“เครื่องรักเมืองเชียงใหม่: ภูมิปัญญาจากอดีตสู่ปัจจุบัน"

Page 1

เครื่องรักเมืองเชียงใหม่ ภูมิปัญญาจากอดีตสู่ปัจจุบัน Chiang Mai Lacquer Crafts: Wisdom from the Past and Present รองศาสตราจารย์ลิปิกร มาแก้ว (คานาเสนอ) ผู้ช่วยศาสตราจารย์วิทยา พลวิฑูรย์ (ผู้เขียน) โครงการสืบสาน พัฒนา ต่อยอดองค์ความรู้เดิมสู่องค์ความรู้ใหม่เครื่องรักล้านนา เขตพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่

Chiang Mai Lacquer Crafts: Wisdom from the Past and Present

เครื่องรักเมืองเชียงใหม่ ภูมิปัญญาจากอดีตสู่ปัจจุบัน
รองศาสตราจารย์ลิปิกร มาแก้ว (คานาเสนอ) ผู้ช่วยศาสตราจารย์วิทยา พลวิฑูรย์ (ผู้เขียน) โครงการสืบสาน พัฒนา ต่อยอดองค์ความรู้เดิมสู่องค์ความรู้ใหม่เครื่องรักล้านนา เขตพื้นที่จังหวัดเชียง ใหม่
(ภาพบน) ขันหมากคา เทคนิคลายรดนา, (ภาพล่าง) ขันหมาก เทคนิคฮายลาย (สมบัติของ: วิทยา พลวิฑูรย์)
(ภาพบน) ขันดอกฮายลาย (ที่มา: จักริน สานุวัตร์), (ภาพล่าง) หีบผ้าใหม่ เทคนิคแต้มดอก (สมบัติของ: ตระกูลวิชัยกุล)
(ภาพบน) ขันโอฮายลาย (ที่มา: จักริน สานุวัตร์), (ภาพล่าง) ขันโตกไม้กลึงทางยางรักและหางแดง
ขันหมากเคลือบยางรักสีดาแบบธรรมดา ส่วนฐานมีการกดพิมพ์เป็นลูกติ่งขนาดเล็กโดยรอบ เน้นทาหางแดงภายในทังตัวขันหมากและอาน (ฝาปิด) ไม่มีการขูดหรือฮายลาย (สมบัติของ: วิทยา พลวิฑูรย์)
ขันหมากตีนช้างแบบพืนบ้านทั่วไป ทาเคลือบผิวด้วยยางรัก บางแบบนิยมทาลูกติ่งประดับส่วนฐาน นิยมคาดรัดส่วนตัวขันคล้ายลูกแก้ว ๒-๔ เส้น ไม่มีลวดลายประดับ (สมบัติของ: วิทยา พลวิฑูรย์)
ขันหมากตีนช้างแบบพืนเมืองเขียนลายแต้มดอกด้วยหางแดงปิดทองคาเปลวประดับ (ภาพบนสมบัติของ: วิถี พานิชพันธ์)
งานเครื่องรักแบบพืนบ้านทั่วไป และงานเครื่องรักกะเหรี่ยง

Chiang Mai Lacquer Crafts: Wisdom from the Past and Present

Chiang Mai Lacquer Crafts: Wisdom from the Past and Present”

เครื่องรักเมืองเชียงใหม่ ภูมิปัญญาจากอดีตสู่ปัจจุบัน
โครงการสืบสาน พัฒนา ต่อยอดองค์ความรู้เดิมสู่องค์ความรู้ใหม่เครื่องรักล้านนา เขตพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่ ISBN: หนังสือ: “เครื่องรักเมืองเชียงใหม่: ภูมิปัญญาจากอดีตสู่ปัจจุบัน
ผู้เขียน: ผู้ช่วยศาสตราจารย์ วิทยา พลวิฑูรย์ พิมพ์ครั้งแรก: จานวนพิมพ์: 300 เล่ม บรรณาธิการเล่ม/ที่ปรึกษา: รองศาสตราจารย์ ลิปิกร มาแก้ว ภาพประกอบ: ออกแบบปก/รูปเล่ม: พิมพ์ที่: จัดพิมพ์โดย: โครงการสืบสาน พัฒนา ต่อยอดองค์ความรู้เดิมสู่องค์ความรู้ใหม่เครื่องรัก ล้านนา เขตพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่ ข้อมูลบรรณานุกรมของหอสมุดแห่งชาติ สงวนลิขสิทธิ์ห้ามลอกเลียนแบบ ทาซ้า ส่วนหนึ่งส่วนใดของหนังสือเล่มนี้ไม่ว่ารูปแบบใด ๆ ก่อนได้รับอนุญาต

ประเทศไทย (Thailand Academy of Social Sciences, Humanities and Arts: TASSHA)

แต่เนื่องจากยุคสังคมไทยในปัจจุบันเริ่มมีการเปลี่ยนแปลงไปตาม

อันจะเป็นที่น่าเสียดายยิ่งนักที่จะเห็นงานช่างแขนงนี้จะต้องเสี่ยงต่อการสูญหายและถูกขโมยลิขสิทธิ์

เครื่องรักล้านนา ภายใต้โครงการสืบสาน พัฒนา ต่อยอดองค์ความรู้เดิม สู่องค์ความรู้ใหม่เครื่องรักล้านนา เขตพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่ โดยเฉพาะให้ความสาคัญในการดาเนินการจัดพิมพ์เป็นหนังสือเพื่อเผยแพร่องค์ความรู้

สารจากผู้อานวยการสถาบันช่างศิลป์ท้องถิ่น สถาบันช่างศิลป์ท้องถิ่น สานักบริหารวิทยสถานสังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์และศิลปกรรมศาสตร์แห่ง
หรือ ธัชชา เป็น หน่วยงานในสังกัดสานักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม เป็นอีกหนึ่งองค์กรที่ ขับเคลื่อนการวิจัยและพัฒนาบุคลากรการวิจัยด้านสังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ และศิลปกรรมศาสตร์ของประเทศ ไปสู่การสร้างคุณค่าและผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจและสังคมของชาติ โดยมีเป้าหมายเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน มุ่งเน้นไปที่สาขาที่เกี่ยวข้องกับมรดกทางวัฒนธรรม (Cultural heritage) ทุนทางสังคม และวัฒนธรรมชุมชน ใน ๕ สาขา ได้แก่ สุวรรณภูมิศึกษา เศรษฐกิจพอเพียง โลกคดีศึกษา พิพิธภัณฑ์ศิลปกรรมแห่งชาติ และช่างศิลป์ ท้องถิ่น ปี พ.ศ. ๒๕๖๕ สถาบันช่างศิลป์ท้องถิ่น สานักบริหารวิทยสถานสังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์และศิลปกรรม ศาสตร์แห่งประเทศไทย (ธัชชา) ได้ให้การส่งเสริมและสนับสนุนการดาเนินงานวิจัย โครงการภายใต้แผนงานช่าง ศิลป์ท้องถิ่นประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๕ “โครงการสืบสาน พัฒนา ต่อยอดองค์ความรู้เดิมสู่องค์ความรู้ใหม่เครื่อง รักล้านนา เขตพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่” เพื่อการอนุรักษ์ เชิดชูครูภูมิปัญญา ส่งเสริมการสร้างสรรค์งานช่างศิลป์ เครื่องรักล้านนา มุ่งเน้นการพัฒนาต่อยอดสร้างคนรุ่นใหม่ ตามรอยครูภูมิปัญญาสู่การอนุรักษ์สืบสานงานเครื่องรัก ล้านนา อันเป็นมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมให้คงอยู่สืบไป เครื่องรัก มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม
ที่มีแบบแผนขนบจารีต ซึ่งเป็นการ แสดงออกของงานศิลปกรรมของชาติไทย
กาลเวลาของยุคสมัย งานช่างฝีมือดั้งเดิมหลายแขนงเริ่มสูญหายไปขาดผู้สืบทอด
มีอายุมากขึ้น
ไปเป็นของชาติอื่น ฉะนั้นจึงสมควรอย่างยิ่งที่จะผดุงรักษาไว้ ในส่วนหนึ่งของมรดกชาติไทย สืบไว้ให้เยาวชนคนรุ่น ใหม่ได้เล็งเห็น และตระหนักถึงคุณค่าของงานช่างแขนงนี้ให้อยู่คู่สังคมไทย ในนามของ สถาบันช่างศิลป์ท้องถิ่น สานักบริหารวิทยสถานสังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์และศิลปกรรม ศาสตร์แห่งประเทศไทย (ธัชชา) ขอแสดงความชื่นชมยินดีต่อความสาเร็จในการพัฒนาต่อยอดมรดกภูมิปัญญา ท้องถิ่น
ถือเป็นงานช่างฝีมือดั้งเดิม
นายช่างผู้มีความรู้ ความชานาญ

ฟื้นฟู ศิลปหัตถกรรมภูมิปัญญางานศิลปกรรมของชาติไทยให้คงอยู่สืบไปตราบนานเท่านานศูนย์ส่งเสริม

งานเครื่องรักเมืองเชียงใหม่ให้เป็นที่รู้จักมากยิ่งขึ้น และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าผลงานที่ปรากฏ จะเป็นส่วนหนึ่งในการ ผลักดัน

อุตสาหกรรมภาค

ทางภูมิปัญญาพื้นบ้าน อัตลักษณ์งานช่างศิลป์หัตถกรรมเครื่องรักล้านนา อันเป็นต้นทุนทางวัฒนธรรมที่มี ความสาคัญของเมืองล้านนา จังหวัดเชียงใหม่ให้สืบทอดต่อไป ดร.สิริกร มณีรินทร์ ผู้อานวยการสถาบันช่างศิลป์ท้องถิ่น
๑, ครูภูมิปัญญาล้านนา และองค์กรทุกภาคส่วน ที่ช่วยสนับสนุนและผลักดันการอนุรักษ์มรดก

มีพันธกิจสนับสนุนด้านการผลิตผลงานวิจัยที่เป็นการสร้างและประยุกต์ใช้องค์ความรู้

Mai Lacquer Crafts: Wisdom from the Past and Present”

และประเทศชาติ โดยได้รับความร่วมมือระหว่างสถาบันช่างศิลป์ ท้องถิ่น

สารจากอธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เป็นสถาบันการศึกษาที่มีพันธกิจมุ่งเน้น การเป็น “มหาวิทยาลัย ชั้นนาด้านวิชาชีพและเทคโนโลยี
ท้องถิ่น อย่างยั่งยืน”
สร้างสรรค์นวัตกรรม หรือทรัพย์สินทางปัญญา ที่ตอบสนองยทุธศาสตร์ชาติตามความต้องการของสังคม ชุมชน ภาครัฐและเอกชน และประเทศ พร้อมทั้ง ส่งเสริมการสร้างสรรค์กระบวนการจัดการเรียนรู้ งานวิจัย ซึ่งนาไปสู่ การสืบสานศิลปวัฒนธรรม และความเป็นไทย หรือสร้างโอกาสและมูลค่าเพิ่มให้กับผู้เรียน ชุมชน สังคมและ ประเทศชาติ ภายใต้โครงการ สืบสาน พัฒนา ต่อยอดองค์ความรู้เดิม สู่องค์ความรู้ใหม่เครื่องรักล้านนา เขตพื้นที่จังหวัด เชียงใหม่ ได้ดาเนินการจัดพิมพ์หนังสือเรื่อง “เครื่องรักเมืองเชียงใหม่: ภูมิปัญญาจากอดีตสู่ปัจจุบัน Chiang
ในการผลิตบัณฑิตนักปฏิบัติ เพื่อยกระดับคณุภาพชีวิตของสังคม ชุมชน
ขึ้น เพื่อใช้ในเผยแพร่เนื้อหาทางวิชาการ และองค์ความรู้สาคัญเกี่ยวกับภูมิปัญญาทางเชิงช่าง รวมถึงการสืบทอดและพัฒนางานเครื่องรักเมืองเชียงใหม่จาก อดีตต่อยอดไปสู่ปัจจุบันได้อย่างเหมาะสม
ส่วนหนึ่งของการพัฒนาบุคคล ชุมชน สังคม
สานักบริหารวิทยสถานสังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์และศิลปกรรมศาสตร์แห่งประเทศไทย (ธัชชา) สังกัด สานักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ร่วมกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ล้านนา ที่ผลักดันการส่งเสริมการอนุรักษ์มรดกทางภูมิปัญญาพื้นบ้าน อัตลักษณ์งานช่างศิลป์หัตถกรรมเครื่องรัก ล้านนา อันเป็นต้นทุนทางวัฒนธรรมที่มีความสาคัญของเมืองล้านนา จังหวัดเชียงใหม่ ในนามของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ขอแสดงความยินดีต่อความสาเร็จในการเผยแพร่ สาระองค์ความรู้ของหนังสือเล่มนี้ภายใต้โครงการ สืบสาน พัฒนา ต่อยอดองค์ความรู้เดิม สู่องค์ความรู้ใหม่เครื่อง รักล้านนา เขตพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่ และมีความยินดีอย่างยิ่งที่ได้ร่วมเป็นหนึ่งในการสนับสนุนโครงการอันเป็น ประโยชน์อย่างยิ่งนี้ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จัตตุฤทธิ์ ทองปรอน รักษาราชการแทน อธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
เป็นการอนุรักษ์ส่งเสริมและสร้างสรรค์ให้งานหัตถกรรมดังกล่าวเป็น

Chiang Mai Lacquer Crafts: Wisdom from the Past and Present

ภายใต้โครงการดังกล่าวนับว่าหนังสือเล่มนี้จะสร้างประโยชน์ได้ในหลายมิติ

ขอขอบคุณสถาบันช่างศิลป์ท้องถิ่นสานักบริหาร

วิทยสถานสังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์และศิลปกรรมศาสตร์แห่งประเทศไทย (ธัชชา)

วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม

สารจากคณบดีคณะศิลปกรรมและสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา คณะศิลปกรรมและสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา มุ่งมั่นในการจัด การศึกษาด้านศิลปะ การออกแบบและสถาปัตยกรรมให้มีคุณภาพ เป็นองค์กรที่พร้อมจะแสวงหาความร่วมมือ ระหว่างองค์กรภาครัฐและเอกชน มีพันธกิจส่งเสริมและสนับสนุนทางด้านงานวิชาการ งานสร้างสรรค์และงานวิจัย งานบริการวิชาการ งานศิลปะและวัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต สู่ความเป็นสากล โดยใช้ พื้นฐานอัตลักษณ์ภูมิปัญญาล้านนา นอกจากนี้ยังให้ความสาคัญต่อองค์ความรู้ภูมิปัญญางานช่างศิลป์ ที่สืบทอด จากอดีตถึงปัจจุบัน จนเกิดอัตลักษณ์อันโดดเด่นที่สามารถใช้เป็นรากฐานในการพัฒนาประเทศในอนาคต ขอแสดงความชื่นชมยินดีกับความตั้งใจของโครงการ สืบสาน พัฒนา ต่อยอดองค์ความรู้เดิม สู่องค์ความรู้ ใหม่เครื่องรักล้านนา เขตพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่ ที่ได้จัดพิมพ์หนังสือ “เครื่องรักเมืองเชียงใหม่: ภูมิปัญญาจาก
” เพื่อใช้เป็นส่วน
โดยเฉพาะการรวบรวมองค์ความรู้ภูมิปัญญาที่ใกล้จะสูญหายให้กลับมามีบทบาทอีกครั้งในสังคมปัจุบัน การเชิดชู ครูภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านงานเครื่องรักที่สามารถถ่ายทอดให้คนรุ่นใหม่ได้สืบต่อมิให้สาบสูญ ฯลฯ ในนามของคณะศิลปกรรมและสถาปัตยกรรมศาสตร์
อดีตสู่ปัจจุบัน
หนึ่งในการเผยแพร่องค์ความรู้สู่สังคม
กระทรวงการอุดมศึกษา
, ศูนย์อนุรักษ์หัตถกรรมเครื่องเขินภาคเหนือศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาค ๑, ครู ภูมิปัญญาล้านนา และองค์กรทุกภาคส่วน ที่ช่วยสนับสนุนและผลักดันการอนุรักษ์มรดกทางภูมิปัญญาพื้นบ้าน อัต ลักษณ์งานช่างศิลป์หัตถกรรมเครื่องรักล้านนา อันเป็นต้นทุนทางวัฒนธรรมที่มีความสาคัญของเมืองล้านนา จังหวัดเชียงใหม่ ให้สืบทอดต่อไป ผู้ช่วยศาสตราจารย์ธนาการ สร้อยสุวรรณ รักษาราชการแทน คณบดีคณะศิลปกรรมและสถาปัตยกรรมศาสตร์

นอกจากที่กล่าวมาแล้วข้างต้นเนื้อหาในหนังสือเล่มนี้ยังแสดงสาระข้อมูลและรูปภาพประกอบสาคัญ

การส่งเสริมและการสร้างสรรค์งานช่างศิลป์เครื่องรักล้านนา

ยอดตามรอยครูภูมิปัญญาสู่การอนุรักษ์ และสร้างสรรค์งานเครื่องรักล้านนาอันเป็นมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม

คานาเสนอ หนังสือเรื่อง “เครื่องรักเมืองเชียงใหม่: ภูมิปัญญาจากอดีตสู่ปัจจุบัน
Mai Lacquer Crafts: Wisdom from the Past and Present” เป็นผลงานเขียน โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์วิทยา พลวิฑูรย์ อาจารย์ ประจาหลักสูตรทัศนศิลป์ สาขาศิลปกรรม คณะศิลปกรรมและสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช มงคลล้านนา ที่ได้ทาการศึกษารวบรวมเนื้อหาข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับงานเครื่องรักล้านนา โดยเฉพาะเครื่องรักเมือง เชียงใหม่ ที่มีลักษณะและรูปแบบในการสร้างสรรค์ด้วยเทคนิควิธีการที่มีความโดดเด่น และยังสามารถส่งอิทธิพล ไปสู่งานประเภทเดียวกันในภูมิภาคใกล้เคียงได้อีกด้วย ในสังคมวัฒนธรรมล้านนาในอดีต งานศิลปะหัตถกรรม เหล่านี้มักถูกสร้างสรรค์ขึ้นเพื่อตอบสนองบริบทต่าง ๆ ทางสังคม อาทิ บทบาททางสังคม หน้าที่การใช้สอยตั้งแต่ ชนชั้นปกครอง พระสงฆ์ ผู้มีฐานะ ตลอดจนประชาชนโดยทั่วไป ที่ปรากฏอยู่ในรูปแบบ งานพุทธศิลป์ เครื่องใช้ สอยของชนชั้นปกครอง เครื่องใช้ในพีธีกรรม รวมถึงเครื่องใช้ในวิถีชีวิตของคนในสังคม นอกจากหน้าที่ใช้สอยที่ สาคัญแล้วงานเครื่องรัก หรือที่รู้จักกันในนามเครื่องเขิน ยังสามารถแสดงถึงภูมิปัญญา ความรู้ความสามารถ ทักษะ ฝีมือทางเชิงช่างโบราณ ตลอดจนสร้างให้เกิดคุณค่าทางความงามด้านศิลปะ ถือได้ว่าเป็นงานประณีตศิลป์ล้านนาที่ ควรยกย่องและให้คุณค่าอย่างยิ่ง หนังสือเล่มนี้เป็นผลงานส่วนหนึ่งภายใต้แผนงาน
ประโยชน์
ๆ ต่าง ๆ เกี่ยวกับประวัติความเป็นมาของงานเครื่องรัก และยังมีเนื้อหาเกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์ เชิดชูครูภูมิปัญญา
ที่มีคุณค่ายิ่งอีกด้วย โครงการดังกล่าวได้รับการสนับสนุนในการดาเนินงานจากสถาบันช่างศิลป์ท้องถิ่น สานักบริหารวิทยสถาน สังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์และศิลปกรรมศาสตร์แห่งประเทศไทย (ธัชชา) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๕ ร่วมกับ คณะศิลปกรรมและสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลล้านนา นอกจากนี้ยังมีศูนย์อนุรักษ์หัตถกรรมเครื่องเขินภาคเหนือ ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรม ภาคที่ ๑, ครูภูมิปัญญาล้านนา, วิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิและองค์กรทุกภาคส่วนที่ให้การสนับสนุน
Chiang
“โครงการสืบสาน พัฒนา ต่อยอดองค์ความรู้เดิมสู่องค์ ความรู้ใหม่เครื่องรักล้านนา เขตพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่” ที่ได้เล็งเห็นความสาคัญในการจัดพิมพ์เพื่อเผยแพร่ให้เกิด
โดยกระบวนการพัฒนาสร้างคนรุ่นใหม่ให้สามารถต่อ

Lacquer Crafts: Wisdom from the Past and Present”

Chiang Mai
หวังเป็นอย่างยิ่งว่าหนังสือเรื่อง “เครื่องรักเมืองเชียงใหม่: ภูมิปัญญาจากอดีตสู่ปัจจุบัน
เล่มนี้จะสร้างความรู้ความเข้าใจในงาน หัตถกรรมเครื่องรักของเมืองเชียงใหม่ให้กับผู้อ่านทุก ๆ ท่าน และทุกคนที่สนใจงานด้านภูมิปัญญาล้านนาที่นับวัน เริ่มลดความสาคัญลงในสังคมสมัยใหม่ และยังถือมีส่วนช่วยในการอนุรักษ์สืบสานงานเครื่องรักล้านนาอันเป็น มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมที่มีคุณค่ายิ่งต่อไป รองศาสตราจารย์ลิปิกร มาแก้ว หัวหน้าโครงการ

พอเข้าสู่ยุคทางประวัติศาสตร์การใช้ยางรักก็ยังคงมีสืบเนื่องและยิ่งแสดงพัฒนาการรวมถึง

บทที่ ๓ ชุมชนแหล่งผลิตงานเครื่องรักเมืองเชียงใหม่ กล่าวถึงแหล่งผลิตงานหัตถกรรมเครื่องรักเมือง เชียงใหม่ที่กระจายตัวโดยรอบและในปัจจุบันยังมีผู้สืบทอดและสร้างสรรค์อยู่ บทที่ ๔ เทคนิคการประดับตกแต่ง และรูปแบบลักษณะงานครูช่างเครื่องรักเมืองเชียงใหม่ เป็นการแสดงรูปแบบและเทคนิคทางเชิงช่างที่สามารถ

สร้างสรรค์ได้อย่างหลากหลายและมีความสวยงามเป็นเอกลักษณ์ บทที่ ๕ บริบทที่ปรับเปลี่ยนของงานเครื่องรัก

เป็นการแสดงจุดเปลี่ยนของงานเครื่องรักที่ต้องปรับเปลี่ยนไปตามสภาพของสังคมและความนิยมที่

กลุ่มครูช่างเครื่องรักเมืองเชียงใหม่ในปัจจุบัน เป็นการรวบรวมครูช่างเครื่องรักของเมือง

๗ ตามรอยครูสู่การสร้างสรรค์ เป็นการนาเสนอผลงานช่างเครื่องรักรุ่นใหม่ที่ได้รับการศึกษาอบรมและเรียนรู้

จากครูช่างผู้เชี่ยวชาญ สามารถผลิตได้ตามแนวคิดของตน นอกจากนี้ยังเปิดโอกาสให้กลุ่มช่างรุ่นใหม่ได้พัฒนา ผลงานต่อยอดเป็นงานเครื่องรักที่สร้างสรรค์ได้อย่างหลากหลายรูปแบบ

คานาจากผู้เขียน งานเครื่องรักถือเป็นสิ่งที่สะท้อนความเจริญก้าวหน้าของศิลปวิทยาการต่าง ๆ ของมนุษย์ ตั้งแต่ยุคก่อน ประวัติศาสตร์ที่ปรากฏการใช้ยางรักเคลือบผิววัสดุต่าง
ที่ประกอบในพิธีกรรม
การคิดค้นเทคนิคพิเศษใหม่ ๆ เพิ่มมากยิ่งขึ้น กล่าวได้ว่าในภูมิภาคเอเชียจีนถือเป็นแหล่งอารยธรรมที่มี ความก้าวหน้าทางด้านงานเครื่องรักอย่างมากที่สุด ปรากฏหลักฐานนับพันกว่าปีที่แสดงให้เห็นถึงความก้าวหน้า ความนิยม และทักษะฝีมือที่ดีเลิศ และต่อมาได้ขยายองค์ความรู้มาสู่ดินแดนอื่น ๆ จนทาให้งานเครื่องรักเป็นที่นิยม และมีพัฒนาการมาเป็นลาดับ ก่อเกิดรูปแบบงานเครื่องรักลักษณะต่าง ๆ เทคนิควิธีการที่ถูกปรับเปลี่ยนจนมี ลักษณะเฉพาะตัวในแต่ละท้องถิ่น ถือได้ว่าเครื่องรักเป็นวัฒนธรรมร่วมในภูมิภาคแถบนี้ หนังสือ “เครื่องรักเมืองเชียงใหม่: ภูมิปัญญาจากอดีตสู่ปัจจุบัน” เล่มนี้ เป็นความตั้งใจที่จะถ่ายทอด เรื่องราวต่าง ๆ เกี่ยวกับงานเครื่องรักที่ปรากฏขึ้นทั้งในอดีตและปัจจุบันของเมืองเชียงใหม่ โดยนาเสนอสาระ ความรู้ที่ได้จากการศึกษาข้อมูลเอกสารโบราณ งานเขียนที่เกี่ยวข้องต่าง ๆ และการลงพื้นที่ภาคสนาม เพื่อนามา วิเคราะห์เรียบเรียงพร้อมเสนอภาพประกอบเพื่อให้ผู้อ่านได้ศึกษาและทาความเข้าใจ โดยแบ่งเป็นบทต่าง ๆ ดังนี้ บทที่ ๑ ประวัติศาสตร์งานเครื่องรักโบราณ ที่จะกล่าวถึงประวัติศาสตร์ความเป็นมาของงานเครื่องรักในมิติต่าง ๆ บทที่ ๒ ความเป็นมาของงานเครื่องรักเมืองเชียงใหม่ เป็นส่วนเน้นให้รู้ถึงที่มาของงานเครื่องรักเชียงใหม่ตั้งแต่อดีต จนถึงปัจุบัน
ๆ บนภาชนะที่ใช้สอยในวิถีชีวิตประจาวันไปจนถึงเครื่องใช้
เมืองเชียงใหม่
เปลี่ยนไป บทที่ ๖
เชียงใหม่ที่ยังมีการสืบทอดฝีมืองานช่างจากช่างรุ่นเก่าและสามารถถ่ายทอดสู่ผู้สนใจในปัจจุบัน และบทสุดท้าย บทที่

ลักษณะเฉพาะ เป็นสื่อข้อมูลที่จะช่วยสร้างแรงบันดาลใจให้กับคนรุ่นใหม่ได้ศึกษาเรียนรู้และช่วยในการสืบสาน

พัฒนา ต่อยอดองค์ความรู้เดิมสู่องค์ความรู้ใหม่เกี่ยวกับงานเครื่องรักเมืองเชียงใหม่ ให้สามารถยืนหยัดและ

ผู้เขียนหวังเป็นอย่างยิ่งว่าหนังสือเล่มนี้จะช่วยสร้างความรู้ความเข้าใจ ตลอดจนเป็นการเผยแพร่องค์ ความรู้ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันในทุกมิติ เพื่อให้เห็นการเดินทางของงานเครื่องรักเมืองเชียงใหม่ที่มีเอกลักษณ์และ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์วิทยา พลวิฑูรย์ ผู้เขียน
ก้าวหน้าต่อไปได้ในอนาคต
สารบัญ สารจากผู้อานวยการสถาบันช่างศิลป์ท้องถิ่น สารจากอธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา สารจากคณบดีคณะศิลปกรรมและสถาปัตยกรรมศาสตร์ คานาเสนอ คานาผู้เขียน บทนา บทที่ ๑ ประวัติศาสตร์งานเครื่องรักโบราณ บทที่ ๒ ความเป็นมาของงานเครื่องรักเมืองเชียงใหม่ บทที่ ๓ ชุมชนแหล่งผลิตงานเครื่องรักเมืองเชียงใหม่ บทที่ ๔ เทคนิคการประดับตกแต่ง และรูปแบบลักษณะงานครูช่างเครื่องรักเมืองเชียงใหม่ บทที่ ๕ บริบทที่ปรับเปลี่ยนของงานเครื่องรักเมืองเชียงใหม่ บทที่ ๖ กลุ่มครูช่างเครื่องรักเมืองเชียงใหม่ในปัจจุบัน บทที่ ๗ ตามรอยครูสู่การสร้างสรรค์ สรุป บรรณานุกรม

Chiang Mai Lacquer Crafts: Wisdom from the Past and Present

เครื่องรักเมืองเชียงใหม่ ภูมิปัญญาจากอดีตสู่ปัจจุบัน
โครงการสืบสาน พัฒนา ต่อยอดองค์ความรู้เดิมสู่องค์ความรู้ใหม่เครื่องรักล้านนา เขตพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่

ๆ จนเป็นที่ยอมรับและมีประวัติศาสตร์การใช้ยางรักเป็นส่วนเคลือบผิวและการตกแต่ง ให้เกิดความสวยงามมาอย่างยาวนานนับพันปี

ภาคเหนือตอนบนของประเทศไทยในอดีตมีการตั้งถิ่นฐานบ้านเมืองที่ก่อรูปเป็นอณาจักรอันยิ่งใหญ่เกิดขึ้น

บทนำ งานเครื่องรักถือเป็นส่วนหนึ่งในวัฒนธรรมของเหล่ามนุษยชาติ เป็นสิ่งที่สะท้อนตัวตนและความก้าวหน้า ของมนุษย์ในแต่ละยุคสมัย ตั้งแต่ยุคที่มนุษย์ไม่มีภาษาใช้ในการสื่อสารไปจนถึงมนุษย์ได้มีพัฒนาการที่สูงขึ้น โดย การสร้างภาษาในการติดต่อสื่อสารซึ่งกันและกัน งานเครื่องรักปรากฏให้เห็นควบคู่ไปกับการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์ ในแต่ละแหล่งที่มนุษย์ได้อาศัยอยู่ ซึ่งถูกสร้างเพื่อใช้เป็นส่วนเคลือบผิววัสดุหรือภาชนะที่มีรูปแบบและลักษณะต่าง ๆ เพื่อใช้ในการดารงชีวิต รวมไปถึงสร้างขึ้นมาเพื่อตอบสนองต่อความเชื่อแบบดั่งเดิมและรับใช้ความเชื่อทาง ศาสนาที่เข้ามามีบทบาทอย่างสาคัญและสอดคล้องต่อวัฒนธรรมของมนุษย์ในทุกมิติ งานเครื่องรักมีอยู่อย่างแพร่หลายในภูมิภาคเอเชียอาคเนย์ โดยแหล่งสาคัญคือจีนที่เริ่มปรากฏการใช้ยาง
ก่อนที่จะมีการขยายองค์ความรู้ไปสู่ดินแดนอื่น ๆ ในภูมิภาค ใกล้เคียง ทาให้เกิดวัฒนธรรมการใช้ยางรักที่แพร่หลายในเวลาต่อมา การสืบทอดจากรุ่นสู่รุ่นย่อมเป็นส่วนสาคัญที่ ทาให้งานหัตถกรรมเครื่องรักยังคงมีส่วนสาคัญต่อการดาเนินชีวิตในมิติต่าง
รักในการสร้างสรรค์สิ่งต่าง
ๆ ของมนุษย์
สาคัญ ๒
และการค้าทางบก หริภุญชัยถือเป็นจุดเริ่มต้นทางประวัติศาสตร์ที่ปรากฏหลักฐานเกี่ยวข้องกับการใช้ยางรักทา เคลือบผิวภาชนะที่เป็นส่วนประกอบในเครื่องใช้ที่เกี่ยวข้องในพิธีกรรมการฝังศพ ซึ่งเป็นวัฒนธรรมดั้งเดิมของกลุ่ม คนในดินแดนแถบนี้ก่อนที่จะมีการเผาศพในภายหลังที่รับพุทธศาสนาเข้ามาแล้ว นอกจากนี้ยังปรากฏหลักฐานที่ เก่าแก่ในยุคก่อนประวัติศาสตร์ในพื้นที่ของภาคเหนือตอนบน ซึ่งมีการค้นพบทางโบราณคดีในถ้าผีแมน อาเภอปาง มะผ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอน มีการค้นพบโลงศพไม้และกลุ่มภาชนะเครื่องใช้ที่มีการเคลือบผิวด้วยยางรัก ซึ่งเป็นส่วน
หรือด้วยเหตุผลอื่น ๆ ก็ตามในช่วงยุคก่อนประวัติศาสตร์ในดินแดนแถบนี้ ส่วนในช่วงยุคสมัยของล้านนาการใช้ยาง
แห่ง คือ อณาจักรหริภุญชัย และล้านนา ซึ่งมีความเชื่อมโยงกันผ่านการยอมรับนับถือทางพุทธศาสนา
สะท้อนให้เห็นถึงวิวัฒนาการอย่างสาคัญเกี่ยวกับการเลือกใช้ยางไม้จากธรรมชาติมาเคลือบผิวให้เกิดความคงทน

