ได ก็จะหายสาบสูญไปอยางถาวร ! วันนี้แมจะเปนการเริ่มตนรื้อฟนพิธีกรรมขึ้นมาใหมในสาย ตระกูล แตก็ถือเปนหมุดหมายที่สำคัญอยางมากสำหรับเครือญาติ ในสายตระกูลของผูนับถือพระเพลาเปน ตาหลวงตาเพลา และ เป น การแสดงถึ ง การฟ  น พลั ง ของหลั ก ฐานทางประวั ต ิ ศ าสตร ธรรมดาๆ ชิ ้ น หนึ ่ ง ในหอจดหมายเหตุ แ ห ง ชาติ ใ ห ก ลั บ มามี ความหมายตอผูคนในชุมชนหนึ่งในฐานะของสิ่งศักดิ์สิทธิ์ประจำ ตระกูลเชนเดิม แมจะไมไดยอยรอยเกาไปถึงความหมายดั้งเดิมที่ มีฐานะเปนสิ่งแสดงความเปนอิสระ ไมตองเสียภาษีและสงสวย แกเจานายผูปกครองก็ตาม

! แตวันนี้เมื่อลูกหลานในสายตระกูลผูดูแลพระเพลาคิดฟน พิธีกรรมมาสูการขยายความเขาใจ การตีความใหมใหแกเอกสาร

!"#$%&'่%)$*+,-.-/+็1-23456 )-3-&467,.8์

::


2K <K ่ : L

M ;7 ; <K่ N N

ศาลเจ า ศรั ท ธาและการเกื ้ อ กู ล ชุ ม ชน

634,Q3;7 , <= 1

80#99: ((6์(:6

! ศาลเจ า เป น สั ญ ลั ก ษณ ส ำคั ญ อย า งหนึ ่ ง ของชุ ม ชนชาวจี น เพราะเมื่อชาวจีนเขาไปตั้งถิ่นฐานที่ใด มักมีการสรางศาลเจาขึ้นใน กลุมของตนตามแตจะนับถือแบบใด ซึ่งนอกจากเปนศูนยรวมจิตใจ และเพื่อใหเกิดสิ​ิริมงคลในถิ่นฐานที่อยูแหงใหมแลว ศาลเจายังเปน ที่พบปะสังสรรคและชวยเหลือเกื้อกูลกันของคนในชุมชน ยิ่งไปกวา นั้นองคกรที่เกิดขึ้นจากความศรัทธาในศาลเจาหลายแหงไดพัฒนา ไปสูการทำงานเพื่อสาธารณประโยชนและสังคมภายนอกดวย ! ดังเชนศาลเจาสำคัญ ๓ แหงในยานพลับพลาไชย ใกลสี่แยก แปลงนามซึ่งเปนศาลของชาวจีน ๓ กลุมที่เขามาตั้งถิ่นฐานใน กรุงเทพฯ แมมีแนวทางความเชื่อที่แตกตางกัน แตลวนมีบทบาท เกื้อหนุนชุมชนและสังคมเชนเดียวกัน

ศาลขงจื๊อของชาวจีนกวางตุง ! กลุมชาวจีนกวางตุงที่เขามาตั้งถิ่นฐานในกรุงเทพฯ เริ่มเขามา เปนจำนวนมากในสมัยรัชกาลที่ ๕ ซึ่งชาวกวางตุงที่เขามาสวนหนึ่ง ไดเปดกิจการชางยนตและโรงกลึงในแถบบางรัก อีกจำนวนหนึ่งได ประกอบกิจการคาในยานสำเพ็งและถนนเจริญกรุง ตอมาไดมีการ รวมกลุมของชาวกวางตุงโดยกอตั้ง “บานพักกวองสิว” ขึ้น ซึ่งใน เวลาตอมาคือ “สมาคมกวองสิว” เพื่อชวยเหลือและเปนสวัสดิการ ใหกลุมชาวจีนกวางตุงดวยกัน สถานที่ตั้งของสมาคมกวองสิวอยูที่ ถนนเจริญกรุงใกลสี่แยกแปลงนาม ซึ่งมีศูนยรวมจิตใจเปนศาลเจา กวางตุง และมีโรงพยาบาลกวองสิวมูลนิธิตั้งอยูใกลเคียง ! ศาลเจากวางตุงเปนศาลเกาแกของชาวจีนกวางตุงในกรุงเทพฯ สรางขึ้นตั้งแตสมัยรัชกาลที่ ๕ พรอมกับการเกิดขึ้นของสมาคม กวองสิว ! คุณสมชัย กวางทองพาณิชย ผูสนใจศึกษาประวัติศาสตร ทองถิ่นยานเยาวราชกลาววา ศาลเจากวางตุงเปนศาลที่ตั้งขึ้นตาม ลัทธิขงจื๊อหรือลัทธิหยู ซึ่งเปนลัทธิบัณฑิต คนจีนใหความสำคัญกับ ขงจื ๊ อ ในฐานะบรมครู ผู  ม ุ  ง เน น ในการสั ่ ง สอนเกี ่ ย วกั บ หลั ก จริยธรรมและขอปฏิบัติที่ดีงามในการดำรงชีวิต สมัยกอนบทบาท สำคัญของสถานที่นี้อีกอยางหนึ่งคือการเปนสถานศึกษาดวย ศาลเจาขงจื๊อในยานสำเพ็งเทาที่สำรวจขอมูลมาพบวามีแค ๒ ศาล อีก ที่หนึ่งไดเสียสภาพความเปนศาลเจาไปหมดแลว อีกแหงคือศาลเจา

กวางตุง แต ใ นป จ จุ บ ั น มี ก ารปรั บ เปลี ่ ย นการนั บ ถื อ เทพเจ า ที ่ หลากหลายมากขึ้น ! ปจจุบันภายในศาลยังมีรูปเคารพของปรมาจารยขงจื๊อตั้งเคียง คูอยูกับเทพเจาอื่นๆ เชน เทพเจากวนอู เทพเจาหลูปาน (เทพเกี่ยว กับการกอสราง) และเจาแมกวนอิมที่ถูกอัญเชิญมาประดิษฐานเปน ประธานของศาลเจา

!

นอกจากความสำคัญในฐานะศูนยกลางความศรัทธาของชาว จีนกวางตุงแลว บทบาทที่สำคัญอีกอยางหนึ่งคือการดูแลผูคนใน ชุมชน ดานหนาของศาลเจาเปนที่ตั้งของ โรงพยาบาลกวองสิว มูลนิธิ สถานพยาบาลเกาแกของสมาคมชาวจีนกวางตุง เมื่อเริ่ม แรกเป น เพี ย งหน ว ยแพทย ภ ายในบ า นพั ก กว อ งสิ ว ที ่ ใ ห บ ริ ก าร รักษาโรคโดยไมคิดมูลคา ซึ่งเปนหนึ่งในสวัสดิการสำคัญที่มีใน ระยะแรกคือ การรักษาโรค งานสุสานกวางตุงที่ถนนสีลม และงาน พิทักษหญิงดี เพื่อชวยเหลือหญิงสาวกวางตุงที่ถูกลอลวงมาคา ประเวณีในสมัยนั้น ! ตอมาในป พ.ศ. ๒๔๗๕ ไดยกสถานะขึ้นเปนโรงพยาบาล กวองสิว รับรักษาผูปวยทั่วไปโดยไมแบงเชื้อชาติ ถึงแมวาโรง พยาบาลกวองสิวจะไมใชสถานพยาบาลขนาดใหญมากนัก แตยังคง เปนพึ่งพาของคนในชุมชนรอบๆ มาถึงปจจุบัน โดยเฉพาะกลุม ผูสูงอายุชาวจีนที่เขามาพักรักษาตัวอยูเสมอ

“เซี ย มซี ย า” ศาลเจ า หลี ่ ต ี เ มี ้ ย ว ! จากศาลเจากวางตุงเดินขึ้นมายังแยกแปลงนามกอนไปตาม ถนนพลับพลาไชยไมไกลนัก จะพบกับ ศาลเจาหลี่ตีเมี้ยว ซึ่งเปน ศาลเจาของสมาคมฮากกาแหงประเทศไทย หรือกลุมชาวจีนแคะ ศาลเจาแหงนี้ตั้งขึ้นตามความศรัทธาในลัทธิเตา นับถือเทพเจา เง็กเซียนฮองเต ผูเปนประมุขของเทพเจาบนสวรรค นอกจากนี้แลว ยังมีการผสมผสานความเชื่อแบบพุทธศาสนามหายานดวย ! ศาลเจาหลี่ตีเมี้ยวมีประวัติวาสรางขึ้นเมื่อป พ.ศ. ๒๔๔๕ ตอมาในป พ.ศ. ๒๕๓๑ ไดเกิดเพลิงไหมศาล แตเปลวเพลิงมิได ลุ ก ลามไปยั ง ชุ ม ชนที ่ อ ยู  โ ดยรอบ ชาวบ า นจึ ง เชื ่ อ ว า เพราะสิ ่ ง ศักดิ์สิทธิ์คุมครอง ทางสมาคมฮากกาจึงดำเนินการกอสรางขึ้นใหม จนแลวเสร็จเมื่อป พ.ศ. ๒๕๓๕ !

:J

เอกลักษณที่สำคัญของศาลเจาแหงนี้คือ การเสี่ยงเซียมซียา !"#$%&'่%)$*+,-./- +็1-23456 )-3& - 467,.8 ์


1 3 1 P % Q $ - 17,&%&, J R R S

รูปเคารพไตฮงกง ตั้งเปนประธานของศาลเจาปอเต็กตึ๊ง

ที่ผสานความเชื่อเขากับการบำบัดโรคตามแพทยแผนจีน ลักษณะ ของใบเซียมซีที่ศาลเจาหลี่ตีเมี้ยวนั้น นอกจากเปนการเสี่ยงทายเพื่อ ขอโชคลาภแลว ยังมีใบเซียมซีสำหรับบำบัดโรคตางๆ ไดแก ยาจักษุ รักษาอาการผิดปกติเกี่ยวกับตา ยาภายนอก รักษาอาการผิดปกติ ทางภายนอกหรือผิวหนัง ยารักษากุมาร หรือยาสำหรับเด็ก ยา สำหรับบุรุษ และ ยาสำหรับสตรี สวนใหญเปนยาบำรุงเลือดลม ! ขั้นตอนการเสี่ยงเซียมซียา ทางศาลเจาจะจัดเตรียมกระบอก เซียมซีไว โดยจำแนกตามประเภทไว ไดแก ยาจักษุ รักษาอาการ ผิดปกติเกี่ยวกับตา ยาภายนอก รักษาอาการผิดปกติทางภายนอก หรือผิวหนัง ยารักษากุมาร หรือยาสำหรับเด็ก ยาสำหรับบุรุษ และ ยาสำหรับสตรี ! ผูที่จะเสี่ยงเซียมซีตองเลือกใหตรงกับลักษณะอาการของตน เชน หากผูปวยเปนเด็กใหเลือกยากุมาร แตถาปวยเปนโรคทางตา ผิวหนัง ตองเลือกยารักษาจักษุและยาภายนอกเทานั้น ไมวาจะเปน เพศหรือวัยใดก็ตาม และในกรณีที่ผูปวยเปนเด็กหรือมีอาการเจ็บ ปวยมาก ญาติสามารถมาเปนตัวแทนเสี่ยงเซียมซียาได ! เมื่อเลือกกระบอกเซียมซีแลวจะตองไปจุดธูปบอกอาการตอ เทพเจาและขอพรใหหายจากโรคภัยไขเจ็บ จากนั้นลงมือเขยาเซียมซี จนได ไ ม เ ซี ย มซี ท ี ่ ร ะบุ ห มายเลขไว แล ว จึ ง หยิ บ ใบเซี ย มซี ท ี ่ ม ี หมายเลขตรงกัน ซึ่งในเซียมซีแตละใบจะระบุตำรับยาขนานตางๆ ทั้งชนิดสมุนไพรและกรรมวิธีการปรุงยา ตอจากนั้นจึงนำใบเซียมซี ไปจั ด ยายั ง ห อ งจ า ยยาทางด า นล า งซึ ่ ง จะมี ซ ิ น แสคอยจั ด ยาและ แนะนำวิธีการใชยาแตละขนาน ยาทั้งหมดเปนสมุนไพรจีน สวนใหญ มีสรรพคุณบำรุงรางกายและปรับธาตุตางๆ ในรางกายใหสมดุล เมื่อผูปวยรับยาไปแลวและมีอาการดีขึ้น มักจะกลับมาเซนไหว

