แผนส่งเสริมการท่องเที่ยวองค์การบริหารส่วนตำบลเหล่าโพนค้อ พ.ศ. 2560 - 2563

Page 1

แผนส่งเสริมการท่องเที่ยว องค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อ ประจาปี พ.ศ.25๖๐ – 256๓

การท่องเที่ยวสร้างรายได้เสริม เน้นความยั่งยืน โดยชุมชน และเพื่อชุมชน


บทที่ 1 บทนา องค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อ เป็นหน่วยงานบริหารราชการส่วนท้องถิ่น ตามรัฐธรรมนูญแห่ง ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช พ.ศ.2550 มีบทบาท และอานาจหน้าที่ และความรับผิดชอบที่มีความเป็น อิสระตามสมควร ความสาคัญตามรัฐธรรมนูญเกี่ยวกับการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยกาหนดกรอบความเป็นอิสระในการกาหนดนโยบายที่จะดาเนินในการบริหารด้านต่าง ๆ ตามอานาจหน้าที่ ของตนเองประกอบกับพระราชบัญญัติกาหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น พ.ศ.2542 โดยถ่ายโอนภารกิจในการให้บริการสาธารณะที่จาเป็น และรายได้ที่รัฐจัดเก็บให้แก่องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นเพิ่มขึ้น การดาเนินการบริการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทุก ๆ ด้าน ให้เกิดประโยชน์ สูงสุด ที่ทาให้การบริหารเป็นรูปแบบและทิศทาง การกาหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาที่สมดุลและมีประสิทธิภาพ จะส่งผลให้องค์การบริหารส่วนตาบลสามารถดาเนินการบริหารเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ แก้ปัญหาได้ถูกจุด อันเกิดประโยชน์แก่ส่วนรวม และทาให้บรรลุตามความมุ่งหมาย

ข้อมูลพื้นฐานและบริบทของพื้นที่ องค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อ ๑. ข้อมูลพื้นฐาน 1.1 ประวัติตาบล ปี พ.ศ.๒๓๖๙ เป็ นช่วงที่ประชาชนเริ่ มอพยพมาตังถิ ้ ่นฐานที่บริ เวณตาบลเหล่าโพนค้ อจากฝั่ งซ้ ายแม่น ้า โขงในสมัยของการเกิดการกบฎของเจ้ าอนุวงค์เมืองเวียงจันท์ โดยผู้นาการอพยพย้ ายถิ่นครัง้ นี ้ได้ แก่ อาญาพระพล และอาญาพระเทพ จานวน ๘ ครอบครัว มาตังถิ ้ ่นฐานครัง้ แรกที่ “อุ่มไผ่” ซึง่ เป็ นบริ เวณที่มีต้นไผ่มาก พื ้นที่อดุ ม สมบูรณ์ จนประชากรเพิ่มมากขึ ้นเรื่ อยๆ และประสบกับปั ญหาน ้าท่วมเกือบทุกปี เนื่องจากเป็ นที่ราบลุ่ม ต่อมาจึง ได้ อพยพย้ ายถิ่นที่อยู่ใหม่ให้ มีความสูงมากขึ ้นและน ้าท่วมไม่ถงึ อาญาพระเทพจึงพาลูกบ้ านอพยพไปตังถิ ้ ่นฐานที่ “โนนค้ อ” หรื อ บ้ านโพนค้ อ ในปั จจุบนั ส่วนอาญาพระพล พาลูกบ้ านอพยพไปที่ บริ เวณบ้ านเหล่าและโพนไฮ ซึง่ มี พื ้นที่ใกล้ กนั ต่อมาประชากรมีมากขึ ้นจึงมีการแบ่งแยกหมูบ่ ้ านออกมา เช่น บ้ านโพนค้ อ หมูท่ ี่ ๑ แบ่งออกเป็ นบ้ าน โพนสูง หมู่ที่ ๑๐ บ้ านเหล่าหมู่ที่ ๕ แบ่งออกเป็ นบ้ านเหล่า หมู่ที่ ๗ หมู่ที่ ๔ แบ่งออกเป็ น หมู่ที่ ๑๑ จึงกลายเป็ น ตาบลเหล่าโพนค้ อ ในปั จจุบนั พ.ศ.๒๕๐๐ พระครูสถิต ปั ญญาคุณ (ด้ว ง) ซึ่ง เป็น เกจิ อาจารย์ดั งในพื้น ที่เป็ นผู้ นาในการออกแบบและ ก่อสร้างพระธาตุดอยอ่างกุ้ง ซึ่งสร้างคลอบพระอรหันตธาตุ ๒๔ พระองค์พระธาตุดอยอ่างกุ้ง อยู่บริเวณเทือกเขาภู พาน ห่างจากบ้านห้วยยางประมาณ 4 กิโลเมตร อยู่ทางทิศตะวันออกของถ้าผาเก ผู้นาในการสร้างได้แก่พระอาจารย์ ด้วง หรือญาคูด้วง ท่านได้ใช้ภูมิปัญญาชาวบ้านในการจัดทาอิฐบล็อก หล่ออิฐขอ อิฐงอเพื่อใช้ก่อสร้างและใช้เป็น กระเบื้องมุงหลังคา นอกจากนี้ท่านยังได้นาเอาหินปูนจากเทือกเขาภูพาน นามาเผาเพื่อทาเป็นปูนซีเมนต์ฉาบผนัง เนื่องจากสมัยนั้นปูนซีเมนต์ยังหาได้ยาก จึงต้องใช้หินปูนเผาเป็นขี้เถ้าแล้วนามาหมักผสมกับหนังสัตว์และเปลือกยาง โบงที่บดตาละเอียด ทิ้งไว้จนกว่าหนังสัตว์และเปลือกไม้ยางโบงจะเปื่อยเพื่อให้ปูนยึดติดเกาะกันแน่น ซึ่งถือว่าเป็น ประติมากรรมที่ท่านได้คิดค้นขึ้น ซึ่งไม่นานมานี้ทางสถาบันเทคโนโลยีเจ้ าคุณลาดกระบังโดยการนาทีมของคณะ อาจารย์ และนักศึกษา ได้ มาศึกษาดูงานด้า นโบราณสถาน และโบราณวัต ถุ ปรากฏว่า ได้ส ร้างความตกตะลึ งต่ อ