งานเครื่องรักที่ปรากฏในดินแดนล้านนาที่มีความโดดเด่นและเป็นเอกลักษณ์ค่อนข้างชัดเจนและถือเป็น

เชียงใหม่ก็ปรากฏลักษณะงานเครื่องรักที่มีการผลิตเพื่อใช้สอยในชีวิตประจาวันของกลุ่มคนในชุมชนแหล่งนั้นอีก

รูปแบบและลักษณะทางเทคนิคในการประดับตกแต่งลวดลายของงานเครื่องรักเมืองเชียงใหม่มีอยู่อย่าง

รักปรากฏหลักฐานค่อนข้างมากในรูปแบบต่าง ๆ ทั้งเป็นส่วนเคลือบโครงสร้างอาคารเครื่องไม้ ใช้เป็นยางทาเพื่อ ปิดทองคาเปลวองค์พระเจดีย์ พระพุทธรูป ใช้ปิดทองให้เกิดเป็นลวดลายประดับต่าง ๆ และส่วนใหญ่ใช้ทาเคลือบ ผิวตกแต่งภาชนะเครื่องใช้สอยในชีวิตประจาวันที่เรียกว่า “คัวฮัก คัวหาง” รวมถึงเครื่องประกอบในพิธีกรรมทาง ศาสนา เป็นต้น
แหล่งผลิตงานเครื่องรักที่สาคัญของภาคเหนือคือ งานเครื่องรักเมืองเชียงใหม่ งานหัตถกรรมดังกล่าวนี้มีการสื บ ทอดฝีมือทางเชิงช่างตั้งแต่ยุคสมัยอดีตมาจนถึงปัจจุบัน โดยมักเรียกว่า “เครื่องเขิน” เนื่องด้วยเรียกชื่อตามกลุ่ม คนชาวไทเขิน หรือ ไทขึน ที่ถูกกวาดต้อนย้ายถิ่นฐานเข้ามาอาศัยในเมืองเชียงใหม่ในช่วงที่มีการฟื้นฟูบ้านเมืองอีก ครั้ง ในสมัยพระยากาวิละเจ้าเมืองเชียงใหม่ จึงเรียกงานช่างฝีมือกลุ่มนี้ว่าเครื่องเขินในเวลาต่อมา ประเด็นการ เรียกชื่อเครื่องใช้ที่ทาเคลือบผิวตกแต่งด้วยยางรักว่าเครื่องเขินนี้คงเป็นที่รับรู้กันในช่วงระยะหลัง แต่ก่อนหน้านั้น ภาษาในท้องถิ่นมักเรียกว่า “คัวฮัก คัวหาง” มากกว่า และในปัจจุบันหากเรียกงานหัตถกรรมเหล่านี้ว่า “งาน เครื่องรัก” จะครอบคลุมความหมายโดยรวมมากว่าด้วยเช่นกัน กลุ่มช่างหัตถกรรมเหล่านี้ตั้งถิ่นฐานกระจายตัวตามแหล่งพื้นที่ต่าง ๆ ทั้งใกล้และหางไกลจากตัวเมือง เชียงใหม่ เกิดเป็นแหล่งชุมชนงานช่างเครื่องรักของเมืองเชียงใหม่ที่สาคัญ และนอกจากนี้ในบางชุมชนยังมีงานช่าง แขนงอื่น ๆ รวมถึงมีวัติถุดิบสาคัญที่เอื้อต่อการผลิตงานเครื่องรักของเมืองเชียงใหม่อีกด้วย ชุมชนต่าง ๆ เหล่านี้ ล้วนประกอบกิจการเป็นเครือข่ายซึ่งกันและกัน ทาให้เกิดระบบการผลิตงานเครื่องรักที่เรียกว่างานหัตถกรรมกึ่ง อุตสาหกรรมขึ้น โดยมีชุมชนงานช่างเครื่องรักของเมืองเชียงใหม่ที่สาคัญเช่น บ้านนันทาราม บ้านวัวลาย บ้านระ แกง บ้านศรีปันครัว และชุมชนที่อยู่ห่างไกลออกไปในลุ่มน้าขาน สันป่าตอง ทุ่งเสี้ยว หรือในสกุลช่างบ้านต้นแหน อาเภอสันป่าตอง ที่มีลักษณะผลงานที่โดดเด่นเป็นเอกลักษณ์ และนอกจากนี้ในกลุ่มคนชาวกะเหรี่ยงบนพื้นที่สูงใน
ด้วย
หลากหลาย แต่ละรูปแบบให้ความงามและรสนิยมแตกต่างกัน ในหนึ่งชิ้นงานอาจปรากฏเทคนิคในการประดับ มากกว่าหนึ่งเทคนิคตามแต่ช่างจะสรรค์สร้าง เพื่อให้เกิดเอกลักษณ์อันโดดเด่นเฉพาะ ปรากฏหลักฐานสาคัญที่ บันทึกสูตรในการผสมส่วนประกอบต่าง ๆ ในการสร้างงานเครื่องรักเพื่อให้เกิดแบบแผนหรือใช้เป็นแนวทางสาหรับ ช่างรุ่นหลังได้ใช้ประโยชน์ต่อไป งานเครื่องรักอาจรู้จักกันในวงกว้างในสังคมอดีตแต่กลับเริ่มเลือนหายไปทีละน้อย ๆ ในสังคมสมัยใหม่ เนื่องจากหมดความนิยมลงไปในภายหลัง บทบาทของงานเครื่องรักในชีวิตประจาวันของมนุษย์ทุกช่วงวัยเริ่มลดลง

และท่านเหล่านี้ยังสามารถถ่ายทอดความรู้และภูมิปัญญาให้กับคนรุ่นใหม่ที่มีความสนใจ

เนื่องด้วยความเปลี่ยนแปลงทางสังคม วิถีชีวิต และวัฒนธรรม โดยมีเทคโนโลยีที่ทันสมัยเข้ามาแทนที่อย่างรวดเร็ว แต่อย่างไรก็ตามยังมีการพยายามฟื้นฟูและส่งเสริมองค์ความรู้ด้านงานช่างเครื่องรักอยู่อย่างเสมอ เพื่อแสดงให้เห็น ถึงคุณค่าและความสาคัญของงานช่างในอดีตที่เรียกว่าต้นทุนทางวัฒนธรรม มีการยกย่องเชิดชูครูช่างภูมิปัญญาให้
เกิด กระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านงานช่างที่สาคัญอันจะสามารถนาไปพัฒนาได้ในอนาคต เกิดต้นแบบงานเครื่อง รักร่วมสมัยที่สามารถใช้ต่อยอดได้จริงในปัจจุบัน ดังจะขอนาเสนอเนื้อหาข้อมูลต่าง ๆ เป็นลาดับต่อไป
เป็นที่รับรู้ในสังคม

และมีพัฒนาการมาเป็น ลาดับ ถือได้ว่ามนุษย์เป็นผู้สร้างนวัตกรรมที่สามารถตอบสนองความต้องการของเพื่อนมนุษย์

การเรียนรู้ การลองผิดลองถูกที่มีมาช้านานก่อให้เกิดเป็นองค์ความรู้ที่ตกผลึก

บทที่ ๑ ประวัติศาสตร์งานเครื่องรักโบราณ ตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์เป็นต้นมา มนุษย์เริ่มรู้จักการใช้ผลผลิตจากธรรมชาติมา ตอบสนองความต้องการของตนเพื่อการดารงอยู่ของชีวิตในทุกมิติ
ด้วยกันเอง
ที่ สามารถถ่ายทอดจากรุ่นสู่รุ่นและเกิดการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงให้เข้ากับยุคสมัยของตน การใช้ยางรักเป็นวัตถุดิบหลักสาคัญในการสรรสร้างสิ่งต่าง ๆ เพื่อตอบสนองกิจกรรม ของมนุษย์ ที่เรียกว่าเครื่องรัก หรือเครื่องเขินนั้น ถือเป็นวัฒนธรรมร่วมของกลุ่มคนในภูมิภาค เอเชียตะวันออกเฉียงใต้มาเป็นเวลานานแล้ว Garner, VonRague and Pekarik (๑๙๘๗: ๑๑ อ้างถึงใน นภกานต์ คาภีระ, ๒๕๕๗: ๑๙) กล่าวว่า วัฒนธรรมร่วมดังกล่าวนี้มีมาตั้งแต่ สมัยก่อนประวัติศาสตร์เพราะปรากฏหลักฐานว่ามีการผลิตเครื่องเขินมากที่สุด การค้นพบ เครื่องเขินมีความเก่าแก่อยู่ในภูมิภาคแถบนี้เป็นจานวนมาก แต่ด้วยปัจจัยทางสภาพ ภูมิอากาศในพื้นที่แถบนี้เป็นเขตร้อนชื้นซึ่งทาให้ลวดลายของเครื่องเขินที่พบในสมัยก่อนประ-

http://sure.su.ac.th/xmlui/handle/123456789/3172?attempt=2

วัติศาสตร์ถูกทาลาย จึงขาดแคลนหลักฐานเกี่ยวกับเทคนิคการทาลวดลายเครื่องเขินในสมัยก่อนประวัติศาสตร์๑ งานช่างรัก (Lacquer work) เดิมมีแหล่งกาเนิดอยู่ในประเทศจีนซึ่งมีหลักฐานเก่าสุดเป็นงานหัตถกรรม โบราณที่มีอายุราว ๗๐๐ ปีก่อนคริสตกาล ที่มีความนิยมสูงในสมัยราชวงศ์ฮั่น๒ คนจีนรู้จักทาเครื่องรัก (Lacquer ware) อย่างแพร่หลายก่อนชาติอื่น ๆ มากกว่า ๓,๐๐๐ ปีมาแล้วได้พบหลักฐานชิ้นส่วนของเครื่องรักในหลุมฝังศพ ที่ฝังไว้เมื่อหลายพันปีมาแล้วและยังมีการทาติดต่อมาจนถึงปัจจุบัน๓ หลุมฝังศพกษัตริย์จีนโบราณ (ที่มา: Tokyo National Museum, ๒๕๔๑: ๒๔ ) ๑ นภกานต์ คาภีระ. (๒๕๕๗). “เครื่องเขิน : อัตลักษณ์ทางชาติพันธุ์ไทเขิน ชุมชนวัดนันทาราม ตาบลหายา อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่.” รายงานการศึกษาเฉพาะบุคคล ภาควิชามานุษยวิทยา คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร. เข้าถึงเมื่อ ๙ กันยายน ๒๕๖๕ เข้าถึงจาก
๒ สุรพล ดาริห์กุล. (๒๕๔๔). ลายคาล้านนา. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ. ๒๐ ๓ เรื่องเดิม. ๒๑
โลงศพจีนโบราณ (ที่มา: Tokyo National Museum, ๒๕๔๑: ๙๗ )
โลงศพจีนโบราณที่มีการเคลือบและตกแต่งด้วยยางรักและชาด (ที่มา: Tokyo National Museum, ๒๕๔๑: ๙๓, ๙๕ )
ศิลปวิทยาการทางเชิงช่างของจีนคงมีบทบาทอย่างสาคัญต่อภูมิภาคเอเชียในหลากหลายมิติ เนื่องด้วยจีน เป็นแหล่งอารยธรรมสาคัญและส่งอิทธิพลทางงานศิลปกรรมหลายแขนงทั้งงานเครื่องรัก เครื่องปั้นดินเผาเขียนสี งานโลหะ และกลุ่มงานช่างอื่น ๆ อีกมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งจีนเป็นกลุ่มชาติแรกที่รู้จักการใช้ไม้ไผ่นามาพัฒนาให้ เป็นเครื่องใช้สอย เครื่องเรือน ได้ยาวนานมากกว่าชาติอื่น ๆ ภาชนะเครื่องรักรูปแบบต่าง ๆ ที่ค้นพบในหลุมฝังศพกษัตริย์จีนโบราณ (ที่มา: Tokyo National Museum, ๒๕๔๑: ๔๘, ๑๒๘, ๑๓๗, ๑๖๖.)

แต่ด้วยระยะเวลาที่ยาวนานจนทาให้วัสดุดังกล่าวผุพังไปตามกาลเวลาจนไม่เหลือหลักฐานปรากฏให้เห็นได้

ในพื้นที่ภาคเหนือตอนบนของประเทศไทยในปัจจุบันยังปรากฏกลุ่มหลักฐานชิ้นสาคัญในการใช้ยางรักเป็น ส่วนเคลือบผิวโลงศพไม้เมื่อกว่า ๒,๐๐๐ ปี พบที่ถ้าผีแมน ตาบลถ้าลอด
จังหวัดแม่ฮ่องสอน เมื่อ ปี พ.ศ.๒๕๕๓ ได้มีการค้นพบทางโบราณคดี นาโดย ศาสตราจารย์ ดร.รัศมี ชูทรงเดช๔ ได้มีการศึกษาแหล่ง วัฒนธรรมโลงไม้ในถ้าดังกล่าว พบว่ามีโลงไม้หรืออาจเป็นส่วนของฝาโลง (?) ราว ๒๕-๓๐ ชิ้น ในสภาพปิดอยู่อย่าง สมบูรณ์ จากข้อมูลพบว่าภายในโลงไม้พบโครงกระดูกมนุษย์มากถึง ๑๔๕ คน โลงไม้บางชิ้นมีถึง ๑๘ โครงกระดูก อยู่ภายในโลงเดียวกัน ซึ่งอาจมีความสัมพันธ์กันในทางเครือญาติ การศึกษายังสามารถระบุช่วงอายุโครงกระดูกที่ ปรากฏในโลงไม้ที่ถ้าผีแมนได้ว่ามีอายุมากกว่า ๑,๖๐๐-๒,๑๐๐ ปี เป็นกลุ่มชนที่ใช้ภาษาออสโตเอเชียติก และไท กะได๕ นอกจากการค้นพบโลงไม้ที่เคลือบด้วยยางรักแล้วยังปรากฏชิ้นส่วนหลักฐานอื่น ๆ ประกอบ เช่น หม้อ ภาชนะ เครื่องประดับ อุปกรณ์ทอผ้า และเครื่องเขิน เป็นต้น อาจกล่าวได้ว่าการดารงชีวิตของมนุษย์ในวัฒนธรรมกว่า ๒,๐๐๐ ปีก่อน มีความรู้ในการนาวัตถุดิบทาง ธรรมชาติอย่าง “ยางรัก” มาปรับใช้ ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงพัฒนาการทางสังคมและความนิยมการทาเคลือบผิว ส่วนประกอบของเครื่องใช้ในชีวิตประจาวันและชีวิตหลังความตายด้วยยางรัก ซึ่งเป็นปัจจัยที่ส่งผลให้เกิด วัฒนธรรมการใช้ยางรักในยุคสมัยต่อ ๆ มาเป็นลาดับ นอกจากนี้ยังปรากฏหลักฐานชิ้นสาคัญในหลุมฝังศพสมัย วัฒนธรรมหริภุญชัยที่ช่วยยืนยันว่ามีการใช้ยางรักเคลือบบนผิววัสดุอื่น ๆ เช่น ยางรักเคลือบบนผิวภาชนะดินเผาที่ ค้นพบโดย จอห์น ชอว์๖
ในปัจจุบัน โลงศพไม้เคลือบผิวด้วยยางรัก ถ้าผีแมน อ.ปางมะผ้า จ.แม่ฮ่องสอน (ที่มา: httpsthematter.coscience-techthespirit-cave-northern- thailand45722) ๔ ศาสตราจารย์ ดร.รัศมี ชูทรงเดช อาจารย์ประจาภาควิชาโบราณคดี คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร ๕ วิกิพีเดีย. (ม.ป.ป.) ถาผีแมนโลงลงรัก. เข้าถึงเมื่อ ๒๘ กันยายน ๒๕๖๕ เข้าถึงจาก https://th.m.wikipedia.org/wiki/ ๖ กรมการศึกษานอกโรงเรียน. (ม.ป.ป.). เครื่องเขิน. ม.ป.ท. ๗
อาเภอปางมะผ้า
นอกจากนี้การเคลือบบนผิววัสดุอื่น
เช่น ไม้ หรือ ไม้ไผ่ในยุคสมัยนั้นคงมีความนิยมด้วย เช่นกัน

ลักษณะการทายางรักที่จงใจสร้างให้เกิดเป็นลวดลายช่องตารางสี่เหลี่ยมที่ทาปิดส่วนมุมของช่องสี่เหลี่ยมทุกช่อง ท้าให้เกิดพืนที่ของเนือไม้เป็นรูปแปดเหลี่ยม

(ที่มา: httpswww.matichon.co.thregionnews_570133) การใช้ยางรักคงมีมาก่อนยุคสมัยประวัติศาสตร์นานแล้วแต่การเรียก งานเครื่องรัก หรือเครื่องเขิน เป็นคาเรียกในยุคสมัยหลังที่คนส่วนใหญ่เข้าใจกัน

มักถูกเรียกชื่อตามรูปทรงและหน้าที่ใช้ สอยของสิ่ง ๆ นั้นซึ่งยังไม่มีการเรียกชื่อเฉพาะดังปรากฏในปัจจุบัน

ในภาษาอังกฤษใช้คาว่า Lacquerware ที่หมายรวมไปถึงการเคลือบผิวแบบใส และเคลือบสี เช่น Shellac และ Varnish เป็นต้น ในอดีตการเรียกกลุ่มงาน เครื่องรักหรือเครื่องเขินในดินแดนไทย
การเรียกชื่อ บางลักษณะอาจเพิ่มส่วนชื่อเทคนิคที่ใช้ประดับตกแต่งต่อท้ายชื่อสิ่งของนั้น ๆ เช่น ขันหมากคา (ตกแต่งด้วยทองคาเปลว) พานมุก (การประดับฝังมุก) เป็นต้น

งของ

เครื่องใช้โดยใช้ยางรักเคลือบผิวหรือเป็นส่วนประกอบหลักจนเป็นที่รู้จักและเรียกว่าเครื่องเขินในเวลาต่อมา (ดู รายละเอียดได้ใน

สถาปัตยกรรมที่มีการทาเคลือบผิวโครงสร้างด้วยยางรัก นอกจากนี้การประดับตกแต่งเพิ่มเติมเพื่อให้เกิดความ

แต่ทั้งนี้ช่างไทยต่างก็รู้จักการใช้ยางรักกับงานฝีมือเกือบทุกประเภทอยู่ แล้ว ทั้งที่เป็นงานหัตถกรรม งานเครื่องเรือน งานสถาปัตยกรรม ซึ่งทาให้ขอบเขตกระจายไม่มีความชัดเจน อย่างไร ก็ตามการเรียกภาชนะของใช้ก่อนที่จะมีคาเรียกว่าเครื่องเขินนั้นสันนิษฐานว่าคงเรียกตามลักษณะและหน้าที่ใช้ สอยดังที่กล่าวมาแล้ว ส่วนคาเรียกว่า “เครื่องเขิน” นั้นมีเฉพาะในเขตภาคเหนือเท่านั้น (สาวิตรี เจริญพงศ์, (๒๕๓๘). อ้างถึงใน วิถี พานิชพันธ์, (๒๕๕๘: ๑๑) หรือการเรียกภาชนะต่าง ๆ เหล่านี้ว่าเครื่องเขินจะเกี่ยวข้องกับ กลุ่มคนที่อพยพย้ายถิ่นมาจากทางตอนเหนือและตั้งรกรากในเมืองเชียงใหม่รวมถึงบริเวณใกล้เคียงที่ผลิตสิ่
ประเด็นเกี่ยวกับการเรียกชื่อ “เครื่องรัก” หรือ “เครื่องเขิน” ยังคงมีประเด็นสับสนในการจัดหมวดหมู่ของ กลุ่มงานลักษณะนี้ โดยมีผู้เสนอว่างานเครื่องเขินเป็นกลุ่มงานที่ใช้ยางรักสาหรับประกอบโครงและตกแต่งผิวจึง น่าจะจัดอยู่ในกลุ่มของงานเครื่องรักด้วย
บทที่ ๒) วัฒนธรรมการใช้ยางรักก็มีมากยิ่งขึ้นในยุคสมัยต่อมาโดยเฉพาะการทาเคลือบส่วนผิวรูปทรงภาชนะรูปแบบ ต่าง ๆ เพื่อใช้สอยในชีวิตประจาวัน รวมถึงปรากฏเป็นข้าวของเครื่องใช้ในพิธีกรรมความเชื่อความศรัทธาทางพุทธ ศาสนาและความเชื่อแบบดั้งเดิมของชาวล้านนา เครื่องใช้เหล่านี้ถูกประกอบกันขึ้นด้วยวัตถุดิบและวัสดุจาก ธรรมชาติ เช่นโครงไม้ไผ่สานขึ้นรูป การกลึงท่อนไม้ให้เป็นรูปทรงต่าง
ๆ ตามแต่จะกาหนดให้ใช้สอยในเรื่องใด
ขันซี่
สวยงามในเทคนิควิธีการต่าง ๆ ก็ยังใช้ยางรักเป็นส่วนผสมหลักอีกด้วย (ซึ่งจะกล่าวไว้ใน บทที่ ๔) ภาชนะเครื่องใช้ต่าง ๆ ในวัฒนธรรมล้านนานิยมทาเคลือบด้วยยางรัก และสีจากชาด (หาง)
ๆ หรือการประกอบขึ้นรูปในแบบต่าง
เช่นขันดอก
ขันโตก
ขันโอ หีบไม้ หีบผ้าไหม รวมไปถึงสิ่งปลูกสร้างทาง
จิตรกรรมภายในวิหารลายค้า วัดพระสิงห์ จังหวัดเชียงใหม่ ศิลปะล้านนาผสมผสานศิลปะรัตนโกสินทร์ ราวต้นพุทธศตวรรษที่ ๒๕ แสดงถึงวัฒนธรรมการใช้ภาชนะเครื่องรักรูปแบบต่าง ๆ อาทิ เชี่ยนหมาก (ขันหมาก) พาน (ขันดอก) ขันโอ และขันน้า เป็นต้น

จะเห็นได้ว่ายางรักมีบทบาทอย่างสาคัญในวิถีชีวิตและวัฒนธรรมของคนล้านนาในอดีตรวมถึงแหล่ง

ก็ยังคงสานต่อวิธีการเหล่านี้และมีผู้สนใจเรียนรู้สร้างสรรค์งานเครื่องรักด้วยวิธีการแบบดั้งเดิมและวิธีการสมัยใหม่

อย่างหลากหลายมากขึ้นถึงแม้จะลดความนิยมลงไปไม่มากก็น้อยในยุคปัจจุบัน อย่างไรก็ตามยังมีกลุ่มคนจานวน

หนึ่งที่หลงใหลเสน่ห์ความงามของงานเครื่องรักและยังคงเก็บสะสมไว้ศึกษา หรือใช้เป็นสินค้าแลกเปลี่ยนเฉพาะ กลุ่ม นอกจากนี้งานเครื่องรักหรือเครื่องเขินยังมีการศึกษาค้นคว้าวิจัยในสถาบันการศึกษาแหล่งต่าง ๆ หรือองค์กร

ทางภาครัฐและเอกชนที่คอยสนับสนุนเพื่อเป็นการอนุรักษ์

และสามารถใช้เป็นสินค้าทางวัฒนธรรมเพื่อใช้แข่งขันในระดับสากลหรือที่เรียกว่า Soft Power

วัฒนธรรมในภูมิภาคใกล้เคียง เกิดเป็นภูมิปัญญางานช่างแขนงหนึ่งที่มีการสืบทอด เรียนรู้ และพัฒนาต่อยอดมา โดยลาดับ ตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ เข้าสู่ยุคทางประวัติศาสตร์ จนกระทั่งถึงในยุคปัจจุบันกลุ่มงานช่างเครื่องรัก
สืบสาน และต่อยอดงานหัตถศิลป์ของท้องถิ่นให้พัฒนา
๗ ๗ “อานาจอ่อน”
อานาจแห่งความสร้างสรรค์เพื่อสรรค์สร้างเศรษฐกิจไทย

Tokyo National Museum. (๒๕๔๑). A Mysterious World of Ancient Designs Lacquer ware from the Tombs of Hubei, China.

http://sure.su.ac.th/xmlui/handle/123456789/3172?attempt=2

https://th.m.wikipedia.org/wiki/

รายการอ้างอิง บทที่ ๑ I หนังสือภาษาไทย กรมการศึกษานอกโรงเรียน. (ม.ป.ป.). เครื่องเขิน. ม.ป.ท. สุรพล ดาริห์กุล. (๒๕๔๔). ลายคาล้านนา. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ. I หนังสือภาษาต่างประเทศ
I ข้อมูลออนไลน์ นภกานต์ คาภีระ. (๒๕๕๗). “เครื่องเขิน : อัตลักษณ์ทางชาติพันธุ์ไทเขิน ชุมชนวัดนันทาราม ตาบลหายา อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่.” รายงานการศึกษาเฉพาะบุคคล ภาควิชามานุษยวิทยา คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร. เข้าถึงเมื่อ ๙ กันยายน ๒๕๖๕ เข้าถึงจาก
วิกิพีเดีย. (ม.ป.ป.) ถาผีแมนโลงลงรัก. เข้าถึงเมื่อ ๒๘ กันยายน ๒๕๖๕ เข้าถึงจาก

และตกแต่งลวดลายด้วยการเขียนสีแดงจากชาด

บทที่
หรือ
” เป็นชื่อเรียกภาชนะเครื่องใช้ที่ทา
ๆ เคลือบผิวด้วยยางรัก
๒ ความเป็นมาของงานเครื่องรักเมืองเชียงใหม่ “เครื่องรัก”
“เครื่องเขิน
จากโครงสร้างไม้จริงหรือโครงสร้างไม้ไผ่สานที่ขึ้นรูปทรงในลักษณะต่าง
ๆ เช่น การขูดขีดลาย (ฮายดอก, ฮายลาย) ปิดด้วยทองคาเปลว ติดกระจกสี กดพิมพ์ลาย เป็นต้น วิถี พานิชพันธ์ นักวิชาการและนักสะสมกลุ่มแรก ๆ ที่ทาการศึกษางานเครื่องเขินในเอเชีย อาคเนย์ และโดยเฉพาะกลุ่มงานหัตถกรรมเครื่องเขินเชียงใหม่ ได้กล่าวถึงประวัติความเป็นมา ของเครื่องเขินไว้ว่า “เครื่องเขิน” หมายถึงภาชนะเครื่องมือของใช้ที่ผลิตขึ้นโดยชาวเชียงใหม่ ที่มี เชื้อสายสืบมาจากชาวไทยเขินแต่โบราณ คานี้น่าจะบัญญัติขึ้นโดยคนไทยภาคกลางและ ข้าราชการจากส่วนกลางที่ขึ้นมาอยู่ในภาคเหนือเมื่อประมาณ ๑๐๐ ปีที่แล้วเพราะว่าคานี้มิได้ ปรากฏอยู่ในภาษาพื้นถิ่นในเชียงใหม่ และชาวเชียงใหม่แต่เดิมก็มิได้มีศัพท์เรียกที่จากัดความ เฉพาะเช่นนี้ ที่ใกล้เคียงที่สุดจะเรียกเป็นว่า “คัวฮักคัวหาง”๑ คาว่า “คัว” หรือ “ครัว” หมายถึง เครื่องใช้ คาว่าฮัก คือ ยางรัก ส่วนคาว่าหาง คือ ชาด (cinnabar) ซึ่งเป็นแร่ธาตุทางธรรมชาติที่ สาคัญที่ให้สีแดงสด ส่วนใหญ่นิยมนาเข้ามาจากจีน ๑ กรมการศึกษานอกโรงเรียน. (ม.ป.ป.). เครื่องเขิน. ม.ป.ท. ๑
หรือเสริมความงดงามด้วยเทคนิคพิเศษต่าง

นอกจากนี้คาเรียกชื่องานเครื่องรักเมืองเชียงใหม่โดยกลุ่มคนต่างพื้นที่อย่างเช่นชาวพม่าจะเรียกงาน

พ.ศ. ๒๑๐๐๕ ช่างเครื่องรักของเชียงใหม่คงมีส่วนเกี่ยวข้องในการพัฒนางานช่างเครื่องรักของ

กรมการศึกษานอกโรงเรียน. (ม.ป.ป.). เครื่องเขิน.

