เอกสารประกอบการสัมมนาฯ วันที่ ๒๘ มี.ค. ๕๙ เอกสารหมายเลข ๑
แบบประเมินผล โครงการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการคัดแยกขยะที่ต้นทาง ของ (ทต./อบต.) เหล่าโพนค้อ จังหวัด สกลนคร
๑. หน่วยงานผู้ประเมินโครงการ : สานักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดสกลนคร ๒. วัน/เดือน/ปี ที่ดาเนินการประเมิน : วันที่ ๒ เดือน พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ ๓. สภาพปัญหาในพื้นที่ดาเนินโครงการ (ข้อมูลจากข้อเสนอโครงการ) (ทต./อบต.) มีปริมาณขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นภายในพื้นที่การปกครอง จานวน ๒ ตั น ต่ อ วั น การเก็บรวบรวมขยะมูลฝอยภายในเขตพื้นที่ได้ประมาณ - ตั น ต่ อ วั น มี ข ยะมู ล ฝอยตกค้ า ง จ านวน - ตันต่อวัน โดยนาขยะมูลฝอยที่เก็บรวบรวมไปกาจัด ณ (สถานที่ / ศู น ย์ ก าจั ด ขยะมูลฝอยรวม ซึ่งดาเนินการโดย อบจ./ทน./ทม./ทต./อบต. ตั้งอยู่เลขที่ - หมู่ที่ - ตาบล อาเภอ จังหวัด ) และเสียค่าใช้จ่ายในการกาจัด จานวน บาทต่อเดือน โดยพื้นที่ดาเนินโครงการที่คัดเลือกเป็นชุมชนต้นแบบ มีจานวน - ชุมชน/หมู่บ้าน ประกอบด้วย ๑) ชุมชน (ระบุชื่อ)บ้านห้วยยาง มีปริมาณขยะมูลฝอยเกิดขึ้นเฉลี่ยประมาณ ๐.๔ ตันต่อวัน ๒) ชุมชน (ระบุชื่อ)บ้านห้วยยางเหนือ มีปริมาณขยะมูลฝอยเกิดขึ้นเฉลี่ยประมาณ ๐.๓ ตันต่อวัน ๓) ฯลฯ ๔. วัตถุประสงค์ของโครงการ ๔.๑ ให้ความรู้การคัดแยกประเภทขยะมูลฝอยกับชุมชน หมู่บ้าน สถานศึกษา ตลาดสด ฯลฯ ๔.๒ ให้มีการคัดแยกและกระบวนการจัดการขยะอินทรีย์ ขยะรีไซเคิล ขยะอันตราย ขยะทั่วไป เพื่อลด ปริมาณขยะในชุมชนเป้าหมาย ๔.๓ ให้มีชุมชน/กลุ่มเป้าหมายนาร่องในการคัดแยกขยะจากต้นทาง เพื่อใช้เป็นต้นแบบในการขยายผล สู่ชุมชนอื่นๆ ต่อไป ๔.๔ ให้ชุมชนต้นแบบสามารถลดปริม าณขยะที่ ต้องนาไปก าจัดลงได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๓๕ ของ ปริมาณขยะที่เกิดขึ้นก่อนเริ่มดาเนินโครงการ ๕. พื้นที่ดาเนินโครงการและกลุ่มเป้าหมาย ๕.๑ พื้นที่ดาเนินโครงการ (ระบุข้อมูลหลังดาเนินโครงการ) ๑) จานวน ๒ ชุมชน/หมู่บ้าน (ระบุชื่อ) บ้านห้วยยางและบ้านห้วยยางเหนือ มีจานวนครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการ ๕๕๗ ครัวเรือน จานวนประชากร ๑,๘๐๖ คน ๒) จานวนสถาบันการศึกษา/โรงเรียน ๒ แห่ง (ถ้ามี ระบุชื่อ โรงเรียนบ้านห้วยยางและศูนย์ พัฒนาเด็กเล็กบ้านห้วยยางเหนือ) (จานวนนักเรียน/อาจารย์ ๒๒/๓๐๔ คน และมีปริมาณขยะเกิดขึ้นโดยประมาณ๐.๑ ตันต่อวัน) ๓) จานวนตลาดสด แห่ง (ถ้ามี ระบุชื่อ ) (มีปริมาณขยะเกิดขึ้นโดยประมาณ ตันต่อวัน) ๔) จานวนหน่วยงานของรัฐ แห่ง (ถ้ามี ระบุชื่อ ) (จานวนบุคลากร คน และมีปริมาณขยะที่เกิดขึ้นโดยประมาณ ) ตันต่อวัน) ๕) จานวนสถานประกอบการ (เช่น ร้านค้า รีสอร์ท เป็นต้น) แห่ง (ถ้ามี ระบุชื่อ ) (จานวนพนักงาน - คน และมีปริมาณขยะเกิดขึ้นโดยประมาณตันต่อวัน)
