หลักสู ตรการศึกษาปฐมวัย สาหรับเด็กอายุ 3-5 ปี หลักสู ตรการศึกษาปฐมวัยสาหรับเด็กอายุ 3-5 ปี เป็ นการจัดการศึกษาในลักษณะของการอบรม เลี้ยงดูและให้การศึกษา เด็กจะได้รับการพัฒนาทั้งทางด้านร่ างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา ตามวัยและความสามารถของแต่ละบุคคล จุดมุ่งหมาย หลักสู ตรการศึกษาปฐมวัยสาหรับเด็กอายุ 3-5 ปี มุ่งให้เด็กมีพฒั นาการด้านร่ างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา ที่เหมาะสมกับวัย ความสามารถและความแตกต่างระหว่างบุคคล จึงกาหนดจุดหมายซึ่ งถือ เป็ นมาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ดังนี้ 1. ร่ างกายเจริ ญเติบโตตามวัย และมีสุขนิสัยที่ดี 2. กล้ามเนื้อใหญ่และกล้ามเนื้อเล็กแข็งแรง ใช้ได้อย่างคล่องแคล่วและประสานสัมพันธ์ กัน 3. มีสุขภาพจิตดี และมีความสุ ข 4. มีคุณธรรม จริ ยธรรม และมีจิตใจที่งดงาม 5. ชื่นชมและแสดงออกทาง ดนตรี การเคลื่อนไหว และรักการออกกาลังกาย 6. ช่วยเหลือตนเองได้เหมาะสมกับวัย 7. รักธรรมชาติ สิ่ งแวดล้อม วัฒนธรรม และความเป็ นไทย 8. อยูร่ ่ วมกับผูอ้ ื่นได้อย่างมีความสุ ขและปฏิบตั ิตนเป็ นสมาชิกที่ดีของสังคมในระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริ ยท์ รงเป็ นประมุข 9. ใช้ภาษาสื่ อสารได้เหมาะสมกับวัย 10. มีความสามารถในการคิดและการแก้ปัญหาได้เหมาะสมวัย 11. มีจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ 12. มีเจตคติที่ดีต่อการเรี ยนรู ้ และมีทกั ษะในการแสวงหาความรู้ คุณลักษณะตามวัย คุณลักษณะตามวัยเป็ นความสามารถตามวัยหรื อพัฒนาการตามธรรมชาติเมื่อเด็กมีอายุถึงวัยนั้นๆ ผูส้ อน จาเป็ นต้องทาความเข้าใจคุณลักษณะตามวัยของเด็กอายุ 3-5 ปี เพื่อนาไปพิจารณาจัดประสบการณ์ให้เด็ก แต่ละวัยได้อย่างถูกต้องเหมาะสม ขณะเดียวกันจะต้องสังเกตเด็กแต่ละคนซึ่ งมีความแตกต่างระหว่าง บุคคล เพื่อนาข้อมูลไปช่วยในการพัฒนาเด็กให้เต็มความสามารถและ
ศักยภาพ พัฒนาการเด็กในแต่ละช่วงอายุอาจเร็ วหรื อช้ากว่าเกณฑ์ที่กาหนดไว้และการพัฒนาจะเป็ นไป อย่างต่อเนื่ อง ถ้าสังเกตพบว่าเด็กไม่มีความก้าวหน้าอย่างชัดเจนต้องพาเด็กไปปรึ กษาผูเ้ ชี่ยวชาญหรื อ แพทย์เพื่อช่วยเหลือและแก้ไขได้ทนั ท่วงที คุณลักษณะตามวัยที่สาคัญของเด็กอายุ 3-5 ปี มีดงั นี้ เด็กอายุ 3 ปี พัฒนาการด้ านร่ างกาย - กระโดดขึ้นลงอยูก่ บั ที่ได้ - รับลูกบอลด้วยมือและลาตัว - เดินขึ้นบันไดสลับเท้าได้ - เขียนรู ปวงกลมตามแบบได้ - ใช้กรรไกรมือเดียวได้ พัฒนาการด้ านอารมณ์ และจิตใจ - แสดงอารมณ์ตามความรู้สึก - ชอบที่จะทาให้ผใู ้ หญ่พอใจและได้รับคาชม - กลัวการพลัดพรากจากผูเ้ ลี้ยงดูใกล้ชิดน้อยลง พัฒนาการด้ านสั งคม - รับประทานอาหารได้ดว้ ยตนเอง - ชอบเล่นแบบคู่ขนาน (เล่นของเล่นชนิ ดเดียวกันแต่ต่างคนต่างเล่น) - เล่นสมมติได้ - รู้จกั รอคอย พัฒนาการด้ านสติปัญญา - สารวจสิ่ งต่างๆที่เหมือนกันและต่างกันได้ - บอกชื่อของตนเองได้ - ขอความช่วยเหลือเมื่อมีปัญหา - สนทนาโต้ตอบ/เล่าเรื่ องด้วยประโยคสั้นๆได้ - สนใจนิทานและเรื่ องราวต่างๆ - ร้องเพลง ท่องคากลอน คาคล้องจองง่ายๆ และแสดงท่าทางเลียนแบบได้ - รู้จกั ใช้คาถาม “อะไร”
- สร้างผลงานตามความคิดของตนเองอย่างง่ายๆ - อยากรู ้อยากเห็นทุกอย่างรอบตัว เด็กอายุ 4 ปี พัฒนาการด้ านร่ างกาย - กระโดดขาเดียวอยูก่ บั ที่ได้ - รับลูกบอลได้ดว้ ยมือทั้งสอง - เดินขึ้น ลงบันไดสลับเท้าได้ - เขียนรู ปสี่ เหลี่ยมตามแบบได้ - ตัดกระดาษเป็ นเส้นตรงได้ - กระฉับกระเฉงไม่ชอบอยูเ่ ฉย พัฒนาการด้ านอารมณ์ และจิตใจ - แสดงออกทางอารมณ์ได้เหมาะสมกับบางสถานการณ์ - เริ่ มรู ้จกั ชื่นชมความสามารถ และผลงานของตนเองและผูอ้ ื่น - ชอบท้าทายผูใ้ หญ่ - ต้องการให้มีคนฟัง คนสนใจ พัฒนาการด้ านสั งคม - แต่งตัวได้ดว้ ยตนเอง ไปห้องส้วมได้เอง - เล่นร่ วมกับคนอื่นได้ - รอคอยตามลาดับก่อน - หลัง - แบ่งของให้คนอื่น - เก็บของเล่นเข้าที่ได้ พัฒนาการด้ านสติปัญญา - จาแนกสิ่ งต่างๆด้วยประสาทสัมผัสทั้ง 5 ได้ - บอกชื่อและนามสกุลของตนเองได้ - พยายามแก้ปัญหาด้วยตนเองหลังจากได้รับคาชี้แนะ - สนทนาโต้ตอบ / เล่าเรื่ องเป็ นประโยคอย่างต่อเนื่ อง - สร้างผลงานตามความคิดของตนเอง โดยมีรายละเอียดเพิ่มขึ้น
- รู้จกั ใช้คาถาม “ทาไม”
เด็กอายุ 5 ปี พัฒนาการด้ านร่ างกาย - กระโดดขาเดียวไปข้างหน้าอย่างต่อเนื่ องได้ - รับลูกบอลที่กระดอนขึ้นจากพื้นได้ดว้ ยมือทั้งสอง - เดินขึ้น ลงบันไดสลับเท้าได้อย่างคล่องแคล่ว - เขียนรู ปสามเหลี่ยมตามแบบได้ - ตัดกระดาษตามแนวโค้งที่กาหนด - ใช้กล้ามเนื้อเล็กได้ดี เช่น ติดกระดุม ผูกเชือกรองเท้า ฯลฯ - ยืดตัว คล่องแคล่ว พัฒนาการด้ านอารมณ์ และจิตใจ - แสดงอารมณ์ได้สอดคล้องกับสถานการณ์อย่างเหมาะสม - ชื่นชมความสามารถและผลงานของตนเองและผูอ้ ื่น - ยึดตนเองเป็ นศูนย์กลางน้อยลง พัฒนาการด้ านสั งคม - ปฏิบตั ิกิจวัตรประจาวันได้ดว้ ยตนเอง - เล่นหรื อทางานโดยมีจุดมุ่งหมายร่ วมกับผูอ้ ื่นได้ - พบผูใ้ หญ่ รู้จกั ไหว้ ทาความเคารพ - รู้จกั ขอบคุณ เมื่อรับของจากผูใ้ หญ่ - รับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมาย พัฒนาการด้ านสติปัญญา - บอกความแตกต่างของกลิ่น สี เสี ยง รส รู ปร่ าง จาแนก และ จัดหมวดหมู่สิ่งของได้ - บอกชื่อ นามสกุล และอายุของตนเองได้ - พยายามหาวิธีแก้ปัญหาด้วยตนเอง
- สนทนาโต้ตอบ / เล่าเป็ นเรื่ องราวได้ - สร้างผลงานตามความคิดของตนเอง โดยมีรายละเอียดเพิ่มขึ้นและแปลกใหม่ - รู้จกั ใช้คาถาม “ทาไม” “อย่างไร” - เริ่ มเข้าใจสิ่ งที่เป็ นนามธรรม - นับปากเปล่าได้ถึง 20 ระยะเวลาเรียน ใช้เวลาในการจัดประสบการณ์ให้กบั เด็ก 1-3 ปี การศึกษาโดยประมาณ ทั้งนี้ข้ ึนอยูก่ บั อายุของ เด็กที่เริ่ มเข้าสถานศึกษาหรื อสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย สารระการเรียนรู้ สาระการเรี ยนรู ้ใช้เป็ นสื่ อกลางในการจัดกิจกรรมให้กบั เด็ก เพื่อส่ งเสริ มพัฒนาการทุกด้าน ทั้ง ด้านร่ างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา ซึ่ งจาเป็ นต่อการพัฒนาเด็กให้เป็ นมนุษย์ที่สมบูรณ์ ทั้งนี้ สาระการเรี ยนรู้ประกอบด้วย องค์ความรู้ ทักษะหรื อกระบวนการ และคุณลักษณะหรื อค่านิยม คุณธรรม จริ ยธรรม ความรู้สาหรับเด็กอายุ 3-5 ปี จะเป็ นเรื่ องราวที่เกี่ยวข้องกับตัวเด็ก บุคคลและสถานที่ที่แวดล้อม เด็ก ธรรมชาติรอบตัว และสิ่ งต่างๆรอบตัวเด็กที่เด็กมีโอกาสใกล้ชิดหรื อมีปฎิสัมพันธ์ในชีวติ ประจาวัน และเป็ นสิ่ งที่เด็กสนใจ จะไม่เน้นเนื้อหา การท่องจา ในส่ วนที่เกี่ยวข้องกับทักษะหรื อกระบวนการ จาเป็ นต้องบูรณาการทักษะที่สาคัญและจาเป็ นสาหรับเด็ก เช่น ทักษะการเคลื่อนไหว ทักษะทางสังคม ทักษะการคิด ทักษะการใช้ภาษา คณิ ตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ เป็ นต้น ขณะเดียวกันควรปลูกฝังให้เด็ก เกิดเจตคติที่ดี มีค่านิยมที่พึงประสงค์ เช่น ความรู ้สึกที่ดีต่อตนเองและผูอ้ ื่น รักการเรี ยนรู้ รักธรรมชาติ สิ่ งแวดล้อม และมีคุณธรรม จริ ยธรรมที่เหมาะสมกับวัย เป็ นต้น ผูส้ อนหรื อผูจ้ ดั การศึกษา อาจนาสาระการเรี ยนรู้มาจัดในลักษณะหน่วยการสอนแบบบูรณาการหรื อ เลือกใช้วธิ ี การที่สอดคล้องกับปรัชญาและหลักการจัดการศึกษาปฐมวัย สาระการเรี ยนรู ้กาหนดเป็ น 2 ส่ วน ดังนี้ 1. ประสบการณ์สาคัญ ประสบการณ์สาคัญเป็ นสิ่ งจาเป็ นอย่างยิง่ สาหรับการพัฒนาเด็กทางร่ างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญาช่วยให้เด็กเกิดทักษะที่สาคัญสาหรับการสร้างองค์ ความรู้ โดยให้เด็กได้มีปฎิสัมพันธ์กบั วัตถุ สิ่ งของ บุคคลต่างๆที่อยูร่ อบตัว รวมทั้งปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรมไปพร้อมกันด้วย ประสบการณ์ สาคัญมีดงั นี้ 1.1 ประสบการณ์สาคัญทีส่ ่ งเสริมพัฒนาการด้ านร่ างกาย ได้ แก่ 1.1.1 การทรงตัวและการประสานสั มพันธ์ ของกล้ามเนือ้ ใหญ่
- การเคลื่อนไหวอยูก่ บั ที่และการเคลื่อนไหวเคลื่อนที่ - การเคลื่อนไหวพร้อมวัสดุอุปกรณ์ - การเล่นเครื่ องเล่นสนาม 1.1.2 การประสานสั มพันธ์ ของกล้ามเนือ้ เล็ก - การเล่นเครื่ องเล่นสัมผัส - การเขียนภาพและการเล่นสี - การปั้ นและประดิษฐ์สิ่งต่างๆด้วยดินเหนียว ดินน้ ามัน แท่งไม้ เศษวัสดุ ฯลฯ - การต่อของ บรรจุ เท และแยกชิ้นส่ วน 1.1.3 การรักษาสุ ขภาพ - การปฏิบตั ิตนตามสุ ขอนามัย 1.1.4 การรักษาความปลอดภัย - การรักษาความปลอดภัยของตนเองและผูอ้ ื่นในกิจวัตรประจาวัน 1.2 ประสบการณ์สาคัญทีส่ ่ งเสริมพัฒนาการด้ านอารมณ์และจิตใจ ได้ แก่ 1.2.1 ดนตรี - การแสดงปฏิกิริยาโต้ตอบเสี ยงดนตรี - การเล่นเครื่ องดนตรี ง่ายๆ เช่น เครื่ องดนตรี ประเภทเคาะ ประเภทตี ฯลฯ - การร้องเพลง 1.2.2 สุ นทรี ยภาพ - การชื่นชมและสร้างสรรค์สิ่งสวยงาม - การแสดงออกอย่างสนุกสนานกับเรื่ องตลก ขาขัน และเรื่ องราว / เหตุการณ์ที่สนุกสนานต่างๆ 1.2.3 การเล่น - การเล่นอิสระ - การเล่นรายบุคคล การเล่นเป็ นกลุ่ม - การเล่นในห้องเรี ยนและนอกห้องเรี ยน 1.2.4 คุณธรรม จริยธรรม - การปฏิบตั ิตนตามหลักศาสนาที่นบั ถือ 1.3 ประสบการณ์ สาคัญทีส่ ่ งเสริมพัฒนาการด้ านสั งคม ได้ แก่
- การปฏิบตั ิกิจวัตรประจาวันของตน - การเล่นและการทางานร่ วมกับผูอ้ ื่น - การวางแผน ตัดสิ นใจเลือก และลงมือปฏิบตั ิ - การมีโอกาสได้รับรู้ความรู้สึก ความสนใจ และความต้องการของ ตนเองและผูอ้ ื่น - การแลกเปลี่ยนความคิดเห็ นและเคารพความคิดเห็นของผูอ้ ื่น - การแก้ปัญหาในการเล่น - การปฏิบตั ิตามวัฒนธรรมท้องถิ่นที่อาศัยอยูแ่ ละความเป็ นไทย
1.4 ประสบการณ์สาคัญทีส่ ่ งเสริมพัฒนาการด้ านสติปัญญา ได้ แก่ 1.4.1 การคิด - การรู ้จกั สิ่ งต่างๆด้วยการมอง ฟัง สัมผัส ชิมรส และดมกลิ่น - การเลียนแบบการกระทาและเสี ยงต่างๆ - การเชื่อมโยง ภาพถ่าย และรู ปแบบต่างๆกับสิ่ งของหรื อสถานที่จริ ง - การรับรู้ และแสดงความรู ้สึกผ่านสื่ อ วัสดุ ของเล่น และผลงาน - การแสดงความคิดสร้างสรรค์ผา่ นสื่ อ วัสดุ ต่างๆ 1.4.2 การใช้ ภาษา - การแสดงความรู้สึกด้วยคาพูด - การพูดกับผูอ้ ื่นเกี่ยวกับประสบการณ์ของตนเอง หรื อเล่าเรื่ องราว เกี่ยวกับตนเอง - การอธิ บายเกี่ยวกับสิ่ งของ เหตุการณ์ และความสัมพันธ์ของสิ่ งต่างๆ - การฟังเรื่ องราวนิทาน คาคล้องจอง คากลอน - การเขียนในหลายรู ปแบบผ่านประสบการณ์ที่สื่อความหมายต่อเด็ก เขียนภาพ เขียนขีดเขี่ย เขียนคล้ายตัวอักษร เขียนเหมือนสัญลักษณ์ เขียนชื่อตนเอง - การอ่านในหลายรู ปแบบ ผ่านประสบการณ์ที่สื่อความหมายต่อเด็ก อ่านภาพหรื อสัญลักษณ์จากหนังสื อนิทาน/เรื่ องราวที่สนใจ 1.4.3 การสั งเกต การจาแนก และการเปรียบเทียบ - การสารวจและอธิบายความเหมือน ความต่างของสิ่ งต่างๆ - การจับคู่ การจาแนก และการจัดกลุ่ม - การเปรี ยบเทียบ เช่น ยาว/สั้น ขรุ ขระ/เรี ยบ ฯลฯ
- การเรี ยงลาดับสิ่ งต่างๆ - การคาดคะเนสิ่ งต่างๆ - การตั้งสมมติฐาน - การทดลองสิ่ งต่างๆ - การสื บค้นข้อมูล - การใช้หรื ออธิ บายสิ่ งต่างๆ ด้วยวิธีการที่หลากหลาย 1.4.4 จานวน - การเปรี ยบเทียบจานวน มากกว่า น้อยกว่า เท่ากัน - การนับสิ่ งต่างๆ - การจับคู่หนึ่งต่อหนึ่ง - การเพิ่มขึ้นหรื อลดลงของจานวนหรื อปริ มาณ 1.4.5 มิติสัมพันธ์ (พืน้ ที่/ระยะ) - การต่อเข้าด้วยกัน การแยกออก การบรรจุและการเทออก - การสังเกตสิ่ งต่างๆและสถานที่จากมุมมองที่ต่างๆกัน - การอธิ บายในเรื่ องตาแหน่งของสิ่ งต่างๆที่สัมพันธ์กนั - การอธิ บายในเรื่ องทิศทางการเคลื่อนที่ของคนและสิ่ งต่างๆ - การสื่ อความหมายของมิติสัมพันธ์ดว้ ยภาพวาด ภาพถ่าย และรู ปภาพ 1.4.6 เวลา - การเริ่ มต้นและการหยุดการกระทาโดยสัญญาณ - การเปรี ยบเทียบเวลา เช่น ตอนเช้า ตอนเย็น เมื่อวานนี้ พรุ่ งนี้ ฯลฯ - การเรี ยงลาดับเหตุการณ์ต่างๆ - การสังเกตความเปลี่ยนแปลงของฤดู 2. สาระทีค่ วรเรียนรู้ สาระที่ควรเรี ยนรู้ เป็ นเรื่ องราวรอบตัวเด็กที่นามาเป็ นสื่ อในการจัดกิจกรรม ให้เด็กเกิดการเรี ยนรู้ ไม่เน้นการท่องจาเนื้ อหา ผูส้ อนสามารถกาหนดรายละเอียดขึ้นเองให้สอดคล้องกับวัย ความต้องการ และ ความสนใจของเด็ก โดยให้เด็กได้เรี ยนรู ้ผา่ นประสบการณ์สาคัญที่ระบุไว้ขา้ งต้น ทั้งนี้อาจยืดหยุน่ เนื้ อหา ได้ โดยคานึงถึงประสบการณ์และสิ่ งแวดล้อมในชีวติ จริ ง สาระที่เด็กอายุ 3-5 ปี ควรเรี ยนรู้ ดังนี้ 2.1 เรื่องราวเกีย่ วกับตัวเด็ก เด็กควรรู้จกั ชื่อ นามสกุล รู ปร่ าง หน้าตา รู ้จกั อวัยวะต่างๆ วิธีระวังรักษา ร่ างกายให้สะอาด ปลอดภัย การรับประทานอาหารที่ถูกสุ ขลักษณะ เรี ยนรู ้ที่จะเล่นและทาสิ่ งต่างๆด้วย ตนเองคนเดียว หรื อกับผูอ้ ื่น ตลอดจนเรี ยนรู้ที่จะแสดงความคิดเห็น ความรู้สึก และแสดงมารยาทดี
2.2 เรื่องราวเกีย่ วกับบุคคลและสถานทีแ่ วดล้ อมเด็ก เด็กควรได้มีโอกาสรู้จกั ละรับรู้เรื่ องราว เกี่ยวกับ ครอบครัว สถานศึกษา ชุมชน รวมทั้งบุคคลต่างๆที่เด็กต้องเกี่ยวข้องหรื อมีโอกาสใกล้ชิดและมี ปฏิสัมพันธ์ในชีวติ ประจาวัน 2.3 ธรรมชาติรอบตัว เด็กควรจะได้เรี ยนรู ้สิ่งมีชีวติ สิ่ งไม่มีชีวติ รวมทั้งความเปลี่ยนแปลงของโลกที่ แวดล้อมเด็กตามธรรมชาติ เช่น ฤดูกาล กลางวัน กลางคืน ฯลฯ 2.4 สิ่ งต่ างๆรอบตัวเด็ก เด็กควรจะได้รู้จกั สี ขนาด รู ปร่ าง รู ปทรง น้ าหนัก ผิวสัมผัสของสิ่ งต่างๆรอบตัว สิ่ งของเครื่ องใช้ ยานพาหนะ และการสื่ อสารต่างๆที่ใช้อยูใ่ นชีวติ ประจาวัน การจัดประสบการณ์ การจัดประสบการณ์สาหรับเด็กปฐมวัยอายุ 3-5 ปี จะไม่จดั เป็ นรายวิชาแต่จดั ในรู ปของกิจกรรมบูรณา การผ่านการเล่น เพื่อให้เด็กเรี ยนรู้จากประสบการณ์ตรง เกิดความรู ้ ทักษะ จริ ยธรรม รวมทั้งเกิดการ พัฒนาทั้งด้านร่ างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา โดยมีหลักการและแนวทางการจัด ประสบการณ์ ดังนี้ 1. หลักการจัดประสบการณ์ 1.1 จัดประสบการณ์การเล่นและการเรี ยนรู ้เพื่อพัฒนาเด็กโดยองค์รวมอย่างต่อเนื่ อง 1.2 เน้นเด็กเป็ นสาคัญ สนองความต้องการ ความสนใจ ความแตกต่างระหว่างบุคคลและบริ บทของสังคม ที่เด็กอาศัยอยู่ 1.3 จัดให้เด็กได้รับการพัฒนาโดยให้ความสาคัญทั้งกับกระบวนการและผลผลิต 1.4 จัดการประเมินพัฒนาการให้เป็ นกระบวนอย่างต่อเนื่ อง และเป็ นส่ วนหนึ่งของการจัดประสบการณ์ 1.5 ให้ผปู ้ กครองและชุมชนมีส่วนร่ วมในการพัฒนาเด็ก 2. แนวทางการจัดประสบการณ์ 2.1 จัดประสบการณ์ให้สอดคล้องกับจิตวิทยาพัฒนาการ คือเหมาะกับอายุ วุฒิภาวะและระดับพัฒนาการ เพื่อให้เด็กทุกคนได้พฒั นาเต็มตามศักยภาพ 2.2 จัดประสบการณ์ให้สอดคล้องกับลักษณะการเรี ยนรู ้ของเด็กวัยนี้คือ เด็กได้ลงมือกระทา เรี ยนรู ้ผา่ น ประสาทสัมผัสทั้ง5 ได้เคลื่อนไหว สารวจ เล่น สังเกต สื บค้น ทดลอง และคิดแก้ปัญหาด้วยตนเอง 2.3 จัดประสบการณ์ในรู ปแบบบูรณาการ คือ บูรณาการทั้งทักษะและสาระการเรี ยนรู ้ 2.4 จัดประสบการณ์ให้เด็กได้ริเริ่ ม คิด วางแผน ตัดสิ นใจ ลงมือกระทา และนาเสนอความคิดโดยผูส้ อน เป็ นผูส้ นับสนุน อานวยความสะดวก และเรี ยนรู ้ร่วมกับเด็ก 2.5 จัดประสบการณ์ให้เด็กมีปฏิสัมพันธ์กบั เด็กคนอื่น กับผูใ้ หญ่ ภายใต้สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการ เรี ยนรู้ ในบรรยากาศที่อบอุ่นมีความสุ ขและเรี ยนรู ้การทากิจกรรมแบบร่ วมมือในลักษณะต่างๆกัน
