สภาพปญหาการบริหารจัดการกลุมอาชีพเพาะพันธุกลาไม บานหวยยาง ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร THE PROBLEMS OF THE MANAGEMENT OF NURSERY OCCUPATION GROUP OF HUAY –YARNG VILLAGE, LAOPONKOR SUB – DISTRICT, KOKSRISUPAN DISTRICT, SAKON NAKHON PROVINCE. เกียรติศักดิ์ ขันทีทาว1 คูณ โทขันธ2 บทคัดยอ การศึกษานี้ มีวัตถุประสงค เพื่อ เพื่อศึกษาสภาพปญหาการบริหารจัดการ และแนวทาง แก ไขสภาพปญหาการบริหารจัดการกลุมอาชีพเพาะพันธุกลาไม บานหวยยาง ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร เครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูล เพื่อการศึกษาครั้งนี้ คือ การสัมภาษณเชิงลึก โดยสัมภาษณสมาชิกกลุมเพาะพันธุกลาไม บานหวยยางจํานวน 62 คน และ การสนทนากลุมกับคณะกรรมการดําเนินการจํานวน 7 คน และสมาชิกกลุม จํานวน 3 คน ผลของการศึกษาสภาพปญหาการบริหารจัดการกลุมอาชีพเพาะพันธุกลาไม บานหวยยาง ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร การบริหารดานคน พบวา ปญหาคือ คา จางแรงงานมีราคาแพง และหาคนงานยากในชวงฤดูทํานา การบริหารดานเงิน พบวา ปญหาคือ กลุม มีเงินนอย ไมเพียงพอที่จะดําเนินกิจกรรมในการซื้อ การขาย หรือใหสมาชิกกูยืมได การบริหารจัด การดานวัสดุอุปกรณ พบวาปญหาคือ วัสดุอุปกรณมีราคาแพง ซึ่งเกิดขึ้นจากสมาชิกตางคนตางซื้อ และ ไมมีในพื้นที่ตองสั่งซื้อจากที่อนื่ โดยผานพอคาคนกลาง และแกลบดําที่ใชในการเพาะพันธุกลา ไมไมมีคุณภาพ เนื่องจากไมมีเครื่องมือตรวจสอบการบริหารดานการจัดการ พบวา ปญหาคือ ราคา ขายกลาไมของสมาชิก ไมเปนมาตรฐานเดียวกันมีสาเหตุ 3 ประการคือ 1) คุณภาพกลาไมไมเหมือน กัน 2) สมาชิกมีความจําเปนในการใชเงินตางกัน 3)สมาชิกไมไดจัดทําบัญชีคาใชจายของตนเองทํา ใหไมรูตนทุนที่แทจริง สวนขอเสนอแนะแนวทางแกไข สภาพปญหาการบริหารจัดการกลุมอาชีพเพาะพันธุกลาไม บานหวยยาง ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร การบริหารดานคน พบวา 1
นักศึกษา หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต วิทยาลัยการปกครองทองถิ่น มหาวิทยาลัยขอนแกน
2
รองศาสตราจารย วิทยาลัยการปกครองทองถิ่น มหาวิทยาลัยขอนแกน อาจารยที่ปรึกษา
2
ใหมีการประชาสัมพันธความตอง การแรงงานไปยังหมูบานอื่นๆ รวมทั้งใหมีการตกลงรวมกัน ระหวางสมาชิก ในเรื่องอัตราคาจางแรงงานใหเปนราคาเดียวกัน การบริหารดานเงิน พบวา ใหมีการจัดหาเงินทุนเพิ่มเติมใหกับกลุม โดยขอรับเงินอุดหนุนและขอกูเงินจากกองทุนเศรษฐกิจ ชุมชนซึ่งไมมีดอกเบี้ย จากองคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ และยังมีขอเสนอแนะใหระดม ทุนจากสมาชิก พรอมกับใหมีการจัดฝกอบรมในการทําบัญชีคาใชจายเพื่อใหสมาชิกรูถึงตนทุนที่ แทจริงของตนเอง การบริหารดานวัสดุอุปกรณ พบวา ใหคณะกรรมการดําเนินการของกลุมเปนผู รวบรวมความตองการวัสดุอุปกรณตางๆ ทีใ่ ชในการเพาะพันธุกลาไมแลวไปจัดซื้อจากแหลงผลิต โดยตรงรวมทั้งใหมีการตรวจสอบคุณ ภาพแกลบดําที่ใชในการเพาะพันธุกลาไม โดยขอรับการ สนับสนุนเครื่องมือในการตรวจสอบ จากองคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ และการบริหาร ดานการจัดการ พบวา ใหมีการจัดฝกอบรมใหความรูแกสมาชิกเพื่อจะไดทําตามหลักวิชาการและ กลาไมจ ะได มีคุณ ภาพใกลเคียงกัน และมีขอเสนอแนะใหมีการนํากลาไมไปขายตามงานตางๆ รวมทั้งประชาสัมพันธใหสมาชิกทุกคนทางเวบไซต ขององคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ คําสําคัญ: สภาพปญหาการบริหารจัดการของกลุมอาชีพ , การเพาะพันธุกลาไม ABSTRACT