-๒๖) กลุ่มเป้าหมายอื่นๆ ที่เห็นว่าเป็นแหล่งกาเนิดขยะที่สมควรดาเนินการ (ถ้ามี) ๕.๒ กลุ่มเป้าหมาย (ระบุข้อมูลหลังดาเนินโครงการ) กลุ่มเป้าหมาย คือ กลุ่มประชาชน/นักเรียน ที่จะเข้าร่วมในกิจกรรมหลักทุกกิจกรรมของโครงการ โดยตรง โดยระบุกลุ่มเป้าหมายแยกเป็นประชาชนในชุมชน/ หมู่บ้าน จานวน ๑,๘๐๖ คน และจ านวน ๕๕๗ ครัวเรือน ครู/นักเรียน จานวน ๒๒/๓๐๔ คน ผู้ประกอบการ/ ร้านค้า จานวน ๔ ราย เป็นต้น ๖. การประเมินผลการดาเนินงานโครงการ การประเมินผลการดาเนินงานโครงการ ประกอบด้วย ๒ ส่วน ได้แก่ ๖.๑ การประเมินผลการดาเนินงาน ตามแผนงาน/กิจกรรมการดาเนินงานที่ก าหนดไว้ในข้อเสนอ โครงการ โดยใช้วิธีการกรอกข้อมูลลงในตารางประเมินผลโครงการ ให้มีความครบถ้วนสมบูรณ์ (หน้า ๓ – ๕) ๖.๒ การวิเ คราะห์ผลส าเร็จของการดาเนินโครงการ เป็นการบรรยายในภาพรวมของโครงการ เพื่อให้เ ห็นถึง ผลส าเร็จ ของการดาเนินโครงการที่ บ รรลุ ตามวัตถุป ระสงค์ และเป้าหมาย ตลอดจนปัจ จั ย ความสาเร็จต่างๆ ของการดาเนินโครงการให้บรรลุตามตัวชี้วัดที่กาหนดไว้ (หน้า ๖)
-๓๖.๑ ตารางประเมินผล โครงการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการคัดแยกขยะที่ต้นทาง ของ (ทต./อบต.)เหล่าโพนค้อ จังหวัด สกลนคร ลาดับ ที่ ๑
ผลการประเมิน ประเด็นการประเมินผลโครงการ
ตัวชี้วัดที่กาหนด
ผลงานที่ทาได้
เทศบาลต าบล/อบต. มี ก ารด าเนิ น งานตามแผนงาน/ จานวน ๔ แผนงาน จานวน....๔......แผนงาน กิจกรรม ที่ได้กาหนดไว้ตามข้อเสนอโครงการ ได้แก่ ๑.๑ แผนงาน การอบรมให้ความรู้การคัดแยกประเภทขยะ จานวน....๓......กิจกรรม จานวน....๓......กิจกรรม มูลฝอย ประกอบด้วยกิจกรรม - การอบรมให้ความรู้เรื่องการคัดแยกขยะ (.....๓.....ครั้ง)(.....๕๖๐...คน) (......๓.....ครั้ง)(...๕๘๐....คน) - การจัดทาสื่อประชาสัมพันธ์ (....๕๖๐./๑...แผ่น/ป้าย) (...๕๖๐./๑..แผ่น/ป้าย) (ระบุ)..แผ่นพับ./ป้ายเชิญชวนเข้าร่วมโครงการ... - การศึกษาดูงานในพื้นที่/ชุมชนใกล้เคียง (.....๑.....ครัง้ )(..๘๐...คน) (......๑...ครัง้ )(..๘๐...คน) (ระบุพื้นที่ศึกษาดูงาน) .เทศบาลตาบลพันนา . - กิจกรรมอื่นๆ (ระบุ) .............................. (...........กิจกรรม) (...........กิจกรรม)
ต่ากว่า เท่ากับ สูงกว่า เป้าหมาย เป้าหมาย เป้าหมาย () () ()
หมายเหตุ
- ในกรณี ที่ ด าเนิ น กิ จ กรรมอื่ น ๆ แตกต่างจากแผนที่กาหนดไว้