2.6 จัดประสบการณ์ให้เด็กมีปฏิสัมพันธ์กบั สื่ อและแหล่งการเรี ยนรู ้ที่หลากหลายและอยูใ่ นวิถีชีวติ ของ เด็ก 2.7 จัดประสบการณ์ที่ส่งเสริ มลักษณะนิสัยที่ดีและทักษะการใช้ชีวติ ประจาวัน ตลอด จนสอดแทรก คุณธรรมจริ ยธรรมให้เป็ นส่ วนหนึ่งของการจัดประสบการณ์การเรี ยนรู ้อย่างต่อเนื่ อง 2.8 จัดประสบการณ์ท้ งั ในลักษณะที่มีการวางแผนไว้ล่วงหน้าและแผนที่เกิดขึ้นในสภาพจริ งโดยไม่ได้ คาดการณ์ไว้ 2.9 ให้ผปู ้ กครองและชุมชนมีส่วนร่ วมในการจัดประสบการณ์ ทั้งการวางแผน การสนับสนุนสื่ อการสอน การเข้าร่ วมกิจกรรม และการประเมินพัฒนาการ 2.10 จัดทาสารนิทศั น์ดว้ ยการรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับพัฒนาการและการเรี ยนรู ้ของเด็กเป็ นรายบุคคล นามาไตร่ ตรองและใช้ให้เป็ นประโยชน์ต่อการพัฒนาเด็กและการวิจยั ในชั้นเรี ยน 3. การจัดกิจกรรมประจาวัน กิจกรรมสาหรับเด็ก 3-5 ปี สามารถนามาจัดเป็ นกิจกรรมประจาวันได้หลายรู ปแบบ เป็ นการช่วยให้ท้ งั ผูส้ อนและเด็กทราบว่าแต่ละวันจะทากิจกรรมอะไร เมื่อใดและอย่างไร การจัดกิจกรรมประจาวันมี หลักการจัดและขอบข่ายของกิจกรรมประจาวัน ดังนี้ 3.1 หลักการจัดกิจกรรมประจาวัน 3.1.1 กาหนดระยะเวลาในการจัดกิจกรรมแต่ละกิจกรรมให้เหมาะสมกับวัยของเด็กในแต่ละวัน 3.1.2 กิจกรรมที่ตอ้ งใช้ความคิด ทั้งในกลุ่มเล็กและกลุ่มใหญ่ ไม่ควรใช้เวลาต่อเนื่ องนานเกินกว่า 20 นาที 3.1.3 กิจกรรมที่เด็กมีอิสระเลือกเล่นเสรี เช่น การเล่นตามมุม การเล่นกลางแจ้ง ฯลฯ 3.1.4 กิจกรรมควรมีความสมดุลระหว่างกิจกรรมในห้องและนอกห้อง กิจกรรมที่ใช้กาลังและไม่ใช้กาลัง จัดให้ครบทุกประเภท ทั้งนี้กิจกรรมที่ตอ้ งออกกาลังกายควรจัดสลับกับกิจกรรมที่ไม่ตอ้ งออกกาลังมาก นัก เพื่อเด็กจะได้ไม่ตอ้ งเหนื่ อยเกินไป 3.2 ขอบข่ ายของกิจกรรมประจาวัน การเลือกกิจกรรมที่จะนามาจัดในแต่ละวัน ต้องให้ครอบคลุมสิ่ ง ต่อไปนี้ 3.2.1 การพัฒนากล้ามเนือ้ ใหญ่ เพื่อให้เด็กได้พฒั นาความแข็งแรงของกล้ามเนื้ อใหญ่ การเคลื่อนไหว และ ความคล่องแคล่วในการใช้อวัยวะต่างๆ จึงควรจัดกิจกรรม โดยให้เด็กได้เล่นอิสระกลางแจ้ง เล่นเครื่ อง เล่นสนาม เคลื่อนไหวร่ างกายตามจังหวะดนตรี 3.2.2 การพัฒนากล้ามเนือ้ เล็ก เพื่อให้เด็กได้พฒั นาความแข็งแรงของกล้ามเนื้ อเล็ก การประสานสัมพันธ์ ระหว่างมือและตา จึงควรจัดกิจกรรมโดยให้เด็กได้เล่นเครื่ องเล่นสัมผัส เล่นเกมต่อภาพ ฝึ กช่วยเหลือ ตนเองในการแต่งกาย หยิบจับช้อนส้อม ใช้อุปกรณ์ศิลปะ เช่น สี เทียน กรรไกร พูก่ นั ดินเหนียว ฯลฯ
3.2.3 การพัฒนาอารมณ์ จิตใจ และปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม เพื่อให้เด็กมีความรู ้สึกที่ดีตอ่ ตนเองและ ผูอ้ ื่น มีความเชื่อมัน่ กล้าแสดงออก มีวนิ ยั ในตนเอง รับผิดชอบ ซื่อสัตย์ ประหยัด เมตตากรุ ณา เอื้อเฟื้ อ แบ่งปั น มีมารยาทและปฏิบตั ิตนตามวัฒนธรรมไทยและศาสนาที่นบั ถือ จึงควรจัดกิจกรรมต่างๆผ่านการ เล่นให้เด็กได้มีโอกาสตัดสิ นใจเลือก ได้รับการตอบสนองตามความต้องการ ได้ฝึกปฏิบตั ิโดยสอดแทรก คุณธรรม จริ ยธรรม ตลอดเวลาที่โอกาสเอื้ออานวย 3.2.4 การพัฒนาสั งคมนิสัย เพื่อให้เด็กมีลกั ษณะนิสัยที่ดี แสดงออกอย่างเหมาะสมและอยูร่ ่ วมกับผูอ้ ื่นได้ อย่างมีความสุ ข ช่วยเหลือตนเองในการทากิจวัตรประจาวัน มีนิสัยรักการทางาน รู้จกั ระมัดระวังความ ปลอดภัยของตนเองและผูอ้ ื่น จึงควรจัดให้เด็กได้ปฏิบตั ิกิจวัตรประจาวันอย่างสม่าเสมอ เช่น รับประทาน อาหาร พักผ่อนนอนหลับ ขับถ่าย ทาความสะอาดร่ างกาย เล่นและทางานร่ วมกับผูอ้ ื่น ปฏิบตั ิตามกฎ กติกาข้อตกลงของส่ วนรวม เก็บของเข้าที่เมื่อเล่นหรื อทางานเสร็ จ ฯลฯ 3.2.5 การพัฒนาการคิด เพื่อให้เด็กได้พฒั นาความคิดรวบยอด สังเกต จาแนก เปรี ยบเทียบ จัดหมวดหมู่ เรี ยงลาดับเหตุการณ์ แก้ปัญหา จึงควรจัดกิจกรรม ให้เด็กได้สนทนาอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น เชิญ วิทยากรมาพูดคุยกับเด็ก ค้นคว้าจากแหล่งข้อมูลต่างๆ ทดลอง ศึกษานอกสถานที่ ประกอบอาหาร หรื อ จัดให้เด็กได้เล่นเกมการศึกษาที่เหมาะสมกับวัย
อย่างหลากหลาย ฝึ กการแก้ปัญหาในชีวิตประจาวันและในการทา กิจกรรมทั้งที่เป็ นกลุ่มย่อย กลุ่มใหญ่ หรื อรายบุคคล 3.2.6 การพัฒนาภาษา เพื่อให้เด็กได้มีโอกาสใช้ภาษาสื่ อสารถ่ายทอดความรู ้สึก ความนึกคิด ความรู้ความ เข้าใจในสิ่ งต่างๆที่เด็กมีประสบการณ์ จึงควรจัดกิจกรรมทางภาษาให้มีความหลากหลายใน สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรี ยนรู ้ มุ่งปลูกฝังให้เด็กรักการอ่าน และบุคลากรที่แวดล้อมต้องเป็ นแบบอย่าง ที่ดีในการใช้ภาษา ทั้งนี้ตอ้ งคานึงถึงหลักการจัดกิจกรรมทางภาษาที่เหมาะสมกับเด็กเป็ นสาคัญ 3.2.7 การส่ งเสริมจินตนาการและความคิดสร้ างสรรค์ เพื่อให้เด็กได้พฒั นาความคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์ ได้ ถ่ายทอดอารมณ์ความรู ้สึกและเห็นความสวยงามของสิ่ งต่างๆรอบตัว โดยใช้กิจกรรมศิลปะและดนตรี เป็ นสื่ อ ใช้ในการเคลื่อนไหวและจังหวะตามจินตนาการ ให้ประดิษฐ์สิ่งต่างๆอย่างอิสระตามความคิด ริ เริ่ มสร้างสรรค์ของเด็ก เล่นบทบาทสมมติในมุมเล่นต่างๆ เล่นน้ า เล่นทราย เล่นก่อสร้างสิ่ งต่างๆ เช่น แท่งไม้รูปทรงต่างๆ ฯลฯ การประเมินพัฒนาการ การประเมินพัฒนาการเด็กอายุ 3-5 ปี เป็ นการประเมินพัฒนาการทางด้านร่ างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญาของเด็ก โดยถือเป็ นกระบวนการต่อเนื่อง และเป็ นส่ วนหนึ่งของกิจกรรมปกติที่จดั ให้เด็ก ในแต่ละวัน ทั้งนี้ให้มุ่งนาข้อมูลการประเมินมาพิจารณา ปรับปรุ ง วางแผนการจัดกิจกรรมเพื่อส่ งเสริ มให้ เด็กแต่ละคนได้รับการพัฒนาตามจุดหมายของหลักสู ตร การประเมินพัฒนาการควรยึดหลัก ดังนี้ 1. ประเมินพัฒนาการของเด็กครบทุกด้านและนาผลมาพัฒนาเด็ก 2. ประเมินเป็ นรายบุคคลอย่างสม่าเสมอต่อเนื่ องตลอดปี 3. สภาพการประเมินควรมีลกั ษณะเช่นเดียวกับการปฏิบตั ิกิจกรรมประจาวัน 4. ประเมินอย่างเป็ นระบบ มีการวางแผน เลือกใช้เครื่ องมือและจดบันทึกไว้เป็ นหลักฐาน 5. ประเมินตามสภาพจริ งด้วยวิธีการหลากหลายเหมาะกับเด็ก รวมทั้งใช้แหล่งข้อมูลหลายๆด้าน ไม่ควร ใช้การทดสอบ สาหรับวิธีการประเมินทีเ่ หมาะสมและควรใช้ กบั เด็กอายุ 3-5 ปี ได้ แก่ การสั งเกต การบันทึกพฤติกรรม การสนทนา การสั มภาษณ์ การวิเคราะห์ ข้อมูลจากผลงานเด็กทีเ่ ก็บอย่ างมีระบบ
แผนการจัดประสบการณ์ สั ปดาห์ ที่ 5 ชื่อหน่ วย อาหารดีมีประโยชน์ (วันที่ 1) กิจกรรมการเคลือ่ นไหวและจังหวะ เวลา 20 นาที จัดกิจกรรมการเรียนการสอนวันที่ ………. เดือน ……………………….. พ.ศ. ……………...... ……………………………………………………………………………………………….…………… 1. สาระสาคัญ การเคลื่อนไหวและจังหวะเป็ นกิจกรรมที่จดั ให้เด็กได้เคลื่อนไหวส่ วนต่าง ๆ ของร่ างกายอย่าง อิสระตามจังหวะ โดยใช้เสี ยงเพลงเสี ยงเครื่ องให้จงั หวะมาประกอบการเคลื่อนไหวเพื่อให้เด็ก เกิดจินตนาการ ความคิดสร้างสรรค์ 2. จุดประสงค์ การเรี ยนรู้ 2.1 แสดงท่าทางเคลื่อนไหวตามสัญญาณกลองได้ (มฐ.5 ตบช.2.2) 2.2 ปฏิบตั ิตามข้อตกลงการเคลื่อนไหวได้ (มฐ. 8 ตบช.2.1) 2.3 แสดงอารมณ์ร่าเริ งแจ่มใส่ อารมณ์ดีขณะเคลื่อนไหวได้ (มฐ. 3 ตบช.1.1) 3. สาระการเรี ยนรู้ 3.1 สาระที่ควรเรี ยนรู้ 1) การเคลื่อนไหวตามข้อตกลง 2) เคลื่อนไหวตามจินตนาการ 3.2 ประสบการณ์สาคัญ 1) การเริ่ มต้นและหยุด การกระทาโดยสัญญาณ 2) การเคลื่อนไหวร่ างกายอยูก่ บั ที่และการเคลื่อนไหวเคลื่อนที่
4. กิจกรรมการเรียนรู้ 4.1 เด็กและครู ร่วมกันสนทนาถึงการเคลื่อนไหวส่ วนต่างๆ ของร่ างกาย และเด็กๆ จับมือกัน เป็ นวงกลม 4.2 เด็กเคลื่อนไหวร่ างกายไปทัว่ ๆ บริ เวณอย่างอิสระตามจังหวะกลอง เมื่อได้ยนิ เสี ยง สัญญาณหยุด ให้หยุดในท่านั้นทันที 4.3 เด็กทาท่าทางตามจินตนาการ โดยฟังคาบรรยาย ดังนี้ “โนนทะเลแสนงาม ฟ้ าสี คราม สดใส มองเห็นเรื อใบ แล่นอยูใ่ นทะเล หากทรายงามเห็นปู ดูชิดูหมู่ปลา กุง้ หอยนานา ว่ายอยูก่ ลาง ทะเล” 4.4 ปฏิบตั ิตามข้อ 3 ซ้ าอีก 4.5 เด็กและครู ร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับการปฏิบตั ิการเคลื่อนไหวโดยเด็กๆ นัง่ ในท่าที่สบาย
5. สื่ อและแหล่ งเรี ยนรู้ 5.1 กลอง 5.2 เพลงทะเลแสนงาม 6. การวัดและประเมินผล 6.1 วิธีการวัด 1) สังเกตการแสดงท่าทางเคลื่อนไหวตามสัญญาณกลอง 2) สังเกตการปฏิบตั ิตามข้อตกลงการเคลื่อนไหว 3) สังเกตการแสดงอารมณ์ร่าเริ งแจ่มใส่ อารมณ์ดีขณะเคลื่อนไหว 6.2 เครื่ องมือ 1) แบบสังเกตพฤติกรรม 6.3 เกณฑ์การประเมิน ระดับ 3 หมายถึง ดี ระดับ 2 หมายถึง พอใช้ ระดับ 1 หมายถึง ปรับปรุ ง ผ่านเกณฑ์การประเมิน ร้อยละ 80 7. กิจกรรมเสนอแนะ …………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………….. ..…………………………………………………………..……………………………………………….
แผนการจัดประสบการณ์ สั ปดาห์ ที่ 5 ชื่ อหน่ วย อาหารดีมีประโยชน์ (วันที่ 1) กิจกรรมสร้ างสรรค์ เวลา 40 นาที จัดกิจกรรมการเรียนการสอนวันที่ ………. เดือน ……………………….. พ.ศ. ……………...... ……………………………………………………………………………………………….…………… 1. สาระสาคัญ กิจกรรมสร้างสรรค์ เป็ นกิจกรรมที่ช่วยเด็กให้แสดงออกทางอารมณ์ความรู ้สึกความคิดริ เริ่ ม สร้างสรรค์และจินตนาการโดยใช้การปฏิบตั ิงานศิลปะ 2. จุดประสงค์ การเรี ยนรู้ 2.1 ทางานศิลปะตามความคิดของตัวเองโดยมีรายละเอียดเพิม่ เติมขึ้นและแปลกใหม่ได้ (มฐ.11 ตบช.1) 2.2 พึงพอใจในตนเองและชื่นชมความสามารถของตนเองและผูอ้ ื่นได้ (มฐ. 3 ตบช.2.2) 2.3 จัดเก็บอุปกรณ์ทางานศิลปะเข้าที่เรี ยบร้อยได้ (มฐ. 4 ตบช.1.1) 3. สาระการเรี ยนรู้ 3.1 สาระที่ควรเรี ยนรู้ 1) การวาดภาพด้วยสี เทียน 2) การพับกระดาษ 3) การสร้างภาพฉีก ติด ปะ
4) การพับสี 5) การปั้ นดินน้ ามัน 3.2 ประสบการณ์สาคัญ 1) การชื่นชมและสร้างสรรค์สิ่งที่สวยงาม 2) การมีโอกาสรับรู้ความรู้สึก ความสนใจ และความต้องการของตนเองและผูอ้ ื่น 3) การรับรู ้และแสดงความรู ้สึกผ่านผลงาน 4) การเขียนภาพและการเล่นกับสี 5) การปั้ นสิ่ งต่าง ๆ 4. กิจกรรมการเรียนรู้ 4.1 เด็กและครู ร่วมสนทนาถึงการปฏิบตั ิกิจกรรมสร้างสรรค์ โดยครู นาผลงานที่ทาสาเร็ จ แล้ว มาให้เด็กๆ ดู แล้วร่ วมสนทนาถึงวิธีการปฏิบตั ิต่อผลงานในลักษณะต่างๆ 4.2 เด็กและครู ร่วมสนทนาถึงอุปกรณ์ที่ใช้ในการดาเนินกิจกรรม การวาดภาพด้วยสี เทียน การพับกระดาษ การสร้างภาพฉี ก ติด ปะ การพับสี การปั้ นดินน้ ามัน พร้อมทั้งแนะนาการปฏิบตั ิตน ขณะเข้าร่ วมปฏิบตั ิกิจกรรมต่างๆ 4.3 เด็กและครู ร่วมกันสนทนาถึงข้อตกลงในการเลือกปฏิบตั ิกิจกรรม โดยเน้นคุณธรรม ด้วยความอดทน รอคอย เอื้อเฟื้ อ แบ่งปั น พร้อมทั้งให้เด็กๆได้เลือกปฏิบตั ิกิจกรรมตามความสนใจ อย่างน้อย 2 กิจกรรม ตามกิจกรรมกาหนดไว้ ดังนี้ กิจกรรมที่ 1 การวาดภาพด้วยสี เทียน กิจกรรมที่ 2 การพับกระดาษ กิจกรรมที่ 3 การสร้างภาพฉีก ติด ปะ กิจกรรมที่ 4 การพับสี กิจกรรมที่ 5 การปั้ นดินน้ ามัน 4.4 เด็กและครู ร่วมกันจัดเตรี ยมวัสดุอุปกรณ์ไว้ให้ ตามกิจกรรมที่กาหนด 4.5 เด็กๆ เลือกเข้ากลุ่มตามความสนใจของตนเอง โดยเด็กและครู ร่วมกันจัดเตรี ยมวัสดุ อุปกรณ์ไว้ให้ เมื่อเสร็ จกิจกรรมให้ผลัดเปลี่ยนกันเข้ากลุ่มตามที่ร่วมกันตกลงไว้ ครู คอยสังเกต พฤติกรรมขณะเด็กร่ วมกิจกรรมอย่างใกล้ชิด 4.6 เด็กและครู ช่วยกันจัดแสดงเพื่อนาเสนอผลงาน และพูดเกี่ยวกับผลงานที่จดั ทาขึ้น 4.7 เด็กช่วยกันเก็บวัสดุ – อุปกรณ์เข้าที่ และทาความสะอาดให้เรี ยบร้อย 5. สื่ อและแหล่ งเรี ยนรู้ 5.1 สี เทียน 5.2 กระดาษสี
5.3 กรรไกร 5.4 กาว 5.5 สี น้ า 5.6 จานสี 5.7 พูก่ นั 5.8 แก้วน้ า 5.9 ที่รองปั้ นดินน้ ามัน 5.10 ดินน้ ามัน 5.11 กระดาษฝึ กปฏิบตั ิ 6. การวัดและประเมินผล 6.1 วิธีการวัด 1) สังเกตการทางานศิลปะตามความคิดของตัวเองโดยมีรายละเอียดเพิ่มเติมขึ้นและแปลกใหม่ 2) สังเกตความพึงพอใจในตนเองและชื่นชมความสามารถของตนเองและผูอ้ ื่น 3) สังเกตการจัดเก็บอุปกรณ์ทางานศิลปะเข้าที่เรี ยบร้อย 6.2 เครื่ องมือ 1) แบบสังเกตพฤติกรรม 6.3 เกณฑ์การประเมิน ระดับ 3 หมายถึง ดี ระดับ 2 หมายถึง พอใช้ ระดับ 1 หมายถึง ปรับปรุ ง ผ่านเกณฑ์การประเมิน ร้อยละ 80 7. กิจกรรมเสนอแนะ …………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………….. ..…………………………………………………………..……………………………………………….
แผนการจัดประสบการณ์ สั ปดาห์ ที่ 5 ชื่อหน่ วย อาหารดีมีประโยชน์ (วันที่ 1) กิจกรรมเสรี เวลา 20 นาที จัดกิจกรรมการเรียนการสอนวันที่ ………. เดือน ……………………….. พ.ศ. ……………...... …………………………………………………………………………………………………………… 1. สาระสาคัญ การเล่นตามมุมเป็ นกิจกรรมที่เปิ ดโอกาสให้เด็กเล่นอิสระตามมุมประสบการณ์ ที่จดั ไว้ใน ห้องเรี ยน เช่น มุมบล็อก มุมหนังสื อ มุมบ้าน มุมร้านค้า ฯลฯ มุมต่าง ๆ เหล่านี้ เด็กมีโอกาสเลือกเล่น อย่างเสรี ตามความสนใจและความต้องการของเด็ก ทั้งรายบุคคลและเป็ นกลุ่ม 2. จุดประสงค์ การเรี ยนรู้ 2.1 เล่นของเล่นในมุมร่ วมกันเป็ นกลุ่มได้ (มฐ. 8 ตบช.1.2) 2.2 ยอมรับและปฏิบตั ิตามข้อตกลงในการเล่นตามมุมได้ (มฐ. 8 ตบช.2.1) 2.3 ต่อของเล่นตามความคิดของตนเองโดยมีรายละเอียดเพิ่มขึ้นและแปลกใหม่ได้ (มฐ. 11 ตบช.1)
3. สาระการเรี ยนรู้ 3.1 สาระที่ควรเรี ยนรู้ 1) มุมบล็อก มุมบ้าน มุมตุก๊ ตา มุมหนังสื อ มุมวิทยาศาสตร์ มุมพลาสติกสร้างสรรค์ มุมเกมการศึกษา 3.2 ประสบการณ์สาคัญ 1) การเล่นอิสระ 2) การเล่นรายบุคคล การเล่นเป็ นกลุ่ม 3) การเล่นในห้องเรี ยน 4. กิจกรรมการเรียนรู้ 4.1 เด็กและครู ร่วมสนทนาถึงการเล่นและการปฏิบตั ิตนขณะเล่นร่ วมกับเพื่อนๆ ในมุม ประสบการณ์ต่างๆ ได้แก่ มุมบล็อก มุมบ้าน มุมตุก๊ ตา มุมหนังสื อ มุมวิทยาศาสตร์ มุมพลาสติก สร้างสรรค์ มุมเกมการศึกษา 4.2 เด็กและครู สร้างข้อตกลงในการเล่น เพื่อฝึ กคุณธรรมจริ ยธรรมและมีจิตใจดีงาม 4.3 เด็กเลือกตัดสิ นใจเล่นอย่างอิสระตามกิจกรรมที่จดั ขึ้นตามความสนใจ โดยผลัดเปลี่ยน หมุนเวียนกันเล่น 4.4 ขณะที่เด็กเล่นครู สังเกตพฤติกรรม สนทนาและกระตุน้ ให้เด็กเกิดความคิด 4.5 เด็กและครู สนทนาแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการเล่นมุมประสบการณ์ต่างๆ แล้วร่ วม กันเก็บอุปกรณ์ต่างๆ ในมุมประสบการณ์เข้าที่ให้เรี ยบร้อย 5. สื่ อและแหล่ งเรี ยนรู้ 5.1 มุมประสบการณ์ต่างๆ 5.2 วัสดุ – อุปกรณ์ที่ใช้ในมุมประสบการณ์ 5.3 ของเล่นสาหรับเด็ก 6. การวัดและประเมินผล 6.1 วิธีวดั 1) สังเกตการเล่นของเล่นในมุมร่ วมกันเป็ นกลุ่ม 2) สังเกตการยอมรับและปฏิบตั ิตามข้อตกลงในการเล่นตามมุม 3) สังเกตการต่อของเล่นตามความคิดของตนเองโดยมีรายละเอียดเพิ่มขึ้นและแปลกใหม่ 6.2 เครื่ องมือ 1) แบบสังเกตพฤติกรรม 6.3 เกณฑ์การประเมิน
ระดับ 3 หมายถึง ดี ระดับ 2 หมายถึง พอใช้ ระดับ 1 หมายถึง ปรับปรุ ง ผ่านเกณฑ์การประเมิน ร้อยละ 80 7. กิจกรรมเสนอแนะ …………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………….. ..…………………………………………………………..……………………………………………….
