กลุ่มทอผ้าไหม ประวัติการก่อตั้งกลุ่ม ในปีพ.ศ.2531 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระราชด้าเนินมาเปิดอ่างเก็บน้าห้วยโท – ห้วยยาง ด้วยพระองค์เอง และพบว่าประชาชนบ้ านห้ วยยางประสบปัญ หากับภัยธรรมชาติ คือ น้าท่วมมากถึง 31 ครอบครัว จึงมีพระราชด้าริให้อาชีพแก่ชาวบ้านที่ประสบภัย โดยส่งเสริมให้มีการทอผ้าไหมเป็นอาชีพเสริมเพื่อ ท้าให้ ประชาชนมีอาชีพติดตัว กลุ่มทอผ้าไหมบ้านห้วยยาง หมู่ท6ี่ เดิมรวมทัง 2 หมู่เข้าด้วยกันเริ่มก่อตังปี พ.ศ.2531 มีสมาชิก 31 ครอบครัว ปีพ.ศ.2553 ได้แบ่งกลุ่มออกจากกันอย่างชัดเจน ซึ่งกลุ่มทอผ้าไหมบ้าน ห้ ว ยยางหมู่ที่ 6 มีน างเรณู ยางธิส าร เป็ น ประธานกลุ่ ม และนางธิรัก ยางธิส ารเป็น รองประธานได้รับการ สนับสนุนไหมหลวง มีสิบเอกนาวี หันโยธา เป็นผู้ประสานงาน เพื่อน้าไปขายยังสวนจิตรลดาเมื่อเริ่มก่อตังใน ตอนแรกได้มีครู 2 คน จากศูนย์ศิลปาชีพกุดนาขามมาสอน 15 วัน พร้อมทังมอบอุปกรณ์ทุกอย่างให้แก่สมาชิก 31 ครอบครัว ในตอน 3 ปีแรกที่เริ่มทอผ้าไหมนัน มีการสนับสนุนให้ทางกลุ่มมีการปลูกหม่อนเลียงไหมเอง แต่ เมื่อเข้าไปส่ งผ้ าไหมที่พ ระต้าหนั กภูพาน ก็ได้มีการสะท้อนปั ญ หาว่าไม่มีพืนที่ในการปลู กต้นหม่อน ท้าให้ ปรับเปลี่ยนโดยมอบไหมหลวงให้แทน ในตอนแรกให้ไหมหลวงสมาชิกคนละ 1 กิโลกรัมปีละ 3 ครัง เมื่อปีพ.ศ.2549 สมาชิกได้รับไหมหลวงเพิ่มเป็นครังละ 2 กิโลกรัมได้รับปีละ 2 – 3 ครัง ลักษณะ ของไหมหลวงเส้นบาง ดึงด้วยมือ เส้นไม่เสมอ เมื่อจะทอผ้าไหม ไหมหลวงจะใช้ทอในทางต่้า และสมาชิกส่วน ใหญ่ต้องลงทุนซือไหมโรงงาน เพื่อน้ามาทอผ้าไหมทางไส้ แต่เมื่อน้าไหมหลวงมาใช้ทังทางต่้าและทางไส้ พบว่า ไหมจะพันกันท้าให้เสียเวลาในการทอ จึงไม่นิยมใช้ไหมหลวงในทางไส้ แต่ละครังทอได้ 8 – 10 เมตร แต่เมื่อ สมาชิกอยากจะน้าไหมโรงงานที่ทอเป็นผ้าไหมแล้วน้าไปขายพร้อมกับผ้าไหมจากไหมหลวงก็ได้ ซึ่งราคาไหม ของตนเองซือนันจะมีราคาที่แพงกว่า โดยจะมีสิบเอกนาวี หันโยธาเป็นผู้ประสานงานกับกลุ่มทอผ้าไหมในการ ให้ตัวแทนกลุ่มไปรับไหมหลวงที่ภูพาน