!"#$%&'่%)$*+,-.-/+็1-23456 )-3-&467,.8์

หองจัดยาสมุนไพรจีนของศาลเจาหลี่ตีเมี้ยว สำหรับใหบริการผูที่มาเสี่ยงเซียมซียาโดยไมเสียคาใชจาย

ขอบคุณเทพเจา หากยังไมหายดี จะกลับมาเสี่ยงทายอีกครั้งวาจะใช ยาชุดเดิมตอไป หรือตองเปลี่ยนยาชุดใหม ! ถึงแมวาสมุนไพรบางตัวมีราคาสูง แตการมาเสี่ยงเซียมซียา ที่ศาลเจาแหงนี้ไมตองเสียคาใชจายใดๆ เวนแตจะบริจาคตามกำลัง ทรัพยเพื่อสนับสนุนกิจการของศาลเจาตอไป ! จากการสอบถามผูดูแลศาลเจาพบวา แมปจจุบันการเขาถึง บริการทางการแพทยแผนปจจุบันจะแพรหลายมากขึ้น แตเซียมซี ยาที่ศาลเจาหลี่ตีเมี้ยวยังคงมีคนมาใชบริการอยูไมขาด สวนใหญ เปนคนไทยเชื้อสายจีน โดยไมมีการแบงแยกวาเปนคนจีนแคะ กวางตุง ไหหลำ ฮกเกี้ยน หรือแตจิ๋ว สวนใหญผูมาใชบริการเปน กลุมผูสูงอายุและครอบครัวที่เคยใชบริการเซียมซียามาหลายรุน สะทอนใหเห็นถึงสายสัมพันธของคนในชุมชนกับศาลเจาที่ยังไม ลบเลือน ! นอกจากศาลเจาหลี่ตีเมี้ยวที่มีเซียมซียาแลว ยังมีที่วัดมังกรกมลาวาสหรือวัดเลงเนยยี่อีกแหงหนึ่งดวย

“ปอเต็ ก ตึ ๊ ง” จากศาลเจ า สู  ง านสาธารณประโยชน ! ศาลเจาสำคัญอีกแหงหนึ่งบนถนนพลับพลาไชย คือศาลเจา ปอเต็กตึ๊ง ตั้งอยูถัดจากวัดคณิกาผล ศาลแหงนี้เปนศาลของชาวจีน แตจิ๋ว สรางขึ้นตามความเคารพศรัทธาในไตฮงกง พระภิกษุชาวจีน ผูอุทิศตนเพื่อชวยเหลือผูคน ตามประวัติของทานกลาววา ในชวง บั้นปลายชีวิตไดเดินทางไปยังเมืองแตจิ๋ว ประเทศจีน ซึ่งเกิดภัยพิบัติ บอยครั้งและมีผูคนลมตายเปนจำนวนมาก ทานไดชวยเก็บศพไปฝง อยางไมรังเกียจ ทั้งยังชวยรักษาโรคและจัดหาอาหาร สิ่งของจำเปน

:O


2K <K ่ : L

M ;7 ; <K่ N N

ใหผูยากไร ดวยเหตุนี้ทานจึงเปนที่เลื่อมใสศรัทธาในหมูคนจีนแตจิ๋ว อยางมาก ! การสรางศาลเจาแหงนี้เริ่มจากชาวจีนนามวา เบจุนเซียง ได อ ั ญ เชิ ญ รู ป จำลองไต ฮ งกงมาจากเมื อ งแต จ ิ ๋ ว มลฑล กวางตุง ประเทศจีน เพื่อสักการบูชา โดยในขั้นแรกไดนำไป ประดิษฐานไวที่บานในยานวัดเลียบ (วัดราชบูรณะ) ตอมาไดมีผู เลื ่ อ มใสศรั ท ธาพากั น ไปสั ก การบู ช ามากขึ ้ น ทุ ก วั น จึ ง ย า ยไป ประดิษฐานไวขางสมาคมกวองสิว ถนนเจริญกรุง ! เวลาตอมากลุมพอคาคหบดีนำโดยพระอนุวัตรราชนิยม (ฮง เตชะวาณิช หรือ ยี่กอฮง) ไดดำเนินการจัดซื้อที่ดินเพื่อสรางศาล ประดิษฐานรูปจำลองขององคไตฮงกง ณ ถนนพลับพลาไชย ขางวัด คณิกาผล แลวเสร็จเมื่อป พ.ศ. ๒๔๕๓ ซึ่งนอกจากเปนศาลเจายัง เปนสถานที่ดำเนินงานสาธารณกุศลตางๆ มาตั้งแตสมัยเริ่มแรก เชน เก็บศพไมมีญาติ แจกยารักษาโรค และชวยเหลือผูประสบภัยตางๆ ดังมีเรื่องเลาสืบตอกันมาวา ในชวงที่ชาวจีนโพนทะเลเดินทาง เขามายังประเทศไทย “ปอเต็กตึ๊ง” ถือเปนกลุมองคกรแรกๆ ที่ เขาไปชวยเหลือ ซึ่งสอดคลองกับหลักปฏิบัติของทานไตฮงกงที่ มุงชวยเหลือผูยากไร ! ดวยเหตุที่ยึดมั่นในงานสาธารณกุศลมาโดยตลอด ในป พ.ศ. ๒๔๘๐ ไดกอตั้งมูลนิธิชื่อวา “มูลนิธิฮั่วเคี้ยวปอเต็กเซี่ยงตึ๊ง” โดยมี สำนักงานอยูที่ศาลเจาแหงนี้ นอกจากการชวยเหลือผูประสบภัย

!7; 134GD 6- 6 - . W7 H X์ < ้ A BY- ่ ,

ต า งๆ แล ว ยั ง ได ก  อ ตั ้ ง โรงพยาบาลและสถานศึ ก ษาคื อ โรงพยาบาลหัวเฉียวและมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ คำวา “หัวเฉียว” (華僑) เปนภาษาจีน หมายถึง ชาวจีนโพนทะเล ซึ่งสะทอนใหเห็นถึงการไมแบงแยกวาเปนชาวจีนกลุมใด หาก เปนการสรางสำนึกรวมของชาวจีนทั้งหมด ! นอกเหนื อ จากบทบาทของศาลเจ า ในด า นการสาธารณประโยชนแลว การเกิดขึ้นของศาลเจาหลายแหงในยานนี้ไดสง ผลตอวิถีอาชีพของชุมชนโดยรอบ โดยเฉพาะอยางยิ่งคือ ชุมชน เจริญไชย ที่ถูกหอมลอมดวยศาลเจาหลายแหง รวมถึงวัดมังกรกมลาวาส ทำใหในชุมชนมีอาชีพสำคัญคือการผลิตและจำหนาย เครื่องกระดาษสำหรับไหวเจาและใชประกอบพิธีกรรมตางๆ ของ ชาวจีน ! ถึงแมวาปจจุบันความเปลี่ยนแปลงในยานนี้กำลังเกิดขึ้น อันมี สาเหตุมาจากการสรางรถไฟฟาใตดินสายสีน้ำเงินที่พาดผานถนน เจริญกรุง ทวาความสัมพันธระหวางผูคนในชุมชนและศาลเจาเหลา นี้ยังคงดำเนินตอไปอยางเกื้อหนุนซึ่งกันและกัน ขณะเดียวกันยังได สรางสำนึกรวมของชุมชนใหเขมแข็งมากขึ้นดวย อางอิง อูจี้เยียะ, ปนัดดา เลิศล้ำอำไพ (บรรณาธิการแปล). ๖๐ ปโพนทะเล. กรุงเทพฯ : โพสตบุกส, ๒๕๕๓.

รูอดีต รูปจจุบัน รูพิพิธภัณฑ รูจันเสน เก็บ ตกสาระการอบรมยุวมัคคุเ ทศก พิ พ ิ ธ ภั ณ ฑ จ ั น เสน รุ  น ๑๗

;*%&-+<(์ =>(?@ A(่-2-#62C%#,:%-#62:.+2>7D์(?%>-%%?์ 4 -+$E%&C%1;:FG H+7A-+$,@=E7!EI% 1A:-#62:.+21A:HGJ:.7,%4%:I-#62:.+2

5 เมื่อพูดถึง “วัดจันเสน” ในอำเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค ผูคนทั่วไปคงจะนึกถึง “หลวงพอโอด” หรือพระครูนิสัยจริยคุณ อดีตพระเกจิอาจารยรูปสำคัญรูปหนึ่งในลุมแมน้ำเจาพระยาและอดีต เจาอาวาสวัดจันเสน แตถาพูดถึง “พิพิธภัณฑจันเสน” ซึ่งจัดแสดง โบราณวัตถุสมัยกอนประวัติศาสตรจนถึงสมัยทวารวดีที่พบในเขต เมืองโบราณจันเสนและใกลเคียง ผูคนสวนใหญจะนึกถึง “ยุวมัคคุเทศก” ประจำพิพิธภัณฑจันเสนมากกวานึกถึงโบราณวัตถุ ตางๆ และดูเหมือนวา “ยุวมัคคุเทศก” จะเปนเสนหและเอกลักษณ เฉพาะของพิพิธภัณฑจันเสนแหงวัดจันเสนไปแลว :T

!