ประติมากรรมดังกล่าวและเห็นว่าควรอนุรักษ์ไว้ต่อไปพระธาตุดอยอ่างกุ้ง ประกอบด้วยพระพุทธรูป 1 องค์ หน้าตัก กว้าง 4 เมตร สูง 6 เมตร เจดีย์ 1 องค์ บรรจุพระอรหันต์ธาตุ 24 พระองค์ ฐานกว้าง 5 เมตร สูง 7 เมตรและ ศาลาที่พัก 1 หลัง ทุกๆ ปีประชาชนชาวตาบลเหล่าโพนค้อและตาบลใกล้เคียงจะทาบุญนมัสการพระธาตุดอยอ่างกุ้ง ในช่วงเดือน เมษายน ถึงพฤษภาคม ทุกปี ๑๘ พฤศจิกายน ๒๕๒๗ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หั ว ได้เสด็จพระราชดาเนินทรงเยี่ยมราษฎรบ้านโพน งาม และหมู่บ้านต่างๆ ในตาบลหนองบ่อ อาเภอนาแก จังหวัดนครพนม และทอดพระเนตรบริเวณที่จะก่อสร้างอ่าง เก็บน้าห้วยโท - ห้วยยาง ในเขตบ้านโพนงาม ตาบลหนองบ่อ อาเภอนาแก จังหวัดนครพนม และบ้านห้วยยาง ตาบล เหล่ า โพนค้ อ กิ่ง อาเภอโคกศรีสุ พ รรณ จั ง หวั ด สกลนนคร (ขณะนั้ น ) ได้ พ ระราชทานพระราชด าริเกี่ย วกับ งาน ชลประทาน ดังต่อไปนี้ ควรพิจารณาสร้างอ่างเก็บน้าห้วยโท – ห้วยยาง โดยเร่งด่วน และสร้างอ่างเก็บน้าที่บริเวณลา ห้วยข้างเคียงต่อไปตามความเหมาะสม ตามแผนที่พระราชทานที่แนบ เพื่อจัดหาน้าช่วยเหลือ พื้นที่เพาะปลูกของ หมู่บ้านต่างๆ ทั้งในเขตตาบลหนองบ่อ อาเภอนาแก จังหวัดนครพนม และในเขตตาบลเหล่าโพนค้ออาเภอโคกศรี สุพรรณ จังหวัดสกลนคร ให้สามารถทาการเพาะปลูกได้ทั้งในระยะฤดูฝน - ฤดูแล้ง และน้าเพื่อช่วย เหลือราษฎร หมู่บ้านต่าง ๆ ดังกล่าว สาหรับอุปโภค - บริโภค ได้ตลอดทั้งปีอีกด้วย สาหรับอ่างเก็บน้าที่จะก่อ สร้างนั้น ควร พิจารณาสร้าง ให้มีขนาดใหญ่ตามที่สภาพภูมิประเทศและสภาพส่งน้าจะอานวยให้ ให้มากที่สุดเนื่องจากมีพื้นที่ เพาะปลูกจานวนมากต้องการน้าช่วยเหลือ ลักษณะอ่างเก็บน้าเป็นประเภท เขื่อนดินมีความสูง ๑๘.๔๐ เมตร ยาว ๑,๑๑๕ เมตร สันเขื่อนกว้าง ๖ เมตร ฐานเขื่อนกว้างที่ระดับท้องน้า ๕๕ เมตร เริ่มก่อสร้างปี ๒๕๒๙สร้างเสร็จ ปลายปี ๒๕๒๙ ราคาค่าก่อสร้าง ๓๗,๑๘๔,๐๐๐ บาทพื้นที่ได้รับประโยชน์หมู่บ้านจานวน ๒ หมู่บ้าน คือ บ้านห้วย ยางและห้วยยางเหนือ ตาบลเหล่าโพนค้อ อาเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร จานวนพื้นที่ ๖,๒๐๐ ไร่ ปี ๒๕๓๒ พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว ได้ เ สด็ จ พระราชด าเนิ น พร้ อ มด้ ว ยสมเด็ จ พระนางเจ้ า ฯ พระบรมราชินีนาถ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี ทรงเปิดอ่างเก็บน้าห้วยโท ห้วยยาง นับตั้งแต่ วันนั้นจนถึงวันนี้ พื้นที่ทากินของชาวบ้านห้วยยางมีความอุดมสมบูรณ์ มีน้าในการทานาได้ปีละ 2 ครั้ง ทาให้ไม่อด อยากยากแค้นเหมือนอดีตที่ผ่านมา ปี ๒๕๓๗ โดยมาตรา 40 และมาตรา 41 แห่งพระราชบัญญัติสภาตาบลและองค์การบริหารส่วนตาบล พ.ศ.2537 บัญญัติให้จัดตั้งองค์การบริหารส่วนตาบล และให้โอนงบประมาณทรัพย์สิน สิทธิ สิทธิเรียกร้อง หนี้ และ เจ้าหน้าที่ของสภาตาบลไปเป็นขององค์การบริหารส่วนตาบล ตาบลเหล่าโพนค้อจึงได้รับการจัดตั้งตามประกาศ กระทรวงมหาดไทย เมื่อวันที่ 16 ธันวาคม 2539 มีชื่อว่าองค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อ มีจานวนหมู่บ้าน ในเขตการปกครองจานวน ๑๑ หมู่บ้านโดยกาหนดให้มี การเลือกตั้งผู้บริหารและสมาชิกโดยตรงจากประชาชนทา หน้าที่บริหารองค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อทาให้การแก้ไขปัญหาและความต้องการของประชาชนมีความ รวดเร็วและตรงกับความต้องการของประชาชนมากขึ้นเป็นไปตามหลักการพัฒนาทาให้ชุมชนสามารถกาหนดทิศทาง ในการพัฒนาได้ชัดเจนขึ้นทาให้ชุมชนเลือกที่จะพัฒนาตนเองออกมาในรูปแบบการสร้างกลุ่มทางสังคมมากมายเพื่อ ตอบสนองความต้องการและแก้ไขปัญหาของชุมชน

1.2 ข้อมูลทั่วไป ๑.๒.๑ ด้านภูมิศาสตร์ ตาบลเหล่าโพนค้อมีสภาพทางกายภาพเป็นที่ราบเชิงเขา มีพนื้ ทีเ่ ป็นสภาพป่าที่ไม่สมบูรณ์ ขนาด 100 ไร่ และมีอ่างเก็บน้า 2 แห่ง คือ อ่างเก็บน้าห้วยโท-ห้วยยาง และอ่างเก็บน้าห้วยน้อย เป็นแหล่งต้นน้าลาห้วย 1 สาย

1) ที่ตั้งของหน่วยงาน ตาบลเหล่าโพนค้ออาเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ตั้งอยูท่ างทิศตะวันออกของอาเภอโคกศรีสุพรรณ มีระยะทางห่างจากอาเภอฯประมาณ 10 กิโลเมตรและห่างจากจังหวัดสกลนครประมาณ 30 กิโลเมตร


2) อาณาเขตติดต่อ ทิศเหนือ จดพื้นที่ตาบลแมดนาท่ม อาเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ทิศใต้ จดเทือกเขาภูพาน อ.เต่างอย จ.สกลนคร และ อ.ดงหลวง จ.มุกดาหาร ทิศตะวันออก จดพื้นที่ตาบลหนองบ่อ อาเภอนาแก จังหวัดนครพนม ทิ ศ ตะวั น ตก จดพื้ น ที่ ต าบลตองโขบ อ าโคกศรี สุ พ รรณ จั ง หวั ด สกลนคร แผนที่ตาบลเหล่าโพนค้อ