และเข้ามารับผ้าไหมที่กลุ่มเพื่อน้าไปขายที่สวนจิตรลดาแต่เดิมการขาย ผ้าไหมนัน สมาชิกทุกคนที่รับไหมหลวงต้องน้าผ้าไหมไปขายเองที่พระต้าหนักภูพาน ช่วงเวลาปลายปีเนื่องจาก สมเด็จพระบรมราชินีนาถ เสด็จมาประทับยังพระต้าหนัก ท้าให้มีการจัดจ้าหน่าย แสดงผ้าไหม จากทั่วภาค อีสาน สมาชิกต้องไปขายโดยผู้ซือนันจะเป็นคนให้ราคาเอง ใช้ระยะเวลาขายประมาณ 3-4 วัน โดยส่วนมากคน ทีซ่ ือจะเป็นผู้ติดตามเสด็จ แต่ถ้าบุคคลอื่นต้องการซือก็สามารถขายได้ แต่เมื่อสมเด็จพระพี่นางฯ เสด็จสวรรคต อีกทังพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่ทรงพระประชวรท้าให้สมเด็จพระบรมราชินีนาถ ไม่ได้เสด็จมาประทับพระ ต้าหนักภูพานฯ สมาชิกที่ทอผ้าไหมขายนันเมื่อสิบเอกนาวี หันโยธาติดต่อมาจะต้องน้าผ้าไหมไปรวมกันที่ศูนย์ ห้วยหีบ โดยผ้าไหมแต่ละผืนจะมีการจดรายละเอียดไว้ติดที่ผ้าไหมไว้ ผ้าไหมก็จะน้าไปยังสวนจิตรลดา ส่วน ราคาผ้าไหมที่ใช้ไหมหลวงทอลายพืนเมตรละ 150 บาท ลายหมี่เมตรละ 300 บาท แต่ไหมอุตสาหกรรมลาย พืน 10 เมตรราคา 1800 บาทปีพ.ศ.2551 ได้มีการให้สมาชิกกลุ่มทอผ้าไหมในบ้านห้วยยางหมู่ท6ี่ สมัครเป็น สมาชิกในโครงการส่งเสริมศิลปาชีพในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ ปัจจุบันสมาชิกที่ขึน ทะเบียนมี24 คน ซึ่งเมื่อเสียชีวิต จะได้รับค่าฌาปนกิจศพๆละ 5,000 บาท และก้าลังจะมีการออมทรัพย์ เกิดขึนในโครงการส่งเสริมศิลปาชีพในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ พัฒนาการการเรียนรู้ของกลุ่ม จากการสัมภาษณ์สมาชิกกลุ่ม ผู้รู้ และผู้น้าชุมชน ผู้ศึกษาพบว่า ตังแต่กลุ่มทอผ้าไหมเริ่มก่อตังมา จนถึงปัจจุบันเป็นเวลา 23 ปี เกิดการเรียนรู้ของกลุ่มคือการใช้ทักษะฝีมือของตนเองที่จะทอผ้าไหมโดย ได้รับการถ่ายทอดจาก แม่ รุ่นสู่รุ่น และเกิดการเปลี่ยนแปลงคือสมาชิก เริ่มแรกทัง 2 หมู่รวมเข้าด้วยกัน เนื่องจากประสบกับน้าท่วมจึงเกิดเป็นกลุ่มทอผ้าไหมขึนมี 31 ครอบครัวมีดังนี 1.นางเรณู ยางธิสาร 2.นางนวม ยางธิสาร