แผนการจัดประสบการณ์ สั ปดาห์ ที่ 5 ชื่อหน่ วย อาหารดีมีประโยชน์ (วันที่ 1) กิจกรรมเสริมประสบการณ์ เวลา 20 นาที จัดกิจกรรมการเรียนการสอนวันที่ ………. เดือน ……………………….. พ.ศ. ……………...... ……………………………………………………………………………………………….…………… 1. สาระสาคัญ โรคพยาธิ ใบไม้ตบั เกิดจากการกินปลามีเกร็ ดสุ กๆ ดิบๆ ที่มีตวั อ่อนของพยาธิ ปนเปื้ อน เช่น ปลาส้มดิบ ก้อยปลาดิบ ปลาร้าดิบ แจ๋ วบองดิบ ปลาจ่อมดิบ ลาบปลาดิบ 2. จุดประสงค์ การเรี ยนรู้ 2.1 เล่าความรู ้สึกของตนประกอบการให้เหตุผลได้ (มฐ. 10 ตบช.1.1)
2.2 ร่ วมสนทนาโต้ตอบกับเพื่อนและครู ได้ (มฐ. 9 ตบช.1.1) 2.3 ร่ วมกิจกรรมด้วยความสนใจได้ (มฐ.12 ตบช.1.1) 3. สาระทีค่ วรเรียนรู้ 3.1 สาระที่ควรเรี ยนรู้ 1) โรคพยาธิใบไม้ตบั 3.2 ประสบการณ์สาคัญ 1) การพูดกับผูอ้ ื่นเกี่ยวกับประสบการณ์ของตนเองหรื อเล่าเรื่ องราวเกี่ยวกับของตนเอง 2) การแสดงความรู้สึกด้วยคาพูด 4. กิจกรรมการเรียนรู้ 4.1 เด็กและครู นงั่ เป็ นรู ปครึ่ งวงกลม แล้วสัมผัสส่ วนต่างๆ ของร่ างกาย เช่น ปิ ดตา จับหู ปิ ดปาก เพื่อเป็ นการฝึ กสมาธิ 4.2 เด็กและครู ร่วมสนทนาเกี่ยวกับการรับประทานอาหาร แล้วให้เด็กบอกชื่ออาหารที่ชอบ รับประทานคนละ 1 อย่าง และให้บอกเหตุผลที่ชื่นชอบ 4.3 เด็กและครู ร่วมกันสนทนาแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ เรื่ อง อาหารที่ทาให้เกิดโรคพยาธิ ใบไม้ตบั โดยให้เด็กดู ภาพการพยาธิใบไม้ตบั และภาพวงจรพยาธิใบไม้ตบั 4.4 ครู อธิ บายเพิ่มเติม เรื่ องอาหารที่ทาให้โรคพยาธิใบไม้ตบั ซึ่ งจะมีความต้องการแตกต่าง กันไป อาหารประเภทต่างๆ เช่น ปลาส้มดิบ ก้อยปลาดิบ ปลาร้าดิบ แจ๋ วบองดิบ ปลาจ่อมดิบ ลาบ ปลาดิบ ฯลฯ 4.5 ขออาสาสมัครออกมาเล่าประสบการณ์การกินอาหารที่บา้ น 4.6 เด็กและครู ร่วมกันสนทนาสรุ ปถึงอาหารที่ทาให้เกิดโรคพยาธิ 4.7 ให้ทาแบบฝึ กเสริ มประสบการณ์ วันที่ 1 5. สื่ อและแหล่ งเรี ยนรู้ 5.1 ภาพลาดับวงจรชีวิตพยาธิใบไม้ตบั 5.2 ภาพลาดับขั้นการเจริ ญเติบโตของพยาธิใบไม้ตบั 6. การวัดและประเมินผล 6.1 วิธีการวัด 1) สังเกตการเล่าความรู ้สึกของตนประกอบการให้เหตุผล 2) สังเกตการร่ วมสนทนาโต้ตอบกับเพื่อนและครู 3) สังเกตการร่ วมกิจกรรมด้วยความสนใจ 6.2 เครื่ องมือวัด 1) แบบสังเกตพฤติกรรม
6.3 เกณฑ์การประเมิน ระดับ 3 หมายถึง ดี ระดับ 2 หมายถึง พอใช้ ระดับ 1 หมายถึง ปรับปรุ ง ผ่านเกณฑ์การประเมิน ร้อยละ 80 7. กิจกรรมเสนอแนะ …………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………….. ..…………………………………………………………..……………………………………………….
แผนการจัดประสบการณ์ สั ปดาห์ ที่ 5 ชื่อหน่ วย อาหารดีมีประโยชน์ (วันที่ 1) กิจกรรมกลางแจ้ ง เวลา 30 นาที จัดกิจกรรมการเรียนการสอนวันที่ ………. เดือน ……………………….. พ.ศ. ……………...... ……………………………………………………………………………………………….…………… 1. สาระสาคัญ การเล่นเครื่ องเล่นสนาม เป็ นการจัดให้เด็กได้เล่นออกกาลังกายกับเครื่ องเล่นสนาม เช่น ชิงช้า ม้าหมุน กระดานหก กระดานลื่น เพื่อทาให้ร่างกายแข็งแรง และการเล่นร่ วมกับผูอ้ ื่น
2. จุดประสงค์ การเรี ยนรู้ 2.1 เดินสลับเท้าขึ้นลงบันไดกระดานลื่นคล่องแคล่วได้ (มฐ. 2 ตบช.1.3) 2.2 เดินต่อเท้าถอนหลังตามราวเดินได้ (มฐ. 2 ตบช.1.4) 2.3 ระมัดระวังความปลอดภัยของตนเองและผูอ้ ื่นได้ (มฐ. 1 ตบช.2.3) 3. สาระการเรี ยนรู้ 3.1 สาระที่ควรเรี ยนรู้ 1) การเล่นเครื่ องเล่นสนาม 3.2 ประสบการณ์สาคัญ 1) การเล่นเครื่ องเล่นสนาม 2) การเล่นนอกห้องเรี ยน 3) การแก้ปัญหาในการเล่น 4) การสังเกตสิ่ งต่างๆ 4. กิจกรรมการเรียนรู้ 4.1 เด็กและครู เดินไปที่สนามเด็กเล่นบริ เวณโรงเรี ยนอย่างเป็ นระเบียบครู เป่ านกหวีด ทาสัญญาณมือให้เด็กจับมือเป็ นวงกลม 4.2 เด็กอาสาสมัครออกมานาเพื่อนอบอุ่นร่ างกาย โดยวิง่ สลับเท้าอยูก่ บั ที่ 2 นาที กางแขน แตะพื้น 10 ครั้ง เท้าสะเอวลุกนัง่ 10 ครั้ง 4.3 ครู แนะนา และแจ้งข้อตกลงในการเล่นเครื่ องเล่นสนาม วิธีการเล่นที่ปลอดภัยโดยแทรก คุณธรรมด้านความมีน้ าใจ เอื้อเฟื้ อแบ่งปั น รู ้จกั ขอโทษและให้อภัย 4.4 เด็กเลือกเล่นเครื่ องเล่นสนามอย่างอิสระ โดยขณะเล่นกระดานลื่นครู สังเกตการเดินขึ้นลง บันไดได้อย่างคล่องแคล่ว เด็กผลัดเปลี่ยนกันเล่นประมาณ 20 นาที 4.5 ครู ให้สัญญาณนกหวีดรวมเด็ก เด็กนัง่ พักท่าสบาย ร่ วมกันสรุ ปเกี่ยวกับการเล่นเครื่ อง เล่นสนาม ชมเชยการเล่นที่ดีปลอดภัย 4.6 เด็กทาความสะอาดร่ างกายแล้วเดินแถวเข้าห้องเรี ยนอย่างเป็ นระเบียบ 5. สื่ อและแหล่ งเรี ยนรู้ 5.1 นกหวีด 5.2 เครื่ องเล่นสนาม กระดารลื่น ไม้หก ชิงช้า ม้าหมุน ลอดอุโมงค์ 6. การวัดและประเมินผล 6.1 วิธีวดั 1) สังเกตการเดินสลับเท้าขึ้นลงบันไดกระดานลื่นคล่องแคล่ว 2) สังเกตการเดินต่อเท้าถอนหลังตามราวเดิน
3) สังเกตการระมัดระวังความปลอดภัยของตนเองและผูอ้ ื่น 6.2 เครื่ องมือ 1) แบบสังเกตพฤติกรรม 6.3 เกณฑ์การประเมิน ระดับ 3 หมายถึง ดี ระดับ 2 หมายถึง พอใช้ ระดับ 1 หมายถึง ปรับปรุ ง ผ่านเกณฑ์การประเมิน ร้อยละ 80 7. กิจกรรมเสนอแนะ …………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………….. ..…………………………………………………………..……………………………………………….
แผนการจัดประสบการณ์ สั ปดาห์ ที่ 5 ชื่อหน่ วย อาหารดีมีประโยชน์ (วันที่ 1) กิจกรรมเกมการศึกษา เวลา 20 นาที จัดกิจกรรมการเรียนการสอนวันที่ ………. เดือน ……………………….. พ.ศ. ……………...... ……………………………………………………………………………………………….…………….
1. สาระสาคัญ การนาชิ้นส่ วนโดมิโนมาต่อกันให้ปลายที่ติดกันเป็ นภาพที่เหมือนกันได้ เป็ นการฝึ กการสังเกต สิ่ งที่เหมือนกันและต่างกัน 2. จุดประสงค์ การเรี ยนรู้ 2.1 เล่นเกมจับคู่ภาพที่พยาธิใบไม้ตบั ได้ (มฐ. 10 ตบช.1) 2.2 แก้ปัญหาการเล่นด้วยตัวเองได้ (มฐ. 10 ตบช.2.1) 2.3 เล่นเกมจับคู่ภาพที่พยาธิใบไม้ตบั ร่ วมกับเพื่อนได้ (มฐ. 8 ตบช.1.2) 3. สาระการเรี ยนรู้ 3.1 สาระที่ควรเรี ยนรู้ 1) การสังเกตสิ่ งที่เหมือนกันและต่างกัน 3.2 ประสบการณ์สาคัญ 1) การจับคู่ จาแนก จัดกลุ่ม 2) การแก้ปัญหาในการเล่น 4. กิจกรรมการเรียนรู้ 4.1 เด็กนัง่ เป็ นรู ปตัวยู ครู นาเกมโดมิโนรู ปพยาธิใบไม้ตบั ซ้อนกัน และร่ วมกันสนทนาถึง เกมโดยครู นาเกมให้นกั เรี ยนสังเกต 4.2 ครู แนะนาและสาธิ ตวิธีเล่นเกมโดมิโนรู ปพยาธิใบไม้ตบั ซ้อนกัน พร้อมทั้งขออาสา สมัครสาธิ ตวิธีการเล่นเกม 4.3 เด็กแบ่งกลุ่มตามความสมัครใจ ออกเป็ น 3 - 4 กลุ่ม 4.4 ตัวแทนกลุ่มมารับเกมโดมิโนรู ปพยิใบไม้ตบั ซ้อนกัน และเกมการศึกษาอื่น 4.5 เด็กๆ ร่ วมเล่นเกมตามที่ครู กาหนดเอาไว้โดยหมุนเวียนกันเล่นกับเกมที่เคยเล่นมา แล้วขณะที่เล่นเกม ครู คอยแนะนา สังเกตพฤติกรรมการเล่นและตรวจความถูกต้อง 4.6 เด็กและครู ร่วมกันสนทนาซักถาม และสรุ ปผลการเกมโดมิโนรู ปพยาธิใบไม้ตบั ซ้อนกัน เด็กช่วยกันเก็บเกมเข้าที่ให้เรี ยบร้อย 4.8 ให้ทาแบบฝึ กเกมการศึกษา วันที่ 1
5. สื่ อและแหล่ งเรี ยนรู้ 5.1 เกมจับคู่ภาพที่ซ่อนในรู ปพยาธิใบไม้ตบั 5.2 เกมที่เคยเล่นมาแล้ว
6. การวัดและประเมินผล 6.1 วิธีวดั 1) สังเกตการเล่นเกมจับคู่ภาพที่ซ่อนในรู ปพยาธิใบไม้ตบั 2) สังเกตการแก้ปัญหาการเล่นด้วยตัวเอง 3) สังเกตการเล่นเกมจับคู่ภาพที่ซ่อนในรู ปพยาธิใบไม้ตบั ร่ วมกับเพื่อน 6.2 เครื่ องมือ 1) แบบสังเกตพฤติกรรม 6.3 เกณฑ์การประเมิน ระดับ 3 หมายถึง ดี ระดับ 2 หมายถึง พอใช้ ระดับ 1 หมายถึง ปรับปรุ ง ผ่านเกณฑ์การประเมิน ร้อยละ 80 7. กิจกรรมเสนอแนะ …………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………….. ..…………………………………………………………..……………………………………………….
แผนการจัดประสบการณ์ สั ปดาห์ ที่ 5 ชื่อหน่ วย อาหารดีมีประโยชน์
(วันที่ 2)
กิจกรรมการเคลือ่ นไหวและจังหวะ เวลา 20 นาที จัดกิจกรรมการเรียนการสอนวันที่ ………. เดือน ……………………….. พ.ศ. ……………...... ……………………………………………………………………………………………….…………… 1. สาระสาคัญ การเคลื่อนไหวและจังหวะเป็ นกิจกรรมที่จดั ให้เด็กได้เคลื่อนไหวส่ วนต่าง ๆ ของร่ างกายอย่าง อิสระตามจังหวะ โดยใช้เสี ยงเพลงเสี ยงเครื่ องให้จงั หวะมาประกอบการเคลื่อนไหวเพื่อให้เด็ก เกิดจินตนาการ ความคิดสร้างสรรค์ 2. จุดประสงค์ การเรี ยนรู้ 2.1 แสดงท่าทางเคลื่อนไหวตามสัญญาณกลองได้ (มฐ. 2 ตบช.2.2) 2.2 แสดงท่าทางตามจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ได้ (มฐ. 11 ตบช.3) 2.3 สนใจและมีความสุ ขกับการเคลื่อนไหวประกอบอุปกรณ์ได้ (มฐ. 5 ตบช.3) 3. สาระการเรี ยนรู้ 3.1 สาระที่ควรเรี ยนรู้ 1) การฟังและปฏิบตั ิตามสัญญาณ 2) การปฏิบตั ิตามคาสั่ง 3) การรู ้ค่าจานวน 1 - 5 3.2 ประสบการณ์สาคัญ 1) การเริ่ มต้นและหยุด การกระทาโดยสัญญาณ 2) การเคลื่อนไหวร่ างกายอยูก่ บั ที่และการเคลื่อนไหวเคลื่อนที่ 3) การนับสิ่ งต่างๆ 4. กิจกรรมการเรียนรู้ 4.1 เด็กและครู ร่วมกันสนทนาถึงการเคลื่อนไหวส่ วนต่างๆ ของร่ างกาย และเด็กๆ จับมือ กันเป็ นวงกลม 4.2 เด็กเคลื่อนไหวร่ างกายไปทัว่ ๆ บริ เวณอย่างอิสระตามจังหวะกลอง เมื่อได้ยนิ เสี ยง สัญญาณหยุด ให้หยุดในท่านั้นทันที 4.3 เด็กและครู ร่วมกันกาหนดข้อตกลง โดยเมื่อครู ชูบตั รภาพจานวนใดก็ตาม ให้เด็กรวม กลุ่มกันเท่ากับจานวนในบัตรภาพนั้น (จานวนกลุ่มให้เปลี่ยนจานวนได้โดยมีจานวนตั้งแต่ 1 – 5) 4.4 เด็กเคลื่อนที่ไปรอบๆ บริ เวณตามจังหวะเมื่อได้ยนิ เสี ยงสัญญาณหยุด ให้ปฏิบตั ิตาม ข้อตกลง 4.5 เด็กปฏิบตั ิตามข้อ 4 ซ้ าอีก 2 – 3 ครั้ง 4.6 เด็กและครู ร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับการปฏิบตั ิตนในการเคลื่อนไหวตามข้อตกลง
4.7 เด็กๆ ทุกคนนัง่ ในท่าบาย พร้อมหายใจเข้าออก อย่างเป็ นจังหวะ 5. สื่ อและแหล่ งเรี ยนรู้ 5.1 กลอง 5.2 เพลงทะเลแสนงาม 6. การวัดและประเมินผล 6.1 วิธีการวัด 1) สังเกตการแสดงท่าทางเคลื่อนไหวตามสัญญาณกลอง 2) สังเกตการแสดงท่าทางตามจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ 3) สังเกตความสนใจและมีความสุ ขกับการเคลื่อนไหวประกอบอุปกรณ์ 6.2 เครื่ องมือ 1) แบบสังเกตพฤติกรรม 6.3 เกณฑ์การประเมิน ระดับ 3 หมายถึง ดี ระดับ 2 หมายถึง พอใช้ ระดับ 1 หมายถึง ปรับปรุ ง ผ่านเกณฑ์การประเมิน ร้อยละ 80 7. กิจกรรมเสนอแนะ …………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………….. ..…………………………………………………………..……………………………………………….
แผนการจัดประสบการณ์ สั ปดาห์ ที่ 5 ชื่อหน่ วย อาหารดีมีประโยชน์ (วันที่ 2) กิจกรรมสร้ างสรรค์ เวลา 40 นาที จัดกิจกรรมการเรียนการสอนวันที่ ………. เดือน ……………………….. พ.ศ. ……………...... ……………………………………………………………………………………………….…………… 1. สาระสาคัญ กิจกรรมสร้างสรรค์ เป็ นกิจกรรมที่ช่วยเด็กให้แสดงออกทางอารมณ์ความรู ้สึกความคิดริ เริ่ ม สร้างสรรค์และจินตนาการโดยใช้การปฏิบตั ิงานศิลปะ 2. จุดประสงค์ การเรี ยนรู้ 2.1 ทางานศิลปะตามความคิดของตัวเองโดยมีรายละเอียดเพิ่มเติมขึ้นและแปลกใหม่ได้ (มฐ.11 ตบช.1) 2.2 ใช้อุปกรณ์ในการทางานศิลปะอย่างประหยัดได้ (มฐ. 4 ตบช.4) 2.3 มีความมัน่ ใจในตัวเองกล้าแสดงออกทางศิลปะได้ (มฐ. 3 ตบช.2.1) 3. สาระการเรี ยนรู้ 3.1 สาระที่ควรเรี ยนรู้ 1) การวาดภาพด้วยดินสอสี 2) การวาดภาพด้วยสี น้ า 3) การพิมพ์ภาพด้วยนิ้วมือ 4) การดึงสี ดว้ ยเชือก 5) การตัด ติด ปะ กระดาษ 3.2 ประสบการณ์สาคัญ 1) การชื่นชมและสร้างสรรค์สิ่งที่สวยงาม 2) การมีโอกาสรับรู้ความรู้สึก ความสนใจ และความต้องการของตนเองและผูอ้ ื่น 3) การรับรู ้และแสดงความรู ้สึกผ่านผลงาน 4) การเขียนภาพและการเล่นกับสี 4. กิจกรรมการเรียนรู้ 4.1 เด็กและครู ร่วมสนทนาถึงการปฏิบตั ิกิจกรรมสร้างสรรค์ โดยครู นาผลงานที่ทาสาเร็ จ แล้ว มาให้เด็กๆ ดู แล้วร่ วมสนทนาถึงวิธีการปฏิบตั ิต่อผลงานในลักษณะต่างๆ 4.2 เด็กและครู ร่วมสนทนาถึงอุปกรณ์ที่ใช้ในการดาเนินกิจกรรม การวาดภาพด้วยดินสอสี การวาดภาพด้วยสี น้ า การพิมพ์ภาพด้วยนิ้วมือ การดึงสี ดว้ ยเชือก การตัด ติด ปะ กระดาษ พร้อมทั้ง แนะนาการปฏิบตั ิตนขณะเข้าร่ วมปฏิบตั ิกิจกรรมต่างๆ
4.3 เด็กและครู ร่วมกันสนทนาถึงข้อตกลงในการเลือกปฏิบตั ิกิจกรรม โดยเน้นคุณธรรม ด้วยความอดทน รอคอย เอื้อเฟื้ อ แบ่งปั น พร้อมทั้งให้เด็กๆได้เลือกปฏิบตั ิกิจกรรมตามความสนใจ อย่าง น้อย 2 กิจกรรม ตามกิจกรรมกาหนดไว้ ดังนี้ กิจกรรมที่ 1 การวาดภาพด้วยดินสอสี กิจกรรมที่ 2 การวาดภาพด้วยสี น้ า กิจกรรมที่ 3 การพิมพ์ภาพด้วยนิ้วมือ กิจกรรมที่ 4 การดึงสี ดว้ ยเชือก กิจกรรมที่ 5 การตัด ติด ปะ กระดาษ 4.4 เด็กและครู ร่วมกันจัดเตรี ยมวัสดุอุปกรณ์ไว้ให้ ตามกิจกรรมที่กาหนด 4.5 เด็กๆ เลือกเข้ากลุ่มตามความสนใจของตนเอง โดยเด็กและครู ร่วมกันจัดเตรี ยมวัสดุ อุปกรณ์ไว้ให้ เมื่อเสร็ จกิจกรรมให้ผลัดเปลี่ยนกันเข้ากลุ่มตามที่ร่วมกันตกลงไว้ ครู คอยสังเกต พฤติกรรมขณะเด็กร่ วมกิจกรรมอย่างใกล้ชิด 4.6 เด็กและครู ช่วยกันจัดแสดงเพื่อนาเสนอผลงาน และพูดเกี่ยวกับผลงานที่จดั ทาขึ้น 4.7 เด็กช่วยกันเก็บวัสดุ – อุปกรณ์เข้าที่ และทาความสะอาดให้เรี ยบร้อย 5. สื่ อและแหล่ งเรี ยนรู้ 5.1 ดินสอสี 5.2 สี น้ า 5.3 พูก่ นั 5.4 จานสี 5.5 แป้ นพิมพ์ 5.6 หมึก 5.7 แก้วน้ า 5.8 ดินน้ ามัน 5.9 ที่รองปั้ นดินน้ ามัน 5.10 กระดาษฝึ กปฏิบตั ิ 6. การวัดและประเมินผล 6.1 วิธีการวัด 1) สังเกตการทางานศิลปะตามความคิดของตัวเองโดยมีรายละเอียดเพิ่มเติมขึ้นและแปลกใหม่ 2) สังเกตการใช้อุปกรณ์ในการทางานศิลปะอย่างประหยัด 3) สังเกตการมีความมัน่ ใจในตัวเองกล้าแสดงออกทางศิลปะ 6.2 เครื่ องมือ
1) แบบสังเกตพฤติกรรม 6.3 เกณฑ์การประเมิน ระดับ 3 หมายถึง ดี ระดับ 2 หมายถึง พอใช้ ระดับ 1 หมายถึง ปรับปรุ ง ผ่านเกณฑ์การประเมิน ร้อยละ 80 7. กิจกรรมเสนอแนะ …………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………….. ..…………………………………………………………..……………………………………………….
แผนการจัดประสบการณ์ สั ปดาห์ ที่ 5 ชื่อหน่ วย อาหารดีมีประโยชน์ (วันที่ 2) กิจกรรมเสรี เวลา 20 นาที จัดกิจกรรมการเรียนการสอนวันที่ ………. เดือน ……………………….. พ.ศ. ……………...... …………………………………………………………………………………………………………… 1. สาระสาคัญ การเล่นตามมุมเป็ นกิจกรรมที่เปิ ดโอกาสให้เด็กเล่นอิสระตามมุมประสบการณ์ ที่จดั ไว้ใน ห้องเรี ยน เช่น มุมบล็อก มุมหนังสื อ มุมบ้าน มุมร้านค้า ฯลฯ มุมต่าง ๆ เหล่านี้ เด็กมีโอกาสเลือกเล่น อย่างเสรี ตามความสนใจและความต้องการของเด็ก ทั้งรายบุคคลและเป็ นกลุ่ม 2. จุดประสงค์ การเรี ยนรู้ 2.1 เล่นของเล่นตามมุมร่ วมกันเป็ นกลุ่มได้ (มฐ. 8 ตบช.2.1) 2.2 ไม่หยิบของเล่นของผูอ้ ื่นมาเป็ นของตัวเองได้ (มฐ. 4 ตบช.2.1) 2.3 เล่นของเล่นอย่างประหยัดได้ (มฐ. 4 ตบช.4) 3. สาระการเรี ยนรู้ 3.1 สาระที่ควรเรี ยนรู้ 1) มุมบล็อก มุมบ้าน มุมตุก๊ ตา มุมหนังสื อ มุมวิทยาศาสตร์ มุมพลาสติกสร้างสรรค์ มุมเกมการศึกษา 3.2 ประสบการณ์สาคัญ 1) การเล่นอิสระ 2) การเล่นรายบุคคล การเล่นเป็ นกลุ่ม 3) การเล่นในห้องเรี ยน 4. กิจกรรมการเรียนรู้ 4.1 เด็กและครู ร่วมสนทนาถึงการเล่นและการปฏิบตั ิตนขณะเล่นร่ วมกับเพื่อนๆ ในมุม ประสบการณ์ต่างๆ ได้แก่ มุมบล็อก มุมบ้าน มุมตุก๊ ตา มุมหนังสื อ มุมวิทยาศาสตร์ มุมพลาสติก สร้างสรรค์ มุมเกมการศึกษา 4.2 เด็กและครู สร้างข้อตกลงในการเล่น เพื่อฝึ กคุณธรรมจริ ยธรรมและมีจิตใจดีงาม 4.3 เด็กเลือกตัดสิ นใจเล่นอย่างอิสระตามกิจกรรมที่จดั ขึ้นตามความสนใจ โดยผลัดเปลี่ยน
หมุนเวียนกันเล่น 4.4 ขณะที่เด็กเล่นครู สังเกตพฤติกรรม สนทนาและกระตุน้ ให้เด็กเกิดความคิด 4.5 เด็กและครู สนทนาแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการเล่นมุมประสบการณ์ต่างๆ แล้วร่ วม กันเก็บอุปกรณ์ต่างๆ ในมุมประสบการณ์เข้าที่ให้เรี ยบร้อย 5. สื่ อและแหล่ งเรี ยนรู้ 5.1 มุมประสบการณ์ต่างๆ 5.2 วัสดุ – อุปกรณ์ที่ใช้ในมุมประสบการณ์ 5.3 ของเล่นสาหรับเด็ก 6. การวัดและประเมินผล 6.1 วิธีวดั 1) สังเกตการเล่นของเล่นตามมุมร่ วมกันเป็ นกลุ่ม 2) สังเกตการไม่หยิบของเล่นของผูอ้ ื่นมาเป็ นของตัวเอง 3) สังเกตการเล่นของเล่นอย่างประหยัด 6.2 เครื่ องมือ 1) แบบสังเกตพฤติกรรม 6.3 เกณฑ์การประเมิน ระดับ 3 หมายถึง ดี ระดับ 2 หมายถึง พอใช้ ระดับ 1 หมายถึง ปรับปรุ ง ผ่านเกณฑ์การประเมิน ร้อยละ 80 7. กิจกรรมเสนอแนะ …………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………….. ..…………………………………………………………..……………………………………………….