๓) เนื้อที่ ตาบลเหล่าโพนค้อ มีเนื้อที่ทั้งหมด 36 ตารางกิโลเมตร หรือ 14,636 ไร่ เป็นพื้นที่ทาการเกษตร 9,787 ไร่

4)การปกครอง หมู่ที่ 1 หมู่ที่ 2 หมู่ที่ 3 หมู่ที่ 4 หมู่ที่ 5 หมู่ที่ 6 หมู่ที่ 7

บ้านโพนค้อ บ้านโพนไฮ บ้านดง บ้านหนองเหียน บ้านเหล่า บ้านห้วยยาง บ้านเหล่าเหนือ

นายเหรียญทอง นายธีระศักดิ์ นายจรูญ นายวารินทร์ นายเจริญศักดิ์ นายพายัพ นายณรงค์

พลราชม อุ่นพิมพ์ บัวทะราช จันทะวงศ์ วงศ์คาษา โต๊ะชาลี กัณหา

เป็นกานันตาบลเหล่าโพนค้อ เป็นผู้ใหญ่บ้าน เป็นผู้ใหญ่บ้าน เป็นผู้ใหญ่บ้าน เป็นผู้ใหญ่บ้าน เป็นผู้ใหญ่บ้าน เป็นผู้ใหญ่บ้าน


หมู่ที่ 8 บ้านดงน้อย นายวิพล หมู่ที่ 9 บ้านห้วยยางเหนือ นายทวีชัย หมู่ที่ 10 บ้านโพนสูง นายวีราวัฒน์ หมู่ที่ 11 บ้านน้อยหนองไผ่สวนนายประเวส

หาญชนะ ยางธิสาร เทือกตาหลอย ศรีกะษร

เป็นผู้ใหญ่บ้าน เป็นผู้ใหญ่บ้าน เป็นผู้ใหญ่บ้าน เป็นผู้ใหญ่บ้าน

๕) ข้อมูลด้านประชากร ตารางแสดงครัวเรือนและจานวนประชากรในพื้นที่ บ้าน

หมู่ที่

โพนค้อ โพนไฮ ดง หนองเหียน เหล่า ห้วยยาง เหล่าเหนือ ดงน้อย ห้วยยางเหนือ โพนสูง น้อยหนองไผ่สวน รวม

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 11

จานวน ครัวเรือน 223 96 99 180 171 272 117 123 285 279 66 1,911

ชาย 302 145 165 306 225 475 179 147 447 321 109 2,82๑

จานวนประชากร หญิง 325 129 140 346 242 464 192 189 420 302 114 2,863

รวม 627 274 305 652 467 939 371 336 867 623 223 5,๖84

ที่มา : ข้อมูลสานักทะเบียนอาเภอโคกศรีสุพรรณ ณ วันที่ ๑๕ เดือน พฤษภาคม พ.ศ.25๖๒

1.2.2 ด้านการเมืองการปกครอง ๑) การปกครอง โครงสร้างขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตามพระราชบัญญัติสภาตาบลและองค์การบริหารส่วนตาบล พ.ศ. 2537ได้แบ่งโครงสร้างขององค์การบริหารส่วนตาบลออกเป็น ๒ส่วนคือสภาองค์การบริหารส่วนตาบลทาหน้าที่ฝ่าย นิติบัญญัติและนายกองค์การบริหารส่วนตาบลทาหน้าที่ฝ่ายบริหารสาหรับการปฏิบัติงานตามอานาจและหน้าที่ของ องค์การบริหารส่วนตาบลจะมีโครงสร้างเพิ่มขึ้นอีกหนึ่งส่วนคือโครงสร้างส่วนราชการซึ่งมีพนักงานองค์การบริหารส่วน ตาบลเหล่าโพนค้อทาหน้าที่ฝ่ายปฏิบัติโดยมีปลัดองค์การบริหารส่วนตาบลคนหนึ่งเป็นผู้บังคับบัญชาพนักงานองค์การ บริหารส่ วนต าบลและลูกจ้ างองค์การบริหารส่ว นตาบลรองจากนายกองค์การบริหารส่ว นต าบลและรับผิ ดชอบ ควบคุมดูแลราชการประจาขององค์การบริหารส่วนตาบลให้เป็นไปตามนโยบายและมีอานาจหน้าที่อื่นตามที่กฎหมาย กาหนดหรือตามที่นายกองค์การบริหารส่วนตาบลมอบหมาย องค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อตามรายงานทะเบียนราษฎร์มีประชากรทั้งสิ้น ๕,๖๘๔ คนแยกเป็น ชาย ๒,๘๒๑ คน หญิง ๒,๘๖๓ จานวน๑,๙๑๑หลังคาเรือนมีสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตาบลที่มาจากการ เลือกตั้งจานวน๒๒คนโดยแบ่งเขตเลือกตั้งออกเป็น๑๑ หมู่บ้านโดยประชาชนเลือกหมู่บ้านละ ๒คนและนายกองค์การ บริหารส่วนตาบลมาจากการเลือกตั้งของประชาชนโดยตรงจานวน๑คนและรองนายกองค์การบริหารส่วนตาบล จานวน๒คนและเลขานุการนายกจานวน๑คนมีพนักงานองค์การบริหารส่วนตาบล จานวน๑๒คนลูกจ้างประจามี ผู้บริหารและสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตาบล ดังนี้


