สมุนไพรเพื่อการเกษตร

Page 1


คํานํา ปจจุบัน กระแสความนิยมบริโภคอาหารที่ปลอดจากสารเคมีและสารพิษ กําลังไดรับ ความนิยมทั้งในประเทศไทยและตางประเทศ การสงออกผลผลิตทางการเกษตรตองไดรับผลกระทบ จากการกีดกันทางการคาของประเทศผูน าํ เขา โดยเฉพาะในเรือ่ งมาตรการสุขอนามัย และสุขอนามัยพืช ทีห่ ลาย ๆ ประเทศนํามาใชเปนมาตรการในการจํากัด การนําเขาสินคาจากประเทศไทย แมแตผบู ริโภค ภายในประเทศไทยก็วิตกกังวลเกี่ยวกับสารพิษตกคางในผลผลิตทางการเกษตรเชนเดียวกัน เพือ่ แกไข ปญหาดังกลาวเกษตรกร จึงจําเปนตองหาวิธีการอื่นๆ ทีจ่ ะนํามาใชทดแทนการใชสารเคมี เพื่อใหได ผลผลิตที่ปลอดภัยจากสารพิษตกคางตางๆ การใชสมุนไพรเปนทางเลือกหนึง่ ที่สามารถนํามาทดแทนการใชสารเคมีได ไมวาจะ เปนดานการปลูกพืช เลี้ยงสัตว หรือประมง คูมือสมุนไพรเพื่อการเกษตรเลมนี้ ไดจัดทําขึ้นโดยมี วัตถุประสงคเพื่อเผยแพรความรูดานการปลูกและใชสมุนไพรทางการเกษตร เชน สมุนไพรปองกัน กํา จั ดศั ต รู พื ช และสมุน ไพรสํา หรับ การเลี้ ย งสัตว เป น ต น ซึ่ งได ร วบรวมข อมู ล จากทั้ง งานวิจัย และภูมิปญญาชาวบานที่ไดคัดสรรแลววาใชไดผล จึงหวังเปนอยางยิ่งวาจะเปนประโยชนตอ เกษตรกรผูสนใจ นําไปปฏิบตั ิและนําไปประยุกตใช ใหเกิดประโยชนสูงสุดตอทั้งตัวเกษตรกรเองและ ตอประเทศชาติ

ศุภวรรณ เคี่ยนเมธี นักวิชาการเกษตร 7 กลุมสงเสริมการผลิตสมุนไพร

กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


สารบัญ

ฟาทะลายโจร

1-5

6-9

หางไหล

หนอนตายหยาก

10 - 11

12 - 14

ขมิ้นชัน

ตะไครหอม

15 - 16

17 - 18

บอระเพ็ด

19 – 24

25 - 33

กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


สมุนไพรเพื่อการเกษตร

ชื่ออื่น ฟาทะลายโจร น้าํ ลายพังพอน หญากันงู

ลักษณะพืช เปนพืชลมลุก ลําตนมักเปนสี่เหลี่ยม มีใบเดี่ยวออกตรงขาม แผนใบเปนรูปไขหรือรี โคนใบแหลม ปลายใบแหลมมาก ขอบใบหยักตื้นหรือเรียบ ใบใกลปลายยอดมักจะมีขนาดเล็กลง ผิวดานบนสีเขมกวาดานใตใบ ชอดอกออกที่ยอดหรือที่งามใบใกลยอด ดอกมีสีขาวแกมมวง มีขน ผลหรือฝกเปนรูปขอบขนานคอนขางแบน ปลายและโคนแหลม เมื่อผลแกจะแตกเปนสองซีกมีเมล็ด 8 - 14 เมล็ด ขนาดเล็ก สีนา้ํ ตาลแดง รูปคลายสีเ่ หลีย่ ม มีผวิ ขรุขระ

ลักษณะดอกฟาทะลายโจร กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


2

สมุนไพรเพื่อการเกษตร

สภาพแวดลอมที่เหมาะสม เพาะปลูกไดดีในเขตรอนหรือรอนชื้น สามารถปลูกไดทุกฤดูกาลและขึ้นไดดีในดิน ทุกชนิด ทัง้ ในที่โลงแจงหรือมีแสงรําไร แตจะเจริญเติบโตไดดีในดินรวนซุยที่มีการระบายน้าํ ดีและมี การใหนา้ํ เพียงพอ

การขยายพันธุ โดยใชเมล็ด ควรคัดเลือกเมล็ดจากฝกทีแ่ กจัด เมล็ดมีสีน้ําตาลแดง เมล็ดสมบูรณ ปราศจากโรคและแมลงทําลาย เมล็ดพันธุ 1 ชอนโตะ (6.5 - 7 กรัม ) จะมีเมล็ดประมาณ 7,000 เมล็ด โดยทัว่ ไปเมล็ดพันธุท ดี่ คี วรมีความงอกไมต่ํากวา รอยละ 85 เมล็ดฟาทะลายโจรเปลือกหุม หนาและแข็ง และมีสภาพภายในเมล็ดบางประการทีท่ ําใหเมล็ดมีการพักตัว จึงควรกระตุน ความงอกหรือแกการพักตัว กอนเพาะเมล็ด หรือกอนปลูกดังนี้ •

เมล็ดฟาทะลายโจรที่เก็บใหมหรือมีอายุการเก็บรักษานานนอยกวา2เดือน

ควรแกการพักตัวโดยแชเมล็ดในน้ํานาน 24 ชั่วโมง หรือแชในน้ํารอน นาน 5 - 7นาที แลวนําขึ้นมาผึ่ง ไวใหเย็นที่อุณหภูมิหอง •

เมล็ดฟาทะลายโจรที่มีอายุการเก็บรักษานานประมาณ1ป

ควรแกการพักตัวโดยเก็บทีอ่ ณ ุ หภูมิ 10 องศาเซลเซียส นาน 1 เดือน หรืออบทีอ่ ณ ุ หภูมิ 45 องศาเซลเซียส นาน 48 ชั่วโมง

กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


3

สมุนไพรเพื่อการเกษตร

การเตรียมดิน ถาพืน้ ทีป่ ลูกมีวชั พืชไมมากและดินรวนซุยดี อาจไถพรวนเพียง 1 ครัง้ แตถา พืน้ ทีป่ ลูก มีวชั พืชมาก และหนาดินแข็ง ควรไถพรวน 2 ครัง้ คือ ไถดะ เพือ่ กําจัดวัชพืช และเปดหนาดินใหดนิ รวนซุย แลวตากดินไวประมาณ 1 - 2 สัปดาห เพือ่ ทําลายไขแมลงและเชือ้ โรคในดิน และไถแปรเพือ่ กลับหนาดิน ทําใหดนิ รวนซุยและละเอียดมากยิง่ ขึน้ พรอมกับเก็บตอไมและเศษไม และวัชพืชออกจากแปลงปลูกใหหมด

การเตรียมแปลงปลูก ถาปลูกในฤดูฝนและพืน้ ที่เปนที่ลุมควรขุดยกรองแปลง เพื่อปองกันน้าํ ทวมขังเปน เวลานาน ซึ่งจะทําใหพืชตายได การขุดยกรองแปลง ควรขุดยกแปลงสูงประมาณ 15- 20 เซนติเมตร ความกวางแปลงประมาณ 1-2 เมตร สวนความยาวของแปลงขึ้นอยูกบั ความเหมาะสมและขนาดของ พืน้ ทีป่ ลูก และตองเวนชองวางระหวางแปลงประมาณ 1 เมตร เพือ่ ใชเปนทางเดินสําหรับการดูแลรักษา

วิธีการปลูก ปลูกแบบโรยเมล็ดเปนแถว โดยขุดรองตื้นๆเปนแถวยาวแลวโรยเมล็ด และเกลี่ยดิน กลบบาง ๆ ควรมีระยะปลูกระหวางแถวประมาณ 40 เซนติเมตร โดยทั่วไปจะใชเมล็ดประมาณ 50 - 100 เมล็ดตอความยาว 1 เมตร การปลูกดวยวิธนี จี้ ะสะดวกในการกําจัดวัชพืช สามารถนําเครือ่ งมือ ทางการเกษตร เชน จอบ เสียม มาใชพรวนดินและดายหญาได

กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


4

สมุนไพรเพื่อการเกษตร

การดูแลรักษา 1. หลังจากปลูกแลวประมาณ 7 - 15 วัน ถาพบตนกลาที่ปลูกตายหรือเมล็ดไมงอก ควรปลูกซอมทันที 2. หลังจากปลูกแลวประมาณ 30 - 45 วัน ถาพบวาตนกลาขึ้นหนาแนนเกินไป ควรทําการถอนแยกไปปลูกในแปลงอื่น เพื่อใหตนกลาที่ขึ้นสมบูรณเต็มที่ ไมแยงอาหารกัน 3. ถาพื้นที่ปลูกเปนที่โลงแจง ลมพัดแรง แดดจัด ฝนตกชุก ควรคลุมแปลงปลูกดวย ฟางขาวหรือใบหญาแหง โดยคลุมบาง ๆ เพื่อชวยพรางแสง ลดการชะลางของน้ํา และชวยรักษา ความชืน้ ในดิน 4. ใหน้ําทันทีหลังปลูกพืช และในระยะ 1-2 เดือนแรกหลังปลูกควรใหน้ําวันละ 1 - 2 ครัง้ หลังจาก 2 เดือนไปแลว อาจใหน้ําวันเวนวันหรือตามความเหมาะสมของสภาพพืน้ ที่และสภาพอากาศ 5. ควรใสปุยเมื่อดินขาดความอุดมสมบูรณ โดยแบงเปนระยะ ๆ ดังนี้ •

ใสปยุ อินทรียร องพืน้ ทีแ่ ปลงประมาณ ½ - 1 กิโลกรัม ตอพืน้ ที่ 1 ตารางเมตร

หลังปลูกอายุประมาณ 2 เดือน ใสปุยเคมีสูตร 16 -20 -0 หรือ 15-15-15

ประมาณ 100 กรัมตอพืน้ ที่ 1 ตารางเมตร •

หลังปลูกอายุประมาณ 3 เดือน ถึง 3 เดือนครึ่ง ใสปุยเคมีสูตร 15 -15 -15

หรือ 30-20-10 ประมาณ 150 - 200 กรัม ตอพื้นที่ 1 ตารางเมตร 6. การกําจัดวัชพืช โดยการถอนหรือใชเครื่องมือชวย แลวแตสภาพการปลูก และควร ทําการพรวนดินเขาโคนตนไปพรอม ๆ กัน 7. การกํา จั ดโรคและแมลง ถ า พบโรคและแมลง เชน โรคโคนเนา และรากเนา โรคแอนแทรคโนส มด และไร เปนตน ใหดําเนินการปองกันกําจัดโดยการเก็บทําลาย หรือใชสารเคมี ตามคําแนะนําของกรมวิชาการเกษตร

กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


5

สมุนไพรเพื่อการเกษตร

การเก็บเกี่ยวและการเก็บรักษา 1. เก็บเกี่ยวสวนเหนือดิน ในชวงทีพ่ ืชเจริญเติบโตเต็มที่ คือ ชวงทีพ่ ืชออกดอก นับตั้งแตเริ่มออกดอกจนถึงดอกบาน 50 % ซึ่งพืชจะมีอายุประมาณ 110 - 150 วัน โดยใชกรรไกรตัด หรือเคียวเกีย่ วทัง้ ตนใหเหลือตอสูงประมาณ 5 -10 เซนติเมตร เพื่อเลีย้ งตอใหเจริญเติบโตใหผลผลิต ในรุนตอไป 2. นําสวนของพืชที่เก็บเกี่ยวแลวมาลางน้ําใหสะอาด ตัดหรือหั่นใหมีความยาว ประมาณ 3 - 5 เซนติเมตร ผึ่งใหสะเด็ดน้าํ แลวนํามาเกลี่ยบนภาชนะที่สะอาด เชน กระดง หรือถาด 3. คลุมภาชนะดวยผาขาวบาง เพื่อปองกันฝุนละอองและการปลิวของสมุนไพร ตากจนแหงสนิท หรือโดยการอบที่อุณหภูมิ 50 องศาเซลเซียส ใน 8 ชัว่ โมงแรก และอบที่อุณหภูมิ 40 - 45 องศาเซลเซียสจนแหงสนิท 4. เก็บฟาทะลายโจรที่แหงสนิทแลวใสถงุ พลาสติก ปดปากถุงหรือมัดใหแนน และ เก็บในทีท่ ี่สะอาด ไมควรเก็บวัตถุดิบไวใชนานเกินไป เพราะสมุนไพรอาจจะเสื่อมคุณภาพได

กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


6

สมุนไพรเพื่อการเกษตร

ชื่ออื่น โลติ๊น อวดน้ํา ไหลน้ํา กะลําเพาะ เครือไหลน้ํา โพตะโกซา

ลักษณะพืช เปนไมชนิดเลือ้ ยเนือ้ แข็ง มีใบประกอบแบบขนนก มีใบยอย 7 ใบขึน้ ไป ใบออนมีสแี ดง ออกดอกเปนชอ มีขนาดเล็กและสีแดงออน รูปรางของดอกคลายดอกถัว่ ผลเปนฝก ฝกแบนไมยาวมาก คลายฝกอัญชัน

สภาพแวดลอมที่เหมาะสม ชอบขึ้ น ตามปา ชื้น และชายแมน้ํา ลํา คลองทั่ วไป ขึ้ น ได ดีใ นสภาพดิ น ร ว นจนถึง ดิน เหนีย ว

กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


7

สมุนไพรเพื่อการเกษตร

การขยายพันธุ ใชเมล็ดหรือกิง่ ปกชํา แตนยิ มการปกชํามากกวา เนือ่ งจากการปกชําจะไดตน หางไหล ที่เจริญเติบโตเร็ว และใหผลผลิตเร็วกวา การปกชําควรเลือกเถาที่แกพอประมาณ คือ มีสีน้ําตาล ขนาดเสนผาศูนยกลางประมาณ 1 เซนติเมตร ไมควรใชทอนพันธุท ี่มขี นาดใหญเกินไป เนื่องจากราก จะงอกชา ตัดทอนพันธุเ ปนทอน ๆ โดยแตละทอนใหมขี อ 3 - 4 ขอ ปกชําในถุงพลาสติกซึ่งใชวสั ดุปลูก เปนขี้เถาแกลบผสมกับดิน อัตราสวน 2 : 1 ปกชํากิง่ ทํามุม 45 องศา รากจะงอกภายใน 3 สัปดาห และมีตุมขึ้นบริเวณขอ ซึ่งจะเจริญเปนตนออนตอไป กิ่งชํานี้สามารถยายปลูกลงแปลงไดภายใน 6 - 8 สัปดาห

ตนหางไหลที่ไดจากการปกชํา

อัตราการใชทอนพันธุ 400 - 800 ทอนตอไร

กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


8

สมุนไพรเพื่อการเกษตร

การเตรียมดิน ถามีวชั พืชมาก ควรทําการไถพรวน 2 ครัง้ แลวตากดินไว 7 - 10 วัน เพือ่ ทําลายไขแมลง และเชื้อโรคในดิน แลวจึงไถแปรอีกหนึ่งครัง้ พรอมทั้งเก็บเศษวัสดุและวัชพืชออกใหหมด ถาเปนพืน้ ทีต่ ่ํา ควรทําการยกรองเพือ่ ปองกันน้ําทวมขัง

วิธีการปลูก สามารถปลูกแบบปลอยเลือ้ ยหรือทําคางก็ได โดยระยะปลูกระหวางแถว 1.5 – 2 เมตร และระหวางตน 1.5 – 2 เมตร ขุดหลุมกวาง 30 เซนติเมตร และยาว 30 เซนติเมตร รองกนหลุมดวยปุย อินทรีย คลุกเคลาปุย ใหเขากันกับดิน นําตนกลาทีเ่ ตรียมไวลงปลูก ควรงดใหนา้ํ ตนกลากอนนํามาปลูก เพื่อปองกันไมใหตุมดินแตก ซึ่งจะกระทบกระเทือนรากทําใหตน ชะงักการเจริญเติบโต