๑.๒ แผนงาน การคั ด แยกขยะอิ นทรี ย์ ขยะรี ไซเคิ ล ขยะ อันตราย และขยะทั่วไป - การคัดแยกขยะอินทรีย์ จัดซื้อวงบ่อซีเมนต์ .๕๗๘ วงและ สร้างจุดสาธิตบ่อแก๊สชีวภาพ ๒ บ่อ - การคัดแยกขยะรีไซเคิล จัดซื้อกรงคัดแยกขยะ - การคัดแยกขยะอันตรายจัดซื้อถังพลาสติกจานวน ๑๒ ถัง - การคัดแยกขยะทั่วไป (ระบุ) ................-..............
จานวน......๓....กิจกรรม
จานวน....๓......กิจกรรม
(......๒.....กิจกรรม)
(.......๒....กิจกรรม)
(.....๑......กิจกรรม) (......๑.....กิจกรรม) (...........กิจกรรม)
(.......๑....กิจกรรม) (......๑.....กิจกรรม) (...........กิจกรรม)
๑.๓ แผนงาน การจัดการขยะแต่ละประเภท - การจัดการขยะอินทรีย์ (ระบุ) .............-................. - การจัดการขยะรีไซเคิล (ระบุ) .............-.................
จานวน..........กิจกรรม (...........กิจกรรม) (...........กิจกรรม)
จานวน..........กิจกรรม (...........กิจกรรม) (...........กิจกรรม)
- การจัดการขยะอันตราย (ระบุ) ............-.................. - การจัดการขยะทั่วไป (ระบุ) ................-..............
(...........กิจกรรม) (...........กิจกรรม)
(...........กิจกรรม) (...........กิจกรรม)
-๔ลาดับ ที่
๒
๓
ผลการประเมิน ประเด็นการประเมินผลโครงการ
ตัวชี้วัดที่กาหนด
ผลงานที่ทาได้
๑.๔ แผนงาน การติดตาม ประเมินผล และถอดบทเรียน - การติดตาม ประเมินผล - การถอดบทเรียน สรุปผล และการจัดทารายงาน
จานวน.....๒.....กิจกรรม (.......๑....กิจกรรม) (......๑.....กิจกรรม)
จานวน....๒......กิจกรรม (.....๑......กิจกรรม) (.....๑......กิจกรรม)
พื้นที่ดาเนินโครงการและกลุ่มเป้าหมาย - จานวนชุมชน/หมู่บ้าน - จานวนครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการ - จานวนประชาชนที่เข้าร่วมโครงการ - จานวนครู/นักเรียน - จานวนสถาบันการศึกษา/โรงเรียน (ถ้ามี) - จานวนตลาดสด (ถ้ามี) - จานวนหน่วยงานรัฐ/เอกชน (ถ้ามี) - จานวนแหล่งกาเนิดขยะอื่นๆ
.....๒.....ชุมชน/หมู่บ้าน ...๕๕๗.....ครัวเรือน ๑,๘๐๖...คน ..๒๒/๓๐๔....คน .....-.....แห่ง ....-......แห่ง .. .-.......แห่ง ....-......แห่ง
.....๑๑.....ชุมชน/หมู่บ้าน ....๓๕๐.....ครัวเรือน ..๑,๑๒๐......คน ๒๒/๓๐๔..คน ....-......แห่ง .....-.....แห่ง .....-.....แห่ง ....-......แห่ง
ปริมาณขยะที่เกิดขึ้นในพื้นที่ดาเนินโครงการต้องนาไปกาจัด
...๗๒๒.๔๐...กก./วัน
๒๘๐.๕๐.กก./วัน
ต่ากว่า เท่ากับ สูงกว่า เป้าหมาย เป้าหมาย เป้าหมาย () () ()
หมายเหตุ
(วิธีวัด : ชั่งปริมาณขยะที่ต้องนาไปกาจัด หรือการประเมิ น ด้วยวิธีอื่นๆ) ๔
กลุ่มเป้ าหมายมีความรู้ค วามเข้าใจในเรื่ องการคัดแยกขยะ อย่ างน้ อยร้ อยละ ๘๐ ของ แต่ละประเภทได้ถูกต้อง กลุ่มเป้าหมายมีคะแนนผ่าน (วิธีวัด : ทาแบบทดสอบความรู้ความเข้าใจหลังการฝึกอบรม เกณฑ์การทดสอบ หรือการประเมินด้วยวิธีอื่นๆ)
ร้อยละ..๙๕........