พิพิธภัณฑจันเสนเกิดขึ้นจากแนวความคิดของหลวงพอโอด อดีตเจาอาวาสวัดจันเสนที่อยากจะเก็บรักษาและจัดแสดงโบราณวัตถุที่พบในเขตชุมชนซึ่งมีญาติโยมนำมาถวาย แตการดำเนินการ กอสรางเพียงแคเริ่มตนทานก็มรณภาพ ! “หลวงพอเจริญ” หรือพระครูนิวิฐธรรมขันธ ผูเปนลูกศิษยและ เจาอาวาสวัดจันเสนตอจากหลวงพอโอดไดสานตอแนวความคิด ทำใหมีการกอสราง “พระมหาธาตุเจดียศรีจันเสน” สำเร็จ พื้นที่ สวนลางของเจดียไดจัดเปนพิพิธภัณฑทองถิ่น โดยความรวมมือของ !"#$%&'่%)$*+,-./- +็1-23456 )-3& - 467,.8 ์


1 3 1 P % Q $ - 17,&%&, J R R S

ยุวมัคคุเทศกพิพิธภัณฑจันเสนที่แบงออกเปนกลุม รวมกันสรุปความรูที่ไดจากการเก็บขอมูลในแตละฐาน เพื่อเตรียมนำเสนอใหผูเขารวมโครงการอบรมไดทราบ

ชุมชน หนวยงานภาครัฐ เอกชน และนักวิชาการจากสถาบันการ ศึกษาตางๆ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีได เสด็จพระราชดำเนินมาเปดพิพิธภัณฑทองถิ่นแหงนี้ดวยพระองคเอง ในป พ.ศ. ๒๕๔๒ ! ยุ ว มั ค คุ เ ทศก พ ิ พ ิ ธ ภั ณ ฑ จ ั น เสนเกิ ด ขึ ้ น จากความร ว มมื อ กันของผูนำชุมชน ครูอาจารยในทองถิ่น โดยการสนับสนุน ส ง เสริ ม ของพระครู น ิ ว ิ ฐ ธรรมขั น ธ เจ า อาวาสวั ด จั น เสนและ องคการบริหารสวนตำบลจันเสน มีการจัดอบรมยุวมัคคุเทศก พิพิธภัณฑจันเสนรุนที่ ๑ ขึ้นในป พ.ศ. ๒๕๔๐ มีเยาวชนและ นั ก เรี ย นในชุ ม ชนที ่ ส นใจและอาสาเปนยุวมัคคุเทศกจำนวนมาก เวลามีนักทองเที่ยวหรือแขกไปใครมาเยี่ยมเยือนพิพิธภัณฑจันเสน ยุวมัคคุเทศกเหลานี้ก็จะทำหนาที่แทนคนในชุมชน ใหการตอนรับ และนำชมพิพิธภัณฑจนทำใหพิพิธภัณฑจันเสนกลายเปนพิพิธภัณฑ ที่มีชีวิต เปนแหลงทองเที่ยวสำคัญของจังหวัดนครสวรรค และมีการ จัดการอบรมยุ ว มั ค คุ เ ทศก อ ย า งต อ เนื ่ อ งเป น ประจำทุ ก ป จ นถึ ง ปจจุบัน ! สำหรับป พ.ศ. ๒๕๕๖ ผูมีสวนเกี่ยวของในการบริหารและ รับผิดชอบพิพิธภัณฑจันเสนไดจัดโครงการอบรมยุวมัคคุเทศก พิพิธภัณฑจันเสน รุนที่ ๑๗ ขึ้น ในวันที่ ๘-๙ มิถุนายน ๒๕๕๖ การอบรมยุวมัคคุเทศกครั้งนี้ ผูเขียนไดมีโอกาสไปรวมกิจกรรม ตลอดโครงการอบรม ทำใหเห็นวิธีการหรือขั้นตอนการอบรม การ ใหความรู การทำกิจกรรม ความรวมมือของชุมชน ความสามารถ ของเยาวชนชุมชนจันเสน และไดรับความรูประสบการณตางๆ มากมาย โดยเฉพาะอยางยิ่งสาระสำคัญของโครงการอบรมจาก “คุ ณ มณี ร ั ต น แก ว ศรี ” เจ า หน า ที ่ ป ระจำพิ พ ิ ธ ภั ณ ฑ จ ั น เสน ผูดำเนินการและประสานงานหลักของโครงการอบรมในครั้งนี้

!"#$%&'่%)$*+,-.-/+็1-23456 )-3-&467,.8์

! คุณมณีรัตน แกวศรี เคยเปนอดีตยุวมัคคุเทศกพิพิธภัณฑ จันเสน รุนที่ ๔ และเคยถวายคำบรรยายแดสมเด็จพระเจาพี่นางเธอ เจาฟากัลยานิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร เมื่อครั้งที่ พระองคเสด็จทอดพระเนตรพิพิธภัณฑ ตลอดระยะเวลาที่ทำหนาที่ ยุวมัคคุเทศก คุณมณีรัตนไดทำหนาที่อยางเต็มที่ เสียสละ และอุทิศ ตัวเพื่อการทำงานในพิพิธภัณฑและชุมชน ทำใหผูหลักผูใหญเห็น ความรูความสามารถและความตั้งใจ จึงสนับสนุนใหเรียนตอระดับ ปริญญาตรีดานประวัติศาสตร โดยองค ก ารบริ ห ารส ว นตำบล จันเสนไดมอบทุนการศึกษาใหตลอดหลักสูตร เมื่อสำเร็จการ ศึกษาแลวจะตองมาทำงานเปนเจาหนาที่ประจำพิพิธภัณฑจันเสน คุณมณีรัตนจึงเลือกสอบคัดเลือกเขาศึกษาที่สาขาวิชาประวัติศาสตร คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร ในปการศึกษา ๒๕๕๑ และไดเขารวมเปนสมาชิกกลุมประวัติศาสตรสองขางทางที่ผูเขียน กอตั้งขึ้น ทำใหผูเขียนคุนเคยกับคุณมณีรัตนเปนอยางดีทั้งใน ฐานะนิสิตรุนนองและเพื่อนรวมงาน ! ปจจุบันคุณมณีรัตนสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีแลว และ ทำงานเป น เจ า หน า ที ่ ป ระจำพิ พ ิ ธ ภั ณ ฑ จ ั น เสนในสั ง กั ด องค ก าร บริหารสวนตำบลจันเสน ! “รูอดีต รูปจจุบัน รูพิพิธภัณฑ รูจันเสน” แมจะเปนคำที่ผูเขียน คิดขึ้นมา ไมใชคำพูดโดยตรงจากคุณมณีรัตน แตทั้งสี่คำก็มาจาก สาระสำคัญของโครงการอบรมยุวมัคคุเทศกพิพิธภัณฑจันเสน รุนที่ ๑๗ ซึ่งคุณมณีรัตนและคณะกรรมการพิพิธภัณฑจันเสนไดจัด กิจกรรมขึ้น ซึ่งผูเขียนรับรูและเขาใจไดไมยากจากการที่ไดรวม กิจกรรม ! “รูอดีต” คือการเปนยุวมัคคุเทศกพิพิธภัณฑจันเสนจะตอง มี ค วามรู  ค วามเข า ใจเกี ่ ย วกั บ พั ฒ นาการทางประวั ต ิ ศ าสตร ข อง :R


2K <K ่ : L

M ;7 ; <K่ N N

เมืองโบราณจันเสน รูเรื่องราวและพัฒนาการในอดีตของชุมชนบาน จันเสน เพราะเรื่องราวในอดีตของจันเสนเปนปจจัยสำคัญที่ทำให เกิดพิพิธภัณฑจันเสนและตอยอดเปนงานพัฒนาในแบบตางๆ ! “รูปจจุบัน” คือการเปนยุวมัคคุเทศกพิพิธภัณฑจันเสนจะตอง มีความรูความเขาใจเกี่ยวกับสถานการณบานเมืองโดยรวม และ สภาพการณตางๆ ที่เกิดขึ้นในชุมชนจันเสนในปจจุบัน ศึกษา ทำความเขาใจแนวคิด วิธีการ และความตองการของนักทองเที่ยว กลุมตางๆ ที่เดินทางมาเยี่ยมชมพิพิธภัณฑจันเสน มีความรูรอบตัว และมีไหวพริบปฏิภาณในการตอบคำถามและแกปญหาเฉพาะหนา ไดอยางเหมาะสม ! “รูพิพิธภัณฑ” คือการเปนยุวมัคคุเทศกพิพิธภัณฑจันเสนจะ ตองมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับพิพิธภัณฑจันเสนในทุกๆ ดาน ตั้งแตแนวคิดและวิธีการกอสราง รูปแบบการจัดแสดง ขอมูลทาง ประวัติศาสตรและโบราณคดีที่เกี่ยวของกับโบราณวัตถุที่จัดแสดง รูปแบบวิธีการนำเสนอขอมูล ตลอดจนผูมีพระคุณที่สนับสนุนให เกิดพิพิธภัณฑจันเสน ! “รูจันเสน” คือการเปนยุวมัคคุเทศกพิพิธภัณฑจันเสนจะตองมี ความรูความเขาใจเกี่ยวกับเรื่องราวหรือขอมูลพื้นฐานตางๆ ของ ชุมชนจันเสน ทั้งขอมูลเกี่ยวของกับผูนำชุมชน บุคคลสำคัญ กลุม อาชีพตางๆ ขอมูลเกี่ยวกับวัดจันเสน ประวัติและเรื่องราวที่ เกี่ยวของกับหลวงพอโอดและหลวงพอเจริญ สิ่งกอสรางที่สำคัญใน ชุมชน ตลอดจนเรื่องราวอื่นๆ ที่เกี่ยวของกับชุมชนจันเสน ซึ่ง ยุวมัคคุเทศกจะตองตระหนักในใจวาไมมีใครรูเรื่องชุมชนจันเสน มากกวาเรา ! กิจกรรมในโครงการอบรมยุวมัคคุเทศกครั้งนี้จึงสอดคลอง กับสาระสำคัญขางตน เริ่มตั้งแตพิธีเปดโครงการในเชาวันที่ ๘ มิถุนายน ซึ่งมีหลวงพอพระครูนิวิฐธรรมขันธเปนประธานในพิธีเปด บรรยายและใหโอวาทแกผูรวมโครงการ หลวงพอไดเลาถึงความ เปนมาของการขุดคนศึกษาทางโบราณคดีที่เมืองโบราณจันเสนของ นักวิชาการตางๆ และความเปนมาของพิพิธภัณฑจันเสน จากนั้นผู อำนวยการโรงเรียนจันเสนเอ็งสุวรรณอนุสรณก็กลาวชื่นชมและให กำลังใจยุวมัคคุเทศก ตามดวยนายกองคการบริหารสวนตำบล จันเสนที่กลาวชื่นชม ใหกำลังใจ และพรอมที่จะสนับสนุนการ ทำงานตางๆ ของยุวมัคคุเทศกอยางเต็มที่ กอนที่จะพักรับประทาน อาหารวาง ! หลังพักรับประทานอาหารวาง กอนเขาสูการบรรยายภาคความ รูก็มีกิจกรรมนันทนาการที่ทำใหยุวมัคคุเทศกผูเขาอบรมสนุกสนาน อารมณแจมใส พรอมที่จะรับฟงการบรรยายใหขอมูลจากวิทยากร ทองถิ่น นั่นก็คือ “คุณลุงประสิทธิ์ โตวิวัฒน” ผูที่มีสวนสำคัญใน การกอสรางพระมหาธาตุเจดียศรีจันเสนและพิพิธภัณฑจันเสน :S