การปลูกหางไหลแบบปลอยเลื้อย

กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


9

สมุนไพรเพื่อการเกษตร

การดูแลรักษา หลังจากปลูกควรรดน้ําอยางสม่ําเสมอ เพื่อใหตนกลาตั้งตัวไดเร็ว หลังจากปลูกแลว 1 เดือน ควรกําจัดวัชพืชที่อยูโดยรอบ

การเก็บเกี่ยว สามารถเก็บเกีย่ วไดเมือ่ หางไหลมีอายุ 2 ปขนึ้ ไป เพราะจะเปนระยะทีร่ ากสะสมสารสําคัญ ไดมากทีส่ ดุ ควรขุดรากหางไหลในฤดูฝน เพราะดินจะออน สามารถขุดงัดรากขึน้ มาไดงา ย กอนทีจ่ ะขุดราก จะตองตัดกิ่งและเถาหางไหลที่รกปกคลุมดินออกเสียกอน จนเหลือแตโคนตน แลวปลอยทิง้ ไวประมาณ 3 – 4 วัน ตัดตนออกใหเหลือแตตอ เพื่อความสะดวกในการขุดราก การขุดรากอาจใชเครื่องมือทุน แรง ประเภทคานงัดหรือคานดีด เปนตน

ตนหางไหลอายุ 2 ป

การเก็บรักษา นํารากหางไหลมาลางใหสะอาดและตากในที่รม โดยจะเก็บทั้งรากหรือบดเปนผงก็ได ถาสกัดสารออกมาแลว ควรใชทันที เพราะสารสําคัญในหางไหลจะสลายตัวไดงายเมื่อถูกแสงแดด กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


10

สมุนไพรเพื่อการเกษตร

ชื่ออื่น ปงมดงาม โปงมดงาม ปงชาง ฮากสามสิบ รากลิง สลอดเชียงคํา กะเพียด

ลักษณะพืช เปนไมเลื้อยทีม่ ีรากใตดินจํานวนมาก มีรูปลักษณะคลายกระสวยหรือทรงกระบอก อยูกันเปนพวง ยาวไดถึง 10 – 30 เซนติเมตร ใบเดี่ยวติดอยูกับลําตนแบบตรงกันขาม ใบมีลักษณะ เปนรูปหัวใจคลายใบพลู กานใบยาว เสนใบมีหลายเสนออกในแนวขนานกับขอบใบ ดอกออกเปนชอ ประกอบคลายดอกยอย ๆ สีขาวหรือมวงออนจํานวนมาก ผลคอนขางแข็งสีน้ําตาลขนาดเล็ก

สภาพแวดลอมที่เหมาะสม เปนพืชปาพบขึน้ อยูท วั่ ไปตามชายปาชายเขา ในสภาพรมรําไร ทีร่ ะดับความสูงไมมากนัก และในสภาพดินที่อุดมสมบูรณดวยอินทรียวัตถุ

กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


11

สมุนไพรเพื่อการเกษตร

การขยายพันธุ ขยายพันธุโดยใชเมล็ดหรือแยกเหงา

เหงาหนอนตายหยาก

ตนกลาที่ไดจากการแยกเหงา

วิธีปลูก ควรปลูกในฤดูฝนเนือ่ งจากหนอนตายหยาก เปนพืชทีเ่ จริญในฤดูฝน ออกดอก และติดผลใน ฤดูฝน นําเหงามาปลูกลงดิน รดน้าํ ใหชมุ ทันที เมือ่ ตนโตจะเจริญเลือ้ ยตามดิน อาจทําคางใหตน เลือ้ ยก็ได

การปฏิบัติหลังเก็บเกี่ยว หัวที่เก็บเกี่ยวไดนําไปลางน้ําใหสะอาดแลวตากแดดใหแหงเก็บในถุงพลาสติก เพื่อปองกันความชื้น เมื่อจะใชประโยชนจึงนําหัวเหงาไปบดใหละเอียด แลวจึงนําไปสกัดสารตอไป หรืออาจบดหัวสดแลวอบในตูอบ โดยใชอุณหภูมิ 80 องศาเซลเซียส เปนเวลา 48 ชั่วโมง เก็บผงแหง ที่ไดไมใหถูกความชืน้ แลวจึงนําออกมาสกัดสารเมื่อตองการใช กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


12

สมุนไพรเพื่อการเกษตร

ชื่ออื่น ขมิ้น ขมิน้ แกง ขมิน้ หัว ขีม้ ิ้น

ลักษณะพืช เปนไมลม ลุก มีลําตนใตดนิ เปนเหงา เนือ้ เหงามีสเี หลือง เหงาเล็ก ขนาด 1 – 2 เซนติเมตร ใบรูปเรียวยาว ที่ขอบใบคอนขางขนาน ปลายใบแหลม เนื้อใบเรียบ กานใบคลายกาบ ดอกออกเปน ชอทรงกระบอก กานดอกออกจากเหงาโดยตรง มีกลีบประดับขนาดใหญ จํานวนมาก สีเขียวอมชมพู สีตอนบนเขมกวาตอนลาง ดอกสีขาวอมเหลือง

สภาพแวดลอมที่เหมาะสม ชอบดินรวนซุยซึ่งอุดมดวยอินทรียวัตถุ ไมชอบน้าํ ขัง ตองการความชื้นสูง เจริญไดดี ในที่แจง กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


13

สมุนไพรเพื่อการเกษตร

การขยายพันธุ ใชเหงาทีม่ อี ายุ 7 – 9 เดือน มีตาสมบูรณ ไมมโี รคแมลงทําลาย แบงหัวพันธุโ ดยการหัน่ ขนาดของเหงาควรมีตาอยางนอย 3 – 5 ตา แชทอนพันธุดวยสารเคมีปองกันกําจัดแมลง และชุบ ทอนพันธุดว ยสารเคมีปองกันกําจัดเชื้อรากอนปลูก

เหงาขมิ้นชัน

วิธีปลูก ควรปลูกในชวงฤดูฝน เดือนพฤษภาคม – กรกฎาคม เพราะฤดูอนื่ ขมิน้ ชันจะพักตัวไมงอก เตรียมดินโดยการไถพรวนและตากดินไว 1 – 2 สัปดาห การปลูกควรปลูกเปนแถว ระยะระหวางตน ประมาณ 30 เซนติเมตร และระยะระหวางแถวประมาณ 30 เซนติเมตร ใสปุยคอกรองกนหลุม ประมาณหลุมละ 200 กรัม นําหัวพันธุท ี่เตรียมไวลงปลูก กลบดินหนา 5 เซนติเมตร คลุมแปลงดวย ฟางหรือหญาคาหนาประมาณ 2 นิว้ เพือ่ ปองกันการงอกของวัชพืช และรักษาความชื้นในดิน จากนั้น รดน้ําใหชุม

กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


14

สมุนไพรเพื่อการเกษตร

การดูแลรักษา 1. ใสปยุ 15 – 15 – 15 อัตรา 15 กรัม ( ครึง่ ชอนแกง ) / ตน เมือ่ พืชมีอายุ 1 เดือนครึง่ ถึง 2 เดือน 2. ใสปยุ 15 – 15 – 15 อัตรา 30 กรัม ( 1 ชอนแกง ) / ตน เมือ่ พืชมีอายุ 3 – 4 เดือนครึง่ 3. ถาพบโรคเหงาเนายุบ ในระยะที่ขมิ้นอยูในแปลงและทิ้งใบหมดแลว ใหปองกัน โดยการหลีกเลี่ยงไมปลูกซ้ําในพื้นที่เดิมติดตอกัน 2 – 3 ป

การเก็บเกี่ยว เก็บเกีย่ วเมือ่ อายุ 9 – 11 เดือน ไมควรเก็บเกีย่ วในชวงทีข่ มิน้ ชันเริม่ แตกหนอ เพราะจะ ทําใหมสี ารออกฤทธิ์ เคอรคมู นิ ต่าํ ถาดินแข็ง รดน้ําใหชมุ กอนแลวปลอยใหดนิ แหงหมาด ๆ จึงใชจอบขุด หลังจากขุดหัวขึ้นมาแลว เคาะเอาดินออกจากหัว และใสตะกราแกวงลางน้ําอีก 1 ครั้ง

กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


15

สมุนไพรเพื่อการเกษตร

ชื่ออื่น ตะไครแดง ตะไครมะขูด ตะไครมาขูด

ลักษณะพืช เปนพืชตระกูลหญาชนิดหนึง่

ตะไครหอมที่ปลูกในประเทศไทยเปนพันธุของชวา

มีชอดอกยาวโนมลง ลักษณะทั่วไปคลายกับตะไครแกง แตมีลักษณะลําตนออกดอกสีมวงและแข็ง ลําตนใบใหญและยาว มีกลิน่ แรงกวาตะไครแกง

สภาพแวดลอมที่เหมาะสม เจริญเติบโตไดดใี นดินทีม่ คี วามอุดมสมบูรณคอ นขางสูงและมีปริมาณน้ําฝนตลอดปสงู ชอบแสงแดดจัดมาก

กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


16

สมุนไพรเพื่อการเกษตร

การเตรียมตนพันธุ โดยตัดแตงใหมีขอ 2 – 3 ขอเหลืออยู กอนถึงกาบใบหุม ยอดที่มีอยู 4 – 5 ใบ และตัด ปลายใบออก

วิธีปลูก ใชตนพันธุ 3 ตนตอหลุม ระยะปลูกที่เหมาะสม คือ 1 – 1.25 เมตร ควรปลูกเมื่อฝน เริ่มตกบางแลว ประมาณเดือนพฤษภาคม

การดูแลรักษา 1. ถาฝนทิง้ ชวงควรรดน้ําเปนครั้งคราว 2. กําจัดวัชพืชอยางนอย 1 ครั้ง หลังจากปลูกแลว 2 – 3 เดือน 3. ถาดินมีความอุดมสมบูรณสงู ไมจําเปนตองใสปยุ ในระยะแรก ถาเก็บใบไปหลาย ๆ ครัง้ แลว ควรใสปุยสูตร 16 – 16 – 8 , 16 – 20 – 0 หรือ 15 – 15 – 15 และใสปุยแอมโมเนียซัลเฟต หลังจากตัด ใบเพื่อกระตุนใหแตกใบใหม

การเก็บเกี่ยว เมือ่ ตะไครหอมอายุ 7 เดือน ตัดเอาสวนของใบซึง่ อยูเ หนือพืน้ ดินประมาณ 1 ใน 3 สวน ของความสูงทัง้ ตน เพื่อใหตนที่เหลือแตกใบใหมไดเร็ว

กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


17

สมุนไพรเพื่อการเกษตร

ชื่ออื่น เครือเขาฮอ จุงจิง เจตมูลหนาม เถาหัวดาน หางหนู

ลักษณะพืช เปนไมเลื้อยเนือ้ ออน เมื่อมีอายุมากเนื้อของลําตนอาจแข็งได ลําตนเปนเถาขนาด เทานิว้ มือ ตามเปลือกลําตนมีปมุ ปมกระจายทัว่ ไป ยางมีรสขมจัด ใบเดีย่ วเปนแบบสลับ ใบเปนรูปหัวใจ ปลายใบแหลม ขอบใบเรียบ ดอกออกเปนชอ ดอกเล็กมากสีเหลืองอมเขียว ผลเปนรูปไขสเี หลืองหรือสีสม

สภาพแวดลอมที่เหมาะสม ขึ้นไดในดินทั่วไป แตชอบดินรวนซุย ควรปลูกในฤดูฝน

กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


18

สมุนไพรเพื่อการเกษตร

การขยายพันธุ ใชเถาปกชํา

วิธีปลูก ตัดเถาแกยาวประมาณ 1 คืบ ชําลงในดินใหเอียงเล็กนอย ความลึกประมาณ 10 เซนติเมตร รดน้ําใหชุมทันที เมื่อรากและใบแตกออกมามากพอสมควร จึงยายไปปลูก ควรทําคางใหบอระเพ็ด เลื้อยดวย

การเก็บเกี่ยว เริ่มเก็บเกี่ยวเมื่ออายุ 2 ปขึ้นไป โดยเก็บเถาสดที่เจริญเต็มที่ ตากแดด 3 – 5 วัน จนแหงสนิทเพือ่ ปองกันเชือ้ รา การตัดเถามาใชควรเหลือเถาไวประมาณ 2 – 3 วา

เถาบอระเพ็ด

กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


19

สมุนไพรเพื่อการเกษตร

สมุนไพรปองกันกําจัดศัตรูพืช ชนิดพืช

สวนที่ใช

วิธีใช

ประโยชน

ราก ( ควรใช รากของตนทีม่ ี อายุประมาณ 2 ปขึ้นไป )

นํารากหางไหล ½ - 1 กิโลกรัม มาทุบแลวแชน้ํา 1 ปบ ทิ้งไว คางคืน นําน้าํ หมักมาฉีดพน ฆาแมลงไดหลายชนิด

ปองกันกําจัดแมลงศัตรูพชื ไดแก หนอนกระทูผ กั หนอนใยผัก หนอนเจาะสมอฝาย เพลีย้ ออนฝาย ตัวออนเพลีย้ กระโดดสีน้ําตาล และเพลีย้ จักจัน่ สีเขียว ขอควรระวัง ไมควรใชกับแปลงผักหรือแปลง ไมผลทีม่ บี อ เลีย้ งปลาอยูใ กล ๆ

2. หนอนตายหยาก เหงา เมล็ด กิง่ ปกชํา ราก

รากประมาณ 1 กิโลกรัม ตําให ละเอียด แลวแชในน้าํ มะพราว หรือน้ํา 1 ปบ ทิ้งคางคืน กรอง เอากากออก นําไปฉีดพน

ปองกันกําจัดแมลงศัตรูพืช ไดแก หนอนกระทูผ กั หนอนใยผัก ดวงหมัดผักและหนอนหลอดหอม และปองกันกําจัดเชือ้ รา เชือ้ แบคทีเรีย ไดดี

3. สะเดา

1. นําเมล็ดแกประมาณ 1 กิโลกรัมมาบดและแชนา้ํ 1 ปบ หมักคางคืน นําน้ําหมัก มาใชฉดี ฆาแมลงไดหลายชนิด 2. นําใบประมาณ 1 – 2 กิโลกรัม มาบดแชน้ํา 1 ปบ คางคืน นําน้าํ หมักมาฉีดไล แมลงในแปลงปลูกพืช

ปองกันกําจัดแมลงศัตรูพืช หลายชนิด ไดแก หนอนกระทูผ กั หนอนใยผัก เพลี้ยออน หนอนชอนใบ หนอนเจาะสมอฝาย เพลี้ยออนฝายและเพลี้ย กระโดดสีน้ําตาล เปนตน และ ปองกันกําจัดเชื้อราและ เชื้อแบคทีเรียไดดี

1.หางไหลแดง

สวนขยายพันธุ เมล็ด กิง่ ปกชํา

เมล็ด

ยอดออน ดอก ราก กานใบ เปลือกราก เปลือกตน และ เมล็ด

กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


20

สมุนไพรเพื่อการเกษตร

ชนิดพืช

สวนขยายพันธุ

สวนที่ใช

วิธีใช

ประโยชน

4. วานน้ํา

ใชรากหรือเหงา เหงา ตัดแบงมาปลูกใน บริเวณที่มีนา้ํ ขัง แฉะอยูเสมอ ถา ปลูกตามชายเลน ริมทองรองหรือริม คลองจะดีมาก

ทุบเหงาประมาณ 1 กิโลกรัม แชในน้าํ 1 ปบ ทิ้งคางคืน นํามากรองกอนฉีดพนใหผสม สารจับใบ เชน ผงซักฟอก หรือแชมพู ฉีดพน 2 ครั้ง เมื่อ มีปญหาศัตรูพืช

ปองกันกําจัดศัตรูพืชหลายชนิด เชน ดวงหมัดผัก หนอนกระทูผ กั แมลงวันทอง แมลงโรงเก็บ และ โรคกุงแหงพริก เปนตน