๕
กลุ่มเป้าหมายมี การคั ดแยกขยะอินทรี ย์ ขยะรีไ ซเคิล ขยะ อย่ างน้ อยร้ อยละ ๘๐ ของ อันตราย และขยะทั่วไป กลุ่มเป้าหมายมีการคั ดแยก
ร้อยละ..๖๒.๘๓........
- สามารถติดตามได้จากข้อมูลผลการ จัดกิจกรรมฝึกอบรม ในแผนงานที่ ๑
- สามารถติ ด ตามได้ จ ากข้ อ มู ล ของ คณะกรรมการบริหารโครงการ ที่ได้มี
-๕ลาดับ ที่
ผลการประเมิน ประเด็นการประเมินผลโครงการ
ตัวชี้วัดที่กาหนด
ผลงานที่ทาได้
ต่ากว่า เท่ากับ สูงกว่า เป้าหมาย เป้าหมาย เป้าหมาย () () ()
การติดตามตามแผนฯ ที่กาหนดไว้
(วิธีวัด : สารวจครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการมีการคัดแยกขยะ ขยะมูลฝอยครบ ๔ ประเภท หรือการประเมินด้วยวิธีอื่นๆ) ๖
กลุ่ มเป้ าหมายและ อปท. มี การจั ด การขยะอิ นทรี ย์ ขยะ รีไซเคิล ขยะอันตราย และขยะทั่วไป (วิธีคัด : ชั่งปริมาณขยะที่ต้องนาไปกาจัด หรือการประเมิน ด้วยวิธีอื่นๆ)
ปริ ม าณขยะ ที่ ต้ อ ง น าไป ก า จั ด ห ลั ง จ า ก ด า เ นิ น โครงการลดลงไม่ น้ อ ยกว่ า ร้ อ ยละ ๓๕ ของปริ ม าณ ขยะที่เกิดขึ้นก่อนเริ่มดาเนิน โครงการ
๗
มีฐ านการเรีย นรู้ค รัวเรือนต้นแบบการจัด การขยะอิ น ทรี ย์ ขยะรีไซเคิล ขยะอันตราย และขยะทั่วไป - มีครัวเรือนต้นแบบเป็นฐานการเรียนรู้ .....๑....ครัวเรือน - มีผู้เข้าศึกษาดูงานฐานการเรียนรู้ มีผู้เข้าศึกษาดูงานอย่างน้อย ๑๐๐ คน - อื่นๆ (ระบุ) .............................. ..........กิจกรรม
หมายเหตุ
ร้อยละ..๓๘.๘๓.