คุณลุงประสิทธิ์ไดเลาถึงประสบการณในฐานะเปนผูประสานงานกับ อาจารยวนิดา พึ่งสุนทร ในการออกแบบพระมหาธาตุเจดีย เปนผู ชวยควบคุมดูแลการกอสราง และบอกเลาเกร็ดความรูตางๆ ที่ เกี่ยวของกับการกอสรางพระมหาธาตุเจดียศรีจันเสนและพิพิธภัณฑ จันเสนใหยุวมัคคุเทศกทราบ เพื่อจะไดสามารถใหขอมูลความรูและ ตอบคำถามนักทองเที่ยวได ! ในระหวางที่คุณลุงประสิทธิ์กำลังบรรยายใกลจะจบก็มีคณะ ศึกษาดูงานจากสำนักงานคณะกรรมการเสริมสรางเอกลักษณของ ชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี เดินทางมาเยี่ยมชมผลงานการออกแบบ สถาปตยกรรมของอาจารยวนิดา พึ่งสุนทร ศิลปนแหงชาติพอดี ซึ่ง ในคณะศึกษาดูงานมี “อาจารยวิษณุ เอมประณีต” แหงพิพิธภัณฑ หุนผึ้งไทย จังหวัดนครปฐมรวมอยูดวย หลังจากคุณลุงประสิทธิ์ บรรยายจบ คณะผูจัดโครงการอบรมก็ไดขออนุญาตและเรียนเชิญ อาจารยวิษณุบรรยายใหความรูแกยุวมัคคุเทศก เพื่อเปนแนวทางใน การทำงานและเปนยุวมัคคุเทศกที่ดีของพิพิธภัณฑจันเสนและเปน เยาวชนที่ดีของชุมชน ซึ่งอาจารยวิษณุไดใหแนวทางโดยสรุปแก ยุวมัคคุเทศกที่รวมอบรมวา ๑) ตองเปนผูมีความรูจริง หมั่นศึกษา หาความรูเพิ่มเติม ๒) ตองเปนผูที่รักเพื่อนมนุษย มีอัธยาศัยไมตรีที่ ดี และ ๓) ตองเปนผูที่รักจันเสน รักและศรัทธาในทองถิ่นของตน ! บายโมงก็เขาสูกิจกรรมการอบรมอีกครั้ง เริ่มดวยกิจกรรม นันทนาการ จากนั้นก็มีการแบงกลุมยุวมัคคุเทศกเปน ๕ กลุม เพื่อทำกิจกรรมและศึกษาขอมูลตามแหลงเรียนรูตางๆ ในชุมชน จำนวน ๕ ฐานดวยกัน 5 ฐานที่ ๑ อยูบริเวณโคกจันเสนหรือพื้นที่กลางตัวเมืองโบราณ จันเสน ศึกษาสืบคนขอมูลจากผูสูงอายุในบริเวณนั้นเกี่ยวกับการขุด หาโบราณวัตถุของชาวบาน โบราณวัตถุตางๆ ที่ขุดได ตลอดจน ขอมูลเกี่ยวกับภูมินามที่มาของชื่อบานจันเสนวานาจะมาจากชื่อของ ตนจันที่มีขึ้นอยูมากมายในเขตตัวเมืองโบราณจันเสน ! ฐานที่ ๒ อยูบริเวณศูนยสตรีทอผาชุมชนจันเสน ซึ่งตั้งอยูใน บริเวณวัดจันเสน โดยมีประธานศูนยสตรีทอผาชุมชนจันเสนไดเลา ขอมูลเกี่ยวกับการกอตั้งศูนยสตรีทอผาดวยกี่กระตุก โดยการ สงเสริมของหลวงพอพระครูนิวิฐธรรมขันธ มีการพัฒนาฝมือและ ประดิษฐลายผาใหเปนเอกลักษณโดยเฉพาะ “ผาลายปลาเสือตอ” ที่ ประดิษฐขึ้นเมื่อป พ.ศ. ๒๕๔๔ จนไดรับรางวัลชนะเลิศในการ ประกวดลวดลายผาทอ และไดรับคัดเลือกใหเปนผาทอเอกลักษณ ของจังหวัดนครสวรรคดวย ! ฐานที่ ๓ อยูบริเวณพระอุโบสถวัดจันเสน ซึ่งมีพระภิกษุได เลาขอมูลเกี่ยวกับประวัติวัดจันเสนตั้งแตแรกกอตั้งจนถึงปจจุบันซึ่ง วัดจันเสนมีอายุ ๑๑๐ ป ประวัติของหลวงพอโอดหรือพระครูนิสัยจริยคุณ อดีตเจาอาวาสผูเปนศูนยรวมศรัทธาของชาวจันเสน และ !"#$%&'่%)$*+,-.-/+็1-23456 )-3-&467,.8์


1 3 1 P % Q $ - 17,&%&, J R R S

พระครูน ิ ว ิฐ ธรรมขั นธ เจ า อาวาสวั ด จั น เสนถ า ยภาพร ว มกั บ ยุ ว มั ค คุ เ ทศก ท ี ่ เ ข า ร ว มโครงการอบรมยุ ว มั ค คุ เ ทศก พิ พ ิ ธ ภั ณฑ จั นเสน รุ  น ที ่ ๑๗

เปนที่เคารพสักการะของชาวจันเสน ! ฐานที่ ๔ อยูบริเวณศาลาทาน้ำบึงจันเสน เพื่อศึกษาและ สัมภาษณขอมูลจากผูสูงอายุในบริเวณนั้น ทำใหไดขอมูลเกี่ยวกับ สภาพบึงจันเสนในอดีตเมื่อประมาณ ๕๐ ปที่ผานมา วาในบึงเต็ม ไปดวยกอบัว น้ำใสมาก ในชวงวันลอยกระทงก็จะมีการทำความ สะอาดบึ ง เป น ประจำทุ ก ป และมี ง านลอยกระทงเที ่ ย งคื น ชาวชุมชนจันเสนไดใชน้ำจากบึงจันเสนในการอุปโภคบริโภค บางป ก็มีชาวบานในชุมชนใกลเคียงมาตักน้ำจากบึงจันเสนไปอุปโภค บริโภคเชนเดียวกัน จนทำใหเกิดอาชีพรับจางหาบน้ำและเข็นน้ำไป ขาย คุณลุงเคยมีอาชีพรับจางหาบน้ำจากบึงจันเสนไปขายโดยเริ่ม ตั้งแตราคาหาบละ ๒ สลึง จนเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ถึงหาบละ ๑๐ สลึงจึง เลิกทำ แตภายหลังก็มีการใชโองในการรองน้ำไวใช มีระบบประปา และคลองชลประทาน ทำใหไมจำเปนตองใชน้ำในบึงจันเสนแลว การสรางคลองชลประทานยังสงผลใหน้ำในบึงจันเสนเนาเสียดวย เพราะในฤดู น ้ ำ หลากไม ม ี น ้ ำ ไหลถ า ยเทเข า ออกในบึ ง จั น เสน เหมือนแตกอน ! ฐานที่ ๕ อยูบริเวณตลาดจันเสนหรือบริเวณตลาดศาลเจา หลังสถานีรถไฟจันเสน ซึ่งผูสูงอายุหลายคนในตลาดไดเลาขอมูล เกี ่ ย วกั บ สภาพของตลาดจั น เสนหลั ง สถานี ร ถไฟจั น เสนในอดี ต เมื่อราว ๕๐ ที่ผานมาใหฟงวาตลาดมีสินคามากมาย ตั้งแตพืชผัก อาหารสด อาหารแหง ตลอดจนสินคาโชหวยทั่วไป ชาวบานใน ชุมชนใกลเคียงตางก็มาซื้อสินคาที่ตลาดจันเสนอยางคึกคัก มีชาว จี น เข า มาตั ้ ง ร า นขายสิ น ค า มี โ รงสี ข นาดใหญ มี ช าวบ า นนำ ขาวเปลือกมาขายจำนวนมาก เมื่อขายขาวเสร็จก็มักจะมาซื้อของที่ ตลาดจันเสนติดมือกลับบานเสมอ ภายหลังเมื่อมีการพัฒนาถนน !"#$%&'่%)$*+,-.-/+็1-23456 )-3-&467,.8์

ที่เขามาสูชุมชนจันเสนดีขึ้น ชาวบานสวนใหญก็ไปซื้อของที่อื่น การ คาขาวของโรงสีก็ซบเซาลงจนเลิกกิจการไปในที่สุด ! เวลาประมาณบาย ๓ โมง ยุวมัคคุเทศกจากทุกฐานก็กลับมา รวมกันที่อาคารอบรม สรุปขอมูลที่ไดลงบนแผนกระดาษแลวนำ เสนอขอมูลที่แตละกลุมไดรับใหยุวมัคคุเทศกกลุมอื่นๆ ไดฟง ซึ่ง แต ล ะกลุ  ม ก็ ไ ด บ อกเล า ข อ มู ล ที ่ ไ ด ร ั บ มาอย า งสนุ ก สนานและมี ความภาคภูมิใจที่ไดรับรูขอมูลที่เกี่ยวของกับชุมชนของตนเอง ! จากนั้นก็เขาสูการปดโครงการอบรมยุวมัคคุเทศกพิพิธภัณฑ จันเสน รุนที่ ๑๗ โดยมีหลวงพอพระครูนิวิฐธรรมขันธเปนประธาน ในการมอบเกี ย รติ บ ั ต รแก ผ ู  เ ข า ร ว มโครงการและกล า วพิ ธ ี ป  ด โครงการในภาคของการอบรมใหความรู หลวงพอกลาวขอบใจผูมี สวนเกี่ยวของกับการจัดโครงการอบรม ทั้งผูใหการสนับสนุน ผูจัด โครงการ วิทยากร และยุวมัคคุเทศกทุกคน และอวยพรใหการเดิน ทางไปศึกษาดูงานเปนไปโดยสวัสดิภาพ ซึ่งปนี้จัดไปศึกษาดูงานที่ จังหวัดราชบุรี ! เชาตรูวันที่ ๙ มิถุนายน คณะผูเขารวมโครงการอบรม ยุวมัคคุเทศกไดออกเดินทางไปยังจังหวัดราชบุรี โดยมีผูเขียนซึ่ง เปนอาจารยจากหนวยวิทยบริการวิทยาลัยสงฆนครสวรรค ณ วัด พระบรมธาตุ จังหวัดกำแพงเพชร มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิ ท ยาลั ย และ คุ ณ กฤชกร กอกเผื อ ก นิ ส ิ ต ภาควิ ช า ประวัติศาสตร คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร ในชมรม ประวั ต ิ ศ าสตร ส องข า งทางทำหน า ที ่ เ ป น มั ค คุ เ ทศก สลั บ กั บ บรรยายใหความรูและสรางเสียงหัวเราะใหกับยุวมัคคุเทศกและ ผูเขารวมโครงการ

