2เกริ่นนำ

Page 1

โครงการ “อบรมและวิจัยเชิงปฏิบัตก ิ ารทางประวัติศาสตรโบราณคดีและชาติพันธุ” โดยการสนับสนุนของ สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)

เสนอผลงานวิจัยจากนักวิจัยทองถิ่น เรื่อง

“เสียงจากสังคมชายแดน-ชายขอบ” กําหนดการ พุธ ๑๖ มีนาคม ๒๕๔๘ ๘.๓๐น. - ๙.๐๐ น. ๙.๓๐ น. - ๙.๔๕ น.

ลงทะเบียน เปดการประชุมโครงการ โดย ศ.ดร.ปยะวัติ บุญ-หลง ผูอํานวยการสํานักงาน กองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ๙.๔๕ น. - ๑๐.๑๕ น. นําชมการจัดแสดงนิทรรศการของแตละพื้นที่ทั้ง ๕ โครงการ ๑๐.๓๐ น. - ๑๒.๐๐น. แนะนํ า โครงการทั้ ง ๕ พื้ น ที่ โดย ศรี ศั ก ร วั ล ลิ โ ภดม เสนอการสรุ ป เนื้ อ หา โครงการวิจัยฯ แตละพื้นที่ ๑๒.๐๐ น. - ๑๓.๑๕ น. รับประทานอาหารกลางวัน ๑๓.๑๕ น. - ๑๕.๐๐ น. เสนอผลงานศึกษา “ชลประทานราษฎร และ ชลประทานหลวง: การ เปลี่ยนแปลงทางสังคมวัฒนธรรมในลุมแมลาวตอนบน” จากนักวิจัยทองถิ่น เวียงปาเปา-แมสรวย จังหวัดเชียงราย ๑๕.๑๕ น. – ๑๗.๐๐ น. เสนอผลงานศึกษา “ผีกับพุทธ: ศาสนาและความเชื่อในสังคมชายขอบ” จาก นักวิจัยทองถิ่นโครงการ เมืองดานซาย ลุมน้ําหมัน จังหวัดเลย

พฤหัสฯ ๑๗ มีนาคม ๒๕๔๘ ๘.๔๕ น. – ๑๐.๐๐ น.

เสนอผลงานศึ ก ษาเรื่ อ ง “จากบ า นสํ า โรงถึ ง สวนส ม : การเปลี่ ย นแปลงทาง เศรษฐกิจและวัฒนธรรมในสังคมชายขอบจันทบูรณ” จากนักวิจัยทองถิ่นสอย ดาว จังหวัดจันทบุรี ๑๐.๑๕ น. – ๑๑.๔๕ น. เสนอผลงานศึกษาเรื่อง “จากเชียงของถึงเวียงแกน: การปรับตัวของชาวบาน กับการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคมริมฝงแมน้ําโขง” จากนักวิจัย ทองถิ่นเชียงของ-เวียงแกน จังหวัดเชียงราย ๑๑.๔๕ น. - ๑๓.๐๐ น. รับประทานอาหารกลางวัน


๑๓.๐๐ น. – ๑๔.๔๕ น. เสนอผลงานศึกษาเรื่อง “อาวปตตานี: นิเวศวัฒนธรรมที่ถูกทําลาย” จาก นักวิจัยทองถิ่นอาวปตตานี อําเภอยะหริ่ง จังหวัดปตตานี ๑๕.๐๐ น. – ๑๖.๓๐ น. การสรุปผลงานวิจัยโดยหัวหนาโครงการและทีมที่ปรึกษาฯ - การอภิปรายแสดง ความคิดเห็นจากที่ประชุม โดย ดร. มรว.อคิน รพีพัฒน, ดร.สุเทพ สุนทรเภสัช, ศรีศักร วัลลิโภดม, ปรานี วงษเทศ ณ หอประชุมใหญ ศูนยมานุษยวิทยาสิรินธร ถนนบรมราชชนนี ตลิ่งชัน กรุงเทพฯ


โครงการอบรมและวิจยั เชิงปฏิบัติการ ทางประวัติศาสตรโบราณคดีและชาติพันธุ หลักการและเหตุผล สืบเนื่องจากประสบการณในการศึกษาวิจัยประวัติศาสตรและวัฒนธรรมทองถิ่น ในฐานะเปนเมธีวิจัย อาวุโสของสกว. ผูประสานงานโครงการเรื่องความหลากหลายทางชาติพันธุ และการเปนที่ปรึกษามูลนิธิเล็กประไพ วิริยะพันธุ ที่ออกไปสนับสนุนการจัดตั้งพิพิธภัณฑทองถิ่นของชาวบานในที่ตางๆ ทั่วประเทศ ในชวง เวลาเกือบ ๑๐ ปที่ผานมา ทําใหไดเรียนรูถึงการเคลื่อนไหวของสถานการณและการเปลี่ยนแปลงทางสังคมวัฒนธรรมของผูคนใน ทองถิ่นไดอยางเปนรูปธรรมพอสมควร นั่นก็คือ มีการเคลื่อนไหวของผูคนในชุมชนเพื่อสรางจิตสํานึกและฟนฟู ภูมิปญญาเพื่อการดํารงอยูรวมกันอยางมีพลังและศักดิ์ศรีในหลายๆ พื้นที่ทั่วราชอาณาจักร ดังเห็นไดจากการตื่นตัวของบรรดาผูอาวุโส เชน พระสงฆ ปญญาชน ที่พยายามศึกษาเรื่องราวทาง ประวัติศาสตรวัฒนธรรมของทองถิ่น และรวบรวมบรรดาโบราณวัตถุทางโบราณคดีและชาติพันธุ เพื่อการจัดตั้ง พิพิธภัณฑใหคนในรุนหลังไดเรียนรูและเพื่อใหคนจากภายนอกไดมาศึกษาและรับรู สถานการณ แ ละการเคลื่ อ นไหวจากภายในดั ง กล า วนี้ ทํ า ให ต อ งคิ ด ว า การวิ จั ย ทาง ประวัติศาสตร สังคม วัฒนธรรม อยางที่เคยทํามานั้น ควรมีการปรับเปลี่ยนในเรื่องตัวคนที่จะทํางาน วิจัย รวมทั้งกระบวนการและทิศทางดวย นั่ น ก็ คื อ การสนั บ สนุ น และสร า งนั ก วิ จั ย ที่ เ รี ย นจบหรื อ กํ า ลั ง ศึ ก ษาอยู ใ นสถาบั น การศึ ก ษา เช น มหาวิทยาลัยในสวนกลางและภูมิภาค รวมทั้งจากสถาบันราชภัฏเพียงอยางเดียวนั้นไมเพียงพอ บุคคลเหลานี้ดู มีโอกาสมากกวา ผูอื่น เปนจํ านวนมากกลายเปนนัก รับจ างเก็ บขอมู ลและวิจัยในเรื่อ งอะไร ๆ ก็ได สุดแต ผูรับผิดชอบเงินทุนและโครงการจะแจกให พอถึงเวลาก็พากันมาเสนอผลงานในการประชุมสิ้นปก็เปนอันยุติ ในขณะเดียวก็มีอีกหลายคนทํางานไมเสร็จ อันเนื่องมาจากรับเงินหลายโครงการ แตพอเรงรัดมากๆ ก็ ทํางานแบบลวกๆ เพื่อใหทันเวลา การทํางานวิจัยแบบนี้มักทําตามกรอบที่กําหนดไว มีลักษณะอยูในวังวนจน เปนภาพนิ่ง จนแทบไมเห็นวาผลงานวิจัยที่เกี่ยวกับทองถิ่นในเรื่องตางๆ นั้น จะเอาไปใชใหไดผลดีกับคนใน สังคมทองถิ่นไดแคไหน จากประสบการณดังกลาว ทําใหระยะหลังๆ ตองเบนเบี่ยงการสนับสนุนทุนไปสูนักวิจัยที่เปนผูรูใน ทองถิ่น ที่อาจจะเปนครูโรงเรียน กํานัน ผูใหญบาน อบต. และแมกระทั่งพระสงฆและผูอาวุโส คนเหลานี้มี บทบาทมานานแลว แตถูกกําหนดใหเปนเพียงวิทยากร [informant] ที่จะใหขอมูลแกนักวิจัยจากโครงการ เทานั้น ซึ่งแทจริงแลวขอมูลและขอเท็จจริงสวนใหญก็มาจากผูที่เปน “คนใน” เหลานี้ นักวิจัยผูเปนบุคคลจากภายนอกนั้น ถาไมไดเขาไปสังเกตการณในทองถิ่นเปนแรมเดือนหรือแรมป จะ ไมมีทางเขาใจได เพื่อเปลี่ยนสถานภาพของผูใหขอมูลในทองถิ่นเหลานี้ใหมีฐานะเปนนักวิจัยเสมอกับนักวิจัย จากภายนอก ก็ทําใหเกิดผลดีทั้งในดานการประเมินขอมูลหลักฐานขอเท็จจริง และการนําผลวิจัยไปใชใหเปน ประโยชนในการพัฒนา เพราะคนเหลานี้คือผูรูและผูนําในทองถิ่นอยูแลว แตที่สําคัญก็คือ นักวิจัยซึ่งเปนคนใน


ทองถิ่นจะเปนผูทํางานทั้งการวิจัยและการพัฒนาไดอยางตอเนื่องไปตามสภาพและลักษณะการเปลี่ยนแปลง ทางสังคมเศรษฐกิจและวัฒนธรรมของทองถิ่น อยางไรก็ตาม ในบรรดานักวิจัยที่เปนคนในทองถิ่น อันไดแก ครูโรงเรียน ผูรู กํานัน ผูใหญบาน อบต. และพระภิกษุสงฆเหลานี้ บุคคลที่ควรสนับสนุนในอันดับแรกก็คือ ครูโรงเรียน แตก็หาใชครูที่อยูในทองถิ่นแต เพียงยายมาจากที่อื่นไปประจําอยูเพียงชั่วระยะเวลาหนึ่งแลวก็ยายออกไปตามระบบขาราชการไม หากตองครู ที่มีพื้นฐานเปนคนทองถิ่น หรืออยูในทองถิ่นหลายปจนเกิดสํานึกเปนคนทองถิ่น และบางคนถึงกับตั้งรกรากอยู ในทองถิ่นนั้นแลว ครูที่เปน “คนใน” ของทองถิ่นนี่แหละที่มีศักยภาพในการที่จะไปเชื่อมโยงรวมมือกับผูรูอื่น ไมวาจะเปน อบต. กํานัน ผูใหญบาน พระสงฆ และกับครูอื่นๆ ดวยกันเอง แตที่สําคัญก็คือ ครูจะเปนผูทันสมัยที่สุด เพราะนอกจากจะรูอะไรในทองถิ่นแลว ยังรูอะไรที่มีการ เคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงจากภายนอกอีกดวย แตการเลือกใหครูทองถิ่นเปนบุคคลที่จะไดรับการสนับสนุนใน เรื่องทุนวิจัยนั้น คงไมไดหมายความวาจะใหครูไปทํางานคนควาแตผูเดียวเทานั้น หากตองมองตอไปถึงการที่ ครูจะตองไปสรางความสัมพันธในการศึกษารวบรวมขอมูลกับผูรูอื่นๆ เชน กํานัน ผูใหญบาน อบต. และ พระสงฆ รวมทั้งครูอื่นๆ ในลักษณะที่เปนกลุมดวย หากทําไดเชนนี้ก็เทากับเปนการสรางองคความรูจากกลุม ของคนใน และเปนกลุมคนที่จะนําผลงานวิจัยไปใชในการพัฒนาในเวลาเดียวกัน แตจุดออนของนักวิจัยที่เปนคนในทองถิ่นก็คือ ยังขาดความรูความเขาใจในเรื่องแนวคิด [concept] และวิธีการในการศึกษารวบรวมและวิเคราะหขอมูลอยางเปนระบบ ซึ่งจะแกไขไดก็ตองดวยการอบรมใหมี ความรู ในเรื่องประวัติศาสตรโบราณคดี [archaeological past] กับ ชาติวงศวรรณนา [ethnological present] ในขณะเดี ย วกัน ก็ต อ งใหมี ก ารรว มมื อกั บ นัก วิจั ย จากภายนอกที่มี ความรู ความเข า ใจ ใน กระบวนการวิจัย เพื่อที่จะทําใหการเสนอรายงานและผลงานเปนไปอยางมีกรอบและหลักการที่ดี ซึ่งผลที่ ตามมาก็จะเปนสิ่งดีกับทั้งนักวิจัยที่เปนคนในทองถิ่นกับคนที่มาจากภายนอก นับเปนการสรางและพัฒนา นักวิจัยทั้งสองกลุมในเวลาเดียวกัน โดยเหตุนี้ ในการกําหนดใหทุนอุดหนุนการวิจัยนั้น ยังคงตองพิจารณานักวิจัยจากภายนอกที่มาจาก สถาบันการศึกษาในระดับมหาวิทยาลัยดวย ถัดจากเรื่องตัวคนที่จะทําการวิจัย ก็เปนเรื่องกรอบกระบวนการและทิศทางในการทําวิจัย นั่นคือ การ วิจัยที่วานี้ หนวยในการวิจัยจะไมใชคําวา “ชุมชนศึกษา” [community based study] คํานี้ไมเหมาะสมกับ สถานการณในการวิจัย เพราะเปนงานปฏิบัติงานสนามไมใชในหองเรียนทางสังคมศาสตร ในขณะเดียวกัน ก็ จะปฏิเสธคําวา “ประวัติศาสตรชุมชน” “วัฒนธรรมชุมชน” และ “เศรษฐกิจชุมชน” เพราะเหตุวาพื้นที่ในการศึกษามีมากกวาการเปนชุมชนหนึ่งๆ หากเปนของหลายๆ ชุมชนที่อยูในพื้นที่ เดียวกัน จึงใชคําวา “ทองถิ่นศึกษา” [locality based study] แทน กลาวคือการเนนในเรื่อง “พื้นที่” [space] แตเปนพื้นที่ทางวัฒนธรรม [cultural space] ที่สัมพันธกับวิถีชีวิตของผูคนจนทําใหเกิดสํานึกในประวัติศาสตร ทองถิ่นและวัฒนธรรมทองถิ่นรวมกัน