แผนการจัดประสบการณ์ สั ปดาห์ ที่ 5 ชื่อหน่ วย อาหารดีมีประโยชน์ (วันที่ 2) กิจกรรมเสริมประสบการณ์ เวลา 20 นาที จัดกิจกรรมการเรียนการสอนวันที่ ………. เดือน ……………………….. พ.ศ. ……………...... ……………………………………………………………………………………………….…………… 1. สาระสาคัญ การรับประทานปลาน้ าจืดเกล็ดขาวปรุ งไม่สุก โดยมีตวั อ่อนของพยาธิ ใบไม้ตบั ระยะติดต่อ ทา ให้เป็ นโรคพยาธิใบไม้ตบั 2. จุดประสงค์ การเรี ยนรู้ 2.1 รู้จกั อาหารที่ก่อให้เกิดโรคพยาธิ ใบไม้ตบั ได้ (มฐ. 9 ตบช.1.1) 2.2 บอกประโยชน์อาหารหลัก 5 หมู่ได้ (มฐ. 9 ตบช.1.1) 2.3 ร่ วมกิจกรรมกับเพื่อนและครู ได้ (มฐ. 12 ตบช.1.1) 3. สาระทีค่ วรเรียนรู้ 3.1 สาระที่ควรเรี ยนรู้ 1) อาหารที่ก่อให้เกิดโรคพยาธิ ใบไม้ตบั 3.2 ประสบการณ์สาคัญ 1) การแลกเปลี่ยนความคิดและเคารพความคิดเห็นของผูอ้ ื่น 2) การแสดงความรู้สึกด้วยคาพูด 4. กิจกรรมการเรียนรู้ 4.1 เด็กและครู นงั่ เป็ นรู ปครึ่ งวงกลม แล้วสัมผัสส่ วนต่างๆ ของร่ างกาย เช่น จับผม จับหู จับจมูก เป็ นต้น เพื่อเป็ นการฝึ กสมาธิ 4.2 เด็กและครู ร่วมกันร้องเพลง “ล้างมือบ่อยๆ” 4.3 เด็กและครู ร่วมกันสนทนาเนื้ อเรื่ องในเพลง โดยเด็กบอกวิธีรักษาความสะอาด และดู
ภาพประกอบ 4.4 ครู นาภาพอาหาร 5 หมู่ แล้วเด็กช่วยกันสังเกตว่ามีอะไรบ้าง อธิ บายถึงประโยชน์ของ อาหารนั้นๆ ที่มีผลต่อการเจริ ญเติบโตให้กาลังงาน และป้ องกันโรคต่างๆ โดยเน้นถึงความจาเป็ นของ การรับประทานอาหารให้ครบทั้ง 5 หมู่ 4.5 เด็กและครู ร่วมกันสนทนาสรุ ปถึง การรับประทานอาหารที่ก่อให้เกิดโรคพยาธิ ใบไม้ตบั 4.6 นาอาหารกลางวันของโรงเรี ยนมาให้เด็กสังเกตว่าเป็ นกินดี มีสุข มีอาหารครบ 5 หมู่ หรื อไม่ 4.7 ให้ทาแบบฝึ กเสริ มประสบการณ์ วันที่ 2 5. สื่ อและแหล่ งเรี ยนรู้ 5.1 เพลงล้างมือบ่อยๆ 5.2 ภาพอาหารหลัก 5 หมู่ 6. การวัดและประเมินผล 6.1 วิธีการวัด 1) สังเกตการร่ วมกิจกรรมและแสดงความคิดเห็น 2) สังเกตการบอกประโยชน์อาหารหลัก 5 หมู่ 3) สังเกตการร่ วมกิจกรรมกับเพื่อนและครู 6.2 เครื่ องมือวัด 1) แบบสังเกตพฤติกรรม 6.3 เกณฑ์การประเมิน ระดับ 3 หมายถึง ดี ระดับ 2 หมายถึง พอใช้ ระดับ 1 หมายถึง ปรับปรุ ง ผ่านเกณฑ์การประเมิน ร้อยละ 80 7. กิจกรรมเสนอแนะ …………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………….. ..…………………………………………………………..……………………………………………….
แผนการจัดประสบการณ์ สั ปดาห์ ที่ 5 ชื่อหน่ วย อาหารดีมีประโยชน์ (วันที่ 2) กิจกรรมกลางแจ้ ง เวลา 30 นาที จัดกิจกรรมการเรียนการสอนวันที่ ………. เดือน ……………………….. พ.ศ. ……………...... ……………………………………………………………………………………………….…………… 1. สาระสาคัญ การเล่นเกมทายสี เป็ นการจัดกิจกรรมให้เด็กได้เล่นการเล่นแบบไทยหรื อการละเล่นใน ท้องถิ่น ก่อนเล่นต้องตกลงกติกาการเล่น และสาธิ ตการเล่นให้เด็กเข้าใจก่อน 2. จุดประสงค์ การเรี ยนรู้ 2.1 มีความมัน่ ใจในตัวเองกล้าเล่นเกมทายสี ได้ (มฐ. 3 ตบช.2.1) 2.2 เล่นเกมทายสี ร่วมกับเพื่อนได้ (มฐ. 8 ตบช.1.2) 2.3 แสดงสี หน้ามีความสุ ขในการเล่นเกมทายสี ได้ (มฐ. 5 ตบช.3) 3. สาระการเรี ยนรู้ 3.1 สาระที่ควรเรี ยนรู้ 1) การเล่นเกมทายสี 3.2 ประสบการณ์สาคัญ 1) การเคลื่อนไหวพร้อมอุปกรณ์ 2) การเล่นในห้องเรี ยนและนอกห้องเรี ยน 3) การเล่นเป็ นกลุ่ม 4) การแสดงความรู้สึกด้วยคาพูด
4. กิจกรรมการเรียนรู้ 4.1 เด็กและครู เดินแถวไปที่ขา้ งสนามบริ เวณโรงเรี ยนอย่างเป็ นระเบียบ แล้วให้สัญญาณ แพ็ค แพ็ค แพ็ค พร้อมทาสัญญาณมือครึ่ งวงกลม โดยยกแขนทั้งสองข้างระดับเอว ดึง เข้าออกเป็ น รู ป ครึ่ งวงกลม เด็กยืนแถวรู ปครึ่ งวงกลมระยะห่าง 1 ช่วงแขน เด็กและครู สร้างข้อตกลงในการอบอุ่น ร่ างกาย โดยครู สาธิ ต และขออาสาสมัคร ออกมานาเพื่ออบอุ่นร่ างกาย 4.2 เด็กและครู ร่วมกันสนทนาถึงการปฏิบตั ิตน ขณะเล่นเกมทายสี และการระวัง อันตรายต่างๆ ที่เกิดจากการเล่นเกม ทั้งนี้ครู ได้แนะนาการเล่นเกมสาลิกาป้ อนเหยือ่ 4.3 เด็กๆ ทุกคนร่ วมเล่นเกมทายสี 4.4 ให้สัญญาณนกหวีดรวมเด็ก ให้เด็กนัง่ ในท่าที่สบาย แล้วร่ วมสนทนาถึงความรู ้สึกเกี่ยว กับการเล่นและชมเชย 4.5 เด็กทาความสะอาดร่ างกายแล้วเดินแถวเข้าห้องเรี ยนอย่างเป็ นระเบียบ 5. สื่ อและแหล่ งเรี ยนรู้ 5.1 นกหวีด 5.2 เกมทายสี 6. การวัดและประเมินผล 6.1 วิธีวดั 1) สังเกตการมีความมัน่ ใจในตัวเองกล้าเล่นเกมทายสี 2) สังเกตการเล่นเกมทายสี ร่วมกับเพื่อน 3) สังเกตการแสดงสี หน้ามีความสุ ขในการเล่นเกมทายสี 6.2 เครื่ องมือ 1) แบบสังเกตพฤติกรรม 6.3 เกณฑ์การประเมิน ระดับ 3 หมายถึง ดี ระดับ 2 หมายถึง พอใช้ ระดับ 1 หมายถึง ปรับปรุ ง ผ่านเกณฑ์การประเมิน ร้อยละ 80 7. กิจกรรมเสนอแนะ …………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………….. ..…………………………………………………………..……………………………………………….
แผนการจัดประสบการณ์ สั ปดาห์ ที่ 5 ชื่อหน่ วย อาหารดีมีประโยชน์ (วันที่ 2) กิจกรรมเกมการศึกษา เวลา 20 นาที จัดกิจกรรมการเรียนการสอนวันที่ ………. เดือน ……………………….. พ.ศ. ……………...... ……………………………………………………………………………………………….…………… 1. สาระสาคัญ การนาชิ้นส่ วนของภาพมาต่อให้เป็ นภาพที่สมบูรณ์ได้ เป็ นการฝึ กการสังเกตสิ่ งที่เหมือนกัน หรื อต่างกันเกี่ยวกับสี ขนาดรู ปร่ าง 2. จุดประสงค์ การเรี ยนรู้ 2.1 เล่นเกม ภาพตัดต่อ (อาหารที่ก่อให้เกิดโรคพยาธิ ใบไม้ตบั )ได้ (มฐ. 10 ตบช.1) 2.2 แบ่งปั นเกมการศึกษาและให้ความช่วยเหลือเพื่อนได้ (มฐ. 4 ตบช.3.2) 2.3 กล้าตัดสิ นใจการเล่นเกมและยอมรับผลที่เกิดขึ้นได้ (มฐ. 10 ตบช.2.2) 3. สาระการเรี ยนรู้ 3.1 สาระที่ควรเรี ยนรู้ 1) เกม ภาพตัดต่อ (อาหารที่ก่อให้เกิดโรคพยาธิ ใบไม้ตบั ) 3.2 ประสบการณ์สาคัญ 1) การเล่นรายบุคคล การเล่นเป็ นกลุ่ม
2) การแก้ปัญหาในการเล่น 3) การเล่นการทางานร่ วมกับผูอ้ ื่น 4. กิจกรรมการเรียนรู้ 4.1 เด็กนัง่ เป็ นรู ปตัวยู ครู นาเกม ภาพตัดต่อพ่อลูกที่ให้สมบูรณ์ ให้เด็กดู 4.2 เด็กและครู ร่วมสนทนาถึงเกมภาพตัดต่อ แล้วให้เด็กๆ แบ่งกลุ่มตามความสนใจ จานวนกลุ่มละ 3 – 4 คน 4.3 ครู แนะนาอุปกรณ์การเล่นเกมภาพตัดต่อ พร้อมทั้งสาธิ ตการเล่นเกมให้เด็กดูเป็ นตัวอย่าง 4.4 ตัวแทนกลุ่มมารับเกมการศึกษา กลุ่มละ 1 ชุด โดยเป็ นเกมภาพตัดต่อและเกม การศึกษาอื่นที่เคยเล่นมาแล้ว 4.5 เด็กแต่ละกลุ่ม เล่นเกมการศึกษา โดยการผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนกันเล่นทุกคนตาม อิสระ โดยครู คอยแนะนา สังเกตพฤติกรรมการเล่นและตรวจความถูกต้อง 4.6 เด็กและครู ร่วมกันสนทนาซักถาม และสรุ ปผลการเล่นเกม ภาพตัดต่อและเกมที่เคย เล่นมาแล้ว 4.7 เด็กช่วยกันเก็บอุปกรณ์การเล่นเกมเข้าที่ให้เรี ยบร้อย 4.8 ให้ทาแบบฝึ กเกมการศึกษา วันที่ 2 5. สื่ อและแหล่ งเรี ยนรู้ 5.1 เกมภาพตัดต่อ (อาหารที่ก่อให้เกิดโรคพยาธิ ใบไม้ตบั ) 5.2 เกมที่เคยเล่นมาแล้ว 6. การวัดและประเมินผล 6.1 วิธีวดั 1) สังเกตการเล่นเกมภาพตัดต่อ (อาหารที่ก่อให้เกิดโรคพยาธิ ใบไม้ตบั ) 2) สังเกตการแบ่งปั นเกมการศึกษาและให้ความช่วยเหลือเพื่อน 3) สังเกตการกล้าตัดสิ นใจการเล่นเกมและยอมรับผลที่เกิดขึ้น 6.2 เครื่ องมือ 1) แบบสังเกตพฤติกรรม 6.3 เกณฑ์การประเมิน ระดับ 3 หมายถึง ดี ระดับ 2 หมายถึง พอใช้ ระดับ 1 หมายถึง ปรับปรุ ง
ผ่านเกณฑ์การประเมิน ร้อยละ 80 7. กิจกรรมเสนอแนะ …………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………….. ..…………………………………………………………..……………………………………………….
แผนการจัดประสบการณ์ สั ปดาห์ ที่ 5 ชื่อหน่ วย อาหารดีมีประโยชน์ (วันที่ 3) กิจกรรมการเคลือ่ นไหวและจังหวะ เวลา 20 นาที จัดกิจกรรมการเรียนการสอนวันที่ ………. เดือน ……………………….. พ.ศ. ……………...... ……………………………………………………………………………………………….…………… 1. สาระสาคัญ การเคลื่อนไหวและจังหวะเป็ นกิจกรรมที่จดั ให้เด็กได้เคลื่อนไหวส่ วนต่าง ๆ ของร่ างกายอย่าง อิสระตามจังหวะ โดยใช้เสี ยงเพลงเสี ยงเครื่ องให้จงั หวะมาประกอบการเคลื่อนไหวเพื่อให้เด็ก เกิดจินตนาการ ความคิดสร้างสรรค์ 2. จุดประสงค์ การเรี ยนรู้ 2.1 แสดงการเคลื่อนไหวตามสัญญาณกลองได้ (มฐ. 5 ตบช.2.2) 2.2 แสดงความมัน่ ใจในตนเองและกล้าแสดงออกในการเคลื่อนไหวได้ (มฐ. 5 ตบช.1.2)
2.3 แสดงท่าทางสมมุติตามจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ได้ (มฐ. 11 ตบช.2) 3. สาระการเรี ยนรู้ 3.1 สาระที่ควรเรี ยนรู้ 1) การเคลื่อนไหวส่ วนต่างๆ ของร่ างกายอย่างอิสระ 2) การปฏิบตั ิตามข้อตกลง 3) การฟังและปฏิบตั ิตามสัญญาณ 3.2 ประสบการณ์สาคัญ 1) การเริ่ มต้นและหยุด การกระทาโดยสัญญาณ 2) การเคลื่อนไหวร่ างกายอยูก่ บั ที่และการเคลื่อนไหวเคลื่อนที่ 3) การแสดงปฏิกิริยาโต้ตอบเสี ยงดนตรี 4. กิจกรรมการเรียนรู้ 4.1 เด็กและครู ร่วมกันสนทนาถึงการเคลื่อนไหวส่ วนต่างๆ ของร่ างกาย และเด็กๆ จับมือ กันเป็ นวงกลม 4.2 เด็กเคลื่อนไหวร่ างกายไปทัว่ ๆ บริ เวณอย่างอิสระตามจังหวะกลอง เมื่อได้ยนิ เสี ย สัญญาณหยุด ให้หยุดในท่านั้นทันที 4.3 เด็กและครู ร่วมกันสร้างข้อตกโดยกาหนดกลุ่มออกเป็ น 4 กลุ่ม ให้แต่ละกลุ่มเลือก เป็ นอาหารที่อาหารที่ก่อให้เกิดโรคพยาธิ ใบไม้ตบั กลุ่มละชนิด ได้แก่ ปลาส้มดิบ ก้อยปลาดิบ ลาบปลา ดิบ แจ๋ วบองดิบ ปลาร้าดิบ 4.4 ตกลงเพื่อให้แต่ละกลุ่มเคลื่อนไหวร่ างกายตามสัญญาณ เช่น เมื่อได้ยนิ เสี ยงกลอง ให้กลุ่มนมออกมาเคลื่อนไหว ถ้าได้ยนิ เสี ยงกรับให้กลุ่มผักสดออกมาเคลื่อนไหว ถ้าได้ยนิ เสี ยงฉิ่ ง ให้ กลุ่มผลไม้ออกมาเคลื่อนไหว เป็ นต้น 4.5 เคาะสัญญาณตามที่ตกลงกันสลับกันไปมา แล้วให้เด็กๆ แต่ละกลุ่มปฏิบตั ิตามสัญญาณ 4.6 เด็กและครู ร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับการปฏิบตั ิตนในการเคลื่อนไหวตามสัญญาณและ ตามข้อตกลง 4.7 เด็กๆ ทุกคนนัง่ เหยียดขาทั้งสองข้างไปข้างหน้า พร้อมยกมือทั้งสองข้างขึ้น – ลง หายใจเข้าออก อย่างเป็ นจังหวะ 5. สื่ อและแหล่ งเรี ยนรู้ 5.1 กลอง 6. การวัดและประเมินผล 6.1 วิธีการวัด 1) สังเกตการแสดงการเคลื่อนไหวตามสัญญาณกลอง
2) สังเกตการแสดงความมัน่ ใจในตนเองและกล้าแสดงออกในการเคลื่อนไหว 3) สังเกตการแสดงท่าทางสมมุติตามจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ 6.2 เครื่ องมือ 1) แบบสังเกตพฤติกรรม 6.3 เกณฑ์การประเมิน ระดับ 3 หมายถึง ดี ระดับ 2 หมายถึง พอใช้ ระดับ 1 หมายถึง ปรับปรุ ง ผ่านเกณฑ์การประเมิน ร้อยละ 80 7. กิจกรรมเสนอแนะ …………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………….. ..…………………………………………………………..……………………………………………….
แผนการจัดประสบการณ์ สั ปดาห์ ที่ 5 ชื่อหน่ วย อาหารดีมีประโยชน์ (วันที่ 3) กิจกรรมสร้ างสรรค์ เวลา 40 นาที จัดกิจกรรมการเรียนการสอนวันที่ ………. เดือน ……………………….. พ.ศ. ……………...... ……………………………………………………………………………………………….…………… 1. สาระสาคัญ กิจกรรมสร้างสรรค์ เป็ นกิจกรรมที่ช่วยเด็กให้แสดงออกทางอารมณ์ความรู ้สึกความคิดริ เริ่ ม สร้างสรรค์และจินตนาการโดยใช้การปฏิบตั ิงานศิลปะ 2. จุดประสงค์ การเรี ยนรู้ 2.1 ทางานศิลปะตามความคิดของตัวเองโดยมีรายละเอียดเพิ่มเติมขึ้นและแปลกใหม่ได้ (มฐ.11 ตบช.1)
2.2 ร่ วมกิจกรรมศิลปะด้วยความเต็มใจและมีความสุ ขได้ (มฐ. 12 ตบช.1) 2.3 แสดงความชื่นชมผลของตนเองและผูอ้ ื่นได้ (มฐ. 3 ตบช.2.2) 3. สาระการเรี ยนรู้ 3.1 สาระที่ควรเรี ยนรู้ 1) การวาดภาพด้วยสี เทียน 2) การวาดภาพด้วยสี น้ า 3) การพิมพ์ภาพด้วยนิ้วมือ 4) การเป่ าสี 5) การปั้ นดินน้ ามัน 3.2 ประสบการณ์สาคัญ 1) การชื่นชมและสร้างสรรค์สิ่งที่สวยงาม 2) การมีโอกาสรับรู้ความรู้สึก ความสนใจ และความต้องการของตนเองและผูอ้ ื่น 3) การรับรู ้และแสดงความรู ้สึกผ่านผลงาน 4) การเขียนภาพและการเล่นกับสี 5) การปั้ นสิ่ งต่าง ๆ 4. กิจกรรมการเรียนรู้ 4.1 เด็กและครู ร่วมสนทนาถึงการปฏิบตั ิกิจกรรมสร้างสรรค์ โดยครู นาผลงานที่ทาสาเร็ จ แล้ว มาให้เด็กๆ ดู แล้วร่ วมสนทนาถึงวิธีการปฏิบตั ิต่อผลงานในลักษณะต่างๆ 4.2 เด็กและครู ร่วมสนทนาถึงอุปกรณ์ที่ใช้ในการดาเนินกิจกรรม การวาดภาพด้วยสี เทียน การวาดภาพด้วยสี น้ า การพิมพ์ภาพด้วยนิ้วมือ การเป่ าสี การปั้ นดินน้ ามัน พร้อมทั้งแนะนาการปฏิบตั ิ ตนขณะเข้าร่ วมปฏิบตั ิกิจกรรมต่างๆ 4.3 เด็กและครู ร่วมกันสนทนาถึงข้อตกลงในการเลือกปฏิบตั ิกิจกรรม โดยเน้นคุณธรรม ด้วยความอดทน รอคอย เอื้อเฟื้ อ แบ่งปั น พร้อมทั้งให้เด็กๆได้เลือกปฏิบตั ิกิจกรรมตามความสนใจ อย่างน้อย 2 กิจกรรม ตามกิจกรรมกาหนดไว้ ดังนี้ กิจกรรมที่ 1 การวาดภาพด้วยสี เทียน กิจกรรมที่ 2 การวาดภาพด้วยสี น้ า กิจกรรมที่ 3 การพิมพ์ภาพด้วยนิ้วมือ กิจกรรมที่ 4 การเป่ าสี กิจกรรมที่ 5 การปั้ นดินน้ ามัน 4.4 เด็กและครู ร่วมกันจัดเตรี ยมวัสดุอุปกรณ์ไว้ให้ ตามกิจกรรมที่กาหนด 4.5 เด็กๆ เลือกเข้ากลุ่มตามความสนใจของตนเอง โดยเด็กและครู ร่วมกันจัดเตรี ยมวัสดุ
อุปกรณ์ไว้ให้ เมื่อเสร็ จกิจกรรมให้ผลัดเปลี่ยนกันเข้ากลุ่มตามที่ร่วมกันตกลงไว้ ครู คอยสังเกต พฤติกรรมขณะเด็กร่ วมกิจกรรมอย่างใกล้ชิด 4.6 เด็กและครู ช่วยกันจัดแสดงเพื่อนาเสนอผลงาน และพูดเกี่ยวกับผลงานที่จดั ทาขึ้น 4.7 เด็กช่วยกันเก็บวัสดุ – อุปกรณ์เข้าที่ และทาความสะอาดให้เรี ยบร้อย 5. สื่ อและแหล่ งเรี ยนรู้ 5.1 สี เทียน 5.2 จานสี 5.3 พูก่ นั 5.4 แก้วน้ า 5.5 แป้ นพิมพ์ 5.6 หมึก 5.7 ดินน้ ามัน 5.8 ที่รองปั้ นดินน้ ามัน 5.9 กระดาษฝึ กปฏิบตั ิ 6. การวัดและประเมินผล 6.1 วิธีการวัด 1) สังเกตการทางานศิลปะตามความคิดของตัวเองโดยมีรายละเอียดเพิม่ เติมขึ้นและแปลกใหม่ 2) สังเกตการร่ วมกิจกรรมศิลปะด้วยความเต็มใจและมีความสุ ข 3) สังเกตการแสดงความชื่นชมผลของตนเองและผูอ้ ื่น 6.2 เครื่ องมือ 1) แบบสังเกตพฤติกรรม
6.3 เกณฑ์การประเมิน ระดับ 3 หมายถึง ดี ระดับ 2 หมายถึง พอใช้ ระดับ 1 หมายถึง ปรับปรุ ง ผ่านเกณฑ์การประเมิน ร้อยละ 80 7. กิจกรรมเสนอแนะ …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………….. ..…………………………………………………………..……………………………………………….