ผลึกผงชาดที่ล้านนาเรียกว่า “หาง” (cinnabar) ประเด็นเกี่ยวกับคาเรียกชื่อเครื่องเขินนั้นคงมีที่มาจากกลุ่มช่างฝีมือต่างถิ่น ที่ในสมัยพระยากาวิละกษัตริย์ แห่งเมืองเชียงใหม่ได้กวาดต้อนกลุ่มคนต่าง ๆ จากดินแดนตอนเหนือ และบริเวณสองฟากฝั่งแม่น้าสาละวิน๒ ซึ่ง เป็นกลุ่มคนที่ใช้ภาษาตระกูลไต-ไทเข้ามาในเมืองเชียงใหม่ เพื่อมาฟื้นฟูบ้านเมืองหลังจากที่ทาสงครามรบกับพม่า แล้วเสร็จ รู้จักกันในยุค “เก็บผักใส่ซ้า เก็บข้าใส่เมือง” การกวาดต้อนกลุ่มคนชาติพันธุ์ต่าง ๆ เข้ามาในเมือง เชียงใหม่โดยเฉพาะกลุ่มคนที่เรียกตนว่า ไทขึน หรือ ไทเขิน นั้นคงเป็นที่มาของชื่อเครื่องเขิน เนื่องด้วยช่างกลุ่มนี้มี ความสามารถในการผลิตเครื่องใช้ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับยางรักและทาสืบทอดต่อกันมาจนถึงปัจจุบัน คาว่าเครื่อง เขินอาจถูกจากัดชื่อเรียกที่ให้ความหมายเฉพาะงานกลุ่มชาวไทเขินเท่านั้น ดังนั้นเพื่อให้การสื่อความหมายใน ภาพรวมของกลุ่มงานหัตถกรรมดังกล่าวนี้ให้ชัดเจนมากยิ่งขึ้น
แทน คาว่า เครื่องเขิน
ต่อไปนี้ในหนังสือเล่มนี้จะขอเรียกว่า เครื่องรัก
ลักษณะนี้ว่า “โยนเถ่”๓ หรือ “ยุนเถ่” (yun hte)๔ ซึ่งแปลว่า เครื่องของคนโยนหรือคนยวน อันหมายถึงชาว เชียงใหม่ โยนเถ่ยังเป็นชื่อเรียกเทคนิคการตกแต่งที่ใช้เหล็กแหลมขูดขีดให้เกิดเป็นลวดลายต่าง ๆ ที่ช่างชาวพม่า นิยมสร้างสรรค์มากที่สุดด้วย ไกรสีห์ นิมมานเหมินทร์ ยังให้ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับเทคนิคพิเศษนี้อีกว่า เป็นเทคนิค ที่เกิดหลังจากได้ช่างฝีมือเชียงใหม่ ไปเป็นเชลยและเป็นช่างหัตถกรรมในหงสาวดี เครื่องเขินพม่ามีลวดลายประดับ แบบหนึ่งที่ชื่อว่า “ซินเม่” ซึ่งคานี้หมายถึงเชียงใหม่ น่าจะเป็นลวดลายดั้งเดิมจากเชียงใหม่ตั้งแต่ปลายสมัย ราชวงศ์มังรายราวปี
พม่า
นภกานต์ คาภีระ ๒ สุรพล ดาริห์กุล. (๒๕๖๑). ประวัติศาสตร์และศิลปะล้านนา. นนทบุรี
ม.ป.ท. ๗ ๔ วิถี พานิชพันธ์. (๒๕๔๕). เครื่องเขินในเอเชียอาคเนย์ ม.ป.ท.: เอกสารอัดสาเนา ๓๖ ๕ กรมการศึกษานอกโรงเรียน. (ม.ป.ป.). เครื่องเขิน. ม.ป.ท. ๗
และคงมีการถ่ายทอดภูมิปัญญาให้แก่กันจนเกิดเป็นงานเครื่องรักพม่ามาจนถึงปัจจุบัน
: เมืองโบราณ. ๖๐

ที่แตกต่างกันจึงมีการตั้งข้อสังเกตต่อไปอีกว่า

และข้อคิดเห็นนี้ได้รับการสนับสนุนจากคาในภาษาเวียดนามที่ชาวพม่าใช้กัน

(๒๕๕๗)
๖ ได้เสนอข้อมูลสาคัญ กล่าวโดยสรุปคือ งานเครื่องรักพม่าได้รับเทคนิควิธีการผ่านจากเมืองพุกามและคง ได้รับความรู้มาจากจีนอีกทอดหนึ่ง แต่มีข้อคิดเห็นแตกต่างคือ ในแคว้นยูนนานซึ่งอยู่ใกล้กับพม่าแต่ปรากฏรูปแบบ
งานเครื่องรักที่แพร่กระจายในเอเชียตะวันออกเฉียง
ได้รับอิทธิพลมาจากเวียดนาม
คือ “ยวน” (Yun) เป็นคาใช้เรียกเครื่องเขิน แต่ก็มีนักวิชาการท่านอื่นกล่าวว่า “ยวน” เป็นคาเรียกกลุ่มคนที่อาศัยใน รัฐฉานของพม่ามาจนถึงเชียงใหม่ด้วย กลุ่มช่างฝีมือชาวพม่า (ครอบครัวช่างเมืองพุกาม) ที่กาลังผลิตงานเครื่องรักในรูปแบบต่าง ๆ (ที่มา: Than Htun. (๒๐๑๓). Lacquerware Journeys The Untold Story of Burmese Lacquer. Bangkok: River Books. ๒๐ ) ๖ นภกานต์ คาภีระ (๒๕๕๗) “เครื่องเขิน : อัตลักษณ์ทางชาติพันธุ์ไทเขิน ชุมชนวัดนันทาราม ตาบลหายา อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่.” รายงานการศึกษาเฉพาะบุคคล ภาควิชามานุษยวิทยา คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร. เข้าถึงเมื่อ ๙ กันยายน ๒๕๖๕ เข้าถึงจาก http://sure.su.ac.th/xmlui/handle/123456789/3172?attempt=2
ใต้เหล่านี้อาจ
งานเครื่องรักสมัยใหม่ของพม่าเทคนิคโยนเถ่ หรือลายโยนเถ่ ขูดลายเส้นให้เกิดร่องบนพื้นรักสีดาแล้วอัดสีต่าง ๆ ยิ่งมีสีมากยิ่งใช้ เวลานาน เนื่องด้วยต้องรอจนกว่าสีแต่ละชั้นแห้งสนิท เป็นเทคนิคที่เชื่อกันว่ามาจากช่างชาวเชียงใหม่ ขันหมากเครื่องรักเมืองเชียงใหม่ เทคนิคขูดลายถมสีชาด (ขูดลายฮายดอก)
ภาชนะทรงกระบอกลักษณะนี้นิยมใช้โดยทั่วไปในเมืองเชียงใหม่และพื้นที่ใกล้เคียง อาจแพร่หลายลงไปสู่แหล่งพื้นที่อื่น ๆ ร่วมด้วย (สมบัติสะสมของ: วิทยา พลวิฑูรย์)
เป็นเทคนิคเดียวกันกับโยนเถ่

หรือกรุงเทพฯ๘ เป็นรสนิยมใหม่ที่เกิดขึ้นอย่างแพร่หลายทาให้งานแบบดั้งเดิมถูกลดบทบาทลง

แต่อย่างไรก็ตามงานในแบบดั้งเดิมที่ใช้สอยกันทั่วไปในชีวิตประจาวันของกลุ่มชาวพื้นเมืองก็ยังคงมีการ ผลิตอยู่จนกว่าจะมีการปรับเปลี่ยนไปตามความนิยมที่เรียกว่าร่วมสมัยมากยิ่งขึ้น

งานเครื่องรักเมืองเชียงใหม่ในอดีตคงมีความสาคัญอย่างมาก เนื่องด้วยเป็นสินค้าที่กระจายตัวไปทั่วพื้นที่ แหล่งอื่น ๆ ดังปรากฏหลักฐานตลับเครื่องรักทรงกลม (แอ๊ปหมาก) ตกแต่งสีดาแดงตามแบบแผนของงานเครื่องรัก เมืองเชียงใหม่ที่ถูกใช้เป็นของขวัญจากอยุธยาที่มอบให้กับกษัตริย์โชกุนของญี่ปุ่น ๗ งานเครื่องรักคงเป็นสินค้าที่
แต่เดิมการสร้างงานเครื่องรักในเมืองเชียงใหม่และพื้นที่อื่น ๆ ใกล้เคียงคงมีการผลิตเพื่อใช้ใน ชีวิตประจาวันรวมถึงใช้เป็นเครื่องประกอบในพิธีกรรมต่าง ๆ ทั้งความเชื่อแบบดั้งเดิมและความเชื่อทางพุทธ ศาสนาอยู่แล้ว อาจเรียกว่างานเครื่องรักแบบพื้นเมือง จนมาถึงช่วงกลางพุทธศตวรรษที่ ๒๔ เกิดการถ่ายเทผู้คน ต่างถิ่นที่เข้ามาจากการกวาดต้อนเพื่อมาฟื้นฟูบ้านเมือง กลุ่มคนเหล่านี้มีทักษะทางเชิงช่างหัตถกรรม อาทิ ช่างเงิน ช่างรัก ช่างปั้น ช่างทอผ้า ช่างจักสาน และช่างแกะสลัก เป็นต้น กลุ่มงานช่างเครื่องรักที่ถูกกวาดต้อนเข้ามาทาให้ เกิดการสร้างสรรค์งานหัตถกรรมเครื่องรักที่มีเอกลักษณ์โดดเด่นของศิลปะล้านนายุคหลัง และเกิดแหล่งชุมชนงาน ช่างที่สาคัญกระจายตัวอยู่รอบเมืองเชียงใหม่ เช่น ชุมชนนันทาราม ชุมชนวัวลาย และนอกจากนี้กลุ่มชุมชนที่ผลิต งานเครื่องรักยังกระจายตามพื้นที่รอบนอกของตัวเมืองเชียงใหม่ เช่น บ้านศรีปันครัว บ้านระแกงที่อยู่ทางตอนใต้ ของเมืองเชียงใหม่ บ้านต้นแหน อาเภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่ เป็นต้น งานเครื่องรักเมืองเชียงใหม่ได้ถูกฟื้นฟูมาจนถึงช่วงเกิดการเปลี่ยนแปลงครั้งสาคัญประมาณราว ๒๐๐ ปีที่ ผ่านมา
มาแทนที่
Tokugawa นครนาโกย่า ประเทศญี่ปุ่น แสดงข้อมูลอธิบายว่าเป็นของขวัญจากอยุธยา ได้มา ประมาณปี พ.ศ. ๒๒๐๐ ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ใน กรมการศึกษานอกโรงเรียน. (ม.ป.ป.). เครื่องเขิน. ม.ป.ท. ๗ ๘ ดูรายละเอียดได้ใน บทที่ ๕
ได้รับความนิยมและสามารถใช้เป็นเครื่องบรรณาการระหว่างเมืองได้เช่นกัน
จากงานเครื่องรักที่ถูกใช้ในวัฒนธรรมและสังคมล้านนามาสู่การปรับตัวให้กลายเป็นสินค้าสาหรับส่วนกลาง
และรูปแบบใหม่เข้า
ชิ้นงานถูกจัดแสดงในพิพิธภัณฑ์

ภาพถ่ายอดีตแสดงถึงการให้ความสาคัญของงานเครื่องรักที่เจ้าของมักจะนิยมนามาวางประกอบร่วมในฉากเพื่อบันทึกภาพ ทั้งนี้ อาจเกี่ยวข้องกับอิทธิพลตะวันตกที่นิยมถ่ายภาพร่วมกับเครื่องใช้ต่าง ๆ ที่แสดงถึงสถานภาพทางสังคม (ที่มา: นเรศ บุญเที่ยง) นอกจากนี้ในระยะต่อมากลุ่มช่างดั้งเดิม (ชาวไทเขิน) ที่สร้างสรรค์งานเครื่องรักได้มีการสืบทอดให้แก่รุ่น

ลูกหลานและสร้างสรรค์ผลงานเครื่องรักอย่างต่อเนื่อง จนกลายเป็นแหล่งผลิตขึ้นชื่อที่ส่วนใหญ่รับรู้ว่ามีการผลิต ชิ้นงานประเภทนี้อยู่ ในหนังสือภาพถ่ายฟิล์มกระจกเมืองเชียงใหม่ โดย หลวงอนุสานสุนทรกิจ (สุนฮี้ ชัวย่งเสง) ปรากฏภาพถ่ายสาคัญ ๒ ภาพที่แสดงให้เห็นถึงการผลิตงานเครื่องรักของเมืองเชียงใหม่ โดยสันนิษฐานว่าคงเป็น กลุ่มช่างจากบ้านนันทาราม (บ้านเขิน) ไม่ปรากฏปีที่ถ่ายระบุเพียงคาอธิบายใต้ภาพว่า (ภาพบนและล่าง) เด็กหญิง และช่างฝีมือกาลังทาเครื่องเขิน๙ ภาพถ่ายดังกล่าวถือเป็นหลักฐานที่สาคัญอันแสดงให้เห็นถึงการผลิตที่มีกลุ่มช่าง หลากหลายรุ่นที่ทาสืบต่อกัน เป็นการถ่ายทอดกระบวนการในการทางานและคงเกิดการเรียนรู้จดจาในกลุ่มช่าง เดียวกัน นอกจากนี้ยังปรากฏข้อมูลช่างท้องถิ่นที่สาคัญถือได้ว่าเป็นระดับครูช่างซึ่งจะกล่าวไว้ใน บทที่ ๖๑๐ ๙ สมโชติ อ๋องสกุล, พรรณิศา นิมานเหมินท์ และนรรัตน์ พุ่มไพศาลชัย, กองบรรณาธิการ (๒๕๖๒). ภาพถ่ายฟิล์มกระจกเมือง เชียงใหม่ โดย หลวงอนุสานสุนทรกิจ ม.ป.ท.: บริษัทสุเทพจากัด ๖๒ ๑๐ ดูข้อมูลได้ใน บทที่ ๖
ภาพถ่ายอดีตแสดงกระบวนการผลิตงานเครื่องรักเมืองเชียงใหม่ ภาพถ่ายฟิล์มกระจกเมืองเชียงใหม่ โดย หลวงอนุสานสุนทรกิจ (สุนฮี้ ชัวย่งเสง) พ.ศ. ๒๔๑๐ – ๒๔๗๗ (ที่มา: สมโชติ อ๋องสกุล และคณะ, กองบรรณาธิการ. ๒๕๖๒: ๖๒)

ทรงกระบอกแล้วเคลือบผิวด้วยยางรัก เสนห์ของงานเครื่องรักกลุ่มดังกล่าวยังนิยมเคลือบผิวยางรักแบบไม่หนามาก

ตะโด๊ะ (แอ็บหมาก) ต๋าง (ภาชนะใช้ตวงข้าว) โตก (ใช้ใสข้าวและอาหารเพื่อ รับประทาน) แปม (คล้ายกระเป๋าเป้สะพายหลัง) ปิ่นโต

นอกจากนี้งานเครื่องรักเมืองเชียงใหม่ยังปรากฏความนิยมในกลุ่มคนบนแหล่งพื้นที่สูง โดยเฉพาะกลุ่มชาว กะเหรี่ยง ซึ่งจะมีรูปแบบและเทคนิคการตกแต่งที่แตกต่างจากเครื่องรักของกลุ่มคนบนพื้นที่ราบ กล่าวคือ การขึ้น รูปโครงสร้างของภาชนะส่วนใหญ่ขึ้นด้วยการสานลายขัดโดยใช้ไม้ไผ่เป็นวัตถุดิบหลัก บางแบบก็ใช้ปล้องไผ่ตัดเป็น
ผิวไม่ค่อยเรียบเนียนเท่าที่ควรซึ่งแตกต่างจากความนิยมโดยทั่วไป แต่กลับทิ้งให้เห็นพื้นผิวของการสานโครงสร้าง นอกจากนี้การใช้ผิวไม้ไผ่ทาเป็นเส้นขนาดต่าง ๆ บางแบบหยักผิวเป็นลวดลายคล้ายรูปฟันปลาเพื่อคาดตกแต่งส่วน ขอบของภาชนะ และไม่นิยมเคลือบยางรักทับจะเว้นให้เห็นเป็นผิวไม้ การคาดด้วยผิวไม้ไผ่นอกจากใช้เป็นส่วน ประดับตกแต่งแล้วยังใช้เป็นส่วนเสริมรัดให้โครงสร้างมีความแข็งแรงมากยิ่งขึ้นอีกด้วย นอกจากนี้ภาชนะส่วนใหญ่ จะทาเคลือบเฉพาะยางรักสีดาส่วนการเคลือบด้วยชาดปรากฏค่อนข้างน้อย ภาชนะสีดามีลายเส้นของผิวไผ่จึงเป็น เอกลักษณ์เฉพาะของกลุ่มเครื่องรักบนพื้นที่สูงของเชียงใหม่ งานเครื่องรักของชาวกะเหรี่ยงมีรูปแบบและลักษณะที่หลากหลาย ส่วนใหญ่สร้างเป็นภาชนะใช้สอยในวิถี ชีวิตประจาวัน โดยเฉพาะด้านเกษตรกรรมและการเดินทางขนถ่ายสินค้าสมุนไพรและของป่าลงสู่พื้นที่ราบ ดังนั้น ภาชนะที่เคลือบด้วยยางรักจึงตอบโจทย์กับการใช้สอยอย่างมาก เนื่องด้วยมีคุณสมบัติน้าหนักเบา กันน้า กัน ความชื้นได้ค่อนข้างดี หรือบางแบบสามารถใช้บรรจุน้าได้ รูปแบบภาชนะเครื่องรักจากแหล่งพื้นที่สูงของเชียงใหม่ โดยกลุ่มชาวกะเหรี่ยง
(ภาชนะทรงสี่เหลี่ยมวางซ้อนกันหลายชั้น) และขวดเหล้า (ภาชนะทรงกลมทายางรักเคลือบเพื่อใช้บรรจุเหล้าหรือน้าดื่ม) ตะโด๊ะ หรือแอ็บหมาก ภายในมีอานซ้อนประมาณ ๒ - ๓ ชั้น ฝาครอบทรงกระบอกที่ตกแต่ด้วยผิวไม้ไผ่
เช่น
การใช้ผิวไม้ไผ่คาดรัดส่วนขอบภาชนะ การทายางรักเคลือบแบบบางชั้นเดียว พอที่จะรักษาเนื้อไม้เอาไว้ แต่แสดงพื้นผิวของโครงสร้างงานจักสาน ถาดไม้ไผ่สานเคลือบยางรักแบบบาง

Than Htun. (๒๐๑๓). Lacquerware Journeys The Untold Story of Burmese Lacquer. Bangkok: River Books.

http://sure.su.ac.th/xmlui/handle/123456789/3172?attempt=2

รายการอ้างอิง บทที่ ๒ I หนังสือภาษาไทย กรมการศึกษานอกโรงเรียน (ม.ป.ป.). เครื่องเขิน. ม.ป.ท. วิถี พานิชพันธ์. (๒๕๔๕). เครื่องเขินในเอเชียอาคเนย์. ม.ป.ท.: เอกสารอัดสาเนา. สุรพล ดาริห์กุล. (๒๕๖๑). ประวัติศาสตร์และศิลปะล้านนา. นนทบุรี: เมืองโบราณ. สมโชติ อ๋องสกุล, พรรณิศา นิมานเหมินท์ และนรรัตน์ พุ่มไพศาลชัย, กองบรรณาธิการ. (๒๕๖๒). ภาพถ่ายฟิล์ม กระจกเมืองเชียงใหม่ โดย หลวงอนุสานสุนทรกิจ. ม.ป.ท.: บริษัทสุเทพจากัด. I หนังสือภาษาต่างประเทศ
I ข้อมูลออนไลน์ นภกานต์ คาภีระ. (๒๕๕๗). เครื่องเขิน : อัตลักษณ์ทางชาติพันธุ์ไทเขิน ชุมชนวัดนันทาราม ตาบลหายา อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่”. รายงานการศึกษาเฉพาะบุคคล ภาควิชามานุษยวิทยา คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร เข้าถึงเมื่อ ๙ กันยายน ๒๕๖๕ เข้าถึงจาก

บ้านเมืองจึงมีการกาหนดให้ตั้งแหล่งที่อยู่อาศัยภายในเขตกาแพงเมืองชั้นนอกทางด้านทิศใต้ของ เมืองเชียงใหม่ และในปัจจุบันก็ยังคงมีการสืบทอดงานช่างเครื่องรักอยู่ถึงแม้ว่าความนิยมจะลด น้อยลงไปก็ตาม หรือบางชุมชนก็ลดบทบาทลงจนเลิกผลิตไปนานแล้ว

บทที่ ๓ ชุมชนแหล่งผลิตงานเครื่องรักเมืองเชียงใหม่ หลังจากที่มีการกวาดต้อนผู้คนจากถิ่นฐานอื่นเข้ามาเพื่อฟื้นฟูบ้านเมือง โดยเฉพาะกลุ่ม คนที่มีความรู้ความสามารถทางด้านงานช่างหัตถกรรม จึงมีการตั้งเป็นแหล่งชุมชนที่อยู่อาศัย กระจายตัวโดยรอบพื้นที่ของเมืองเชียงใหม่ รวมถึงแหล่งชุมชนที่อยู่ห่างไกลออกไปจากตัวเมือง ด้วย ซึ่งแต่ละชุมชนเหล่านั้นต่างก็มีช่างฝีมือแขนงต่าง ๆ โดยเฉพาะงานช่างเครื่องรักที่มีบทบาท อย่างสาคัญ เนื่องด้วยงานช่างดังกล่าวนี้ถูกรับใช้อย่างใกล้ชิดในสังคมชนชั้นปกครองของ
จะขอยกตัวอย่างแหล่ง ชุมชนงานช่างเครื่องรักของเมืองเชียงใหม่ที่สาคัญดังต่อไปนี้

ในสมัยพระเจ้ากาวิละผู้ครองตาแหน่งเจ้าเมืองเชียงใหม่ใน

ขณะนั้น กลุ่มชาวไทเขินกลุ่มนี้มีความรู้ความสามารถทางเชิงช่างหลากหลายโดยเฉพาะอย่างยิ่งงานที่เกี่ยวข้องกับ

งดงามคมชัด ถือเป็นเสนห์และเอกลักษณ์ของงานเครื่องรักเมืองเชียงใหม่ในที่สุด

ที่สาคัญชุมชนนันทารามยังเป็นแหล่งรวบรวมกลุ่มช่างเครื่องรักที่ได้ ศึกษาเรียนรู้ฝึกทักษะจนมีความชานาญและได้ขยายสายงานดังกล่าวไปสู่แหล่งชุมชนอื่น

งานช่างที่ผลิตสร้างกันอย่างเป็นระบบหรือเรียกได้ว่าเป็นแบบกึ่งอุตสาหกรรมระหว่างเครือข่ายชุมชนต่าง ๆ ทาให้ เกิดการหมุนเวียนในระบบเศรษฐกิจ อนึ่งในปัจจุบันนี้ก็ยังใช้ระบบเครือข่ายงานช่างเครื่องรักในแบบอดีตอยู่ และ นอกจากนี้ชุมชนนันทารามยังเป็นแหล่งงานหัตถกรรมที่สาคัญของเมืองเชียงใหม่

ชุมชนนันทาราม ชุมชนนันทารามหรือบ้านเขินนันทารามตั้งอยู่ตาบลหายยา อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ เป็นชุมชนที่ ตั้งอยู่ภายนอกกาแพงเมืองเชียงใหม่ชั้นในทางด้านทิศใต้ ซึ่งเป็นกลุ่มชนชาวไทเขิน (Tai Khun) ที่อพยพมาจาก เมืองเชียงตุง รัฐฉานสาธารณรัฐแห่งสภาพเมียนมาร์
เครื่องรัก ที่ในเวลาต่อมามีการเรียกงานช่างกลุ่มนี้ว่า "เครื่องเขิน"๑ ในยุคสมัยที่มีการฟื้นฟูบ้านเมืองขึ้นใหม่นั้นย่อม มีความจาเป็นที่ต้องอาศัยกลุ่มช่างฝีมือหลากหลายแขนง เจ้าเมืองเชียงใหม่จึงโปรดฯ ให้มีการตั้งแหล่งชุมชนที่ อพยพกลุ่มใหม่นี้ใกล้กับตัวเมืองเชียงใหม่ทางด้านทิศใต้ และมีวัดนันทารามเป็นศูนย์กลางของแหล่งชุมชนดังกล่าว การผลิตงานเครื่องรักของกลุ่มช่างชาวไทเขินในยุคนั้นทั่วไปคงสร้างเพื่อใช้ในครัวเรือน และเป้าหมาย สาคัญอีกประการคือสร้างเพื่อถวายให้กับกษัตริย์หรือเจ้านายชนชั้นสูง งานสาหรับชนชั้นสูงต้องมีคุณภาพและมี ความละเอียดปราณีตสวยงามจึงได้ชื่อว่า “เครื่องเขินเจ้าฟ้า”๒ กลุ่มงานเครื่องรักนันทารามมีความโดดเด่นในเรื่องเทคนิคที่เรียกว่า “ฮายดอก” คือการใช้เหล็กแหลมคม ขูดขีดลงไปบนพื้นผิวยางรักที่แห้งสนิทแล้ว เกิดเส้นขนาดเล็กสร้างให้มีรูปร่างและลวดลายลักษณะต่าง ๆ หลังจาก นั้นถมด้วยสีที่ได้จากยางรักผสมหางแดง (ชาด) แล้วขัดผิวให้เรียบเนียน เส้นที่เกิดร่องทาให้สีแดงจากหางเข้าไปอุด ตามเส้นที่ขูดขีดเอาไว้
เกิดเป็นงานตกแต่งลายสีแดงบนพื้นสีดา สีแดงมีความสว่างกว่าสีดาทาให้เกิดเป็นลวดลายที่
งานในลักษณะที่เรียกได้ว่าร่วม
ๆ เรียกได้ว่าเป็นเครือข่าย
จัดเป็นสถานที่ท่องเที่ยวทาง วัฒนธรรมให้กับคนต่างถิ่นได้สัมผัสถึงเสนห์ในศิลปะของล้านนาได้ดีอีกด้วย ๑ กล่าวไว้แล้วในบทที่ ๒ ๒ นภกานต์ คาภีระ. (๒๕๕๗). “เครื่องเขิน : อัตลักษณ์ทางชาติพันธุ์ไทเขิน ชุมชนวัดนันทาราม ตาบลหายา อาเภอเมือง จังหวัด เชียงใหม่.” รายงานการศึกษาเฉพาะบุคคล ภาควิชามานุษยวิทยา คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร. เข้าถึงเมื่อ ๙ กันยายน ๒๕๖๕ เข้าถึงจาก http://sure.su.ac.th/xmlui/handle/123456789/3172?attempt=2
สมัยในยุคนั้นก็เกิดขึ้น ณ ชุมชนแห่งนี้ด้วย
วัดนันทาราม อ.เมือง จ.เชียงใหม่ ศูนย์กลางแหล่งชุมชนชาวไทเขิน ชุมชนวัวลาย ชุมชนวัวลาย๓ ตั้งอยู่ตาบลหายยา อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ เป็นชุมชนที่ตั้งอยู่ใกล้กับชุมชนนันทาราม ในสมัยอดีตชุมชนนี้ก็เป็นอีกหนึ่งแหล่งสาคัญในการผลิตงานเครื่องรักของเมืองเชียงใหม่ โดยเฉพาะการขึ้น โครงสร้างภาชนะด้วยตอกไม้ไผ่สานเป็นลายขัด โดยให้ความสาคัญกับตอกไม้ไผ่ที่เหลาให้มีขนาดเส้นที่เล็กและบาง คล้ายทางมะพร้าว ตัวโครงหลักจะใช้ไม้ไผ่ที่เหลาให้บางและแบนวางในลักษณะเป็นแฉกคล้ายรัศมี จากนั้นก็ใช้ตอก เส้นเล็กนามาสานขัดกันให้เกิดเป็นรูปทรงตามที่ต้องการ ดังนั้นเสนห์ของงานเครื่องรักของชุมชนวัวลายจึงมี
เบา บาง และมีความยืดหยุ่นสูง ส่วนการตกแต่งลวดลายนั้นก็ใช้เทคนิคเดียวกัน กับงานเครื่องรักของชุมชนนันทาราม วัดศรีสุพรรณ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ ศูนย์กลางศาสนาของแหล่งชุมชนบ้านวัวลาย ๓ ดูข้อสันนิษฐานในเชิงอรรถที่ ๑ ของบทที่ ๕
โครงสร้างภาชนะที่แข็งแรงและเรียบเสมอกัน หากมีการเคลือบผิวโครงสร้างตามขั้นตอนต่าง ๆ ด้วยยางรักแล้วจะ ทาให้ภาชนะเครื่องรักดูเรียบเนียน

เงา ในการเคลือบผิวแต่ละชั้นนั้นหลังจากที่รักแห้งสนิทแล้วจะต้องมีการขัดผิวให้เรียบและเก็บรายละเอียดให้ได้

ชุมชนระแกง ชุมชนระแกง ตั้งอยู่ตาบลหายยา อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ ในอดีตเป็นแหล่งชุมชนที่มีบทบาทสาคัญ ทางด้านงานช่างเครื่องรักอย่างมาก เนื่องจากมีกลุ่มช่างฝีมือดีในการขูดลาย (ฮายดอก) บนผิวภาชนะต่าง ๆ ที่ เคลือบผิวด้วยยางรักที่แห้งสนิทแล้ว ส่วนมากกลุ่มช่างฝีมือบ้านระแกงจะนิยมทาเฉพาะเทคนิคตกแต่งให้เกิดเป็น ลวดลายเท่านั้น ไม่นิยมผลิตโครงสร้างและทาเคลือบยางรักเอง๔ แต่จะนาโครงสร้างที่เสร็จสมบูรณ์ที่ผลิตจากแหล่ง อื่น เช่น บ้านนันทาราม บ้านวัวลาย นามาขูดตกแต่งลวดลายเป็นต้น และในปัจจุบันยังคงมีช่างฝีมือที่สืบทอดงาน ช่างฮายดอกในอดีตหลงเหลืออยู่โดยเฉพาะ นางสมบูรณ์ พรหมดี หรือรู้จักในชื่อ แม่บุญ และแม่ลอย มหาพรหม๕ ชุมชนบ้านศรีปันครัว ชุมชนบ้านศรีปันครัวตั้งอยู่ตาบลท่าศาลา อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ ชุมชนแห่งนี้ปรากฏงานช่างเครื่อง รักที่ส่วนใหญ่จะเชี่ยวชาญด้านการทาโครงสร้างด้วยไม้ไผ่ขด โดยใช้ไม้ไผ่ (ไม้เฮียะ) ซึ่งมีคุณสมบัติเหมาะสาหรับทา โครงสร้างของภาชนะมากกว่าไม้ไผ่ชนิดอื่น ๆ นามาเหลาให้เป็นเส้นแบนและบางจากนั้นก็นามาขดโดยเริ่มจากวง ด้านนอกสุดของโครงสร้างภาชนะแล้วขดตอกไม้ไผ่ส่วนที่อยู่วงด้านในให้เต็มพื้นที่ ในส่วนที่เป็นรูปทรงอื่น ๆ ก็ใช้ไม้ ไผ่ขดให้ได้รูปทรงตามต้องการเป็นส่วน ๆ แล้วนามาประกอบกัน โดยมียางรักเป็นส่วนเชื่อมประสานทาหน้าที่คล้าย กาวเพื่อให้โครงสร้างส่วนต่าง ๆ แน่นสนิทกัน นอกจากนี้ด้วยคุณสมบัติของไม้ไผ่เฮียะที่มีความเหนียวและยืดหยุ่น สูงจึงทาให้การขดแต่ละชั้นแน่นด้วยแรงดีดของไม้ทาให้ดันโครงสร้างได้อย่างมั่นคงอีกด้วย
หลังจากขึ้นรูป โครงสร้างภาชนะเรียบร้อยก็นามาเคลือบผิวด้วยยางรักเป็นชั้น ๆ
เริ่มตั้งแต่เคลือบหยาบไปจนถึงขั้นตอนเคลือบรัก
เว้นเฉพาะการเคลือบรักเงาหรือ การทาด้วยยางรักผสมหางเคลือบตกแต่งในขั้นตอนสุดท้าย ให้ภาชนะเหล่านั้นมีสีแดงสวยงาม ที่เรียกว่าขันแดง เป็นต้น งานเครื่องรักของชุมชนศรีปันครัวจึงมีลักษณะและ รูปแบบที่หลากหลายสามารถผลิตภาชนะเครื่องใช้ที่มี รูปทรงขนาดต่าง ๆ เช่น ขันดอก ขันโอ ขันหมาก และหีบ ผ้าใหม่ เป็นต้น (ที่มา: https://hateyouverymuch.wixsite.com/docproject/post/2018) ๔ การทาเคลือบผิวด้วยยางรักบนภาชนะรูปทรงต่าง ๆ ศัพท์ช่างจะเรียกว่า “ครัวดา” เนื่องจากสีของยางรักเมื่อโดนอากาศแล้วจะมี สีดาสนิท แม่ครูดวงกมล ใจคาปัน เป็นผู้ให้ข้อมูล สัมภาษณ์เมื่อ วันที่ ๒ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๖๕ ๕ แม่ครูดวงกมล ใจคาปัน เป็นผู้ให้ข้อมูล สัมภาษณ์เมื่อ วันที่ ๒ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๖๕
รูปทรงที่สวยงามทุกครั้ง

นอกจากแหล่งชุมชนสาคัญที่กล่าวมาทั้งหมดนี้แล้วยังมีแหล่งผลิตงานเครื่องรักกระจายตัวอยู่โดยทั่วไปใน เขตพื้นที่ของเมืองเชียงใหม่และพื้นที่ใกล้เคียงอีก เช่น

งานเครื่องรักรุ่นเก่าอยู่ในการครอบครองของกลุ่มนักสะสมที่หลงใหลเสนห์งานเครื่องรักสกุลช่างบ้านต้นแหน