ทองถิ่นเปนพื้นที่ซึ่งคนในสังคมทองถิ่นเปนผูกําหนดและสรางอะไรตออะไรในทางประวัติศาสตรและ วัฒนธรรมรวมกัน จึงเปนเรื่องของคนจากภายในที่จะรูความเปนมาและขอบเขต ตลอดจนการขนานนามของ สถานที่และพื้นที่สาธารณะ เชน ปา เขา ทุง หนอง คลอง และแมน้ํา รวมไปถึงบรรดาโบราณสถานและสถานที่ ศักดิ์สิทธิ์ การกําหนดทองถิ่นจากคนภายในดังกลาวมานี้ ทําใหแตกตางไปจากพื้นที่ทางราชการ ที่มีการสราง ขึ้นมาจากรัฐและสวนกลาง ตั้งแตสมัยรัชกาลที่ 5 เชน หมูบาน ตําบล อําเภอ และจังหวัด ซึ่งมีการมุงหมายเพื่อ การบริหารและการปกครองเปนสําคัญ ทองถิ่นที่เปนการสรางขึ้นโดยคนภายใน นับเปนพื้นที่ทางวัฒนธรรมที่เปนธรรมชาติ เพราะเกิดมาจาก ความตองการที่จะอยูรวมกันเปนหมูเปนเหลาของมนุษยในฐานะเปนสัตวสังคม ในขณะที่ทองถิ่นที่เกิดจากการ บริหารการปกครองที่มาจากภายนอกนั้น เปนการจัดตั้งและบังคับใชที่อยูนอกเหนือการควบคุมของผูคนใน สังคมทองถิ่น หาเปนสิ่งที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติของการรวมกลุมของมนุษยไม แตปจจุบันคนทั่วไปยังเขาใจผิด วา บรรดาหมูบาน ตําบล อําเภอ และจังหวัด คือสิ่งที่เปนพื้นฐานของคําวา “ชุมชน” และ “ทองถิ่น” กัน ความแตกตางระหวางทองถิ่นที่มาจากการกําหนดของคนในสังคมทองถิ่น กับทองถิ่นที่กําหนดจาก ทางราชการที่มาจากภายนอก ก็คือ “โครงสรางทางสังคม” [social structure] โครงสรางสังคมของทองถิ่นที่เกิด จากภายใน จะเปนเรื่องของแนวนอนที่แสดงความเสมอภาค คือ ผูคนในทองถิ่นมีสถานภาพเทาเทียมกันหมด ความเหลื่อ มล้ํา จะมี ก็ อ ยูที่ เ รื่อ งของอาวุ โ สและความรู ค วามสามารถของบุคคลที่ สั งคมยกย อ ง ในขณะที่ โครงสรางสังคมของทองถิ่นทางราชการ จะมีลักษณะเปนรูปสามเหลี่ยมปรามิด ที่มีลําดับความสําคัญสูงต่ํา ลดหลั่นกันลงมา เพราะเปนสิ่งที่ผูกพันกับอํานาจการปกครองของรัฐ ทําใหเกิดความแตกตางกันในเรื่องของ สถานภาพเพียงผูอยูภายใตการดูแลและชี้แนะจากองคกรที่จัดตั้งโดยทางราชการ แทบไมมีสิทธิในการแสดง ความคิดเห็นและริเริ่มแตอยางใด ในเรื่อ งนี้ถาหากผูมีอํานาจในองคกรเปนคนที่มาจากที่อื่น ก็อาจใชตําแหนงและอํานาจหนาที่หา ผลประโยชนและเรงรัดเอาเปรียบผูคนในชุมชนได อยางไรก็ตาม ในกระแสของเศรษฐกิจแบบทุนนิยมที่ครอบงํา ประเทศชาติอยูในขณะนี้ ดูเหมือนจะสรางทัศนคติที่เปนปจเจกใหแกผูนําและผูมีนสถานภาพในองคกรที่จะคิด จะทําอะไรเพื่อตัวเองและพรรคพวกมากกวาการจะทําใหกับสวนรวม ยิ่งกวานั้น การดํารงอยูขององคกรชุมชนที่ จัดตั้งโดยทางราชการนี้ กําลังสรางความเหลื่อมล้ําและแปลกแยกกับผูคนในชุมชนทองถิ่นที่กินลึกลงไปจนถึง ระบบครอบครัวและญาติพี่นอง นั่นคือ ทําใหเกิดคนสองพวกขึ้นในเวลาเดียวกัน พวกแรกคือ คนที่มีชีวิตอยูตามแบบประเพณีเดิม ไมโลภ และคิดอะไรยังสัมพันธกับการอยูรวมกัน อยางเสมอภาค สวนพวกหลังคือพวกมีสํานึกเปนปจเจก รอบรู ทันโลก มักเปนพวกที่มีโอกาสฉวยโอกาสสราง ความร่ํารวยและมีอํานาจในทางที่เอารัดเอาเปรียบพวกแรก ซึ่งกลายเปนคนดอยโอกาสไป โดยเหตุนี้เมื่อทางรัฐ มีการสนับสนุนทางเศรษฐกิจ เชน ผันเงินไปชวยชาวบานหรือจัดทําโครงการในการพัฒนาใดๆ ผลประโยชนมัก ตกไปอยูกับบุคคลประเภทหลัง ดังไดกลาวมาแลวทั้งสิ้น ทํานองตรงขาม โครงสรางสังคมที่เกิดขึ้นจากการอยูรวมกันและคนรวยในทองถิ่นตามธรรมชาติของ ความเปนมนุษยนั้น เปนโครงสรางที่ไมมีการใหอํานาจเด็ดขาดแกบุคคลผูหนึ่งผูใดในองคกรชุมชน และผูที่เปน


สมาชิกขององคกรก็ลวนเปนผูที่ไดรับการยอมรับในเรื่องความเปนผูรูและผูมีคุณธรรม มักประกอบดวยบุคคล หลายประเภทที่มีบทบาทในสังคมทองถิ่น อันไดแกพระสงฆ ผูเฒาผูอาวุโส ผูมีความรูในอาชีพตางๆ แลวจึง มาถึงผูที่เปนผูใหญบาน กํานัน ครูโรงเรียนและคนรุนหนุมสาว ที่รักจะทําอะไรเพื่อสวนรวม โดยเฉพาะพระสงฆ นั้นสําคัญมาก มักไดแกพระสงฆที่เปนทั้งเจาอาวาสวัดของชุมชนและเปนพระอุปชฌายแกคนในทองถิ่นที่เปน ผูชาย สวนผูอาวุโสก็จะไดแกผูรูในเรื่องประเพณีพิธีกรรม ประวัติความเปนมาของชุมชนหรือผูที่มีฐานะดี ประสบความสําเร็จในอาชีพและหนาที่การงาน บุคคลเหลานี้ เปนที่รูจักยอมรับกันในดานการมีคุณธรรมและ ศีลธรรม ไมมีความโลภทางวัตถุอันใด อยูในฐานะที่ชี้แนะและสั่งสอนใหความรูและทิศทางที่ดีแกผูคนในสังคม ไดตลอดเวลา ในขณะที่ผูที่ไดรั บเลือกใหเปนผู ใหญบานหรือกํา นัน ก็มักเปนคนในทองถิ่นที่มีสํา นึกในเรื่องของ สวนรวม มักไมถือตัววามีอํานาจและมีหนาที่ทางราชการ คนเหลานี้มารวมตัวกันเปนองคกรที่จะทําอะไรเพื่อ สวนรวมและความยั่งยืนของผูคนในชั้นลูกชั้นหลาน ไมมีใครมีอํานาจเต็มในองคกร แตจะประชุมปรึกษาหารือ รวมกันและตัดสินใจรวมกันเปนสําคัญ องคกรชุมชนจากโครงสรางสังคมที่มาจากการอยูรวมกันของคนภายใน ของทองถิ่นดังกลาวนี้ อยูในสภาพที่เสื่อมถอย เพราะการรุกล้ําของอิทธิพลการจัดการทางเศรษฐกิจการเมืองที่ ผานเขามาทางองคกรชุมชนที่รัฐจัดตั้งขึ้น การหายไปหมดไปขององคกรชุมชนธรรมชาติและโครงสรางสังคมที่เนนความเสมอภาคอันมีมาแต เดิมนั้น ยอมเปนอันตรายแกชีวิตวัฒนธรรมของผูคนในสังคมทองถิ่นเปนอยางยิ่ง เพราะในกระแสของความ เปลี่ยนแปลงที่มาจากภายนอกที่เปนโลกาภิวัตนนั้น จะไมมีอะไรที่เปนกลไกในการปรับระดับสังคมใหเกิดการ ดํารงอยูอยางมีดุลยภาพและเขมแข็งแกคนทั่วไปที่ดอยโอกาสได อีกนัยหนึ่งก็คือ “กระบวนการทองถิ่นวัฒนา” [localization] ที่สามารถปรับปรนสังคมทองถิ่นใหทันโลกทันสมัยจะไมมีวันเกิดขึ้น ความสําคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจสังคมในปจจุบัน หาขึ้นอยูกับการพัฒนาทางเศรษฐกิจไปตาม โครงสรางชุมชนทางราชการที่รัฐเปนผูกําหนดและจัดตั้งขึ้นเทานั้นไม เพราะจะทําใหเกิดความเอารัดเอาเปรียบ และแตกแยกทางสังคมระหวางคนฉวยโอกาสและคนดอยโอกาสลงไปจนถึงชุมชนทองถิ่นในระดับรากหญา หากมีความจําเปนอยางยิ่งในการกระตุนและสนับสนุนใหชุมชนในทองถิ่นไดพัฒนาตัวเองจากภายในใหเกิดมี สํานึกทองถิ่นและองคกรชุมชนที่เกิดขึ้นจากธรรมชาติของความเปนมนุษยที่มีมาแตเดิม มาเปนกลไกที่จะสราง ดุลยภาพกับอิทธิพลทางเศรษฐกิจการเมืองที่มาจากภายนอก การฟนฟูสํานึกรวมของผูคนในสังคมทองถิ่น จะเกิดขึ้นไดก็ดวยอาศัยความรูความเขาใจในเรื่อ ง ประวัติศาสตรทองถิ่นและวัฒนธรรมทองถิ่น อันเปนสิ่งที่คนภายในทองถิ่นมีบทบาทและสวนรวมในการสราง เปนองคความรูขึ้นมาอยางเปนรูปธรรม ที่ออกมาในรูปของพิพิธภัณฑทองถิ่นที่วานี้ เกิดขึ้นแลวหลายแหง อัน เกิดจากการตื่นตัวของคนภายใน เชน พิพิธภัณฑวัดมวง อําเภอบานโปง จังหวัดราชบุรี พิพิธภัณฑจันเสน ใน อําเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค พิพิธภัณฑบานเขายี่สาร ในเขตอําเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม และที่ กําลังจะเสร็จตามมาอีกหลายแหง เชน ที่บานหนองขาว อําเภอทามวง จังหวัดกาญจนบุรี ความสําเร็จของบรรดาพิพิธภัณฑทองถิ่นที่กลาวมานี้ ทําใหแลเห็นการเกิดสํานึกรวมของคนในทองถิ่น ที่สัมพันธกับโครงสรางสังคมและองคกรชุมชนที่เกิดขึ้นจากคนภายใน ความรูทางประวัติศาสตรและวัฒนธรรม


มีการเพิ่มเติมขึ้นเรื่อยๆ จากการเรียนรู การใหขอมูลของผูคนในทองถิ่น ซึ่งก็รวมไปถึงการจัดการถายทอดใหคน ในรุนหลังไดเรียนรู และขณะเดียวกันก็เผยแพรใหคนจากภายนอกรวมทั้งนักทองเที่ยวไดศึกษาอีกดวย แตที่ สําคัญก็คือ เกิดการริเริ่มและการนําความรูที่เปนภูมิปญญาเดิมไปพัฒนาใหเกิดการผลิต อาหาร ยา เสื้อผา เครื่องใช ทําใหมีรายไดทางเศรษฐกิจแกคนในทองถิ่นอีกดวย ขณะนี้มีการตื่นตัวในเรื่องการสรางความรูทองถิ่น และการจัดตั้งพิพิธภัณฑทองถิ่นกันอยางแพรหลาย โดยที่มีแนวคิดและวิธีการ ตลอดจนรูปแบบแตกตางกันออกไป แตถาหากเปนพิพิธภัณฑทองถิ่นตามแนวทาง และทิศทางที่ไดกลาวมาแลวนั้น ยังเปนสิ่งที่คนจากภายในไมอาจจัดตั้งขึ้นได โดยปราศจากการอบรมใหเขาใจ การคนควาประวัติศาสตรทองถิ่นและวัฒนธรรมพื้นบาน เพราะเนื้อหาความรูที่คนความาไดคือ สิ่งที่นําไป กําหนดเปนประเด็นตางๆ ในการจัดแสดงสิ่งของและเรื่องราวทางวัฒนธรรม การศึกษาประวัติศาสตรทองถิ่นอันเปนประวัติศาสตรจากภายใน มีสิ่งที่จะตองคนควาและวิจัยอยูสอง อยางดวยกัน อยางแรกเกี่ยวกับประวัติศาสตรความเปนมาของทองถิ่น อันเกี่ยวกับพื้นที่และสภาพแวดลอม ทางภูมิศาสตร เรียกในที่นี้วา ประวัติศาสตรโบราณคดี เพราะเปนการศึกษาใหเห็นความเกาแกของทองถิ่นจาก หลักฐานทางโบราณคดีและประวัติศาสตร ทั้งดวยเอกสารและโบราณวัตถุ นักวิจัยทองถิ่นเรียนรูจากการ รวบรวมขอมูลที่มีในทองถิ่นมาใหนักโบราณคดี นักมานุษยวิทยา และนักประวัติศาสตร ชวยกันวิเคราะห ตีความ แลวรายงานเปนเรื่องราวออกมา อยางที่สองเปนประวัติศาสตรสังคมของกลุมชนในชุมชนตางๆ ที่อยูในทองถิ่นเดียวกัน โดยเนนจาก กลุ ม ชนที่ อ ยู ใ นป จ จุ บั น ย อ นกลั บ ลงไปยั ง คนรุ น เก า ๆ ว า เคลื่ อ นย า ยมาจากไหน เข า มาตั้ ง ถิ่ น ฐานและมี ความสัมพันธกันทางสังคมอยางไร ขอมูลทางสังคมดังกลาวนี้ มีความสําคัญมาก อีกทั้งเปนสิ่งที่นักวิชาการ จากภายนอกเขาไปเก็บขอมูลยาก เพราะมักเขาไปเกี่ยวของกับเรื่องสวนตัวภายในครอบครัว ซึ่งถาจะทําไดก็ ตองใชเวลาที่จะสรางความสัมพันธจนเปนที่พอใจของชาวบาน จึงจะไดผลดี แตถาหากเปนสิ่งที่คนในเปนคน ศึกษาแลว คงไมตองใชเวลานานเทาใด เพียงแตตองไดรับการอบรมความรูและวิธีการทางชาติวงศวรรณนามา จากนักมานุษยวิทยาเสียกอน จึงจะทําไดอยางมีระบบ การศึกษาประวัติศาสตรสังคมดังกลาวนี้ จะทําใหไดทราบเครือขายความสัมพันธทางสังคม เศรษฐกิจ และวัฒนธรรมของบรรดาชุมชนทั้งหลายที่อยูในทองถิ่นเดียวกัน ผูคนเหลานี้อธิบายความเปนมาของพวกคนที่ สัมพันธกับหลักฐานของทองถิ่นทางประวัติศาสตรโบราณคดี ออกมาในรูปของตํานาน ประเพณี พิธีกรรม อยางไรถึงไดเกิดสํานึกทองถิ่นรวมกัน จากเรื่องทางประวัติศาสตรทองถิ่น ทั้งทางประวัติศาสตร โบราณคดี และ ประวัติศาสตรสังคม ก็จะสงตอความรูความเขาใจมาสูการคนควาเรื่องราวของวัฒนธรรมทองถิ่น ซึ่งเปนเรื่อง ของปจจุบัน และการเปลี่ยนแปลงในชีวิตวัฒนธรรมของผูคนในชุมชนตางๆ ที่อยูในทองถิ่นเดียวกัน ซึ่งการ คนควาในเรื่องนี้ก็ตองกระตุนและอบรมใหนักวิจัยที่เปนคนในทํา เพราะมีพื้นฐานความรูและรูจักผูคนที่อยูใน ทองถิ่นเดียวกันมากกวาคนที่มาจากภายนอก ซึ่งถาหากไดรับการอบรมใหรูจักการสังเกตและการตั้งคําถาม แลว ก็จะไดหลักฐานขอมูลที่มีความนาเชื่อถือไดดีกวาการทํางานของคนจากภายนอก


วัตถุประสงค จากหลักการและเหตุผลที่ไดกลาวมาแลว พอสรุปเปนวัตถุประสงคในการดําเนินโครงการอบรมและ วิจัยเชิงปฏิบัติการไดดังนี้ ๑. เพือ่ อบรมและใหทุนนักวิจัยที่เปนคนในทองถิ่น จนสามารถทําการวิจัยรวมกับนักวิจัยทีม่ าจาก ภายนอกไดอยางเสมอภาค ๒. เพื่อศึกษา วิเคราะห และสังเคราะห หลักฐานทางโบราณคดี ประวัติศาสตร และชาติพันธุ มาสราง เปนองคความรูทางประวัติศาสตรทองถิ่นและวัฒนธรรมทองถิ่น ที่ผูคนทั่วไปในทองถิ่นมีสว นรวมและยอมรับ ๓. เพื่อนําความรูทางประวัตศิ าสตรทองถิ่นและวัฒนธรรมพื้นบานไป เปนพื้นฐานในการจัดตั้งพิพิธภัณฑทองถิ่นเพื่อเปนแหลงเรียนรูแกผูคนทั้งจากภายในและ ภายนอก เปนหลักฐานที่จะนําไปใชในการพัฒนาทางวัฒนธรรมของทองถิ่น สรางเรื่องราวและเนื้อหาในเรื่องทองถิ่นศึกษาตามโรงเรียน

ขอบเขตและเวลา โครงการอบรมและวิ จั ย นี้ เลื อ กทํ า เฉพาะบางท อ งถิ่ น ในภาคกลาง ภาคตะวั น ออก ภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคเหนือ และภาคใตที่คณะผูดําเนินการสามารถควบคุมและจัดการไดสะดวก โดยใช เวลา ๑ ป เดือน ในการดําเนินงาน

แนวคิด ทฤษฎี และวิธีการ เป น กระบวนการศึ ก ษาทางมานุ ษ ยวิ ท ยาในเรื่อ ง “โครงสร า ง-หน า ที่ นิย ม” [structural-functional approach] ที่เนนการปฏิบัติงานภาคสนามเปนหลัก ผูวิจัยจะไดรับการอบรมใหเขาใจในเรื่องการเปนสัตว สังคมของมนุษย รวมทั้งสถาบันทางสังคมและวัฒ นธรรมที่เกี่ยวของ และการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและ วัฒ นธรรมเป น สํ าคั ญ กํ า หนดท อ งถิ่น อั น ประกอบไปด ว ยหลายชุ ม ชนธรรมชาติ ที่ มี วั ดเป น ศู น ย ก ลางของ ประเพณีพิธีกรรม ที่มีการสังสรรคกันทางสังคม เศรษฐกิจ และวัฒนธรรม เปนหนวยในการศึกษาและปฏิบัติ จากสนาม อบรมผูวิจัยใหเขาใจหลักฐานทางโบราณคดีและชาติพันธุวรรณนา ตลอดจนถึงการนํามาวิเคราะห ตีความและเชื่อมโยงอยางเปนระบบ เพื่อเขียนเปนรายงานการศึกษาอยางมีขั้นตอน แตการดําเนินการให ไดผลดีเปนที่ควบคุมได จําเปนตองอาศัยความรวมมือของบุคคลอีกสองประเภท ประเภทแรก คือ ผูที่เปนที่ปรึกษาอาวุโสที่มีความรอบรูทางวิชามานุษยวิทยาทั้งภาคทฤษฎีและการ ปฏิบัติงานสนาม ทานเหลานี้จะตองเชิญมาประเมินและวิจารณรายงานการศึกษาในการสัมมนากลุมยอย [work shop] เปนระยะๆ ไปจนถึงการรายงานขั้นสุดทาย สวนประเภทหลังก็คือ นักวิจัยจากภายนอกที่เปน นักศึกษาขั้นปริญญาโทที่เรียนวิชามานุษยวิทยาพอสมควร จะเขามารวมในการทําการวิจัยในทองถิ่นกับ นักวิจัยภายในตั้งแตแรกเริ่ม ทําหนาที่เปนพี่เลี้ยงใหกับนักวิจัยจากภายใน และประสานงานกับหัวหนาโครงการ และคณะที่ปรึกษาทางวิชาการ รวมทั้งชวยเหลือในการเขียนรายงานตั้งแตขั้นแรกจนขั้นสุดทาย การวิจัยในแต


ละทอ งถิ่นจะเปนการดําเนินงานที่เปนกลุม คือ มีนักวิจัยจากภายในจํานวน ๕-๑๐ คน โดยมีนักวิจัยจาก ภายนอกมารวมดวยอีก 1 คน มีการประชุมทุกกลุมเพื่อติดตามผลและแนะนําโดยที่ปรึกษาอาวุโสในทุก ๔ เดือน จนถึงการประชุมขั้นสุดทาย

หัวหนาโครงการ รศ. ศรีศักร วัลลิโภดม

ที่ปรึกษา รศ.ดร.มรว.อคิน ระพีพัฒน รศ.ดร.สุเทพ สุนทรเภสัช รศ.ปรานี วงษเทศ


๑๐

สังคมชายแดน–ชายขอบกับการเปลี่ยนแปลง: ผลงานวิจัยของ “คนใน” ศรีศกั ร วัลลิโภดม ตามที่ สกว. ไดสนับสนุนการวิจัยโครงการประวัติศาสตรและวัฒนธรรมทองถิ่นที่มุงอบรมใหคนใน ทองถิ่นไดทําการวิจัยดวยตนเอง โดยนักวิชาการอาวุโสเปนที่ปรึกษาและนักวิจัยจากภายนอกไปชวยเปนพี่เลี้ยง เปนเวลา ๑ ป ๖ เดือน ตั้งแต พ.ศ. ๒๕๔๖ มานั้น บัดนี้การดําเนินการไดมาถึงในขั้นสรุปผลแลว จึงนํามาเสนอ พอเปนสังเขปดังตอไปนี้ โครงการนี้สืบเนื่องมาจากโครงการเมธีวิจัยอาวุโสของ รศ.ศรีศักร วัลลิโภดม ที่พบวาในการศึกษาวิจัย ทางสังคมและวัฒนธรรมชุมชนในทองถิ่นนั้น มักเปนการวิจัยจากนักวิชาการจากภายนอกแทบทั้งสิ้น โดยมีคน ในชุมชนทองถิ่นมีสวนรวมเพียงใหขอมูล เปนลูกมือและชวยเหลือในดานความสะดวก หาไดมีบทบาทในการ ประเมินและวิเคราะหสังเคราะหไม ผลที่ออกมาจึงมักมีขอมูลจากความเปนจริงนอย แตมีการวิเคราะหและ ตี ค วามในเชิ ง แนวคิ ด ทฤษฎี เ ป น ส ว นมาก ผลงานวิ จั ย ดั ง กล า วนี้ อ าจเหมาะกั บ การสื่ อ กั น เองในระหว า ง นักวิชาการ แตขาดเนื้อหาที่เปนรูปธรรมที่คนทั่วไปโดยเฉพาะคนในทองถิ่นจะนําไปใชได ดังนั้นจึงเสนอขอทุนทําโครงการแบบนํารองที่ใหคนในทองถิ่นมีสวนรวมในฐานะนักวิจัยหลัก แลวลด บทบาทนักวิจัยจากภายนอกใหมีฐานะเปนที่ปรึกษาและพี่เลี้ยงที่ชวยในการแนะนําในเรื่องวิธีวิทยาและการ วิเคราะหตคี วาม รวมทั้งชวยในการทํารายงานเสนอผลงานดวย โครงการนี้ มี ร ะยะเวลา ๑ ป ๖ เดื อ น โดยมี รศ.ศรี ศั ก ร วั ล ลิ โ ภดม เป น หั ว หน า โครงการและผู ประสานงาน มีนักมานุษยวิทยาอาวุโส คือ รศ.ดร. อคิน รพีพัฒน ดร.สุเทพ สุนทรเภสัช และ รศ.ปรานี วงษเทศ เปนที่ปรึกษา และมีอาจารยและนักวิจัยจากมหาวิทยาลัยรวมเปนพี่เลี้ยง การดําเนินการวิจัยแบงออกเปน โครงการยอยใน ๕ พื้นที่ หรือทองถิ่นดังนี้ ทองถิ่นลุมน้ําลาวตอนบนในเขตอําเภอเวียงปาเปา ถึงอําเภอแมสรวย จังหวัดเชียงราย ทองถิ่นริมฝงแมน้ําโขงในเขตอําเภอเชียงของและเวียงแกน จังหวัดเชียงราย ทองถิ่นลุมน้ําหมันในเขตอําเภอดานซาย จังหวัดเลย ทองถิ่นขายแดนเขมรในเขตอําเภอโปงน้ํารอน และอําเภอสอยดาว จังหวัดจันทบุรี และทองถิ่นริมอาวปตตานีในเขตอําเภอยะหริ่ง จังหวัดปตตานี การวิจัยมีลักษณะเปนการศึกษาชุมชน (community based study) ในบริบทของนิเวศ วัฒนธรรม (cultural ecology) นั่นคือ เลือกชุมชนใดชุมชนหนึ่งในทองถิ่นอยางเปนองครวมแลวเชื่อมโยง ความสัมพันธทางสังคม เศรษฐกิจ และวัฒนธรรมไปยังบรรดาชุมชนอื่นๆ ที่อยูในทองถิ่นที่เปนนิเวศวัฒนธรรม เดียวกัน การที่กําหนดบริบทใหเปนนิเวศวัฒนธรรมก็เพราะในสังคมชาวนา (peasant society) เชน ผูคนที่อยู ในดินแดนประเทศไทยมาชานานนั้น ไมมีชุมชนใดอยูโดดๆ หากมีหลายชุมชนที่เขามาตั้งรกรากอยูในพื้นถิ่น


๑๑

เดียวกัน มีความสัมพันธทางสังคมเศรษฐกิจและวัฒนธรรมระหวางกัน ใชทรัพยากรในพื้นที่สาธารณะเชน ปา เขา ลําน้ํา ลําหวย ทุงหญา หรือหนองบึงรวมกันอยางมีกติกาและจารีต การปรับตัวของชุมชนทั้งหลายเหลานี้ เขากับสภาพแวดลอมธรรมชาติของทองถิ่น ไดทําใหพื้นถิ่นนั้นกลายเปนพื้นที่ทางวัฒนธรรมที่เรียกไดวา นิเวศ วัฒนธรรม ประวัติศาสตรทองถิ่นก็คือประวัติศาสตรสังคมของผูคนในชุมชนทั้งหลายเหลานี้ ในขณะที่วัฒนธรรม ทองถิ่นคือการดํารงอยูรวมกันที่เปนวิถีชีวิตและสํานึกรวมของการเปนคนถิ่นเดียวกันของผูคนในชุมชน ผูคนใน ทองถิ่นแตละชุมชนเทานั้นที่จะรูถึงขอบเขตของชุมชน ความสัมพันธทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมที่อยู ในทอ งถิ่ นเดีย วกัน ดั งนั้ น การเลื อ กศึก ษาในลั ก ษณะที่เ ปนองค รวมเพีย งชุม ชนใดชุม ชนหนึ่ง ในทอ งถิ่ น ก็ สามารถที่จะเชื่อมโยงทําความเขาใจสังคมวัฒนธรรมของทองถิ่นได การวิจัยสังคมและวัฒนธรรมทองถิ่นที่ดําเนินการมาแลวนี้ อาจกลาวไดวาเปนกระบวนการเรียนรู รวมกันทั้งคนในและคนนอกนั้น นั่นก็คือ แมจะใหความสําคัญอยูที่คนในก็ตาม แตคนนอกที่เปนนักวิชาการ อาวุโสและนักวิชาการที่เปนพี่เลี้ยงจะมีสวนรวมในการตรวจสอบประเมินขอมูล และทําการวิเคราะหรวมกัน เปนระยะๆ ไป เริ่มตั้งแตขั้นแรกภายหลังจากเลือกชุมชนที่จะศึกษาและกําหนดคนที่เปนนักวิจัยแลว คณะที่ ปรึ ก ษาก็ ทํ า การอบรมวิ ธี ก ารทางชาติ พั น ธุ ว รรณนาให วิ ธี ก ารนี้ โ ดยปรกติ เ ป น วิ ธี ก ารเก็ บ ข อ มู ล ของนั ก มานุษยวิทยา แตในที่นี้ไดถายโอนมาใหนักวิจัยที่เปน คนใน ทําแทน การเก็บขอมูลที่เปนองครวม เริ่มตั้งแต - ตําแหนงภูมิศาสตรและสภาพแวดลอมของทองถิ่นและชุมชน - ประวัติความเปนมาของชุมชน - การตั้งถิ่นฐานและความสัมพันธทางเศรษฐกิจและสังคมระหวางกัน - ระบบเศรษฐกิจ - การปกครอง - ศาสนา ความเชื่อ ประเพณีพิธีกรรม - และการเปลี่ยนแปลงทางสังคมวัฒนธรรมที่มีผลมาจากปจจัยทั้งภายในและภายนอก โดยเฉพาะการรุกล้ําของนิเวศการเมือง (political ecology) ที่มาจากภายนอกโดยทั้งจากรัฐและ นายทุนที่มีอํานาจทางเศรษฐกิจ การเมือง ขอมูลทางชาติพันธุวรรณนาที่เปนองครวมนี้ คณะวิจัยเชื่อมั่นวาคน ในทําไดดีกวาคนนอก เพราะเปนสิ่งที่คุนเคยในชีวิตความเปนอยูมาตั้งแตเด็ก การรวบรวมขอมูลดังกลาวนี้ นักวิจัยพี่เลี้ยงมีสวนรวมในการแนะนําตลอดเวลา เมื่อครบ ๖ เดือนก็มีการทําผลมาเสนอตอคณะที่ปรึกษา ซึ่งจะเปนผูตรวจสอบใหคําแนะนําเพิ่มเติม พรอมกับตั้งคําถามเพิ่มเติมในการรวบรวมขอมูลใหสมบูรณในขั้นตอไป ประสบการณในการรวบรวมขอมูลขั้น แรกนั้น นักวิจัยจากภายในยังมีปญหาในเรื่องความเขาใจและขอมูลที่ไดรวบรวมมา มีลักษณะเปนภาพนิ่งและ คอนขางเปนเรื่องๆ ทําใหตองใชเวลาทําความเขาใจเพิ่มขึ้น พอมาถึงขั้นที่สองใน ๖ เดือนตอมา การรวบรวมขอมูลเปนปกแผนขึ้น อีกทั้งผูวิจัยไดเรียนรูจากการตั้ง ข อ สั ง เกตและการสั ง เกตการณ ม ากขึ้ น ทํ า ให เ กิ ด ฐานข อ มู ล ที่ ม าจากการวิ จั ย เชิ ง ประจั ก ษ (empirical