แผนการจัดประสบการณ์ สั ปดาห์ ที่ 5 ชื่อหน่ วย อาหารดีมีประโยชน์
(วันที่ 3)
กิจกรรมเสรี เวลา 20 นาที จัดกิจกรรมการเรียนการสอนวันที่ ………. เดือน ……………………….. พ.ศ. ……………...... …………………………………………………………………………………………………………… 1. สาระสาคัญ การเล่นตามมุมเป็ นกิจกรรมที่เปิ ดโอกาสให้เด็กเล่นอิสระตามมุมประสบการณ์ ที่จดั ไว้ใน ห้องเรี ยน เช่น มุมบล็อก มุมหนังสื อ มุมบ้าน มุมร้านค้า ฯลฯ มุมต่าง ๆ เหล่านี้ เด็กมีโอกาสเลือกเล่น อย่างเสรี ตามความสนใจและความต้องการของเด็ก ทั้งรายบุคคลและเป็ นกลุ่ม 2. จุดประสงค์ การเรี ยนรู้ 2.1 แสดงความสนใจและมีความสุ ขกับการเล่นตามมุมได้ (มฐ. 5 ตบช.3) 2.2 แบ่งปั นของเล่นให้ความช่วยเหลือเพื่อนได้ (มฐ. 4 ตบช.3.2) 2.3 แสดงท่าทางเล่นบทบาทสมมุติตามจินตนาการได้ (มฐ. 11 ตบช.2) 3. สาระการเรียนรู้ 3.2 สาระที่ควรเรี ยนรู้ 1) มุมบล็อก มุมบ้าน มุมตุก๊ ตา มุมหนังสื อ มุมวิทยาศาสตร์ มุมพลาสติกสร้างสรรค์ มุมเกมการศึกษา 3.2 ประสบการณ์สาคัญ 1) การเล่นอิสระ 2) การเล่นรายบุคคล การเล่นเป็ นกลุ่ม 3) การเล่นในห้องเรี ยน 4. กิจกรรมการเรียนรู้ 4.1 เด็กและครู ร่วมสนทนาถึงการเล่นและการปฏิบตั ิตนขณะเล่นร่ วมกับเพื่อนๆ ในมุม ประสบการณ์ต่างๆ ได้แก่ มุมบล็อก มุมบ้าน มุมตุก๊ ตา มุมหนังสื อ มุมวิทยาศาสตร์ มุมพลาสติก สร้างสรรค์ มุมเกมการศึกษา 4.2 เด็กและครู สร้างข้อตกลงในการเล่น เพื่อฝึ กคุณธรรมจริ ยธรรมและมีจิตใจดีงาม 4.3 เด็กเลือกตัดสิ นใจเล่นอย่างอิสระตามกิจกรรมที่จดั ขึ้นตามความสนใจ โดยผลัดเปลี่ยน หมุนเวียนกันเล่น 4.4 ขณะที่เด็กเล่นครู สังเกตพฤติกรรม สนทนาและกระตุน้ ให้เด็กเกิดความคิด 4.5 เด็กและครู สนทนาแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการเล่นมุมประสบการณ์ต่างๆ แล้วร่ วม กันเก็บอุปกรณ์ต่างๆ ในมุมประสบการณ์เข้าที่ให้เรี ยบร้อย
5. สื่ อและแหล่ งเรี ยนรู้ 5.1 มุมประสบการณ์ต่างๆ 5.2 วัสดุ – อุปกรณ์ที่ใช้ในมุมประสบการณ์ 5.3 ของเล่นสาหรับเด็ก 6. การวัดและประเมินผล 6.1 วิธีวดั 1) สังเกตการแสดงความสนใจและมีความสุ ขกับการเล่นตามมุม 2) สังเกตการแบ่งปั นของเล่นให้ความช่วยเหลือเพื่อน 3) สังเกตการแสดงท่าทางเล่นบทบาทสมมุติตามจินตนาการ 6.2 เครื่ องมือ 1) แบบสังเกตพฤติกรรม 6.3 เกณฑ์การประเมิน ระดับ 3 หมายถึง ดี ระดับ 2 หมายถึง พอใช้ ระดับ 1 หมายถึง ปรับปรุ ง ผ่านเกณฑ์การประเมิน ร้อยละ 80 7. กิจกรรมเสนอแนะ …………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………….. ..…………………………………………………………..……………………………………………….
แผนการจัดประสบการณ์ สั ปดาห์ ที่ 5 ชื่อหน่ วย อาหารดีมีประโยชน์ (วันที่ 3) กิจกรรมเสริมประสบการณ์ เวลา 20 นาที จัดกิจกรรมการเรียนการสอนวันที่ ………. เดือน ……………………….. พ.ศ. ……………...... ……………………………………………………………………………………………….…………… 1. สาระสาคัญ การปฏิบตั ิตนในการเลือกรับประทานอาหารที่ไม่ก่อให้เกิดโรคพยาธิ ใบไม้ตบั 2. จุดประสงค์ การเรี ยนรู้ 2.1 เลือกรับประทานอาหารอย่างเหมาะสมได้ (มฐ. 9 ตบช.1.1) 2.2 ร่ วมกิจกรรมและแสดงความคิดเห็นกับเพื่อนและครู ได้ (มฐ. 12 ตบช.1.1) 2.3 ร่ วมอภิปรายสาเหตุที่ทาให้เด็กอ้วนผอมได้ (มฐ. 12 ตบช.1.1) 3. สาระทีค่ วรเรียนรู้ 3.1 สาระที่ควรเรี ยนรู้ 1) การรับประทานอาหารที่ก่อให้เกิดโรคพยาธิใบไม้ตบั 3.2 ประสบการณ์สาคัญ 1) การปฏิบตั ิตามสุ ขภาพอนามัย 2) การแลกเปลี่ยนความคิดและเคารพความคิดเห็นของผูอ้ ื่น 3) การฟังนิทานคาคล้องจองคากลอน 4. กิจกรรมการเรียนรู้ 4.1 เด็กนัง่ เป็ นรู ปครึ่ งวงกลม แล้วเด็กปรบมือ 3 ครั้ง เป็ นจังหวะ ต่อเนื่องกัน เพื่อเป็ น การฝึ กสมาธิ 4.2 เด็กฟังนิทาน เรื่ อง “ลุงโต้งชอบกินก้อยปลาดิบ” 4.3 เด็กและครู ร่วมสนทนาสรุ ปเนื้ อหาในนิทาน โดยใช้คาถาม ดังนี้ - เด็กจะเลือกปฏิบตั ิเหมือนลุงโต้งหรื อไม่ เพราะเหตุใด 4.4 ขออาสมัครเด็กจานวน 10 คน แจกบัตรภาพเด็กอ้วน – ผอม คนละ 1 บัตร 4.5 เด็กอาสาสมัครทั้ง 10 คน จับกลุ่มแยกประเภทว่ากลุ่มไหนภาพเด็กอ้วน กลุ่มไหนภาพ เด็กผอม 4.6 เชิญสมาชิกในกลุ่มทั้งสอง อภิปรายถึงสาเหตุของภาพเด็กอ้วน และผอม
4.7 เด็กและครู ร่วมกันแสดงความคิดเห็นเพื่อสรุ ปโทษของการรับประทานอาหารที่ก่อให้เกิด โรคพยาธิ ใบไม้ตบั โดยให้เด็กดูภาพคนที่เป็ นโรคพยาธิใบไม้ตบั 4.8 ให้ทาแบบฝึ กเสริ มประสบการณ์ วันที่ 3 5. สื่ อและแหล่ งเรี ยนรู้ 5.1 นิทาน เรื่ อง ลุงโต้งชอบกินก้อยปลาดิบ 5.2 บัตรภาพคนที่เป็ นโรคพยาธิใบไม้ตบั 6. การวัดและประเมินผล 6.1 วิธีการวัด 1) สังเกตการเลือกรับประทานอาหารอย่างเหมาะสม 2) สังเกตการร่ วมกิจกรรมและแสดงความคิดเห็นกับเพื่อนและครู 3) สังเกตการร่ วมอภิปรายสาเหตุที่ทาให้เด็กอ้วนผอม 6.2 เครื่ องมือวัด 1) แบบสังเกตพฤติกรรม 6.3 เกณฑ์การประเมิน ระดับ 3 หมายถึง ดี ระดับ 2 หมายถึง พอใช้ ระดับ 1 หมายถึง ปรับปรุ ง ผ่านเกณฑ์การประเมิน ร้อยละ 80 7. กิจกรรมเสนอแนะ …………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………….. ..…………………………………………………………..……………………………………………….
แผนการจัดประสบการณ์ สั ปดาห์ ที่ 5 ชื่อหน่ วย อาหารดีมีประโยชน์ (วันที่ 3) กิจกรรมกลางแจ้ ง เวลา 30 นาที จัดกิจกรรมการเรียนการสอนวันที่ ………. เดือน ……………………….. พ.ศ. ……………...... ……………………………………………………………………………………………….…………… 1. สาระสาคัญ การเล่นน้ า เล่นทราย เป็ นกิจกรรมที่เปิ ดโอกาสให้เด็กได้เล่นอิสระที่บ่อน้ าบ่อทราย เพื่อฝึ กการทดลอง ชัง่ ตวง วัด การหาปริ มาตร โดยใช้อุปกรณ์เล่นน้ า เล่นทราย ประกอบการเล่น 2. จุดประสงค์ การเรี ยนรู้ 2.1 ร่ วมเล่นน้ าเล่นทรายกับเพื่อนได้ (มฐ. 8 ตบช.1.2) 2.2 ปฏิบตั ิตามข้อตกลงการเล่นน้ าเล่นทรายได้ (มฐ. 8 ตบช.2.1) 2.3 ล้างมือทาความสะอาดหลังเล่นน้ าเล่นทรายได้ (มฐ. 1 ตบช.2.2) 3. สาระการเรี ยนรู้ 3.1 สาระที่ควรเรี ยนรู้ 1) การเล่นน้ า 2) การเล่นทราย 3.2 ประสบการณ์สาคัญ 1) การรักษาความปลอดภัยของตนเองและผูอ้ ื่น 2) การเล่นเป็ นกลุ่ม 3) การเล่นแก้ปัญหาในการเล่น 4) การบรรจุ การเท 4. กิจกรรมการเรียนรู้ 4.1 เด็กและครู เดินเป็ นแถวไปที่ขา้ งสนามบริ เวณโรงเรี ยนอย่างเป็ นระเบียบ ครู เป่ านกหวีดให้สัญญาณ เด็กยืนแถวตอนระยะห่าง 1 ช่วงแขน 4.2 เด็กและครู สร้างข้อตกลงในการเล่นน้ าเล่นทราย
4.3 เด็กและครู ร่วมกันสนทนาถึงการปฏิบตั ิตน ขณะเล่นน้ า เล่นทราย และการระวัง อันตรายต่างๆ ที่เกิดจากการเล่น โดยแทรกคุณธรรมความอดทนรอคอย เอื้อเฟื้ อ แบ่งปั น 4.4 เด็กๆ เลือกเล่นเครื่ องเล่นน้ า เล่นทราย อย่างอิสระ ตามความสนใจโดยการผลัดเปลี่ยน กันเล่นโดยใช้เวลาพอประมาณ 30 นาที 4.5 ครู ให้สัญญาณนกหวีดรวมเด็ก ให้เด็กนัง่ ในท่าที่สบาย แล้วร่ วมสนทนาถึงความรู ้สึก เกี่ยวกับการเล่นน้ า เล่นทรายที่ผา่ นมา 4.5 เด็กทาความสะอาดร่ างกายและอุปกรณ์เล่นน้ าเล่นทรายแล้วเดินแถวเข้าห้องเรี ยน อย่างเป็ นระเบียบ 5. สื่ อและแหล่ งเรี ยนรู้ 5.1 นกหวีด 5.2 อุปกรณ์การเล่นน้ า ขวดพลาสติก เรื อยาง กรวย ที่ตกั ทราย 5.3 อุปกรณ์การเล่นทราย แบบพิมพ์ทราย ที่ตกั ทราย รถขนทราย ช้อนตักทราย 6. การวัดและประเมินผล 6.1 วิธีวดั 1) สังเกตการร่ วมเล่นน้ าเล่นทรายกับเพื่อน 2) สังเกตการปฏิบตั ิตามข้อตกลงการเล่นน้ าเล่นทราย 3) สังเกตการล้างมือทาความสะอาดหลังเล่นน้ าเล่นทราย 6.2 เครื่ องมือ 1) แบบสังเกตพฤติกรรม 6.3 เกณฑ์การประเมิน ระดับ 3 หมายถึง ดี ระดับ 2 หมายถึง พอใช้ ระดับ 1 หมายถึง ปรับปรุ ง ผ่านเกณฑ์การประเมิน ร้อยละ 80 7. กิจกรรมเสนอแนะ …………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………….. ..…………………………………………………………..……………………………………………….
แผนการจัดประสบการณ์ สั ปดาห์ ที่ 5 ชื่อหน่ วย อาหารดีมีประโยชน์ (วันที่ 3) กิจกรรมเกมการศึกษา เวลา 20 นาที จัดกิจกรรมการเรียนการสอนวันที่ ………. เดือน ……………………….. พ.ศ. ……………...... ……………………………………………………………………………………………….…………… 1. สาระสาคัญ การนาภาพที่เหมือนกันมาจัดเข้าคู่กนั ได้ เป็ นการฝึ กการสังเกตสิ่ งที่เหมือนกันและต่างกัน 2. จุดประสงค์ การเรี ยนรู้ 2.1 เล่นเกมจับคู่ภาพเงาคนที่เป็ นโรคพยาธิใบไม้ตบั (มฐ. 10 ตบช.1) 2.2 อดทนรอคอยตามลาดับก่อน - หลังขณะเล่นเกมการศึกษาได้ (มฐ. 8 ตบช.1.1) 2.3 จัดเก็บเกมการศึกษาเข้าที่หลังเลิกเล่นได้ (มฐ. 4 ตบช. 1.1) 3. สาระการเรี ยนรู้ 3.1 สาระที่ควรเรี ยนรู้ 1) การสังเกตสิ่ งที่เหมือนกันและต่างกัน 3.2 ประสบการณ์สาคัญ 1) การจับคู่ จาแนก และการจัดกลุ่ม 2) การแก้ปัญหาในการเล่น 3) การเล่นการทางานร่ วมกับผูอ้ ื่น 4. กิจกรรมการเรียนรู้ 4.1 เด็กนัง่ เป็ นรู ปตัวยู ครู นาเกมจับคู่ภาพเงาคนที่เป็ นโรคพยาธิใบไม้ตบั ให้เด็กดูพร้อมทั้ง แนะนาและอธิ บายถึงวิธีการเล่น 4.2 เด็กๆ แบ่งกลุ่มตามความสนใจ จานวน 4 กลุ่มๆ ละเท่าๆ กัน
4.3 ตัวแทนกลุ่มมารับเกมการศึกษา กลุ่มละ 1 ชุด โดยเป็ น เกมจับคูภ่ าพเงาคนที่เป็ นโรค พยาธิใบไม้ตบั และเกมการศึกษาอื่น 4.4 เด็กแต่ละกลุ่ม เล่นเกมการศึกษา โดยการผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนกันเล่นทุกคนตาม อิสระ โดยครู คอยแนะนา สังเกตพฤติกรรมการเล่นและตรวจความถูกต้อง 4.5 เด็กและครู ร่วมกันสนทนาซักถาม และสรุ ปผลการ เล่นเกมจับคู่ภาพเงาคนที่เป็ นโรคพยาธิ ใบไม้ตบั และเกมที่เคยเล่นมาแล้ว 4.6 ให้ตวั แทนแต่ละกลุ่มส่ งตัวแทนออกมาแข่งขันการเล่นเกมจับคู่ภาพเงาคนที่เป็ นโรคพยาธิ ใบไม้ตบั 4.7 เด็กช่วยกันเก็บอุปกรณ์การเล่นเกมเข้าที่ให้เรี ยบร้อย 4.8 ให้ทาแบบฝึ กเกมการศึกษา วันที่ 3 5. สื่ อและแหล่ งเรี ยนรู้ 5.1 เกมจับคู่ภาพเงาคนที่เป็ นโรคพยาธิใบไม้ตบั 5.2 เกมที่เคยเล่นมาแล้ว 6. การวัดและประเมินผล 6.1 วิธีวดั 1) สังเกตการเล่นเกมจับคู่ภาพเงาคนที่เป็ นโรคพยาธิใบไม้ตบั 2) สังเกตการอดทนรอคอยตามลาดับก่อน - หลังขณะเล่นเกมการศึกษา 3) สังเกตการจัดเก็บเกมการศึกษาเข้าที่หลังเลิกเล่น 6.2 เครื่ องมือ 1) แบบสังเกตพฤติกรรม 6.3 เกณฑ์การประเมิน ระดับ 3 หมายถึง ดี ระดับ 2 หมายถึง พอใช้ ระดับ 1 หมายถึง ปรับปรุ ง ผ่านเกณฑ์การประเมิน ร้อยละ 80 7. กิจกรรมเสนอแนะ …………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………..
..…………………………………………………………..……………………………………………….
แผนการจัดประสบการณ์ สั ปดาห์ ที่ 5 ชื่อหน่ วย อาหารดีมีประโยชน์ (วันที่ 4) กิจกรรมการเคลือ่ นไหวและจังหวะ เวลา 20 นาที จัดกิจกรรมการเรียนการสอนวันที่ ………. เดือน ……………………….. พ.ศ. ……………...... ……………………………………………………………………………………………….…………… 1. สาระสาคัญ การเคลื่อนไหวและจังหวะเป็ นกิจกรรมที่จดั ให้เด็กได้เคลื่อนไหวส่ วนต่าง ๆ ของร่ างกายอย่าง อิสระตามจังหวะ โดยใช้เสี ยงเพลงเสี ยงเครื่ องให้จงั หวะมาประกอบการเคลื่อนไหวเพื่อให้เด็ก เกิดจินตนาการ ความคิดสร้างสรรค์ 2. จุดประสงค์ การเรี ยนรู้ 2.1 แสดงท่าทางเคลื่อนไหวตามสัญญาณกลองได้ (มฐ. 5 ตบช.2.2) 2.2 แสดงความสนใจชื่นชมและมีความสุ ขกับการเคลื่อนไหวได้ (มฐ. 5 ตบช.1.2) 2.3 แสดงท่าทางสมมุติตามจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ได้ (มฐ. 11 ตบช.2) 3. สาระการเรี ยนรู้ 3.1 สาระที่ควรเรี ยนรู้ 1) การเคลื่อนไหวตามข้อตกลงการ 2) การเคลื่อนไหวตามจินตนาการ 3.2 ประสบการณ์สาคัญ
1) การเริ่ มต้นและหยุด การกระทาโดยสัญญาณ 2) การเคลื่อนไหวร่ างกายอยูก่ บั ที่และการเคลื่อนไหวเคลื่อนที่ 4. กิจกรรมการเรียนรู้ 4.1 เด็กและครู ร่วมกันสนทนาถึงการเคลื่อนไหวส่ วนต่างๆ ของร่ างกาย และเด็กๆ จับมือกัน เป็ นวงกลม 4.2 เด็กเคลื่อนไหวร่ างกายไปทัว่ ๆ บริ เวณอย่างอิสระตามจังหวะกลอง เมื่อได้ยนิ เสี ยง สัญญาณหยุด ให้หยุดในท่านั้นทันที 4.3 เด็กทาท่าทางตามจินตนาการ โดยฟังเพลง “ล้างมือบ่อย” 4.4 ปฏิบตั ิตามข้อ 3 ซ้ าอีก 4.5 เด็กและครู ร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับการปฏิบตั ิการเคลื่อนไหวโดยเด็กๆ นัง่ ในท่าที่สบาย 5. สื่ อและแหล่ งเรี ยนรู้ 5.1 กลอง 5.2 เพลงล้างมือบ่อยๆ 6. การวัดและประเมินผล 6.1 วิธีการวัด 1) สังเกตการแสดงท่าทางเคลื่อนไหวตามสัญญาณกลอง 2) สังเกตการแสดงความสนใจชื่นชมและมีความสุ ขกับการเคลื่อนไหว 3) สังเกตการแสดงท่าทางสมมุติตามจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ 6.2 เครื่ องมือ 1) แบบสังเกตพฤติกรรม 6.3 เกณฑ์การประเมิน ระดับ 3 หมายถึง ดี ระดับ 2 หมายถึง พอใช้ ระดับ 1 หมายถึง ปรับปรุ ง ผ่านเกณฑ์การประเมิน ร้อยละ 80 7. กิจกรรมเสนอแนะ …………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………..
..…………………………………………………………..……………………………………………….
แผนการจัดประสบการณ์ สั ปดาห์ ที่ 5 ชื่อหน่ วย อาหารดีมีประโยชน์ (วันที่ 4) กิจกรรมสร้ างสรรค์ เวลา 40 นาที จัดกิจกรรมการเรียนการสอนวันที่ ………. เดือน ……………………….. พ.ศ. ……………...... ……………………………………………………………………………………………….…………… 1. สาระสาคัญ กิจกรรมสร้างสรรค์ เป็ นกิจกรรมที่ช่วยเด็กให้แสดงออกทางอารมณ์ความรู ้สึกความคิดริ เริ่ ม สร้างสรรค์และจินตนาการโดยใช้การปฏิบตั ิงานศิลปะ 2. จุดประสงค์ การเรี ยนรู้ 2.1 ทางานศิลปะตามความคิดของตัวเองโดยมีรายละเอียดเพิ่มเติมขึ้นและแปลกใหม่ได้ (มฐ.11 ตบช.1) 2.2 แบ่งปั นอุปกรณ์ทางานศิลปะและให้ความช่วยเหลือผูอ้ ื่นได้ (มฐ. 4 ตบช.3.2) 2.3 มุ่งมัน่ ทางานศิลปะให้สาเร็ จได้ดว้ ยตัวเองได้ (มฐ. 4 ตบช.2) 3. สาระการเรี ยนรู้ 3.1 สาระที่ควรเรี ยนรู้ 1) การวาดร้อยลูกปัด 2) การสานกระดาษ
3) การหยดสี 1) การพิมพ์ภาพด้วยใบไม้ 2) การปั้ นดินน้ ามัน 3.2 ประสบการณ์สาคัญ 1) การชื่นชมและสร้างสรรค์สิ่งที่สวยงาม 2) การมีโอกาสรับรู้ความรู้สึก ความสนใจ และความต้องการของตนเองและผูอ้ ื่น 3) การรับรู ้และแสดงความรู ้สึกผ่านผลงาน 4) การเขียนภาพและการเล่นกับสี 5) การปั้ นสิ่ งต่าง ๆ 4. กิจกรรมการเรียนรู้ 4.1 เด็กและครู ร่วมสนทนาถึงการปฏิบตั ิกิจกรรมสร้างสรรค์ โดยครู นาผลงานที่ทาสาเร็ จ แล้ว มาให้เด็กๆ ดู แล้วร่ วมสนทนาถึงวิธีการปฏิบตั ิต่อผลงานในลักษณะต่างๆ 4.2 เด็กและครู ร่วมสนทนาถึงอุปกรณ์ที่ใช้ในการดาเนินกิจกรรม การร้อยลูกปั ด การสานกระดาษ การหยดสี การพิมพ์ภาพด้วยใบไม้ การปั้ นดินน้ ามัน พร้อมทั้งแนะนาการปฏิบตั ิตน ขณะเข้าร่ วมปฏิบตั ิกิจกรรมต่างๆ 4.3 เด็กและครู ร่วมกันสนทนาถึงข้อตกลงในการเลือกปฏิบตั ิกิจกรรม โดยเน้นคุณธรรม ด้วยความอดทน รอคอย เอื้อเฟื้ อ แบ่งปั น พร้อมทั้งให้เด็กๆได้เลือกปฏิบตั ิกิจกรรมตามความสนใจ อย่างน้อย 2 กิจกรรม ตามกิจกรรมกาหนดไว้ ดังนี้ กิจกรรมที่ 1 การร้อยลูกปัด กิจกรรมที่ 2 การสานกระดาษ กิจกรรมที่ 3 การหยดสี กิจกรรมที่ 4 การพิมพ์ภาพด้วยใบไม้ กิจกรรมที่ 5 การปั้ นดินน้ ามัน 4.4 เด็กและครู ร่วมกันจัดเตรี ยมวัสดุอุปกรณ์ไว้ให้ ตามกิจกรรมที่กาหนด 4.5 เด็กๆ เลือกเข้ากลุ่มตามความสนใจของตนเอง โดยเด็กและครู ร่วมกันจัดเตรี ยมวัสดุ อุปกรณ์ไว้ให้ เมื่อเสร็ จกิจกรรมให้ผลัดเปลี่ยนกันเข้ากลุ่มตามที่ร่วมกันตกลงไว้ ครู คอยสังเกต พฤติกรรมขณะเด็กร่ วมกิจกรรมอย่างใกล้ชิด 4.6 เด็กและครู ช่วยกันจัดแสดงเพื่อนาเสนอผลงาน และพูดเกี่ยวกับผลงานที่จดั ทาขึ้น 4.7 เด็กช่วยกันเก็บวัสดุ – อุปกรณ์เข้าที่ และทาความสะอาดให้เรี ยบร้อย 5. สื่ อและแหล่ งเรี ยนรู้ 5.1 ลูกปัด
5.2 เอ็น 5.3 กระดาษแข็ง 5.4 สี น้ า 5.5 พูก่ นั 5.6 จานสี 5.7 ดินน้ ามัน 5.8 ที่รองปั้ นดินน้ ามัน 5.9 ใบไม้ 5.10 กระดาษฝึ กปฏิบตั ิ 6. การวัดและประเมินผล 6.1 วิธีการวัด 1) สังเกตการทางานศิลปะตามความคิดของตัวเองโดยมีรายละเอียดเพิ่มเติมขึ้นและแปลกใหม่ 2) สังเกตการแบ่งปั นอุปกรณ์ทางานศิลปะและให้ความช่วยเหลือผูอ้ ื่น 3) สังเกตการมุ่งมัน่ ทางานศิลปะให้สาเร็ จได้ดว้ ยตัวเอง 6.2 เครื่ องมือ 1) แบบสังเกตพฤติกรรม 6.3 เกณฑ์การประเมิน ระดับ 3 หมายถึง ดี ระดับ 2 หมายถึง พอใช้ ระดับ 1 หมายถึง ปรับปรุ ง ผ่านเกณฑ์การประเมิน ร้อยละ 80 7. กิจกรรมเสนอแนะ …………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………….. ..…………………………………………………………..……………………………………………….