3.นางเลาค้า ยางธิสาร 4.นางค้าพิษ วงศ์อินพ่อ 5.นางถอนไร ยางธิสาร 6.นางเต้า ยางธิสาร 7.นางอุดม ยางธิสาร 8.นางเสวย ยางธิสาร 9.นางทอน ยางธิสาร 10.นางผองค้า โต๊ะชาลี 11.นางเรียน ยางธิสาร 12.นางจันดี วงศ์ตาแพง 13.นางคือ เกษมสาน 14.นางเครื่อง ยางธิสาร 15.นางเตย ยางธิสาร 16.นางบัวลา ยางธิสาร 17.นางล้าไย วงศ์ศรียา 18.นางเนิม ยางธิสาร 19.นางเกร็ง ยางธิสาร 20.นางกรวย ยางธิสาร 21.นางวารี ยางธิสาร 22.นางหลวย ยางธิสาร 23.นางกวม ยางธิสาร 24.นางอุ่น ยางธิสาร 25.นางโด่งดัง ยางธิสาร 26.นางต้น ยางธิสาร 27.นางแตร ยางธิสาร 28.นางกอง ยางธิสาร 29.นางกง ยางธิสาร 30.นางคูณ ยางธิสาร 31.นางเพลิน วงค์อินพ่อ พ.ศ.2531 จัดตังกลุ่มทอผ้าไหม และได้เรียนวิธีการทอผ้าไหม จากครูศูนย์ศิลปาชีพกุดนาขาม พ.ศ.2531 - พ.ศ.2534 ศูนย์ศิลปาชีพสนับสนุนให้ปลูกหม่อนเลียงไหม แต่เนื่องจากไม่มีสถานที่เลียงหม่อนจึง ไม่ได้ท้า และศูนย์ศิลปาชีพให้ไหมหลวงสมาชิกคนละ 1 กิโลกรัมปีละ 3 ครังพ.ศ.2549 สมาชิกได้รับไหมหลวง เพิ่มเป็นครังละ 2 กิโลกรัมปีละ 3 ครังเดิมการขายผ้าไหม สมาชิกทุกคนที่รับไหมหลวงต้องน้าผ้าไหมไปขายเอง ที่พระต้าหนักภูพานฯในช่วงสมเด็จพระบรมราชินีนาถ เสด็จ แต่หลังจากสมเด็จพระพี่นางฯ เสด็จสวรรคต อีก ทังพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่ทรงพระประชวร สมเด็จพระบรมราชินีนาถ ก็ไม่ได้เสด็จยังพระต้าหนักภูพานฯ สมาชิกก็จะส่งผ้าไหมมารวมกันที่ศูนย์ห้วยหีบ เมื่อสิบเอกนาวี หันโยธาติดต่อมา และมารับเงินที่ศูนย์ห้วยหีบ พ.ศ.2551 ให้สมาชิกกลุ่มทอผ้าไหมในบ้านห้วยยางหมู่ที่6 สมัครเป็นสมาชิกในโครงการส่งเสริมศิลปาชีพใน สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ ขึนทะเบียน 24 คนปัจจุบัน เฉพาะสมาชิกกลุ่มทอผ้าไหมบ้านห้วย ยางหมู่ที่ขึนทะเบียนในโครงการศูนย์ศิลปาชีพมี 24 คนคือ 1.นางเรณู ยางธิสาร 2.นางธิรัก ยางธิสาร 3.นางมั่นใจ ยางธิสาร 4.นางนวม ยางธิสาร 5.นางบุญโฮม ยางธิสาร 6.นางอุไร ยางธิสาร 7.นางเลาค้า ยางธิสาร 8.นางค้าพิษ ยางธิสาร 9.นางสาวสมุทร ยางธิสาร 10.นางกองค้า ยางธิสาร 11.นางเสนอ พลราชม 12.นางเพลิน วงศ์อินพ่อ 13.นางอุดม ยางธิสาร 14.