5. ขมิ้นชัน

เหงา แงง

เหงา แงง

ใชขมิน้ ชัน ½ กิโลกรัม ตําให ละเอียด ผสมน้ํา 1 ปบ หมัก ทิง้ ไว 1 – 2 วัน กรองเอาแตนา้ํ ไปฉีดพนกําจัดแมลง

ปองกันกําจัดแมลงศัตรูพืช เชน หนอนกระทูผ กั หนอนหลอดหอม หนอนใยผัก ดวงชาง ดวงเจาะ เมล็ดถัว่ มอด ดวง ถัว่ เขียว และ ไรแดง เปนตน

6. ตะไครหอม

เหงา

ตน ใบ

นําตนตะไครหอมทั้งตนมาบด ปองกันกําจัดแมลงศัตรูพืช เชน ใหละเอียด ประมาณ 400 กรัม หนอนใยผัก หนอนกระทูผัก ผสมน้ํา 8 ลิตร หมักทิง้ ไว 1 คืน หนอนเจาะสมอฝาย เปนตน กรองเอาแตน้ําฉีดพนทุก 7 วัน ในเวลาเย็น

กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


21

สมุนไพรเพื่อการเกษตร

ชนิดพืช

สวนขยายพันธุ

สวนที่ใช

วิธีใช

ประโยชน

7. ดาวเรือง

เมล็ด

ดอก

นําดอกดาวเรือง 500 กรัม ตมในน้ํา 4 ลิตร พักใหเย็น กรองเอาแตน้ํา แลวนําไป ผสมน้ํา 4 ลิตร น้ําสบู 2 ชอนโตะ ฉีดพนวันละ 2 ครั้ง ติดตอกัน 2 วัน

ปองกันกําจัดศัตรูพืช ไดแก เพลีย้ กระโดด เพลีย้ จักจัน่ เพลี้ยหอย เพลี้ยออน เพลีย้ ไฟ แมลงวันผลไม หนอนใยผัก หนอนกะหล่ําปลี แมลงหวี่ขาว ตั๊กแตน หนอนผีเสื้อหัวกะโหลก ดวงปกแข็ง และไสเดือนฝอย

8. นอยหนา

เมล็ด

เมล็ด ใบ

1. นําเมล็ดที่แหง 1 กิโลกรัม บดใหละเอียด ผสมน้าํ 1 ปบ ทิ้งคางคืน กรองเอาแตน้ํา ผสมน้ําสบู 1 ชอนโตะ ฉีดพน ทุก 6 – 10 วัน ในเวลาเย็น 2. นําใบสด 2 กิโลกรัม ตําให ละเอียดผสมน้ํา 10 ลิตร ทิง้ คางคืน กรองเอาแตนา้ํ ผสมน้ําสบู 1 ชอนโตะ ฉีดพนทุก 6 – 10 วัน ในเวลาเย็น

ปองกันกําจัดแมลงศัตรูพืช ไดแก เพลี้ยออน เพลี้ยหอย เพลีย้ กระโดดสีน้ําตาล เพลีย้ จักจัน่ หนอนใยผัก ตัก๊ แตน มวน และ ดวงเตา

9. บอระเพ็ด

เถาแกปกชํา

เถา

นําเถาสด 5 กิโลกรัม หัน่ เปน ชิ้นเล็ก ๆ แลวบดใหละเอียด ผสมน้ํา 12 ลิตร ทิง้ ไว 2 ชัว่ โมง นํามากรอง กอนฉีดพน ควร ผสมผงซักฟอก หรือแชมพู 1 ชอนโตะ ตอน้ํา 10 ลิตร ฉีดพน 2 ครั้ง เมื่อมีปญหา ศัตรูพืช

ป อ งกั น กํา จัด ศั ต รูพื ช เช น หนอนกอ เพลี้ ย กระโดด เพลี้ย จัก จั่ น โรคยอดเหี่ย ว โรคขา วตายพราย และ โรคขา วลี บ เปน ตน

กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


22

สมุนไพรเพื่อการเกษตร

ชนิดพืช

สวนขยายพันธุ

สวนที่ใช

วิธีใช

ประโยชน

10. กลอย

เมล็ด หัว

หัว

โขลกหัวกลอย 1 กิโลกรัม ปองกันกําจัดแมลงศัตรูพืช หมักในน้ํา 1 ปบ ทิง้ คางคืนไว ไดแก เพลี้ยออน แมลงสิง และ 1 – 2 คืน นําไปฉีดพนกําจัด แมลงทัว่ ไป แมลงศัตรูพืช

11. ยาสูบ

เมล็ด

ใบ

นําใบยาสูบหัน่ ฝอย ตากแหง ประมาณ ½ กิโลกรัม แชนา้ํ 1 ปบ ทิง้ คางคืน นําน้ําหมักไปฉีดพน กําจัดแมลงศัตรูพืช

12. มะดําดีควาย เมล็ด

ผล

นําผลมะคําดีควายประมาณ ปองกันกําจัดแมลงศัตรูพืชได 1 กิโลกรัม มาทุบใหเนือ้ ผลแตก หลายชนิด แลวนําไปหมักในน้าํ 1 ปบ ทิ้งคางคืน นําน้ําหมักที่กรอง แลวมาฉีดพน

13. ผักโขม

ใบ

ใชใบประมาณ 1 – 2 กิโลกรัม ใชปองกันเชื้อราไดดีมาก ตําละลายน้ํา 1 ปบ หมักไว คางคืน นําน้าํ หมักไปฉีดพน

เมล็ด

ปองกันกําจัดแมลงศัตรูพืช เชน ดวงหมัดกระโดด หนอนชอนใบ เพลี้ยออน ไรแดง และเพลีย้ ไฟ เปนตน ขอควรระวัง มีพษิ ตอสัตวและปลา ทําใหกลามเนือ้ กระตุกและตาย ในที่สุด

กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


23

สมุนไพรเพื่อการเกษตร

ชนิดพืช 14. พริก

สวนขยายพันธุ

สวนที่ใช

วิธีใช

ประโยชน

ผลสุก

ปองกันกําจัดแมลงศัตรูพืช เชน บดพริก 100 กรัม ผสมน้าํ 1 ลิตร ทิง้ คางคืน กรองเอา เพลีย้ ออน เพลี้ยไฟ หนอนผีเสื้อ เฉพาะสวนของเหลว แลวเติม ดวงปกแข็ง และมด เปนตน น้ําอีก 1 ลิตร นําไปฉีดพน

15. เถาวัลยเปรียง ตน เถา

ราก

นํารากประมาณ 1 กิโลกรัม ปองกันกําจัดแมลงศัตรูพืชได มาทุบแลวแชน้ํา 1 ปบ ทิง้ คางคืน หลายชนิด นําน้ําหมักที่ไดมาฉีดพน

16. น้ํานมราชสีห เมล็ด ตน

ทั้งตน

โขลกทัง้ ตน ประมาณ 1 กิโลกรัม ปองกันกําจัดเชื้อบักเตรี และ แลวนําไปแชน้ํา 1 ปบ ทิง้ คางคืน เชือ้ ไวรัส เ ชน โรคใบดางมะละกอ นําน้ําหมักไปฉีดพน เปนตน

17. หญางวงชาง เมล็ด

ทัง้ ตน

โขลกทัง้ ตนประมาณ 1 – 2 กิโลกรัม ปองกันกําจัดแมลงศัตรูพืชได นําไปแชในน้ํา 1 ปบ ทิง้ คางคืน หลายชนิด นําน้ําหมักที่ไดมาฉีดพน

18. สาบเสือ

ตน และใบ

นําตนและใบมาตากแดดให ปองกันกําจัดแมลงศัตรูพืช แหง แลวบดละเอียด แชน้ําใน ไดแก หนอนใยผัก และ อัตราสวน 400 กรัม ตอน้าํ หนอนกระทูผกั 8 ลิตร เขยาผสมกันทิ้งไว 24 ชั่วโมง กรองเอาน้าํ ฉีดพน ทุก ๆ 7 วัน ฉีดพนใหครบ 6 ครั้ง