๑๒

materials) ที่สามารถนําไปตั้งคําถามและสังเกตการณเพิ่มเติมจากการเปนภาพนิ่งใหเกิดการเชื่อมโยงเปน ภาพเคลื่อนไหวได คณะที่ปรึกษาและนักวิจัยพี่เลี้ยงเองก็ไดรับรูและเรียนรูสิ่งใหมๆ ที่ทําใหแลเห็นการเปลี่ยนแปลงทาง สังคมและวัฒนธรรมในทองถิ่นไดอยางเปนรูปธรรม จึงไดแนะแนวทางการสังเกตและเชื่อมโยงขอมูลใหผูวิจัยที่ เปนคนในดําเนินการตอ ไป พอถึงขั้นที่สาม เมื่อมีการประชุมรวมกันอีกก็ไดขอมูลทางชาติพันธุที่คอนขาง สมบูรณ สิ่งนี้คือหลักฐานสําคัญในการวิจัย เพราะเปนขอมูลที่มาจากการวิจัยเชิงประจักษโดยตรง เปนพื้นฐาน ที่จะทําใหการวิเคราะห สังเคราะหและตีความตั้งอยูบนฐานของความเปนจริง แตจุดออนก็คือ ฐานขอมูลนี้มี รายละเอียดและขอปลีกยอยที่ยากแกคนทั่วไปจะเขาใจได ซึ่งก็จะเปนปญหาในเรื่องผลการเสนอการวิจัยที่เปน มาตรฐาน ที่ตองมีแนวคิดทฤษฎี และรูปแบบอันเปนที่ยอมรับ จึงตองเปนหนาที่ของคณะที่ปรึกษาและนักวิจัย พี่เลี้ยงตองดําเนินการ ดังนั้น ทางออกของการเสนอผลงานใหไดทั้งมาตรฐานและการแสดงถึงความเขาใจในผลงานวิจัยของ นักวิจัยที่เปนคนในก็คือ ไดกําหนดใหนักวิจัยที่เปนคนในเสนอภาพรวมการเปลี่ยนแปลงทางสังคม วัฒนธรรม ทองถิ่น ที่ตนไดศึกษาและเขาใจโดยไมตองสนใจกับฐานขอมูลที่รวบรวมไว โดยที่ในการเสนอรายงานนี้ คณะที่ ปรึกษารวมวิพากษวิจารณในเชิงแนวคิดทฤษฎีดวย ผลปรากฏออกมาวานักวิจัยที่เปนคนในรายงานไดดีแลเห็น ปจจัยที่ทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมที่เปนรูปธรรม นักวิจัยเหลานี้เกิดความเชื่อมั่นใน ตัวเองจนสามารถใหขอมูลเชิงประจักษอยางเชื่อมโยงมากกวาเกา รวมทั้งมีความเขาใจในเรื่องสังคม วัฒนธรรมอยางเคลื่อนไหวและมีทิศทาง จากกระบวนการเรียนรูรวมกันดังกลาวนี้ ทําใหนักวิจัยจากขางนอกและขางในสามารถสรุปวิเคราะห ใหเห็นภาพพจนของการเปลี่ยนแปลงในลักษณะองครวมของทองถิ่นที่เรียกวา นิเวศวัฒนธรรมที่มีปจจัยมา จากการรุกล้ําของนิเวศการเมืองที่มาจากคนนอก ดั ง นั้ น การเปลี่ ย นแปลงนิ เ วศวั ฒ นธรรม จึ ง เป น ประเด็ น สํ า คั ญ ในการเสนอผลงานวิ จั ย ของ งานวิจัยทั้ง ๕ กลุม อีกทั้งสามารถบอกไดวา นิเวศวัฒนธรรมทั้ง ๕ พื้นที่หรือทองถิ่นนี้มีลักษณะทางสังคม วัฒนธรรมที่คลายกัน คือเปนเรื่องของสังคมชายแดน – ชายขอบ ที่มีทั้งตําแหนงทางภูมิศาสตรอยูในพื้นที่ ชายแดนและเปนกลุมชนที่เปนชายขอบของสังคมมหาชนที่เนนความเปนคนไทย จากการเสนอผลงานของ นักวิจัยที่เปน คนใน ใน ๕ โครงการนี้อาจสรุปสาระใหเห็นโดยยอแตละโครงการไดดังนี้

โครงการในภาคเหนือ ๑. ทองถิ่นลุมน้ําแมลาวตอนบน อยูในเขตอําเภอเวียงปาเปา และอําเภอแมสรวย จังหวัดเชียงราย ภูมินิเวศเปนพื้นที่ภายในหุบเขาที่มีลําน้ําแมลาวไหลผานกลางจากเขาและที่สูงทางทิศใตไปทางเหนือ เปน บริเวณที่มีผูคนตั้งถิ่นฐานเปนชุมชนบานเมืองมาแตสมัยลานนา โดยมีเวียงปาเปาเปนศูนยกลางและเปนเมือง บริวารของเมืองพะเยา ผูคนเหลานี้มีหลายชาติพันธุทั้งที่ตั้งถิ่นฐานบนที่สูงและที่ราบลุม เชนผูที่อยูบนที่สูงพวกกะเหรี่ยง ปลูก เมี่ยงขาย ในขณะที่บนพื้นราบ เชน พวกไทยวน ไทลื้อ ทํานา หุบเขานี้ตั้งอยูในบริเวณที่เปนเสนทางคมนาคมมา


๑๓

แตเดิม จึงมีผูคนพากันเขามาตั้งถิ่นฐานทํากินอยางตอเนื่อง การสรางถนนหลวงจากเชียงใหมผานอําเภอดอย สะเก็ดขนานไปกับลําน้ําลาวจนถึงจังหวัดเชียงรายนั้น ทําใหมีการขยายตัวของความเปนเมือง (urbanization) ทั้งในดานเศรษฐกิจและการเมืองตามมา จนมีผลกระทบตอระบบนิเวศวัฒนธรรมของทองถิ่นที่เคยดํารงอยู ตามจารีตประเพณีมาแตเดิม เปนสิ่งที่นํามาถึงการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมที่มีลักษณะขัดแยง และเสียดุลยภาพในขณะนี้ ปจจัยสําคัญจากการขยายตัวทางนิเวศ การเมือง เศรษฐกิจ ที่มาจากรัฐที่ทําใหเกิดความเดือดรอน อยางยากที่จะควบคุมก็คือ การจัดการน้ําของรัฐที่เรียกวา ชลประทานหลวง อันเห็นไดจากการสรางเขื่อน สรางอางเก็บน้ํา ขุดคลองชลประทานและทําถนนหนทางนั้น คือสิ่งสําคัญที่กําลังทําลายระบบเหมืองฝายอัน เปน ชลประทานราษฎร ที่จรรโลงนิเวศวัฒนธรรมอันทําใหผูคนในทองถิ่นตางๆ ของลุมน้ําลาวตอนบนมี ความสัมพันธทางสังคมและวัฒนธรรมรวมกันมาอยางราบรื่นหลายศตวรรษตองแหลกสลายลง โดยเฉพาะ โครงการสรางเขื่อนแมสรวยที่กําลังทําใหเกิดน้ําทวมแหลงที่อยูอาศัยและที่ทํากินของผูคนทั้งที่อยูบนที่ราบลุม และที่สูงแยงน้ําจากลําน้ําและลําหวยไปใหกับทางเพาะปลูกพืชเศรษฐกิจ เชน สมและชาที่เปนอุตสาหกรรม ขนาดใหญของคนที่เปนนายทุนที่เปนทั้งคนไทยและคนตางชาติ เมื่อมองไปขางหนาลุมน้ําลาวตอนบนนี้กําลัง ถูกผนวกเขาเปนพื้นที่นิคมเกษตรอุตสาหกรรมของคนจีนที่กําลังขยายตัวมาตามแมน้ําโขงจากเชียงรุงถึงเชียง แสนและเชียงรายทั้งหมด ๒. ทองถิ่นเชียงของ – เวียงแกน เปนพื้นที่ชายแดนไทย–ลาวริมฝงแมน้ําโขงที่มีการเคลื่อนไหวและ เปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมอยางรวดเร็วและซับซอนในขณะนี้ ลักษณะภูมินิเวศเปนพื้นที่สัมพันธกับ แมน้ําโขง แมน้ําอิงและลําน้ํางาวในเขตอําเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย โดยมีเทือกเขาอันเปนปาตนน้ําของลํา น้ําลําหวยที่ไหลลงลําน้ําทั้งสามทําหนาที่แบงบริเวณที่สูงออกจากที่ราบลุม คือ ดอยหลวง ดอยยาว ดอยผา หมน และดอยผาตั้ง บริเวณริมโขงตรงปากแมน้ําอิงและลําน้ํางาวนี้มีพัฒนาการทางสังคมและวัฒนธรรมเปนบานและ เมืองมาแตสมัยลานนา โดยมีเมืองเชียงของเปนศูนยกลางทางเศรษฐกิจ การเมืองและสังคม เพราะตั้งอยูบน เสนทางคมนาคมโบราณที่ไปตามลําน้ําอิงผานเขาสูลําน้ํางาว ติดตอกับพะเยา ลําปาง และแพรได ในขณะที่ จากฝงแมน้ําโขงที่เชียงของทางฝงประเทศลาวในเขตเมืองหวยทรายก็เปนเสนทางคมนาคมไปยังบานเมืองทาง ลาวและเวียดนาม การคนควาขอมูลทางประวัติศาสตรและวัฒนธรรมของคนในทองถิ่น ทําใหเห็นไดวาเชียงของเปนเมือง ที่ดํารงอยูอยางสืบเนื่องมากกวาเมืองเชียงแสนที่มีการทิ้งรางไป อีกทั้งเชียงของก็อยูในระบบนิเวศวัฒนธรรม ของผูคนบนสองฝงโขงในเขตเมืองหวยทรายรวมกัน เพิ่งมาถูกแบงแยกเพราะการแบงเขตแดน โดยอาศัยรองน้ํา ลึกที่ฝรั่งเศสมาจัดการเทานั้น ปจจุบันประเพณีการใชพื้นที่ทองน้ําของแมน้ําโขงเปนพื้นที่ทางเศรษฐกิจและวัฒนธรรมเหลืออยู เปน พื้นที่ซึ่งเรียกวา ลั้ง ที่ใชในการจับปลาและสัตวน้ํารวมกัน โดยมีประเพณีพิธีกรรมรวมเชนการจับปลาบึกและ ประเพณีเซนสรวงผีรวมกัน เปนตน ยิ่งกวานั้นเมืองเชียงของยังเปนเมืองในการรับรูของคนทองถิ่นลุมน้ําโขงวา