นางกาวิน โต๊ะชาลี 15.นางเสวย ยางธิสาร 16.นางทอน ยางธิสาร 17.นางส้ารวย ค้าพา 18.นางทองหนุน เกี๊ยวเก๋า 19.นางผองค้า โต๊ะชาลี 20.นางรวม ยางธิสาร 21.นางเรียน ยางธิสาร 22.นางบริวรรณ โต๊ะชาลี 23.นางจินตนา พลราชม 24.นางหนูพลอย ยางธิสาร ซึ่งทัง 24 คนนีจะได้รับเงินช่วยฌาปนกิจ ศพละ 5,000 บาท และได้รับไหมหลวงครังละ
2 กิโลกรัม และทางศูนย์ก็จะรับซือผ้าไหมที่ทอเสร็จ อุดมการณ์ของกลุ่ม เนื่องด้วยการทอผ้าไหมเป็นอาชีพที่ถ่ายทอดกันจากแม่สู่ลูก และการทอก็ท้าเฉพาะกลุ่มผู้หญิง สูงอายุอีกทังกลุ่มทอผ้าไหมบ้านห้วยยางหมู่ที่6 และมีความภูมิใจที่ได้รับการส่งเสริมให้มีการทอผ้าไหมเป็น อาชีพเสริม และยังเป็นการทอผ้าไหมถวายเจ้านายชันสูงจึงเห็นว่าเป็นอาชีพที่มีเกียรติ และพบว่าถึงแม้การ ทอผ้าไหมจะใช้ระยะเวลานาน แต่ยังต้องการที่จะท้าเพื่ออนุรักษ์ภูมิปัญญาเหล่านีไว้ให้คงอยู่ ทุนในการดาเนินงานของกลุ่ม กลุ่มทอผ้าไหมบ้านห้วยยางหมู่ 6 ไม่ได้มีการด้าเนินกลุ่มเพื่อออมทรัพย์ท้าให้ไม่สามารถน้าเงินมา ทุนได้ ท้าให้สมาชิกแต่ละคนต้องใช้ทุนทรัพย์ของตนเองน้ามาใช้จ่ายในการทอผ้าไหม กิจกรรมของกลุ่ม กลุ่มทอผ้าไหมบ้านห้วยยางหมู่ที่6 มีกิจกรรมหลัก 3 กิจกรรมคือ 1. การทอผ้าไหมที่ย้อมสีธรรมชาติ เช่น ไม้แสดหุ่ง ใบเตย ไม้กระเดา 2. การทอผ้าไหมที่ย้อมสีเคมี 3. การรับไหมหลวง และการรับเงินผ้าไหมสมาชิกแต่ละคนจะไปรวมตัวกันที่ศูนย์ห้วยหีบ เพื่อเข้ารับไหม หลวง และเงินตอบแทนจากการขายผ้าไหม การสนับสนุนของหน่วยงานภายนอก กลุ่มทอผ้าไหมหมู่ที่6 ทอผ้าไหมเสร็จจะมีตลาดรองรับ คือ ขายให้กับทางศูนย์ศิลปาชีพแต่ไม่ สามารถก้าหนดราคาเองได้ เนื่องจากเป็นการทอส่งให้กับเจ้านาย เป็นเหมือนเรารับไหมหลวงมา แล้วแต่ ทางเจ้านายจะให้ราคา และบางส่วนก็ขายตามบ้านจะได้ราคาดีกว่าขายให้ทางศูนย์ จากการศึกษา พบว่า กลุ่มได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงาน 1. ศูนย์ศิลปาชีพ ได้สนับสนุนไหมหลวงให้สมาชิกทุกคนที่ลงชื่อขอรับไหมหลวง ทุกคนจะได้ ไหมหลวงคนละ 2 กิโลกรัมปีละ 3 ครัง และเมื่อสมาชิกทอผ้าไหมเสร็จเมื่อไม่มีที่จ้าหน่าย สมาชิก สามารถส่งให้กับทางศูนย์ศิลปาชีพซึ่งเป็นตลาดทางหนึ่งให้กับสมาชิก 2. ส้านักงานพัฒนาชุมชนโคกศรีสุพรรณ รับผลิตภัณฑ์ที่สมาชิกกลุ่มทอผ้าไหม ไปขายให้ที่ ส้านักงาน แต่เป็นลักษณะไปวางขายเมื่อคนมาซือค่อยน้าเงินมาให้ทางสมาชิก