เมล็ด

เมล็ด

กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


24

สมุนไพรเพื่อการเกษตร

ชนิดพืช

สวนขยายพันธุ

สวนที่ใช

วิธีใช

ประโยชน

19. คูน

เมล็ด ตอนกิง่

ฝก

นําฝกคูน 1 กิโลกรัม บดผสม ปองกันกําจัดศัตรูพืช ไดแก น้ํา 1 ปบ แชน้ําทิง้ ไว 3 – 4 วัน หนอนกระทูผกั และดวงตาง ๆ กรองเอาสารละลาย นําไป ฉีดพน

20. หนุมาน ประสานกาย

เมล็ด กิ่งปกชํา กิ่งตอน

ใบ

นําใบสด 100 กรัม มาบดให ปองกันกําจัดแมลงศัตรูพืช ละเอียด ผสมน้ํา 1 ลิตร ทิง้ ไว ไดแก หนอนใยผัก 24 ชั่วโมง กรองเอาเฉพาะ สวนของเหลวนําไปฉีดพน

21. กระเทียม

หัว

หัว

ใชกระเทียม 1 กํามือใหญ

ปองกันกําจัดแมลงศัตรูพืช

บดใหละเอียด เติมน้าํ รอน ครึ่งลิตร ทิ้งไว 24 ชั่วโมง กรองเอาน้าํ นําไปฉีดพน กอนพนใหผสมสารจับใบ เชน ซัลไลด ฉีดพนวันละ 1 ครั้ง ติดตอกัน 2 วัน

กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


25

สมุนไพรเพื่อการเกษตร

สมุนไพรสําหรับการเลี้ยงสัตว ตํารับยา

1. รักษาโรคผิวหนัง เห็บ เหา ในวัว – ควาย ตํารับที่ 1 วิธีปรุงยา วิธีใช สรรพคุณ ตํารับที่ 2 วิธีปรุงยา วิธีใช สรรพคุณ

กํามะถัน จุนสี ลูกเหม็น น้ํามันกาด น้ํามันเครือ่ ง - นํากํามะถัน จุนสี ลูกเหม็น พอสมควร น้าํ มันกาด น้าํ มันเครือ่ งเล็กนอย กวนใหเขากัน - กอนใชยาควรลางผิวหนังใหสะอาด เช็ดใหแหงแลวนํายามาทาตัวทุกวัน ในเวลาที่ ควายพักไมลงปลัก ประมาณ 7 วัน - รักษาแผลขี้เรื้อน กํามะถัน เมล็ดมันแกว - นํากํามะถัน ขนาดนิว้ มือบดผสมเมล็ดมันแกวครึ่งกิโลกรัมผสมน้ํามันหมู หรือน้าํ มันพืช หรือน้ํามันเครื่อง - ใชทาทุกวัน ประมาณ 7 วัน แผลที่แตกจะหาย - กํามะถันทําใหแผลหายและแหงเร็ว - เมล็ดมันแกวใชฆาเชื้อ

ตํารับที่ 3 วิธีปรุงยา วิธีใช สรรพคุณ

ใบนอยหนา 1 กํามือ ยาสูบ 1 กํามือ - ตําใบนอยหนาใหละเอียดผสมกับยาสูบ ใสน้ําลงไปเล็กนอยแลวคัน้ เอาน้ํา - เอาน้ําที่คั้นไดชโลมบริเวณที่เปนเหา วันละ 1 ครั้ง ประมาณ 2 - 3 วัน - รักษาโรคเหาในควาย

ตํารับที่ 4 วิธีปรุงยา วิธีใช สรรพคุณ

ใบสะเดา - โขลกใบสะเดาทั้งกาน และใบใหละเอียด - ถูทาตรงบริเวณที่คัน - รักษาอาการคันในควาย

กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


26

สมุนไพรเพื่อการเกษตร

ตํารับที่ 5 วิธีปรุงยา วิธีใช สรรพคุณ

ใบนอยหนา ยาเสน กํามะถัน น้ํามันพืช - นําทุกอยางมาตํารวมกันผสมน้ํามันพืช - ใชทาตามตัว - รักษาขี้เรื้อนไดทั้ง วัว ควาย และสุนัข

ตํารับที่ 6 วิธีปรุงยา วิธีใช สรรพคุณ

เมล็ดนอยหนา 10 เมล็ด เหลาขาว - เมล็ดนอยหนาตําผสมเหลาขาว - ทาตามตัว - รักษาโรคขี้เรื้อน

ตํารับที่ 7 วิธีปรุงยา วิธีใช สรรพคุณ

น้ําหนอไมดอง - นําน้ําหนอไมดองมาทาบริเวณผิวหนังทีเ่ ปนดางดวง ขนหลุด - รักษาโรคผิวหนังใน วัว - ควาย

ตํารับที่ 8 วิธีปรุงยา

มะขามเปยก น้ํา หรือ แอลกอฮอล 10 % - แชมะขามเปยกในน้ํา หรือ แอลกอฮอล 10 % ในปริมาตร 5 เทาของน้ําหนักมะขาม แชทงิ้ ไว 1 คืน แลวเทเฉพาะน้ําที่สกัดไดใสขวด ถาใชแอลกอฮอล 10 % ในการสกัดจะ ทําใหน้ําที่สกัดไดไมมีเชื้อราขึ้น - พนฆาเห็บตัวเมียวัยแกที่ดูดเลือดจนตัวเปลง ตองพนใหตัวเห็บเปยกโชกดวย มะขามเปยกนานๆถาไมแนใจวาน้าํ แชมะขามจะแหงเร็วไปหรือไม ใหพนซ้าํ อีกครั้ง ฉีดพนทุกสัปดาหติดตอกันอยางนอย 2 เดือน - กรดในน้ําแชมะขามเปยกจะกัดผิวหนัง เห็บใหเปนแผลและตายในที่สุด

วิธีใช

สรรพคุณ

กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


27

สมุนไพรเพื่อการเกษตร

ตํารับยา

2. ถายพยาธิ วัว – ควาย ตํารับที่ 1 วิธีปรุงยา วิธีใช สรรพคุณ

บอระเพ็ด 1 กิโลกรัม เกลือ 2 กํามือ - บอระเพ็ดผสมกับน้าํ คั้นเอาน้ํา - กรอกใหควายกิน - ถายพยาธิและรักษาอาการสัตวไมกินหญาเบื่ออาหาร

ตํารับที่ 2 วิธีปรุงยา วิธีใช สรรพคุณ

เมล็ดนอยหนา - ตําเมล็ดนอยหนาใหละเอียดผสมน้ํา - กรอกใหววั – ควาย กิน - ฆาพยาธิภายใน

ตํารับที่ 3 วิธีปรุงยา วิธีใช

มะเกลือ 10 เมล็ด - ตํามะเกลือพอแหลกคั้นกับน้ํา 1 ลิตร กรองเอาแตน้ํา - กรอกใหลูกควายอายุ 3 - 6 เดือน กินตอนเชา ควรคั้นสดแลวกรอกใหกิน ทันที ลูกควายอายุต่ํากวา 3 เดือนไมควรใหกนิ - ถายพยาธิไสเดือน พยาธิเสนดาย

สรรพคุณ

วิธีใช สรรพคุณ

มะหาดหรือปวกหาด - นําเนื้อไมมาเคี่ยวกับน้ํา กรองเนื้อไมออกบีบน้ําออกใหแหงจะไดผงสีนวล จับเปนกอน ยางไฟใหเหลือง เรียกวา “ ปวกหาด ” - นําปวกหาดคลุกขาวเหนียวในขนาด 1 มิลลิกรัมตอน้ําหนักสัตว 1 กิโลกรัมปอนใหควายกิน - ถายพยาธิตวั แบน

ตํารับที่ 5 วิธีปรุงยา วิธีใช สรรพคุณ

ลูกมะเกลือ 75 กรัม ปวกหาด 5 กรัม ดีเกลือไทย 3 กรัม - นําลูกมะเกลือบด ปวกหาด ดีเกลือไทยผสมน้ํา 300 ลูกบาศกเซนติเมตร - กินครั้งเดียวตอนเชากอนออกจากคอก - ถายพยาธิควาย