แผนการจัดประสบการณ์ สั ปดาห์ ที่ 5 ชื่อหน่ วย อาหารดีมีประโยชน์ (วันที่ 4) กิจกรรมเสรี เวลา 20 นาที จัดกิจกรรมการเรียนการสอนวันที่ ………. เดือน ……………………….. พ.ศ. ……………...... …………………………………………………………………………………………………………… 1. สาระสาคัญ การเล่นตามมุมเป็ นกิจกรรมที่เปิ ดโอกาสให้เด็กเล่นอิสระตามมุมประสบการณ์ ที่จดั ไว้ใน ห้องเรี ยน เช่น มุมบล็อก มุมหนังสื อ มุมบ้าน มุมร้านค้า ฯลฯ มุมต่าง ๆ เหล่านี้ เด็กมีโอกาสเลือกเล่น อย่างเสรี ตามความสนใจและความต้องการของเด็ก ทั้งรายบุคคลและเป็ นกลุ่ม 2. จุดประสงค์ การเรี ยนรู้ 2.1 รักหนังสื อแสดงการอ่านการเขียนในมุมหนังสื อได้ (มฐ. 12 ตบช.1.2) 2.2 รอคอยตามลาดับก่อน - หลังได้ (มฐ. 8 ตบช.1.1)
2.3 ร้อยลูกปั ดในมุมเครื่ องเล่นสัมผัสได้ (มฐ. 2 ตบช.2.5) 3. สาระการเรี ยนรู้ 3.1 สาระที่ควรเรี ยนรู้ 1) มุมบล็อก มุมบ้าน มุมตุก๊ ตา มุมหนังสื อ มุมวิทยาศาสตร์ มุมพลาสติกสร้างสรรค์ มุมเกมการศึกษา 3.2 ประสบการณ์สาคัญ 1) การเล่นอิสระ 2) การเล่นรายบุคคล การเล่นเป็ นกลุ่ม 3) การเล่นในห้องเรี ยน 4. กิจกรรมการเรียนรู้ 4.1 เด็กและครู ร่วมสนทนาถึงการเล่นและการปฏิบตั ิตนขณะเล่นร่ วมกับเพื่อนๆ ในมุม ประสบการณ์ต่างๆ ได้แก่ มุมบล็อก มุมบ้าน มุมตุก๊ ตา มุมหนังสื อ มุมวิทยาศาสตร์ มุมพลาสติก สร้างสรรค์ มุมเกมการศึกษา 4.2 เด็กและครู สร้างข้อตกลงในการเล่น เพื่อฝึ กคุณธรรมจริ ยธรรมและมีจิตใจดีงาม 4.3 เด็กเลือกตัดสิ นใจเล่นอย่างอิสระตามกิจกรรมที่จดั ขึ้นตามความสนใจ โดยผลัดเปลี่ยน หมุนเวียนกันเล่น 4.4 ขณะที่เด็กเล่นครู สังเกตพฤติกรรม สนทนาและกระตุน้ ให้เด็กเกิดความคิด 4.5 เด็กและครู สนทนาแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการเล่นมุมประสบการณ์ต่างๆ แล้วร่ วม กันเก็บอุปกรณ์ต่างๆ ในมุมประสบการณ์เข้าที่ให้เรี ยบร้อย 5. สื่ อและแหล่ งเรี ยนรู้ 5.1 มุมประสบการณ์ต่างๆ 5.2 วัสดุ – อุปกรณ์ที่ใช้ในมุมประสบการณ์ 5.3 ของเล่นสาหรับเด็ก 6. การวัดและประเมินผล 6.1 วิธีวดั 1) สังเกตการรักหนังสื อแสดงการอ่านการเขียนในมุมหนังสื อ 2) สังเกตการรอคอยตามลาดับก่อน - หลัง 3) สังเกตการร้อยลูกปัดในมุมเครื่ องเล่นสัมผัส 6.2 เครื่ องมือ 1) แบบสังเกตพฤติกรรม
6.3 เกณฑ์การประเมิน ระดับ 3 หมายถึง ดี ระดับ 2 หมายถึง พอใช้ ระดับ 1 หมายถึง ปรับปรุ ง ผ่านเกณฑ์การประเมิน ร้อยละ 80 7. กิจกรรมเสนอแนะ …………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………….. ..…………………………………………………………..……………………………………………….
แผนการจัดประสบการณ์ สั ปดาห์ ที่ 5 ชื่อหน่ วย อาหารดีมีประโยชน์ (วันที่ 4) กิจกรรมเสริมประสบการณ์ เวลา 20 นาที จัดกิจกรรมการเรียนการสอนวันที่ ………. เดือน ……………………….. พ.ศ. ……………...... ……………………………………………………………………………………………….…………… 1. สาระสาคัญ
วิธีการประกอบอาหารที่ป้องกันการเกิดโรคพยาธิ ใบไม้ตบั ได้หลายวิธี เช่น ก้อยปลาสุ ก ลาบ ปลาสุ ก ปลาส้มสุ ก ปลาร้าสุ ก การย่าง 2. จุดประสงค์ การเรี ยนรู้ 2.1 ร่ วมสนทนาโต้ตอบกับเพื่อนและครู ได้ (มฐ. 9 ตบช.1.1) 2.2 บอกวิธีปรุ งอาหารประเภท ทอด ต้มได้ (มฐ. 9 ตบช.1.1) 2.3 แสดงข้อคิดเห็นจากการสังเกตได้ (มฐ. 9 ตบช.1.1) 3. สาระทีค่ วรเรียนรู้ 3.1 สาระที่ควรเรี ยนรู้ 1) การประกอบอาหารอย่างง่ายๆ 3.2 ประสบการณ์สาคัญ 1) การสื บค้นข้อมูล 2) การแสดงความรู้สึกด้วยคาพูด 4. กิจกรรมการเรียนรู้ 4.1 เด็กและครู ร่วมกันสร้างข้อตกในการไปศึกษาดูงานนอกสถานที่ โดยครู นาเด็กๆ ไป โรงเรี ยนอาหารอย่างเป็ นระเบียบ 4.2 ขออาสาสมัครเด็ก จานวน 4 – 5 คน บอกชื่ออาหารที่รับประทานตอนเช้าก่อนมา โรงเรี ยน 4.3 เด็กแลครู ร่วมกันสนทนาแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการประกอบอาหารชนิดต่างๆ เช่น ก้อยปลาสุ ก ลาบปลาสุ ก ปลาส้มสุ ก ปลาร้าสุ ก การย่าง เป็ นต้น 4.4 เด็กและครู ร่วมกันแสดงวิธีการประกอบอาหาร โดยการทาทอดปล้าส้ม 4.5 เด็กๆ ร่ วมกันสังเกตอาหารสาเร็ จ แต่ละชนิดว่ามีความเหมือนและแตกต่างกันอย่างไร 4.6 เด็กและครู ร่วมกันสนทนาสรุ ปข้อคิดเห็นจากการสังเกตและแบ่งอาหารให้เด็กรับ ประทานร่ วมกัน 4.7 ให้ทาแบบฝึ กเสริ มประสบการณ์ วันที่ 4 5. สื่ อและแหล่ งเรี ยนรู้ 5.1 อาหารที่ประกอบสาเร็ จแล้ว เช่น ทอดปลาส้มสุ ก ย่างปลา ฯลฯ 6. การวัดและประเมินผล 6.1 วิธีการวัด 1) สังเกตการร่ วมสนทนาโต้ตอบกับเพื่อนและครู 2) สังเกตการบอกวิธีปรุ งอาหารประเภท ทอด ย่าง
3) สังเกตการแสดงข้อคิดเห็นจากการสังเกต 6.2 เครื่ องมือวัด 1) แบบสังเกตพฤติกรรม 6.3 เกณฑ์การประเมิน ระดับ 3 หมายถึง ดี ระดับ 2 หมายถึง พอใช้ ระดับ 1 หมายถึง ปรับปรุ ง ผ่านเกณฑ์การประเมิน ร้อยละ 80 7. กิจกรรมเสนอแนะ …………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………….. ..…………………………………………………………..……………………………………………….
แผนการจัดประสบการณ์ สั ปดาห์ ที่ 5 ชื่ อหน่ วย อาหารดีมีประโยชน์
(วันที่ 4)
กิจกรรมกลางแจ้ ง เวลา 30 นาที จัดกิจกรรมการเรียนการสอนวันที่ ………. เดือน ……………………….. พ.ศ. ……………...... ……………………………………………………………………………………………….…………… 1. สาระสาคัญ กิจกรรมการเล่นเกมอีตกั เป็ นการจัดกิจกรรมให้เด็กได้เล่นการเล่นแบบไทยหรื อการละเล่นใน ท้องถิ่น ก่อนเล่นต้องตกลงกติกาการเล่น และสาธิ ตการเล่นให้เด็กเข้าใจก่อน 2. จุดประสงค์ การเรี ยนรู้ 2.1 มีความสุ ขกับการเล่นเกมอีตกั ได้ (มฐ. 5 ตบช.3) 2.2 เล่นเกมอีตกั ได้อย่างต่อเนื่องได้ (มฐ. 2 ตบช.1.2) 2.3 พยายามแก้ปัญหาการเล่นเกมอีตกั ได้ดว้ ยตัวเองได้ (มฐ. 10 ตบช. 2.1) 3. สาระการเรี ยนรู้ 3.1 สาระที่ควรเรี ยนรู้ 1) การเล่นเกมอีตกั 3.2 ประสบการณ์สาคัญ 1) การเล่นในห้องเรี ยนและนอกห้องเรี ยน 2) การเล่นเป็ นกลุ่ม 3) การแสดงความรู้สึกด้วยคาพูด 4. กิจกรรมการเรียนรู้ 4.1 เด็กและครู เดินแถวไปที่ขา้ งสนามบริ เวณโรงเรี ยนอย่างเป็ นระเบียบ ครู อธิ บายและ สาธิตการให้สัญญาณเด็กจัดแถวครึ่ งวงกลม โดยให้สัญญาณ แพ็ค แพ็ค แพ็ค พร้อมทาสัญญาณมือครึ่ ง วงกลม โดยยกแขนทั้งสองข้างระดับเอว ดึง เข้าออกเป็ น รู ปครึ่ งวงกลม เด็กยืนแถวรู ปครึ่ งวงกลม ระยะห่าง 1 ช่วงแขน เด็กและครู สร้างข้อตกลงในการอบอุ่นร่ างกาย โดยครู สาธิ ต และขออาสาสมัคร ออกมานาเพื่ออบอุ่นร่ างกาย 4.2 เด็กและครู ร่วมกันสนทนาถึงการปฏิบตั ิตน ขณะเล่นเกมอีตกั และการระวัง อันตรายต่างๆ ที่เกิดจากการเล่นเกม ทั้งนี้ครู ได้แนะนาการเล่นเกมอีตกั 4.3 เด็กๆ ทุกคนร่ วมเล่นเกมอีตกั 4.4 ให้สัญญาณนกหวีดรวมเด็ก ให้เด็กนัง่ ในท่าที่สบาย แล้วร่ วมสนทนาถึงความรู ้สึกเกี่ยว กับการเล่นและชมเชย 4.5 เด็กทาความสะอาดร่ างกายแล้วเดินแถวเข้าห้องเรี ยนอย่างเป็ นระเบียบ
5. สื่ อและแหล่ งเรี ยนรู้ 5.1 นกหวีด 5.2 เกมอีตกั 6. การวัดและประเมินผล 6.1 วิธีวดั 1) สังเกตการมีความสุ ขกับการเล่นเกมอีตกั 2) สังเกตการเล่นเกมอีตกั ได้อย่างต่อเนื่อง 3) สังเกตการเพยายามแก้ปัญหาการเล่นเกมอีตกั ได้ดว้ ยตัวเอง 6.2 เครื่ องมือ 1) แบบสังเกตพฤติกรรม 6.3 เกณฑ์การประเมิน ระดับ 3 หมายถึง ดี ระดับ 2 หมายถึง พอใช้ ระดับ 1 หมายถึง ปรับปรุ ง ผ่านเกณฑ์การประเมิน ร้อยละ 80 7. กิจกรรมเสนอแนะ …………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………….. ..…………………………………………………………..……………………………………………….
แผนการจัดประสบการณ์ สั ปดาห์ ที่ 5 ชื่อหน่ วย อาหารดีมีประโยชน์ (วันที่ 4) กิจกรรมเกมการศึกษา เวลา 20 นาที จัดกิจกรรมการเรียนการสอนวันที่ ………. เดือน ……………………….. พ.ศ. ……………...... ……………………………………………………………………………………………….…………… 1. สาระสาคัญ การเลือกชิ้นส่ วนเล็กที่มีภาพเหมือนและจานวนเท่ากันกับภาพที่กาหนดให้ได้ เป็ นการฝึ กการ สังเกตภาพสิ่ งเดียวกันที่มีจานวนเท่ากัน 2. จุดประสงค์ การเรี ยนรู้ 2.1 เล่นเกมสังเกตรายละเอียดภาพอาหารปรุ งสาเร็ จได้ (มฐ. 10 ตบช.1) 2.2 ปฏิบตั ิตามข้อตกลงการเล่นเกมการศึกษาได้ (มฐ. 8 ตบช.2.1) 2.3 แสดงความแจ่มใสร่ าเริ งอารมณ์ดีขณะเล่นเกมการศึกษาได้ (มฐ. 3 ตบช.1.1) 3. สาระการเรี ยนรู้ 3.1 สาระที่ควรเรี ยนรู้ 1) การสังเกตสิ่ งเดียวกันที่มีจานวนเท่ากัน 3.2 ประสบการณ์สาคัญ 1) การจับคู่ จาแนก จัดกลุ่ม 2) การแก้ปัญหาในการเล่น 3) การเล่นการทางานร่ วมกับผูอ้ ื่น 4. กิจกรรมการเรียนรู้ 4.1 เด็กนัง่ เป็ นรู ปตัวยู ครู นาเกมสังเกตรายละเอียดภาพชายทะเล แนะนาและอธิบาย ถึงวิธีการเล่น 4.2 เด็กๆ แบ่งกลุ่มตามความสนใจ 4.3 ตัวแทนกลุ่มมารับเกมการศึกษา กลุ่มละ 1 ชุด โดยเป็ นเกมสังเกตรายละเอียด ภาพอาหารปรุ งสาเร็ จและเกมการศึกษาอื่นที่เคยเล่นมาแล้ว 4.4 เด็กแต่ละกลุ่ม เล่นเกมการศึกษา โดยการผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนกันเล่นทุกคนตาม อิสระ โดยครู คอยแนะนา สังเกตพฤติกรรมการเล่นและตรวจความถูกต้อง 4.5 เด็กและครู ร่วมกันสนทนาซักถาม และสรุ ปผลการเล่น เกมสังเกตรายละเอียดภาพ
ชายทะเลและเกมที่เคยเล่นมาแล้ว 4.6 เด็กช่วยกันเก็บอุปกรณ์การเล่นเกมเข้าที่ให้เรี ยบร้อย 4.7 ให้ทาแบบฝึ กเกมการศึกษา วันที่ 4 5. สื่ อและแหล่ งเรี ยนรู้ 5.1 เกมสังเกตรายละเอียดภาพอาหารปรุ งสาเร็ จ 5.2 เกมที่เคยเล่นมาแล้ว 6. การวัดและประเมินผล 6.1 วิธีวดั 1) สังเกตการเล่นเกมสังเกตรายละเอียดภาพอาหารปรุ งสาเร็ จ 2) สังเกตการปฏิบตั ิตามข้อตกลงการเล่นเกมการศึกษา 3) สังเกตการแสดงความแจ่มใสร่ าเริ งอารมณ์ดีขณะเล่นเกมการศึกษา 6.2 เครื่ องมือ 1) แบบสังเกตพฤติกรรม 6.3 เกณฑ์การประเมิน ระดับ 3 หมายถึง ดี ระดับ 2 หมายถึง พอใช้ ระดับ 1 หมายถึง ปรับปรุ ง ผ่านเกณฑ์การประเมิน ร้อยละ 80 7. กิจกรรมเสนอแนะ …………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………….. ..…………………………………………………………..……………………………………………….
แผนการจัดประสบการณ์ สั ปดาห์ ที่ 5 ชื่อหน่ วย อาหารดีมีประโยชน์ (วันที่ 5) กิจกรรมการเคลือ่ นไหวและจังหวะ เวลา 20 นาที จัดกิจกรรมการเรียนการสอนวันที่ ………. เดือน ……………………….. พ.ศ. ……………...... ……………………………………………………………………………………………….…………… 1. สาระสาคัญ การเคลื่อนไหวและจังหวะเป็ นกิจกรรมที่จดั ให้เด็กได้เคลื่อนไหวส่ วนต่าง ๆ ของร่ างกายอย่าง อิสระตามจังหวะ โดยใช้เสี ยงเพลงเสี ยงเครื่ องให้จงั หวะมาประกอบการเคลื่อนไหวเพื่อให้เด็ก เกิดจินตนาการ ความคิดสร้างสรรค์ 2. จุดประสงค์ การเรี ยนรู้ 2.1 แสดงท่าทางเคลื่อนไหวตามสัญญาณกลองได้ (มฐ. 5 ตบช.2.2) 2.2 แสดงการเป็ นผูน้ าผูต้ ามที่ดีในการเคลื่อนไหวได้ (มฐ. 8 ตบช.2.2) 2.3 ร่ วมกิจกรรมการเคลื่อนไหวด้วยความสนใจตั้งแต่ตน้ จนจบได้ (มฐ. 12 ตบช.1.1) 3. สาระการเรี ยนรู้ 3.1 สาระที่ควรเรี ยนรู้ 1) การเคลื่อนไหวส่ วนต่างๆ ของร่ างกายอย่างอิสระ 2) การเป็ นผูน้ าและผูต้ าม 3) การปฏิบตั ิตามข้อตกลง 3.2 ประสบการณ์สาคัญ 1) การเคลื่อนไหวร่ างกายอยูก่ บั ที่และการเคลื่อนไหวเคลื่อนที่ 2) การหยุดและเริ่ มต้นโดยสัญญาณ
4. กิจกรรมการเรียนรู้ 4.1 เด็กและครู ร่วมกันสนทนาถึงการเคลื่อนไหวส่ วนต่างๆ ของร่ างกาย 4.2 เด็กเคลื่อนไหวร่ างกายไปทัว่ ๆ บริ เวณอย่างอิสระตามจังหวะกลอง เมื่อได้ยนิ เสี ยง สัญญาณหยุด ให้หยุดในท่านั้นทันที 4.3 แบ่งเด็กเป็ นแถว ประมาณ 3 – 5 แถว เด็กและครู สร้างข้อตกลงร่ วมกัน โดยให้คนที่ อยูห่ วั แถวของแต่ละแถวทาท่าทางและให้เพื่อของตัวเองในแถวทาตาม เมื่อได้ยนิ เสี ยงสัญญาณเปลี่ยนที่ ให้คนหัวแถวไปอยูท่ า้ ยแถว จากนั้นให้คนหัวแถวคนใหม่คิดท่าทางให้เพื่อนทาตามบ้าง ปฏิบตั ิเช่นนี้ จนกระทัง่ เด็กในแถวได้เป็ นผูน้ าทุกคน 4.4 เด็กๆ ทุกคนนัง่ ในท่าที่สบาย หายใจเข้าออกเป็ นจังหวะ แล้วร่ วมกันสนทนาถึงกิจ กรรมที่ได้เข้าร่ วมปฏิบตั ิ 5. สื่ อและแหล่ งเรี ยนรู้ 5.1 กลอง 5.2 เพลงทะเลแสนงาม 6. การวัดและประเมินผล 6.1 วิธีการวัด 1) สังเกตการแสดงท่าทางเคลื่อนไหวตามสัญญาณกลอง 2) สังเกตการแสดงการเป็ นผูน้ าผูต้ ามที่ดีในการเคลื่อนไหว 3) สังเกตการร่ วมกิจกรรมการเคลื่อนไหวด้วยความสนใจตั้งแต่ตน้ จนจบ 6.2 เครื่ องมือ 1) แบบสังเกตพฤติกรรม 66.3 เกณฑ์การประเมิน ระดับ 3 หมายถึง ดี ระดับ 2 หมายถึง พอใช้ ระดับ 1 หมายถึง ปรับปรุ ง ผ่านเกณฑ์การประเมิน ร้อยละ 80 7. กิจกรรมเสนอแนะ …………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………..
..…………………………………………………………..……………………………………………….
แผนการจัดประสบการณ์ สั ปดาห์ ที่ 5 ชื่อหน่ วย อาหารดีมีประโยชน์ (วันที่ 5) กิจกรรมสร้ างสรรค์ เวลา 40 นาที จัดกิจกรรมการเรียนการสอนวันที่ ………. เดือน ……………………….. พ.ศ. ……………...... ……………………………………………………………………………………………….…………… 1. สาระสาคัญ กิจกรรมสร้างสรรค์ เป็ นกิจกรรมที่ช่วยเด็กให้แสดงออกทางอารมณ์ความรู ้สึกความคิดริ เริ่ ม สร้างสรรค์และจินตนาการโดยใช้การปฏิบตั ิงานศิลปะ 2. จุดประสงค์ การเรี ยนรู้ 2.1 ปฏิบตั ิงานศิลปะเป็ นกลุ่มและมีจุดมุ่งหมายร่ วมกันได้ (มฐ. 8 ตบช.1.1) 2.2 ปฏิบตั ิตวั เป็ นผูน้ าผูต้ ามได้ (มฐ. 8 ตบช.2.2) 2.3 ผลงานกลุ่มการวาดภาพด้วยสี น้ าคนจากกระดาษมีความแปลกใหม่และสร้างสรรค์ได้ (มฐ. 11 ตบช.1) 3. สาระการเรี ยนรู้ 3.1 สาระที่ควรเรี ยนรู้ 1) การวาดภาพด้วยสี น้ า 3.2 ประสบการณ์สาคัญ 1) การชื่นชมและสร้างสรรค์สิ่งที่สวยงาม 2) การทางานร่ วมกับผูอ้ ื่น
3) การรับรู ้และแสดงความรู ้สึกผ่านสื่ อวัสดุของเล่นและผลงาน 4) การวางแผนตัดสิ นใจเลือกและลงมือปฏิบตั ิ 4. กิจกรรมการเรียนรู้ 4.1 เด็กและครู ร่วมสนทนาถึงการปฏิบตั ิกิจกรรมสร้างสรรค์ โดยครู นาผลงานที่ทาสาเร็ จ แล้ว มาให้เด็กๆ ดู แล้วร่ วมสนทนาถึงวิธีการปฏิบตั ิต่อผลงานในลักษณะต่างๆ 4.2 เด็กและครู ร่วมสนทนาถึงวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการดาเนิน การวาดภาพด้วยสี น้ า พร้อมทั้งแนะนาการปฏิบตั ิตนขณะเข้าร่ วมปฏิบตั ิกิจกรรม 4.3 เด็กและครู ร่วมกันสนทนาถึงข้อตกลงในการเลือกปฏิบตั ิกิจกรรม พร้อมทั้งแบ่งเด็ก ออกเป็ น 5 กลุ่ม กลุ่มละ 5 คนตามความสมัครใจ 4.4 เด็กแต่ละกลุ่มเลือกทากิจกรรมสร้างสรรค์ตามความถนัดและความสนโดยเด็กและ ครู รวมกันจัดเตรี ยมวัสดุอุปกรณ์ไว้ให้ ครู คอยสังเกตพฤติกรรมขณะเด็กร่ วมกิจกรรมอย่างใกล้ชิด 4.5 เด็กและครู ช่วยกันจัดแสดงเพื่อนาเสนอผลงาน และพูดเกี่ยวกับผลงานที่จดั ทาขึ้น 4.6 เด็กช่วยกันเก็บวัสดุ – อุปกรณ์เข้าที่ และทาความสะอาดให้เรี ยบร้อย 5. สื่ อและแหล่ งเรี ยนรู้ 5.1 สี น้ า 5.2 จานสี 5.3 พูก่ นั 5.4 กระดาษชาร์ทเทาขาว ขนาด 40X50 เซนติเมตร 6. การวัดและประเมินผล 6.1 วิธีการวัด 1) สังเกตการปฏิบตั ิงานศิลปะเป็ นกลุ่มและมีจุดมุ่งหมายร่ วมกัน 2) สังเกตการปฏิบตั ิตวั เป็ นผูน้ าผูต้ าม 3) สังเกตการณ์ผลงานกลุ่มการวาดภาพด้วยสี น้ าคนจากกระดาษมีความแปลกใหม่และ สร้างสรรค์ 6.2 เครื่ องมือ 1) แบบสังเกตพฤติกรรม 6.3 เกณฑ์การประเมิน ระดับ 3 หมายถึง ดี ระดับ 2 หมายถึง พอใช้ ระดับ 1 หมายถึง ปรับปรุ ง
ผ่านเกณฑ์การประเมิน ร้อยละ 80 7. กิจกรรมเสนอแนะ …………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………….. ..…………………………………………………………..……………………………………………….