๑. นายอนุสรณ์ พลราชม นายกองค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อ ๒. นายชัชวาล คาภูษา รองนายกองค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อ ๓. นายทวีชัย พรหมเชษฐา รองนายกองค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อ ๔. นางกองมณี ขันทีทา้ ว ประธานสภาองค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อ ๕. นายสาคร ยางธิสาร รองประธานสภาองค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อ ๖. นายถวิล พลราชม สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อ หมู่ที่ ๑ ๗. นายอินทวา พลราชม สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อ หมู่ที่ ๑ ๘. นายวิเชียร คาภูษา สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อ หมู่ที่ ๒ ๙. นายวงค์ คาภูษา สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อ หมู่ที่ ๒ ๑๐.นายวรจิตร ลีนาลาด สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อ หมู่ที่ 3 11. นางศรีสุพรรณ์ ลีนาลาด สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อ หมู่ที่ 3 ๑2. นายปรารถนาพลราชม สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อ หมู่ที่๔ ๑3. นางประเทียน อินตัน สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อ หมู่ที่๔ ๑4. นายศรีจันทร์ คาภูษา สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อ หมู่ที่ 5 ๑5. นางวณิฎาโสดก สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อ หมู่ที่ 5 ๑6. นายสมัย คาภูษา สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อ หมู่ที่ 6 ๑7. นายประสงค์ศิลคาภูษา สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อ หมู่ที่ 7 ๑8. นายวิเลิศ อินปากดี สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อ หมู่ที่ 8 ๑9. นางจุฬาเพชรพลราชม สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อ หมู่ที่ 8 20. นายเสรีไทยฮ่มป่า สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อ หมู่ที่ 9 21. นายยุวัฒนาโต๊ะชาลี สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อ หมู่ที่ 9 ๒2. นายประสานพลราชม สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อ หมู่ที่ 10 ๒3. นายสมานชัยคาเพชร สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อ หมู่ที่ 10 ๒4. นายทักษินท์คาภูษา สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อ หมู่ที่ 11 ๒5. นายสมชาย พูลพร้อม สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อ หมู่ที่ 11 องค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อที่ได้กาหนดส่วนราชการเพื่อรองรับอานาจหน้าที่ตามที่กาหนดใน กฎหมายว่าด้วยการกาหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและกฎหมายอื่นที่ กาหนดอานาจหน้าที่ให้แก่องค์การบริหารส่วนตาบลโดยมีการแบ่งส่วนราชการและอานาจหน้าที่ความรับผิดชอบของ ส่วนราชการดังนี้ (1) สานักงานปลัดองค์การบริหารส่วนตาบลมีภาระหน้าที่เกี่ยวกับเป็นศูนย์กลางการบริหารงานในทุกด้านถ้า งานไม่เกี่ยวกับส่วนอื่น (2) กองคลังมีภาระหน้าที่เกี่ยวกับการเบิกจ่ายงบประมาณ งานพัสดุ (3) กองช่างมีภาระหน้าที่เกี่ยวกับการก่อสร้าง ด้านโครงสร้างพื้นฐาน (4) ส่วนการศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมมีภาระหน้าที่เกี่ยวกับการบริหารศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและงานโรงเรียน (5) ส่วนการส่งเสริมการเกษตรมีภาระหน้าที่ดาเนินการเกี่ยวกับการส่งเสริมการเกษตร


1.2.๓. ด้านเศรษฐกิจ 1) การประกอบอาชีพ โดยการจาแนกตามการประกอบอาชีพ หัวข้อ 1. ทานา 2. ทาไร่ 3. ทาสวน 4. เลี้ยงสัตว์ 5. เพาะเลี้ยงสัตว์น้า 6. ทาประมง 7. รับจ้างทั่วไป/บริการ หัวข้อ 8. กรรมกร 9. ค้าขาย/ธุรกิจส่วนตัว 10. อุตสาหกรรมในครัวเรือน 11. รับราชการ 12. รัฐวิสาหกิจ 13. พนักงาน/ลูกจ้างเอกชน 14. อืนๆ (ระบุ) รวม

จานวน 1,851 12 12 9 1 0 115 จานวน 11 53 4 115 21 402 21 2,627

ร้อยละ 70.46 0.46 0.46 0.34 0.04 0 4.38 ร้อยละ 0.42 2.02 0.15 4.38 0.8 15.3 0.8 100

จากตารางประชาชนส่วนใหญ่มอี าชีพหลักมากที่สุดได้แก่ ทานา จานวน 1,851 คน คิดเป็นร้อย ละ 70.46รองลงมาคือ พนักงาน/ลูกจ้างเอกชนจานวน 402 คน คิดเป็นร้อยละ 15.3 และลาดับถัดไปคือ รับราชการและรับจ้างทั่วไป/บริการจานวน 115 คน คิดเป็นร้อยละ 4.38

1.2.๔. ด้านสังคม 1) ด้านการศึกษา ลาดับที่ ๑ ๒ ๔

ชื่อโรงเรียน โรงเรียนบ้านเหล่าโพนค้อเหล่าราษฎร์วิทยา โรงเรียนบ้านห้วยยาง โรงเรียนบ้านดงหนองเหียน รวม

สถานที่ตั้ง บ้านเหล่าโพนค้อ บ้านห้วยยาง บ้านดงหนองเหียน

จานวนครู ๑๖ ๑๕ ๕ ๓๖

จานวนนักเรียน ๒๑๓ ๒๒๗ ๙๖ ๕๓๖

2) ด้านสถาบันและองค์กรทางศาสนา ลาดับที่ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙

สถาบันศาสนา วัดบ้านโพนค้อ วัดบ้านโพนไฮสามัคคี วัดนวกภูมิ วัดศรีแก้ว วัดศรีแก้วเหล่าอุดม วัดโพธิ์ชัย วัดป่าพุทธนิมิตรสถิตสีมาราม สานักสงฆ์หนองทอย สานักสงฆ์ภูน้อยอ่างแก้ว

สถานที่ตั้ง หมู่ที่ ๑ ต.เหล่าโพนค้อ อ.โคกศรีสุพรรณ จ.สกลนคร หมู่ที่ ๒ ต.เหล่าโพนค้อ อ.โคกศรีสุพรรณ จ.สกลนคร หมู่ที่ ๓ ต.เหล่าโพนค้อ อ.โคกศรีสุพรรณ จ.สกลนคร หมู่ที่ ๔ ต.เหล่าโพนค้อ อ.โคกศรีสุพรรณ จ.สกลนคร หมู่ที่ ๕ ต.เหล่าโพนค้อ อ.โคกศรีสุพรรณ จ.สกลนคร หมู่ที่ ๖ ต.เหล่าโพนค้อ อ.โคกศรีสุพรรณ จ.สกลนคร หมู่ที่ ๖ ต.เหล่าโพนค้อ อ.โคกศรีสุพรรณ จ.สกลนคร หมู่ที่ ๗ ต.เหล่าโพนค้อ อ.โคกศรีสุพรรณ จ.สกลนคร หมู่ที่ ๙ ต.เหล่าโพนค้อ อ.โคกศรีสุพรรณ จ.สกลนคร