ตํารับที่ 4 วิธีปรุงยา

กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


28

สมุนไพรเพื่อการเกษตร

ตํารับที่ 6

ใบขี้เหล็ก 1 กํามือใหญหรือครึ่งลิตร น้ําปูนใส 1 ขวดแมโขง

วิธีปรุงยา

- ใบขี้เหล็กคั้นเอาแตน้ําแลวนํามาผสมกับน้ําปูนใส

วิธีใช

- กรอกตอนเชากอนใหอาหาร 2 - 3 ครั้ง

สรรพคุณ

- ถายพยาธิ

ตํารับที่ 7

ใบขี้เหล็ก 5 กํามือ กะทิ ½ กิโลกรัม เกลือ 3 กํามือ และน้าํ

วิธีปรุงยา

- นําใบขี้เหล็กมาบดใหแหลกกับเกลือและหัวกะทิ

วิธีใช

- ใสกระบอกไมไผกรอกใหสัตวกิน

สรรพคุณ

- รักษาพยาธิ

ตํารับที่ 8

เปลือกสะเดา น้ําซาวขาว

วิธีปรุงยา

- โขลกเปลือกสะเดาซึ่งมีรสขมแลวแชในน้าํ ซาวขาว คั้นเอาแตน้ํา

วิธีใช

- กรอกตอนเชาหรือตอนเย็นก็ได วันละ 3 - 4 กระบอกไมไผ ใหกิน 3 - 4 วัน

สรรพคุณ

- รักษาพยาธิและถายพยาธิเสนดาย

ตํารับที่ 9

ลูกสะแก 2-3 กํามือ เกลือ

วิธีปรุงยา

- นําลูกสะเดาตํากับเกลือพอเค็ม เติมน้ํา 1 ลิตร

วิธีใช

- ใชกระบอกไมไผกรอกทันทีครั้งละ1ลิตร

สรรพคุณ

- ถายพยาธิตวั กลมในควาย

กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


29

สมุนไพรเพื่อการเกษตร

ตํารับยา

3. รักษาเสนตึงเดินไมได ทองแข็ง หลังโกงในวัว – ควาย ตํารับที่ 1

ตนโคคลาน เถาเอ็นออน รากกําลังหนุมาน กําลังชางสาร โดไมรลู ม รากหญาคา รากหมาก ตาไมไผสามตา

วิธีปรุงยา

- ตมทุกอยางรวมกัน

วิธีใช

- รินเอาน้าํ กรอกใหกนิ ทุกเชา

สรรพคุณ

- รักษาโรคเสนตึง

ตํารับที่ 2

หญางวงชางทั้ง 5 ตะไครทั้ง 5 น้าํ มันกาด

วิธีปรุงยา

- ตํายาแลวผสมน้ํามันกาด

วิธีใช

- ทาตามตัว

สรรพคุณ

- รักษาโรคเสนตึง

ตํารับที่ 3

เสลดพังพอน ขา ตะไคร น้ํา

วิธีปรุงยา

- ตําเสลดพังพอน ขา ตะไคร ใหละเอียด นําไปหอผาตม

วิธีใช

- นําไปประคบตรงที่เปน

สรรพคุณ

- แกโรคตัวแข็ง ขาแข็ง หลังแข็ง

กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


30

สมุนไพรเพื่อการเกษตร

ตํารับยา

4. รักษาแผลปากเปอย เทาเปอย ตํารับที่ 1 วิธีปรุงยา วิธีใช สรรพคุณ

เปลือกประดู ใบสาบเสือ อยางละ 3 กํามือ เกลือ 1 กํามือ - สับใบสาบเสือและเปลือกประดูเปนชิ้นเล็ก ๆ ใสหมอ ใสเกลือ และน้าํ พอทวม ตมใหเดือด 10 นาที ตั้งทิ้งไวใหเย็น - นํามาราดทีก่ ีบที่เนาใหเปยกวันละ 3 ครั้ง ราดประมาณ 7 วัน - รักษาโรคกีบเนา

ตํารับที่ 2 วิธีปรุงยา วิธีใช สรรพคุณ

มะเฟอง เกลือ - นําผลมะเฟองมาคลุกเกลือบีบใหน้ําออก - กวาดลิน้ ควายที่เปนลิ้นเปอ ย - รักษาลิ้นเปอ ย

ตํารับที่ 3 วิธีปรุงยา วิธีใช สรรพคุณ

ไพล เกลือ - ตําไพลกับเกลือ ใสเกลือ พอมีรสเค็ม - ใชทาปากและลิ้น - รักษาปากและลิ้นเจ็บ

ตํารับที่ 4 วิธีปรุงยา วิธีใช สรรพคุณ

เปลือกประดู - นําเปลือกประดูจํานวนมาก มาตมน้าํ จนขน ทิ้งไวพออุน - ใชราดแผลที่กีบกันแมลงวันตอม - รักษาแผลเนาเปอย

ตํารับที่ 5 วิธีปรุงยา

เปลือกตนเฮว เปลือกตนประดู เปลือกตนซอ อยางละ 2 กิโลกรัม - นําตัวยาทั้ง 3 อยาง หรือใชเปลือกคูใดคูหนึง่ เอาใสปบเติมน้ําใหเต็ม ตมประมาณ 1 ชัว่ โมงยกลง - พอน้าํ ยาอุน ๆนํามาเทในซองที่ขุดหลุมไว ใหเทาแชน้ํานาน 1 ชัว่ โมง ทํา 3 - 4 วัน - รักษากีบที่เปนแผลหรือเล็บหลุด

วิธีใช สรรพคุณ

กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


31

สมุนไพรเพื่อการเกษตร

ตํารับยา

ตํารับยา

5. รักษาแผลมีหนอน ตํารับที่ 1 วิธีปรุงยา วิธีใช สรรพคุณ

ตนหรือรากหนามเกีย่ วไก ยาสูบ น้ํามันเบนซิน - ขูดรากหรือตนหนามเกี่ยวไก ผสมกับยาสูบและน้ํามันเบนซินเล็กนอย - ใสบริเวณที่เปนแผล - รักษาแผลทีม่ ีหนอน ทําใหหนอนเมาและตาย

ตํารับที่ 2 วิธีปรุงยา วิธีใช สรรพคุณ

ยาสูบ ปูนแดง - นํายาสูบผสมกับปูนแดง - อุดรูแผล กอนใสยาใหเอาตัวหนอนออกกอน - รักษาโรคแผลเนามีหนอน

6. รักษาโรคเตานมอักเสบในโคนม ตํารับที่ 1 วิธีปรุงยา วิธีใช สรรพคุณ

หญางวงชาง 1 กิโลกรัม น้ําตาลทรายแดง 1 กิโลกรัม น้าํ 1 ปบ - นําทุกอยางมาตมรวมกันกรองเอาน้าํ - กรอกใหสัตวกินวันละ 1 ขวดลิโพ โคนมทีเ่ ปนเตานมอักเสบระยะตนกิน 3 วัน จะหาย - หญางวงชางมีสารออกฤทธิท์ ตี่ า นเชือ้ แบคทีเรีย เชือ้ รา เชือ้ ไวรัสพวกเริม และมีฤทธิไ์ ลแมลง

ตํารับที่ 2 วิธีปรุงยา วิธีใช สรรพคุณ

หญางวงชาง เถาตูดหมูตูดหมา น้าํ 1 ปบ หรืออาจเพิ่มน้าํ ตาลทรายแดง - นําทุกอยางมาตมรวมกันกรองเอาน้าํ - กรอกใหสัตวกินและควรรีดน้ํานมทิง้ ดวย - รักษาเตานมอักเสบ

ตํารับที่ 3 วิธีปรุงยา วิธีใช สรรพคุณ

พันงูเขียวทัง้ 5 น้ําตาลทรายแดง - นํามาตมรวมกัน - กรอกใหกนิ 3 - 4 วันหรือใหกนิ รวมเจตมูลเพลิงแดงสด ถาเปนนอยใหพนั งูเขียวกินสดจะหาย - รักษาเตานมอักเสบ พันงูเขียวมีสารออกฤทธิ์ทมี่ ีผลตอการตานเชื้อแบคทีเรีย และเรงให กลามเนื้อคลายตัวไดดี

ตํารับที่ 4 วิธีปรุงยา วิธีใช สรรพคุณ

หัวไพล น้ําอุน - นําหัวไพลมาตําละเอียดหอผาขาวบางแชน้ําอุน - นํามาประคบเตานมที่อักเสบ - ลดการบวม เตานมอักเสบ กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