ชุมชนบ้านต้นแหน บ้านต้นแหน อาเภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่ เป็นกลุ่มคนชาวไทเขินจากเมืองเชียงตุงที่ย้ายถิ่นฐานเข้า มาอาศัยอยู่ แต่ในปัจจุบันช่างเครื่องรักของชุมชนแห่งนี้ได้เลิกการผลิตไปนานแล้ว ยังมีหลักฐานงานเครื่องรักรุ่น เก่าของกลุ่มช่างเหล่านี้หลงเหลืออยู่
อย่างมาก โดยสร้างจากโครงสร้างไม้ไผ่ขัดหรือขดให้เกิดเป็นรูปทรงแบบต่าง ๆ โดยเฉพาะขันหมากเขียนลาย (แต้ม ลาย, แต้มดอก) เป็นโครงสร้างเครื่องจักสานทรงกระบอก ส่วนกลางรัดด้วยไม้ไผ่ทาเป็นชั้นซ้อนกันลักษณะคล้าย ลูกแก้ว (ลูกแก้วอกไก่) ในงานสถาปัตยกรรม มีส่วนฝาปิดด้านบนเรียกว่า ตาดขัน หรือ อานขัน ที่สามารถใช้วาง แอ๊บหมากขนาดต่าง ๆ ที่ทาจากเงินได้ ความพิเศษของงานเครื่องรักบ้านต้นแหนนั้นอยู่ในส่วนการประดับลวดลายบนผิวของภาชนะ โดยการ เขียนลวดลายด้วยยางรักผสมหาง๗ ให้เกิดเป็นลวดลายที่สวยงามโดยรอบอย่างมีจังหวะ นอกจากนี้ยังมีการติด ประดับด้วยทองคาเปลว
ก้านและใบของดอกไม้เพื่อเน้นส่วนสาคัญของลวดลายด้วย เทคนิคดังกล่าวยังปรากฏเป็นงานประดับส่วนใหญ่ใน กลุ่มงานเครื่องรักแบบพื้นบ้านทางภาคเหนือ
เขียนลวดลายของช่างที่เชี่ยวชาญเท่านั้น
ชุมชนบ้านดอนจั่น ชุมชนบ้านดอนปิน รวมถึงบางชุมชนใน เขตของอาเภอแม่ริม อาเภอดอยสะเก็ต จังหวัดเชียงใหม่ เป็นต้น
สันป่าตอง ๗ ดูรายละเอียดเกี่ยวกับเทคนิคการวาดลวดลาย (แต้มดอก) ได้ในบทที่ ๔
๖ ถือได้ว่าเป็นกลุ่มงานช่างเครื่องรักแบบพื้นเมืองที่มีความสวยงามโดดเด่น
(highlight) ส่วนขอบหรือส่วนปลายกลีบดอกรวมถึงส่วนของลวดลายที่มีลักษณะคล้ายกิ่ง
เนื่องด้วยมีกระบวนการที่ไม่ซับซ้อนมากนักอาศัยทักษะฝีมือในการ

http://sure.su.ac.th/xmlui/handle/123456789/3172?attempt=2

รายการอ้างอิง บทที่ ๓ I ข้อมูลออนไลน์ นภกานต์ คาภีระ (๒๕๕๗). เครื่องเขิน : อัตลักษณ์ทางชาติพันธุ์ไทเขิน ชุมชนวัดนันทาราม ตาบลหายา อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่”. รายงานการศึกษาเฉพาะบุคคล ภาควิชามานุษยวิทยา คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร เข้าถึงเมื่อ ๙ กันยายน ๒๕๖๕ เข้าถึงจาก
I ข้อมูลสัมภาษณ์ แม่ครูดวงกมล ใจคาปัน (แม่น้อย), อายุ ๗๓ ปี, ครูภูมิปัญญาเครื่องรักเมืองเชียงใหม่, วันที่ ๒ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๖๕

และรูปแบบ

การใช้เครื่องมือและ อุปกรณ์เฉพาะในการผลิตย่อมแสดงถึงพัฒนาการทางเชิงช่างที่มีการปรับประยุกต์ใช้ให้เกิด

เริ่มตั้งแต่ขั้นตอนการเลือกสรรต้นรักที่พร้อมใช้ในการกรีด

รวมไปถึงการเก็บรักษายางรักให้สามารถนามาใช้ในคราว

เทคนิคลวดลายการประดับตกแต่ง
ลักษณะงานครูช่างเครื่องรักเมืองเชียงใหม่ นอกจากงานเครื่องรักจะถูกสร้างขึ้นเพื่อตอบโจทย์กับการใช้สอยในชีวิตประจาวัน ของผู้คนระดับต่าง ๆ ในสังคมและวัฒนธรรมล้านนาแล้ว การผลิตสร้างงานหัตถกรรมดังกล่าว นี้ยังสะท้อนให้เห็นถึงนวัตกรรมที่ทันสมัยในช่วงเวลานั้นได้เป็นอย่างดี
ความเหมาะสมกับงานที่ผลิต รวมถึงการคัดสรรวัตถุดิบหลักที่สาคัญ คือ ยางรัก ที่จะต้องรู้ และเข้าใจกระบวนการทุกขั้นตอน
การกรองรัก การทาเคลือบแต่ละชั้น
ต่อไปได้ นอกจากนี้วัตถุดิบชนิดพิเศษอย่างเช่น หาง (ชาด) ที่นามาผสมกับยางรักเพื่อให้เกิดสี แดงที่มีค่าน้าหนักของสีแตกต่างกันอย่างสวยงาม และถือเป็นเสนห์ของกลุ่มงานเครื่องรักใน เอเชียอาคเนย์อีกด้วย ปรากฏหลักฐานข้อมูลสาคัญเกี่ยวกับตาราผสมยางรักและหางที่จดจาร ลงบนแผ่นใบลาน (ลานก้อม)๑ โดย “ครูบาเตจ๊ะ” วัดป่าแดด อาเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ แปลความตามเสียงอ่าน ความว่า ๑ ลานก้อม คือ ใบลานขนาดสั้นที่ใช้จดจารข้อความต่าง ๆ นิยมใช้บันทึกข้อมูลเกี่ยวกับ คาถาอาคม ตารายา เป็นต้น นอกจากนี้ ด้วยขนาดที่สั้นคงเหมาะสาหรับใช้ในการพกพาติดตัว
บทที่ ๔
“ ๑ จักสมหาง หื้อเอาหางตวงเกิ่ง น้้ามันตวง ฮักตวง ๑ แดงดั่งดอกตองแลฯ : จบับ ๑ หางตวง ๑ ฮักตวง ๑ แดงดั่งดอกปิดปิว แลฯ : จบับ ๑ หาง ๓ ตวง น้้ามัน ๕ ตวง ฮัก ๒ ตวง แดงปานเลือดเหยี่ยน แลฯ : กันจักสม หางตาจ้อง หื้อเอาน้้ามันงาขี้ม้อนนักหน้อยตามเปิงใจ๋เตอะ หื้อเอาไส่สลุงตองตั้งเหนือไฟ กันฮ้อนเอาพิกสุกยังต้น นั้นมาทอด ปอหื้อไหม้ ถ้วน ๓ เหลี้ยกแล้วเอาขี้เผิ้งทอดเสียหน้อย ๑ แล้วป๋งลงเย็นสน่อยแล้วเอาหางลงใส่กนเตอะ หางนักหน้อยต๋ามเปิงใจ๋ ฯ : จักสมมุกฮักใคร่หื้อปันแห้ง
แล้วซุยน้้าตากแห้งแล้วเหิงแล้ว สูนฮักตาเตอะปันแห้งแลฯ กันเอาดั่งเฟืองแป๋งมุก นานแห้งบ่อดีแลฯ : กันใคร่หื้อมันเหลื้อมมีผิวดังอัน หื้อเอาดิน ปั้นหม้อมาต้า แป๋งมุกฮักตามีผิวเหลื้อมแลฯ ไนยะ ๑ จักตาน้้าใสใคร่หื้อปันแห้ง หื้อเอาใบฝาแป๋งมาต้า ปั้นเอาน้้า ถลองหื้อดีแล้ว สูนฮักแล้วตาปันแห้งแลฯ๒” ใบลานก้อม “ครูบาเตจ๊ะ” วัดป่าแดด อ.แม่แจ่ม จ.เชียงใหม่ (ที่มา: ลิปิกร มาแก้ว) ๒ ใบลานก้อมที่ ๒๔-๒๙ โดย “ครูบาเตจ๊ะ” วัดป่าแดด อ.แม่แจ่ม จ.เชียงใหม่, พ่อหนานสุวรรณ นัคคีย์ อดีตมัคนายกวัดยางหลวง ต.ท่าผา อ.แม่แจ่ม จ.เชียงใหม่ เป็นผู้เก็บรักษาใบลาน, พระจตุพล จิตฺตสังวโร ผู้ถ่ายภาพข้อมูลใบลาน และรองศาสตราจารย์ลิปิกร มาแก้ว ผู้แปลความ (อ่านตามเสียง)
หื้อเอาแกบมาเผาเป๋นดั่ง
นอกจากนี้ยังปรากฏคัมภีร์ใบลานและพับสาอีกจานวนหนึ่งที่เขียนด้วยอักษรธรรมล้านนา (ตัวเมือง) แสดง ข้อมูลส่วนผสมระหว่างยางรัก หาง และส่วนผสมอื่น ๆ ที่ประกอบกันขึ้นเพื่อใช้กับงานหัตถกรรมเครื่องรัก หรือ ประเภทงานพุทธศิลป์ล้านนาในอดีต ฉบับแรก พับสาจากวัดกิตติวงศ์ ตาบลบ้านกาด อาเภอแม่สะเรียง จังหวัด แม่ฮ่องสอน ปริวรรตโดย ดิเรก อินจันทร์ ความว่า ตำรำสมหำง หางทวง ๑ รักทวง ๑ น้้ามันทวง ๑ ฯ แดงดอกทองแล ฯ หางทวง ๑ รักทวงเกิ่ง น้้ามันทวง ๑ ฯ แดงดอกใหม่ แล ฯ หางทวง ๑ รัก ๒ ทวง น้้ามันทวง ๑ ฯ แดงดอกหมากขี้กา ฯ หางทวง ๑ รัก ๒ ทวง เกิ่ง น้้ามันทวง ๑ ฯ เป็นปัง แล ฯ หางทวง ๑ รัก ๔ ทวง น้้ามันทวง ๑ ฯ เป็นตองม่วงแล ฯ หอระดานทวง ๑ น้้าครามทวงเกิ่ง รัก ๔ ทวง น้้ามัน ๓ ทวง ฯ เป็นสิ้ว แล ฯ หอระดาน ๒ ทวง รักทวง ๑ น้้ามัน ๑ ฯ เป็นเหลืองแล ฯ ต้าราสมหางแลธ่านเลิย ฯ๓ พับสาจากวัดกิตติวงศ์ ต.บ้านกาด อ.แม่สะเรียง จ.แม่ฮ่องสอน (ที่มา: ดิเรก อินจันทร์, ๒๕๖๓: ๓๙.) ฉบับที่สองเป็นใบลานจากวัดไหล่หินหลวง ตาบลไหล่หิน อาเภอเกาะคา จังหวัดลาปาง ซึ่งก็ได้กล่าวถึง อัตราส่วนการใช้ยางรัก หาง และส่วนผสมอื่น ๆ ที่นามาผสมกันแล้วให้ลักษณะของสีแดงที่แตกต่างกัน ปริวรรต โดย ดิเรก อินจันทร์ ความว่า ๓ ดิเรก อินจันทร์ (ผู้ปริวรรต) (๒๕๖๓). สัพพะตาราสล่าล้านนา (ภูมิปัญญาช่างจากคัมภีร์ใบลานและพับสา). เชียงใหม่: สานัก ศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ๔๐
สมหาง เอาหางทวง ๑ น้ามันทวง ๑ รักทวงเกิ่ง ฯ งามนัก ฯ หางทวง ๑ น้ามัน ๒ ทวง ฯ แดงดั่งหมากขี้กาสุก ฯ หาง ๑ น้ามัน ๑ รัก ๑ ฯ ดั่งทองแดงแล ฯ หาง ๑ น้ามัน ๑ รัก ๒ ทวง ฯ แดงหาที่สุดบ่ได้แล ฯ๔ ใบลานจากวัดไหล่หินหลวง ต.ไหล่หิน อ.เกาะคา จ.ล้าปาง (ที่มา: ดิเรก อินจันทร์, ๒๕๖๓: ๔๑.) จากข้อความในจารึกทั้งสามฉบับดังกล่าวนี้ แสดงให้เห็นถึงองค์ความรู้และภูมิปัญญาทางเชิงช่าง ที่ สามารถเลือกใช้วัตถุดิบและส่วนผสมต่าง ๆ รวมถึงแสดงกระบวนการ ขั้นตอน และเทคนิคแบบพิเศษเฉพาะในการ
ธรรมชาติ ตัวอย่างเช่น หางทวง ๑ รักทวงเกิ่ง น้ามันทวง ๑ ฯ แดงดอกใหม่ แล ฯ ดอกใหม่ คือ ดอกชบาแดง และ หางทวง ๑ น้ามัน ๒ ทวง ฯ แดงดั่งหมากขี้กาสุก ฯ หมากขี้กา คือ ดอกขี้กาแดง หรือ แตงโมป่า๕ เป็นต้น นอกจากการใช้ยางรักที่ผสมกับหางเป็นส่วนตกแต่งหลัก ๆ แล้ว ช่างต้องเลือกใช้วัสดุอื่น ๆ ในการประดับ ตกแต่งร่วมด้วย เช่น แผ่นทองคาเปลว กระจกสี และหอยเบี้ย ซึ่งสิ่งเหล่านี้นิยมนามาใช้เป็นส่วนประกอบหรือใช้ เป็นส่วนประดับตกแต่งบนงานเครื่องรักที่สร้างสรรค์ให้เกิดความงดงามตามรสนิยม โดยมักคานึงถึงบริบทที่นาไปใช้ ร่วมด้วย จนเกิดเป็นลักษณะรูปแบบและอัตลักษณ์ของงานครูช่างเครื่องรักทางภาคเหนือในที่สุด สิ่งดังกล่าวนี้ก่อ เกิดเป็นองค์ความรู้และภูมิปัญญาที่สั่งสมบ่มเพาะมาจนถึงปัจจุบัน และถือเป็นต้นทุนทางวัฒนธรรมที่สาคัญเพื่อให้ คนในยุคปัจจุบันสามารถนาเอาไปต่อยอดได้ในอนาคต ๔ เรื่องเดียวกัน. ๔๑. ๕ ดูเพิ่มเติมได้ที่เชิงอรรถที่ ๑ คาศัพท์ ใน ดิเรก อินจันทร์ (ผู้ปริวรรต). (๒๕๖๓). สัพพะตาราสล่าล้านนา (ภูมิปัญญาช่างจาก คัมภีร์ใบลานและพับสา). เชียงใหม่: สานักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่. ๔๐. ซึ่งได้มีการแปลความหมาย ของคาศัพท์จากข้อความในจารึกที่มีการปริวรรตเอาไว้
ผสมส่วนประกอบต่าง ๆ เพื่อให้เกิดสีสันที่แตกต่างบนงานเครื่องรักที่สวยงาม โดยมีการเปรียบเทียบสีที่ได้กับสีใน
ลวดลายเกิดจากการเขียนแต้มหาง (ชาด) ที่มีน้้าหนักแตกต่างกันเป็นการสร้างมิติในงานประดับให้เกิดความสวยงาม การประดับขันหมากที่ใช้เทคนิคและวัสดุที่หลากหลาย เช่น ปิดทอง ขูดลาย เขียนหาง และติดกระจกสี

ส่วนผสมอื่นประกอบเพื่อให้น้ายางรักที่ผสมหางมีความข้นของเนื้อสีที่เหมาะกับการนามาวาดเป็นลวดลาย หาก ผสมมากเกินไปในสัดส่วนที่ไม่พอเหมาะอาจทาให้เนื้อเหลวเวลาวาดไม่เป็นรูปร่างที่ต้องการ โดยการสร้างสรรค์

ลวดลายนั้นจะเกิดจากการใช้พู่กันจุ่มสีแดงวาดบนพื้นสีดา การกดปลายพู่กันลงจะทาให้เกิดเส้นที่หนาส่วนการยก

เทคนิคลวดลายการประดับตกแต่ง การประดับตกแต่งถือเป็นขั้นตอนสุดท้ายในการผลิตที่ต้องอาศัยทักษะสูงและความชานาญเป็นพิเศษ ช่าง ที่ตกแต่งลวดลายไม่จาเป็นต้องเป็นช่างผู้สร้างโครงสร้างเครื่องใช้นั้น ๆ แต่อาจเป็นผู้ที่รู้และเข้าใจการประดับด้วย ลวดลายรูปแบบต่าง ๆ เป็นอย่างดี และมีการผสมผสานเทคนิควิธีการที่หลากหลาย การทาเครื่องรักแบบโบราณ ของช่างล้านนามีรูปแบบที่แตกต่างกัน แต่สามารถจาแนกเทคนิคสาคัญที่ปรากฏจานวนมากในงานเครื่องรักเมือง เชียงใหม่ ดังต่อไปนี้ ๑. กำรวำดลวดลำย (แต้มดอก) เทคนิคการวาดลวดลายหรือภาษาช่างพื้นถิ่นเรียกว่า “แต้มดอก” นั้นถือเป็นรูปแบบที่ปรากฏค่อนข้างมาก ที่สุดในกลุ่มงานเครื่องรักเมืองเชียงใหม่ เนื่องด้วยงานเครื่องรักกลุ่มนี้นิยมอย่างแพร่หลายในแหล่งชุมชนต่าง ๆ โดยทั่วไปในเชียงใหม่รวมถึงพื้นที่อื่น ๆ ด้วย เช่น ลาปาง ลาพูน แพร่ น่าน เป็นต้น ซึ่งเป็นของใช้พื้นบ้านที่มีอยู่ ทั่วไป อีกประการหนึ่งการวาดลวดลายคงเป็นเทคนิคที่ไม่ซับซ้อนมากนัก กล่าวคือ การนาผงหางสีแดงมาผสมกับ ยางรักที่กรองจนใสแล้วใช้พู่กันจุ่มเนื้อของส่วนผสมทั้งสองแล้ววาดเป็นลวดลายรูปแบบต่าง ๆ ส่วนมากมักปรากฏ เป็นกลุ่มลวดลายดอกไม้ ใบไม้ เครือเถาคดโค้ง หรือที่รู้จักกันว่าลายพรรณพฤกษา ด้วยคุณสมบัติสาคัญของยางรัก
นั้นมีความเหนียวหนืดจึงทาให้ช่างวาดลวดลายนั้นต้องอาศัยความชานาญอย่างมาก และนอกจากนี้ยังต้องมี
ปลายพู่กันขึ้นจะทาให้เกิดเส้นบางเรียว เพราะฉะนั้นช่างที่วาดลวดลายจะต้องเข้าใจหลักการใช้อุปกรณ์ด้วย โดย ช่างจะกาหนดกลุ่มลายหลักเพื่อใช้เป็นจุดเริ่มลาย และเพิ่มส่วนประกอบอื่น ๆ เป็นลายรอง จากนั้นหากช่องไฟไม่ ลงตัวช่างก็จะเพิ่มเส้น จุดกลม จุดที่มีหาง (คล้ายหยดน้า) เข้ามาประกอบให้ภาพรวมของลวดลายเหล่านั้นดู สมบูรณ์ วิถี พานิชพันธ์, (๒๕๖๑: ๕๖) กล่าวว่า ลวดลายพื้นฐานที่เกิดจากการแต้มดอกนี้ คือ รูปหยดน้าหรือตัว ลูกอ๊อด (Tadpole) ที่มีหางยาว ๆ เมื่อเรียงติดกันสามสี่เส้นก็สามารถสร้างเป็นกลีบดอกไม้ได้หนึ่งกลีบ เมื่อเอา หัวต่อกันแล้วลากหางยาวออกไปก็สามารถสร้างเป็นรูปใบไม้ได้อีก นอกจากนี้ยังปรากฏเทคนิคการแต้มดอกด้วย วิธีการลากปลายพู่กันเขียนเป็นวงกลมส่วนหัวก่อน โดยเว้นพื้นที่ส่วนกลางเอาไว้แล้วจึงลากหางปลายพู่กันเป็นเส้น ทาให้เกิดจุดดาของยางรักที่เป็นส่วนพื้นบนลวดลายสีแดง แต่เดิมเข้าใจว่าช่างคงเขียนลวดลายด้วยสีแดงก่อนดัง เทคนิคที่กล่าวไว้ก่อนหน้านี้ พอสีแดงของหางที่เขียนแห้งดีแล้วจึงแต้มด้วยยางรักสีดาทาเป็นจุด ๆ เพื่อปิด ทองคาเปลวทาเป็น (highlight) เพื่อเน้นลวดลายให้เกิดความสวยงาม แต่หากสังเกตโดยละเอียดแล้วเนื้อของสีหาง แดงกลับทาลักษณะเว้นพื้นที่ส่วนกลางเอาไว้ (ดูในวงเส้นสีเหลือง)
ลวดลายการแต้มดอกโดยเว้นพื้นที่ส่วนหัวกลมก่อนลากเส้นหางยาว ลวดลายที่มีการเสริมด้วยการปิดทองค้าเปลวเพื่อให้เกิดจุดเน้นที่สวยงาม

การเขียนเว้นเป็นช่องวงกลมตรงกลางทาให้ลวดลายเกิดช่องไฟเป็นจังหวะแบบไม่ทึบตัน ในทางกลับกันหากปิด

ทองคาเปลวก็จะทาให้ลวดลายมีส่วนเน้นที่งดงามคล้ายกัน

นอกจากนี้ประเด็นทางความงามด้านศิลปะคือ หากไม่ปิดด้วยแผ่นทองดังที่กล่าวแล้ว ลวดลายที่เกิดจาก
เส่นห์ของลวดลายเครื่องรักกลุ่มดังกล่าวนี้ คือ การออกแบบลวดลายอย่างอิสระ เรียกได้ว่าช่างอาศัยความ ชานาญในการเขียนแบบด้นสด ไม่มีการร่างโครงสร้างใด ๆ คงใช้ภาพในจินตนาการหรือเป็นลวดลายที่จดจามาหรือ ทาต่อ ๆ กันมาจนชานาญ ดังนั้นจึงเกิดลวดลายที่ไม่ค่อยซ้ากันและมีรูปแบบที่หลากหลาย อนึ่ง หากเป็นงานฝีมือ ช่างกลุ่มเดียวกันมักจะเขียนลวดลายที่คล้ายหรือเหมือนกัน บางลวดลายที่ปรากฏอาจทาให้เชื่อได้ว่าเป็นช่างคน เดียวกันที่เขียนก็มี การกาหนดเขียนลวดลายในลักษณะดังกล่าวนี้ยังช่วยสร้างมิติให้เกิดขึ้นได้อีกด้วย กล่าวคือ ส่วนที่เขียนสี ทึบเป็นน้าหนักเข้มของรูปร่าง ส่วนที่ลากเป็นเส้นยาวแต่ละเส้นมีขนาดหนาและบางต่างกันแสดงค่าน้าหนัก เข้ม กลาง และอ่อน ซึ่งเกิดจากที่ช่างค่อย ๆ ยกปลายพู่กันขึ้นขณะลากเส้นจนเกิดเส้นที่เรียวแหลม ลักษณะดังกล่าวทา ให้เกิดน้าหนักที่แตกต่างกันตามระดับความหนาและบางของเส้น นอกจากนี้รูปร่างของลวดลายรวมถึงทิศทางของ เส้นที่โค้งอ่อนอย่างเคลื่อนไหวทาให้ลวดลายดูเป็นธรรมชาติอีกด้วย ลวดลายเกิดจากเทคนิคการแต้มดอก เขียนด้วยยางรักผสมหางในรูปแบบต่าง ๆ อย่างมีมิติ

ชุมชนขึ้น โดยกลุ่มคนเหล่านี้มีความรู้ความสามารถทางด้านหัตถกรรมเครื่องรักอยู่แล้วจึงมีการสืบทอดจนมี

แหน
จังหวัดเชียงใหม่
กลุ่มช่างที่มีชื่อเสียงเรื่องการวาดลวดลายบนงานเครื่องรักเมืองเชียงใหม่ คือ กลุ่มช่างลุ่มน้าขาน บ้านต้น
บ้านทุ่งเสี้ยว อาเภอสันป่าตอง
ซึ่งเป็นกลุ่มคนชาวไทเขินที่อพยบมาตั้งถิ่นฐานและสร้าง
ลักษณะเป็นเอกลักษณ์เฉพาะ ถึงแม้ว่าจะเลิกการผลิตไปเป็นเวลาไม่ต่ากว่า ๘๐ ปีแล้ว๖ อย่างไรก็ตามถือเป็นกลุ่ม งานเครื่องรักที่หายากและมีราคาแพงเป็นที่ต้องการของกลุ่มนักสะสมในปัจจุบัน ลวดลายขันหมากบ้านต้นแหน อ.สันป่าตอง (สมบัติของ: วิถี พานิชพันธ์) ขันหมากทรงพื้นเมืองโดยทั่วไป ประดับด้วยเทคนิคแต้ม ดอกเขียนลวดลายด้วยยางรักผสมหาง เป็นลวดลายเครือ เถาเป็นลักษณะลายประดิษฐ์ เรียงในแนวหน้ากระดาน กลมรอบตัวขัน ส่วนขอบประดับลายจุดเรียงเป็นแนว คล้ายลายเม็ดไข่ปลา หรือลายเม็ดประค้า ๖ สุรพล ดาริห์กุล. (๒๕๖๑). ประวัติศาสตร์และศิลปะล้านนา. นนทบุรี: เมืองโบราณ. ๒๘๗
ลายเม็ดไข่ปลา หรือลายเม็ดประค้า ลายเครือเถาลักษณะลายประดิษฐ์ การแต้มดอกประดับตัวหีบผ้าใหม่ มีลูกแก้วขั้น ๒ เส้น จึงเกิดพื้นที่ ว่าง ๓ ส่วน เขียนเป็นลายเครือเถา เป็นลักษณะลายประดิษฐ์ ออกลาย โค้งม้วนสลับกัน ส่วนปลายเขียนเป็น
การแต้มดอกประดับพานขันดอก ตั้งแต่ส่วนปากขัน แอวขัน (เอว) และตีนขัน (สมบัติของ: วิถี พานิชพันธ์)
ลักษณะดอกไม้ ส่วนฝาปิดด้านบน เขียนลวดลายในลักษณะเดียวกัน (สมบัติของ: ตระกูลวิชัยกุล)
๒. กำรขูดขีดพื้นผิวให้เป็นลวดลำย (ฮำยลำย ฮำยดอก) งานเครื่องรักเทคนิคขูดขีดเป็นลวดลายบนเนื้อผิวภาชนะรูปทรงต่าง ๆ นี้ ถือได้ว่าคือเอกลักษณ์สาคัญ อย่างหนึ่งของกลุ่มงานเครื่องรักที่มีความนิยมในแถบตัวเมืองเชียงใหม่ ซึ่งมีความละเอียดสูงมีลวดลายปรากฏบน พื้นผิวภาชนะอยู่เต็มพื้นที่โดยรอบ ลวดลายที่ปรากฏเกิดจากการใช้เหล็กแหลมเรียกว่า “เหล็กจาร” กดลงไปบน พื้นรักที่ทาเคลือบผิวภาชนะจนแห้งสนิทแล้ว โดยต้องควบคุมแรงกดด้วยน้าหนักมือที่เหมาะสมเพื่อให้เกิดเส้นและ รูปร่างลักษณะต่าง ๆ โดยเฉพาะขูดขีดให้เป็นเส้นรูปดอกไม้ ใบไม้ เครือเถาคดโค้ง กิ่ง ก้าน อย่างละเอียดมาก (มี ความละเอียดมากกว่าเทคนิคแรกที่กล่าวมาแล้ว) ช่างบางกลุ่มมีการกาหนดเรียกชื่อลายดอกไม้ประดิษฐ์ที่ขูดขึ้นว่า ลายดอกแก้วหรือดอกจัน ดอกก๋ากอกหรือดอกบัวผัด เป็นต้น หลังจากการขู่ขีดเป็นลวดลายจนทั่วพื้นผิวของ ภาชนะแล้วจะใช้ยางรักผสมหางทาลงบนลวดลายที่ขูดไว้เพื่อให้สีฝังลงไปในร่องที่ขูดขีด บ้างก็ใช้นิ้วมืออัดเนื้อสีเข้า ไปในร่องที่ขูดจนทั่ว ทิ้งไว้จนหมาดแล้วก็ใช้ใบหนอด๗ ชุบน้าขัดเอาสีส่วนที่ไม่ได้ฝังลงไปในร่องออกจะเหลือพื้นดา ส่วนร่องที่ขูดจะมีสีแดงตามรูปที่ขูดไว้ น้าหนักและมิติของลวดลายจะเกิดจากการขูดเส้นถี่และห่างต่างกันเกิดความ สวยงามและเป็นเอกลักษณ์ของเครื่องรักเมืองเชียงใหม่กลุ่มนี้ ดังที่ได้กล่าวมาแล้วในบทต้น ๆ ว่าเทคนิคการขูดขีดให้เป็นลวดลาย (ฮายลาย ฮายดอก) เป็นเทคนิค เฉพาะงานเครื่องรักเมืองเชียงใหม่ ที่มีอิทธิพลต่อกลุ่มงานเครื่องรักในภูมิภาคเอเชียอาคเนย์ อาทิ งานเครื่องรัก พม่าที่เรียกเทคนิคนี้ว่า “โยนเถ่”๘ และเป็นกรรมวิธีที่ที่นิยมอย่างมากเช่นกัน ขันหมากเทคนิคฮายลาย (สมบัติของ: วิทยา พลวิฑูรย์) ขันดอกเทคนิคฮายลาย (ที่มา: จักริน สานุวัตร์) ๗ ใบหนอดมีผิวคล้ายกระดาษทรายละเอียด สามารถใช้ขัดถูพื้นผิวให้เรียบได้ ๘ ดูรายละเอียดได้ในบทที่ ๒ และ กรมการศึกษานอกโรงเรียน. (ม.ป.ป.). เครื่องเขิน. ม.ป.ท. ๖-๗
การฮายลายอักษรย่อ หรือนามแฝง เพื่อระบุ ความเป็นเจ้าของ (ที่มา: พิพิธภัณฑ์วัดพระ ธาตุล้าปางหลวง จ.ล้าปาง ฝีมือช่างเครื่องรัก เชียงใหม่) ลายพวงแสด ลายดอกเมือง ลายเงาะ, ลายเงาะชวนใบ ลายหัวนาค ลวดลายพื้นฐานรูปแบบต่าง ๆ ที่ช่างเครื่องรักเมืองเชียงใหม่นิยมใช้ขูดประดับบนผิวภาชนะเครื่องรักรูปทรงต่าง ๆ (ที่มา: แม่ครูดวงกมล ใจค้าปัน ภาพถ่ายมีการระบุชื่อลายต่าง ๆ ไว้ในภาพ)

กฏเกณฑ์นี้ลงไปทาให้เกิดงานเครื่องรักที่มีการประดับด้วยทองคาเปลวในกลุ่มช่างพื้นบ้านมากขึ้น