แผนการจัดประสบการณ์ สั ปดาห์ ที่ 5 ชื่อหน่ วย อาหารดีมีประโยชน์ (วันที่ 5) กิจกรรมเสรี เวลา 20 นาที จัดกิจกรรมการเรียนการสอนวันที่ ………. เดือน ……………………….. พ.ศ. ……………...... …………………………………………………………………………………………………………… 1. สาระสาคัญ การเล่นตามมุมเป็ นกิจกรรมที่เปิ ดโอกาสให้เด็กเล่นอิสระตามมุมประสบการณ์ ที่จดั ไว้ใน ห้องเรี ยน เช่น มุมบล็อก มุมหนังสื อ มุมบ้าน มุมร้านค้า ฯลฯ มุมต่าง ๆ เหล่านี้ เด็กมีโอกาสเลือกเล่น อย่างเสรี ตามความสนใจและความต้องการของเด็ก ทั้งรายบุคคลและเป็ นกลุ่ม 2. จุดประสงค์ การเรี ยนรู้ 2.1 แสดงท่าทางอ่านหนังสื อพร้อมทั้งเล่าเรื่ องไปด้วยในมุมหนังสื อได้ (มฐ. 9 ตบช.2.1) 2.2 แสดงความมีน้ าใจรู ้จกั ขอโทษและให้อภัยได้ (มฐ. 4 ตบช.2.2) 2.3 จัดเก็บของเล่นเข้าที่เรี ยบร้อยได้ (มฐ. 4 ตบช.1.1) 3. สาระการเรี ยนรู้ 3.1 สาระที่ควรเรี ยนรู้
1) มุมบล็อก มุมบ้าน มุมตุก๊ ตา มุมหนังสื อ มุมวิทยาศาสตร์ มุมพลาสติกสร้างสรรค์ มุมเกมการศึกษา 3.2 ประสบการณ์สาคัญ 1) การเล่นอิสระ 2) การเล่นรายบุคคล การเล่นเป็ นกลุ่ม 3) การเล่นในห้องเรี ยน 4. กิจกรรมการเรียนรู้ 4.1 เด็กและครู ร่วมสนทนาถึงการเล่นและการปฏิบตั ิตนขณะเล่นร่ วมกับเพื่อนๆ ในมุม ประสบการณ์ต่างๆ ได้แก่ มุมบล็อก มุมบ้าน มุมตุก๊ ตา มุมหนังสื อ มุมวิทยาศาสตร์ มุมพลาสติก สร้างสรรค์ มุมเกมการศึกษา 4.2 เด็กและครู สร้างข้อตกลงในการเล่น เพื่อฝึ กคุณธรรมจริ ยธรรมและมีจิตใจดีงาม 4.3 เด็กเลือกตัดสิ นใจเล่นอย่างอิสระตามกิจกรรมที่จดั ขึ้นตามความสนใจ โดยผลัดเปลี่ยน หมุนเวียนกันเล่น 4.4 ขณะที่เด็กเล่นครู สังเกตพฤติกรรม สนทนาและกระตุน้ ให้เด็กเกิดความคิด 4.5 เด็กและครู สนทนาแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการเล่นมุมประสบการณ์ต่างๆ แล้วร่ วม กันเก็บอุปกรณ์ต่างๆ ในมุมประสบการณ์เข้าที่ให้เรี ยบร้อย 5. สื่ อและแหล่ งเรี ยนรู้ 5.1 มุมประสบการณ์ต่างๆ 5.2 วัสดุ – อุปกรณ์ที่ใช้ในมุมประสบการณ์ 5.3 ของเล่นสาหรับเด็ก 6. การวัดและประเมินผล 6.1 วิธีวดั 1) สังเกตการแสดงท่าทางอ่านหนังสื อพร้อมทั้งเล่าเรื่ องไปด้วยในมุมหนังสื อ 2) สังเกตการแสดงความมีน้ าใจรู ้จกั ขอโทษและให้อภัย 3) สังเกตการจัดเก็บของเล่นเข้าที่เรี ยบร้อย 6.2 เครื่ องมือ 1) แบบสังเกตพฤติกรรม 6.3 เกณฑ์การประเมิน ระดับ 3 หมายถึง ดี ระดับ 2 หมายถึง พอใช้
ระดับ 1 หมายถึง ปรับปรุ ง ผ่านเกณฑ์การประเมิน ร้อยละ 80 7. กิจกรรมเสนอแนะ …………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………….. ..…………………………………………………………..……………………………………………….
แผนการจัดประสบการณ์ สั ปดาห์ ที่ 5 ชื่อหน่ วย อาหารดีมีประโยชน์ (วันที่ 5) กิจกรรมเสริมประสบการณ์ เวลา 20 นาที จัดกิจกรรมการเรียนการสอนวันที่ ………. เดือน ……………………….. พ.ศ. ……………...... ……………………………………………………………………………………………….…………… 1. สาระสาคัญ การเลือกรับประทานอาหารที่ปลอดจากโรคใบไม้ตบั ได้อย่างถูกต้อง 2. จุดประสงค์ การเรี ยนรู้ 2.1 รู้จกั เลือกประเภทในการรับประทานอาหารได้ (มฐ. 9 ตบช.1.1) 2.2 ร่ วมสนทนาโต้ตอบกับครู และเพื่อนได้ (มฐ. 9 ตบช.1.1) 2.3 ร่ วมกิจกรรมกับครู และเพื่อนด้วยความสนใจได้ (มฐ. 12 ตบช.1.1)
3. สาระทีค่ วรเรียนรู้ 3.1 สาระที่ควรเรี ยนรู้ 1) การรับประทานอาหารอย่างถูกวิธี 3.2 ประสบการณ์สาคัญ 1) การปฏิบตั ิตามกิจวัตรประจาวันของตนเอง 2) การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและความเคารพความคิดเห็นของผูอ้ ื่น 4. กิจกรรมการเรียนรู้ 4.1 เด็กนัง่ เป็ นรู ปครึ่ งวงกลม ปรบมือ 3 ครั้ง ต่อเนื่องเป็ นจังหวะ เพื่อเป็ นการฝึ กสมาธิ 4.2 เด็กและครู ร่วมกันสนทนาแสดงความคิดเห็นถึงการรับประทานอาหารอย่างถูกวิธีและ ให้อธิ บายเหตุผลของการทาเช่นนั้น 4.3 เด็กและครู สนทนาร่ วมกันถึงการเลือกรับประทานอาหารโดยใช้ภาพประกอบ 4.4 สาธิ ตการใช้เครื่ องมือเครื่ องใช้ในการรับประทานอาหารอย่างถูกวิธี และให้เด็กทดลอง ปฏิบตั ิ 4.5 เด็กและครู ร่วมกันสนทนาสรุ ปถึงประโยชน์ของการรับประทานอาหารอย่างถูกวิธีและที่ ปลอดจากโรคพยาธิใบไม้ตบั 4.6 ให้ทาแบบฝึ กเสริ มประสบการณ์ วันที่ 5 5. สื่ อและแหล่ งเรี ยนรู้ 5.1 ภาพการเลือกรับประทานอาหารที่ปลอดจากโรคพยาธิใบไม้ตบั 5.2 การเลือกรับประทานอาหาร เช่น ก้อยปลาสุ ก ลาบปลาสุ ก ปลาส้มสุ ก ปลาร้าสุ ก การ ย่าง ฯลฯ 6. การวัดและประเมินผล 6.1 วิธีการวัด 1) สังเกตการเลือกรับประทานอาหาร 2) สังเกตการร่ วมสนทนากับครู และเพื่อน 3) สังเกตการร่ วมกิจกรรมกับครู และเพื่อนด้วยความสนใจ 6.2 เครื่ องมือวัด 1) แบบสังเกตพฤติกรรม 6.3 เกณฑ์การประเมิน ระดับ 3 หมายถึง ดี ระดับ 2 หมายถึง พอใช้
ระดับ 1 หมายถึง ปรับปรุ ง ผ่านเกณฑ์การประเมิน ร้อยละ 80 7. กิจกรรมเสนอแนะ …………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………….. ..…………………………………………………………..……………………………………………….
แผนการจัดประสบการณ์ สั ปดาห์ ที่ 5 ชื่อหน่ วย อาหารดีมีประโยชน์ (วันที่ 5) กิจกรรมกลางแจ้ ง เวลา 30 นาที จัดกิจกรรมการเรียนการสอนวันที่ ………. เดือน ……………………….. พ.ศ. ……………...... ……………………………………………………………………………………………….…………… 1. สาระสาคัญ การเล่นอุปกรณ์กีฬา เป็ นการนาอุปกรณ์กีฬามาให้เด็กได้เลือกเล่นอย่างอิสระมากที่สุด อุปกรณ์กีฬาที่นิยมนามาเล่นได้แก่ ลูกบอล ตะกร้า ห่วงยาง เชือกกระโดด เพื่อพัฒนากล้ามเนื้อ แขน ขา ให้แข็งแรง
2. จุดประสงค์ การเรี ยนรู้ 2.1 โยนลูกบอลไปที่เป้ าหมายได้ (มฐ. 10 ตบช.1) 2.2 รับลูกบอลที่กระดอนจากพื้นได้ (มฐ. 2 ตบช.2.2) 2.3 เอื้อเฟื้ อแบ่งปั นลูกบอลกับเพื่อนได้ (มฐ. 1 ตบช.2.2) 3. สาระการเรี ยนรู้ 3.1 สาระที่ควรเรี ยนรู้ 1) การเล่นอุปกรณ์กีฬา 3.2 ประสบการณ์สาคัญ 1) การรักษาความปลอดภัยของตนเองและผูอ้ ื่น 2) การเล่นอิสระ 3) การเล่นร่ วมกับผูอ้ ื่น 4) การเริ่ มต้นและหยุดการกระทาโดยสัญญาณ 4. กิจกรรมการเรียนรู้ 4.1 เด็กและครู เดินแถวไปที่สนามบริ เวณโรงเรี ยนอย่างเป็ นระเบียบ ครู ให้สัญญาณนกหวีดเด็กจับมือเป็ นวงกลม 2 วง เท่าๆกัน 4.2 ครู แนะนาการเล่นอุปกรณ์กีฬา การปฏิบตั ิตนขณะเล่น การระวังอันตรายต่างๆ ที่เกิดขึ้นจากการเล่น ครู แจกลูกบอล 4.3 เด็กจัดแถวตอน 2 แถว คือผูห้ ญิง และแถวผูช้ าย โดยให้เด็กหัวแถวยืนห่างเป้ า 3 เมตร เด็กคนที่หนึ่งของแถวโยนบอลให้โดนเป้ า แล้ววิง่ ไปเก็บลูกบอลและแตะมือคน ต่อไปเรื่ อยๆ จนหมดทุกคน 4.4 ครู สรุ ปการเล่น โยนลูกบอลเข้าเป้ า 4.5 เด็กๆ ยืนในท่าที่สบายจับมือทั้งสองไว้ ยกขึ้น – ลง เหนือศีรษะ พร้อมทั้งหายใจ เข้า - ออก ยาวๆ 4.6 เด็กทาความสะอาดร่ างกายแล้วเดินแถวเข้าห้องเรี ยนอย่างเป็ นระเบียบ 5. สื่ อและแหล่ งเรี ยนรู้ 5.1 อุปกรณ์กีฬา ลูกบอล 6. การวัดและประเมินผล 6.1 วิธีวดั 1) สังเกตการโยนลูกบอลไปที่เป้ าหมาย 2) สังเกตการรับลูกบอลที่กระดอนจากพื้น 3) สังเกตความเอื้อเฟื้ อแบ่งปั นลูกบอลกับเพื่อน
6.2 เครื่ องมือ 1) แบบสังเกตพฤติกรรม 6.3 เกณฑ์การประเมิน ระดับ 3 หมายถึง ดี ระดับ 2 หมายถึง พอใช้ ระดับ 1 หมายถึง ปรับปรุ ง ผ่านเกณฑ์การประเมิน ร้อยละ 80 7. กิจกรรมเสนอแนะ …………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………….. ..…………………………………………………………..……………………………………………….
แผนการจัดประสบการณ์ สั ปดาห์ ที่ 5 ชื่อหน่ วย อาหารดีมีประโยชน์ (วันที่ 5) กิจกรรมเกมการศึกษา เวลา 20 นาที จัดกิจกรรมการเรียนการสอนวันที่ ………. เดือน ……………………….. พ.ศ. ……………...... ……………………………………………………………………………………………….……………
1. สาระสาคัญ การนาชิ้นส่ วนเล็ก 2 ชิ้น มาประกอบกันซึ่ งจะทาให้มีภาพรวมกันเท่ากับจานวนภาพของแผ่น หลักได้ เป็ นการฝึ กการจัดภาพให้มีจานวนตามที่กาหนด 2. จุดประสงค์ การเรี ยนรู้ 2.1 เล่นเกมพื้นฐานชนิดอาหารที่ปลอดจากโรคพยิใบไม้ตบั ได้ (มฐ. 10 ตบช.1) 2.2 มีความมัน่ ใจในตัวเองกล้าที่จะเล่นเกมการศึกษาได้ (มฐ. 3 ตบช.2.1) 2.3 ไม่แย่งเกมการศึกษาเพื่อนขณะเพื่อนเล่นได้ (มฐ. 4 ตบช.2.1) 3. สาระการเรี ยนรู้ 3.1 สาระที่ควรเรี ยนรู้ 1) การจัดภาพให้ถูกต้องตามที่กาหนด 3.2 ประสบการณ์สาคัญ 1) การจับคู่ จาแนก จัดกลุ่ม 2) การแก้ปัญหาในการเล่น 3) การเล่นการทางานร่ วมกับผูอ้ ื่น 4. กิจกรรมการเรียนรู้ 4.1 เด็กนัง่ เป็ นรู ปตัวยู ครู นาเกมจาแนกชนิดอาหาร แนะนาและอธิบายถึงวิธี การเล่น 4.2 เด็กๆ แบ่งกลุ่มตามความสนใจ จานวน 4 กลุ่มๆ ละเท่าๆ กัน 4.3 ตัวแทนกลุ่มมารับเกมการศึกษา กลุ่มละ 1 ชุด โดยเป็ นเกมจาแนกชนิดอาหาร และเกมการศึกษาอื่น 4.4 เด็กแต่ละกลุ่ม เล่นเกมการศึกษา โดยการผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนกันเล่นทุกคนตาม อิสระ โดยครู คอยแนะนา สังเกตพฤติกรรมการเล่นและตรวจความถูกต้อง 4.5 เด็กและครู ร่วมกันสนทนาซักถามและสรุ ปผลการเล่น เกมจาแนกชนิดอาหาร 4.6 เด็กช่วยกันเก็บอุปกรณ์การเล่นเกมเข้าที่ให้เรี ยบร้อย 4.7 ให้ทาแบบฝึ กเกมการศึกษา วันที่ 5 5. สื่ อและแหล่ งเรี ยนรู้ 5.1 เกมจาแนกชนิดอาหาร 5.2 เกมที่เคยเล่นมาแล้ว 6. การวัดและประเมินผล 6.1 วิธีวดั
1) สังเกตการเล่นเกมจาแนกชนิดอาหาร 2) สังเกตการมีความมัน่ ใจในตัวเองกล้าที่จะเล่นเกมการศึกษา 3) สังเกตการไม่แย่งเกมการศึกษาเพื่อนขณะเพื่อนเล่น 6.2 เครื่ องมือ 1) แบบสังเกตพฤติกรรม 6.3 เกณฑ์การประเมิน ระดับ 3 หมายถึง ดี ระดับ 2 หมายถึง พอใช้ ระดับ 1 หมายถึง ปรับปรุ ง ผ่านเกณฑ์การประเมิน ร้อยละ 80 7. กิจกรรมเสนอแนะ …………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………..
ภาคผนวก
ปลานิล
พยาธิใบไม้ ตับ วงจรพยาธิใบไม้ ตบั
ใบความรู้ พยาธิใบไม้ตบั คืออะไร พยาธิใบไม้ตบั เป็ นพยาธิที่ตวั เต็มวัยของพยาธิ อาศัยอยูใ่ นทางเดินน้ าดี พยาธิใบไม้ตบั ที่สาคัญ ที่สุดของประเทศไทยคือ Opisthorchis viverrini พยาธิ ใบไม้ตบั พบได้บ่อยที่ใด พยาธิ ใบไม้ตบั พบได้ทวั่ ไปในประเทศแถบเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้โดยเฉพาะอย่างยิง่ ทางภาค ตะวันออกเฉียงเหนือของไทย และลาวในบริ เวณลุ่มแม่น้ าโขง และในภาคเหนือของประเทศไทยคาดว่ามี คนไทยในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 1.5-2 ล้านคนที่มีพยาธิ ชนิดนี้ พยาธิ ใบไม้ตบั มีลกั ษณะอย่างไร พยาธิ ตวั เต็มวัยมีรูปร่ างคล้ายใบหอกผิวลาตัวเรี ยบ ยาว 1.0-2.5 ซม.และกว้าง 0.3-0.5 ซม. พยาธิมีลาตัว บางแบนและโปร่ งแสง ในตัวจะมีอวัยวะสื บพันธ์ของทั้งเพศผูแ้ ละเพศเมีย (รู ปที่ 1)
รู ปที่ 1 ตัวแก่พยาธิใบไม้ ตับ (ที่มา: http://www.med.cmu.ac.th/dept/parasite/trematodes/frame_fluke.htm-Opisthorchis viverrini ) วงจรชีวิตของพยาธิ ใบไม้ตบั เป็ นอย่างไร พยาธิ ตวั เต็มวัยอาศัยอยูใ่ นท่อทางเดินน้ าดีของคน สุ นขั และแมว เมื่อพยาธิ ออกไข่ ไข่ที่ออกมาจะปนกับ น้ าดีลงสู่ ลาไส้แล้วออกสู่ ภายนอกร่ างกายโดยการปนกับอุจจาระ เมื่อไข่ตกลงสู่ น้ าจะถูกหอยน้ าจืดขนาด เล็ก ใช้เวลาเจริ ญในหอย 6-8 สัปดาห์ ตัวอ่อนจะออกจากหอยเข้าสู่ ปลาน้ าจืดมีเกล็ด ได้แก่ปลาตะเพียน ปลาขาว ปลาขาวน้อย ปลากระสู บ ปลาแก้มช้ า ปลาสร้อย ปลากระมัง แล้วเจริ ญเป็ นระยะติดต่อในเนื้ อ ปลา การเจริ ญในปลาใช้เวลาประมาณ 4 สัปดาห์ เมื่อคน สุ นขั หรื อ แมวกินเนื้อปลาที่ดิบหรื อปรุ งไม่สุก จะได้รับระยะติดต่อเข้าไป น้ าย่อยคนจะย่อยเนื้ อปลาและผนังที่หุม้ ตัวอ่อนทาให้พยาธิ ตวั อ่อนจะออกมา และคืบคลานเข้าไปทางท่อน้ าดีและเจริ ญเติบโตเป็ นตัวเต็มวัย เมื่อพยาธิ ใบไม้ตบั อยูใ่ นท่อน้ าดีแล้วเกิดอะไรขึ้น การที่พยาธิ ดูดเกาะในท่อทางเดินน้ าดี และพยาธิ มีการปล่อยสารบางอย่างออกมา ทาให้เกิดการระคาย เคืองต่อทางเดินน้ าดี ทาให้เยื่อบุผนังท่อน้ าดีหนาตัวขึ้น และมีการเกิดพังผืด ส่ วนถุงน้ าดีมีการหนา ตัวอย่างมาก นอกจากนี้ยงั พบนิ่ว การอักเสบของท่อน้ าดีและถุงน้ าดีได้บ่อย การอักเสบซ้ าแล้วซ้ าอีก ก่อให้เกิดโรคแทรกที่สาคัญคือมะเร็ งของท่อน้ าดี คนที่มีพยาธิ ใบไม้ตบั จะมีอาการอย่างไรบ้าง
คนที่มีพยาธิ ใบไม้ตบั ในร่ างกายแต่จานวนไม่มากอาจไม่มีอาการอะไรเลย ในบางรายที่มีพยาธิ มากขึ้นอาจ มีอาการท้องอืดเฟ้ อเป็ นครั้งคราว อาจมีอาการร้อนท้องซึ่ งอาการเหล่านี้ไม่จาเพาะต่อโรค ส่ วนคนที่มี พยาธิ จานวนมากอาจพบว่ามีอาการดีซ่าน เบื่ออาหาร หรื ออาจรุ นแรงถึงอาการท้องมานและบวม มีอาการ ดีซ่านอย่างรุ นแรง และตับโต จะทราบได้อย่างไรว่าเป็ นโรคพยาธิ ใบไม้ตบั วิธีการตรวจที่ง่ายที่สุดคือการตรวจอุจจาระแล้วพบไข่พยาธิ มีรูปร่ างคล้ายหลอดไฟชนิดมีไส้ สี เหลือง น้ าตาล ไข่ของพยาธิ มีฝาปิ ดจานวน 1 ฝา นอกจากนี้ในบางรายอาจใช้การตรวจทางภูมิคุม้ กันวิทยา หรื อ การตรวจทางรังสี วนิ ิจฉัยร่ วมด้วย ถ้าทราบว่าเป็ นโรคพยาธิ ใบไม้ตบั จะรักษาอย่างไร ในปัจจุบนั ยา Praziquantel เป็ นยาหลักที่ใช้ในการรักษาซึ่งจะได้ผลดีมาก ส่ วนผูป้ ่ วยที่มีการอุดตันของ ทางเดินน้ าดีไม่วา่ จากการอักเสบเรื้ อรังหรื อจากมะเร็ งท่อน้ าดีจะใช้การรักษาทางศัลยกรรมร่ วมด้วย จะป้ องกันโรคพยาธิ ใบไม้ตบั อย่างไร หลักการในการควบคุมและป้ องกันโรคพยาธิ ใบไม้ตบั นั้นง่ายมาก กล่าวคือถ้าป้ องกันไม่ให้ไข่พยาธิ ตก ลงไปในน้ า โดยการถ่ายอุจจาระลงในส้วม ก็จะไม่มีการแพร่ กระจายของพยาธิ ได้ นอกจากนี้เวลาบริ โภค ปลา ถ้าบริ โภคแต่ปลาที่ปรุ งสุ กแล้วจะไม่ทาให้มีการติดต่อของพยาธิ สู่คนได้ แต่ในทางปฏิบตั ิการ ควบคุมป้ องกันโรคพยาธิ ใบไม้ตบั กลับได้ผลไม่เท่าที่ควรเนื่องจากแม้มีการรณรงค์ให้คนใช้ส้วม แต่สุนขั ยังมีการถ่ายอุจจาระเรี่ ยราด ทาให้มีการกระจายของไข่พยาธิ สู่หอยน้ าจืด นอกจากนี้ค่านิยมการบริ โภค ปลาที่ปรุ งไม่สุกยังไม่หมดไป โรคพยาธิใบไม้ตบั (Liver fluke) คือ โรคที่เกิดจากท่อน้ าดีภายในตับติดเชื้อพยาธิ ที่เรี ยกว่า พยาธิใบไม้ตบั ซึ่งส่งผลให้ ท่อน้ าดีเกิดการอักเสบเรื้ อรังร่ วมกับเกิดการอุดตันของท่อน้ า ดีในตับจากตัวและไข่ของพยาธิ จึงส่งผลให้เกิดภาวะตับโต ตัว ตาเหลือง (โรคดีซ่าน) แน่นท้องจากตับโตและมีน้ าในท้อง/ท้องมาน พยาธิใบไม้ตบั มีหลายชนิด ขึ้นกับแต่ละภูมิประเทศ โดยโรคพยาธิใบไม้ตบั พบได้บ่อยในบางภูมิประเทศทัว่ โลก ทั้งนี้ ทัว่ โลก มีรายงานโรค
ที่เกิดจากพยาธิใบไม้ตบั ชนิด Opisthorchis sinensis หรื ออีกชื่อคือ Clonorchis sinensis หรื อ ที่เรี ยกว่า Chinese liver fluke ประมาณมากกว่า 35 ล้านคน (เป็ นโรคประจาถิ่นใน จีน ไต้ หวัน เกาหลี ญี่ปุ่น และเวียดนาม)
ที่เกิดจากชนิด Opisthorchis viverrini (โรคประจาถิ่นในประเทศ ไทย กัมพูชา ลาว และเวียด นาม) ประมาณ มากกว่า 23 ล้านคน
และชนิด Opisthorchis felineus (โรคประจาถิ่นใน ภูมิภาคตะวันออกเฉี ยงใต้ ยุโรปกลาง และยุโรปตะวันออก) ประมาณมากกว่า 16 ล้านคน
ในประเทศไทย พยาธิใบไม้ตบั พบได้ในทุกอายุต้ งั แต่ในเด็กเล็กไปจนถึงในผูส้ ูงอายุ โดยอายุที่พบโรคได้สูงสุดคือ ช่วง 55-64 ปี พบในผูห้ ญิงและผูช้ ายใกล้เคียงกัน
ในประเทศไทย พบโรคได้จากพยาธิใบไม้ตบั ชนิดเดียว คือ Opisthorchis viverrini โดยในช่วงอายุ 0-4 ปี พบได้ 0.64 ราย ต่อประชากร 1 แสนคน ส่วนช่วงอายุ 55-64 ปี พบได้ 1.81 รายต่อประชากร 1 แสนคน โดยผูต้ ิดเชื้อส่วนใหญ่จะอยูใ่ น ภาคตะวันออกเฉี ยงเหนือ รองลงไป คือ ภาคเหนือ และพบได้บา้ งในภาคกลาง แต่พบได้นอ้ ยในภาคใต้ จังหวัดที่พบโรค ได้สูง 10 จังหวัดเรี ยงจากที่พบมากที่สุดลงไปตามลาดับ ที่สารวจในปี พ.ศ. 2550 คือ สกลนคร (22.68 รายต่อประ ชากร 1 แสนคน) น่าน ลาพูน แพร่ ศรี สะเกษ ลาปาง ขอนแก่น บุรีรัมย์ นครราชสี มา และยโสธร (0.93 รายต่อประชากร 1 แสน คน)