กระบวนการผลิตผ้าไหม วัสดุอุปกรณ์ในการผลิตผ้าไหม อุปกรณ์ที่ใช้ในการฟอกไหมและย้อมสี มีดังนี้ อ่างย้อม น้าซาวข้าว น้ามันมะกอก สีเคมี
ภาพประกอบ 1 สบู่
ภาพประกอบ 2 อ่างย้อม
ภาพประกอบ 3 น้าซาวข้าว
ภาพประกอบ 4 สีเคมี
ขั้นตอนการผลิต กลุ่มทอผ้าไหมบ้านห้วยยางหมู่ที่6 ไม่มีการปลูกหม่อนเลียงไหมเอง แต่ที่มาของไหมนันคือได้รับ ไหมหลวงจากศูนย์ศิลปาชีพ และซือไหมอุตสาหกรรมจากทางตลาด สมาชิกแต่ละคนก็น้าไหมหลวง ผสม กับไหมอุสาหกรรม มาทอด้วยกัน เพราะถ้าใช้เฉพาะไหมหลวงเวลาทอไหมจะพันกัน ขันตอนดังนี
ภาพประกอบ 5
วิธีฟอกไหมนัน ชาวบ้านใช้ของอยู่ใกล้ตัว เช่น กาบกล้วย และน้าสบู่มาฝานให้บาง แล้วน้าไป ละลายน้าต้มประมาณ 45 – 60 นาที ระหว่างนีก็เอาไหมที่เตรียมฟอกลงใส่อ่าง เพื่อให้เอากาวไหมคือ สี เหลืองออก จะได้เส้นไหม มีลักษณะอ่อนนุ่ม
ภาพประกอบ 6 เตรียมน้าสีเพื่อย้อมสีไหม การย้อมสีธรรมชาติจะประหยัดเงิน ไม่ต้องเสียเงินซือ คนสวมใส่ไม่ระคาย เคืองผิว สวมใส่สบาย แต่ก็มขี ้อเสีย คือ สีไม่สด ส่วนการย้อมด้วยสารเคมี ข้อดี ก็คือ ย้อมง่ายสีสด หาง่าย
ข้อเสีย คือ คนสวมใส่จะแพ้ง่าย เสียเงินซือ มีปัญหากับสิ่งแวดล้อม
ภาพประกอบ 7 นาไหมทีเ่ ตรียมไว้ลงในอ่างที่ผสมสีไว้เรียบร้อยแล้ว และควบคุมไฟไม่ให้แรงเกินไปเพราะเส้นไหมจะแตก ทาให้ ไหมพันกัน
ภาพประกอบ 8
พอย้อมเสร็จ เอามาล้างน้า ล้างจนสีไม่ออก จะสังเกตได้ว่า น้าเป็นสีขาว ไม่มีสี
ภาพประกอบ 9
น้าไหมที่จะฟอกลงแช่ในน้าซาวข้าวที่ผสมกับน้ามันมะกอก โดยทุบเส้นไหมให้อ่อนตัวเพื่อน้าซาว ข้าวที่ผสมกับน้ามันมะกอก จะได้ซึมเข้าได้ง่าย แช่จนไหม นิ่มและขาว จึงน้าไปตากแดดให้แห้ง
ภาพประกอบ 10
เอาเส้นไหมไปผึ่งในที่ร่ม เพื่อกันการตก
ภาพประกอบ 11