๓. กำรปิดทองคำเปลว ทองคาเปลวเป็นวัสดุพิเศษที่มีราคาแพงและมีความนิยมอยู่ในกลุ่มสังคมระดับ วัง และวัด เป็นเครื่องใช้ ประกอบเกียรติยศสาหรับกษัตริย์ เจ้านาย และบุคคลชั้นสูง สาหรับพระสงฆ์ปรากฏในส่วนเครื่องสักการะ เครื่องใช้ ในพิธีกรรมทางพุทธศาสนา ส่วนสังคมชาวบ้านโดยทั่วไปมักไม่ปรากฏหรือค่อนข้างมีอยู่อย่างจากัด เนื่องด้วยมี จารีตหรือแนวปฏิบัติที่ห้ามในการใช้เครื่องใช้ที่มีส่วนประดับด้วยทอง เพราะถือว่าเป็นการทะนงตัว พยายามทาตน ให้ทัดเทียมกับชนชั้นสูง หากพบเห็นอาจถูกลงโทษเฆี่ยนตีหรือเนรเทศได้๙
อย่างไรก็ตามในระยะต่อมาก็มีการลด
เช่น กลุ่มงาน เครื่องรักสันป่าตองที่มีการปิดทองส่วนเส้นขอบลาย หรือทาเป็นจุดรอบตัวลายอย่างมีจังหวะเพื่อเพิ่มมิติให้กับ ลวดลาย (highlight) ดังนั้นงานเครื่องรักกลุ่มนี้จะมีลวดลายสีแดงบนพื้นสีดาและมีส่วนปิดทองเพิ่มเติม ภาพประกอบ นอกจากนี้การปิดทองตกแต่งบนผิวภาชนะเครื่องรักยังมีลักษณะทางเชิงช่างที่เหมือนกับงานตกแต่งศาสน สถานล้านนา เช่น การตกแต่งโครงสร้างภายในวิหารที่เรียกว่า “ลำยคำ” เช่นเทคนิคปิดทองล่องชาด (แม่พิมพ์ฉลุ ลาย) เทคนิคขูดลายบนพื้นทองหรือจะเป็นเทคนิคผสมระหว่างปิดทองล่องชาดกับการขูดลายทองร่วมด้วย การ ตกแต่งลวดลายบนงานเครื่องรักด้วยเทคนิคปิดทองที่ทาเป็นภาชนะใช้สอยหรือเครื่องใช้ต่าง ๆ เช่น ขันหมาก (เชี่ยนหมาก) ขันดอก ขันโตก ฯลฯ ล้วนเป็นสิ่งของที่แสดงถึงสถานะทางสังคมของผู้เป็นเจ้าของ หรืองานปิดทอง เป็นของสงวนสาหรับกษัตริย์ เจ้านายชั้นสูง รวมถึงพระสงฆ์ชั้นผู้ใหญ่ ซึ่งได้กล่าวมาแล้วว่างานเครื่องรักที่ปิดทอง ไม่เหมาะสาหรับบุคคลทั่วไปหรือชาวบ้าน๑๐ ภาพประกอบ ลวดลายที่ปรากฏด้วยเทคนิคปิดทองล่องชาดหรือแม่พิมพ์ฉลุลาย (Stencil) นั้นมักจะมีรายละเอียดน้อย กว่าเทคนิคขูดลาย เนื่องด้วยกรรมวิธีในการสร้างสรรค์ลวดลายเกิดจากการตัดฉลุแม่พิมพ์ หรือใช้เหล็กปลายโค้ง ลักษณะต่าง ๆ เรียกว่า “สิ่วต้องลาย” ต้องลงบนกระดาษหรือหนังสัตว์บาง ๆ ให้เกิดลวดลาย ที่สาคัญจะต้องเว้น ส่วนเชื่อมต่อลายหรือช่องไฟแต่ละช่วงให้พอดีกับขนาดของตัวลายและรูปร่างของลวดลายต่าง ๆ ข้อดีของเทคนิค ดังกล่าวนี้สามารถสร้างสรรค์ลวดลายปิดทองซ้า ๆ กันและสามารถทาได้จานวนมากอีกด้วย ภาพประกอบ ๙ วิถี พานิชพันธ์. (๒๕๖๑). เครื่องเขินในวัฒนธรรมล้านนา. เชียงใหม่: สานักส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ๖๖ ๑๐ดูข้อมูลเชิงอรรถที่ ๙

จะต้องมีทักษะสูงและมีลวดลายในจินตนาการหรือมีแม่แบบลวดลายค่อนข้างมากจึงจะสามารถขูดลวดลายได้อย่าง

ขั้นตอนและการสร้างสรรค์เทคนิคลายรดน้าจะเริ่มจากการเตรียมพื้นผิวของภาชนะเครื่องรักให้เรียบเนียน

จากนั้นใช้ผงหรดาลที่บดละเอียดมาผสมน้าฝักส้มป่อยรวมกับยางกาวกระถิน บดให้เข้ากันในโกร่ง

ช่างต้องคิดเป็นภาพกลับ (Negative)

หลังจากเขียนลายเส้นและถมพื้นเสร็จเรียบร้อยแล้วจะใช้ยางรักที่กรองจนละเอียดเช็ดรักบนพื้นที่เขียนลายไว้

วิจิตร ภาพประกอบ การปิดทองที่สาคัญอีกรูปแบบหนึ่งที่ได้รับอิทธิพลเทคนิคจากทางภาคกลาง เรียกว่า เทคนิคลายรดน้า เป็นเทคนิคที่มีความนิยมเป็นวงกว้าง ส่วนมากนิยมอยู่ในวัฒนธรรมทางภาคกลางของประเทศไทย งานช่างกลุ่มนี้ รุ่งเรื่องตั้งแต่สมัยอยุธยาตอนปลายและส่งอิทธิพลให้กับงานช่างปิดทองในล้านนาในเวลาต่อมา
ประมาณปลายพุทธศตวรรษที่
เกิดการถ่ายเทภูมิปัญญาทางเชิงช่างทั้งรูปแบบที่เลียนแบบงานภาคกลาง และรูปแบบเฉพาะตัวของช่างล้านนาเอง หรือรูปแบบผสมผสานกับรสนิยมต่างถิ่น เกิดชุมชนที่สร้างสรรค์งานเทคนิคลายรดน้าในเมืองเชียงใหม่ คือ ชุมชนนันทาราม ชุมชนวัวลาย เป็นต้น ตั้งแต่ประมาณปี ๒๕๑๐ เป็นต้นมา เป็นช่วงของการพัฒนาการท่องเที่ยวในเชียงใหม่ เครื่องเขินลายรดน้า ได้กลายเป็นของที่ระลึกและของฝากราคาพอสมควรจากเชียงใหม่จนเป็นที่รู้จักกันทั่ว ๆ ไปโดยเฉพาะอย่างยิ่งจาน เครื่องเขินลายไทย๑๑
มันเงาเสียก่อน
บดยาตามสูตรของแต่ละช่าง จากนั้นใช้น้ายาหรดาลวาดด้วยพู่กันเป็นลวดลายต่าง ๆ บนผิวภาชนะ บ้างก็มีการร่าง ลวดลายเอาไว้ก่อน หรือช่างที่มีความชานาญอยู่แล้วก็จะเขียนเส้นสดลงบนผิวภาชนะได้ทันที จากนั้นใช้น้ายา หรดาลถมส่วนที่เป็นพื้นภาพเพื่อกั้นไม่ให้ยางรักติดในขณะเช็ดรักและปิดทอง
ส่วนลวดลายที่เกิดจากเทคนิคขูดลายทอง และแบบผสมจะสามารถสร้างรายละเอียดได้มาก เนื่องด้วยเส้น ที่เกิดจากการขูด (drawing) สามารถแสดงรายละเอียดของเส้นได้มากตามแต่ช่างต้องการ แต่ช่างผู้สร้างสรรค์
โดยเฉพาะช่วง
๒๔ ที่ปรากฏเทคนิคลายรดน้าในงานประดับตกแต่งในดินแดนล้านนาค่อนข้างมาก
และ ทาการ “ถอนรัก” คือการเช็ดรักขั้นตอนสุดท้ายก่อนการปิดด้วยแผ่นทองคาเปลว หากปิดแผ่นทองจนทั่วพื้นที่ที่ กาหนดแล้วพักรอซักระยะหนึ่ง จากนั้นจึงใช้น้าเทรดลงบนพื้นทองที่ปิดบนภาชนะ ซึ่งน้าจะเป็นตัวทาละลายน้ายา หรดาลให้หลุดออกจนเหลือลายทองบนพื้นสีดา หากมีส่วนที่ชารุดหรือลายขาดตอนก็ไช้วิธีการเขียนลายซ้า แบบเดิมและใช้น้ายาหรดาลกั้นพื้นที่เฉพาะจุดที่ซ่อม เช็ดรัก ถอนรัก ปิดทองคาเปลว และใช้น้ารด ตามขั้นตอน เดิมเป็นอันเสร็จขั้นตอน ๑๑กรมการศึกษานอกโรงเรียน. (ม.ป.ป.). เครื่องเขิน. ม.ป.ท. ๑๑

(ดูภาพ 00 ประกอบ) หลังจากรักสมุกแห้งสนิทแล้วมักนิยมตกแต่งด้วยการทายางรักผสมหางปิด ด้วยทองคาเปลว หรือบางแบบก็ทายางรักเคลือบธรรมดา

ภาพประกอบ ๔. กำรกดด้วยแม่พิมพ์และกำรปั้นลวดลำย การตกแต่งงานเครื่องรักที่มีลักษณะพิเศษอีกรูปแบบหนึ่งคือ การสร้างให้ลวดลายประดับมีความนูนลึก หรือนูนต่า รวมถึงสามารถสร้างลวดลายให้มีขนาดและรูปแบบซ้า ๆ กันได้หลายชิ้นโดยใช้แม่พิมพ์เดียวกัน การกด พิมพ์ลายมาก ๆ และปั้นเป็นภาพนูนต่าเข้าใจว่าเป็นอิทธิพลของเครื่องเขินพม่าและไทใหญ่ที่นาเข้ามา จากมัณฑะเลย์ในช่วงไม่กี่ปีนี้เอง๑๒เทคนิคดังกล่าวนี้จะให้ความสาคัญกับเนื้อสมุก๑๓ที่ต้องนายางรักมากรอง (รัก น้าเกลี้ยง) แล้วผสมให้เข้ากับขี้เถ้า ดินขาว หรือปูนขาวในสัดส่วนที่พอเหมาะ ผสมให้มีความเหนียวหนืดคล้ายดิน น้ามันหรือมีลักษณะคล้ายเนื้อปูนที่ใช้ปั้นลาย ศัพท์ช่างทางภาคกลางจะเรียกว่า “รักกระแหนะ”๑๔ การกดด้วย แม่พิมพ์นั้นมีอยู่ ๒ ลักษณะ กล่าวคือ การสร้างต้นแบบแม่พิมพ์โดยการออกแบบลวดลายต่าง ๆ เช่น ดอกไม้ ใบไม้ หรือเครือเถา รวมถึงลายรูปสัตว์ แล้วนารักสมุกมากดบนแม่พิมพ์ลายจากนั้นก็ยกนาไปติดบนพื้นภาชนะเครื่องรัก โดยการทายางรักเป็นตัวประสาน นิยมประดับส่วนตัวขันหมากเรียงในแนวหน้ากระดานโดยรอบ ส่วนอีกรูปแบบ หนึ่ง คือ การนารักสมุกถมบนพื้นผิวภาชนะในพื้นที่ที่จะประดับให้สมุกมีความหนาเพื่อใช้แม่พิมพ์แบบแบน หรือทา เป็นแม่พิมพ์ลูกกลิ้ง กดทับลงไปบนเนื้อสมุกที่ติดอยู่กับตัวภาชนะ จากนั้นเอาเนื้อสมุกส่วนเกินที่ถูกกดออกโดยจะ เหลือเฉพาะเนื้อสมุกที่เข้าร่องของแม่พิมพ์ลาย เทคนิคดังกล่าวนี้จะนิยมทาส่วนที่เรียกว่า ลูกติ่ง (ลูกกรง) อยู่เชิง ล่างของภาชนะ
ส่วนเทคนิคการปั้นเป็นลวดลายนั้นนิยมในงานเครื่องรัก พม่า เมืองมัณฑะเลย์ ปรากฏค่อนข้างน้อยในกลุ่มเครื่องรักเมืองเชียงใหม่ ภาพประกอบ ๕. กำรฝังวัสดุอื่น ๆ การฝังด้วยวัสดุอื่น ๆ เป็นการนาวัสดุที่มีค่าหรือเป็นวัสดุชนิดพิเศษมาฝังประดับลงบนเนื้อผิวของงาน เครื่องรัก เป็นกรรมวิธีที่มีความนิยมแพร่หลาย เช่น การใช้กระดูกสัตว์ เปลือกหอยมุก (การฝังมุก) หอยเบี้ย (ใช้ แทนเงินตราสมัยอดีต) กระจกสี เส้นโลหะ เปลือกไข่ รวมถึงผิวไม้ไผ่ เป็นต้น ส่วนใหญ่งานเครื่องรักเมืองเชียงใหม่ ๑๒ เรื่องเดิม. ๑๑ ๑๓พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานให้ความหมายว่า “สมุก” [สะหมุก] คือถ่านทาจากใบตองแห้งใบหญ้าคาป่นให้เป็นผงประสม กับรักน้าเกลี้ยง สาหรับทารองพื้นบนสิ่งต่าง ๆ เช่นบานประตูหน้าต่างโบสถ์วิหารก่อนที่จะเขียนลายรดน้าปิดทอง ๑๔พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานให้ความหมายว่า “กระแหนะ” ลายปูนปิดทอง กรรมวิธีในการสร้างงานประติมากรรม ตกแต่ง หรือวิธีการช่างจุลศิลป์ประเภทหนึ่ง โดยใช้สมุกปั้นเป็นลวดลายหรือรูปภาพติดเข้ากับพื้นไม้หรือพื้นกระดาษ เช่น ปั้นหน้า ยักษ์หน้าลิงติดลงบนกะโหลกปิดกระดาษทาเป็นหัวโขน แขนะ ก็ว่า

จะปรากฏการฝังประดับกระจกสี (แก้วจืน, แก้วอังวะ) ประดับฝังหอยเบี้ยไว้ส่วนฐานหรือตีนขัน และกลุ่มงาน

เครื่องรักชาวเขาในเขตพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่ที่นิยมการฝังประดับด้วยเส้นผิวไม้ไผ่ ในการฝังด้วยเทคนิคดังกล่าว

จะต้องมีการวางแผนหรือออกแบบให้ลงตัวกับขนาดพื้นที่ที่ติดฝังประดับ โดยเฉพาะการติดฝังด้วยกระจกสีที่ต้อง

เทคนิคและวิธีการทั้งหมดที่กล่าวมานี้ช่างผู้สร้างสรรค์งานเครื่องรักสามารถเลือกใช้ได้อย่างหลากหลาย

ซึ่งสิ่งของที่กล่าวมานี้คือสิ่งที่ใช้อยู่ในวิถีชีวิตของ

นอกจากนี้ยังผลิตเพื่อใช้เป็นเครื่องประกอบในพิธีกรรมความเชื่อดั้งเดิมและความเชื่อทางพุทธ

การให้วัสดุต่าง ๆ ติดได้ทน นานช่างมักจะทาในขณะที่ยางรักยังไม่แห้งสนิทหรือกาลังหมาด ๆ อยู่ และกดฝังวัสดุลงไปให้แนบกับพื้นผิวภาชนะ บางลักษณะอาจใช้ยางรักถมฝังตามร่องหรือช่องว่างของวัสดุแล้วขัดผิวเพื่อให้มีระนาบเสมอกัน ภาพประกอบ
ซึ่งสามารถใช้ได้มากกว่าหนึ่งเทคนิคในงานเครื่องรักหนึ่งชิ้น จึงปรากฏงานเครื่องรักในวัฒนธรรมล้านนาที่มีเทคนิค แตกต่างอย่างสวยงามลงตัว รูปแบบลักษณะงานครูช่างเครื่องรักเมืองเชียงใหม่ เราสามารถจัดแบ่งรูปแบบลักษณะงานเครื่องรักเมืองเชียงใหม่ออกเป็น ๓ ระยะตามความนิยมในแต่ละ ช่วงเวลาของวัฒนธรรมล้านนา กล่าวคือ ในระยะแรกงานเครื่องรักเมืองเชียงใหม่โดยทั่ว ๆ ไปมีลักษณะและรูปแบบที่สอดคล้องกับการใช้สอยในวิถี ชีวิต ที่สามารถตอบโจทย์กับกิจกรรมต่าง ๆ ในแต่ละวันของผู้คนเป็นหลัก เช่น ขันหมาก (เชี่ยนหมาก) แอ๊บหมาก ขนาดต่าง ๆ ขันโอ ขันดอก หีบผ้าใหม่ เอิบ และปุงใส่ของ เป็นต้น
ผู้คนโดยทั่วไปในวัฒนธรรมล้านนา
รายละเอียด ขนาด และวัสดุในการใช้ประดับตกแต่ง ตามแต่สถานภาพทางสังคมหรือฐานะของบุคคลนั้น ๆ อย่างไรก็ตาม โครงสร้างและวัตถุดิบหลัก ๆ เช่น ไม้จริง ไม้ไผ่ และยางรัก ก็ยังคงเป็นสิ่งสาคัญหลักในการผลิต งานเครื่องรักใน ระยะแรกจึงมีรูปร่างลักษณะแบบธรรมดาที่ผลิตใช้กันภายในครัวเรือนเท่านั้น และให้ความสาคัญกับประโยชน์ใช้ สอยเป็นหลัก
ศาสนาของแต่ละท้องถิ่นอีกด้วย ในระยะต่อมาเมื่อสมัยช่วงยุค “เก็บผักใส่ซ้ำ เก็บข้ำใส่เมือง” ซึ่งเป็นยุคแห่งการฟื้นฟูบ้านเมือง ได้มีการ
ความหลากหลายทางด้านรูปแบบและเทคนิคต่างๆ มากยิ่งขึ้น เนื่องด้วยกลุ่มช่างฝีมือเหล่านี้คุ้นเคยและมีความ ชานาญสูงในการผลิตงานเครื่องรักเป็นอย่างมาก เรียกว่ากลุ่มช่างเขิน (ชาวไทเขิน) ซึ่งในเวลาต่อมาเรียกสิ่งของที่ ผลิตเหล่านั้นว่า “เครื่องเขิน” ตามกลุ่มช่างที่ผลิต ในช่วงเวลานี้งานเครื่องรักเป็นที่เฟื่องฟูอย่างมากและมีความ
ตัดให้ได้รูปร่างตามแบบที่ต้องการและให้มีขนาดที่ลงตัวกับพื้นที่หรือแนวในการประดับ
ซึ่งจะมีข้อแตกต่างกันตรงที่รูปแบบและองค์ประกอบบางลักษณะ
อพยพย้ายถิ่นผู้คนจากต่างถิ่นเข้ามาฟื้นฟูเมืองเชียงใหม่และแถบพื้นที่ใกล้เคียงทาให้เกิดกลุ่มงานช่างเครื่องรักที่มี

ร่วมกับพิธีกรรมความเชื่อในวัฒนธรรมล้านนา

โดยเฉพาะ เทคนิคฮายลายฮายดอกโดยใช้เหล็ก

ที่ปรากฏเช่นกัน หลังจากนั้นในระยะต่อมาเกิดกลุ่มงานช่างเครื่องรักที่ยังคงสืบทอดจากช่างชาวไทเขินที่อพยพเข้า

แต่กลับผลิตเพื่อส่งขายให้กับกลุ่มคนทางภาค กลางรวมถึงแหล่งอื่น ๆ มีการปรับเปลี่ยนรูปทรงโครงสร้างของภาชนะให้สอดคล้องกับบริบทและเทคนิคลวดลาย

รวมถึงกลุ่มคนในพื้นที่ใกล้เคียงก็ปรับเปลี่ยนมาใช้งานเครื่องรักในรูปแบบอิทธิพลภาคกลางร่วมด้วยเช่นกันทาให้ เกิดการผสมผสานทางวัฒนธรรมการใช้งานเครื่องรักที่หลากหลายมากยิ่งขึ้น

ผู้คนก็เริ่มหมด ความสาคัญลง ทาให้รูปแบบและลักษณะของกลุ่มงานเครื่องรักในระยะหลังนี้ไม่ได้รับการพัฒนาต่อ

เอกชนมากยิ่งขึ้น จึงเกิดการศึกษางานเครื่องรักขึ้นอย่างเป็นระบบ

นิยมอย่างสูงโดยเฉพาะอย่างยิ่งในกลุ่มชนชั้นปกครอง กษัตริย์ เจ้านาย และชนชั้นสูง
ที่สามารถว่าจ้างให้ช่างผลิตสิ่งของเครื่องใช้ตามต้องการ
ทอดจากกลุ่มงานเครื่องรักในระยะแรกที่กล่าวมาแล้ว ที่ปรากฏเป็นเครื่องใช้สอยในวิถีชีวิตประจา วันรวมถึงใช้
อาจรวมไปถึงผู้มีฐานะร่ารวย
รูปแบบและลักษณะของงานเครื่องรักในระยะนี้ยังคงสืบ
แต่คงมีเทคนิคพิเศษในการประดับตกแต่งมากยิ่งขึ้นทาให้เกิด เทคนิคเฉพาะที่เป็นเอกลักษณ์ของงานเครื่องรักเมืองเชียงใหม่
แหลมขูดขีดบนผิวรัก (ดูรายละเอียดได้ดังที่กล่าวแล้วข้างต้น) การปั้นรักสมุก การกดแม่พิมพ์ลาย ก็เป็นอีกเทคนิค
มาในสมัยฟื้นฟูบ้านเมือง เกิดองค์ความรู้ด้านงานเครื่องรักที่สืบต่อจากรุ่นปู่ย่ามาสู่รุ่นลูกหลาน ที่ส่วนใหญ่เป็นงาน ที่ผลิตซ้าจานวนมาก ๆ และมีรูปแบบเป็นมาตรฐาน เนื่องด้วยกลุ่มงานเครื่องรักในช่วงเวลานี้เป็นที่นิยมในวงกว้าง ไม่จากัดอยู่เฉพาะเมืองเชียงใหม่หรือกลุ่มบ้านเมืองทางภาคเหนือ
ประดับที่รับอิทธิพลจากทางภาคกลาง โดยเฉพาะเทคนิคปิดทองลายรดน้า กลุ่มงานเครื่องรักเมืองเชียงใหม่ที่ผลิต ในช่วงเวลานี้มักปรากฏเป็นภาชนะใช้สอย เครื่องประดับ และของที่ระลึก เป็นต้น
เนื่องด้วยยังคงมีการใช้สอยในวิถีชีวิตของผู้คนในวัฒนธรรมล้านนา
นอกจากกลุ่มงานเครื่องรักทั้ง ๓ ระยะที่กล่าวมาเป็นลาดับแล้ว การผลิตงานเครื่องรักในเมืองเชียงใหม่ก็ ยังคงมีการสืบทอดมาจนถึงยุคปัจจุบัน ถึงแม้ว่ากลุ่มช่างที่ผลิตเริ่มมีจานวนลดน้อยลงก็ตาม เนื่องจากพลวัตทาง สังคมที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ความนิยมใช้เครื่องรักในการใช้สอยในวิถีชีวิตประจาวันของ
ส่วนมากผลิต ซ้าตามแบบแผนดั้งเดิมที่เรียนรู้และสืบทอดต่อกันมา ทายาทงานช่างเครื่องรักที่ยังมีการผลิตอยู่ต้องมีการปรับตัว ค่อนข้างสูงเพื่อให้กิจการอยู่รอด หรือบางรายต้องปิดกิจการลงโดยปริยาย ในเวลาต่อมาเกิดกระแสการโหยหาอดีต มากยิ่งขึ้นเกิดการรื้อฟื้นงานหัตถกรรมเครื่องรักเมืองเชียงใหม่ที่ได้รับการส่งเสริมและสนับสนุนจากทางภาครัฐและ
มีการรวบรวมข้อมูลและรูปแบบงานเครื่องรัก เมืองเชียงใหม่จากนักวิชาการ นักสะสมที่ชื่นชอบงานเครื่องรัก
อย่างไรก็ตามงานเครื่องรักในรูปแบบดั้งเดิมหรืองานรูปแบบพื้นบ้านก็ยังคงมีการผลิตร่วมด้วยเช่นกัน
ในขณะเดียวกันคนพื้นถิ่นในเมืองเชียงใหม่เอง
รายการอ้างอิง บทที่ ๔ I หนังสือภำษำไทย กรมการศึกษานอกโรงเรียน. (ม.ป.ป.). เครื่องเขิน. ม.ป.ท. วิถี พานิชพันธ์. (๒๕๖๑). เครื่องเขินในวัฒนธรรมล้านนา. เชียงใหม่: สานักส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. สุรพล ดาริห์กุล. (๒๕๖๑). ประวัติศาสตร์และศิลปะล้านนา. นนทบุรี: เมืองโบราณ. I ข้อมูลออนไลน์ ราชบัณฑิตยสถาน (ม.ป.ป.). ความหมายจาก พจนานุกรมแปล ไทย-ไทย ราชบัณฑิตยสถาน. เข้าถึงเมื่อ ๒๐ กันยายน ๒๕๖๕. เข้าถึงได้จาก https://dictionary.sanook.com/search/dict-th-th-royalinstitute/%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%81%E0%B8%AB%E0%B8%99% E0%B8%B0 I ข้อมูลออฟไลน์ ดิเรก อินจันทร์ (ผู้ปริวรรต). (๒๕๖๓). สัพพะตาราสล่าล้านนา (ภูมิปัญญาช่างจากคัมภีร์ใบลานและพับสา). เชียงใหม่: สานักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่.

องค์ความรู้ในการผลิตงานเครื่องรักเป็นต้นทุนเดิมอยู่แล้วจากรุ่นปู่ย่าที่อพยพย้ายถิ่นฐานเข้ามาในเมืองเชียงใหม่

ดังนั้นในการผลิตแต่ละขั้นตอนจึงสามารถทาได้อย่างเชี่ยวชาญ ในช่วงที่มีการเปลี่ยนผ่านจากการผลิตใช้ใน

ทาให้เกิดการปรับตัวของกลุ่มช่างเครื่องรักเมืองเชียงใหม่ขึ้น โดย การจัดแบ่งหน้าที่ในการผลิตแต่ละส่วนตามความเชี่ยวชาญ

วัว ที่เป็นสัตว์เลี้ยง แต่เป็นสาเนียงท้องถิ่นแต่เดิมของชาวไทเขินที่เรียกภาชนะเครื่องใช้ต่าง ๆ ที่อ่านออกเสียงตามสาเนียงว่า “โค”

บทที่ ๕ บริบทที่ปรับเปลี่ยนของงานเครื่องรักเมือง เชียงใหม่ จากที่ได้กล่าวมาบ้างแล้วในบทที่ ๒ ถึงบริบทที่ถูกปรับเปลี่ยนไปของงานเครื่องรักเมืองเชียงใหม่ หากงาน
จากการนาไปใช้สอยในชีวิตประจาวันโดยทั่วไป ทั้งรูปแบบธรรมดาของชาวบ้านไปจนถึงระดับงานเครื่องรักที่เน้น คุณภาพมีฝีมือดีเพื่อใช้สาหรับกษัตริย์ เจ้านายชนชั้นสูงของล้านนา และผู้มีบทบาททางสังคม เช่น พระสงฆ์ คหบดี หรือผู้มีฐานะร่ารวย ก็ล้วนแล้วแต่มีงานเครื่องรักเข้าไปเกี่ยวข้องแทบทั้งสิ้น จนนามาสู่การผลิตที่เป็นงานหัตถกรรม กึ่งอุตสาหกรรมขึ้นในช่วงเวลาต่อมา โดยกลุ่มช่างงานเครื่องรักในแต่ละท้องถิ่นในเมืองเชียงใหม่ เช่น บ้านวัวลาย๑ บ้านนันทาราม บ้านระแกง บ้านศรีปันครัว บ้านดอนปิน และบ้านดอนจั่น เป็นต้น
หัตถกรรมเครื่องรักยังคงมีผู้บริโภคอยู่อย่างต่อเนื่องการพัฒนาเปลี่ยนแปลงก็ย่อมมีตามมาเป็นลาดับด้วยเช่นกัน
ชุมชนดังกล่าวล้วนมีพื้นฐาน
ครัวเรือนมาสู่การผลิตเพื่อรับใช้สังคมในวงกว้าง
อาทิ บ้านศรีปันครัวมีทักษะในการขึ้นโครงจักสานและ การใช้ตอกไม้ไผ่ขดขึ้นรูป ชุมชนวัวลายและนันทารามนิยมจักสานโครงสร้างภาชนะรูปทรงต่าง ๆ และเคลือบผิว ตั้งแต่เคลือบแบบหยาบไปจนถึงเคลือบเงา รวมไปถึงการทาเคลือบด้วยสีแดงจากชาด (หาง) ด้วย บางชุมชนอย่าง ๑ สันนิษฐานว่าการเรียกชื่อเดิมของชุมชนบ้านวัวลายมีที่เรียกว่า “บ้านครัวลาย” หรือ “โคลาย” ซึ่งคาว่า “โค” ไม่ได้หมายถึง
หรือ “คัว, ครัว” เช่นเรียกงานเครื่องรักว่า “ครัวฮัก ครัวหาง” เป็นต้น และคนในรุ่นหลังคงเข้าใจคลาดเคลื่อนไปว่าแปลว่าวัวที่เป็น สัตว์เลี้ยง ในปัจจุบันบ้านวัวลายจึงเป็นที่รับรู้กันโดยทั่วไป ๒ ดูรายละเอียดได้ใน บทที่ ๒

คือ การเปลี่ยนแปลงทางการเมืองที่เกิดขึ้นในช่วงที่ล้านนาหรือเชียงใหม่ถูกผนวกเข้าให้เป็นส่วนหนึ่งของรัฐสยาม

และเป็นสิ่งข้องที่ใช้ประดับตกแต่งโดยไม่นิยมนามาใช้งานจริง คงมี เจตนาเพื่อแสดงถึงสถานภาพทางสังคม อีกทั้งยังบ่งบอกค่านิยมและรสนิยมของผู้ที่เป็นเจ้าของได้อีกด้วย

ปรับเปลี่ยนหน้าที่ใช้สอยและบางแบบอาจมีการสร้างลวดลายบนงานเครื่องรักที่มีลักษณะพิเศษเฉพาะ

แต่ถูก

บ้านระแกงก็มีช่างฝีมือที่เชี่ยวชาญในการขูดลาย (ฮายลาย) บนภาชนะเครื่องรัก นอกจากนี้บางชุมชนยังถนัดการ ขึ้นรูปด้วยการกลึงด้วยไม้แต่ไม่มีทักษะด้านการเคลือบผิวยางรัก เช่น ชุมชนช่างเคียน เป็นต้น กล่าวได้ว่าในช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ ๒ เป็นต้นมา สังคมโลกเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว จึงมีส่วนที่ เป็นผลกระทบต่อกลุ่มงานเครื่องรักเมืองเชียงใหม่ด้วยเช่นกัน วิถี พานิชพันธ์ (๒๕๕๘: ๑๗๙) กล่าวว่า ในสมัยที่ ประเทศต่าง ๆ ในเอเชียอาคเนย์ตกเป็นอาณานิคมของกลุ่มประเทศในตะวันตก ชาวเอเชียอาคเนย์เริ่มรู้จักกั บ “ของที่ระลึก” (souvenir) และรู้จักผลิตงานเครื่องเขินรูปทรงแปลก ๆ ต่างจากสิ่งที่เคยทาเป็นแบบแผนประเพณี มาแต่เดิม เพื่อสนองตอบใช้ในสังคมใหม่ เครื่องเขินจึงกลายเป็นของฝากสาหรับผู้ที่เคารพนับถือในต่างถิ่น หรือ เพื่อนฝูงจากแดนไกล๓ ด้วยเหตุนี้จึงทาให้งานเครื่องรักเมืองเชียงใหม่ถูกกระจายตัวในวงกว้างมากยิ่งขึ้น และนี่คง เป็นอีกหนึ่งปัจจัยที่ทาให้วัฒนธรรมงานเครื่องรักต้องปรับตัวตามไปด้วย ปัจจัยหลักสาคัญอีกประการหนึ่งที่ทาให้กลุ่มงานเครื่องรักเมืองเชียงใหม่เกิดการปรับเปลี่ยนอย่างรวดเร็ว
ในสมัยรัตนโกสินทร์ ทาให้ล้านนาตกอยู่ในสถานะที่เรียกว่า “มณฑลพายับ” ที่มีส่วนกลางคอยควบคุมดูแล ดังนั้น จึงเป็นเหตุทาให้รัฐสยามต้องส่งข้าราชการในระดับต่าง ๆ ขึ้นมาประจาการ เพื่อการบริหารบ้านเมืองในสมัยนั้น นอกจากนี้ยังมีกลุ่มพ่อค้า คหบดี นักธุรกิจ และชาวต่างชาติ ได้เข้ามาประกอบกิจการต่าง ๆ และได้มาอาศัยอยู่ใน แหล่งพื้นที่ ก่อให้เกิดการรับรู้ในวัฒนธรรมใหม่จากต่างถิ่น จึงมีผลต่อการปรับเปลี่ยนภาชนะข้าวของเครื่องใช้ต่าง ๆ ที่ผลิตจากงานเครื่องรักด้วยเช่นกัน ช่างเครื่องรักได้รู้จักการปรับปรุงรูปแบบทั้งสัดส่วน รูปทรง และพัฒนา คุณภาพควบคู่ไปกับการเลือกใช้เทคนิคที่ทันสมัยขึ้น เพื่อตอบโจทน์ตามความต้องการของตลาด มีการผลิตเป็นของ ที่ระลึก ออกแบบเชิงผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
จึงทาให้ บทบาทของงานเครื่องรักเมืองเชียงใหม่ต้องปรับเปลี่ยนไปตามยุคสมัย ช่างเครื่องรักเมืองเชียงใหม่ได้มีการพัฒนารูปแบบภาชนะหรือสิ่งของเครื่องใช้ต่าง ๆ ที่ใช้เป็นสินค้าทาง วัฒนธรรม วิถี พานิชพันธ์ ยังกล่าวอีกว่า ช่างเครื่องรักสมัยนั้นนิยมสร้างเลียนแบบเครื่องใช้หรือภาชนะแบบ ชาวตะวันตก อาทิ กล่องใส่อุปกรณ์เย็บผ้าซึ่งถือได้ว่าเป็นของที่ระลึกชุดแรก ๆ ที่ถูกสร้างขึ้น๔ ทั้งนี้ในระยะแรก รูปแบบภายนอกยังคงสร้างเลียนแบบหรือมีลักษณะคล้ายขันหมากที่ใช้อยู่กันโดยทั่วไปในวัฒนธรรมล้านนา
เช่น ลาย เถาองุ่น ลายลักษณะใบไม้แบบตะวันตก และนอกจากนี้ยังมีรูปสัญลักษณ์หรือตัวอักษรที่บ่งบอกถึงที่มาของเจ้าของ ๓ วิถี พานิชพันธ์ (๒๕๕๘). เครื่องเขินในเอเชียอาคเนย์ Lacquerware in Southeast Asia เชียงใหม่: กลุ่มหน่อศิลป์. ๑๗๙ ๔ เรื่องเดิม. ๑๘๑