ลาดับที่ ๑๐

สถาบันศาสนา

สถานที่ตั้ง หมู่ที่ ๑๑ ต.เหล่าโพนค้อ อ.โคกศรีสุพรรณ จ.สกลนคร

วัดป่าอัมพวัน รวม

1.2.5 ด้านความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน องค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อ มีศูนย์อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนซึ่งเป็นศูนย์ที่ใช้ประสานงาน ในเรื่องภัยพิบัติและอุบัติเหตุ อุบัติภัยต่างๆและมีกิจกรรมดังนี้ ๑. ศูนย์อปพร.ตาบลเหล่าโพนค้อ ตั้งอยู่ ณ ที่ทาการองค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อ ทุกปีมีการ ฝึกอบรมทบทวนอปพร.ตาบลตาบลเหล่าโพนค้อเพื่อให้อปพร. รู้หลักปฏิบัติในการให้ความช่วยเหลืออย่างถูกต้องและ ถูกวิธีร่วมกับเจ้าหน้าที่ของรัฐตลอดจนสร้างความเข้มแข็งสามารถให้ความช่วยเหลือประชาชนที่ประสบภัยได้อย่าง ทันท่วงทีซึ่งจะทาให้ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินโดยหลักสูตรการอบรมจะเน้นการปฏิบัติจริงร่วม ด้วยเช่นการซ้อมแผนเมื่อเกิดเหตุจราจล โดยเชิญวิทยากรมาจากหน่วยงานภาคีภาครัฐเช่นสถานีตารวจโคกศรีสุพรรณ โรงพยาบาลโคกศรีสุพรรณ เป็นต้น ๒. ศูนย์ป้องกันและลดอุบัติเหตุในช่วงเทศกาลต่างๆเพื่ออานวยความสะดวกและแก้ไขปัญหาให้กับ ประชาชนในการเดินทางกกลับภูมิลาเนาในช่วงเทศกาลต่างๆโดยการดาเนินกิจกรรมจะตั้งขึน้ จุดตรวจที่หน้า อบต. ๓. หน่วยแพทย์ฉุกเฉินตาบลเหล่าโพนค้อ ดาเนินกิจกรรมเพื่อช่วยเหลือผู้ผู้ป่วยฉุกเฉิน ผู้ยากไร้และมีรายได้ น้อยโดยการจัดส่งโรงพยาบาลฟรี

1.2.6ด้านสาธารณสุข ลาดับ

โรงพยาบาล

สถานที่ ผอ.รพ.สต. (คน)

โรงพยาบาล ส่งเสริม สุขภาพตาบล โพนค้อ

หมู่ที่ ๑

1

ตาแหน่งบุคลากรประจาหน่วยบริการ พยาบาล ทันตภิบาล แผนไทย วิชาชีพ สาธารณสุข (คน) (คน) ปฏิบัติการ (คน) 1 3 1

พนักงาน/ พนักงาน กระทรวง (คน) 3

๑.๓ สถานการณ์ปัญหา 1.ด้านสุขภาพและการเจ็บป่วยของประชาชนจะพบได้ว่าในทุกหมู่บ้านมีการประสบปัญหาด้านสุขภาพ 1) การป่วยเป็นโรคเรื้อรัง เช่ น โรคเบาหวาน โรคความดัน ส่ วนใหญ่ที่พบจะเป็นผู้สูงอายุ 2) การ เจ็บป่วยด้วยโรคต่างๆ ที่เกิดจาการทางานหนักของคนวัยทางาน การเจ็บปวดข้อ กล้ามเนื้อ 3) ปัญหาสุขภาพตาม สถานการณ์สิ่งแวดล้อม เช่น การเป็นโรคระบาด ได้แก่ โรคไข้เลือดออก โรคไข้หวัดใหญ่ โรคตาแดง เป็นต้น ๒) ปัญหาที่เกิดขึ้นกับเด็กและเยาวชนในเขตตาบลเหล่าโพนค้อที่พบ ได้แก่ สถานการณ์ปัญหาสังคมที่มี ผลกระทบกับเด็กและเยาวชน คือ ปัญหายาเสพติด เนื่องจากปัจจุบนั มีการแพร่ระบาดของยาเสพติดเป็นจานวนมาก และมีการมั่วสุมกันของกลุ่มเยาวชน ๓) สถานการณ์ปั ญ หาด้ านเศรษฐกิจ ซึ่ง จะพบว่ า ปัญ หาที่ เกิด ขึ้นรายได้ จะไม่เพียงพอต่ อรายจ่า ย เนื่องจากชาวตาบลเหล่าโพนค้อมีอาชีพหลัก คือ ทานา และถ้าหากผลผลิตในปีนั้นๆ ไม่ได้ตามเป้าหมายที่กาหนดจึง ทาให้ครัวเรือนมีรายจ่ายมากกว่ารายได้


1.๔เป้าหมายร่วมในการแก้ปัญหาและพัฒนา 1) การแก้ไขปัญหาและการพัฒนาด้านสุขภาพจะมุ่งเน้นการร่วมมือจากศูนย์บริการสาธารณสุข โรงพยาบาลส่ งเสริมสุขภาพจะต้ องเป็น แกนนาหลักสาคัญในการดูแลประชาชนในชุมชน เข้ามาส่งเสริมด้า นการ รณรงค์การดูแลสุขภาพในด้านต่างๆ เริ่มตั้งแต่การบริโภคอาหารการออกกกาลังกายการใช้พืชสมุนไพรในการดูแล ตนเองเวลาเจ็บป่วยทดแทนการใช้ยาปฏิชีวนะ มีการจัดตั้งกลุ่มอสม. โดยเริ่มจากคนในชุมชนมีส่วนร่วมและจะเป็นคน ที่มีจิตอาสาในการที่จะเข้ามาทางานด้านสุขภาพ มีการพัฒนาศักยภาพโดยมีการจัดอบรมเพื่อให้เกิดความรู้และความ ชานาญในการที่จะเข้าไปดูแลด้านสุขภาพของคนในชุมชน มีกระบวนการและวิธีการที่จะสามารถเข้าถึงปัญหาด้าน สุขภาพ เช่นอสม. ออกตรวจเยี่ยมครัวเรือน การรณรงค์กาจัดยุงลาย มีการตั้งกลุ่มนวดแผนไทย กลุ่มดูและผู้สูงอายุ ๒) การแก้ไขปัญหาและการพัฒนาด้านสังคมองค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อได้ร่วมรณรงค์และ จัดกิจกรรมต่างๆให้เด็กและเยาวชนหันมาสนใจกีฬาและร่วมทากิจกรรมเวลาว่าง ไม่ไปยุ่ง เกี่ยวกับยาเสพติด และมี การจัดแข่งขันต้านยาเสพติดเป็นประจาทุกทุกปี ๓) แก้ไขปัญหาและการพัฒนาด้านเศรษฐกิจ การสร้างอาชีพเสริมให้กับคนในชุมชน ได้แก่ การทา เกษตรผสมผสานในครัวเรือน กลุ่มปุ๋ยหมักชีวภาพ กลุ่มน้าเม่า กลุ่มเพาะพันธุ์กล้าไม้ เพื่อฝึกให้คนในชุมชนได้น้อมนา พระราชดารัสตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการดาเนินชีวติ ประจาวัน และสร้างการมีส่วนร่วมทาให้คนในชุมชน เกิดความรักความสามัคคีขึ้น มีการช่วยเหลือซึ่งกันและกันในชุมชนทาให้ประชาชนมีการสร้างรายได้ ลดภาระหนี้สนิ