๑๔

เปนเมืองที่มีความสัมพันธในเชิงเปนเมืองพี่ และเมืองนองกับเมืองหลวงพระบางอีกดวย เพราะมีผูคนที่เปน กลุมชาติพันธุเดียวกันเคลื่อนยายไปมาระหวางกันอยางสืบเนื่อง การไมเคยรางไปของเมืองเชียงของทําใหมีสภาพเปนที่มีการเคลื่อนไหวทางเศรษฐกิจและสังคมอยาง ตอเนื่อง คือมีพัฒนาการของยานตลาด ผานที่อยูอาศัยของคนกลุมอาชีพตางๆ ที่ทําการรัฐบาลและวัด การทาง สาธารณูปโภคตลอดเวลา พื้นที่สูงรอบๆ เชียงของกลายเปนที่ปลูกสวนสมขนาดใหญ อีกทั้งมีการเคลื่อนไหว ของชนเผาชาติพันธุบนที่สูงอพยพเคลื่อนยายเขามาตั้งถิ่นฐานเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะบริเวณดอยหลวง ดอยผา หมนและดอยผาตั้ง กลุมชาติพันธุระหวางนี้ไดแกพวกลาหู ขมุ จีนฮอ อาขา เยา และมง เปนตน ในขณะที่พื้นที่ ราบโดยเฉพาะริมสองฝงน้ํ า โขง ก็มี การเคลื่อ นยายของคนไทลื้อจากทางสิบสองปนนาลงมา ทําให มีก าร ผสมผสานของคนไทลื้อและไทยวนอันเปนคนในพื้นถิ่นของเชียงรายมาแตเดิม ความต า งกั น ระหว า งท อ งถิ่ น เชี ย งของกั บ เวี ย งแก น ก็ คื อ บริ เ วณเชี ย งของมี บู ร ณาการทาง ประวัติศาสตร เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมไดดีกวา เพราะเปนบริเวณศูนยกลางทางการเมืองและเศรษฐกิจ สวนบริเวณเวียงแกนนั้นคนกลุมตางๆ ยังแยกกันอยูอยางอิสระไมวาจะเปนคนไทลื้อ คนขมุ คนมง คนเยา นั่น คืออาจมีความสัมพันธกันทางเศรษฐกิจและสังคม แตในเรื่องวัฒนธรรมและวิถีชีวิตยังคงรักษาอัตลักษณและ สํานึกทางชาติพันธุไวได แตทั้งนี้และทั้งนั้นสังคมของคนเหลานี้ไมหยุดนิ่ง เพราะมีอิทธิพลและบทบาทของการ จัดการทางการบริหารและการเมืองของรัฐ รวมทั้งการขยายพรมแดนทางเศรษฐกิจของคนที่เปนนายทุนจาก ขางนอกเขามาเกี่ยวของ ดังเชนการขยายตัวของสถานที่ราชการและองคกรตางๆ รวมทั้งสถานที่ประกอบการ ค า ธุ ร กิ จ โดยเฉพาะย า นตลาดและการตลาดนั้ น กํ า ลั ง สร า งภาวะความเป น เมื อ งให ก ลุ ม คนที่ มี ค วาม หลากหลายทางชาติพันธุเหลานี้มีความสัมพันธกัน แตสิ่งที่ถูกถามความมั่นคงทางสังคม วัฒนธรรม และเศรษฐกิจของผูคนที่เรียกไดวาเปนคนเชียงของ และคนเวียงแกน ก็คือ การขยายตัวทางเศรษฐกิจของนายทุนภายในและนายทุนขามชาติ โดยเฉพาะจาก ประเทศจีนและคนจีน จากนายทุนภายในประเทศก็คือ พวกที่เขามาซื้อที่ปลูกไรสมและพืชเศรษฐกิจที่คลุมพื้นที่ขนาดใหญ นายทุนพวกนี้มีทั้งเขามาตั้งถิ่นฐานสรางบานเรือนในบริเวณใกลถนนและเขตเมือง สรางสถานที่ทําการคาและ บริการ รวมทั้งบรรดาบาน วัด มักเปนพวกที่ไมยอมอยูในกติกาและกฎเกณฑทางจารีตประเพณีของทองถิ่น เพราะมั ก อาศั ย กฎหมายจากทางรั ฐ และราชการมาอ า งอิ ง สิ ท ธิ แ ละความชอบธรรม อี ก ทั้ ง มี อิ ท ธิ พ ลทาง การเมืองที่อาจคุกคามผูคนในทองถิ่นที่เปนชาวบานธรรมดาดวย ถัดไปก็เปนนายทุนขามชาติ เชน พวกญี่ปุนที่ ไดทําใหเกิดไรปลูกถั่วลันเตาขนาดใหญและรับคนทองถิ่นเขามาทํางานเพื่อผลิตพืชผลสงไปนอก มีการใช ปุยเคมีและยาฆาแมลงอยางกวางขวาง รวมทั้งการเปดโอกาสใหคนเขาทํางานนอกเวลาจนเกิดความโลภ ความเครียดและความเสื่อมสุขภาพ จึงมีคนตั้งชื่อไรถั่วดังกลาวนี้วา “ถั่วไรญาติ” คือตองทํางานจนไมมีเวลา ใหกับครอบครัวและญาติพี่นอง การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจที่นายทุนเหลานี้นําเขามานั้น ถามองอยางเผินๆ ก็ดูเปนการเติบโตทาง เศรษฐกิจที่ทําใหคนมีรายไดและมีงานทํา ซึ่งนับเปนความเจริญทางวัตถุโดยแท แตถามองในแงสังคมและจิต วิญญาณ ชีวิตวัฒนธรรมของผูคนเหลานี้กําลังขาดดุลยภาพ เกิดสํานึกที่เปนปจเจกและแขงขันชิงดีกันในดาน


๑๕

ฐานะและความร่ํารวยเปนสิ่งที่นําไปสูความแตกแยกของสังคมในระดับรากหญาที่สําคัญ ทําใหเกิดกลุมคนที่มี อํานาจทั้งทางเศรษฐกิจและการเมือง เชน พวกผูใหญบาน กํานันและอบต.ที่กําลังมีลักษณะทั้งใหคุณและให โทษในขณะนี้ แตสิ่งที่คุกคามสังคมและวัฒนธรรมของคนที่เชียงของและเวียงแกนที่สําคัญที่สุดในขณะนี้คือ การ ขยายตั ว ทางการค า และเกษตรอุ ต สาหกรรมของคนจี น ที่ ท างรั ฐ และสภาหอการค า ประจํ า จั ง หวั ด ให ก าร สนับสนุน การขยายตัวทางการคาและเศรษฐกิจดังกลาวนี้คงจะไมเพียงแตคนที่เชียงของและเวียงแกนจะ เดือดรอนเทานั้น หากจะรวมทั้งผูคนในถิ่นตางๆ ของเชียงรายดวย โครงการขยายตัวทางเศรษฐกิจของจีนเทาที่เปนรูปธรรมขณะนี้ก็คือ การระเบิดแกงในแมน้ําโขงเพื่อทํา ใหแมน้ําเปนเสนทางคมนาคมขนสงสินคาจากเชียงรุงมายังเชียงแสน เชียงของ และหลวงพระบาง โดยที่เรือ สินคาที่มีระวางขับน้ํา ๒๐๐ – ๕๐๐ ตันแลนลงมาได ขณะนี้ทางจีนประสบความสําเร็จแลวในการระเบิดแกง ตั้งแตเชียงรุงมายังเชียงแสน และเรือที่มีระวางขับน้ํา ๒๐๐ – ๓๐๐ ตัน สามารถจอดเทียบทาขนถายสินคาที่ เมืองเชียงแสนไดแลว จนทําใหสภาพเมืองเชียงแสนที่เปนเมืองประวัติศาสตรสําคัญของชาติอยูในสภาพที่ถูก ทําลายทั้งทางศิลปวัฒนธรรมและสภาพแวดลอม แตทางจีนก็ยังดําเนินโครงการตอไปดวยการจะระเบิดแกงจากเชียงแสนไปเชียงของ จึงทําใหบรรดา ปจเจกชนและผูนําทองถิ่นพากันคัดคานดวยการเคลื่อนไหวตางๆ ตามแผนการ ทางจีนแสดงความจํานงวาจะ ระเบิดแกงไปถึงเชียงของ และจากเชียงของก็จะทําตอไปจนถึงเมืองหลวงพระบาง แตคนทองถิ่นมีความเห็นวา การระเบิดแกงจากเชียงของไปหลวงพระบางคงเปนไปไมได เพราะสามารถใชเสนทางบกไดงายกวาและถูกกวา แตความมุงหมายของจีนนาจะขยายมาถึงเชียงของและเวียงแกน เพราะตองการใหเปนทั้งแหลงทาเรือจอดและ การขยายตัวพื้นนิคมเกษตรอุตสาหกรรมที่อาจครอบคลุมไปทั่วทั้งจังหวัดเชียงรายดวย ซึ่งขณะนี้จีนก็ทําอยาง เต็ ม ที่ แ ล ว ในเขตเชี ย งแสนและเชี ย งราย ยิ่ ง กว า นั้ น คนส ว นใหญ มี ค วามเห็ น ว า จี น เคยใช เ ชี ย งรายเป น ฐานเศรษฐกิจทั้งการขนถายสินคาและผลิตสินคา สงผานเขตพมาไปออกทะเลอันดามัน ทุกวันนี้คนทองถิ่นที่เปนปญญาชนและผูนํากําลังวิพากษวิจารณทางรัฐบาลและสภาหอการคา ไดมี สวนสําคัญในการทําใหจีนขยายตัวมาลงทุนและทําใหเชียงรายกลายเปนนิคมเกษตรอุตสาหกรรมของจีนไป

โครงการในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โครงการนี้ อ ยู ใ น พื้ น ที่ ลุ ม น้ํ า หมั น อํ า เภอด า นซ า ย จั ง หวั ด เลย เป น ท อ งถิ่ น ที่ เ กิ ด เมื อ ง ประวัติศาสตรดานซายขึ้นในพุทธศตวรรษที่ ๒๒ เพราะเปนดินแดนระหวางกรุงศรีสัตนาคนหุตกับกรุงศรีอยุธยา ตําแหนงของเมืองตั้งอยูบริเวณตนลําน้ําหมันที่สัมพันธกับสันปนน้ําที่แบงลําน้ําปาสักออกจากลําน้ํา แควนอยอันเปนแควหนึ่งของลําน้ํานาน และลําน้ําหมันที่ไหลไปลงแมน้ําเหืองอันเปนสาขาหนึ่งของแมน้ําโขง ดานซายเปนเมืองดานเพราะตั้งอยูบนเสนทางคมนาคมจากหลวงพระบางมายังลําน้ําเหืองและลําน้ําหมัน กอนที่จะขามเขาไปยังหลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ และนครไทย จังหวัดพิษณุโลก ความเปนเมืองของดานซาย คลุมทองถิ่นสองฝงของลําน้ําหมันตั้งแตตนน้ําจนไปสบกับลําน้ําเหือง พื้นที่สองฝงน้ําเปนหุบเขาที่มีเทือกเขา ขนาบทั้งสองดาน ลําน้ําหมันเปนลําน้ําเล็กๆ ที่ไหลตลอดปสองฝงน้ํามีพื้นที่ลุมเหมาะแกการปลูกขาว จึงเกิด


๑๖

ชุมชนหมูบานขนาดเล็กๆ โดยมี ดานซายเปนเมือง ชาวบานสวนใหญมาจากทางหลวงพระบาง จึงนําเอา ประเพณีความเชื่อและศิลปวัฒนธรรมทางฝงลาวเขามาปรับใหเปนวัฒนธรรมทองถิ่น ทําใหลําน้ําหมันเปน นิเวศวัฒนธรรมของผูคนที่รูจักกันตลอดแตตนน้ําถึงปลายน้ํา ซึ่งเห็นไดจากรูปแบบของบานเรือนที่ตั้งอยูบนที่ ราบลุม มีความเชื่อในเรื่องพุทธและผี รวมทั้งระบบการจัดการน้ําเพื่อการเพาะปลูก และกินอยูเหมือนกัน เชื่อใน ภูผาศักดิ์สิทธิ์และพระธาตุศรีสองรักษรวมกัน อัตลักษณที่สําคัญของดานซายและลุมน้ําหมันก็คือ ๑. การจัดการน้ําเพื่อการเกษตร เปนระบบของการใชพัดหรือระหัดที่ตั้งอยูกลางกระแสน้ําในลําน้ํา หมัน ตักน้ําในลําน้ําเทลงสูรางริน เขาสูพื้นที่ทําการเพาะปลูกเปนสิ่งสะทอนใหเห็นภูมิปญญาในการนําน้ําจาก ลํ า น้ํ า ขึ้ น ไปใช บ นที่ สู ง ทํ า นองตรงข า มกั บ การทํ า เหมื อ งฝายที่ ท ดน้ํ า จากที่ สู ง เข า ส ง เหมื อ งไปใช ใ นพื้ น ที่ เพาะปลูกในที่ต่ํา ทั้งระบบพัดและเหมืองฝาย ตางก็เปนระบบชลประทานราษฎรที่ผูคนในชุมชนทองถิ่น ตอง รวมมือรวมแรงกันจัดทําขึ้น นับเปนสิ่งที่ทําใหเกิดความพอเพียงที่อยูไดดวยตนเองของทองถิ่น และ ๒. การถือผีและสถาบันกวนจ้ํา คือระบบความเชื่อและประเพณีพิธีกรรมของคนดานซาย เปนการนับ ถือทั้งพุทธและผีไปดวยกัน ทั้งความเชื่อในเรื่องพุทธและผีเปนสิ่งเกื้อกูลกัน ศูนยกลางทางชุมชนหมูบานและ เมืองตางก็มีวัดทางพระพุทธศาสนาเปนศูนยกลาง แตก็มีหอผีประจําแตละชุมชนที่มีเจากวนและพอแสนทํา หนาที่ดูแลในการประกอบประเพณีพิธีกรรม ทั้งเจากวนและพอแสนตางก็เปนคนที่เลื่อมใสและถือศีลทาง พระพุทธศาสนา รวมทั้งเขามามีสวนในการดูแลวัดวาอารามดวย วัดที่ดานซายและลุมน้ําหมันเปนวัดตาม ประเพณีสุโขทัย ลานนาและลานชางที่ใหความสําคัญกับวิหารหรืออารามมากกวาโบสถหรือสิม อยางหลัง เปนศาสนสถานเพื่อกิจกรรมของพระสงฆโดยเฉพาะ แตอยางแรกคืออารามนั้นเปนที่ประกอบประเพณีพิธีกรรม ทั้งสงฆและฆราวาส แตที่เมืองดานซาย ความสําคัญของเจาพอกวน พอแสน ดูโดดเดนกวาที่อื่น เพราะนอกจากมีเจาพอ กวนเปนประมุขของการประกอบประเพณีพิธีกรรมของบานเมืองแลว ยังเจาแมนางเทียมและบริวารรวมมี บทบาทในการดูแลรักษาพระธาตุเจดียศรีสองรักษอีกดวย เพราะพระธาตุศรีสองรักษในความเชื่อของชาวเมือง หาไดเปนพระสถูปเจดียที่บรรจุพระบรมธาตุของพระพุทธเจา เชน พระมหาเจดียอื่นๆ ไม หากเปนพระเจดียที่ สรางเปนอนุสรณในการสาบานแบงเขตแดนระหวางพระมหากษัตริยอยุธยาและลานชาง แลวมีการอุทิศพื้นที่ บริเวณนั้นใหเปนวัดทางพระพุทธศาสนาที่มีพระอารามหรือวิหารเปนที่ประกอบประเพณีพิธีกรรมของคนทั่วไป เชน การไปแกบน กราบไหว รวมทั้งการไปประกอบพิธีกรรมของนาคกอนเขาพิธีบวชโดยพระภิกษุสงฆที่วัดโพน ชัย พระธาตุเจดียศรีสองรักษอยูในการดูแลรักษาของเจาพอกวน พอแสน และเจาแมนางเทียม บุคคล เหลานี้เปนผูที่คนทั่วเมืองดานซายยกยองและยอมรับใหเปนผูนําทางจิตวิญญาณ การประกอบประเพณี พิธีกรรมใดๆ ที่เปนเรื่องของชุมชนและสังคมจะอยูภายใตการนําและชี้แนะของเจาพอกวนและคณะ เมืองดานซายมีบริเวณที่กําหนดใหเปนหอผีถึง ๒ แหง คือหอนอยและหอหลวง ตางตั้งอยูภายใตแมก ไมที่สูงใหญเปนที่สงัดเงียบที่ไมมีใครเขาไปของแวะ ยกเวนแตในเวลามีงานพิธีกรรมหรือเมื่อไดรับการยินยอม จากเจาพอกวนเสียกอน