น้าเส้นไหม ไปใส่อุปกรณ์ที่เรียกว่า “กงไหม” มีลักษณะคล้ายเหล่ง แล้วหมุนกงไหม เพื่อให้เส้น ไหมไปม้วนอยู่ในอุปกรณ์ที่เรียกว่า “อัก” โดยม้วนอย่างเป็นระเบียบ ไม่พันกัน
ภาพประกอบ 12
การเตรียมเส้นยืน หลังจากการเตรียมเส้นไหม จนถึงขันการเอาใส่อักแล้วจะเริ่มจากการ “ขึนเครือ” ก่อน หรือที่ชาวบ้านเรียกว่า “การค้นทางยาว” เพื่อเป็นเส้นยืนในการทอ โดยการค้นทางยาว จะค้นใส่ อุปกรณ์ที่เรียกว่า “โฮง” เพื่อจัดเส้นไหมให้เป็นเส้นยืน
ภาพประกอบ 13
น้าเส้นไหมที่ฟอกขาวและนุ่มดีแล้วนันมาพันกับหลักหมี่ ซึ่งมีลักษณะเป็นไม้กลม 2 ท่อน ตังตรง
ข้ามห่างกันเท่ากับหน้าผ้าของผ้านุ่งที่จะทอ พันไหมไปรองหลักตามจ้านวนรองที่ต้องการ แล้วจึงน้าเชือก มามัดเส้นไหมเป็นตอนๆ ตามลวดลายที่จะประดิษฐ์ จะใช้เชือกกล้วยหรือเชือกฟางมัดก็ได ้ทังนีเพื่อกัน ไม่ให้น้า สีเข้าซึมในเส้นไหมเวลาย้อม
ภาพประกอบ 14
การทอผ้าไหม การทอผ้าไหมมีขันตอนการผลิตที่ค่อนข้างซับซ้อนผลิตภัณฑ์ของกลุ่มผลิตภัณฑ์ของกลุ่มทอผ้า ไหมบ้านห้วยยางหมู่ที่6 มีดังนีผ้าไหมลายพืนที่ย้อมสีจากธรรมชาติ
ภาพประกอบ 15 ผ้าไหมสีธรรมชาติจากไม้ดู่
ภาพประกอบ 16 ผ้าไหมสีธรรมชาติจากไม้แสดหุ่ง ผ้าไหมมัดหมี่ย้อมสีเคมี
ลายมัดหมี่
ลายหมี่เป็นวัฒนธรรมด้านสิ่งทอของภูมิภาคอีสาน ทังผ้าฝ้ายและผ้าไหม ความสวยงามของลายหมี่เป็น สัญลักษณ์แสดงความเจริญทางปัญญาของชุมชน โดยสมาชิกกลุ่มทอผ้าไหมบ้านห้วยยาง นิยมมัดหมี่เป็น ลายต่างๆ ดังนี
ลายต้นสน ผู้ทอ นางมั่นใจ ยางธิสาร
ลายขอดอกฝ้าย ผู้ทอ นาง ส้ารวย ค้าภา
ลายนาคเกียวเครือ ผู้ทอ นาง เรณู ยางธิสาร
ลายหมากตุ้มหมู่ ผู้ทอ นางเสวย ยางธิสาร
ลายกาบ ผู้ทอ นางเสวย ยางธิสาร
ลายขาเข ผู้ทอ นางมั่นใจ ยางธิสาร ภาพประกอบ 17 ลายมัดหมี่ของสมาชิกกลุม่ ทอผ้าไหม
ที่มาของลวดลาย ที่มาของลวดลายบนฝืนผ้าในทุกท้องถิ่น มักจะมาจากสาเหตุดังต่อไปนี 1. เกิดจากอิทธิพลความเชื่อในพุทธศาสนา เนื่องจากศาสนามีอิทธิพลต่อการด้าเนินชีวิตของชาวอีสาน ช่างทอจึงได้แรงบันดาลใจจากงานศิลปกรรมของโบสถ์ วิหาร มาดัดแปลงเป็นลวดลายบนผืนผ้า เช่นหน้า บันโบสถ์ ช่อฟ้า ใบระกา คันทวย ธรรมาสน์ ตลอดจนความเชื่อเรื่องพญานาคในต้านานพุทธศาสนา ก็คือ ที่มาของลวดลายนาคนั่นเอง 2. เกิดจากอิทธิพลของสภาพแวดล้อม 2.1 ลายที่เกี่ยวกับสัตว์มักจะถอดแบบมาจากสัตว์ที่รู้จักกันดี ทังสัตว์ป่า สัตว์เลียง สัตว์ที่มีพิษ สัตวท์ ี่ สวยงาม สัตว์ที่เป็นอาหาร สัตว์ที่เป็นพาหนะเช่น ลายเสือ ลายช่าง ลายสิ่งโต ลายม้อม ลายนกยูง ลายไก่ ลาย เป็ด ลายแมงงอด(แมงป่อง) ลายแมงมุม ลายงูเหลือม ลายเขียวปลา ลายปีกไก่ ฯลฯ 2.2 ลายที่เกี่ยวข้องกับพืช พืช เป็นสิ่งที่มีความส้าคัญมากอย่างยิ่งในชีวิตประจ้าวันของคนเราตังแต่ อดีตจนถึงปัจจุบัน แต่จะแตกต่างกันที่คนในสมัยก่อนต้องดินรนเพื่อให้อยู่รอดได้ด้วยตนเองจึงจะมี ความคุ้นเคยกับพืชพันธุ์ต่างๆ เป็นอย่างดี อันเป็นที่มาของลวดลายพันธุ์ไม้บนเนือผ้า เช่น ลายหมากบก (กระบก) ดอกพุดซ้อน ลายงา ลายเนือไม้ ลายเม็ดแตง ลายดอกแก้ว ลายพิกุล ลายดอกจัน ลายดอกต้าง (ดอกไม้เถาว์ชนิดหนึ่งมีกลิ่นหอม) ลายดอกหนามแท่ง (คล้ายดอกพิกุล) ลายดอกสร้อย และลายดอกผักแว่น 2.3 ลายที่เกี่ยวกับเครื่องมือเครื่องใช้และเครื่องประดับ เช่น ลายขอ ลายขันหมาก ลายบังหลาม ลายขนมเปียกปูน ลายกรรไกร ลายขาเปีย ลายคันไถ ลายกระจอน (ตุ้มหู) ลายจีเพชร ฯลฯ 2.4 ลายที่เกี่ยวกับสภาพธรรมชาติ เช่น ลายภูเขา ลายแม่น้า ลายคลื่นน้า เป็นต้น สภาพปัญหาด้านการผลิต ปัญหาในการผลิต 1. ทุนในการผลิต เนื่องจากสมาชิกต้องไปซืออุปกรณ์ทุกอย่างเอง มีทังค่าใช้จ่ายในการเดินทาง จึง
จ้าเป็นต้องเพิ่มราคาผ้าไหมจึงจะคุ้มทุน แต่ก็ขายได้ยาก เพราะปัจจุบันผ้าไหมมีทุกพืนที่ ท้าให้ขาดแคลน เงินทุนหมุนเวียน 2. ขาดความรู้ความสามารถในเทคนิคในการออกแบบลวดลาย ปัญหาในการมัดหมี่ 3. สีของผ้าย้อมสีธรรมชาติ ย้อมสีเคมี ที่ได้หลังจากการย้อมไม่คงที่ 4. ราคาวัตถุดิบสูง 5. อุปกรณ์ช้ารุด และขาดแคลนอุปกรณ์ที่ทันสมัย ไม่เพียงพอกับความต้องการของสมาชิก 6. การผลิตเป็นแบบพืนบ้าน และไม่สามารถท้าต่อเนื่องตลอดทังปีได้ 7. สมาชิกในกลุ่มส่วนมากเป็นผู้สูงอายุ สภาพปัญหาด้านการตลาด ช่องทางการจาหน่ายผลิตภัณฑ์ กลุ่มทอผ้าไหมบ้านห้วยยางหมู่ที่6 