บทที่ 2 การวิเคราะห์ศักยภาพและเป้าหมายการท่องเที่ยว เป้าหมายการพัฒนาการท่องเที่ยว 1. สร้างรายได้ให้กับประชาชนในท้องถิ่น 2. จานวนนักท่องเที่ยวเข้ามาเที่ยวในตาบลเหล่าโพนค้อเพิ่มขึ้น 3. พัฒนาศักยภาพและเชื่อมโยงการท่องเที่ยวกับจังหวัด 4. สร้างความตระหนักในการอนุรักษ์ ศิลปวัฒนธรรมในตาบลให้คงอยู่สืบไป ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านท่องเที่ยว 1. การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว 2. การพัฒนาบริการด้านการท่องเที่ยว 3. การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและ ศิลปวัฒนธรรม เป้าหมายการท่องเที่ยวขององค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อ 1. ร่วมกันฝันเพื่อปักธงว่าเป้าหมายที่เราต้องการ ต้องการเห็นการท่องเที่ยวของเราเป็นเช่นไร ? - มีนักท่องเที่ยวเข้ามาเยี่ยมชมแหล่งท่องเที่ยวตามธรรมชาติ - อยากให้ตาบลเหล่าโพนค้อเป็นแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ และแหล่งท่องเที่ยวทางการเกษตร อย่างเต็มรูปแบบ - คนวิสัยใต้มีแหล่งรายได้ทางการท่องเที่ยวเสริม - อยากให้นักท่องเที่ยวประทับใจในสินค้าและบริการของคนในชุมชน - อยากให้มีนักท่องเที่ยวเข้ามาทุกวัน การค้าขายจะได้ค้าขายได้ทุกวัน สินค้าที่ผลิตก็สามารถ จาหน่ายได้ - อยากให้คนในชุมชนมีจิตสานึกในการอนุรักษ์แหล่งท่องเที่ยว ช่วยกันดูแลรักษา - อยากเห็นคนทั้งประเทศรู้จัก และจัดให้แหล่งท่องเที่ยวเป็นหนึ่งในแหล่งท่องเที่ยวที่สาคัญของ ประเทศ มิติด้านสิ่งแวดล้อม - อยากให้ประชาชนในชุมชนเอื้อเฟื้อกันเหมือนในอดีต - อยากให้ป่าไม้อุดมสมบูรณ์ มิติในด้านเศรษฐกิจ - คนในท้องถิ่นมีงานทา เศรษฐกิจในชุมชนดี - ไม่มีปัญหาทางสังคม คนในชุมชนมีความสุข


- ชุมชนมีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักกันทั่ว การวิเคราะห์ศักยภาพการพัฒนาท้องถิ่น หลักและแนวคิดในการวางแผนพัฒนาท้องถิ่น การจัดทาแผนยุทธศาสตร์ขององค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อ ได้ให้ความสาคัญกับนโยบาย ของรัฐบาล แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ แผนพัฒนาจังหวัด และแผนพัฒนาอาเภอเป็นหลัก โดย นโยบายของรัฐบาลนั้น ได้เน้นถึงความสาคัญความอยู่ดีของประชาชนเป็นสาคัญส่วนแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาตินั้น เน้นการดารงชีพแบบเศรษฐกิจพอเพียงตามพระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ส่วนแผนพัฒนาจังหวัดและแผนพัฒนาอาเภอ นั้น เน้นความเป็นศูนย์กลางการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เป็นหลัก ซึง่ แต่ละแผนการพัฒนาทีไ่ ด้กล่าวมาแล้วนัน้ ล้วนแต่สอดคล้องกับแผนพัฒนาขององค์การบริหารส่วนตาบล เหล่าโพนค้อ ทั้งสิ้น แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาขององค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อ นั้น ได้เน้นการพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมเป็นหลัก โดยเฉพาะด้านเศรษฐกิจนั้น องค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อ จะยกระดับผู้มีรายได้น้อย ให้มีรายได้เพิ่มขึ้น โดยการจัดหาอาชีพเสริมให้แก่ประชาชนที่สนใจ หลังฤดูกาลเก็บ เกี่ยว เช่น ปลูกมะเขือเทศ ปลูกยาสูบ ปลูกข้าวโพด และมันฝรั่ง ฯลฯ การพัฒนาตามนโยบายริเริ่มของท้องถิ่น นโยบายขององค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อ โดยการนาของคณะผู้บริหาร มีนโยบายเขียวทั้ง ปี คือจะส่งเสริมให้ประชาชนในเขตองค์การบริหารส่วน ตาบลเหล่าโพนค้อ คือจะส่งเสริมให้ประชาชนในเขต ตาบลมีอาชีพเสริมหลังฤดูกาลเก็บเกี่ยวเพื่อให้ประชาชนมีรายได้เพิ่มขึ้น และจะสนับสนุนให้ประชาชน เลี้ยง สัตว์ เช่น วัว หมู เป็ด ไก่ ปลา ฯลฯ เพราะพื้นฐานของประชาชนในเขตตาบล มีพื้นฐานทางการเกษตร มากกว่าการประกอบอาชีพอย่างอื่น ปัจจัยและสถานการณ์การเปลี่ยนแปลง ที่มีผลต่อการพัฒนา ประชาชนในเขตตาบลเหล่าโพนค้อ โดยส่วนมากมีความต้องการด้านโครงสร้างพื้นฐานมา เป็นอันดับแรก เช่น การคมนาคม การสื่อสาร น้า และไฟฟ้า ด้านเศรษฐกิจ มาเป็นอันดับสอง แต่โดย ส่วนรวมแล้วไม่ว่าจะถนน น้า หรือ ไฟฟ้า ส่วนมากต้องการนาไปใช้ทางด้านการเกษตรเป็นหลัก เช่น ถนนเพื่อการเกษตร ไฟฟ้าเพื่อการเกษตร ฯลฯ ส่วนเป้าหมายหลัก คือ ประชาชนในพื้นที่ ซึ่งมีอาชีพ เกษตรกรรมเป็นหลัก พื้นที่เป้าหมายคือ ทั้งตาบลส่วนแนวโน้มในอนาคตน่าจะได้รับการแก้ไขทุกปัญหา ผลการวิเคราะห์ศักยภาพเพื่อประเมินสถานภาพการพัฒนาในปัจจุบันและโอกาสพัฒนาในอนาคตของ ท้องถิ่นด้วยเทคนิค SWOT จุดแข็ง (S) องค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อ มีจุดแข็งอยู่ที่ 1. มีถนนสายหลักที่ผ่านตาบลเพื่อมุ่งสู่ตลาดอินโดจีน 2. มีอ่างเก็บน้าขนาดใหญ่เพื่อใช้ในการเกษตร 3. มีความหลากหลายด้านกลุ่มอาชีพ 4. ติดเทือกเขาภูพาน มีถ้าและน้าตกที่สวยงามตามธรรมชาติ 5. หน่วยงานมีการบริหารการจัดการที่ดี จุดอ่อน (W) องค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อ 1. การจัดสรรงบประมาณไม่คลอบคลุมภารกิจตามอานาจหน้าที่ที่ต้องทา 2. ประชาชนขาดความรู้ด้านการเกษตร และลงทุนทางการเกษตรสูง 3. เด็กและเยาวชนให้ความสาคัญด้านคุณธรรมและจริยธรรมน้อยลง


4. 5. 6. 7.