๑๗

โดยทั่วไปชีวิตวัฒนธรรมของคนทองถิ่นดานซายในลุมน้ําหมัน เปนสังคมเรียบงายและผูคนสวนใหญ รูจักกันหมด เปนสังคมที่มีดุลยภาพทั้งมิติทางวัตถุและจิตวิญญาณ การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม เปนไปอยางชา เพราะอิทธิพลทางเศรษฐกิจการเมืองจากภายนอกไมใครเขามามาก อาจแลเห็นไดชัดในเขต เมืองที่มีการสรางถนนที่ทําการราชการและยานตลาด ที่เปนเชนนี้เพราะคนจากภายนอกมองผานไปลงทุนทาง เศรษฐกิจในที่อื่น เชนในเขตอําเภอภูเรือ เปนตน ขณะนี้การคุกคามทางเศรษฐกิจการเมืองจากภายนอกที่มีผลกระทบตอชีวิตวัฒนธรรมของคนภายใน นั้นมีเพียงอยางเดียวที่นากลัว คือการที่ทางราชการทั้งสํานักงานสงเสริมการทองเที่ยวและฝายบริหารของ จังหวัดสนับสนุนสงเสริมใหคนมาเที่ยว ประเพณีผีตาโขน นับเปนการรุกล้ําวัฒนธรรมของคนดานซายอยางขาด ความรูความเขาใจอยางสิ้นเชิง เพราะเรื่องผีตาโขนนั้นหาใชเปนสิ่งสําคัญในประเพณีพิธีกรรมของคนดานซาย ไม หากเปนสวนหนึ่งในประเพณีบุญพระเวส ประเพณีเทศนมหาชาติของคนไทยพุทธทั่วประเทศ บุญพระเวสคือสิ่งที่ทําใหคนในชุมชนทองถิ่นไดรับการอบรมในเรื่องการทําทาน อันเปนธรรมะที่สําคัญ ในการอยูรวมกันของผูคนในสังคม พระเวสสันดร คือพระโพธิสัตวที่ทรงบําเพ็ญทานบารมี อันเปนการบําเพ็ญ ทานในพระชาติสุดทาย กอนที่จะตรัสรูเปนพระพุทธเจาในพระชาติตอมา สําหรับเรื่องผีตาโขนนั้นผูรูในทองถิ่น ดานซายบอกวา คือ บรรดาผีปา ผูรายทั้งหลายที่ตามพระเวสสันดรเขาไปในเมือง ซึ่งก็เปนพวกผีที่กลับใจเปน คนดี ประเพณีบุญพระเวสของคนดานซายนั้นเริ่มตนแตเจาพอกวนผูเปนประมุขทางประเพณีพิธีกรรมของ บานเมือง กําหนดวันประเพณีจากการติดตอกับผีผูเปนใหญของบานเมือง เมื่อถึงวันกําหนดแลวพิธีกรรม เริ่ม แตพอแสนผูเปนคนในคณะของเจาพอกวนก็ออกไปงมหินในลําน้ําหมันที่หมายถึงพระอุปคุต แลวพากันแหไป ยังสํานักเจาพอกวน ใหเจาพอกวน เจาแมนางเทียมและบรรดาผูหลักผูใหญ ผูอาวุโสของบานเมืองแหพระอุป คุตไปตามที่ตางๆ มุงเขาสูวัดโพนชัย อันเปนวัดที่จะมีการเทศนมหาชาติ ในขบวนนี้ที่มีผูใหญและเด็กแตงกาย สวมหนากากเปนผีตาโขนติดตามไป เมื่อขบวนเขาวัดแลวเทศนมหาชาติก็เริ่มขึ้น ในขณะที่การเลนผีตาโขน สิ้นสุดลง บรรดาผูเลนเปนผีตาโขนและคนที่เกี่ยวของ ตางก็เอาหนากากผีตาโขนและเครื่องแตงกายทิ้งน้ําหมัน ลอยไปเหมือนกับลอยเคราะห และแลเห็นสิ่งของเหลานี้วาเปนอัปมงคล แตการสนับสนุนประเพณีผีตาโขนของคนขางนอกไมวาเปนการทองเที่ยว หนวยราชการ และพอคานัก ธุรกิจนั้น หาเห็นความสําคัญในเรื่องอบรมคุณธรรมในการใหทานของบุญพระเวสไม หากมุงแตความแปลก ประหลาดของประเพณีเพื่อการทองเที่ยวอยางสนุกสนานที่ไรความหมายและรสนิยม รวมทั้งสนับสนุนให กระทําสิ่งที่เปนอัปมงคล เชน การขายหนากากผีตาโขนและใหนํากลับไปเปนที่ระลึก เปนตน แตที่สําคัญก็คือ การละเมิดประเพณีดวยการกดดันใหเจาพอกวนกําหนดวันประเพณีใหตรงกับวันเวลาที่ผูใหญทางราชการหรือ ทางการเมืองสะดวกสบายที่จะไปทําพิธีเปด ปจจุบันประเพณีการทองเที่ยวดูผีตาโขนกําลังสรางความแตกแยกใหกับคนดานซาย โดยเฉพาะคนรุน ใหมที่เริ่มเห็นดีงามกับการมีรายไดและความสนุกสนานรื่นเริงในงาน แตคนรุนเกาและคนสวนใหญที่มีความรูมี ความอึดอัดและไมพอใจ


๑๘

นอกจากเรื่องผีตาโขนแลวก็ยังมีการเคลื่อนไหวทางเศรษฐกิจการเมืองอีกอยางหนึ่งที่มาจากภายนอก อันเปนสิ่งที่สรางความอึดอัดและไมพอใจแกคนดานซาย คือเรื่องสิทธิในการดูแลพระธาตุเจดียศรีสองรักษ ดัง ไดกลาวมาแลวแตขางตนวา โดยประเพณีทองถิ่น วัดพระธาตุศรีสองรักษไมไดเปนพื้นที่ทางพระสงฆและไมมี สังฆาวาสอยูในบริเวณนี้ดวย หากเปนบริเวณที่เจาพอกวน เจาแมนางเทียมและพอแสน ทางฝายผีดูแลอยู พระ ธาตุเจดียเองก็หาไดเปนพระบรมธาตุเจดียที่บรรจุพระบรมธาตุของพระพุทธเจาไม รวมทั้งดานหนาวัดแตเดิม (ปจจุบันกลายเปนดานหลัง) ก็สัมพันธกับหอผีหลวงของเมืองดานซาย บริเวณวัดทั้งหมดอยูในการดูแลของเจา พอกวนและพอแสนมาตลอดทั้งในเรื่องการประกอบประเพณีพิธีกรรมและกิจกรรมประจําวัน รวมไปถึงรายได และรายจายของวัดดวย บัด นี้ ตั้ง แต มีค วามขั ด แยง เกิ ดขึ้ น ในเรื่ อ งสิ ท ธิ ใ นการดู แ ลและจัด การผลประโยชน ของวั ด โดยมี ผู รองเรียนวา เจาพอกวนนํารายไดของวัดไปใชในทางที่ไมสุจริต และกลาวหาวาเจาพอกวนที่เปนประมุขของการ นับถือผีนั้นไมควรมีสิทธิในการดูแลสถานที่อันเปนพุทธสถาน จึงมีการรองเรียนใหทางเถรสมาคมเขาไปจัดการ ทําใหมีการสอบสวนและการเดินขบวน การตอตานของผูคนในทองถิ่นขึ้น นั่นก็คือผูคนในทองถิ่นไมเห็นดวยกับ การที่ทางคณะสงฆจะเขาไปยุงกับกิจกรรมทางประเพณีของสังคมดานซายนั่นเอง เพราะเห็นวาเปนความ พยายามของกลุมผลประโยชนที่จะทํา ใหพระธาตุเจดียศ รีสองรัก ษกลายเปนสถานที่ ทางพุทธพาณิชยไ ป เหมือนกับบรรดาวัดใหญวัดสําคัญในที่อื่นๆ ของบานเมือง

โครงการในภาคตะวันออก โครงการนี้อยูในพื้นที่ซึ่งคนจันทบุรีเรียกวาหลังเขา เพราะพื้นที่สวนใหญของจังหวัดนี้มีทิวเขาสอยดาว และเขาสามงาม ซึ่งยาวแตเขตอําเภอสอยดาว โปงน้ํารอน ทางตอนเหนือและตะวันออกเฉียงเหนือของจังหวัด เขาไปตอ กับเขาพนมตาเด็ดในเขตประเทศกัมพูชา ทิวเขานี้แยกเขตหนาเขาซึ่งอยูในเขตชายทะเลในเขต อําเภอขลุง อําเภอเมือง อําเภอมะขาม ออกจากเขตอําเภอโปงน้ํารอนและอําเภอสอยดาวที่วัดเปนเขตหลังเขา โดยมีชองเขาเกลือเปนเสนทางเชื่อมบริเวณหนาเขาและหลังเขา บริเวณหลังเขาที่ผานชองเขาเกลือมายังอําเภอ โปงน้ํารอน และอําเภอสอยดาวนี้อยูสูงกวาระดับน้ําทะเลกวา ๑๐๐ เมตร นับเนื่องเปนพื้นที่สูงภายในของ จังหวัดจันทบุรี ในการรับรูของคนจันทบุรี บริเวณหลังเขาเปนที่ไมมีความเจริญเมื่อเปรียบเทียบกับบริเวณหนา เขา แตกอนเปนเขตปาดงและเปนเขตติดตอชายแดนประเทศกัมพูชาที่มีคนเขมร คนชองและคนในกลุมชาติ พันธุอื่นเขามาตั้งหลักแหลงอยางกระจายกันอยูเปนหมูบานไมใหญโตอะไร การเปลี่ยนแปลงในบริเวณหลังนี้ เกิดขึ้นราวสามสิบปที่ผานมา เมื่อ มีการสรางถนนจากจันทบุรีผานอําเภอโปงน้ํารอนไปยังอําเภอสระแกว จังหวัดปราจีนบุรี (ปจจุบันคือ จังหวัดสระแกว) จึงมีผูคนเขาไปบุกเบิกที่ดินทําการเพาะปลูกและตั้งชุมชน หมูบานกันเรื่อยมา การวิจัยในโครงการนี้เลือกชุมชนหมูบาน (village) ๒ แหงในการศึกษาคือ บานสําโรง ตําบล ทรายขาว และบานสวนสม ตําบลสะตอน อําเภอสอยดาว จังหวัดจันทบุรี ชุมชนแรกนับเปนชุมชน เกาแกที่สุดแหงหนึ่ง คือมีอายุมากกวา ๕๐๐ ป ที่ผานมาเปนชุมชนของคนเขมรที่เขามาแตเขตเมืองไพลินตั้งถิ่น ฐานอยูริมฝงลําหวยสําโรงที่ไหลมาจากเขาสอยดาวแลวผานลงไปสูพื้นที่ประเทศกัมพูชา นอกจากคนเขมรแลว