มีช่องทางการจ้าหน่ายผ้าไหมอยู่ 3 ทางด้วยกันคือ 1. ศูนย์ศิลปาชีพ สมาชิกสามารถส่งให้กับทางศูนย์ศิลปาชีพ ซึ่งเป็นตลาดทางหนึ่งให้กับสมาชิก 2. ส้านักงานพัฒนาชุมชนโคกศรีสุพรรณ รับผลิตภัณฑ์ที่สมาชิกกลมุ่ ทอผ้าไหม ไปขายให้ที่ ส้านักงาน แต่เป็นลักษณะไปวางขายเมื่อคนมาซือค่อยน้าเงินมาให้ทางสมาชิก 3. ขายด้วยตนเอง เมื่อสมาชิกทอผ้าไหมเสร็จ คนทั่วไปที่มาเยี่ยมยาติหรือคนต่างหมู่บ้าน ก็จะแวะ เวียนมาซือผ้าไหมบ้างตามโอกาส ปัญหาการตลาด เมื่อมีตลาดมารองรับแล้ว แต่สมาชิกกลุ่มต้องเจอกับปัญหาราคา ที่เจ้าของผ้าไหมไม่สามารถตัง ราคาขายได้เอง เมื่อส่งไปยังศูนย์ศิลปาชีพ ก็เสมือนขายให้กับเจ้านายแล้วแต่เจ้านายจะก้าหนดราคาให้ อีกทัง ยังได้รับเงินช้าด้วย นอกจากนันเมื่อน้าไปวางขายที่ส้านักงานพัฒนาชุมชนก็เป็นการไปวางขายเฉยๆ เมื่อขาย ผ้าไหมชินนันๆได้ค่อยจะได้เงิน และการขายด้วยตัวเองถึงแม้จะสามารถก้าหนดราคาขายได้เองแต่ก็แล้วแต่ โอกาสเพราะนานๆทีถึงจะมีผู้ซือ และผู้ซือนันก็ยังต้องเลือกฝีมือที่มีคุณภาพดีดี สภาพปัญหาด้านการบริหารจัดการ ปัญหาด้านกรรมการ กลุ่มทอผ้าไหมบ้านห้วยยางหมู่ที่6 แม้จะมีการจัดตังตามพระราชด้าริของพระบาทสมเด็จพระ เจ้าอยู่หัว แต่กลุ่มมีปัญหาเกี่ยวกับการบริหารจัดการอยู่ ทังในเรื่องการไม่มีคณะกรรมการที่ชัดเจน จาก การศึกษาพบว่ากลุ่มทอผ้าไหม มีประธานกลุ่ม คือ นางเรณู ยางธิสาร รองประธานคือ นางธิรัก ยางธิสาร แต่ไม่มีการเรียกประชุมกลุ่ม เรียกประชุมเฉพาะตอนไปรับไหมหลวง และส่งผ้าไหมเท่านัน ท้าให้กลุ่ม ไม่ได้รับการสนับสนุนจากองค์กรพัฒนาเพราะกลุ่มไม่ได้มีโครงสร้างที่ชัดเจน และไม่มีการบริหารงานด้วย รวมไปถึงการใช้เงินส่วนตัวในการลงทุนด้าเนินทอผ้าไหม ระบบบริหารจัดการของกลุ่ม กลุ่มทอผ้าไหมบ้านห้วยยางหมู่ที่6 นันมีการรวมกลุ่มลักษณะหลวมๆ คือ ไม่มีการประชุมกันใน แต่ละเดือน จะรวมตัวเพื่อเข้ารับไหมหลวง และการส่งผ้าไหมเท่านัน ไม่มีการแบ่งบทบาทหน้าที่กัน ชัดเจน หน้าที่หลักตกอยู่ที่ประธาน ท้าให้การบริหารจัดการกลุ่มทอผ้าไหมของหมู่ท6ี่ นันเป็นแบบการ พึ่งพาตนเองเป็นส่วนใหญ