ประชาชนขาดจิตสานึกในการอนุรักษ์และฟื้นฟูธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ไม่มีตลาดในการจาหน่ายสินค้าทางการเกษตร ประชาชนมีสุขภาพ ร่างกายไม่เข้มแข็ง จากการบริโภคอาหารที่ไมถูกสุขลักษณะ บุคลากรในหน่วยงานไม่มีความชานาญด้านคอมพิวเตอร์ โอกาส (O) 1. นโยบายของกระทรวง กรม จังหวัดเอื้ออานวยต่อการปฏิบัติงานขององค์การบริหารส่วนตาบล 2. มีระบบสารสนเทศที่ใช้ในการสื่อสารที่สะดวกรวดเร็ว 3. มีระบบเครือข่ายในการทางาน ในหน่วยงาน อปท.ด้วยกันเองและหน่วยงานอื่นๆ อุปสรรคหรือข้อจากัด (T) 1. นโยบายของรัฐบาลเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ทาให้ขาดความต่อเนื่องในการทางาน 2. กระแสเศรษฐกิจของประเทศและของโลกเกิดการเปลี่ยนแปลงกะทันหันทาให้เกิดการแข่งขันที่ รุนแรง 3. การเมืองระดับประเทศขาดเสถียรภาพมีคนว่างงานมากขึ้น สภาพปัญหาและความต้องการของประชาชนในเขตพื้นที่ตาบลเหล่าโพนค้อ เนื่องจากประชาชนตาบลเหล่าโพนค้อส่วนใหญ่มีอาชีพเกษตรกรรม และรับจ้างทั่วไป พื้นที่บางส่วน ติดกับเขาภูพาน เดิมมีป่าไม้ที่อุดมสมบูรณ์ เพราะประชาชนบางส่วนลักลอบตัดไม้เพื่อหารายได้จากการแปรรูป ไม้ เพื่อมีรายได้ส่งบุตรหลานเล่าเรียน ดังนั้นปัญหาและความต้องการของประชาชนจึงได้แก่ ที่ สภาพปัญหา สาเหตุ ความต้องการ 1 ปุย๋ เคมีราคาแพง สภาพปัญหาทางเศรษฐกิจ แก้ไขปัญหาปุ๋ยราคาแพง ของประเทศ หรือทางเลือกอื่น 2 ประชาชนขาดที่ดินทากิน การขยายตัวอย่างรวดเร็วของ แก้ไขปัญหาที่ดินทากิน ประชากร ทาให้ที่ดินไม่เพียง หรืออาชีพอื่นที่เหมาะสม ในการทากินแต่ละครัวเรือน เพื่อทดแทนปัญหาที่ดิน 3 ป่าไม้ถูกทาลาย ตัดไม้แปรรูปจาหน่าย ถางป่า หาอาชีพอื่นที่เหมาะสม ทาไร่ เผาถ่าน ทดแทนเรื่องการตัดไม้ 4 ประชาชนมีรายได้น้อย ขาดอาชีพหรืองานประจาที่ เพิ่มรายได้โดยวิธีใดก็ได้ที่ แน่นอน เหมาะสม 5 ประชาชนมีปัญหาด้านสุขภาพ ขาดความรู้ในเรื่องการรักษา ให้มีสุขภาพที่ดีปลอดจาก สุขภาพ โรคภัย 6 การขนถ่ายสินค้าทางการเกษตรไม่สะดวก ถนนเพื่อการเกษตรไม่ได้รับ ถนนเพื่อการเกษตรที่ดี การพัฒนา เพื่อความสะดวกในการ ขนถ่านสินค้า 7 การทะเลาะวิวาทของเด็กและเยาวชน ยาเสพติด ขาดจริยธรรม ลดปัญหาเรื่องการ ทะเลาะวิวาท 8 การว่างงานของเยาวชนที่เรียนจบใหม่ ปัญหาด้านการเมืองของ ให้ อบต.ดาเนินการด้าน ประเทศและของโลก อาชีพต่างๆ ในท้องถิ่น เพื่อแก้ไขปัญหาการว่า งานตามความเหมาะสม


บทที่ 3 แผนส่งเสริมการท่องเที่ยวภายในตาบลเหล่าโพนค้อ (พ.ศ.25๖๐ – 256๓) ตามยุทธศาสตร์การพัฒนาขององค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อ ที่

โครงการ/กิจกรรม

วัตถุประสงค์

เป้าหมาย

25๖๐

งบประมาณที่ได้มา 25๖๑ 256๒

1

ปรับปรุงภูมิทัศแหล่ง ท่องเที่ยว

เพื่อสร้างภาพลักษณ์ แก่แหล่งท่องเที่ยวใน อบต.

จุดชมวิวอ่างเก็บน้า ห้วยโท,ห้วยยาง , วัดป่าพุทธนิมิตร , น้าตกศรีตาดโตน

300,00

2

แหล่งเรียนรู้ซากฟอสซิล ไดโนเสาร์เหล่าโพนค้อ

เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ ซากฟอสซิล

ตามแบบแปลนที่ กาหนด

30,000

3

ปรับปรุงป่าดอนปูต่ า ม.3

เพื่อให้ป่าดอนปู่ตา เป็นแหล่งท่องเที่ยว เชิงอนุรักษ์

4

ก่อสร้างห้องน้าสาธารณะที่ อ่างเก็บน้าห้วยโทห้วยยาง ม.6

เพื่ออานวยความ สะดวกและบริการ ประชาชนและ นักท่องเที่ยว

ปรับปรุงพัฒนาป่า ดอนปู่ตาให้เป็น พื้นที่สีเขียว และ อนุรักษ์พันธุกรรม พืช ก่อสร้างห้องน้า ห้องส้วม ที่ ท่องเที่ยวแก่ง อนุรักษ์

30,000

๕0,๐๐0

ผลที่คาดว่าจะ ได้รับ ๒๕๖๓ จานวน 3 แห่ง นักท่องเที่ยวมี ความประทับใจ และมีจติ สานึก ในการอนุรักษ์ สิ่งแวดล้อม ๕๐,๐๐๐ จานวน 1 แห่ง นักท่องเที่ยว ได้ มีเรียนรู้ ซาก ฟอสซิล ไดโนเสาร์ ๕๐,๐๐๐ จานวนป่าดอน มีนักท่องเที่ยว ปู่ตาในพื้นที่ เขามาท่องเที่ยว ปรับปรุง และรูจ้ ักอนุรักษ์ ป่าชุมชน ตัวชี้วัด

จานวน 2 ห้อง ประชาชนและ นักท่องเที่ยว ได้รับความ สะดวก

หน่วยงานที่ รับผิดชอบ กองช่าง (แผน ยุทธศาสตร์ อบต.) กองส่งเสริม การเกษตร(แผน ยุทธศาสตร์ อบต.) กองส่งเสริม การเกษตร(แผน ยุทธศาสตร์ อบต.) กองช่าง (แผน ยุทธศาสตร์ อบต.)