๑๙

ก็มีคนจากภาคตะวันออกเฉียงเหนือและมีคนจีนเขามาตั้งหลักแหลงรวมอยูดวย คนจีนเปนพอคาในขณะที่คน เขมรเปนพวกหาของปา เชน กระวานและเรวและทําไรเพื่อนําไปคาขายแลกเปลี่ยนกับผูคนทางจันทบุรี กอนการมีถนนใน พ.ศ. ๒๕๑๐ – ๒๕๑๑ คนที่บานสําโรงเดินทางไปคาขายหรือติดตอกับจันทบุรีดวย ทางรถและทางเกวียน ที่ตองใชเวลาพักแรมตามเสนทางอยางนอยหนึ่งคืน ตอมาเมื่อมีการตัดถนนทั้งสาย จันทบุรี–สระแกว และถนนสายยอยๆ ไดทําใหการคมนาคมกับภายนอกดีขึ้น จึงมีผูคนจากถิ่นอื่นเขาไปตั้งถิ่น ฐานรวมอยูดวย จนในปจจุบันบานสําโรงมีการขยายตัวออกเปน ๓ หมูบานในบริเวณใกลเคียงกันคือ บาน สําโรงกลาง บานสําโรงลาง และบานสําโรงตะวันตก มีจํานวนประชากรทั้งสิ้น ๒,๕๑๔ คน การเติบโตของบาน สําโรงเริ่มตั้งแตประมาณ พ.ศ. ๒๕๑๖ เปนตนมา เพราะมีผูคนจากถิ่นอื่นๆ เชน จากจังหวัดชัยนาทและจังหวัด อื่นๆ ในภาคกลางเคลื่อนยายเขามาตั้งถิ่นฐาน ทําใหเกิดอาชีพการทํานาทําไร ทําสวนขึ้น ประมาณ พ.ศ. ๒๕๒๕ สงครามในประเทศเขมรและเวียดนามทําใหทางรัฐบาลไทยปรับปรุงสภาพ บริเวณชายแดน มีการสรางถนนในทางยุทธศาสตรเพื่อการปองกันการรุกล้ําทางชายแดน ทําใหเกิดการพัฒนา ในเรื่องสาธารณูปโภค เชน ไฟฟา และน้ําประปาเกิดขึ้น ตั้งแต พ.ศ. ๒๕๓๐ – ๒๕๓๑ ไดมีการจัดตั้งอําเภอสอย ดาวที่แตเดิมอยูในเขตอําเภอโปงน้ํารอนนั้นเปนอําเภอ ทําใหชุมชนทั้งหลายรวมทั้งบานสําโรงดวยมีการเติบโต มีถนนหนทางติดตอกับเขตเมืองที่เปนยานตลาดไดสะดวก ยิ่งปจจุบันภายหลังจากสงครามในประเทศเขมร สงบลงแลว ก็เกิดการคาขายชายแดนขึ้น เกิดตลาดชายแดนขึ้นหลายแหงที่ทําใหผูคนจากที่อื่นๆ ในประเทศพา กันไปซื้อของและเลนการพนัน ทําใหเกิดการเคลื่อนไหวทางเศรษฐกิจที่เติบโตอยางรวดเร็ว โดยเฉพาะเกิด ชุมชนใหมๆ ขึ้นหลายแหงที่มีผูคนจากถิ่นตางๆ ไมวาจากภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออก และภาค กลางยายเขาไปตั้งถิ่นฐานทําสวน ทําไร และทําการคาขาย หนึ่ ง ในชุ ม ชนที่ เ กิ ด ใหม นี้ คื อ บ า นสวนส ม ที่ อ ยู ห า งจากบ า นสํ า โรงขึ้ น ไปทางเหนื อ ประมาณ ๒๐ กิโลเมตร และอยูหางจากชายแดนเขมรเพียง ๓ – ๔ กิโลเมตรเทานั้น บานสวนสมมีพัฒนาการมาจากหมูบาน เล็กๆ ราว ๔๐ ป ที่ผานมา คือมีผูคนเขามาทําไร ทําสวนอยูไมกี่ครอบครัว ตอมาประมาณ พ.ศ. ๒๕๑๓ บริษัท ที่ไดรับสัมปทานปาไมไดตัดถนนเขามาทําใหการติดตอกับหมูบานอื่นๆ และกับภายนอกดีขึ้น จึงทําใหมีผูคน จากที่อื่นๆ เชน จากอุบลราชธานี นครสวรรค กําแพงเพชร แพร ยายเขามาตั้งถิ่นฐานทําเกษตรพืชไรและทํา สวนผลไม แตโดยเหตุที่เปนชุมชนอยูใกลชายแดนจึงตองอยูภายใตการดูแลของทหารเรื่อยมา และทหารมีสวน ในการจัดสรรที่ดินที่อยูอาศัยใหกับคนในชุมชน พอสงครามในประเทศกัมพูชาสงบลง บานสวนสมก็เติบโตแบบ กาวกระโดดเพราะกลายเปนแหลงที่คนจากหลายแหงมาทําอุตสาหกรรมเฟอรนิเจอร มีผูซื้อไมจากดินแดนเขมร ผานดานเขามาทําเฟอรนิเจอรจากไม ทําใหมีผูคนเขาออกมาซื้อขาย อีกทั้งผลิตภัณฑจากสวนสมก็ถูกนําไป ขายในที่อื่นๆ ตลอดเวลา ในชวงเวลา ๒๐ ป ที่ผานมาชุมชนสวนสมขยายตัวกวาบรรดาชุมชนหมูบานอื่นๆ ในละแวกนั้น มียาน ตลาด รานคา โรงงานและยานที่อยูอาศัยของคนหลายอาชีพทําใหมีโครงสรางในลักษณะที่เปนชุมชนเมือง ขนาดเล็กขึ้น ปจจุบันผูคนในบานสวนสมที่ทั้งที่มาจากอุบล สระแกว แพร นาน สวนใหญจะประกอบอาชีพ รับจางในโรงงานผลิตเฟอรนิเจอร เชน ขัดไม ทาสี ลงน้ํามัน เกิดระบบลูกจางและนายทุนรวมทั้งปญหาหนี้สิน ในการลงทุนของนายทุนกับปญหาหนี้สินของลูกจางตามมา


๒๐

ผลการวิจัยในโครงการนี้แสดงใหเห็นถึงพัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงทางสังคมวัฒนธรรมของผูคน ในทองถิ่นชายแดนดานตะวันออกที่ติดตอกับประเทศกัมพูชาตั้งแต พ.ศ. ๒๕๑๐ อันเปนเวลาที่มีการสรางถนน ผานพื้นที่สูง หรือพื้นที่หลังเขาของจังหวัดจันทบุรีเชื่อมติดตอกับจังหวัดสระแกว ชุมชนบานสําโรงคือตัวแทนของชุมชนเกาแกกวา ๑๐๐ ป ที่มีคนเขมร คนอีสาน และคนจีนเขามาตั้ง หลักแหลงในพื้นที่ซึ่งสภาพแวดลอมเปนปาเขา และมีคนอยูนอย ทํามาหากินกับของปาและการทําไร ทําสวน เพีย งเล็ก นอ ย วัฒ นธรรมทอ งถิ่ นของบ า นสํา โรงเปนวั ฒนธรรมของคนเขมรชายขอบ ที่ป จจุ บันความเชื่ อ ประเพณีพิธีกรรมในสังคมใหญคงหมดไปแลว การศึกษาและรวบรวมขอมูลจากนักวิจัยทองถิ่นทําใหแลเห็นการ สืบเนื่องของประเพณีพิธีกรรมหลายอยางที่ประเพณีหลวงในสังคมไทยแตสมัยอยุธยาเคยมี เชน พิธีจองเปรียง รวมทั้งระบบคานิยมและความสัมพันธทางสังคมของผูคนในชุมชนที่สรางความเปนปกแผนไดดีกวาสังคมของ ชุมชนที่เกิดทีหลัง เชน บานสวนสมที่มีความหลากหลายและความเคลื่อนไหวของผูคนในชุมชนมากกวา ชุมชน บานสําโรงยังคงความเปนชุมชนแบบประเพณี (tradition oriented community) อยางตอเนื่องทามกลางการ เปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและการเมืองที่มาจากภายนอก ในขณะที่ ชุ ม ชนบ า นสวนส ม เติ บ โตอย า งก า วกระโดดจากชุ ม ชนเกษตรกรรมเล็ ก ๆ มาเป น ชุ ม ชน อุตสาหกรรมในระดับเมืองเล็กๆ ปจจุบันชุมชนสวนสมมีคนสองกลุมอยูในสังคมเดียวกัน คือกลุมชาวบานที่ทํา ไรและทําสวน กับกลุมคนที่ทําอุตสาหกรรมเฟอรนิเจอรที่มีทั้งคนที่เปนนายทุน พอคา และลูกจางคนงานพวกที่ เป น ชาวไร ช าวสวนดู มี ป ญ หาน อ ยและเคลื่ อ นย า ยน อ ย อี ก ทั้ ง มี ป ญ หาทางสั ง คมน อ ยกว า ส ว นพวกที่ ทํ า อุตสาหกรรมมีการเคลื่อนยายเขา ออกตลอดเวลา ไมใครมีความเป นปกแผนทางสังคม คนพวกนี้มีความ ออนไหวในทางเศรษฐกิจมาก เพราะการทําอุตสาหกรรมขึ้นอยูกับการนําเขาของพวกไมตางๆ จากทางประเทศ เขมร ในบางครั้งทางไทยปดดานหรือทางเขมรไมขายไมใหก็มีปญหา นอกจากนั้นยังเกี่ยวของกับการลักลอบไม เถื่อนและของเถื่อนเขามาอีก ซึ่งในขณะนี้หลายคนก็มองไปขางหนาอยางหวาดวิตก เพราะโรงงานและรานขาย เฟอรนิเจอรหลายแหงตองปดตัวลงอันเนื่องจากการขาดแคลนไม และเกิดการผลิตในแหลงอื่นเชนที่เขตจังหวัด สระแกวที่มีอาณาเขตติดตอกับชายแดนเขมรเชนกัน ปญหาทางสังคมอีกอยางหนึ่งในบานสวนสม ก็คือเรื่อง ของเด็กและวัยรุนอันเนื่องจากเขาเรียนไมสม่ําเสมอของบรรดานักเรียนและพฤติกรรมที่เกี่ยวกับเสพยติด เที่ยว เตรมั่วสุมของเด็กวัยรุน เปนตน สรุปแลวการศึกษาประวัติศาสตรทองถิ่นและการเปลี่ยนแปลงทางสังคมวัฒนธรรมทองถิ่นโดยนักวิจัย จากภายในของทั้งสองชุมชนคือบานสําโรงและบานสวนสมในเขตอําเภอสอยดาว ที่เปนบริเวณ “หลังเขา” ของ จังหวัดจันทบุรีนั้น ไดขอมูลพื้นฐานที่เปนรูปธรรม ทําใหเกิดความเขาใจถึงพัฒนาการทางสังคมของผูคนใน บริเวณที่เปนปาเขาหางไกลความเจริญของสังคมเมืองมากอน พ.ศ. ๒๕๑๐ อันเปนเวลาที่มีการสรางถนนจาก จังหวัดจันทบุรีผานชองเขาเกลือ และพื้นที่หลังเขาไปยังจังหวัดสระแกว หลังการสรางถนนทําใหมีการบุกเบิก ที่ดินเปลี่ยนปาใหเปนพื้นที่การเกษตร ทําสวนทําไร และเกิดชุมชนหมูบานและตําบลมากมาย มีผูคนจาก ทองถิ่นตางๆ ทั้งจากภาคกลาง ภาคอีสาน และภาคเหนือเขามาตั้งถิ่นฐาน โดยเหตุที่พื้นที่บริเวณนี้อยูติดกับชายแดนเขมร ไดทําใหทางรัฐบาลถือเปนพื้นที่ยุทธศาสตรจึงมีการ สรางถนนขยายถนนไปใกลเขตชายแดน ผลที่ตามมาของการขยายถนนไดทําใหเกิดการขยายตัวของชุมชนที่ทํา


๒๑

สวนและทําไรตามไป ตอมาเมื่อสงครามในเขมรสิ้นสุดลง พื้นที่บริเวณนี้ก็กลายเปนพื้นที่ทางเศรษฐกิจชายแดน มีการขยายถนน เกิดยานตลาดชายแดนขึ้นหลายจุด มีผูคนและนักทองเที่ยว นักการพนันเขาไปซื้อของและเลน การพนันกันในเขตแดนเขมร ทําใหการเติบโตของชุมชนมีลักษณะเปนการกาวกระโดด บานสวนสมคือตัวอยาง ของชุมชนดังกลาวนี้ เปนชุมชนที่เปลี่ยนจากการเกษตรมาเปนอุตสาหกรรมทําเครื่องไมเฟอรนิเจอร มียานที่อยู อาศัย ยานคาขายโรงงานและตลาดในลักษณะที่เปนเมืองขนาดเล็ก ปจจุบันการเคลื่อนไหวทางเศรษฐกิจ ชายแดนยังเติบโตไปเรื่อยๆ พรอมกันนั้นก็ทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมที่มีลักษณะ รวดเร็วจนเกิดความขัดแยงและปญหาทางการเมือง เศรษฐกิจ และวัฒนธรรมตามมาอีกมากมาย

โครงการในภาคใต โครงการนี้อยูใน พื้นที่ชายอาวปตตานีทางดานตะวันตกที่อยูในเขตอําเภอยะหริ่ง โดยเลือก ทําการศึกษาในสองชุมชน (community based study) คือบานดาโตะและบานภูมี บานดาโตะเปนชุมชน ขนาดใหญมีประชากรกวา ๑,๐๐๐ คนขึ้นไป ในขณะที่บานภูมีเปนชุมชนขนาดเล็ก บานดาโตะตั้งอยูชายทะเล ชาวบานมีอาชีพหลักคือทําประมง จับปลา เลี้ยงปลา ตอเรือประมง ทําอุตสาหกรรมครัวเรือน เชน ขาวเกรียบ ปลา เปนตน สวนบานภูมีเปนชุมชนอยูหางทะเลเขามาภายในเปนพื้นที่ปาใกลกับลําน้ําที่คนมาบุกเบิกเปนที่อยู อาศัย ทําสวน ทําไร ทํานาและรับจาง บานภูมีมีประชากรเพียง ๖๐๐ กวาคน มีทั้งคนมุสลิมและคนไทยพุทธอยู รวมกัน โดยที่คนมุสลิมเปนคนกลุมใหญที่มีสถาบันทางศาสนาและการศึกษา ๒ แหง อยูในชุมชน คือ ปอเนาะ และมัสยิด สวนไทยพุทธมีจํานวนนอยไมมีวัดและโรงเรียน เวลามีกิจกรรมทางศาสนาตองไปอาศัยประกอบ พิธกี รรมที่วัดในเขตชุมชนอื่น การเลือกทําการศึกษาที่สองชุมชนที่กลาวมานี้ มีความเหมาะสมในเรื่องการทําความเขาใจกับความ เปนสังคมทองถิ่นชายทะเล เพราะเปนพื้นที่ซึ่งมีทั้งผูคนที่อยูชายทะเลกับผูที่อยูภายในที่เปนเขตสวนและปาแต ที่สําคัญผมยังเปนสิ่งที่แสดงอัตลักษณของสังคมปตตานีที่มีมาแตโบราณ นั่นคือชุมชนในสังคมนี้มีทั้งชุมชนที่มี ปอเนาะและไมมีปอเนาะ ชุมชนมุสลิมโดยทั่วไปจะมีมัสยิดเปนศูนยกลางทางสังคมทั้งในดานกิจกรรมทาง ศาสนาและการศึกษา แตที่ปตตานีจะมีชุมชนที่มีปอเนาะเพิ่มขึ้นมา ชุ ม ชนบ า นดาโต ะ เป น ชุ ม ชนเก า แก ที่ ไ ม มี ป อเนาะ แต มี มั ส ยิ ด ที่ เ ก า แก รุ น ราวคราวเดี ย วกั น กั บ มัสยิดกรือเซะ อีกทั้งมีกูโบรหรือสุสานฝงศพที่เปนแหลงประวัติศาสตรรวมอยูดวย บานดาโตะเกิดขึ้นในเขต เมืองยะหริ่งโดยมีผูคนที่อยูใกลกับมัสยิดกรือเซะเคลื่อนยายตามชายฝงทะเลเขามาตั้งถิ่นฐานจนกลายเปน ชุมชนใหญโต มีประชากรกวา ๑,๐๐๐ คนขึ้นไป และมีครัวเรือนกวา ๒๐๐ ครัวเรือน ความสําคัญของบานดา โตะที่บรรดาหมูบานอื่นๆ ไมมีก็คือ การเปนแหลงฝงศพประวัติศาสตร เพราะศพที่ฝง ณ สุสานในบานนี้หาใชแต เพียงผูคนที่อยูในบานดาโตะไม หากมาจากที่อื่นแทบทุกสารทิศ เพราะตองการมาฟงอยูใกลกับหลุมศพของดา โตะทานหนึ่งที่เปนผูนําวัฒนธรรม จึงทําใหมีหลุมศพของคนหลายรุนหลายสมัย ซึ่งถาหากจะนับอายุของ หมูบานแหงนี้ก็อาจสอบสวนไดจากการเรียงลําดับอายุของจารึกบนหินฝงศพของบุคคลสําคัญๆ ที่มาฝงไว ณ ที่นี้ได