:U


2K <K ่ : L

M ;7 ; <K่ N N

ประสบการณที่ผูเขียนไดรับจากการที่มีโอกาสไปรวมกิจกรรมตลอดโครงการอบรม ทำใหเห็นความเปนอันหนึ่ง อั น เดี ย วกั น ของคนในชุ ม ชนจั น เสน ความเคารพศรั ท ธาของชาวบ า นที ่ ม ี ต  อ หลวงพ อ โอดและหลวงพ อ เจริ ญ ความตั ้ ง ใจจริ ง ของผู  จ ั ด โครงการ เป น ความตั ้ ง ใจ ความภาคภู ม ิ ใ จ และแววตาที ่ ม ี ค วามสุ ข ของยุ ว มั ค คุ เ ทศก พิ พ ิ ธ ภั ณ ฑ จ ั น เสน ไม น  า เชื ่ อ ว า ขนาดผู  เ ขี ย นซึ ่ ง ไปคนต า งถิ ่ น เมื ่ อ ได ม ี โ อกาสมาสั ม ผั ส กิ จ กรรมของชาวจั น เสน เพียงสองวันก็รูสึกมีความศรัทธา ความสุข และภาคภูมิใจกับชาวจันเสน ! สถานที่แรกที่ไปศึกษาดูงานคือตลาดน้ำดำเนินสะดวกเพื่อเก็บ ขอมูลมาใชในการจัดทำตลาดนัดชุมชนขึ้นภายในวัดจันเสนซึ่งกำลัง มีการดำเนินการอยู จากนั้นก็ไปศึกษารูปแบบการบรรยายนำชม ของเจาหนาที่นำชมมืออาชีพและการจัดแสดงหุนขี้ผึ้งที่อุทยานหุน ขี้ผึ้งสยาม ซึ่งยุวมัคคุเทศกไดรับความรูและใหความสนใจเปนอยาง มาก จากนั้นก็เดินทางไปที่พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ ราชบุรี เพื่อศึกษาโบราณวัตถุตางๆ ในพิพิธภัณฑ โดยเฉพาะอยางยิ่ง โบราณวัตถุศิลปะสมัยทวารวดีที่มีความคลายคลึงและรวมสมัย เดียวกันกับโบราณวัตถุที่จัดแสดงในพิพิธภัณฑจันเสน 5 เนื่องจากในพื้นที่จังหวัดราชบุรีมีรองรอยชุมชนโบราณสมัย ทวารวดีอยูหลายแหง โดยเฉพาะอยางยิ่งเมืองโบราณคูบัว เพื่อให ยุ ว มั ค คุ เ ทศก ไ ด เ ข า ใจถึ ง ลั ก ษณะของโบราณวั ต ถุ ท ี ่ จ ั ด แสดงใน พิพิธภัณฑจันเสนมากยิ่งขึ้น 5 จากนั ้ น ก็ เ ดิ น ทางกลั บ จั ง หวั ด นครสวรรค โ ดยสวั ส ดิ ภ าพ ซึ่งถือวาเปนการสิ้นสุดโครงการอบรมยุวมัคคุเทศกพิพิธภัณฑ จันเสน รุนที่ ๑๗ และเปนการเริ่มตนทำหนาที่ของยุวมัคคุเทศก ใหมที่พึ่งจะเขารับการอบรมเปนครั้งแรกอยางเปนทางการ ! ความพยายามจัดการอบรมยุวมัคคุเทศกอยางตอเนื่องเปน ประจำทุกป ทำใหเกิดยุวมัคคุเทศกพิพิธภัณฑจันเสนเปนรุนๆ

การปฏิบัติหนาที่นำชมพิพิธภัณฑก็จะมีรุนพี่ๆ คอยถายทอด ประสบการณและแนะนำรุนนองในการปฏิบัติงานและปฏิบัติตัว ซึ่ง ต า งไปจากหลายๆ ชุ ม ชนหรื อ พิ พ ิ ธ ภั ณ ฑ ท ี ่ ม ี ก ารจั ด อบรม ยุวมัคคุเทศกเปนครั้งคราว ไมมีความตอเนื่อง การจัดอบรมทุกป เชนนี้ก็ทำใหเยาวชนในชุมชนไดรับการกระตุนโดยตลอด ! ทำให ม ี ค วามตื ่ น ตั ว สนใจที ่ จ ะเข า ร ว มการอบรมเพื ่ อ เป น ยุวมัคคุเทศกอยางตอเนื่องเปนลำดับ ! ประสบการณที่ผูเขียนไดรับจากการที่มีโอกาสไปรวมกิจกรรม ตลอดโครงการอบรม ทำใหเห็นความเปนอันหนึ่งอันเดียวกันของ คนในชุมชนจันเสน ความเคารพศรัทธาของชาวบานที่มีตอหลวงพอ โอดและหลวงพอเจริญ ความตั้งใจจริงของผูจัดโครงการ เปนความ ตั้งใจ ความภาคภูมิใจ และแววตาที่มีความสุขของยุวมัคคุเทศก พิพิธภัณฑจันเสน ไมนาเชื่อวาขนาดผูเขียนซึ่งเปนคนตางถิ่นเมื่อได มีโอกาสมาสัมผัสกิจกรรมของชาวจันเสนเพียงสองวันก็รูสึกมีความ ศรัทธา ความสุข และภาคภูมิใจกับชาวจันเสน ซึ่งผูเขียนเชื่อวา ความรูสึกทั้งหมดที่รูสึกไดนั้น... 5 หากผูอานแวะมาเยือนพิพิธภัณฑจันเสน วัดจันเสน และ ชุมชนจันเสน ก็จะไดสัมผัสและเกิดความรูสึกเหมือนกันอยาง แนนอน

“ข อมูล ใหมจ ากจั นเสน” H

จากฟ ล  ม เก า ที ่ ไ ด ร ั บ การอนุ ร ั ก ษ โ ดยหอภาพยนตร  แ ห ง ชาติ ผ  า นทางคุ ณ นิ ว ั ต ิ กองเพี ย ร จากภาพถ า ยเก า แก ท ี ่ จ ั ด แสดงในพิ พ ิ ธ ภั ณ ฑ มาสู  บรรยากาศภาพเคลื ่ อ นไหวที่ถ า ยดวยฟล ม เมื่อ ๔๐ กวา ปมาแลว ไดเห็นใบหนาเปนสุขของผูคนในอดีตเหลานี้แ ลว เปนสุข คลิ๊กเขาไป ชมภาพยนตร จ ากเมื ่ อ ราว พ.ศ. ๒๕๑๑-๒๕๑๒ มู ล นิ ธ ิ เ ล็ ก -ประไพ วิ ร ิ ย ะพั น ธุ  นำมาเสนอไว ใ นโลกออนไลน เข า ชมได จ ากลิ ง ค http://youtu.be/DH1mwWRPrA4 ] สิบกวาปที่ผานมาพิพิธภัณฑจันเสนปลุกหมูบานที่กำลังหลับใหลซึ่งเคยมีรองรอยของความรุงเรืองในการเปนสถานีขนสงขาวในอดีต รวม ทั้งปลุกอดีตของมนุษยชาติที่เคยมีการอยูอาศัยมาตั้งแตสมัยทวารวดี อันเปนมรดกของทองถิ่นใหกลายมาเปนชุมชนแหงการศึกษาที่ผูคนนับพัน นับหมื่นตางเขามาแสวงหาความรู และเปนการพลิกวิกฤตสรางโอกาสใหกับชาวบานรอบๆ ไดมีกิจกรรมสรางรายไดอยางยั่งยืน รวมทั้งเด็กๆ เยาวชนที่อยูใกลแหลงความรูและใกลวัดก็ไดสรางความหมายใหมในการเปน ‘ยุวมัคคุเทศก’ ใหแกวัดจันเสน จนกลายเปนสถานที่ซึ่งใหโอกาส ในการสรางคนและความรูแกผูคนมากมาย ] ประสบการณการทำงานเชนนี้ถือเปนตัวอยางในการสรางสรรคและบริหารงานที่ดี มีคณะกรรมการที่เปนชาวบานคอยดูแล เรียนผิดเรียน ถูก จนบัดนี้พิพิธภัณฑทองถิ่นจันเสนกลายเปนแมแบบใหแกพิพิธภัณฑทองถิ่นแหงอื่นๆ อีกหลายแหง ถือวาเปนมิติใหมของการศึกษาผาน พิพิธภัณฑในระดับทองถิ่นเล็กที่สรางโอกาสทางการศึกษาใหกับลูกหลานโดยไมตองรอปาฏิหาริยจากการปฏิรูปการศึกษาของรัฐบาลเลยทีเดียว มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ :L

!"#$%&'่%)$*+,-./- +็1-23456 )-3& - 467,.8 ์


1 3 1 P % Q $ - 17,&%&, J R R S

;33&%&D%.%3H4 สรุปบรรยายสาธารณะ สถาปตยกรรมมลายูในทองถิ่นสาม จั ง หวั ด ชายแดนใต

สถาปตยกรรมในทองถิ่นมาเปนเครื่องมือที่มีนัยทางการเมือง การ ปกครอง และการทองเที่ยวเทานั้น ดังที่ปรากฏในเรื่องราวของ ตำนานเจาแมลิ้มกอเหนี่ยวและการชูประเด็นมัสยิดเกาแก ๓๐๐ ปที่ ตะโละมาเนาะ โดยใชการเผยแพรขอมูลทางสถาปตยกรรมของ มัสยิดตะโละมาเนาะวาเปนงานที่ไดรับอิทธิพลของสถาปตยกรรม ไทยภาคกลาง

Najib Bin Ahmad

! ซึ ่ ง ในความเป น จริ ง แล ว งานทางสถาป ต ยกรรมและงาน ศิลปกรรมไมวาที่ใดก็ตาม มักจะมีลักษณะรวม มีการหยิบยืม ตอยอดมาทั้งสิ้น การที่จะมองงานสถาปตยกรรมและงานศิลปะใน พื ้ น ที ่ ส ามจั ง หวั ด ภาคใต ซ ึ ่ ง เคยเป น ดิ น แดนรั ฐ ปาตานี ม าก อ น วาเหมือนหรือคลายกับงานสถาปตยกรรมไทยภาคกลาง วาเปน เพราะการที ่ เ คยตกเป น เมื อ งประเทศราชหรื อ อยู  ใ นเขตการ ปกครองสยามนั้น ออกจะเปนเรื่องที่มองอยางฉาบฉวยเกินไป หรือ เปนการมองในแบบที่มีนัยทางการเมืองการปกครองซอนเรนอยู ซึ่งเปนการมองงานสถาปตยกรรมที่มองขามลักษณะรวมของงาน สถาปตยกรรมในอุษาคเนย เพราะสภาพอากาศหรือสภาพทาง ภูมิศาสตรที่เหมือนกัน ยอมเปนตัวกำหนดลักษณะรวมในงาน สถาปตยกรรมดวยเชนกัน

! เมื่อวันที่ ๕ มิถุนายน ๒๕๕๖ มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ จัดการบรรยายสาธารณะเรื่อง “สถาปตยกรรมมลายูในทองถิ่นสาม จังหวัดภาคใต” โดย คุณณายิบ อาแวบือซา สถาปนิกและผูสนใจ ศึกษาเรื่องราวทางนิเวศวัฒนธรรมในสามจังหวัดชายแดนใต ซึ่ง พื้นเพของ “คุณณายิบ อาแวบือซา” อยูที่อำเภอรือเสาะ จังหวัด นราธิวาส แตไดรับการศึกษาในระบบที่กรุงเทพมหานครตั้งแตชั้น มัธยมชั้นอาชีวศึกษาที่อุเทนถวาย ใชชีวิตทำงานในบริษัทตางชาติ อยูหลายป ภายหลังเมื่อกลับบานเกิดก็ศึกษาตอเนื่องที่จังหวัดยะลา พรอมๆ ไปกับทำงานธุรกิจสวนตัว ! เมื่อบรรยายแลว คุณณายิบ อาแวบือซา ยังใหความกรุณาตอ มูลนิธิฯ ในการสรุปการบรรยายของตนเองเปนบทความขนาดสั้นๆ ดังตอไปนี้ ! งานสถาปตยกรรมมลายูในพื้นที่สามจังหวัดภาคใตคอนขางจะ เปนเรื่องที่ไมมีผูใดใหความสำคัญหรือกลาวถึงมากนัก แตที่โดงดัง และเปนที่รูจักอยูบางก็คงจะเปน “มัสยิดตะโละมาเนาะและมัสยิด กรือเซะ” แตงานสถาปตยกรรมมลายูที่เปนวัง บานเกา หรือวางานที่ เปนงานทองถิ่นจริงๆ ก็มักจะไมเปนที่รับรูและนับวันจะมีสภาพที่ ผุพังไป ประกอบกับสถานการณความไมสงบในสามจังหวัดภาคใต ที่มีมาตั้งแต พ.ศ. ๒๕๔๗ ทำใหคนสนใจเรื่องในสามจังหวัดภาคใต ในมุมมองของความรุนแรงจากเหตุการณไมสงบมากกวาที่จะมอง เห็นงานดานอื่น ! สังคมโดยทั่วไปอาจจะเห็นงานสถาปตยกรรมในพื้นที่อยูบาง ในกรณีของมัสยิดกรือเซะและมัสยิดตะโละมาเนาะ แตก็เปนการนำ !"#$%&'่%)$*+,-./- +็1-23456 )-3& - 467,.8์