....๑......ครัวเรือน มีผู้เข้าศึกษาดูงาน จานวน.. ๒๕๐..คน ..........กิจกรรม
ภาพถ่ า ย (ไฟล์ ดิ จิ ต อล) ฐานการ เรี ย นรู้ ค รั ว เรื อ นต้ น แบบ หรื อ ศู น ย์ ถ่ายทอดองค์ความรู้ ประกอบด้วย ๑) การจัดการขยะอินทรีย์ หมู่ที่.๙.... ๒) การจัดการขยะรีไซเคิล หมู่ที่..๖... ๓) การจัดการขยะอันตราย หมู่ที่..๖... (รายละเอียดปรากฏในภาคผนวก)
-๖๖.๒. การวิเคราะห์ผลสาเร็จของการดาเนินโครงการ จากการติดตามประเมินผลการดาเนินงานตลอดระยะเวลาดาเนินโครงการ ๑๔ เดือน พบว่า โครงการสามารถดาเนินการได้แล้วเสร็จตามแผนงาน และบรรลุตามวัตถุประสงค์และตัวชี้วัดที่กาหนด ดังนี้ ได้มีการอบรมให้ความรู้การคัดแยกขยะ การจัดทาสื่อประชาสัมพันธ์ ได้แก่ หนังสือคู่มือการคัดแยกขยะ แผ่นพับ และ ป้ายประชาสัมพันธ์โครงการ การศึกษาดูงาน มีการคัดแยกขยะตั้งแต่ต้นทาง โดยคัดแยกขยะจากต้นกาเนิด คือใน ครัวเรือนของตนเองนากลับมาใช้หรือใช้ประโยชน์ เช่น ขยะอินทรีย์จะนามาทาปุ๋ยหมักชีวภาพ ขยะรีไซเคิล สามารถ นามาขาย เป็นการเพิ่มรายได้ให้กับคนในชุมชน และเป็นเงินฌาปนกิจสงเคราะห์งานศพ ขยะทั่วไปครัวเรือน โรงเรียน มีการกาจัดอย่างถูกวิธี และขยะอันตราย ที่มีพิษ มีจุดรวบรวม เพื่อรอให้องค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อนาไป กาจัดต่อไป การดาเนินโครงการนี้ ประชาชนในชุมชนได้มี ความรู้ ความเข้าใจ และได้แลกเปลี่ยนแนวความคิดในการ บริหารจัดการขยะ สามารถนาความรู้และประสบการณ์ที่ได้รับจากโครงการนี้ ไปถ่ายทอดให้กับหมู่บ้านอื่น หน่วยงาน อื่นได้ บ้านห้วยยาง หมู่ ๖ บ้านห้วยยางเหนือ หมู่ ๙ และโรงเรียนบ้านห้วยยาง นับ ได้ว่าเป็นชุม ชนและโรงเรียน ต้นแบบในการมีส่วนร่วมในการจัดการขยะอย่างครบวงจร ที่สามารถถ่ายทอดองค์ความรู้ ประสบการณ์ที่มีคุณค่า ให้กับท้องถิ่นต่าง โรงเรียน ต่าง ๆ ซึ่งได้เดินทางมาศึกษาดูงานเป็นจานวนมาก และนาไปประยุกต์ในการแก้ไขปัญ หา ในชุมชน นับได้ว่าโครงการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการคัดแยกที่ต้นทาง ทาให้การบริหารจัดการขยะของ องค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อ เกิดผลสาเร็จอย่างยั่งยืน ๗. แนวทางการบริหารโครงการภายหลังสิ้นสุดโครงการ เพื่อให้เกิดความต่อเนื่องยั่งยืน มีแนวทาง (ระบุ) มีการขยาย เครือข่ายการดาเนินโครงการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการคัด แยกขยะที่ต้นทางไปยัง อีก ๙ หมู่บ้าน และอีก ๓ โรงเรียนในพื้นที่บริการตาบลเหล่าโพนค้อ โดยอาศัยบ้านห้วยยาง และโรงเรียนบ้านห้วยยางเป็นต้นแบบในการดาเนินโครงการ พร้อมกับได้มีการทาบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) โครงการความร่วมมือระหว่างองค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อ กับส่วนราชการ ผู้นาหมู่บ้านทุกหมู่บ้าน ในเขต ตาบลเหล่าโพนค้อ เพื่อตกลงร่วมมือกันแก้ไขปัญหาและบริหารจัดการขยะมูลฝอยชุมชน "เหล่าโพนค้อสะอาด – ๓ RS- ประชารัตน์ "โดยยึดหลั กการมี ส่วนร่วมของทุกภาคส่วนตามแนวทาง "ประชารัตน์" ได้แก่ ภาคส่วนราชการ สถานศึกษา ภาคเอกชน องค์กรทางศาสนา สถานประกอบการ ภาคประชาชน และประชาสังคมต่างๆ เพื่อลดปริมาณ ขยะมูลฝอยชุมชน ภายใต้หลักการ 3Rs คือ การใช้น้อย (Reduce) ใช้ซ้า (Reuse) และนากลับมาใช้ใหม่( Recycle) โดยมีวัตถุประสงค์ ๕ ประการ คือ ๑. ปริมาณขยะมูลฝอยชุมชน ในแต่ละสถานที่ราชการ สถานศึกษา หมู่บ้านทุก หมู่บ้าน เข้าสู่ระบบการกาจัดที่ปลายทางลดลง ร้อยละ ๕ เมื่อเทียบกับปริมาณขยะมูลฝอยปี ๒๕๕๙ ๒. ร้อยละ ๑๐๐ ของส่วนราชการ สถานศึกษา ภาคเอกชน องค์กรทางศาสนา และสถานประกอบการจัดกิจกรรมการลดและคัดแยก ขยะมูลฝอยหรือการนาขยะมูลฝอย ไปใช้ประโยชน์ ๓. ร้อยละ ๔๐ ของหมู่บ้านในพื้นที่สามารถเป็นต้นแบบการลด และคัดแยกขยะมู ล ฝอย ๔. ร้อ ยละ ๑๐๐ ของหมู่ บ้าน มี ก ารจัดตั้ง " จุด รวบรวมขยะอันตรายชุม ชน" ๕ .กาก อุตสาหกรรมที่เป็นอันตราย ร้อยละ ๗๐ และมูลฝอยติดเชื้อร้อยละ ๘๕ ได้รับการกาจัดอย่างถูกต้อง ตามหลักวิชาการ เพิ่มขึ้น กาหนดให้มีผล ตั้งแต่วันที่ ๒๕ มกราคม ๒๕๖๐ เพื่อให้เกิดการขยายผลและเกิดการมีส่วนร่วมในการคัดแยก ขยะที่ต้นทางทุกครอบครัว ทุกหน่วยงาน ทุกหมู่บ้าน อย่างต่อเนื่องและยั่งยืน ไม่มีแนวทาง (ข้อเสนอแนะ)
-๗๘. ปัญหาและอุปสรรคจากการดาเนินโครงการ (ระบุรายละเอียดข้อมูล) ๘.๑ ประชาชนส่วนใหญ่ก่อนหน้านี้ยังไม่เข้าใจกระบวนการบริหารจัดการขยะอย่างครบวงจร บวกกับการ ดาเนินชีวิตประจาวันของประชาชนก่อให้เกิดกิจกรรมต่างๆ มากมาย ทาให้ปริมาณขยะเพิ่มมากขึ้นทุกวันและไม่ มีพื้นที่กาจัดขยะในบ้านเรือน ๘.๒ สิ่งที่เป็นปัญหารองลงมา คือ ประชาชนยังไม่เห็นความสาคัญในการคัดแยก และจัดการขยะ อย่างครบ วงจร ๘.๓ ปัญหาการขยะทั่วไป ที่ไม่สามารถขายเป็นวัสดุรีไซเคิลได้ เช่น ถุงพลาสติก กระป๋องแป้ง ขวดพลาสติก แบบสี ๙. ข้อเสนอแนะและแนวทางแก้ไข (ระบุรายละเอียดข้อมูล) ๙.๑ จัดฝึกอบรม ศึกษาดูงาน และจัดนิทรรศการให้ความรู้อย่างต่อเนื่อง รวมทัง้ หาพื้นที่ให้ชุมชนในการ กาจัดขยะที่นามาใช้ประโยชน์ไม่ได้ร่วมกัน ๙.๒ ประชุมชี้แจง ติดตามประเมินผลเป็นระยะๆ มอบเกียรติบัตรรางวัลสร้างแรงจูงใจ ๙.๓ รณรงค์ลดการใช้ถุงผ้าแทนถุงพลาสติก นาขวดพลาสติกที่ขายไม่ได้มา Reuse และเสนอหน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง ออกมาตรการลดการผลิตวัสดุที่ไม่สามารถรีไซเคิลได้ E:\NUTREE_สกส\โครงการคัดแยกขยะต้นทาง ปีงบ59\เอกสารประกอบการสัมมนาชี้แจงติดตาม\เอกสารหมายเลข1_แบบประเมินผล คก.ขยะต้นทาง.doc