๒๒

สวนชุมชนของบานภูมี แมจะไมเกาแกเทากับบานดาโตะและมีขนาดเล็กกวา คือมีประชากรราว ๕๐๐ คน และมีครัวเรือนราว ๑๐๐ กวาครัวเรือนก็ตาม แตนับเปนชุมชนที่มีความสําคัญทางประวัติศาสตรได เพราะ เปนชุมชนที่เกิดมาจากการมีปอเนาะที่ตั้งโดยโตะครูที่เปนปราชญและทรงคุณธรรมเปนที่ยกยองกันในโลก มุสลิม อีกทั้งยังดํารงความเปนปอเนาะตัวอยางที่ตอเนื่องมาจนปจจุบัน ทั้งบานภูมีและบานดาโตะตางก็เปน บานของคนมุสลิมที่รักสงบ มีชีวิตแบบเรียบงายตามธรรมชาติ แมวาปจจุบันมีถนนหนทางจากเมืองปตตานี และยานชุมชนอื่นๆ ผานเขาไปถึงอยางสะดวกสบายก็หาไดทําใหมีการเปลี่ยนแปลงในเรื่องอาคารบานเรือน และที่อยูอาศัยเปนแบบใหมๆ ไม สวนใหญยังคงเปนบานไมแบบเดิมๆ อยู ที่บานภูมีมีเรือนหลายแหง แตละ เรือนมีระยะหางและแวดลอมไปดวยตนไมดูรมรื่น สวนบานดาโตะโดยที่เปนบานเกา มีการอยูแออัดและมี ตรอกซอกซอยติดตอระหวางกัน แตความแออัดของบานดาโตะกลับเปนผลดีตอความสัมพันธทางสังคม เพราะ ชาวบานแลเห็นกัน พูดคุยกันไดสะดวก รวมทั้งเด็กเล็กออกมาเลนกัน มีรานขายของทอด และของกินที่คนแกๆ ที่เปนผูหญิง หรือพวกแมบานมาทําขาย แตทั้งสองหมูบานนี้ไมทิ้งธรรมชาติ เพราะตางรักษาพื้นที่ซึ่งมีตนไมไว ใหเกิดความรมรื่น บานภูมีติดกับชายปาในขณะที่บานดาโตะหันหนาลงทะเลอันเปนแหลงทํามาหากิน คนบาน ดาโตะหากินจับปลาดวยเครื่องมือตางๆ เปนกลุมเล็กๆ ดวยเรือกอและ ที่มีการตกแตงอยางสวยงาม สวนคน บานภูมีหากินดวยการทําสวน ทํานา ทําไรและการรับจาง คนมุสลิมทั้งสองหมูบานนี้มีความเครงทางศาสนา ทําละหมาดรวมกันวัน ๕ ครั้ง การศึกษาของคนมุสลิมไมแยกออกจากกิจกรรมทางศาสนาและกระบวนการทาง สังคม ที่บานดาโตะมีโรงเรียนตาดีกาสอนเด็กเล็กอยูในเขตมัสยิด สวนบานภูมีมีปอเนาะเปนโรงเรียนสอน ศาสนาใหแกเด็กโตและคนทั่วไป ซึ่งนอกจากสอนศาสนาแลวก็ยังมีการสอนความรูทางโลก เพื่อใหดํารงชีวิตใน สังคมไดอยางเหมาะสม แตปอเนาะก็หาไดเปนโรงเรียนที่สอนเด็กโตเพียงอยางเดียวไม หากเปนสถานที่ซึ่งคน ทุกรุนทุกวัย เชน ผูที่เรียนจบมหาวิทยาลัยแลวสามารถเขามาเรียน รวมทั้งมาอยูอาศัย เปนคนในชุมชนไดจน ตลอดชีวิต ระหวางชุมชนมุสลิมทั้งสอง ผูคนในบานภูมีดํารงชีวิตทางเศรษฐกิจอยูไดในลักษณะที่มีดุลยภาพ มากกวาคนที่บานดาโตะ เพราะเปนชุมชนที่พึ่งพิงธรรมชาติในดานการทําไรทํานาและทําสวนในลักษณะที่ พอมีพอกิน สภาพแวดลอมธรรมชาติยังไมเปลี่ยนแปลงเทาใด ถาหากหากินทางการเพาะปลูกไมไดก็ออกไป ทํางานรับจาง ความเปนอยูภายในสังคมทั้งคนมุสลิมที่เปนชนกลุมใหญกับคนไทยพุทธที่เปนคนกลุมนอยก็ไมมี อะไรที่เปนความขัดแยงเหมือนในที่อื่นๆ ซึ่งก็ดูเหมือนยังสะทอนใหเห็นถึงความสัมพันธที่มีมาแตเดิมของคนทั้ง สองศาสนาในเขตแควนปตตานี ทํานองตรงขาม ชุมชนบานดาโตะกลับอยูในสภาวะที่ขาดความมั่นคงทางเศรษฐกิจ อันเนื่องมาจาก เปนชุมชนชาวประมงที่คนสวนใหญมีอาชีพในการจับปลาในทะเลในอาวปตตานี ซึ่งปจจุบันสภาพแวดลอมเกิด การเปลี่ยนแปลงอันเนื่องมาจากการกอสรางสิ่งใหมๆ ทางอุตสาหกรรมลงไปในพื้นที่ทะเล ทําใหอาวตื้นและสัน ทรายตรงปลายแหลมใกลจะงอกออกมาปดอาว ทําใหบรรดาสัตวน้ํานานาชนิดสูญพันธุและลดจํานวนลง ยิ่งกวานั้นยังถูกแยงอาชีพจากผูประกอบการประมงจากถิ่นอื่นที่เปนนายทุน นําเรืออวนรุนและอวนลากพรอม ดวยวิธีการจับปลาดวยเครื่องมือที่กาวหนามาจับปลาในอาว ทําใหคนมุสลิมที่จับปลาดวยเรือกอและ อันเปน เรือขนาดเล็กที่ใชเครื่องมือแบบงายๆ ไมมีทางสูได ทําใหตองทํางานหนักใชเวลาหาปลาเพิ่ม อีกทั้งตองเพิ่ม


๒๓

จํานวนการจับปลามากกวาแตเดิม จึงตอบสนองความตองการของครอบครัวได ผลกระทบทางเศรษฐกิจ ดังกลาวไดทําใหครอบครัวคนมุสลิมที่บานดาโตะเปลี่ยนแปลงไป คือผูชายหาปลาไดนอยลงตองออกไปทํางาน รับจางในที่อื่น รวมทั้งผูหญิงก็ออกไปทํางานในโรงงานอุตสาหกรรม ขายของในตลาดหาไดอยูในหมูบานเปน แมบานแบบแตเดิมไม หลายครอบครัวหันมาทําอุตสาหกรรมในครัวเรือน คือทําขาวเกรียบปลา คือนําปลาที่หา ไดมาทําขาวเกรียบ มีทั้งรวมกลุมกันเปนสหกรณ และแยกทําโดยเอกเทศ หลายครอบครัวนําเศษปลาที่เหลือ จากการทําขาวเกรียบไปเลี้ยงปลาดุกในบอปลารอบๆ ชุมชน ทําใหมีการขุดบอเลี้ยงปลาดุกกันมากมาย การ เปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจภายในชุมชนดังกลาวมีผลกระทบกับสิ่งแวดลอม คือทําใหรอบๆ ชุมชนทั้งในบริเวณ บอเลี้ยงปลาและพื้นที่สาธารณะโดยรอบกลายเปนที่ทิ้งขยะที่ยังจัดการอะไรไมได แมกระทั่ง อบต.ก็ไมสนใจที่ จะทําอะไรลงไป ปจจุบันการขยายตัวทางอุตสาหกรรมและการประมงชายฝงทะเลในเขตอาวปตตานี ทําใหเกิดการ เปลี่ยนแปลงและทําลายสภาพแวดลอมธรรมชาติ ไดทําใหคนในบานดาโตะมีการเคลื่อนไหวรวมกันกับชุมชน อื่นๆ ทั้งใกลและไกลในการจัดตั้งกลุมอนุรักษธรรมชาติและสภาพแวดลอมรอบอาวปตตานีดานใต อันเปน บริเวณที่มีแหลมยื่นออกไปในทะเล อีกทั้งเปนบริเวณตอเนื่องไปในเขตอําเภอยะหริ่ง พื้นที่บริเวณนี้ยังมีปาชาย เลนและธรรมชาติตามลําน้ําหลายสายที่ยังเขียวชอุมและอุดมไปดวยทรัพยากรธรรมชาติ ทั้งสัตวน้ําและพืช พันธุที่อยูบนบก ผูที่เปนแกนนําในการเคลื่อนไหวในทางอนุรักษก็คือ นักวิจัยทองถิ่นของบานดาโตะในโครงการวิจัย ของ สกว. การเรี ย นรู ร ว มกั น ในขั้ น ตอนของการวิ จั ย ได ทํ า ให เ กิ ด ความรู แ ละความคิ ด ในการอนุ รั ก ษ สภาพแวดลอ มรว มกันของคนในหลายๆ ชุ ม ชนที่อยู ในท องถิ่ นเดี ยวกั นและใกล เคีย ง ด วยความเขา ใจใน สภาพแวดลอมทางวัฒนธรรมอยางลุมลึกของนักวิจัยทองถิ่นนี้เอง ทําใหสามารถเขียนแผนภูมิและแผนผังนิเวศ วัฒนธรรมของอาวปตตานีไดอยางละเอียดออน ทําใหแลเห็นไดวาพื้นที่ใดที่ยังดํารงความเปนธรรมชาติที่ สวยงามและอุดมสมบูรณอยู และพื้นที่ใดที่กําลังเสื่อมโทรมหมดสภาพธรรมชาติกลายเปนแหลงประกอบการ ทางอุตสาหกรรม อันเนื่องมาจากการรุกล้ําทางนิเวศการเมืองที่มาจากรัฐและสังคมภายนอก นักวิจัยทองถิ่นได แสดงใหเห็นถึงการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและเทคโนโลยีในชีวิตของทางประมงทองถิ่นไดอยางดีมาก นั่น คือแสดงใหเห็นถึงการทําประมงหาปลาดวยเรือกอและและเครื่องมือจับสัตวน้ําวามีกี่ประเภท และแตละ ประเภทนั้นใชกับสัตวน้ําที่ไหนและเวลาไหน ซึ่งบัดนี้การประมงแผนเดิมดังกลาวนี้กําลังไดรับผลกระทบอยาง หนักจากคนตางถิ่นที่เปนนายทุน และชาวประมงจากภายนอกที่ทําเรืออวนรุนและอวนลาก และเครื่องมือจับ ปลาที่ทันสมัย เขามาดําเนินการอยูทั้งในบริเวณอาวปตตานีและรอบๆ อาว ซึ่งทั้งหมดนี้สะทอนใหเห็นถึงการ แบงทรัพยากรและการเขามาจัดการทรัพยากรของผูคนที่มีอํานาจทางการเมืองและเศรษฐกิจจากภายนอก เกือบแทบทั้งสิ้น ทั้งการขยายตัวของอุตสาหกรรมและการประมงดวยเครื่องไมเครื่องมือที่ทันสมัย โดยเฉพาะ การเปนคนมุสลิมที่ยึดมั่นในศาสนานั้น การปรับตัวเขากับเศรษฐกิจแบบทุนนิยมดูเปนเรื่องยากอยางยิ่ง สวนบานภูมีนั้น ปญหาในเรื่องการเปลี่ยนแปลงที่สําคัญอยูที่ปอเนาะอันเปนสถาบันการศึกษาทาง ศาสนาที่เปนอัตลักษณของชาวปตตานี การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจจากภายนอก ทําใหการเรียนการสอน ของสถาบันปอเนาะไมอาจดํารงอยูแบบเดิม ที่เนนการสอนศาสนาเปนเรื่องใหญ และการสอนวิชาความรูทาง


๒๔

โลกเปนเรื่องรองลงมา คนรุนใหมตองการความรูทางโลกและทางเทคโนโลยีเพิ่ม เพื่อการทํามาหากินและการมี ความสุขทางวัตถุ จึงเปนสิ่งที่ทําใหปอเนาะรุนใหมรุนเกาหลายแหงกลายเปนโรงเรียนเอกชนสอนศาสนา อิสลามไป โรงเรียนเหลานี้ลดความสําคัญในการสอนศาสนาลง และเพิ่มการเรียนการสอนทางโลกมากขึ้น หลายโรงเรียนอยูในการดูแลและสนับสนุนจากทางรัฐบาล แตหลายๆ โรงเรียนที่มีครูสอนและนักเรียนมีสวนกอ ความรุนแรงและไมสงบขึ้น จนเปนขาวเปนประจําวาโรงเรียนสอนศาสนาดังกลาวนี้ คือแหลงที่เพาะเชื้อของ ความรุนแรง แตที่สําคัญที่สุดก็คือเกิดการเขาใจผิดวา ปอเนาะกับโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามเปนอัน เดียวกัน โดยเฉพาะการกลาวหาวาโตะครูของปอเนาะเปนผูผลักดันการกอความรุนแรง ความขัดแยงที่เกิดขึ้น ดังกลาวนี้ไดทําใหโตะครูของปอเนาะบานภูมี ซึ่งเปนนักวิจัยทานหนึ่งในโครงการนี้ สรางเครือขายในบรรดา ปอเนาะหลายๆ แหงที่ยึดมั่นในอุดมคติทางจริยธรรมและสันติสุข รวมมือกันในการทบทวนการเรียนการสอนใน วิ ช าทางโลก โดยเฉพาะความรู ใ นเรื่ อ งเทคโนโลยี ใ ห กั บ คนรุ น ใหม ที่ เ ข า มาศึ ก ษา เพื่ อ จะได นํ า ความรู ไ ป ประกอบการทํามาหากินไดเหมาะสมกับสภาพแวดลอมทางนิเวศวัฒนธรรมของทองถิ่น ความคิดในเรื่องเพิ่ม การศึกษาทางเทคโนโลยีเพื่อทํามาหากินนี้เขากันไดกับคานิยมของคนในสังคมปตตานี ที่ใหเกียรติภูมิของคนที่ มีความรูทางเทคนิคกวาบรรดาผูเรียนจบวิชาสาขาตางๆ ตามมหาวิทยาลัย


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.