! และการที่รัฐปาตานีอยูในเสนทางเดินเรือเปนเมืองทาคาขาย ที่รุงเรืองมาอยางยาวนาน ทำใหมีผูคนหลากหลายเชื้อชาติเดินทาง มายั ง เมื อ งท า ปาตานี จนก อ ให เ กิ ด การผสมผสานทางศิ ล ปะ วัฒนธรรม ความเชื่อ ประเพณี ศาสนา และสถาปตยกรรม หรือแม กระทั่งการผสมผสานทางชาติพันธุ ทำใหในสังคมของชาวมลายู มีลักษณะการเปดรับสิ่งตางๆ จากภายนอกไดโดยงาย ! ในงานสถาป ต ยกรรมมลายู ใ นท อ งถิ ่ น สามจั ง หวั ด ภาคใต ซึ่ง เปนเขตรัฐปาตานีในอดีตนั้นก็เชนเดีย วกัน มี ลั กษณะการ ผสมผสานทางศิลปะที่หยิบยืมตอยอดจากที่อื่นอยางมากมาย แตก็ ยั ง แบ ง แยกย อ ยความแตกต า งตามเขตลั ก ษณะพื ้ น ที ่ ท างภู ม ิ วัฒนธรรมได ๒ เขต คือ 5

เขตดินแดนชายฝงทะเล และเขตดินแดนตอนในหรือเขตภูเขา :N


2K <K ่ : L

M ;7 ; <K่ N N

ภาพซาย มัสยิดเกาแกในสามจังหวัดชายแดนใต ไดแก มัสยิดบานดาโตะ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปตตานี ซึ่งเชื่อวาเปนอาคารรุนเดียวกับมัสยิดกรือเซะที่อยูฝงตรงขาม อาว ซึ่งมีอายุในชวงรัฐปาตานีเมื่อกวา ๔๐๐ ป แตมีการใชงานอยูและยังคงสภาพแบบเดิม ภาพกลาง มัสยิดตะโละมาเนาะหรือมัสยิดวาดี อัล ฮูเซ็น อำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส ซึ่งเปนเครื่องไมและมีการดูแลรักษาเปนอยางดี จนถือเปนสถาปตยกรรมแบบ มลายูมุสลิมดั้งเดิมที่สวยงามและทรงคุณคาอยางยิ่งในปจจุบัน ภาพขวา มัสยิดแบบดั้งเดิม เรือนเครื่องไมที่ถือวางดงามมาก มัสยิดอาโห ตำบลมะนังยง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปตตานี สภาพกอนการบูรณะ

! สถาป ต ยกรรมในเขตดิ น แดนชายฝ  ง ทะเลคื อ พื ้ น ที ่ เ มื อ ง ปตตานี เมืองหนองจิก เมืองยะหริ่ง เมืองสายบุรี แตเดิมเปนเขตที่ อยูในเสนทางการเดินเรือ มีความเจริญมากกวาเขตแผนดินตอนใน ผูคนเขตนี้มีการติดตอไปมาหาสูกับเมืองใกลเคียงคือ อยุธยา นครศรีธรรมราช สงขลา กลันตัน ตรังกานู ยะโฮร มะละกา และ อาเจะห มีการติดตอกับชาวตางชาติอยางกวางขวางและยาวนาน เชน ฮอลันดา โปรตุเกส ชวา และจีน โดยเฉพาะในชวงหลังที่แหลมมลายู ตกอยูภายใตการปกครองของอังกฤษ ! ทองถิ่นในดินแดนชายฝงทะเลของปาตานีนี้จะไดรับอิทธิพล ทางวัฒนธรรมจากชวาและจีนคอนขางมาก งานสถาปตยกรรมใน เขตนี้มักมีการประดับประดาดวยลวดลายที่สวยงาม ใชวัสดุผสมที่ ผลิตในทองถิ่นและนำเขามาจากตางถิ่น สวนใหญมักเปนงานที่ตอง ใชทักษะฝมือทางชางสูง และงานสถาปตยกรรมเดนๆ หลายแหงใน เขตนี้ นอกเหนือจากการใชชางทองถิ่น ยังมีการวาจางจากตางแดน มาดวย เชน ชางจากตรังกานูและชางชาวจีน ! สถาปตยกรรมในเขตดินแดนตอนในหรือเขตภูเขาคือ พื้นที่ เมืองรามันและเมืองระแงะ เปนเขตเทือกเขาและปาทึบ มีทรัพยากร ที่อุดมสมบูรณทั้งปาไม สัตวปา และสินแรตางๆ ผูคนเขตนี้มีการ ติดตอกับเมืองปะลิส เมืองเคดาห เมืองเปรัค และเมืองปนัง ในยุค สมัยกอนเมืองปาตานีหรือที่เชื่อกันวาเปนเมืองลังกาสุกะ มีการ เชื่อมโยงกับตำนานมหาวังษาของเมืองเคดาห และไดรับอิทธิพลจาก อินเดียใตมากกวาที่จะรับอิทธิพลทางวัฒนธรรมจากจีน ! งานสถาปตยกรรมในแถบแผนดินตอนในหรือแถบเทือกเขานี้ มักสรางดวยวัสดุที่มีอยูในละแวกนั้น สรางอยางแข็งแรงแตเรียบงาย ไมเนนการแกะหรือฉลุลายที่ซับซอน และใชชางในทองถิ่นเปนหลัก จะมีชางจากตางถิ่นอยูบางก็เปนเพียงชางจากเคดาหและเปรัคเทานั้น ลั ก ษณะร ว มทางสถาป ต ยกรรมในอุ ษ าคเนย โดยเฉพาะใน

JV

สถาปตยกรรมประเภทเรือนก็คือ การใชไมเปนวัสดุหลัก ใชหลังคา ทรงจั่ว ใชผนังลูกฟก และยกใตถุนสูง ! ใตถุนของเรือนมลายูในสามจังหวัดภาคใตมีลักษณะที่แตกตาง จากเรือนในภาคกลางอยูคอนขางจะเห็นเดนชัดก็คือ การวางเสา เรือนบนฐานเสา ซึ่งจะแตกตางจากเรือนในภาคกลางที่จะวางเสาบน งัวหรือแระ ที่หมายถึงการใชไมเรียงเปนแพในหลุมดินเพื่อรองรับ น้ำหนักของเสาเรือน ! การวางเสาเรือนบนฐานเสาของเรือนมลายูทำใหเกิดประเพณี ขึ้นมาอยางหนึ่งคือ “ประเพณีการยายเรือน” ซึ่งเปนประเพณีการ ลงแขกในการเคลื่อนยายเรือนของคนในชุมชนที่สามารถพบเห็นได ทั่วไปในสามจังหวัดภาคใตในอดีต ปจจุบันประเพณีการยายเรือน แทบจะสูญหายไปจากสังคมมลายูในสามจังหวัดภาคใตแลว ! สวนการยกใตถุนสูงเพื่อหนีน้ำทวมเหมือนเรือนในแถบลุมน้ำ ในภาคกลางตามที่เขาใจกันมานั้น ก็นับเปนเรื่องที่ไมนาจะใชมาอาง ไดมากนักกับเรือนในสามจังหวัดภาคใต เพราะเรือนในแถบแผนดิน ตอนในซึ่งเปนเขตเชิงเขา อยูในที่สูง และน้ำไมเคยทวมเลย กลับพบ วามีการยกใตถุนเรือนที่สูงกวาเรือนที่อยูริมฝงแมน้ำที่น้ำทวมถึง ทุกป รวมทั้งยังพบวาเรือนในแถบเชิงเขา ยกพื้นสูงกวาเรือนในเขต ชายฝงทะเลอีกดวย เชื่อกันวาปจจัยที่ทำใหเรือนมลายูในแถบเขต ภายในยกใตถุนสูงกวาเรือนแถบริมแมน้ำและแถบชายฝงทะเลก็คือ การปองกันภัยจากสัตวราย ! แตก็ยังมีอีกปจจัยหนึ่งที่พบเจอจากการสอบถามชางและคน เฒาคนแกในพื้นที่วาเปนเพราะสมัยกอนพื้นที่ของแผนดินตอนใน เขตเทือกเขาซึ่งเปนเขตที่หางไกลจากความเจริญ มีโจรผูรายอยูมาก ทำใหตองยกเรือนใหสูงมากๆ เพื่อปองกันภัยจากการลักขโมย การ ปลน และการลอบทำราย อีกประการหนึ่งก็คือ การที่ตั้งอยูในเขตที่ มีปาไมอุดมสมบูรณ เพราะมีไมจำนวนมากนี่เองทำใหการยกพื้น เรือนสูงไมไดเปนปญหาในการสรางเรือนแตอยางใด !"#$%&'่%)$*+,-./- +็1-23456 )-3& - 467,.8 ์


1 3 1 P % Q $ - 17,&%&, J R R S

! และลักษณะรวมของเรือนในอุษาคเนยอีกอยางหนึ่งก็คือ การ ใชหลังคาจั่ว ถึงแมรูปแบบหลังคาของเรือนมลายูจะมีอยูหลาย รูปแบบ อาทิ “หลังคาลีมา” หรือหลังคาปนหยา “หลังคาบลานอ” หรือหลังคามะนิลา และหลังคาแบบดั้งเดิมซึ่งในที่นี้ขอเรียกวา “หลังคาแบบนูซันตารา” แตก็มีเรือนมลายูไมนอยที่ใชหลังคาทรงจั่ว หรือหลังคาที่เรียกกันในภาษามลายูวา “หลังคาแมและห” ! หลังคาทรงจั่วเปนลักษณะรวมของเรือนในอุษาคเนยก็เพราะ วา เราสามารถพบเจอเรือนที่ใชหลังคาทรงจั่วไดทั่วไปในอุษาคเนย ตั้งแตเวียดนามไปจนถึงเกาะสุลาเวสีในอินโดนีเซียเลยทีเดียว ใน แตละทองถิ่นก็จะมีความแตกตางในเรื่องของรายละเอียด เชน หลังคาจั่วของเรือนมลายูจะลดระดับลง และมักจะเปนหลังคาแฝด โดยใช ร างน้ ำ ฝนเชื ่ อ มต อ กั น ไม ส ู ง เหมื อ นหลั ง คาจั ่ ว ในแบบ เรือนไทยภาคกลาง ซึ่งอาจจะมาจากการที่พื้นที่แถบปาตานีอยูใน เขตลมมรสุมและอยูริมฝงทะเล มีฝนตกชุก และลมแรง จำเปนที่จะ ตองสรางหลังคาจั่วที่ชันกวาเพื่อระบายน้ำฝน แตก็ตองไมสูงเทา เรือนไทยภาคกลาง เพราะมีปญหาเรื่องลมแรง จำเปนจะตองสราง หลังคาแฝดเพื่อลดความสูงของหลังคาลงโดยที่ยังคงความลาดชัน เอาไว ! นอกเหนื อ จากป จ จั ย ทางด า นภู ม ิ ศ าสตร แ ล ว ศาสนาและ ความเชื่อ ก็เปนอีกหนึ่งที่เปนตัวกำหนดรูปแบบและลักษณะของ งานสถาป ต ยกรรมมลายู ซึ ่ ง สะท อ นออกมาในรู ป แบบของ ลวดลายที่ใชประดับในงานสถาปตยกรรม โดยเฉพาะอิทธิพลทาง ความเชื่อของศาสนาอิสลามในการหามใชรูปคนหรือสัตวในงาน ศิลปะ ทำใหรูปแบบของลวดลายที่ใชในสถาปตยกรรมมลายูมักจะ เปนลายพฤกษชาติ ลายเรขาคณิต ลายที่เลียนแบบจักรวาล และ ลายอักษรประดิษฐเปนสวนใหญ ! ถึงแมวา “มัสยิดกรือเซะและมัสยิดตะโละมาเนาะ” จะเปนงาน สถาปตยกรรมประเภทศาสนสถานเปนที่รูจักและไดรับความสนใจ อยางแพรหลาย แตในงานสถาปตยกรรมที่เปนศาสนสถานใน ศาสนาพุทธในทองถิ่นสามจังหวัดภาคใตก็มีความนาสนใจไมแพกัน