โรคพยาธิใบไม้ตบั เกิดจากอะไร? โรคพยาธิใบไม้ตบั เกิดจากตับติดเชื้อ พยาธิ /ปรสิ ต (Parasite) ชนิดหนึ่ง ชื่อ “พยาธิใบ ไม้ตบั (Liver fluke)” โดยเป็ น พยาธิตวั แบน (Flatworm) พยาธิใบไม้ตบั เป็ นพยาธิที่พบในท่อน้ าดีของตับ และอาจพบได้ในท่อน้ าดีที่อยูน่ อกตับ และในถุงน้ าดี ทั้งนี้มีคนและ สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม (เช่น สุนขั แมว แกะ) เป็ นรังโรค (Host หรื อ Reservoir) พยาธิใบไม้ตบั ที่พบในคนมี 5 ชนิด ซึ่งทั้ง 5 ชนิดมีวงจรชีวติ และสามารถก่อโรคได้คล้ายคลึงกัน ได้แก่
Fasiola hepatica และ Fasiola gigantica (พบใน ทวีปอเมริ กา ยุโรป เอเชีย แถบตะวันตกของแปซิฟิก/Western Pacific และอัฟริ กาเหนือ)
Opisthorchis viverrini (พบใน ไทย ลาว กัมพูชา และเวียดนาม)
Opisthorchis felinus (พบใน รัสเซีย ไซบีเรี ย ยูเครน และคาซัคสถาน)
และ Clonorchis sinensis (พบใน จีน เกาหลี ญี่ปนุ่ ไต้หวัน และบางส่วนของรัสเซีย)
ในบทความนี้ จะกล่าวถึงเฉพาะโรคใบไม้ตบั ที่เกิดจาก Opisthorchis viverrini เพราะเป็ นชนิดเดียวที่พบในประเทศไทย (แต่ดงั กล่าวแล้ว วงจรชีวติ การก่อโรค อาการ การรักษา การป้ องกัน ในโรคที่เกิดจากพยาธิใบไม้ตบั ทุกชนิดจะคล้ายกัน) พยาธิใบไม้ตบั Opisthorchis viverrini (O.viverrini) มีรูปร่ างแบนราบคล้ายใบไม้ หัวท้ายแหลม กว้างประมาณ 0.7-1.9 มิลลิเมตร ยาวประมาณ 5-10.2 มิลลิเมตร มีสีคล้ายเลือดจางๆ ภายในตัวมีระบบสื บพันธุ์ท้ งั เพศผูแ้ ละเพศเมีย พยาธิใบไม้ตบั ตัวอ่อนระยะติดต่อ (Metacercariae) จะอาศัยอยูใ่ นเนื้อปลาน้ าจืดพื้นบ้าน เช่น ปลาตะเพียน ปลาแม่ สะแด้ง ปลาซิว ปลาสร้อย ปลาแก้มช้ า ปลาขาวนา ปลาขาว ปลากะสูบ เมื่อคน/สัตว์กินปลาดิบ หรื อ สุกๆดิบ (อาหาร พื้นบ้านของคนภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคเหนือ เช่น ปลาร้า ลาบ ก้อย) พยาธิตวั อ่อนในปลาก็จะเข้าสู่ร่างกาย เข้าสู่ลาไส้เล็ก (ซึ่งมีรูเปิ ดของท่อน้ าดีจากตับเปิ ดเข้าลาไส้เล็ก) เข้าสู่ตบั ผ่านทางรู เปิ ดของท่อน้ าดี และเข้าไปเจริ ญ เติบโต ในท่อน้ าดีในตับต่อไป
โรคพยาธิใบไม้ตบั เกิดได้อย่างไร? วงจรการเกิดโรคพยาธิใบไม้ตบั มีท้ งั หมด 6 ขั้นตอน โดยเริ่ มจาก 1. คนหรื อสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่เป็ นรังโรคของพยาธิใบไม้ตบั ถ่ายอุจจาระไม่เป็ นที่เป็ นทาง ไข่ของพยาธิใบไม้ ตับ (มีขนาดเล็กมาก มองไม่เห็นด้วยตาเปล่า ต้องดูดว้ ยกล้องจุลทรรศน์ โดย ทัว่ ไปขนาดประมาณ 30x12 ไมโครเมตร สี ออกน้ าตาล) ที่ปนอยูใ่ นอุจจาระ จึงปนเปื้ อนในแหล่งน้ า เมื่อไข่พยาธิเข้าสู่แหล่งน้ า ไข่จะถูกกิน โดยหอยน้ าจืด เช่น หอยขม 2. ไข่พยาธิเมื่อเข้าสู่หอยน้ าจืด จะเจริ ญเป็ นตัวอ่อนในหอยน้ าจืดนั้น (หอยน้ าจืด จึงเป็ นรังโรคตัวกลางตัวแรก First intermediate host) โดยตัวอ่อนพยาธิใบไม้ตบั ในหอยน้ าจืดมีหลายระยะ จนในที่สุดเจริ ญเป็ นตัวอ่อน ระยะที่เรี ยกว่า Cercariae ซึ่งตัวอ่อนระยะนี้จะออกจากหอย ว่ายอยูใ่ นน้ า 3. ตัวอ่อนระยะนี้จะไชเข้าไปอาศัยอยูใ่ นเนื้อปลาน้ าจืด ซึ่งปลาน้ าจืดจะเป็ นรังโรคตัวกลางตัวที่ 2 (Second intermediate host) ตัวอ่อนในปลาน้ าจืดจะเจริ ญเป็ นตัวอ่อนระยะติดต่อ (Metacer cariae, มีสีออกน้ าตาล และมี ขนาดประมาณ 0.19-0.25 x 0.15-0.22 มิลลิเมตร) 4. คนและสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมจะกินปลาน้ าจืดที่มีตวั อ่อนระยะติดต่ออยู่ (กินดิบๆ หรื อสุกๆดิบๆ ซึ่งตัวอ่อนนี้จะ ถูกฆ่าตายด้วยความร้อนตั้งแต่ 70 องศาเซลเซียส/Celsius ขึ้นไป) จึงเกิดการติดเชื้อพยาธิ 5. พยาธิตวั อ่อนระยะติดต่อนี้ จะผ่านกระเพาะอาหารเข้าสู่ลาไส้เล็กตอนบน ซึ่งเป็ นที่เปิ ดของปากท่อน้ าดีใหญ่ นอกตับ ของท่อถุงน้ าดี และของท่อตับอ่อน พยาธิตวั อ่อนจากลาไส้เล็กจะเข้าสู่ท่อน้ าดีใหญ่น้ ี แล้วเข้าสู่ท่อ
น้ าดีในตับผ่านทางปากท่อน้ าดีน้ ี และพยาธิตวั อ่อนนี้จะอยูอ่ าศัยเจริ ญเติบโตออกไข่อยูใ่ นท่อน้ าดีในตับ (บางครั้งพบในถุงน้ าดี และ/หรื อในท่อตับอ่อนได้บา้ ง) และ 6. เจริ ญเป็ นพยาธิใบไม้ตบั ตัวแก่ ซึ่งมีท้ งั สองเพศในตัวเดียวกัน จึงสามารถวางไข่ได้ ดังนั้น คน/สัตว์เลี้ยงลูกด้วย นมจึงเป็ นรังโรคหลัก (Definitive host) ของพยาธิใบไม้ตบั ต่อจากนั้น ก็จะเริ่ มวงจร 1.ใหม่โดย ไข่จะหลุด ออกมาตามน้ าดีของตับเข้าสู่ลาไส้เล็ก ลาไส้ใหญ่ และปนออกมากับอุจจาระ เกิดเป็ นวงจรการติดเชื้อไม่รู้จบ ทั้งนี้เมื่อไข่ปนเปื้ อนในดินและหญ้า สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่กินหญ้าที่ปนเปื้ อนอุจจาระที่มีไข่พยาธิ ก็สามารถ ติดเชื้อพยาธิตามวงจรนี้ได้เช่นกัน ระยะเวลาตั้งแต่ คนกินตัวอ่อนพยาธิ ไปจนถึงพยาธิในตับวางไข่ได้ ใช้ระยะเวลาทั้งหมดประมาณ 3-4 สัปดาห์ ทั้งนี้ พยาธิใบไม้ตบั แต่ละตัวจะมีชีวติ ในตับได้เป็ นสิบๆปี มีรายงานได้นานถึง 25 ปี และแต่ละตัวสามารถวางไข่ได้ ประมาณวันละ 200 ฟอง
โรคพยาธิใบไม้ตบั มีอาการอย่างไร? อาการของโรคพยาธิใบไม้ตบั จากการติดเชื้อพยาธิใบไม้ตบั ทุกชนิด จะเหมือนกัน กล่าว คือในระยะแรกที่ติดโรค และ พยาธิใบไม้ตบั ยังมีปริ มาณไม่มาก รวมทั้งเนื้อตับยังมีการอักเสบเปลี่ยนแปลงเพียงเล็กน้อย ผูป้ ่ วยจะไม่มีอาการ ต่อมา เมื่อมีการติดเชื้อเรื้ อรัง พยาธิมีจานวนมาก และตับเสี ยหายมากขึ้น ผูป้ ่ วยจะมีอา การได้ แต่ไม่มีอาการเฉพาะของ โรคนี้ อาการจะเหมือนอาการของโรคระบบทางเดินอาหารทัว่ ไป เช่น ปวดท้อง มักปวดบริ เวณตับ (ปวดท้องด้านขวา ตอนบน) จากตับอักเสบ แน่นอึดอัดท้องจากตับโต อาจคลาพบตับได้ (ปกติจะคลาไม่พบตับ) ซึ่งผูป้ ่ วยอาจให้อาการว่ามี ก้อนในท้องด้านขวาบน นอกจากนั้น คือ อาการคล้ายอาการจากภาวะอาหารไม่ยอ่ ย (ท้องอืด ท้องเฟ้ อ) เบื่ออาหาร อาจ ท้องเสี ยเรื้ อรัง หรื อท้องเสี ยสลับท้องผูก เมื่อโรคเป็ นมากขึ้น คือตับอักเสบเสี ยหายมาก ร่ วมกับตัวพยาธิ และไข่พยาธิอุดตันทาง เดินน้ าดีในตับมากขึ้น ผูป้ ่ วยจะมี อาการปวดท้องด้านขวาบนเพิ่มมากขึ้น แน่นท้องจากตับโตมากขึ้น มีตวั ตาเหลืองจากมีการอุดกั้นท่อน้ าดี ส่งผลให้ น้ าดี ที่สร้างจากตับไม่สามารถไหลลงสู่ลาไส้เล็กได้ตามปกติ จึงเกิดอาการของโรคดีซ่าน ร่ วมกับผูป้ ่ วยผอมลง/น้ าหนักลด เบื่ออาหารมากขึ้น และมักมีน้ าในท้อง/ท้องมาน ร่ วมกับอาการตัวบวม โดยเฉพาะบวมเท้า จากภาวะร่ าง กายขาดอาหาร โดยเฉพาะอาหารโปรตีน เมื่อตับอักเสบมากขึ้นๆ ตับจะสูญเสี ยการทางาน เกิดภาวะตับวายและผูป้ ่ วยจะเสี ยชีวติ ในที่สุด
รักษาโรคพยาธิ ใบไม้ตบั อย่างไร? การรักษาพยาธิใบไม้ตบั คือ การกินยาฆ่าพยาธิใบไม้ตบั คือ ยา Praziquantel ซึ่งเป็ นยาที่มีประสิทธิภาพสูงมากในการ รักษาโรคพยาธิใบไม้ตบั โดยเฉพาะในระยะยังไม่มีอาการ หรื อมีอาการเพียงเล็กน้อย อย่างไรก็ตาม เมื่อรักษาหายแล้ว ถ้า กลับไปใช้ชีวติ โดยเฉพาะกินอาหารประเภทเดิม ก็จะกลับมาติด โรคใหม่ได้เสมอ
นอกจากนั้น คือ การรักษาประคับประคองตามอาการ เช่น กินยาแก้ปวด การใส่ท่อเข้าไปในท่อน้ าดี เพื่อการระบายน้ าดี เพื่อลดอาการตัวตาเหลือง และ/หรื อ การเจาะน้ าออกจากท้องเป็ นครั้งคราว เมื่อมีอาการแน่นอึดอัดท้องมากจากมีน้ าใน ท้อง เป็ นต้น
โรคพยาธิใบไม้ตบั รุ นแรงไหม? มีผลข้างเคียงอย่างไร? โรคพยาธิใบไม้ตบั ในระยะเริ่ มเป็ น หรื อระยะที่ตบั ยังไม่เสี ยหายมาก สามารถรักษาหายได้ แต่เมื่อตับเสี ยหายมากแล้ว มักเป็ นโรคที่รุนแรง ส่งผลต่อสุขภาพโดยร่ วมของผูป้ ่ วย ทาให้ไม่สามารถทางานใช้ชีวติ ได้ตามปกติ และยังเป็ นปัจจัย เสี่ ยงสาคัญต่อการเกิดโรคมะเร็งตับชนิดที่เกิดกับท่อน้ าดีในตับ (Cholangiocarcinoma) ซึ่งเป็ นโรคมะเร็งชนิดรุ นแรง เป็ นสาเหตุให้เสี ย ชีวติ ได้สูง ผลข้างเคียงจากโรคพยาธิใบไม้ตบั คือ ภาวะตับอักเสบเรื้ อรังส่งผลให้สุขภาพร่ างกายเสื่ อมโทรม ส่งผลต่อคุณภาพชีวติ และการทางาน และยังเป็ นปัจจัยเสี่ ยงสาคัญต่อการเกิดโรค มะเร็ งตับ ดังได้กล่าวแล้ว
ดูแลตนเองอย่างไร? เมื่อไรควรพบแพทย์? การดูแลตนเองที่สาคัญที่สุด คือ การกินอาหารปรุ งสุกทัว่ ถึงทั้งชิ้นอาหารเสมอ โดย เฉพาะปลาน้ าจืด (อุณหภูมิสูงตั้งแต่ 70 องศาเซลเซียสขึ้นไป) และเมื่ออยูใ่ นถิ่นที่พบโรคนี้เป็ นโรคประจาถิ่น หรื อมีคนในบ้านป่ วยด้วยโรคนี้ ทุกคนควรพบ แพทย์ เพื่อรับการตรวจอุจจาระหาไข่พยาธิ เพื่อการรักษาตั้งแต่โรคยังไม่มีอาการ ซึ่งมีโอกาสหาย 100% ส่วนเมื่อเกิดเป็ นโรคนี้แล้ว การดูแลตนเอง คือ
ปฏิบตั ิตามแพทย์ พยาบาลแนะนา
กินยาที่แพทย์แนะนาให้ถูกต้องครบถ้วน ไม่ขาดยา
เลิกกินอาหารดิบ หรื อปรุ งสุกๆดิบๆ
พบแพทย์ตามนัดเสมอ
รี บพบแพทย์ก่อนนัดเมื่อ มีอาการผิดปกติไปจากเดิม หรื อเมื่ออาการต่างๆเลวลง หรื อเมื่อกังวลในอาการ
เมื่อหายแล้ว ยังควรต้องมีการตรวจอุจจาระ เป็ นครั้งคราวตามแพทย์ พยาบาลแนะ นา เพื่อตรวจการย้อนกลับ มาติดเชื้อได้อีก
ป้ องกันโรคพยาธิ ใบไม้ตบั อย่างไร การป้ องกันโรคพยาธิใบไม้ตบั ที่มีประสิ ทธิภาพที่สุด ได้ผล 100% คือ การเลิก ไม่กินปลาน้ าจืดดิบ หรื อปรุ ง สุกๆดิบๆ ต้องกินแต่ที่ปรุ งสุกอย่างทัว่ ถึงด้วยอุณหภูมิสูงตั้งแต่ 70 องศาเซลเซียสขึ้นไปเสมอ
นอกจากนั้น คือ การใช้สว้ มในการถ่ายอุจจาระเสมอ ร่ วมกับเมื่ออยูใ่ นถิ่นที่มีโรคนี้เป็ นโรคประจาถิ่น ในทุกเพศและทุก วัย ควรต้องตรวจอุจจาระเป็ นระยะๆต่อเนื่องเสมอ เพื่อตรวจหาไข่พยาธิ เพื่อการรักษาโรคตั้งแต่ยงั ไม่มีอาการ ทั้งนี้ดงั ได้ กล่าวแล้วว่า การรักษาด้วยการกินยาฆ่าพยาธิมีประสิ ทธิภาพ 100%
รายการอาหารแนะนาทาให้ สุกก่อนรับประทาน
ก้อยกุ้ง
“ก้อย” เป็ นอาหารชนิดหนึ่งของคนภาคกลางและภาคอีสาน ปรุ งจากเนื้ อสดดิบที่ค้ นั ด้วยน้ ามะนาว หรื อ น้ ามะขามเปี ยก จนเนื้อเปลี่ยนสี แล้วปรุ งรส เนื้อสัตว์ที่นิยมนามาปรุ งเป็ นก้อย ได้แก่ เนื้อวัว ไก่ ปลา และ กุง้ สาหรับก้อยกุง้ สู ตรคนอีสาน มีส่วนผสมและวิธีการทาดังนี้ ส่ วนผสมก้อยกุง้ 1. กุง้ ฝอย 2. มะกอกป่ าสุ ก /มะนาว/มะขามเปี ยก 3. ต้นหอมซอย 4. ผักชีฝรั่งหัน่ 5. พริ กป่ น /พริ กขี้หนู 6. สะระแหน่หนั่
7. น้ าปลา /ปลาร้า 8. ข้าวคัว่ 9. ผักชีหนั่ ฝอย 10. หอมแดงซอย วิธีการเตรี ยมและปรุ งก้อยกุง้ 1. ล้างกุง้ ฝอยให้สะอาด เลือกกุง้ ที่ไม่ตายใส่ ไว้ในถ้วยหรื อภาชนะที่มีฝาปิ ด 2. ใส่ เครื่ องปรุ งทุกอย่าง บีบมะกอก หรื อมะนาว พริ กป่ น หากเป็ นพริ กขี้หนูสด จะซอยหรื อโขลก หยาบ/บุบพอแหลก หอมแดงซอย ข้าวคัว่ ผักชีฝรั่งหัน่ ต้นหอม ซอย ใบสะระแหน่ คลุกเคล้าให้เข้ากัน 3. ปรุ งรสตามใจชอบด้วย น้ าปลา น้ าปลาร้า 4.ทาให้สุกด้วยการคัว่ ก่อนจึงนาไปรับประทาน
ลาบปลา (ทาให้ สุก)
ลาบปลา เป็ นอาหารประเภทลาบ ที่มีส่วนประกอบหลัก คือเนื้ อปลา นามาสับให้ละเอียด ปรุ งด้วย เครื่ องปรุ งอันประกอบด้วยพริ กแห้งเผา และเครื่ องเทศต่างๆ เช่นเดียวกับลาบชนิ ดอื่นๆ เครื่ องเคียง ได้แก่ ผักสดนานาชนิด โดยเฉพาะประเภทสมุนไพรที่มีกลิ่นหอมแรง และเรี ยกผักที่นามารับประทานกับลาบว่า ผักกับลาบ เมื่อปรุ งเสร็ จ นาไปทาให้สุกก่อนด้วยดารคัว่ หรื อนึ่ง จึงค่อยนามารับประทาน
ก้อยปลาใส่ มดแดง (อาหารสุ ก)
นาปลายีส่ กขนาดใหญ่
จัดการขอดเกล็ดเลือกเอาแต่ส่วนเนื้อๆ สับพอเป็ นพิธีไม่ตอ้ งให้ละเอียด
นามดแดงจากต้นไม้ ริ มรั้ว
จัดการคั้นเนื้ อปลาใส่ มดแดง
ปั้ นบีบคั้นเอาน้ าออก
เตรี ยมเครื่ องปรุ งที่จะทาก้อย พริ ก เข่าคัว่ หอมหัวแดง ต้นหอม ชีหอม
ปรุ งเครื่ อง ด้วยพริ ก ข้าวคัว่ น้ าปลา
นาก้อยปลาไปทาให้สุกด้วยการคัว่
ตักใส่ จานเสริ ฟ เป็ นกับเข่าและกับแกล้มในเวลาเดียวกัน
การทาอาหารให้ สุกก่อนรับประทาน เพื่อให้ปลอดจากโรคพยาธิใบไม้ตบั ควรรับประทานอาหารที่ปรุ งสุ กเสมอ ซึ่งการทาอาหารให้ สุ กสามารถกระทาได้หลายวิธี เช่น การปิ้ งย่าง การทอด การ นึ่ง การต้ม
การย่าง [n.] roasting [syn.] การปิ้ ง,การเผา หมายเหตุ การทาให้สุกด้วยการวางไว้เหนือไฟ เพื่อให้สุก ระอุทวั่ กัน หรื อให้แห้ง มักใช้แก่ของสด โดย ปกติใช้เวลานานกว่าปิ้ ง เช่น ย่างไก่ ย่างหมู
การทอด การทอด หมายถึง การทาอาหารให้สุกโดยใช้น้ ามันพืชหรื อไขมันสัตว์ (fat) เป็ นตัวกลาง แลกเปลี่ยนความร้อน ปกติใช้อุณหภูมิในช่วง 170-210 องศาเซลเซียส
ประเภทของการทอด
การทอดโดยใช้น้ ามันน้อย (pan frying) เป็ นการทอดโดยการใช้น้ ามันหรื อไขมันปริ มาณ เล็กน้อย เพียงเพื่อไม่ให้อาหารติดภาชนะทอด กระทะที่ใช้ทอดเป็ นกระทะก้นตื้น (skillet) ระหว่างการทอดอาจมีการกลับด้านเพื่อให้อาหารสุ กทัว่ ถึงให้เกิดกลิ่นรสที่ตอ้ งการ เช่น การทอด เนื้อสัตว์ แฮมเบอเกอร์ ไข่ดาว เบคอน เป็ นต้น
การทอดโดยใช้น้ ามันมากหรื อน้ ามันท่วม เป็ นการทอดที่ใช้น้ ามันปริ มาณมาก โดยอาหารจม อยูภ่ าชนะที่บรรจุน้ ามัน เกิดลักษณะผิวหน้าที่แห้ง กรอบ เป็ นเปลือกสี น้ าตาล
วิธีการทอดปลาสด การทอดปลาทั้งตัวหรือปลาเป็ นชิ้น เวลา ทอดปลาสดๆ ถ้าเป็ นปลาที่แล่เอาก้างออกแล้ว เวลาทอดให้เอาด้านที่เป็ นหนังปลาลงก่อน ให้ตะหลิวกดชิ้นปลาไว้จนกว่าจะหยุดหดตัวปลาจะได้ไม่งอ จากนั้นค่อยกลับเอาทางเนื้อลงทอด จนเหลืองกรอบ แต่ถา้ ทอดปลาทั้งตัว แล้วเป็ นปลาตัวใหญ่ เนื้ อหนา ก็อย่าลืมบั้งปลาซะก่อน จะ ได้สุกง่ายขึ้น วิธีการทอดปลา การ ทอดปลานั้นควรใช้ไฟค่อนข้างแรง ไม่ควรกลับตัวปลาบ่อยจนเกินไป จะทาให้ผวิ ปลาถลอก ดูไม่สวย ควรรอจนกระทัง่ ข้างที่ลงทอดก่อนเริ่ มเหลือง แล้วค่อยกลับทอดอีกข้างจนเหลืองกรอบ กลับ อีกด้านทอดอีกสักครู่ ก็ใช้ได้แล้วค่ะ
การนึ่ง หรื อ การอบไอนา้ เป็ นกระบวนการทาอาหารให้สุกโดยการผ่านความร้อนจากไอน้ า จากการต้มน้ าให้ถึงจุดเดือด การนึ่งเป็ นกระบวนการทาอาหารที่เหมาะสมกับอาหารเกือบทุกชนิด ซึ่ ง สามารถรักษาและคงความชื้นไว้ในอาหารได้เป็ นอย่างดี
การต้ม หมายถึง การนาอาหารที่ตอ้ งการต้มใส่ หม้อพร้อมกับน้ าตั้งไฟให้เดือดจนกว่าจะสุ ก ใช้เวลาตาม ชนิดของอาหารนั้นๆ เช่น การต้มไข่ ต้มผัก ต้มเนื้อสัตว์ ฯลฯ
คาคล้องจอง สุ ขภาพดี ภัทรากรณ์ พันธ์ยมิ้ สุ ขภาพฉันนี้ ชอบทาท่าทาง
ดูดีหนักหนา รู ปร่ างแข็งแรง เพลง ล้างมือ
มือ มือ มือ ก่อนกินอาหารคราวใด เราต้อง ล้างมือ ล้างมือ ให้สะอาดเอย เพลง ตื่นแต่ เช้ า ตื่นแต่เช้าล้างหน้าแปรงฟัน ทุกทุกวันฟันฉันแข็งแรง เสร็ จแล้วอาบน้ าด้วยซี สดชื่นชีวที ุกวีท่ ุกวัน หนังสื อป๊ อบอัพ เรื่อง ผึง้ น้ อยสอนน้ อง ป. ปลาตัวโต โอ้โหน่าอร่ อย พ่อแม่คิดค่อย จะทาอะไร ต้องนึ่งต้มผัด เคร่ งครัดต้องสุ ก ปลอดโรคปลอดภัย พยาธิ ตวั ร้าย หลีกไปให้ไกล ความร้อนจากไฟ ไล่ไปเร็ วรี เด็ก เด็ก ต้องจา คาไว้ให้ดี พยาธิหลีกหนี อาหารต้องสุ ก
นิทาน เรื่อง กินดี...มีสุข หนูบุศ บุศราคา เรื่ อง สกลเมืองงาม หาปลามานาน ปลาในลาคลอง ซิ วสร้อยไม่สิ้น ทั้งปู กุง้ หอย อาหารของคน เด็ก เด็ก รู้ไหม มันมีที่มา ปลาดิบพิษร้าย พยาธิลอดเล็ด กินปลาที่สุก อยูไ่ ม่ประมาท
ลุ่มน้ าหนองหาร ชาวบ้านทากิน ห้วยหนองทัว่ ถิ่น หากินเวียนวน ลอยเล่นล่องชล มีในธารา พิษร้ายนั้นหนา จากปลามีเกล็ด ทาลายชีพเด็ด เราเสร็ จพยาธิ ปลุกความฉลาด พยาธิ วอดเอย
…………………..