แต่กลับเป็นช่างเครื่องรักของเชียงใหม่

นอกจากรูปทรงของภาชนะที่ดูแปลกตาจากคนในท้องถิ่นแล้วลวดลายในการประดับก็ มีการปรับประยุกต์เพื่อให้สอดคล้องกับความนิยมของคนทางภาคกลางด้วยเช่นกัน

คุ้นเคยนักจึงทาให้ลักษณะลายไทยที่ปรากฏดูไม่ลงตัวหากเทียบกับลวดลายต้นแบบ แต่อย่างไรก็ตามถือได้ว่าเป็น จุดเปลี่ยนครั้งสาคัญและเป็นการปรับตัวของช่างเครื่องรักเมืองเชียงใหม่ให้ตามยุคตามสมัยและสังคมที่บริโภค นอกจากขันน้าพานรองแล้วยังปรากฏภาชนะรูปทรงอื่น

จึงทา

ให้งานเครื่องรักเมืองเชียงใหม่ต้องพยายามปรับเปลี่ยนเทคนิควิธีการต่าง ๆ โดยเฉพาะเทคนิคใหม่ที่ได้รับอิทธิพล

สิ่งนั้น ซึ่งดูแตกต่างจากลวดลายบนงานเครื่องรักแบบดั้งเดิม อีกทั้งยังผลิตเป็นกระเป๋าถือที่ใช้ใส่ยาหรือสิ่งของ กระจุกกระจิกต่าง ๆ ที่เลียนแบบรูปทรงของกระเป๋าหนังแบบชาวยุโรปอีกด้วย ด้วยการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจึง ปรากฏกลุ่มงานเครื่องรักที่มีรูปทรงและลวดลายประดับแปลกตาอีกมากมาย ยกตัวอย่างเช่น ขันหมากที่ประดิษฐ์ ลวดลายเป็นรูปสิบสองนักษัตร (ลายสิบสองราศี) ที่มีความนิยมในช่วงสมัยครูบาเจ้าศรีวิชัย นอกจากขันหมากแล้ว ลายสิบสองราศียังปรากฏบนภาชนะรูปทรงอื่น ๆ อีกด้วย ตัวอย่างที่แสดงให้เห็นถึงอิทธิพลและความนิยมจากทางภาคกลางของประเทศไทย คือ ขันน้าพานรอง ที่ ประกอบไปด้วยส่วนพาน ขันใส่น้า (รูปทรงคล้ายสลุงของล้านนา) ฝาครอบ และขันขนาดเล็ก ซึ่งส่วนของพานจะมี ลักษณะเตี้ยใช้รองรับส่วนขัน ส่วนประกอบต่าง ๆ จะมีสัดส่วนและรูปทรงด้านนอกที่รับกันทั้งหมด ขันน้าพานรอง เป็นเครื่องใช้ที่นิยมเฉพาะของคนทางภาคกลางไม่นิยมในวัฒนธรรมล้านนา
ที่เป็นผู้ผลิตสินค้าประเภทนี้
โดยเฉพาะอย่างยิ่งการใช้ ลวดลายไทย (ลวดลายศิลปะรัตนโกสินทร์) เข้ามาประดับตกแต่ง เช่น ลายกระหนกก้านคด ลายกระหนกเปลว ลายเทพนม ลายกระจัง ลายประจายามก้ามปู ลายประจายามก้ามปูลูกฟัก รวมไปถึงลวดลายดอกไม้ประดิษฐ์ต่าง ๆ เป็นต้น ช่างที่ประดับลวดลายคงใช้วิธีจดจารูปแบบลายไทยจากช่างทางภาคกลาง แต่ด้วยเป็นรูปแบบที่ไม่
ๆ ที่เกี่ยวข้องกับวัฒนธรรมทางภาคกลาง เช่น กระโถน ปากแตร พานแว่นฟ้า กระโถนน้าหมาก เป็นต้น ด้วยการไหลทะลักของวัฒนธรรมใหม่ที่มีความหลากหลายผนวกกับความต้องการที่มีอยู่อย่างสูงขึ้น
จากทางภาคกลาง คือ เทคนิคลายรดน้า ที่ต้องวาดตัดเส้นและถมพื้นด้วยน้ายาหรดาล เช็ดด้วยยางรักปิดด้วยแผ่น ทองคาเปลว จากนั้นจึงนาไปล้างหรือรดด้วยน้า เทคนิคประดับตกแต่งดังกล่าวคงมีอิทธิพลให้กับงานประดับใน ศิลปะล้านนามาก่อนแล้วเมื่อราวต้นถึงกลางพุทธศตวรรษที่ ๒๔ เป็นต้นมาแต่ยังคงไม่แพร่หลายมากนัก ตัวอย่าง งานเทคนิคลายรดน้าที่สาคัญในล้านนาคือ ภาพลายคาเล่าเรื่องพุทธประวัติประดับผนังภายในวิหารวัดปราสาท เมืองเชียงใหม่ พ.ศ. ๒๓๖๖๕ และในช่วงเวาลาต่อมาก็เริ่มแพร่หลายไปสู่งานช่างเครื่องรักที่ผลิตให้เฉพาะกษัตริย์ ๕ ประวัติวิหารวัดปราสาทมีหลักฐานอยู่ในบันทึกของพระยาหลวงสามล้านที่กล่าวว่าเป็นผู้สร้างวิหารวัดปราสาทขึ้นในปี พ.ศ. ๒๓๖๖ สอดคล้องกับหลักฐานอักษรธรรมล้านนาที่ปรากฏอยู่บนฝาผนังด้านทิศใต้ของวิหาร ความว่า “สร้างเมื่อ จศ. ๑๑๘๕ ตัวปี ฉลู สนากัมโพชทีไกร” ดูเพิ่มเติมได้ที่ สุรพล ดาริห์กุล. (๒๕๖๔). ลายคาล้านนา. พิมพ์ครั้งที่ ๒ (ปรับปรุงใหม่). นนทบุรี: เมือง โบราณ. ๙๔

เจ้านายชนชั้นสูง จะเห็นได้ว่าเครื่องใช้สาหรับบุคคลชั้นสูงเหล่านี้ล้วนมีการประดับด้วยทองคาเปลวแทบทั้งสิ้น ๖ เนื่องด้วยระเบียบต่าง ๆ เริ่มคลี่คลายลงจึงทาให้งานที่ประดับด้วยทองคาเปลวมีปรากฏมากยิ่งขึ้นในกลุ่มบุคคล ทั่วไปไม่เฉพาะแต่ชนชั้นสูงเท่านั้น ด้วยความสวยงามดูหรูหรามีรสนิยมจึงทาให้งานเครื่องรักลายทองมีความนิยม

นี่จึงเป็นจุดเปลี่ยนแปลงครั้งสาคัญของงานเครื่องรักเมืองเชียงใหม่ในช่วงเวลาต่อมา กล่าวคือ มีการ

จึงทาให้เกิดกลุ่มผู้ผลิตจานวนมากและเกิดการสร้างงานสร้างรายได้ให้แก่ชาวบ้านที่แต่เดิมไม่ได้เป็นช่างเครื่องรัก

เริ่มมีจานวนลดน้อยลงอย่างมาก จึงทาให้ส่วนกลางทางภาครัฐเล็งเห็นความสาคัญและได้จัดตั้งศูนย์ส่งเสริม

พ.ศ. ๒๔๖๙๗ เพื่อเพิ่มศักยภาพและพัฒนาทักษะรวมถึงคุณภาพงานเครื่อง รักเมืองเชียงใหม่ให้ดียิ่งขึ้น ขณะเดียวกันถือเป็นการส่งเสริมสนับสนุนกลุ่มงานช่างเครื่องรักให้สามารถเรียนรู้และ ปรับประยุกต์เทคนิควิธีการใหม่ ๆ ได้ จนเกิดกลุ่มช่างที่สามารถพัฒนาสินค้าของตนเองให้มีเอกลักษณ์ที่แตกต่าง

ถึงแม้ความนิยมงานเครื่องรักในปัจจุบันเริ่มลดลงด้วยกระแสความเปลี่ยนแปลง ความทันสมัยทางด้าน

เทคโนโลยีและความนิยมวัสดุสมัยใหม่เริ่มเข้ามามีบทบาทแทนที่อย่างมากในสังคม จึงทาให้งานเครื่องรักเริ่มซบ

เซาลง แต่ถึงอย่างไรก็ตามการผลิตงานเครื่องรักเมืองเชียงใหม่ก็ยังคงดาเนินอยู่ต่อไป

ปรับเปลี่ยนวัสดุและวัตถุดิบหลักที่ใช้
เพิ่มกาลังผลิตเน้นปริมาณเป็นสาคัญ ทาให้คุณภาพของงานเครื่องรักลดลงตามไปด้วย จากกระแสความนิยมใน สังคมใหม่และการผลิตที่ต้องเร่งรัดให้ทันกับตลาดเชิงวัฒนธรรมที่ต้องการ จึงเกิดการสร้างระบบในแบบ อุตสาหกรรมเครื่องรักขึ้นในเชียงใหม่ มีระบบการจัดการ การผลิต การตลาด และการส่งออกจัดจาหน่ายเกิดขึ้น
ตั้งแต่ต้น แต่ด้วยขั้นตอนการผลิตที่ปรับเปลี่ยนและมีกระบวนการซ้า ๆ ไม่ซับซ้อนช่างชาวบ้านจึงสามารถปฏิบัติได้ แต่หากเป็นขั้นตอนการตกแต่งลวดลายบนงานเครื่องรักจาเป็นอย่างยิ่งที่ต้องใช้ช่างที่เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน เช่น ช่าง เขียนลายรดน้าปิดทอง และ ช่างขูดลาย เป็นต้น ด้วยงานเครื่องรักเมืองเชียงใหม่เดินทางมาถึงจุดที่ช่างฝีมือที่เชี่ยวชาญเฉพาะด้านมีจานวนไม่เพียงพอและ
สูงมากยิ่งขึ้น
รวมถึงการผลิตที่ลัดขั้นตอนจากแบบดั้งเดิมบางอย่างลงเพื่อให้รวดเร็วและ
อุตสาหกรรมจังหวัดเชียงใหม่ขึ้นในปี
เป็นที่สนใจของผู้บริโภค
โดยเฉพาะกลุ่มช่างที่ยังใช้
และด้วยในปัจจุบันการหวนคืนสู่กระแสวัฒนธรรมดั้งเดิมหรือวัฒนธรรมท้องถิ่นเริ่มให้ความสาคัญมากขึ้น จึงเกิด คาว่า “ต้นทุนทางวัฒนธรรม” ที่เป็นโจทย์สาคัญให้เกิดการศึกษา สืบสาน พัฒนา และการนาองค์ความรู้เดิมไป ต่อยอดให้เกิดสิ่งใหม่ ๆ ขึ้น งานเครื่องรักเมืองเชียงใหม่ก็เป็นอีกหนึ่งในองค์ความรู้เหล่านั้นที่ถูกพัฒนาด้วยเช่นกัน ๖ กล่าวมาแล้วในบทที่ ๔ เทคนิคลวดลายประดับตกแต่ง และรูปแบบลักษณะงานครูช่างเครื่องรักเมืองเชียงใหม่ (หัวข้อย่อยที่ ๓ การปิดทองคาเปลว) ๗ เดิมเรียกโรงงานเครื่องเขินเมืองเชียงใหม่ และต่อมาปรับเป็นศูนย์ส่งเสริมงานหัตถกรรมภาคเหนือ ดูใน วิถี พานิชพันธ์. (๒๕๖๑). เครื่องเขินในวัฒนธรรมล้านนา. เชียงใหม่: สานักส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ๑๒๕
ประกอบเป็นอาชีพหลักหรืออาชีพเสริมที่สามารถยืนหยัดสืบสานงานหัตถกรรมเครื่องรักให้คงอยู่ได้จนถึงทุกวันนี้

ผู้บริโภคที่มีความชื่นชอบและหลงไหลในความงดงามของงานเครื่องรักแบบดั้งเดิม

นอกจากนี้ยังมีการสร้างสรรค์ให้เป็นผลงานเครื่องรักที่เรียกว่าเครื่อง รักร่วมสมัยอีกด้วย จะเห็นได้ว่าบริบทของงานเครื่องรักเมืองเชียงใหม่ที่ถูกปรับเปลี่ยนมาในแต่ละช่วงที่กล่าวมาแล้วนั้น

จากการศึกษาอย่างเป็นระบบที่มีมากขึ้นในปัจุบันและด้วยกระแสการโหยหาอดีตและวัฒนธรรมดั้งเดิมที่ ได้รับการเผยแพร่ในทุก ๆ มิติ จนนาไปสู่กระแสความนิยมอีกครั้งในปัจจุบันถึงแม้จะมีเฉพาะบางกลุ่มเท่านั้น แต่นี่ ก็เป็นสัญญาณหนึ่งที่ทาให้งานเครื่องรักไม่ตายไปจากสังคมและคนรุ่นใหม่ จึงเกิดกลุ่มคนรุ่นใหม่ทั้งที่เป็นผู้ผลิตและ
โดยมีการศึกษาเทคนิควิธีการ แบบโบราณจากของเก่าที่ปัจจุบันได้เปลี่ยนสถานะเป็นของสะสมราคาแพงในกลุ่มคนที่หลงไหล เกิดการทดลอง ผลิตสร้างขึ้นใหม่ให้ใกล้เคียงของเดิมมากที่สุด
มี ความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับการเปลี่ยนแปลงของสังคม วิถีชีวิต และวัฒนธรรมของผู้คนอยู่ตลอดเวลา สิ่ง ๆ หนึ่งที่ เคยเป็นที่นิยมในอดีตกลับโดนลดความนิยมลงในเวลาต่อมา หรือในทางกลับกันสิ่ง ๆ นั้นก็อาจกลับมามีบทบาทขึ้น ใหม่ในสังคมยุคปัจจุบันก็เป็นได้ ดังเกิดขึ้นแล้วในปัจจุบัน

I หนังสือภาษาไทย วิถี พานิชพันธ์. (๒๕๕๘). เครื่องเขินในเอเชียอาคเนย์ Lacquerware in Southeast Asia. เชียงใหม่: กลุ่ม

หน่อศิลป์.

__________. (๒๕๖๑). เครื่องเขินในวัฒนธรรมล้านนา. เชียงใหม่: สานักส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม

รายการอ้างอิง บทที่
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ๑๒๕. สุรพล ดาริห์กุล. (๒๕๖๔). ลายคาล้านนา. พิมพ์ครั้งที่ ๒ (ปรับปรุงใหม่). นนทบุรี: เมืองโบราณ.

บทที่ ๖

กลุ่มครูช่างเครื่องรักเมืองเชียงใหม่ในปัจจุบัน

จากอดีตที่กลุ่มช่างได้อพยพย้ายถิ่นฐานเข้ามาอาศัยอยู่ที่เมืองเชียงใหม่รวมถึงอาศัยตามแหล่งพื้นที่

ใกล้เคียง ในยุคที่มีการฟื้นฟูบ้านเมืองอีกครั้ง

โดยเฉพาะด้านงานเครื่องรักจนได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์จากพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

ได้ดาเนินการบูรณะปฏิสังขรณ์พระวิหารวัดพระธาตุดอยสุเทพโดยมอบหมายให้หนานซาว

เนื่องด้วยเป็นผู้ที่ได้ทาของวิเศษอันไม่สามารถ

“เครื่องเขิน”เป็นที่มาจากชื่อกลุ่มคนที่มาอาศัยอยู่คือชาวไทเขิน

ก่อเกิดชุมชนงานช่างที่สาคัญเรียกว่า “บ้านเขิน” ที่ยังคงมีการสืบ ทอดงานหัตถกรรมเครื่องรัก หรือ เครื่องเขิน๑ จากรุ่นบรรพบุรุษมาสู่รุ่นลูกหลานอยู่อย่างต่อเนื่อง ช่างเครื่องรักคน สาคัญท่านหนึ่งของเมืองเชียงใหม่ในอดีต คือ “พ่อหนานซาว” หรือ ท้าววิเศษบุญสูง ส่วนใหญ่รู้จักกันในนาม หนานซาว ไชยวงศ์๒ มีต้นสกุลเป็นชาวไทเขิน บ้านนันทาราม (บ้านเขิน) ที่มีทักษะฝีมือทางเชิงช่างที่ดีเยี่ยม
รัชกาลที่ ๕ ในราชวงศ์จักรี เมื่อพ.ศ. ๒๔๓๔๓ ในคราวที่เจ้าอินทวิชยานนท์ เจ้าหลวงเมืองเชียงใหม่ ลาดับองค์ที่ ๗ แห่งราชวงศ์ทิพย์จักร
ไชยวงศ์ เป็นผู้ดาเนินการปิดทองประดับช่อฟ้าป้านลมของพระวิหาร
มีใครทาได้และอยู่สูงสุดคือดอยสุเทพ๔ จึงได้รับพระราชทานนามและบรรดาศักดิ์ดังที่กล่าว นอกจากนี้ท่านยังได้ ฝากฝีมือผลงานเครื่องรักเอาไว้เป็นพุทธบูชาจานวนมาก เช่น ตู้พระธรรม ขันโอขนาดใหญ่ พานรอง ซึ่งปัจจุบันถูก ๑
สิบสองพันนา ทางตอนใต้ของจีน ๒
กับแม่อุ้นก๋อง) และแม่ตาเขียว (รูปพ่ออุ้ยหนานใจ กับแม่อุ้ยดวง) มี พี่น้องร่วมกัน ๑๐ คน ๓ ได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์จากพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็น “ท้าว” ถือศักดินา ๔๐๐ ไร่ ๔ ข้อมูลบันทึกและภาพถ่ายจากบ้านแม่ครูประทิน ศรีบุญเรือง ที่ระบุว่า ข้อมูลจาก พระครูอดุลสีลกิตติ์ เจ้าคณะตาบลหายยา
เป็นบุตรของพ่อหนานไชยวงศ์ (ลูกของพ่ออุ้ยหนานธรรมวงศ์

เป็นได้๗ (?) อีกประการหนึ่งในสมัยอดีตบุคคลที่จะได้ถูกบันทึกด้วยภาพถ่ายเอาไว้คงต้องเป็นบุคคลที่มีความสาคัญ

ในระยะเวลาต่อเนื่องกันนี้งานเครื่องรักของเมืองเชียงใหม่คงเป็นที่นิยมในสังคมค่อนข้างสูง

ประเด็นนี้ผู้เขียนได้ตั้งข้อสังเกตและเปรียบเทียบบุคลิกลักษณะจากรูปภาพดังกล่าวกับภาพถ่ายอีกภาพหนึ่งที่มีการระบุข้อมูลว่า คือหนานซาว และได้ตรวจสอบเทียบเคียงช่วงอายุเวลาที่ภาพถูกถ่ายกับช่วงอายุของบุคคลในภาพ

เก็บรักษาไว้เป็นอย่างดีที่วัดศรีเกิด อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่๕ ท้าววิเศษบุญสูง เป็นช่างเครื่องรักฝีมือดีที่ได้รับ การยกย่องและถูกขนานนามในวงการช่างหัตถกรรมเครื่องรักด้วยกัน และคงมีอิทธิพลไม่มากก็น้อยในกลุ่มงาน หัตถกรรมดังกล่าวอีกด้วย อนึ่งได้ปรากฏภาพถ่ายสาคัญที่ถ่ายด้วยฟิล์มกระจก โดย หลวงอนุสานสุนทรกิจ ๖ ได้ บันทึกภาพกลุ่มช่างเครื่องรักของเมืองเชียงใหม่ทั้งบุรุษและสตรีเอาไว้ (ดูภาพในบทที่ ๒ หน้า ๐๐ ภาพบน) ที่ ผู้เขียนได้ตั้งข้อสังเกตเกี่ยวกับบุคคลหนึ่งที่อยู่ภายในภาพถ่ายดังกล่าวซึ่งดูมีอายุมากกว่าบุคคลอื่น ๆ แสดงท่าทาง เหมือนกาลังขูดขีดลวดลายลงบนผิวภาชนะเครื่องรัก ซึ่งน่าจะเป็นท้าววิเศษบุญสูง หรือหนานซาว ไชยวงศ์ ก็
อย่างยิ่งในช่วงเวลานั้น
จึงทาให้กลุ่ม
หนึ่งในนั้นคือครอบครัว วิชัยกุล โดยมีนางจันทร์เป็ง วิชัยกุล๘ เป็นผู้บุกเบิกสาคัญและได้พัฒนางานเครื่องรักของเมืองเชียงใหม่จนเป็นที่ ยอมรับทั้งในและต่างประเทศ นอกจากนี้นางจันทร์เป็ง วิชัยกุล ยังถือเป็นครูภูมิปัญญาที่ถ่ายทอดให้กับกลุ่มช่าง หัตถกรรมเครื่องเขินที่ในปัจจุบันยังคงประกอบอาชีพนี้อยู่ ๕ ข้อมูลจาก ปรีชา ปวนลุน สัมภาษณ์เมื่อวันที่ ๑๙ ธันวาคม ๒๕๖๕ และยังกล่าวให้ข้อมูลเพิ่มเติมอีกว่า พ่อท้าว (หนานซาว) ได้ ผลิตครัวเขิน และตู้พระ ตู้ธรรม ที่ปรากฏชื่อของท่านจารึกติดไว้ และในภายหลังพ่อท้าว (หนานซาว) ได้เสียชีวิตลงลูกหลานจึงได้ นาสิ่งของที่ผลิตขึ้นจากงานเครื่องรักต่าง ๆ มาอุทิศถวายให้พ่อท้าวและเก็บรักษาไว้ที่วัดแห่งนี้อีกด้วย ๖ สมโชติ อ๋องสกุล, พรรณิศา นิมานเหมินท์ และนรรัตน์ พุ่มไพศาลชัย, กองบรรณาธิการ. (๒๕๖๒). ภาพถ่ายฟิล์มกระจกเมือง เชียงใหม่ โดย หลวงอนุสานสุนทรกิจ. ม.ป.ท.: บริษัทสุเทพจากัด. ๖๒. ๗
ซึ่งมีความเป็นไปได้ค่อนข้างสูง อย่างไรก็ตามต้องมีการตรวจสอบให้ชัดเจนต่อไป ๘ ดูข้อมูลเพิ่มเติมได้ใน กรมการศึกษานอกโรงเรียน. (ม.ป.ป.). เครื่องเขิน. ม.ป.ท. ๒๕๕-๒๖๑
งานฝีมือดังกล่าวได้มีพัฒนาการมาโดยลาดับจนสร้างให้เกิดเป็นธุรกิจของครอบครัวในที่สุด

ม.ป.ท. ๒๕๖.) ราวปี พ.ศ. ๒๕๐๐ เป็นต้นมาเกิดการก่อตั้งกลุ่มเครือข่ายงานช่างเครื่องรักเมืองเชียงใหม่ขึ้นในแหล่ง

ช่างที่ผลิตงานเครื่องรักได้รับการฝึกฝนฝีมืออย่างต่อเนื่องจนเกิดทักษะเฉพาะตนที่เป็นเอกลักษณ์จนนามาสู่การ

เครื่องรักให้แก่บุคคลโดยทั่วไปรวมถึงแหล่งสถาบันทางการศึกษาโดยเฉพาะระดับอุดมศึกษาที่บางสถาบันจัดให้มี

นางจันทร์เป็ง วิชัยกุล ผู้สืบทอดงานเครื่องรักเมืองเชียงใหม่ต่อจากบิดามารดา และเป็นผู้ถ่ายทอดให้แก่กลุ่มช่างในปัจจุบัน (ที่มา: กรมการศึกษานอกโรงเรียน. (ม.ป.ป.). เครื่องเขิน.
ชุมชนเดิมที่เป็นแหล่งผลิตงานหัตถกรรมเหล่านี้ ส่วนใหญ่คือกลุ่มช่างที่ได้เรียนรู้สืบทอดจากนางจันทร์เป็ง วิชัยกุล
รูปแบบและเทคนิควิธีการให้สอดคล้องกับความต้องการตามสมัยนิยม
การเรียนการสอนรายวิชาเครื่องรัก เครื่องเขิน หรือรายวิชาที่เกี่ยวข้องกับภูมิปัญญาดังกล่าว ถือเป็น อีกช่องทาง หนึ่งของการสืบสานภูมิปัญญางานเครื่องรักเมืองเชียงใหม่ กลุ่มครูช่างที่ยังคงสืบสานงานหัตถกรรมเครื่องรักเมืองเชียงใหม่และยังคงประกอบเป็นอาชีพอิสระอยู่ ประกอบด้วยจานวน ๖ ท่านที่โดดเด่น ดังนี้
ประกอบเป็นอาชีพเพื่อสร้างรายได้ เกิดเป็นแหล่งชุมชนเศษฐกิจทางวัฒนธรรมขึ้น กลุ่มช่างเหล่านี้ได้พัฒนา
นอกจากนี้ยังร่วมถ่ายทอดองค์ความรู้งาน

ดวงกมล ใจคาปัน

วัน เดือน ปีเกิด: ๔ กันยายน ๒๔๙๒ อายุ ๗๓ ปี

ที่อยู่ปัจจุบัน: ๑๖/๖ ถ.นันทาราม ซ.๕ก ต.หายยา

อ.เมือง จ.เชียงใหม่

เบอร์โทรศัพท์: ๐๘๔-๕๐๓๗๕๔๙

ID Line: ๐๘๔-๕๐๓๗๕๔๙

อาชีพปัจจุบัน:

พ.ศ. ๒๕๕๒ ร่วมแสดงผลงานในนิทรรศการศิลปกรรมสล่าล้านนา

แล้วนายางรัก ที่ผสมกับสีชาดถมลงไปในร่องที่กรีดไว้

วิชาความรู้: หัตถกรรมเครื่องเขิน
- ประถมศึกษา โรงเรียนเทศบาลวัดศรีสุพรรณ จ.เชียงใหม่ - มัธยมศึกษา โรงเรียนนันทศึกษา อ.เมือง จ.เชียงใหม่ ประวัติการทางาน - เริ่มทาเครื่องเขินตั้งแต่ปี
จนถึงปัจจุบัน -
ตามฮีตโตยฮอยสล่าเมือง ณ หอนิทรรศการศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ - พ.ศ. ๒๕๕๖ ครูผู้สอนการฝึกอบรม เรื่อง การทาหัตถกรรมเครื่องเขิน ภายใต้โครงการยกระดับชุมชน วัวลายเพื่อการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ การเรียนรู้ สืบทอดจากพ่อแม่ บรรพบุรุษ และต่อยอดจากศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรม องค์ความรู้เครื่องรัก องค์ความรู้เครื่องรัก สืบทอด-เผยแผ่องค์ความรู้ ภูมิปัญญาล้านนา ขั้นตอนการผลิต เครื่องเขิน การขึ้นรูปและทารัก ขูดลาย เขียนลาย การถ่ายทอดองค์ความรู้ ถ่ายทอดขั้นตอนการขึ้นรูปและทารัก ขูดลาย เขียนลายเครื่องเขินล้านนา
เมื่อขัดแล้วจะมองเห็นเส้นลวดลายสีแดงฝังอยู่ใน พื้นดา เนื้อหาที่ถ่ายทอด การจักตอกไม้ไผ่, การขึ้นรูปภาชนะด้วยตอกไม้ไผ่โดยวิธีการขดหรือสาน, การทารักรอง
ช่างทาเครื่องเขิน
ประวัติการศึกษา:
พ.ศ. ๒๕๒๐

๗. พ.ศ. ๒๕๕๙

๘ พ.ศ. ๒๕๖๑

๙ พ.ศ. ๒๕๖๑

๑๐. พ.ศ.๒๕๖๒ ชนะเลิศอันดับ

๑๑ พ.ศ.๒๕๖๓

พื้น และเทคนิคการทาให้ยางรักแห้ง, การพอกสมุกรัก และการขัดให้เรียบ, การขูดลาย เขียนลาย, การทาชาด บนลวดลายที่ขูด และเทคนิคการใช้กระดาษทรายน้าละเอียดทา ความสะอาดผลงาน รางวัลเกียรติคุณที่ได้รับ ๑ พ.ศ. ๒๕๔๖ รางวัลรองชนะเลิศอันดับ ๒ ประเภทของใช้ตกแต่งบ้าน โครงการส่งเสริมและต่อยอดภูมิ ปัญญาไทยหัตถกรรมเครื่องเขิน จากกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม ๒ พ.ศ. ๒๕๔๗ รางวัลอันดับ ๑ ประเภทเครื่องเขิน “ขันโตก” โครงการส่งเสริมและต่อยอดภูมิปัญญา ไทยหัตถกรรมเครื่องเขิน จากกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม ๓. เกียรติบัตรภูมิปัญญาท้องถิ่นดีเด่น ประเภทหัตถกรรม (เครื่องเขิน) จากศูนย์บริการการศึกษานอก โรงเรียนอาเภอเมืองเชียงใหม่ ๔ พ.ศ. ๒๕๕๒ รางวัล OTOP ๒ ดาว ประเภทของใช้ตกแต่งบ้าน ๕ พ.ศ. ๒๕๕๓ รางวัล OTOP ๓ ดาว ประเภทของใช้ตกแต่งบ้าน ๖ พ.ศ. ๒๕๕๘ โล่เชิดชูเกียรติ “ครูศิลป์ของแผ่นดิน”ประจาปี ๒๕๕๘ จากศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่าง ประเทศ (องค์การมหาชน)
เกียรติบัตร ภูมิแผ่นดินปิ่นล้านนา ประจาปี ๒๕๕๙ สาขาหัตถกรรมพื้นบ้าน จาก มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ภูมิแผ่นดิน ถิ่นล้านนา ๒๕๕๙ , เพชรราชภัฏ-เพชรล้านนา
เพชรราชธานี
๑ กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม ร่วมกับ กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน ๑
รางวัลเชิดชูเกียรติ นครเชียงใหม่เมืองสร้างสรรค์ขององค์การยูเนสโก ด้านหัตถกรรม และศิลปะพื้นบ้าน ภาพผลงานของครู