เชน วัดชลธาราสิงเห อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส มีรูปแบบ เฉพาะของทองถิ่นเปนเอกลักษณแตกตางจากที่อื่น กุฏิและอาคารไม ตางภายในวัดก็เปนเรือนในสถาปตยกรรมมลายูทั้งสิ้น ! และอีกตัวอยางหนึ่งคือ วัดเทพนิมิตร ตำบลบานกลาง อำเภอ ปะนาเระ จังหวัดปตตานี ซึ่งเดิมเปนวัดราง จนกระทั่ง “ทานดิน” พระสงฆที่เปนคนทองถิ่นบานกลางเขาไปจำพรรษาและพัฒนา สภาพวัดจนสามารถฟนฟูสภาพวัดได ทานดินจำพรรษาอยูที่วัดแหง นี้เพียงทานเดียว ลอมรอบไปดวยชาวบานที่เปนคนมลายูมุสลิมมา ตั้งแตกอนป พ.ศ. ๒๕๔๗ มาจนถึงทุกวันนี้ ถึงแมวาอุโบสถของวัด เทพนิมิตรแหงนี้จะมีรูปแบบทางศิลปะสถาปตยกรรมไปทางอยุธยา ตอนปลาย แตภาพเขียนภายในโบสถก็เปนงานของศิลปนในทองถิ่น ที่สะทอนรูปแบบความเชื่อของศาสนาพุทธในทองถิ่นปะนาเระใน สมัยนั้น ! ภาพเขียนสีบนผนังของวัดชลธาราสิงเหและวัดเทพนิมิตรลวน แลวเปนงานของชางในทองถิ่นที่มีการใชสีครามเปนโทนหลักในการ เขียน ศาลาขนาดใหญที่ยังหลงเหลืออยูในวัดแหงนี้ก็มีรูปแบบทาง สถาปตยกรรมมลายูทองถิ่นอยางเห็นไดชัด รายละเอียดบางอยางมี ความคลายกับศิลปกรรมในมัสยิดตะโละมาเนาะที่เปนศาสนสถาน ในศาสนาอิสลาม ซึ่งเปนการแสดงใหเห็นถึงความเชื่อมโยงในงาน ฝมือชางและความสัมพันธระหวางชุมชนที่มีลักษณะของสังคมพหุวัฒนธรรมในสมัยนั้นอยางชัดเจน ! สถานการณในปจจุบันของสถาปตยกรรมมลายูในสามจังหวัด ภาคใต อ ยู  ใ นสภาวะที ่ ส ุ  ม เสี ่ ย งและน า วิ ต ก ด ว ยความที ่ ง าน สถาปตยกรรมมลายูในสามจังหวัดภาคใตขาดการสงเสริม ไมมีการ สื บ ทอด ขาดองค ค วามรู  ทำให ค วามรู  ค วามเข า ใจในงาน สถาปตยกรรมมลายูขาดตอนและผิดเพี้ยนไปจากเดิม ! งานสถาปตยกรรมมลายูในพื้นที่สามจังหวัดภาคใตสูญหายไป หลังแลวหลังเลา ทั้งจากการเสื่อมสภาพ ผุพังตามอายุขัย การ รื้อถอนเพราะคานิยมเปลี่ยน รวมทั้งการทำลายดวยความรูเทา ไม ถึงการณทั้งจากหนวยงานของรัฐและคนในทองถิ่นเอง

ภาพซายและกลาง สถาปตยกรรมแบบวัดทางพุทธศาสนาของชุมชนชาวพุทธที่พูดภาษาไทยสำเนียงเจะเห ศาลาการเปรียญ วัดพระพุทธ และวัดชลธาราสิงเห ในอำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส (ภาพจาก Facebook กลุมภาคีสถาปตยกรรมปตตานี) ภาพขวา เรือนอยูอาศัยของชาวบานแบบมลายูที่นับวันจะเสื่อมหายไปกับกาลเวลา โดยไมสามารถเก็บและสืบคนขอมูลเกี่ยวกับสถาปตยกรรมเกาแกในพื้นที่ไดทันเวลา

!"#$%&'่%)$*+,-./- +็1-23456 )-3& - 467,.8์

J:


2K <K ่ : L

M ;7 ; <K่ N N

234I%D7$ 67,.์ วั น พุ ธ ที ่ ๙ ตุ ล าคม ๒๕๕๖ เรื ่ อ ง ‘SAY FONG CIVILIZATION‘ มรดกประวั ต ิ ศ าสตร แ บบอาณานิ ค ม บรรยายโดย วลั ย ลั ก ษณ ทรงศิ ร ิ

กิจกรรมบรรยายเชิงวิชาการ ของมูล นิธิ เ ล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ

“บรรยายสาธารณะประจำป ๒๕๕๖” วันพุธเดือนเวนเดือน เวลาบายโมงถึงบายสี่โมง ติดธุระหรืออยูไกล ไมตองมา เพราะทุกวันนี้รถติดเหลือใจ เพราะสามารถรับชมถายทอดสดไดจากทางเว็บไซตของมูลนิธิฯ www.lek-prapai.org ณ หองประชุมชั้น ๒ อาคารมูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ รับผูฟงบรรยายครั้งละไมเกิน ๒๐ ทาน จองกอนมีสิทธิ์ฟงสดๆ กอนใคร การบรรยายเริ่มเวลา ๑๓.๐๐ - ๑๖.๐๐ น. ติดตอไดที่มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ โทร ๐-๒๒๘๑-๑๙๘๘, ๐-๒๒๘๐-๓๓๔๐ หรือสำรองที่นั่งไดทาง https://www.facebook.com/lekfound

! เขาใจกันมาโดยตลอดวา เมืองซายฟองเปนเมืองเกา สมัยพระเจาชัยวรมันที่ ๗ ซึ่งมีอโรคยศาลซึ่งกลาวกันวา “เปนพระราชอำนาจของกษัตริยชัยวรมันที่ ๗ แหง อาณาจักรขอม ซึ่งอยูเหนือสุดในเขตภาคพื้นของเอเชียตะวันออกเฉียงใต” จนแมการแบงชวงเวลาทางประวัติศาสตรของ ชาติลาวก็ยังเรียกชวงนี้วา “อารยธรรมซายฟอง” ! แตหากจะมีการนำเสนอสมมติฐานจากการตรวจสอบหลักฐาน ทางโบราณคดีและตรวจสอบขอมูลใหมวาเกิดอะไรขึ้นในชวงเวลา ของการคนพบหลักฐานตางๆ จากยุคอารยธรรมซายฟองที่เจา อาณานิคมฝรั่งเศสบันทึกไว และพบวา “การสรางอารยธรรม ซายฟอง” เป น ส ว นหนึ ่ ง ของการสร า งประวั ต ิ ศ าสตร แ บบยุ ค อาณานิคม” ก็คงไมใชเรื่องนาแปลกใจแตอยางใด (อารยธรรมซาย ฟอง เปนศัพทบัญญัติในภาษาลาว) ! ฟงการบรรยายประกอบหลักฐานจากการสำรวจเพื่อเสนอวา “ซายฟอง” เปนสวนหนึ่งของบานเมืองสองฝงโขงในยุคที่ไดรับ อิทธิพลวัฒนธรรมเขมรและทวารวดี และเปนสวนหนึ่งของรัฐ ศรีโคตรบูรที่สัมพันธกับบานเมืองในเขตที่ราบลุมน้ำงึมในเขต สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวในปจจุบัน

เสวนาเพื่ อแนะนำหนั ง สือ ชุด "เพื ่ อแผน ดิน เกิด " และ "คูมือฉุกคิด" ทั้ง ๗ เลม ของมูลนิธิ เล็ ก -ประไพ วิ ร ิ ย ะพั น ธุ  โดย อาจารยศรีศักร วัลลิโภดม และเชิญคุณเหลาไท นิ ล นวล นายกองค ก ารบริ ห ารส ว นตำบลหลุ บ เลา อำเภอภูพาน จังหวัดสกลนคร มาชวยพูดใหความเห็น จากประสบการณตรงในวงเสวนาเพื่อแนะนำหนังสือ สองชุ ด ของมู ล นิ ธ ิ ฯ เรื ่ อ งเกี ่ ย วกั บ สั ง คม ชี ว ิ ต วัฒนธรรม เรื่องระบบนิเวศที่เปลี่ยนแปลง ตลอดจน งานเขียนวิพากษวิจารณปญหาของสังคมไทยที่อาจารย ศรีศักร วัลลิโภดม สังเกตอาการและอธิบายเปนปกติ มาเปนสิบป สั่งซื้อหนังสือในชุด “เพื่อแผนดินเกิด” และ “คูมือฉุกคิด” กับมูลนิธิฯ นอกจากซื้อไดใน ณ รานริมขอบฟา ถนนราชดำเนินกลาง กรุงเทพฯ ราคาพิเศษ รับของที่ระลึกฟรี โปสการดจำนวน ๗ แผน แจกตามจำนวนที่สั่งซื้อ เมื่อวันเสารที่ ๒๔ สิงหาคม ๒๕๕๖ หากชาคงหมดแนๆ เพราะพิ มพจ ำนวนจำกั ด JJ

!"#$%&'่%)$*+,-.-/+็1-23456 )-3-&467,.8์


1 3 1 P % Q $ - 17,&%&, J R R S

พิเศษ! เมื่อสมัครสมาชิกจดหมายขาว สั ่ ง ซื ้ อ หนั ง สื อ และดี ว ี ด ี เ ฉพาะของมู ล นิ ธ ิ ฯ

ลดราคาหนั ง สื อ และดี ว ี ด ี ท ุ ก ประเภททั น ที

๒๐%

! ผูสนใจสมัครสมาชิกจดหมายขาวมูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ เพียงเขียนรายละเอียดในใบสมัครจากเว็บไซต์ www.lek-prapai.org สงมายังที่อยูหรืออีเมลของมูลนิธิฯ รับสิทธิพิเศษทันที H ๑. สั่งซื้อหนังสือและดีวีดีเฉพาะของมูลนิธิฯ ไมวาใหมหรือเกา ลด ราคาทุกปกทุกชิ้น ๒๐ % (เฉพาะสั่งซื้อกับมูลนิธิฯ เทานั้น ไมรวมกรณี ซื้อจากงานหนังสือตางๆ หรือรานหนังสือ)

GFB#,7BDEA DE่AD%34

H ๒. สามารถบอกรับจดหมายขาวแบบออนไลนฟรีหรือสมัครรับ จดหมายขาวแบบสิ่งพิมพคาใชจายปละ ๑๐๐ บาท จำนวน ๔ ฉบับ H ๓. สามารถรับรหัสสมาชิกเพื่ออานจดหมายขาวแบบออนไลนตั้งแต ฉบับที่ ๑ ถึงฉบับปจจุบันฟรี และสามารถ Download จดหมายขาวใน รูปแบบไฟล pdf ไดทุกฉบับ H ๔. สามารถรับขาวสารกิจกรรมของมูลนิธิฯ ไดกอนใครอื่น หรือ สามารถเขารวมกิจกรรมตางๆ ไดในราคาพิเศษ

ดีวีดีเสวนาสัญจรคนคอนศตวรรษ ๑. ดี ว ี ด ี เ สวนาสั ญ จรคน ค อ นศตวรรษ "สองซอด สอดสอง เมืองสกล" !