ที่

โครงการ/กิจกรรม

5

ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิง อนุรักษ์ตาบลเหล่าโพนค้อ

6

ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิง อนุรักษ์ในเขตอุทยาน แห่งชาติภูผายล

7

ทาป้ายประชาสัมพันธ์แหล่ง ท่องเที่ยว

8

ปลูกต้นไม้รอบหนองกุด แกลบ

9

ปลูกป่าชุมชน/ป่าต้นน้า เฉลิมพระเกียรติฯ

วัตถุประสงค์

เป้าหมาย

เพื่อให้เป็นแหล่ง ท่องเที่ยวทางการ เกษตรและป่าชุมชน ในเขตาบลเหล่าโพน ค้อ เพื่อเป็นแหล่ง ท่องเที่ยว ผักผ่อน หย่อนใจเชิงอนุรักษ์

ให้ความรู้แนวทางการ จัดทาแก่เจ้าของสวน ผลไม้ แปลงพืชผล ทางการเกษตรและป่า ชุมชน ส่งเสริมและพัฒนาเขา ดอยอ่างกุ้ง ให้เป็น แหล่งท่องเที่ยวเชิง อนุรักษ์

เพื่ออานวยความ สะดวกแก่ผู้มาผัก ผ่อนในสถานที่ ท่องเที่ยว เพื่อร่วมกันลด มลภาวะและเพิ่ม พื้นทีสีเขียว

ทาป้ายขนาดใหญ่ ติดตามสถานที่ ท่องเที่ยวตาบล

เพื่อร่วมกันลด มลภาวะ และเพิ่ม พื้นที่สีเขียว

ปลูกต้นไม้ยืนต้นใน พื้นที่ อุทยานแห่งชาติ สาธารณประโยชน์ ม. 1,5,6,7,10 บริเวณริมหนองไผ่

10 ปรับปรุงภูมิทัศน์หนองไผ่ ม. เพื่อส่งเสริมให้ 9 ประชาชนร่วมกัน ปลูกต้นไม้

25๖๐

งบประมาณที่ได้มา 25๖๑ 256๒ 50,000

๒๕๖๓ ๒๐,๐๐๐

15,000

10,000

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

แหล่ง ท่องเที่ยวที่ ได้รับการ อนุรักษ์

เกษตรมีรายได้จาก การท่องเที่ยวและ เป็นการส่งเสริมให้ อนุรักษ์ธรรมชาติ

แหล่ง ท่องเที่ยว ได้รับการ อนุรักษ์

เขาดอยอ่างกุ้งได้รับ การพัฒนา และ ส่งเสริมให้เป็น สถานที่ผักผ่อน หย่อนใจ ผู้มาผักผ่อนใน สถานที่ท่องเที่ยว ได้รับความสะดวก

ป้าย ประชาสัมพั นธ์ทั่วตาบล

50,000

ปลูกต้นไม้ในเขตพื้นที่ ริมหนองกุดแกลบ

ตัวชี้วัด

20,000

๒๐,๐๐๐

10,000

10,000

ต้นไม้ รอบ หนองกุด แกลบ

รอบหนองมีความ สวยงาม

๑๐,๐๐๐

ป่าไม้ที่ปลูก ใน จานวน 5 หมู่บ้าน

เพิ่มพื้นที่สีเขียวและ ลดภาวะโลกร้อน

๕๐,๐๐๐

จานวน 1 แห่ง

เพื่อพื้นที่สีเขียวและ ลดภาวะโลกร้อน

หน่วยงานที่ รับผิดชอบ สานักปลัด (แผน ยุทธศาสตร์ อบต.) สานักปลัด (แผน ยุทธศาสตร์ อบต.) สานักปลัด (แผน ยุทธศาสตร์ อบต.) กองส่งเสริม การเกษตร(แผน ยุทธศาสตร์ อบต.) กองส่งเสริม การเกษตร(แผน ยุทธศาสตร์ อบต.) กองส่งเสริม การเกษตร(แผน ยุทธศาสตร์


ที่

โครงการ/กิจกรรม

11 ปรับปรุงถนนรอบหนองกุด แกลบ

12 แหล่งอนุรักษ์พันธุ์สัตว์น้า หนองกุดแกลบ

วัตถุประสงค์ เพื่อเกิดความสะดวก ในการวิ่งออกกาลัง กาย และปั่นจักยาน รวมทั้งมาพักผ่อน หย่อนใจ เพื่ออนุรักษ์พันธุส์ ัตว์ น้าในฤดูวางไข่

13 อบรมไกค์ชุมชนและสมาชิก บ้านพักโฮมสเตย์

เพื่อส่งเสริมให้มไี กด์ ชุมชน และพัฒนา บ้านพักโฮมสเตย์เพื่อ รองรับนักท่องเที่ยว

14 โครงการจัดงานพระราชพิธี งานพิธีและงานประเพณี ท้องถิ่นหรืองานอื่น ๆ

เพื่อสืบทอดประเพณี โบราณ และส่งเสริม การท่องเที่ยว

เป้าหมาย

งบประมาณที่ได้มา 25๖๐

ถนนคอนกรีต ระยะทาง 1.5 กิโลเมตร ประกาศให้หนอง 10,000 กุดแกลบพื้นที่ 76 ไร่เป็นแหล่ง อนุรักษ์พันธุ์สัตว์ น้า อบรมให้ไกด์และ สมาชิกมีความรู้ และมีจติ สานึกใน การอนุรักษ์ สิ่งแวดล้อม 50,000 เพื่อเป็นการสืบ ทอดประเพณี และ ได้บุญกุศลจากการ ร่วมประเพณี

25๖๑ 200,00 0

256๑

๒๕๖๒

20,000

50,000

50,000

๕๐,๐๐๐

ถนนความยาว มีถนนสัญจรไปมา 1.5 กิโลเมตร สะดวก

หน่วยงานที่ รับผิดชอบ กองช่าง (แผน ยุทธศาสตร์ อบต.)

จานวนปลาน้า มีแหล่งอาหาร จืดในหนองกุด สาหรับสัตว์น้า และ แกลบ เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ ปลา

กองส่งเสริม การเกษตร(แผน ยุทธศาสตร์ อบต.)

อบรมไกด์และ มีไกด์ชุมชนและ สมาชิก บ้านพักโอมสเตย์ไว้ บ้านพักโอม บริการนักท่องเที่ยว เสตย์

สานักปลัด (แผน ยุทธศาสตร์ อบต.)

มีกิจกรรม ร่วมกันสืบ ทอดประเพณี ทางศาสนา

สานักปลัด

ตัวชี้วัด

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ประชาชนได้ร่วมกัน สืบทอดประเพณี โบราณ และส่งเสริม การท่องเที่ยว


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.