ประทิน ศรีบุญเรือง

วัน เดือน ปีเกิด: ๑๐ สิงหาคม ๒๕๐๓ อายุ ๖๒ ปี

ที่อยู่ปัจจุบัน: ๑๐๑ ถนนนันทาราม ต.หายยา

อ.เมืองเชียงใหม่ จ.เชียงใหม่ ๕๐๑๐๐

เบอร์โทรศัพท์: ๐๙๘-๗๙๖๙๘๔๙

E-mail: prathin๐๙๘๗๙๖๙๘๔๙@gmail.com อาชีพปัจจุบัน: ค้าขาย

วิชาความรู้:
- ประถมศึกษา โรงเรียนเทศบาลวัดศรีสุพรรณ จ.เชียงใหม่ - มัธยมศึกษา โรงเรียนวัฒโนทัยพายัพ จ.เชียงใหม่ ประวัติการทางาน - ทางานบริษัทปรุงยาที่กรุงเทพมหานคร - ทางานด้านเครื่องเขิน มาเป็นระยะเวลากว่า ๓๐ ปี โดยได้ศึกษาเรียนรู้ และคลุกคลีกับเครื่องเขิน ล้านนาตั้งแต่ ๗ ขวบ และได้สืบทอดความรู้จากพี่สาว แม่ครูประเทือง สมศักดิ์ ครูศิลป์ของแผ่นดิน สาขาเครื่องรัก - ออกงานจัดแสดงสินค้าศิลปหัตถกรรมที่ได้รับเชิญจากหน่วยงานของรัฐและเอกชนทั่วประเทศ - เข้าร่วมการอบรมหลักสูตรการอบรมพัฒนาศักยภาพบุคลากรด้าน การผลิต และการบริโภคที่ยั่งยืน การเรียนรู้ เรียนรู้จากพ่อแม่ และพี่สาวที่เป็นครูช่าง องค์ความรู้เครื่องรัก การขูดลาย เขียนชาด ลายรดน้า การถ่ายทอดองค์ความรู้ เข้าไปเรียนรู้กับแม่ครู ณ สถานที่แม่ครุทางาน เนื้อหาที่ถ่ายทอด การทาเครื่องเขินล้านนา โดยเทคนิควิธีการแบบโบราณ รางวัลเกียรติคุณที่ได้รับ
หัตถกรรมเครื่องเขิน ประวัติการศึกษา:
๑. รางวัลครูช่างศิลปหัตถกรรม ประจาปี ๒๕๕๙ จากศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ (องค์การ มหาชน) ๒ เป็นศิลปิน OTOP ประเทืองเครื่องเขิน ประจาปี ๒๕๖๔ จ.เชียงใหม่ ๓ เป็นครูช่างของศูนย์ศิลปาชีพ จ.เชียงใหม่ ภาพผลงานของครู

E-mail: Sasitron_mk@hotmail.com

ID Line: Pai๗๙๗๑

ปีเกิด:
มิถุนายน ๒๔๙๗
๑๖๕ ม.๑๒ ต.เชิงดอย อ.ดอยสะเก็ด จ.เชียงใหม่ ๕๐๒๒๐
ศศิธร มงคลเรืองฤทธิ์ วัน เดือน
๑๑
ที่อยู่ปัจจุบัน:
เบอร์โทรศัพท์: ๐๘๑๑๑๑๙๓๙๕
ช่างทาเครื่องเขิน / ค้าขาย
ประถมศึกษาปีที่ ๖ ประวัติการทางาน แม่ครูภูมิปัญญาเครื่องเขิน การเรียนรู้ สืบสารจากบรรพบุรุษ องค์ความรู้เครื่องรัก การลงรัก, เครื่องรักเครื่องเขิน การถ่ายทอดองค์ความรู้ เครื่องเขิน เนื้อหาที่ถ่ายทอด งานภูมิปัญญาเครื่องเขิน รางวัลเกียรติคุณที่ได้รับ ๑. ประกาศเกียรติคุณยกย่องเชิดชูเกียรติเป็นครูช่างหัตถศิลป์ ประจาปี ๒๕๕๕ ๒ เกียรติบัตรแสดงว่า ผลิตภัณฑ์โคมไฟเครื่องเขินลงรักของกลุ่มเครื่องเขินเชิงดอย (จุฑามาศ) ได้ผ่าน กระบวนการคัดสรรสุดยอดหนึ่งตาบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ของประเทศไทย ระดับสามดาว โดยเทศบาลตาบล เชิงดอย ปี พ.ศ.๒๕๕๓ ๓ เกียรติบัตรรับรองการผ่านฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ การพัฒนาผู้ประกอบการวิสาหกิจชุมชน โดยกรม ส่งเสริมอุตสาหกรรม ปี พ.ศ. ๒๕๔๗ ๔ รางวัลที่ ๑ การประกวดผลิตภัณฑ์เครื่องเขิน ประเภทลายชุด ประจาปี ๒๕๒๒ โดย กรมส่งเสริม อุตสาหกรรม
อาชีพปัจจุบัน:
ประวัติการศึกษา:

ภาพผลงานของครู

พัชรา ศิริจันทร์ชื่น

วัน เดือน ปีเกิด: ๑๓ กันยายน ๒๕๔๙

ที่อยู่ปัจจุบัน: ๘๖ ถ.นันทาราม ต.หายยา อ.เมือง จ.เชียงใหม่

เบอร์โทรศัพท์: ๐๘๖-๙๑๖๑๔๒๔

อาชีพปัจจุบัน: เจ้าของกิจการวิชัยกุล

เครื่องเขิน วิชาความรู้: หัตถกรรมเครื่องเขิน ประวัติการศึกษา: ปริญญาตรี วิทยาลัยเทคนิคภาคพายัพ สาขาการจัดการ ประวัติการทางาน เจ้าของกิจการวิชัยกุล เครื่องเขิน การเรียนรู้ สืบสารจากบรรพบุรุษ องค์ความรู้เครื่องรัก การสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ร่วมสมัย และการเขียนลาย การถ่ายทอดองค์ความรู้ เครื่องเขิน เนื้อหาที่ถ่ายทอด งานภูมิปัญญาเครื่องเขิน รางวัลเกียรติคุณที่ได้รับ ๑. พ.ศ. ๒๕๔๗ ได้รับการคัดเลือกสุดยอด ผลิตภัณฑ์ OTOP ปัจจุบันผ่านเกณฑ์ผลิตภัณฑ์ OTOP ระดับ ๓ – ๕ ดาว ๒ พ.ศ. ๒๕๗๗ ได้รับการเชิดชูเกียรติเป็นครูช่างศิลปหัตถกรรม ของศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่าง ประเทศ (องค์การมหาชน) SACICT ประจาปี ๒๕๗๗ ๓. พ.ศ. ๒๕๕๔ เป็นสตรีผู้ประกอบอาชีพ อิสระดีเด่น ของกระทรวงแรงงานปี ๒๕๕๔ ๔. พ.ศ. ๒๕๕๔ ครูภูมิปัญญาเชียงใหม่เนื่องในวาระเฉลิมฉลอง ๗๒๐ ปี เมืองเชียงใหม่ จากภาคีเครือข่าย ปฏิรูปการศึกษา

ภาพผลงานของครู

วงศ์น้อย

วัน เดือน ปีเกิด: ๗ พฤศจิกายน ๒๕๐๕

เบอร์โทรศัพท์: ๐๕๓ -๒๕๕๒๗๑

อาชีพปัจจุบัน: ช่างทาเครื่องเขิน

มานพ
ที่อยู่ปัจจุบัน: ๕ หมู่ที่ ๑ ตาบลหนองป่าครั่ง อ เมืองเชียงใหม่ จ เชียงใหม่ ๕๐๐๐๐
วิชาความรู้: หัตถกรรมเครื่องเขิน ประวัติการศึกษา: ป.๗ โรงเรียนกู่คา อ.เมือง จ.เชียงใหม่ ประวัติการทางาน ศึกษาและลงมือทาตั้งแต่เด็กจนถึงปัจจุบัน มีการจัดสรรออกมาได้อย่างชัดเจนเพื่อให้มี คุณภาพที่ดีต่อการดาเนินชีวิต และสร้างสรรค์ผลงานที่ยังคงมาตรฐานอย่างต่อเนื่อง การเรียนรู้ มีการเรียนรู้อยู่ตลอดเวลาทั้งในด้านทฤษฎี และการปฏิบัติงานเพื่อให้ผลงานพัฒนาอย่าง ต่อเนื่อง องค์ความรู้เครื่องรัก การทาเครื่องรัก การถ่ายทอดองค์ความรู้ ถ่ายทอดความรู้ตั้งแต่วัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ ขั้นตอนการทางานของยางรัก และรายละเอียด ของการทางาน เนื้อหาที่ถ่ายทอด เรื่องการจัดการกับวัสดุที่จะใช้กับยางรัก เทคนิคการใช้ การผสมยางรัก ข้อควรระวัง รางวัลเกียรติคุณที่ได้รับ ๑ รางวัลชมเชยประกวดผลิตภัณฑ์หัตถกรรมไทย ประเภทเครื่องเขินลายประดับ จากกรมส่งเสริม อุตสาหกรรม พ.ศ. ๒๕๒๒ ๒. ได้รับการเชิดชูจาก SACIT ครูศิลป์ของแผ่นดิน สาขาเครื่องรัก

ภาพผลงานของครู

เทพี ปูจันทร์
เดือน ปีเกิด:
พฤศจิกายน
๑๑๑ หมู่ ๕ ต.อมก๋อย อ.อมก๋อย จ.
ช่างทาเครื่องเขิน
หัตถกรรมเครื่องเขิน ประวัติการศึกษา: - พ.ศ. ๒๕๓๐ จบประถม ๖ โรงเรียนบ้าน แม่ต๋อม - พ.ศ. ๒๕๕๗ จบสานักงานส่งเสริม การศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัย ประวัติการทางาน ทาการเกษตร ทอผ้า จักรสาน และจัดตั้งกลุ่มวิสาหกิจชุมชนยางรักอมก๋อยอย่างยั่งยืน การเรียนรู้ สืบสารจากบรรพบุรุษในชุมชน ที่ได้ทางานหัตถกรรมจักสาร การเจาะน้ายารัก และการ ทาผลิตภัณฑ์รูปแบบโบราณงานเครื่องเขิน เพื่อใช้สอยในครัวเรือน องค์ความรู้เครื่องรัก การเจาะน้ายางรัก และการลงรัก การถ่ายทอดองค์ความรู้ ถ่ายทอดองค์ความรู้ในด้านการเจาะยางรัก การไปใช้ประโยชน์ การจัดทาเครื่องเขิน โบราณ และการจักรสาน เนื้อหาที่ถ่ายทอด การเจาะน้ายางรัก การกรองน้ายาง และเก็บรักษา, การจักสาน อุปกรณ์ ขั้นตอน ใน การจักสาน และการทาหัตถกรรมเครื่องเขินโบราณ รางวัลเกียรติคุณที่ได้รับ ๑ พ.ศ. ๒๕๖๒ ได้เข้าร่วมกิจกรรมระดับหัตถกรรมเครื่องเขินสู่อุตสาหกรรมไลฟ์สไตล์ ภายใต้โครงการ ยกระดับหัตถกรรมเครื่องเขินสู่อุตสาหกรรม (Reinvented Craft) ๒. พ.ศ. ๒๕๖๓ ได้รับคัดเลือกเป็นสตรีดีเด่นตาบลอมก๋อย สาขาสตรีผู้บารุงศาสนามีคุณธรรมจริยธรรม เด่น
วัน
๒๘
๒๕๑๙ ที่อยู่ปัจจุบัน:
เชียงใหม่ เบอร์โทรศัพท์: ๐๘๙๐๒๖๓๐๖๐ อาชีพปัจจุบัน:
วิชาความรู้:
ภาพผลงานของครู
รายการอ้างอิง บทที่ ๖ I หนังสือภาษาไทย กรมการศึกษานอกโรงเรียน. (ม.ป.ป.). เครื่องเขิน. ม.ป.ท. สมโชติ อ๋องสกุล, พรรณิศา นิมานเหมินท์ และนรรัตน์ พุ่มไพศาลชัย, กองบรรณาธิการ. (๒๕๖๒). ภาพถ่ายฟิล์ม กระจกเมืองเชียงใหม่ โดย หลวงอนุสานสุนทรกิจ. ม.ป.ท.: บริษัทสุเทพจากัด. I ข้อมูลสัมภาษณ์ ปรีชา ปวนลุน, วันที่ ๑๙ ธันวาคม ๒๕๖๕

ตามรอยครูสู่การสร้างสรรค์

บทที่ ๗

และ

เนื่องด้วยงานเครื่องรักจะต้องใช้เวลามากในการผลิตดังนั้นในทุกขั้นตอนจึงมีความสาคัญ

และนอกจากนี้ยังเป็นการเสริมสร้างให้คนรุ่นใหม่ได้ใช้ต้นทุนทางวัฒนธรรมภูมิ

ตามรอยครูสู่การสร้างสรรค์จึงเป็นอีกหนึ่งแนวทางในการช่วยให้องค์ความรู้เรื่องงานเครื่องรักของเมือง เชียงใหม่ได้ถูกท่ายทอดต่อไปยังคนรุ่นใหม่หรือช่างรุ่นใหม่ เพื่อสืบสาน พัฒนา ต่อยอด และอาจส่งผลลัพธ์ที่ดีใน

จึงได้ดาเนินการจัดกิจกรรมการอบรมให้ความรู้และการฝึกทักษะทางเชิงช่างเครื่องรักให้แก่คนรุ่นใหม่ โดยมีครูภูมิปัญญาเครื่องรักของเมืองเชียงใหม่มาให้ความรู้และฝึกทักษะงานเครื่องรักตามกระบวนวิธีการที่ครูภูมิ ปัญญาแต่ละท่านเชี่ยวชาญหรือมีความโดดเด่นเฉพาะ นอกจากนี้ยังเปิดโอกาสให้กลุ่มช่างรุ่นใหม่ได้ทดลอง

สร้างสรรค์ตามแนวความคิดและจินตนาการของตนอย่างอิสระโดยใช้พื้นฐานจากการฝึกอบรม การสร้างสรรค์งาน เครื่องรักในรูปแบบใหม่นี้ช่วยเปิดช่องทางให้เกิดการรับรู้และเข้าถึงงานเครื่องรักจากอดีตสู่ปัจจุบันได้อย่างง่ายมาก

คุณค่าและความสาคัญของงานเครื่องรักเมืองเชียงใหม่ที่ปรากฏเป็นผลงานชิ้นสาคัญต่าง ๆ มากมายมี หลากหลายรูปแบบ ซึ่งช่างในสมัยอดีตได้บรรจงสร้างสรรค์ด้วยความตั้งใจบ่มเพาะทักษะฝีมือจนเชี่ยวชาญ
อย่างมากและต้องให้ความใส่ใจเป็นพิเศษ ช่างเหล่านั้นจึงมีความผูกพันกับงานที่ตนได้สร้างสรรค์เอาไว้ สิ่งสาคัญอีก ประการหนึ่งคือการสืบทอดกระบวนวิธีการต่าง ๆ ซึ่งส่วนมากในอดีตจะเกิดขึ้นเฉพาะบุคคลภายในครอบครัวหรือ ภายในแหล่งชุมชนนั้น ๆ เทคนิควิธีการพิเศษต่าง ๆ จะถูกท่ายทอดให้กับคนเฉพาะกลุ่มไม่ได้แพร่หลายอย่างใน ปัจจุบัน จึงทาให้องค์ความรู้บางอย่างเลือนหายไปกับช่างในอดีต แต่อย่างไรก็ตามยังคงหลงเหลือผลงานเครื่องรัก รุ่นเก่าให้ได้ศึกษาและได้ชื่นชมในความงดงาม นอกจากนี้ยังหลงเหลือช่างฝีมือกลุ่มหนึ่งที่ยังคงสานต่อสายงานนี้ใน ปัจจุบันถึงแม้ว่าจะมีจานวนน้อยมากก็ตาม
และความสาคัญของภูมิปัญญาจากอดีตอย่างแท้จริง นอกจากการสืบทอดงานช่างแล้วสิ่งที่ท้าทายอย่างมากคือการ สร้างให้เกิดค่านิยมในกลุ่มคนยุคสมัยใหม่ ที่ปัจจุบันกระแสของเทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทแทนที่อย่างมากจน กลายเป็นปัจจัยที่ ๕ ของมนุษย์ไปเสียแล้ว ในช่วงหลายทศวรรษที่ผ่านมางานเครื่องรักได้ถูกปรับตัวมาโดยตลอด ทั้งรูปแบบ รูปทรง เทคนิควิธีการสมัยใหม่ การใช้วัสดุทดแทน ฯลฯ เพื่อตอบโจทย์ต่อความต้องการของสังคมที่มี พลวัตอยู่ตลอดเวลา การปรับเปลี่ยนต่าง ๆ นั้นในบางครั้งก็ทาให้คุณค่าและความงามลดหายไป ประกอบกับการ ผลิตในปริมาณมากจึงทาให้ผลงานที่ปรากฏมีคุณภาพด้อยลง ดังนั้นการให้ความรู้ต่อคนรุ่นใหม่ย่อมเป็นสิ่งที่ต้อง เร่งดาเนินการอย่างยิ่ง ซึ่งในปัจจุบันสถาบันการศึกษาต่าง ๆ รวมถึงองค์กรทางภาครัฐและเอกชนได้มีการส่งเสริม และสนับสนุนให้เกิดกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับภูมิปัญญางานช่างล้านนา โดยเฉพาะงานเครื่องรักเพื่อสร้างการรับ รู้ และสืบทอดภูมิปัญญานี้เอาไว้
ปัญญาดั้งเดิมที่มีอยู่นามาต่อยอดสร้างสรรค์สิ่งใหม่ให้เกิดประโยชน์ได้อีกด้วย
การนาไปประกอบเป็นอาชีพได้ในอนาคต โครงการสืบสาน พัฒนา ต่อยอดองค์ความรู้เดิมสู่องค์ความรู้ใหม่เครื่องรักล้านนา เขตพื้นที่จังหวัด เชียงใหม่
พิถีพิถันในทุกขั้นตอน
การสืบทอดมาได้จนถึงยุคปัจจุบันย่อมเป็นสิ่งสะท้อนให้เห็นถึงคุณค่า
ยิ่งขึ้น

คือส่วนที่ผู้เข้าร่วมอบรมจะได้ฝึกทักษะตามแบบแผนงานช่างที่ครูภูมิปัญญาแต่ละท่านมี

เป็นการเปิดโอกาสให้ผู้เข้าร่วมอบรมได้แสดงแนวความคิด

ผลงานทั้งสองรูปแบบนี้เป็นการสืบทอดและการสร้างสรรค์ให้งานเครื่องรักของเมืองเชียงใหม่กลับมี บทบาทขึ้นอีกครั้งในยุคสมัยปัจจุบัน

สนใจ รวมถึงสร้างให้เห็นคุณค่าของภูมิปัญญาท้องถิ่นที่ครูช่างทั้งหลายได้ส่งต่อให้กับคนรุ่นใหม่

วัสดุ เทคนิควิธีการในทุกขั้นตอน รวมถึงรูปร่างรูปทรงของผลงานที่ยังคงเอกลักษณ์ของเครื่องรักเมืองเชียงใหม่

และนอกจากนั้นเทคนิคการประดับลวดลายตกแต่งบนขันหมากแปดเหลี่ยม

ซึ่งเป็นเทคนิคที่ได้รับอิทธิพลจากทางภาคกลางที่งานช่างเครื่องรักของล้านนาได้รับมาในช่วงระยะหลังและ

เป็นการปรับประยุกต์ลวดลายให้เหมาะสมกับพื้นที่และสัดส่วนของภาชนะ และ ที่สาคัญอีกประการหนึ่งคือ พิจักษณ์ยังคงรักษาแบบแผนงานเครื่องรักของล้านนาเอาไว้โดยการติดเปลือกหอยเบี้ย

ผู้เข้าร่วมโครงการทั้งหมด ๒๐ คน เป็นกลุ่มนักเรียนนักศึกษารวมถึงกลุ่มศิษย์เก่า และกลุ่มคนที่มีความ สนใจในการเข้าร่วมกิจกรรมการอบรมงานเครื่องรักเมืองเชียงใหม่ ซึ่งจะได้ฝึกประสบการณ์โดยตรงจากพ่อครูแม่ ครูภูมิปัญญางานช่างเครื่องรักของเมืองเชียงใหม่ทั้งหมด ๖ ท่าน๑ โดยมีการสร้างสรรค์ผลงานอยู่ ๒ รูปแบบหลัก ๆ คือ ๑.“ตามรอยครู”
ความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน และ ๒ “สู่การสร้างสรรค์”
และกระบวนวิธีการที่ได้รับจากการเรียนรู้จากครูภูมิปัญญาเครื่องรัก เพื่อสร้างสรรค์เป็นผลงานเครื่องรักล้านนา แบบร่วมสมัย
นอกจากนี้ยังเป็นส่วนช่วยปลุกพลังในการสร้างสรรค์งานเครื่องรักของกลุ่มผู้ที่
โดยมีผลงานที่ ได้รับรางวัลจากการประกวดทั้งสองรูปแบบ รูปแบบแรก รางวัลอนุรักษ์ “โตยฮอยครู” จานวน ๗ รางวัล ดังนี้ ผู้ได้รับรางวัลยอดเยี่ยมประเภทนี้ได้แก่ นายพิจักษณ์ บาลี ในผลงานที่มีชื่อว่า “หีบหมากลายคาแปด เหลี่ยม” ซึ่งมีแนวคิดที่ว่า จากการที่ได้ไปศึกษาองค์ความรู้จากแม่ครูได้เห็นผลงานของแม่ครู โดยได้เลือกวิธีการ ทาลายรดน้าที่มีความสวยงามพร้อมทั้งได้ศึกษาวิธีการทาลายรดน้า และได้เห็นของโบราณจากการไปทัศนศึกษาที่ ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรม
เขียน เป็นลวดลายบนหีบหมากให้คล้ายคลึงกับของโบราณ และยังได้ศึกษาวิธีการทาเครื่องเขินจากแม่ครูอีกด้วย ผลงานของพิจักษณ์นั้นสะท้อนทักษะฝีมืองานช่างแบบดั้งเดิมที่เป็นภูมิปัญญาในอดีต
โดยได้ทดลองนาเทคนิควิธีการทาลายรดน้านี้มาปรับใช้กับลวดลายที่ได้ศึกษามา
เป็นการอนุรักษ์ทั้ง
เป็นที่นิยมอย่างแพร่หลาย ผลงานชิ้นดังกล่าวนี้ใช้ลวดลายดอกไม้ ใบไม้ และลักษณะของเครือเถาที่ผูกลายใน รูปแบบศิลปะภาคกลาง (ลายไทย)
ไว้ในส่วนฐานของขันหมาก ทาในลักษณะขารองหรือส่วนรองฐานของขันหมาก ซึ่งปรากฏอยู่ในรูปแบบเครื่องรัก โบราณของล้านนาอีกด้วย ดังนั้นจึงเป็นเสน่ห์ที่ยังคงรักษาไว้ได้อย่างดี ๑ ดูข้อมูลประวัติและผลงานได้ใน บทที่ ๖ กลุ่มครูช่างเครื่องรักเมืองเชียงใหม่ในปัจจุบัน
อย่างแท้จริง
พิจักษณ์ยังใช้เทคนิคลาย รดน้า

แม่ครูประทินท่านได้เรียนรู้ฝึกฝนและได้รับประสบการณ์ตรงจากบิดา

มีความเชี่ยวชาญเทคนิควิธีการผลิตเครื่องรักแบบโบราณโดยเฉพาะ ถือได้ว่าเป็นการสืบทอดงานช่างภายใน ครอบครัว นอกจากนี้แม่ครูประทินยังสามารถใช้องค์ความรู้แบบโบราณนามาปรับประยุกต์ขึ้นใหม่ในกลุ่มงาน

ผลงานอนุรักษ์ “โตยฮอยครู” รางวัลยอดเยี่ยม นายพิจักษณ์ บาลี ชื่อผลงาน “หีบหมากลายคา แปดเหลี่ยม” พิจักษณ์ บาลี ได้ฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการกับแม่ครูประทิน ศรีบุญเรือง ครูช่างเครื่องรักของเมืองเชียงใหม่
มารดา และพี่สาวที่เป็นครูช่างงานเครื่องรัก
เครื่องรักร่วมสมัยในปัจจุบันได้ดีอีกด้วย ขณะเรียนรู้ขั้นตอนวิธีการสร้างผลงานเครื่องรัก

คือ แม่ครูดวงกมล ใจคาปัน (แม่น้อย) ซึ่งท่านได้รับการถ่ายทอดวิธีการทาเครื่องรักจากบรรพบุรุษตั้งแต่สมัยเป็นเด็ก ได้เห็นวิธีการทุกขั้นตอน ตั้งแต่เป็นท่อนไม้ไผ่จนสาเร็จเป็นผลงานเครื่องรักที่สวยงาม

รางวัลชนะเลิศอันดับ ๑ นายเยี่ยน มีชัย ผลงานชื่อว่า “ขันแอว” มีแนวความคิดในการสร้างผลงานคือ จากการที่ได้เข้าร่วมโครงการฯ ได้ศึกษารวบรวมข้อมูลเครื่องเขินล้านนาและได้เดินทางไปเรียนรู้กับทางแม่ครูแล้ว
ความรู้ของบรรพบุรุษ ผลงานขันแอวของเยี่ยนนั้นเป็นการคงรักษาเอกลักษณ์ของโครงสร้าง การทาเคลือบผิวด้วยยางรัก และ เทคนิคการตกแต่งลวดลายบนขันดอกซึ่งใช้เทคนิคแบบโบราณที่เรียกว่า “ฮายดอก” ซึ่งถือเป็นเอกลักษณ์เฉพาะ ของเครื่องรักเมืองเชียงใหม่ มีการถมสีแดงโดยใช้ยางรักผสมหาง (ชาด) ลงไปบนลวดลายที่ขูดเป็นร่องตื้น ๆ แล้ว ทาการขัดออกจึงเกิดสีแดงภายในร่องของเส้นที่ขูดเป็นลวดลาย เยี่ยน มีชัย ยังทาการศึกษาลวดลายจากแบบแผน โบราณประกอบกับการสร้างลวดลายขึ้นใหม่เพื่อให้เหมาะสมกับพื้นที่ของขันดอกที่กลึงด้วยไม้จริง ทาให้ผลงานชิ้น นี้คงรักษาเอกลักษณ์เอาไว้ได้ค่อนข้างชัดเจนอีกชิ้นหนึ่ง ผลงานอนุรักษ์ “โตยฮอยครู” รางวัลชนะเลิศอันดับ ๑ นายเยี่ยน มีชัย ชื่อผลงาน “ขันแอว” เยี่ยน มีชัย ได้เข้าฝึกอบรมกับครูภูมิปัญญาเครื่องรักที่ถือได้ว่าเป็นบุคคลสาคัญของงานช่างทางด้านนี้
นอกจากนี้ท่านยังคงรักษา กระบวนวิธีการในการผลิตและใช้วัสดุในแบบดั้งเดิมทุกขั้นตอน ถือเป็นครูช่างที่โดดเด่นในด้านอนุรักษ์อย่างแท้จริง
เกิดความสนใจการขูดลายฮายดอก เพราะงานหัตถกรรมเครื่องเขินล้านนาเป็นสิ่งที่มีคุณค่าควรแก่การอนุรักษ์ รักษาไว้ให้เป็นอัตลักษณ์ของชาวล้านนา ซึ่งจะเป็นประโยชน์และมีคุณค่าต่อคนรุ่นหลังที่จะได้ศึกษาภูมิปัญญาองค์
ขณะเรียนรู้ขั้นตอนวิธีการผลิตงานเครื่องรัก รางวัลชนะเลิศอันดับ ๒ นางสาวกมลชนก แสวงลาภ ในผลงานที่ชื่อว่า “จาน” มีแนวความคิดคือ จาก การที่ได้ไปศึกษาองค์ความรู้จากพ่อครู ได้เห็นผลงานของพ่อครูที่มีการใช้เทคนิควิธีการที่หลากหลาย ได้เห็นว่า เทคนิคการติดเปลือกไข่สามารถเรียงแบบไล่ระดับแสงเงาได้ จึงอยากทดลองนาเทคนิคนี้มาปรับใช้กับการวาดภาพ ขั้นพื้นฐาน ผลงานที่ได้รับรางวัลชิ้นนี้ของกมลชนกมีความโดดเด่น แปลกตาและมีความละเอียดสวยงามอย่างมาก ด้วยเทคนิคเฉพาะที่ ได้รับจากการเรียนรู้และฝึกประสบการณ์กับพ่อครูมานพ วงศ์น้อย ซึ่งเป็นผู้เชี่ยวชาญงานเครื่องรักแบบร่วมสมัยโดยใช้เทคนิคที่ ผสมผสานโดยการใช้เปลือกไข่ขนาดต่าง ๆ นามาเรียงให้เกิดรูปทรง และน้าหนักที่แตกต่างกันทาให้ชิ้นงานมีความสวยงามและเกิดมิติ กมลชนกใช้เปลือกไข่ขนาดต่าง ๆ นามาเรียงในรูปทรงใบหน้าของ เดวิดและสร้างให้เกิดน้าหนักซึ่งต้องใช้ความพยายามอย่างสูง มีการ ทายางรักทับลงบนพื้นผิวเปลือกไข่และขัดออกจึงทาให้เกิดความ สวยงามตามแบบฉบับงานช่างของพ่อครูมานพ วงศ์น้อย ผลงานอนุรักษ์ “โตยฮอยครู” รางวัลชนะเลิศอันดับ ๒ นางสาวกมลชนก แสวงลาภ ชื่อผลงาน “จาน”

อย่างมากในกลุ่มผู้บริโภคจากทางภาคกลางที่ช่างของเมืองเชียงใหม่เป็นผู้ผลิตส่งไปจาหน่ายทางภาคกลางหรือ

ด้วยสีทองและลวดลายที่มีความสวยงามทาให้เกิดค่านิยมที่ในอดีต

ยุคสมัยและค่านิยมเปลี่ยนไปจึงทาให้งานเครื่องรักในรูปแบบดังกล่าวนี้เป็นที่

ขณะเรียนรู้ขั้นตอนวิธีการผลิตงานเครื่องรัก รางวัลชนะเลิศอันดับ ๓ นายมงคล จันทร์อิ่น ในผลงานที่มีชื่อว่า “ลายรดน้าขันเอวตามรอยครู” มี
เป็นการอนุรักษ์และสืบทอดงานศิลป์ที่มีมาตั้งแต่สมัยโบราณ ผลงานของมงคลนั้นมีรูปแบบที่สะท้อนอัตลักษณ์งานเครื่องรักเทคนิคลายรดน้าที่ช่วงหนึ่งเกิดความนิยม
นิยมในวงกว้างมากยิ่งขึ้นและไม่จากัดอยู่เฉพาะบุคคลชั้นสูงดั่งอดีตอีกต่อไป ผลงานอนุรักษ์ “โตยฮอยครู” รางวัลชนะเลิศอันดับ ๓ นายมงคล จันทร์อิ่น ชื่อผลงาน “ลายรดน้าขันเอวตามรอยครู”
แนวความคิดจากการได้เข้าร่วมโครงการกับทางมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนาพร้อมกับการได้เดินทาง ศึกษาเพิ่มเติมกับแม่ครูศศิธร
ได้เกิดความสนใจในการทาลายรดน้าบนเครื่องเขิน จึงได้จัดทาผลงานชิ้นนี้ขึ้นมาเพื่อ
แหล่งต่าง ๆ ซึ่งมักจะเรียกว่าเครื่องเขินลายทอง
นั้นมีใช้เฉพาะบุคคลชั้นสูงเท่านั้น