๓. ดีวีดีเสวนาสัญจร คนค อ นศตวรรษที ่ แม ก ลอง “แมกลอง วิวัฒน” หรือ “ทองถิ่น วิบัติ”

๒. ดีวีดีเสวนาสัญจรคนคอ น ศตวรรษที่กรุงเทพฯ “ไลรื้อชุมชน : ความขัดแยง ระหวางกรรมสิทธิ์โดยกฎหมาย และสิทธิชุมชน ภาวะลาหลังทาง วัฒนธรรมในเมืองไทย” บันทึกการเสวนาและสารคดีประกอบสั่งซื้อไดใน ราคาแผ น ละ ๖๐ บาท และจั ด ส ง ทั ่ ว ประเทศ "ฟรี " ผูสนใจสั่งซื้อไดท ี่ : มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ E-mail : vlekprapaifoundation@gmail.com หรือ https://www.facebook.com/lekfound โทรศัพท ๐-๒๒๘๑-๑๙๘๘, ๐-๒๒๘๐-๓๓๔๐ รานหนังสือริมขอบฟา วงเวียนอนุสาวรียประชาธิปไตย ถนนราชดำเนิน กรุงเทพฯ โทร. ๐-๒๖๒๒-๓๕๑๐

หมายเหตุ : มูลนิธิฯ ไมมีวัตถุประสงคในการแสวงหากำไร แตมุงเผยแพรความรู เพื่อเปนประโยชนสูสาธารณะ จึงมีคาใชจายเฉพาะคาผลิต DVD เทานั้น

ดีวีดีสารคดี “พอเพี ยงเพื่อ แผนดินเกิด ” ราคาพิ เ ศษ ! สำหรับผูสมัครสมาชิกจดหมายขาวของมูลนิธิฯ

งานสารคดีพอเพียงเพื่อแผนดินเกิด จัดทำขึ้นโดยความรวมมือของเมืองโบราณ มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ และบริษัท เอเชีย แซทเทิลไลท ทีวี จำกัด เพื่อสรางความเขาใจในทองถิ่นและความรักในมาตุภูมิ ผูสนใจสั่งซื้อไดที่ : มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ E-mail : vlekprapaifoundation@gmail.com หรือ https://www.facebook.com/ lekfound โทรศัพท ๐-๒๒๘๑-๑๙๘๘, ๐-๒๒๘๐-๓๓๔๐ รานหนังสือริมขอบฟา วงเวียนอนุสาวรียประชาธิปไตย ถนนราชดำเนิน โทร. ๐-๒๖๒๒-๓๕๑๐ หมายเหตุ คาจัดสง ๑-๑๐ แผน ราคา ๕๐ บาท ๑๑ แผนขึ้นไปราคา ๑๐๐ บาท

!"#$%&'่%)$*+,-.-/+็1-23456 )-3-&467,.8์

JO


2K <K ่ : L

M ;7 ; <K่ N N

หนังสือใหมชุด “คูมือฉุกคิด” โดย อาจารยศรีศักร วัลลิโภดม ผลิ ต เป น หนั ง สื อ และ E-book

ผู  ม ี บ ารมี ผู  แ พ บ ารมี

ผูเขียน ศรีศักร วัลลิโภดม ราคา ๑๐๐ บาท รวมบทความขนาดสั้นของอาจารย ศรีศักร วัลลิโภดม อันเกี่ยวเนื่องกับ สถาบันพระมหากษัตริยกับ ความหมายที่มีตอสังคมไทยในทาง รากเหงาทางวัฒนธรรมและ ประวัติศาสตร รวมทั้งวิพากษตอ กรณีการนำเอาสถานะของพระมหา กษัตริยมาของเกี่ยวกับการเมืองและ การบอนเซาะสถาบันฯ ในปจจุบัน

ความล ม เหลว ในการศึ ก ษาของชาติ

ผูเขียน ศรี ศ ั ก ร วั ล ลิ โ ภดม ราคา ๑๐๐ บาท บทความวิพากษเกี่ยวกับการศึกษา ของเยาวชนและความผิดพลาดจาก นโยบายของรัฐที่ทำใหการปลูกฝง ทางวัฒนธรรมซึ่งเปนพื้นฐาน ในการอบรมสั่งสอนทางศีลธรรม ภายในครอบครัวและชุมชนที่ขาดหาย ไปจากสังคมไทยมานานแลว รวม บทความที่มีพลังจากอาจารยศรีศักร วัลลิโภดม

คนไทย ไม ม ี ใ ครทำร า ย ก็ ต ายเอง

ผูเขียน ศรี ศ ั ก ร วั ล ลิ โ ภดม ราคา ๑๘๐ บาท

รวมบทความจากคอลัมน “เปดประเด็น” ในจดหมายขาวมูลนิธิ เล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ ในรอบ ๕-๖ ป ที่ผานมา วิพากษ สังคมไทยและ สถานกาณวิบัติของบานเมืองดวย วาทะเผ็ดรอนแบบอาจารยศรีศักร วัลลิโภดม ตรงไปตรงมา และชี้ชัดถึง เหตุแหงความเสื่อมในมิติที่หลากหลาย และพยากรณถึงอนาคตอันนาวิตก ของสังคมไทย

มู ล นิ ธ ิ เ ล็ ก -ประไพ วิ ร ิ ย ะพั น ธุ  จัดทำหนังสือชุด “คูมือฉุกคิด” จากผลงานบทความ “เปดประเด็น” ในจดหมายขาวมูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ

พิเศษสำหรับสมาชิกจดหมายขาวฯ ลดราคาจากปก ๒๐ % เมื่อสั่งซื้อกับมูลนิธิฯ โดยตรง

:;:33<$/'1$3=>?"$%@่$7B

“เมืองสองฝายฟา” ในรัฐแบบโบราณในภาคพื้นเอเชียตะวันออกเฉียงใตหมายถึงบานเมืองขนาด เล็กอยูไกลจากศูนยกลางที่มีพัฒนาการทางการเมืองกาวการเปนศูนยกลางใน ระดับนครรัฐแลว การเปนเมืองชายขอบเชนนี้จึงใชวิธีขึ้นอยูกับศูนยกลางแหง รัฐที่ขนาบอยูทั้งสองแหงหรืออาจจะเปน ๓ แหงตามสถานะแหงอำนาจแตละชวง เวลา เมืองสองฝายฟาแมจะมีเอกราช มีเจาผูครองนครและองคกรปกครอง ตนเองอยางอิสระ แตจำเปนตองสงดอกไมเงินดอกไมทองหรือเครื่องราช บรรณาการเพื่อสรางความภักดี หรือใชวิธีสงเครือญาติบุตรหลานของเจาครองนครนั้นไปสวามิภักดิ์ดวย การแตงงานผูกดองเปนเครือญาติใกลชิดอีกชั้นหนึ่ง บทความเปดประเด็นของอาจารยศรีศักร วัลลิโภดม ฉบับนี้คือ “AEC สัญญาณวิบัติประชาชาติ” วาดวย การเปดเสรีทางเศรษฐกิจในกลุมประเทศอาเซียนที่กำลังจะมาถึงนั้น มีสัญญาณใดบางและชาวบานใน ประเทศไทยกำลังจะเผชิญสิ่งใด อาจารยศรีศักรเปรียบเปรยวาสังคมไทยกำลังจะเปนเสมือนเมืองสอง ฝายฟา และเปน เปนประเทศขี้ขาสองฝายฟาที่แยที่สุด เพราะขาดสติปญญาและประสบการณในการสราง ความรูความเขาใจในการตอสู ตอตาน และตอรอง ในสถานการณอันสับสนของสังคมไทยทุกวันนี้ บทความดังกลาวเปนการวิพากษสังคมที่จำเปนตองมีและ ผูอานทุกทานคงตองชวยกันเผยแพรบทความลักษณะนี้กันคนละไมคนละมือ สวนบทความอื่นๆ ในฉบับ นี้ยังคงเดิม เปนงานประจำของเจาหนาที่มูลนิธิฯ ที่ออกไปทำงานรวมกับชุมชนหลายแหง รวมทั้ง บทความดานพิพิธภัณฑทองถิ่นที่ยังคงมีผูอานที่ปฏิบัติงานกันอยูในชุมชน เชน ที่พิพิธภัณฑจันเสนรวม คิดรวมเขียนสงขาวมาใหอยางสม่ำเสมอ และยังมีการนำเสนอหนังสือชุดใหม “คูมือฉุกคิด” ของอาจารยศรีศักร วัลลิโภดม ที่ทุกทานไมควรพลาด )+7&+71?H์ <3B>-3JT

"- .&' / ' !.็ 1 -23456 7' 3 ' % 468 & /) ์ ประธานกรรมการ ดร.ไพโรจน พงศพิพัฒน รองประธานกรรมการ อรพรรณ พงศพิพัฒน กรรมการและเหรัญญิก สุวพร ทองธิว กรรมการและเลขานุการ อมร ทองธิว กรรมการ พิจารณ วิริยะพันธุ, ตุก วิริยะพันธุ, รับพร วิริยะพันธุ ที่ปรึกษา ศรีศักร วัลลิโภดม, ดร.ธิดา สาระยา เจาหนาที่ สุดารา สุจฉายา, ลาวัลย ธรรมนิรันดร, ศรีสมร ฉัตรแกว, มรกต สาตราคม, วลัยลักษณ ทรงศิริ, รัชนีบูล ตังคณะสิงห, อรรถพล ยังสวาง, พรพิมล เจริญบุตร, ณัฐวิทย พิมพทอง, วันชนะ ศีระพัฒน, อภิญญา นนทนาท มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ ที่อยู ๓๙๗ ถ.พระสุเมรุ แขวงบวรนิเวศ เขตพระนคร กรุงเทพฯ ๑๐๒๐๐ โทรศัพท : ๐-๒๒๘๑-๑๙๘๘, แฟกซ : ๐-๒๒๘๐-๓๓๔๐ E-mail :vlekprapaifoundation@gmail.com เฟสบุค https://www.facebook.com/lekfound เว็บไซต www.lek-prapai.org

!"#$%&'่%)$*+,-.-/+็1-23456 )-3-&467,.8์


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.