32

สมุนไพรเพื่อการเกษตร

ตํารับยา

7. รักษาตาอักเสบ ตํารับที่ 1

ปูนกินหมาก เปลือกหอยแครง พิมเสน

วิธีปรุงยา

- เอาปูนกินหมาก และเปลือกหอยแครงบดมาเผาไฟตัง้ ทิง้ ไวใหเย็น เอามาบดใหเปน ผงละเอียดรวมกับพิมเสน กรองดวยผาขาวบางเปนฝุน ละเอียด

วิธีใช

- บรรจุผงลงในหลอดกาแฟเปาเขาชองจมูก หรือตาประมาณ 4 - 5 ครั้ง

สรรพคุณ

- รักษาตาเจ็บ

ตํารับที่ 2

ลูกมะคําดีควาย น้ําฝน

วิธีปรุงยา

- เอาลูกมะคําดีควาย 1 ลูก ตําใหแตกใสขวดแมโขงแบนเล็ก แลวเอาน้าํ ฝน ใสลงไปในในขวดใหเต็ม แลวเขยาขวดใหฟองออก

วิธีใช

- พนตาที่เจ็บทุกเชา ประมาณ 4 - 5 วัน

สรรพคุณ

- รักษาอาการขาวเปนดวงทีล่ ูกตาดํา

ตํารับที่ 3

ขาวสาร 1 หยิบ เกลือ 1-2 เม็ด

วิธีปรุงยา

- เคี้ยวขาวสารและเกลือใหละเอียด

วิธีใช

- พนใสตาในลูกตาที่มพี ยาธิ วันละ 1 ครั้ง ใชประมาณ 1 – 2 ครั้ง

สรรพคุณ

- รักษาโรคพยาธิในลูกตาควาย

กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


33

สมุนไพรเพื่อการเกษตร

ตํารับยา

8. บํารุงวัว - ควายกินหญาดี

สรรพคุณ

บอระเพ็ด 1 กิโลกรัม เกลือ 3 กํามือ ปสสาวะคน น้าํ ซาวขาว (ไขไก ไขเปด) - เอาบอระเพ็ดมาหมักกับเกลือ น้าํ ปสสาวะ และน้ําซาวขาวพอทวมทิ้งไว 7 วัน - รินเอาน้าํ มาผสมกับไข 1 ฟอง (อาจไมผสมไขก็ได) กรอกใหสัตวกนิ ตอนเชาหรือตัง้ ไว ใหสัตวกิน - ทําใหวัว – ควาย อวนขึ้น รักษาอาการเบือ่ อาหาร ไมกนิ หญา

ตํารับที่ 2 วิธีปรุงยา วิธีใช สรรพคุณ

ลูกยอสุก ขาวบูด เกลือ น้ํา - นําลูกยอสุกดองกับขาวบูดกับเกลือผสมน้ํา - รินเอาน้าํ กรอกใหสัตวกนิ ตอนเชา หรือตั้งไวใหกนิ ทัง้ เนื้อและน้ํา - รักษาอาการสัตวไมกินหญา เบื่ออาหาร

ตํารับที่ 3 วิธีปรุงยา

เปลือกสะเดา น้าํ ซาวขาว เกลือ ไพล ขมิ้น มะกรูด - นําเปลือกสะเดามาตีใหแตกตํารวมกับขมิ้น ไพล ใหแหลก ผามะกรูดนําทุกอยาง มาผสมกันแชในถังกรองเอาน้ํา - รินเอาน้าํ กรอกใหสัตวกนิ - รักษาอาการสัตวไมกินหญา เบื่ออาหาร

ตํารับที่ 1 วิธีปรุงยา วิธีใช

วิธีใช สรรพคุณ

ตํารับที่ 4 วิธีปรุงยา วิธีใช สรรพคุณ

ยาดํา ไพล สมมะขามเปยก - ใชยาดําขนาด 2 เทาหัวแมมอื ผสมกับสมมะขามเปยกหรือไพล ขนาด 2 กอน เทาหัวแมมอื แลวละลายน้ํา - กรอกขนาด 1 กระบอกไมไผ เวลาไหนก็ได - ควายจะมีระบบขับถายเปนปกติดี

กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


เอกสารอางอิง กรมปศุสัตว. มปป. สมุนไพรทางเลือกใหมสําหรับการเลี้ยงสัตว. (แผนพับ) กรมวิชาการเกษตร. มปป. การปลูกตะไครหอม. (อัดสําเนา) กรมวิชาการเกษตร. 2544. พืชฆาแมลงและพืชมีพิษบางชนิดในประเทศไทย . (อัดสําเนา) กรมวิทยาศาสตรการแพทย. 2544 . มาตรฐานสมุนไพรไทย ฟาทะลายโจร. กรุงเทพฯ : โรงพิมพการศาสนา. กรมสงเสริมการเกษตร. 2545. รายละเอียดการใชสมุนไพรปองกันกําจัดศัตรูพืชแยกรายชนิดสมุนไพร. เอกสารประกอบการประชุมคณะอนุกรรมการกลั่นกรองภูมิปญญาทองถิ่น (กลุมงานภูมิปญญาทองถิ่น สํานักพัฒนาเกษตรกร ) 2 กรกฎาคม 2545 ณ หองประชุมกรมสงเสริมการเกษตร จตุจักร กรุงเทพฯ. (อัดสําเนา) กรมสงเสริมการเกษตร. 2545. เอกสารประกอบการจัดทําศูนยเชือ่ มโยงขอมูลการผลิตและ ตลาดสมุนไพร.(อัดสําเนา) กรมสงเสริมการเกษตร. 2546. การควบคุมศัตรูพืชโดยชีวภาพ. (อัดสําเนา) เฉลิม เนตรศิริ. 2526. “มาปลูก...โลวติ๊นหรือหางไหลแดงไวฆาแมลงกันดีไหม?”.ชาวเกษตร.28 (กันยายน 2526 ) : 3 -15 . ณรงค จึงสมานญาติ , ธเนศร ทิพยรักษ และทวีวัฒน ทัศนวัฒน . 2542. การผลิตสารสกัดจากพืช ที่มีฤทธิฆ ์ าเห็บโค.กรุงเทพฯ : บริษทั ออฟเซ็ท ครีเอชั่น จํากัด. พนัส บูรณศิลปน .2539. “หนอนตายหยาก”.กสิกร (กรกฎาคม – สิงหาคม 2539 ) : 342 - 343 . ภาวนา อัศวะประภา .ไมปรากฏปทพี่ ิมพ. คูมือการปลูกพืชสมุนไพร.กรุงเทพฯ : กองเกษตรสัมพันธ. มหาวิทยาลัยมหิดล , จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย , มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ,สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย และ ศูนยพนั ธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชวี ภาพแหงชาติ .2545 . สมุนไพรไทย : โอกาสและทางเลือกใหมของ อุตสาหกรรมผลิตสัตว. เอกสารประกอบการประชุมวิชาการ ระหวางวันที่ 24 - 25 ตุลาคม 2545 ณ โรงแรมมารวยการเดน จตุจักร กรุงเทพฯ. สถาบันวิจัยสมุนไพร. 2540. สมุนไพรพืน้ บาน(ฉบับรวม). กรุงเทพฯ : พี. เอ. ลิฟวิ่ง จํากัด.

กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


ที่มา กรมสงเสริมการเกษตร. 2546 . สมุนไพรเพือ่ การเกษตร. กรุงเทพฯ : โรงพิมพชมุ นุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย จํากัด เรียบเรียง

:

ศุภวรรณ เคี่ยนเมธี ภัสรา ชวประดิษฐ อําพร เนติ สวนสงเสริมการผลิตผัก ไมดอกไมประดับและสมุนไพร สํานักสงเสริมและจัดการสินคาเกษตร กรมสงเสริมการเกษตร

ผลิตและเผยแพร พิมพ จํานวน

: : :

สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี ครั้งที่ 1 ป 2546 4,000 เลม

จัดทําและเผยแพรทางเว็บไซต กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร

กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.