ซึ่งทาให้เกิดงานที่มีความน่าสนใจมากขึ้นจากการนารักมาใช้ แนวความคิด

มงคล จันทร์อิ่น ได้ศึกษาเรียนรู้และฝึกประสบการณ์กับแม่ครูศศิธร มงคลเรืองฤทธิ์ (แม่ไพร) ซึ่งเป็นหนึ่ง ในครูช่างเครื่องรักของเมืองเชียงใหม่ที่มีเชื้อสายชาวไทเขิน บ้านนันทาราม ซึ่งมีความคุ้นเคยใกล้ชิดกับงาน หัตถกรรมเครื่องรักมาอย่างยาวนาน
ลาย (ฮายดอก)
ๆ ด้วยยางรักเงา อีกด้วย ขณะเรียนรู้ขั้นตอนวิธีการผลิตงานเครื่องรัก นอกจากนี้ผลงานในรูปแบบอนุรักษ์ตามทักษะของครูช่างเครื่องรักยังมีผู้ได้รับรางวัลชมเชยอีก ๓ รางวัล โดยมีผลงานชื่อ “จุดเริ่มต้น” ของนายจตุพร รักสัตย์ ที่ฝึกฝนเรียนรู้จากพ่อครูมานพ วงศ์น้อย ศิลปินเครื่องรักร่วม สมัย อันมีแนวคิดคือ จากการที่ได้ศึกษาองค์ประกอบของงานและความรู้จากพ่อครู ที่ผลงานในรูปแบบสมัยใหม่ โดยมีการนาทัศนธาตุทางศิลปะมาใช้ในการทางานรัก
การนาลวดลายขาก้อมแบบล้านนา๒ มาปรับใช้กับทัศนธาตุทางศิลปะมาใช้ทาเพื่อให้เกิดงานร่วมสมัย ในรูปแบบองค์ประกอบดังเดิม และองค์ประกอบแบบใหม่ ผลงานของจตุพรแสดงมุมมองของงานเครื่องรักใน รูปแบบทันสมัยทั้งรูปทรงและเทคนิคการประดับ โดยการใช้ ทัศนธาตุทางศิลปะ เส้น สี น้าหนัก รูปทรง มาจัดวาง องค์ประกอบบนโครงสร้างภาชนะ โดยเทคนิควิธีการที่ได้ เรียนรู้จากพ่อครูมานพ วงศ์น้อย ขณะเรียนรู้ขั้นตอนวิธีการผลิตงานเครื่องรัก ๒ ลวดลายสักหมึกบนขา ปรากฏในกลุ่มวัฒนธรรม ไท-ลาว ที่ส่วนใหญ่จะนิยมในกลุ่มบุรุษที่มีความกล้าหาญแข็งแรง
ได้ศึกษาเรียนรู้กับบิดา มารดา ที่เป็นช่างเครื่องรัก โดยเฉพาะเทคนิคการขูด
ทั้งนี้แม่ครูศศิธรยังมีความเชี่ยวชาญในด้านการทาเคลือบผิวยางรักบนผิววัสดุต่าง

โดยได้รับแรงบันดาลใจมาจากผลงานสร้างสรรค์ของพ่อครู มานพชิ้นที่ติดเปลือกไข่เป็นรูปเลขาคณิตต่าง

ผลงานอนุรักษ์ “โตยฮอยครู” รางวัลชมเชย “จุดเริ่มต้น” ของ นายจตุพร รักสัตย์ รางวัลชมเชยชิ้นที่ ๒ ของ นางสาวมัลลิกา ใจกาวิน ชื่อผลงาน “ลงรัก ประดับเปลือกไข่” ซึ่งเป็นอีกคนหนึ่งที่ได้ฝึกประสบการณ์การทางานเครื่องรักกับ พ่อครูมานพ วงศ์น้อย
ๆ ที่น่าสนใจคิดว่าหากนามาทาเป็น ลวดลายต่าง ๆ อาจจะต่อยอดพัฒนาขึ้น จึงได้นาเทคนิคติดเปลือกไข่มาติดเป็น รูปลวดลายที่เราถนัด ผลงานของมัลลิกาแสดงความพิเศษของเทคนิคได้อย่างดี การติดเปลือกไข่หลาย ๆ ขนาดทั้ง เล็ก กลาง
บนชิ้นงานอย่างชัดเจน นอกจากนี้รูปทรงที่เกิดขึ้นจากการติดเปลือกใครยังช่วยให้ เกิดความสวยงามได้อีกด้วย ผลงานอนุรักษ์ “โตยฮอยครู” รางวัลชมเชย “ลงรักประดับเปลือกไข่” ของ นางสาวมัลลิกา ใจกาวิน
และใหญ่ทาให้เกิดน้าหนักอ่อนแก่
รางวัลชมเชยชิ้นสุดท้ายเป็นผลงานของนางสาวกัญญารัตน์ บริบูรณ์ศิริกุล ในชื่อผลงานว่า “ขันลายทอง” มีแนวความคิดที่ว่า ส่วนตัวมีความสนใจในรูปแบบภาชนะที่เรียกว่าขัน เพราะมีรูปทรงที่ ง่ายต่อการทาความเข้าใจที่จะศึกษาวิธีการสร้างลวดลาย และเพื่อ เป็นการอนุรักษ์เอกลักษณ์ที่โดดเด่นของขันโอ คือ สีดาของยางรัก จึง นามาพัฒนาเป็นลายทองหรือลายรดน้า และได้เลือกเทคนิควิธีการ เขียนลายรดน้ามาสร้างสรรค์ผลงานศิลปะ ผลงานของกัญญารัตน์เป็นผลงานที่ใช้กระบวนวิธีการแบบ ดั้งเดิม ตั้งแต่การขึ้นรูปทรงของขันด้วยโครงสร้างไม้ไผ่ขด การเคลือบ ผิวด้วยยางรักตามกระบวนการและขั้นตอนในแต่ละชั้น และเทคนิค การเขียนด้วยน้ายาหรดาล ลงลักปิดทอง ลวดลายที่เขียนมีอิทธิพล ศิลปะภาคกลางเรียกว่าลายเครือกระหนก ผลงานอนุรักษ์ “โตยฮอยครู” รางวัลชมเชย “ขันลายทอง” ของ นางสาวกัญญารัตน์ บริบูรณ์ศิริกุล ส่วนผลงานชิ้นอื่น ๆ ที่ไม่ได้รับรางวัลในกลุ่มรูปแบบอนุรักษ์ ส่วนใหญ่มีลักษณะผลงานที่ถูกสร้างขึ้นตาม กระบวนวิธีการในแบบฉบับของครูช่างที่เข้าฝึกอบรมของแต่ละกลุ่ม แต่ผลงานอาจมีความสมบูรณ์น้อยกว่าผลงาน ที่ได้รับรางวัลในแต่ละระดับ หรือตามเกณฑ์การให้คะแนนในการประกวด อย่างไรก็ตามภาพรวมของผลงาน ทั้งหมดสามารถสะท้อนรูปแบบและลักษณะตามแบบแผนที่ผู้เข้าร่วมอบรมได้ฝึกฝนทักษะฝีมือ และเรียนรู้กระบวน วิธีการจากครูช่างเครื่องรักแต่ละท่านได้เป็นอย่างดี
ผลงานอนุรักษ์
ที่เข้าร่วมกิจกรรมการประกวด
“โตยฮอยครู”

ซึ่งเป็นสัญลักษณ์พื้นที่ส่วนตัวของเจ้าของบ้าน นั่นคือห้องนอน

โดยในงานนั้นกระผมได้ออกแบบลวดลายของหายนต์และใช้สัญลักษณ์ดอกหน้าวัวสีขาวคือความบริสุทธิ์ของเพศ

แต่ผลงานของแม่ครูท่านนี้ก็มีลักษณะ

รูปแบบที่สอง รางวัลสร้างสรรค์ร่วมสมัย “สู่การสร้างสรรค์” จานวน ๗ รางวัล โดยมีรางวัลยอดเยี่ยมใน รูปแบบสร้างสรรค์ร่วมสมัยคือ นายเอกภพ อุ่นกันทะ ในผลงานที่มีชื่อว่า “หายนต์”
Erotic กิจกรรมในที่ลับของชาวล้านนาผ่านหายนต์
ซึ่งมีแนวคิดที่อยากนาเสนอ
หญิง และงูเป็นสัญลักษณ์ของความต้องการทางกาม ผลงานเครื่องรักร่วมสมัยของเอกภพนั้นได้แสดงเนื้อหาข้อมูลเกี่ยวกับ “หายนต์” ซึ่งเป็นแผ่นไม้แกะสลักที่ ใช้ประดับเหนือกรอบประตูทางเข้าห้องนอนของเจ้าของเรือนในวัฒนธรรมล้านนา เป็นการแสดงพื้นที่เฉพาะและ ถือเป็นแผ่นไม้ศักดิ์สิทธิที่คนล้านนาเชื่อว่าจะช่วยปกป้องอันตรายต่าง ๆ ให้แก่เจ้าของเรือน และนอกจากนี้เอกภพ ยังใช้มุมมองในเรื่องของ (Erotic) แรงปรารถนาเรื่องกามของมนุษย์เข้ามาสร้างสรรค์ผลงานชิ้นนี้ และที่สาคัญเอก ภพได้ใช้เทคนิคต่าง ๆ และมีกระบวนการสร้างสรรค์ผลงานด้วยยางรัก การเขียนสีแดงจากยางรักผสมหาง (ชาด) การปิดทองคาเปลว และเทคนิคผสมผสานอื่น ๆ อีกด้วย ทาให้ผลงานนั้นมีความโดดเด่นและมีความสมบูรณ์อย่าง มาก ผลงานสร้างสรรค์ร่วมสมัย “สู่การสร้างสรรค์” รางวัลยอดเยี่ยม นายเอกภพ อุ่นกันทะ ชื่อผลงาน “หายนต์” เอกภพ อุ่นกันทะ ได้ศึกษาเรียนรู้และฝึกประสบการณ์เทคนิคงานช่างเครื่องรักจากแม่ครูประทิน ศรีบุญ เรือง ถึงแม้ว่าความเชี่ยวชาญของท่านจะเน้นหนักไปในเรื่องของงานอนุรักษ์
เป็นงานสร้างสรรค์ร่วมสมัยด้วยเช่นกัน เป็นการปรับประยุกต์ในด้านรูปแบบและเทคนิควิธีการจากอดีตมาสู่งาน สร้างสรรค์สมัยใหม่เพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้บริโภคในยุคปัจจุบัน ดังนั้นจึงเป็นผลที่ช่วยให้ผลงาน ของเอกภพมีลักษณะการแสดงออกที่หลากหลาย ด้วยกระบวนการทางเทคนิคและวิธีคิดในการแสดงออก

เป็นเทคนิคใหม่โดยการนามาสร้างสรรค์เป็นผลงานจิตรกรรมรูปแบบส่วนตน

สีดาโดยมีการใช้เทคนิคบีบนูนภายในงานเพื่อให้เกิดพื้นผิวที่แสดงให้เห็นถึงความมันวาวของยางรัก ผลงาน สร้างสรรค์ของปุณยาพรเป็นการปรับประยุกต์ เรียกได้ว่าเป็นลักษณะงานจิตรกรรมสื่อผสมโดยใช้คุณสมบัติของสี

ด้วยกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับยางรักที่แม่ครูเชี่ยวชาญอย่างมากจึงทาให้ปุณยาพรได้เกิดความคิดในการปรับ ประยุกต์เทคนิค โดยเฉพาะการนายางรักมาผสมกับดินสอพองซึ่งเป็นกระบวนการแบบโบราณที่ใช้ในการทารอง พื้นบนผิวโครงสร้างภาชนะ แต่ก็สามารถนามาปรับประยุกต์ให้เกิดพื้นผิวในงานจิตรกรรมได้ซึ่งเป็นเสน่ห์และเกิด ความพิเศษในผลงาน

ขณะเรียนรู้ขั้นตอนวิธีการผลิตงานเครื่องรัก รางวัลชนะเลิศอันดับ ๑ นางสาวปุณยาพร แปงสนิท ชื่อผลงาน “Black lady” สร้างสรรค์ผลงานโดยนา เทคนิค “การลงดิน” (ยางรักผสมดินสอพอง) ที่เป็นเทคนิคดั้งเดิมและใช้ในการทาเครื่องเขิน มาประยุกต์ให้เกิด
เรื่องราวเกี่ยวกับสตรีและอิทธิพลของ
ๆ ของยางรักมาผสมผสานเข้าด้วยกัน และนอกจากนี้ปุณยาพรยังได้เสนอ ทัศนะเกี่ยวกับอิทธิพลของสีดาที่มีความลึกลับน่าค้นหา นามาแฝงในรูปลักษณ์ของสตรีเพศที่มีอิทธิพลต่อความรู้สึก เป็นการสะท้อนแนวความคิดที่น่าสนใจ ประกอบกับการนาสีของยางรักมานาเสนอในมุมมองความงามแบบร่วม สมัยได้อย่างลงตัว ปุณยาพร แปงสนิท ได้ฝึกอบรมกับครูภูมิปัญญาเครื่องรักของเชียงใหม่คนสาคัญคือ แม่ครูดวงกมล ใจคา ปัน
จากยางรักรวมถึงพื้นผิวลักษณะต่าง
ผลงานสร้างสรรค์ร่วมสมัย “สู่การสร้างสรรค์” รางวัลชนะเลิศอันดับ ๑ นางสาวปุณยาพร แปงสนิท ชื่อผลงาน “Black lady” ขณะเรียนรู้ขั้นตอนวิธีการผลิตงานเครื่องรัก

ข้าพเจ้าจึงได้เกิดความคิดที่จะสร้างสรรค์งานในรูปแบบของรอยพระพุทธบาทที่เปรียบ

รางวัลชนะเลิศอันดับ ๒ นายณัชพล กัณทวงศ์ ชื่อผลงาน “รูปเคารพ” แนวคิดเกิดจากที่ศิลปินได้แรง บันดาลใจมาจากรูปแบบของรอยพระพุทธบาทที่เป็นรูปเคารพของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ในยุคแรกเชื่อว่าเป็นรอย ประทับพระบาทของพระพุทธเจ้า
เหมือนรูปเคารพของพระพุทธเจ้าในอดีต มาในรูปแบบประติมากรรมลอยตัวที่เป็นแบบจาลองขนาดเล็ก จากที่เป็น แค่รอยพระบาทที่อยู่บนพื้นให้เป็นประติมากรรมลอยตัวเหมือนพระพุทธรูปในสมัยนี้ ผลงานของณัชพลมีการผสมผสานวัสดุและเทคนิค ทั้งในรูปแบบงานตอกดุนโลหะให้มีรูปร่างรูปทรงและ รายละเอียดตามคตินิยมหรือแบบแผนที่เกี่ยวข้องกับรอยพระพุทธบาทในคติทางพุทธศาสนา ลวดลายมงคล 108 ประการที่ปรากฏเป็นส่วนประกอบสาคัญในรอยพระพุทธบาทณัฐพลก็ได้แสดงไว้แต่มีการตัดทอนขนาด สั ดส่วน และจานวนลงเพื่อให้สอดคล้องกับขนาดของผลงาน ผลงานดังกล่าวเป็นลักษณะประติมากรรมโลหะลอยตัวที่ สามารถดูได้รอบด้าน มีการผสมผสานโดยการใช้ยางรักทาเคลือบผิวโลหะ มีการปิดด้วยแผ่นทองคาเปลวที่แสดงถึง ความศรัทธา เสน่ห์อีกอย่างหนึ่งของผลงานชิ้นนี้ก็คือ สีของโลหะเมื่อถูกยางรักเคลือบแบบบางทาให้เกิดน้าหนักที่ ดูแปลกตา นอกจากนี้ร่องส่วนลึกของการตอกดุนโลหะจะมียางรักฝังอยู่ในร่องทาให้เกิดน้าหนักเข้ม ส่วนความนูน ของโลหะจะมีอย่างละเคลือบบางบางทาให้เกิดน้าหนักสีที่อ่อน องค์รวมของผลงานชิ้นนี้มีน้าหนักที่สวยงามที่เกิด จากการผสมผสานเทคนิคดังที่กล่าว ผลงานสร้างสรรค์ร่วมสมัย “สู่การสร้างสรรค์” รางวัลชนะเลิศอันดับ ๒ นายณัชพล กัณทวงศ์ ชื่อผลงาน “รูปเคารพ”
แต่หลังจากนั้นจนถึงปัจจุบันมนุษย์ก็ได้สร้างรูปเหมือนของพระพุทธเจ้าหรือพระ โพธิสัตว์มาเคารพแทน

หรือสามารถนั่งบนสเก็ตบอร์ดได้ขณะเคลื่อนที่บนทาง

ขณะเรียนรู้ขั้นตอนวิธีการผลิตงานเครื่องรัก จากแม่ครูศศิธร มงคลเรืองฤทธิ์ รางวัลชนะเลิศอันดับ ๓ ผลงานของ นายปฏิญญา วงศ์กาแก้ว ชื่อผลงาน “สเก็ตบอร์ด” ซึ่งมีแนวความคิดว่า สเก็ตบอร์ด คืออุปกรณ์ ๔ ล้อ พี่มีแผ่นกระดานให้ยืนได้และมีลูกล้อที่แข็งแรงรองรับอยู่ สเก็ตบอร์ด เป็นอุปกรณ์ลื่นไหลสาหรับการเล่นกีฬาสเก็ตบอร์ด
เคลื่อนที่ได้โดยการ ผลักด้วยเท้าขณะที่เท้าอีกข้างควบคุมบอร์ดไว้ หรือการดีดขึ้นบนราว หรือ ทางครึ่งวงกลม
ลาดให้แรงโน้มถ่วงขับเคลื่อนบอร์ดไป ผลงานชิ้นนี้เป็นการสร้างสรรค์ลวดลายและเรื่องราวต่าง ๆ ลง บนแผ่นกระดานของสเก็ตบอร์ด ด้วยเทคนิคการทาเคลือบผิวแผ่นไม้ด้วย ยางรัก ตกแต่งลวดลายด้วยเทคนิคลายรดน้า ปิดด้วยแผ่นทองคาเปลว แล้วล้างด้วยน้า ซึ่งเป็นเทคนิคโบราณที่ปฏิญญาสามารถนามาปรับ ประยุกต์ให้เข้ากับอุปกรณ์เครื่องเล่นในยุคปัจจุบัน ผลงานสร้างสรรค์ร่วมสมัย “สู่การสร้างสรรค์” รางวัลชนะเลิศอันดับ ๓ นาย ปฏิญญา วงศ์กาแก้ว ชื่อผลงาน “สเก็ตบอร์ด”

เห็นถึงการเลือนหายของค่านิยมในการใช้รักแท้ ผลงานชิ้นนี้มีความน่าสนใจตรงแนวความคิดที่ต้องการถ่ายทอด

ทาให้งานช่างที่เกี่ยวข้องในเรื่องนี้ปรับเปลี่ยนวัตถุดิบหลักอย่างยางรักไปใช้วัสดุทดแทนเป็นส่วนมาก

ปฏิญญา วงศ์กาแก้ว ได้รับการฝึกอบรมงานเครื่องรักโดยแม่ ครูประทิน ศรีบุญเรือง ซึ่งองค์ความรู้ที่แม่ครูท่านนี้มีอย่างโดดเด่น สามารถช่วยถ่ายทอดทักษะและกระบวนการในการสร้างสรรค์ชิ้นงานให้ เกิดความสมบูรณ์ ทั้งเทคนิคการทาเคลือบผิวด้วยยางรักในแต่ละชั้น และ เทคนิคในการเขียนนา้ยาหรดาลตามกระบวนการของเทคนิคลายรดน้า ขณะเรียนรู้ขั้นตอนวิธีการผลิตงานเครื่องรัก นอกจากนี้งานเครื่องรักในแนวสร้างสรรค์ร่วมสมัยยังมีผลงานรางวัลชมเชยอีก ๓ รางวัล ซึ่งประกอบไป ด้วยผลงานรางวัลชมเชยชิ้นที่ ๑ ชื่อ “รักสลาย” ของนายวรเมธ สุวรรณศรี ซึ่งมีแนวคิดและได้รับแรงบันดาลใจ จากความงามอันทรงคุณค่าของธรรมชาติ จึงเกิดเป็นผลงานการสร้างสรรค์ชุดนี้ผ่านเทคนิคภาพพิมพ์แกะไม้ ใช้ วิธีการพิมพ์แบบซ้า ๆ โดยใช้น้ายางรักแทนหมึกพิมพ์ เพื่อแสดงให้เห็นถึงการเลือนลางและจางหายไปของต้นรัก ซึ่งปัจจุบันยางรักค่อนข้างหายากและมีราคาสูงทาให้ผู้คนหันมาใช้วัสดุอื่นทดแทน
ดังนั้นผู้สร้างสรรค์จึงตั้งใจสื่อให้
คุณค่าของต้นรักหรือยางรักที่ปัจจุบันมักนิยมใช้วัสดุทดแทน เนื่องจากมีราคาถูกและมีคุณสมบัติแห้งเร็วกว่ายางรัก แท้
อีก ประการหนึ่งวรเมธได้นายางรักมาใช้แทนหมึกพิมพ์เคมี
ครั้งแสดงนัยยะของการเลือนหายของยางรัก ถือได้ว่าผลงานชิ้นนี้เป็นผลงานสร้างสรรค์เทคนิคภาพพิมพ์ด้วยยาง รักในรูปแบบศิลปะเชิงแนวคิด (Conceptual art) แสดงถึง การปรับใช้ยางรักในรูปแบบร่วมสมัยอีกแนวทางหนึ่ง วรเมธ สุวรรณศรี ได้รับการฝึกอบรมงานเครื่องรักโดย แม่ครูพัชรา ศิริจันทร์ชื่น แห่งร้านเครื่องเขินวิชัยกุล จังหวัด เชียงใหม่ ซึ่งเป็นต้นตระกูลหลักในการผลิตงานหัตถกรรม เครื่องรัก และเป็นแหล่งวางจาหน่ายสินค้าเครื่องรักตั้งแต่อดีต มาจนถึงยุคปัจจุบันของเมืองเชียงใหม่
ซึ่งเป็นการกลับค่าของวัตถุดิบที่ใช้ และในการพิมพ์แต่ละ

จึงอยากจะนาเสนอแง่ดีและคุณค่าของคนหัวโบราณโดยแสดงออกผ่านตัวละครที่หน้าตามี

ผลงานสร้างสรรค์ร่วมสมัย “สู่การสร้างสรรค์” รางวัลชมเชย “รักสลาย” ของ นายวรเมธ สุวรรณศรี ผลงานรางวัลชมเชยชิ้นที่ ๒ โดยนางสาวกมลชนก แสวงลาภ ชื่อผลงาน “หัวโบราณ” มีแนวคิดที่ว่า เมื่อ ได้ยินคาว่า “หัวโบราณ” ก็จะทาให้นึกถึงข้อเสียต่าง ๆ
มากมายเช่นกัน
ความสุข
ดูอ่อนโยนเรียบร้อยแบบผู้หญิงล้านนา ในศีรษะที่มีเครื่องหอมสื่อถึงคุณงามความดี ต่าง ๆ ที่มีอยู่ในความโบราณ และสื่อถึงความโบราณด้วยการแต่งกายและทรงผม เพื่อให้เห็นคุณค่าด้านวัฒนธรรม จารีตประเพณี วิถีชีวิตคุณค่าต่าง ๆ ที่คนโบราณได้สืบทอดมาจนถึงปัจจุบัน ใช้เทคนิคโบราณนี้ทาในส่วนของทรง ผมและเครื่องแต่งกาย ในส่วนของฐานที่มีรูปทรงก้อนเมฆสื่อถึงความรักความห่วงใยและอบอุ่นที่มีต่อลูกหลาน ผลงานสร้างสรรค์ร่วมสมัยของกมลชนกชิ้นนี้ได้อธิบายเนื้อหาแนวความคิดได้อย่างครบถ้วนสมบูรณ์ และ สามารถสร้างสรรค์ด้วยกระบวนวิธีการต่าง
ตั้งแต่การขึ้นรูปด้วยดินและทาการหล่อพิมพ์ให้เป็นประติมากรรม ลอยตัว สิ่งที่สาคัญคือการตกแต่งชิ้นงานด้วยการใช้สีต่าง ๆ ผสมกับยางรัก เป็นสีสาหรับใช้ผสมยางรักโดยเฉพาะ ซึ่งกมลชนกได้เรียนรู้เทคนิควิธีการเฉพาะนี้กับพ่อครูมานพ วงศ์น้อย ซึ่งได้กล่าวมาแล้วว่าพ่อครูมานพเป็นช่าง เครื่องรักร่วมสมัยโดยใช้เทคนิคผสมผสานอย่างหลากหลาย และเป็นเทคนิคที่ปรับประยุกต์ขึ้นใหม่ที่มีความทันสมัย
มากมายที่คนไม่ชอบแต่ในความหัวโบราณนั้นก็มีข้อดี
รอยยิ้มที่มีชีวิตชีวา
สามารถสร้างสีได้อย่างหลากหลายโดยมียางรักเป็นส่วนประกอบหลัก ถือได้ว่าผลงานชิ้นนี้มีความสวยงามปราณีต ในรูปแบบร่วมสมัย

จากการได้ศึกษาและได้ลงมือทาลายรดน้าบนเครื่องเขิน จึงได้เกิดความสนใจในการนาศิลปะบนเฟรมผ้าใบมา

จนเกิดเป็นผลงานพระศรีอริยเมตไตรยขึ้นมาเพื่อนางานตามรอยครูสู่การ

ผลงานสร้างสรรค์ร่วมสมัย “สู่การสร้างสรรค์” รางวัลชมเชย “หัวโบราณ” ของ นางสาวกมลชนก แสวงลาภ ผลงานรางวัลชมเชยชิ้นสุดท้าย ชื่อผลงาน “พระศรีอริยเมตไตรย” โดยนายมงคล
ซึ่งมีแนวคิด
ผสมผสานกับเทคนิคลายรดน้า
สร้างสรรค์ศิลปะแบบใหม่ขึ้นมา และยังคงความเป็นเอกลักษณ์ของเทคนิคโบราณให้คงอยู่ ผลงานของมงคลมี
ผสมผสานขึ้นใหม่ ตั้งแต่วิธีการเตรียมพื้นโดยสร้างเป็นเทคนิคสี และการเขียนภาพเทวดาด้วยเทคนิคจิตรกรรมไทย ส่วนของเครื่องทรงประดับนั้นใช้เทคนิคปิดทองลายรดน้า ซึ่งเป็นการผสมผสานสองเทคนิคเข้าด้วยกัน ส่วนจุดเด่น ของภาพใช้เทคนิคระบายพื้นด้วยยางรัก และภาพพระศรีอริยเมตไตรยด้วยเทคนิคลายรดน้าปิดทอง ภาพรวมของ ผลงานถือได้ว่าเป็นการผสมผสานเทคนิคได้อย่างลงตัว มงคล จันทร์อิ่น ได้ฝึกประสบการณ์เรียนรู้งานเครื่องรักจากแม่ครูศศิธร มงคลเรืองฤทธิ์ ซึ่งเชี่ยวชาญใน เรื่องของยางรัก การเตรียมพื้นยางรัก ซึ่งเป็นส่วนที่ทาให้ผลงานของมงคลมีการนาเทคนิคของเครื่องรักมาปรับ ประยุกต์ใช้ในงานจิตรกรรมร่วมสมัย และสื่อแสดงออกมาได้อย่างงดงาม
จันทร์อิ่น
ลักษณะเป็นจิตรกรรมไทยร่วมสมัยโดยใช้แบบแผนและลักษณะทางเทคนิคแบบโบราณโดยนามาสร้างสรรค์
ผลงานสร้างสรรค์ร่วมสมัย “สู่การสร้างสรรค์” รางวัลชมเชย “พระศรีอริยเมตไตรย” ของ นายมงคล จันทร์อิ่น
สร้างสรรค์ผลงานในแนวของตน ผสมผสานเทคนิคแบบโบราณและเทคนิค สมัยใหม่ได้อย่างหลากหลาย ประกอบกับมีลูกเล่นของผลงานที่น่าสนใจแปลกตา อีกด้วย ผลงานสร้างสรรค์ร่วมสมัย “สู่การสร้างสรรค์” ที่เข้าร่วมกิจกรรมการประกวด
ผลงานอีกจานวนหนึ่งที่ไม่ได้รับรางวัลในหัวข้อนี้ ส่วนใหญ่ก็มีการปรับประยุกต์เทคนิคที่ได้เรียนรู้จากครู
ช่างเครื่องรักของเมืองเชียงใหม่
ผลงานสร้างสรรค์ร่วมสมัย “สู่การสร้างสรรค์” ที่เข้าร่วมกิจกรรมการประกวด

วิถี พานิชพันธ์. (๒๕๔๕). เครื่องเขินในเอเชียอาคเนย์. ม.ป.ท.: เอกสารอัดสาเนา.

. (๒๕๖๑). เครื่องเขินในวัฒนธรรมล้านนา. เชียงใหม่: สานักส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

. (๒๕๕๘). เครื่องเขินในเอเชียอาคเนย์ Lacquerware in Southeast Asia. เชียงใหม่: กลุ่ม หน่อศิลป์.

E0%B8%B0

https://th.m.wikipedia.org/wiki/

Than Htun. (๒๐๑๓). Lacquerware Journeys The Untold Story of Burmese Lacquer. Bangkok:

River Books.

Tokyo National Museum. (๒๕๔๑). A Mysterious World of Ancient Designs Lacquer ware from the Tombs of Hubei, China.

บรรณานุกรม กรมการศึกษานอกโรงเรียน. (ม.ป.ป.). เครื่องเขิน. ม.ป.ท. ดิเรก อินจันทร์ (ผู้ปริวรรต). (๒๕๖๓). สัพพะตาราสล่าล้านนา (ภูมิปัญญาช่างจากคัมภีร์ใบลานและพับสา). เชียงใหม่: สานักศิลปะและวัฒนธรรม
มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่.
สุรพล ดาริห์กุล. (๒๕๖๑). ประวัติศาสตร์และศิลปะล้านนา. นนทบุรี: เมืองโบราณ. (๒๕๔๔). ลายคาล้านนา. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ. (๒๕๖๔). ลายคาล้านนา. พิมพ์ครั้งที่ ๒ (ปรับปรุงใหม่). นนทบุรี: เมืองโบราณ. สมโชติ อ๋องสกุล, พรรณิศา นิมานเหมินท์ และนรรัตน์ พุ่มไพศาลชัย, กองบรรณาธิการ. (๒๕๖๒). ภาพถ่ายฟิล์ม กระจกเมืองเชียงใหม่ โดย หลวงอนุสานสุนทรกิจ. ม.ป.ท.: บริษัทสุเทพจากัด. นภกานต์ คาภีระ. (๒๕๕๗). “เครื่องเขิน : อัตลักษณ์ทางชาติพันธุ์ไทเขิน ชุมชนวัดนันทาราม ตาบลหายา อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่.” รายงานการศึกษาเฉพาะบุคคล ภาควิชามานุษยวิทยา คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร. เข้าถึงเมื่อ ๙ กันยายน ๒๕๖๕ เข้าถึงจาก http://sure.su.ac.th/xmlui/handle/123456789/3172?attempt=2 ราชบัณฑิตยสถาน. (ม.ป.ป.). ความหมายจาก พจนานุกรมแปล ไทย-ไทย ราชบัณฑิตยสถาน. เข้าถึงเมื่อ ๒๐ กันยายน ๒๕๖๕. เข้าถึงได้จาก
วิกิพีเดีย. (ม.ป.ป.). ถาผีแมนโลงลงรัก. เข้าถึงเมื่อ ๒๘ กันยายน ๒๕๖๕. เข้าถึงจาก
https://dictionary.sanook.com/search/dict-th-th-royalinstitute/%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%81%E0%B8%AB%E0%B8%99%
I สัมภาษณ์ แม่ครูดวงกมล ใจคาปัน (แม่น้อย), อายุ ๗๓ ปี, ครูภูมิปัญญาเครื่องรักเมืองเชียงใหม่, วันที่ ๒ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๖๕ แม่ครูประทิน ศรีบุญเรือง (แม่ทิน), อายุ ๖๒ ปี, ครูช่างศิลปหัตถกรรม ประจาปี ๒๕๕๙ จากศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพ ระหว่างประเทศ (องค์การมหาชน), วันที่ ๒ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๖๕. แม่ครูศศิธร มงคลเรืองฤทธิ์ (แม่ไพร), อายุ ๖๘ ปี, ครูช่างหัตถศิลป์ ประจาปี ๒๕๕๕, วันที่ ๒๐ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๖๕. แม่ครูพัชรา ศิริจันทร์ชื่น (แม่ต้อย), อายุ ๖๖ ปี, เจ้าของกิจการวิชัยกุล เครื่องเขิน, วันที่ ๒ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๖๕. พ่อครูมานพ วงศ์น้อย, อายุ ๖๐ ปี, ครูศิลป์ของแผ่นดิน สาขาเครื่องรัก, วันที่ ๒๐ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๖๕. แม่ครูเทพี ปูจันทร์, อายุ ๔๖ ปี, ผู้เชี่ยวชาญการเจาะน้ายางรัก และการลงรัก, วันที่ ๗ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๕. นายปรีชา ปวนลุน, วันที่ ๑๙ ธันวาคม ๒๕๖๕

Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.