Keyword: THE Problems of The Management Of The Occupation Group , The Nursery
3
1. ความเปนมาและความสําคัญของปญหา กลุมเพาะพันธุกลาไม บานหวยยางเปน กลุมอาชีพอีกกลุมหนึ่ง ที่มีความพยายามในการ สรางอาชีพใหกับตนเอง เพื่อใหมีรายไดเสริม นอกจากการทํานา แทนที่จะรอคอยแตความ ชวยเหลือจากรัฐบาลเพียงอยางเดียว
องคก ารบริห ารสว นตํา บลเหล า โพนค อ ใน ฐานะเปน องคกรปกครองสว นทองถิ่น ที่อยู ใกลชิดประชาชนมากที่สุด และรับทราบถึง ปญหาความตองการตางๆของประชาชน ในพื้น ที่ตําบลเหลาโพนคอเปนอยางดี จึงมีบทบาท สําคัญตอการพัฒ นาเศรษฐกิจ ในระดับชุมชน ให สามารถพึ่งตนเองได ประกอบกับกฎหมาย ไดกําหนดอํานาจหนาที่ขององคการบริหารสวน ตํ า บล ในด า นการส ง เสริ ม อาชี พ ไว ต าม พระราชบัญญัติสภาตําบลและองคก ารบริหาร ส ว นตํ า บลพ.ศ.2537 และพระราชบั ญ ญั ติ กํา หนดแผนและขั้ น ตอนการกระจายอํ า นาจ ใหแกองคก รปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ. 2542 นอกจากการปฏิบัติภารกิจหนาที่ตามที่กฎหมาย กําหนดแลว องคการบริหารสวนตําบลเหลา
โพนค อ ยั ง ได จั ด ทํ า แผนพั ฒ นาสามป เ พื่ อ กําหนดยุทธศาสตรใ นการพัฒ นา การสงเสริม การฝ ก อบรมการประกอบอาชีพ และ การ สงเสริมและพัฒ นาศัก ยภาพดานตลาดโดยยึด ตามความถนั ด และความสนใจเพื่ อ สร า ง อาชี พและรายได เ สริ มให ประชาชนในตํ าบล เหลาโพนคอไดมีอาชีพเสริมหลังฤดูกาลทํานา กลุมอาชีพเพาะพันธุกลาไมบานหวย ยาง ตํ า บลเหล า โพนค อ อํ า เภอโคกศรี สุพรรณ จังหวัด สกลนคร เปน กลุม อาชี พอี ก กลุมหนึ่งที่นาสนใจ เนื่องจากกลุมนี้เกิดขึ้นจาก การรวมกลุ ม กั น ของชาวบ านห ว ยยาง หมู 6 และ หมู 9 ประกอบอาชีพเพาะพันธุกลาไม เปนอาชีพเสริม เพิ่มรายไดใหกับครอบครัว นอกจากการทํานา โดยเริ่มจากการไปรับซื้อ กลาไม (มะกรูด ,มะนาว) จากกลุมเพาะพันธุกลา ไมบานดานมวงคํา ตําบลดานมวงคํา อําเภอ โคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร มาเรขายแต เพื่ อ ให ไ ด กํ า ไรมากขึ้ น นายเร ง ยางธิ ส าร (ประธานกลุมคนปจ จุบัน )ซึ่งเปน พอคาเรข าย กลาไมเมื่อป พ.ศ. 2525 จึงไดเรียนรูก าร เพาะพันธุกลาไม จากกลุมเพาะพันธุกลาไมบาน ดานม ว งคํา แล ว ทําการเพาะกลา มะกรู ด และ มะนาวด ว ยตนเองก อ นนํ า ไปเร ข าย เมื่ อ ป พ.ศ.2528 ในเบื้องตนมีผูเพาะกลามะกรูด และ มะนาวเพียงแค 3 คน เทานั้น ตอมาจึงไดมี ผูทําการเพาะกลาไมเพิ่มขึ้น เรื่อยๆ และไดมี การจัดตั้งเปนกลุมเพาะพันธุกลาไมในป พ.ศ. 2542 โดยมีสมาชิกในขณะนั้น จํานวน 27 คน
4
และมีการเพาะกลาไมหลายชนิดเพิ่มมากขึ้น จน ในปจ จุบันมีสมาชิกจํานวน 62 คน จากบาน หวยยาง หมู 6 และหมู 9 มีกลาไมจําหนายถึง 62 ชนิด สงขายกลาไมปละไมต่ํากวา 27 ลาน ต น มี ร ายได ป ระมาณ 50 ล า นบาทต อ ป คนเมื่อ 18 กุมภาพันธ 2554, จาก http:// www. dailynews.co.th/newstartpage/printmond.cpm?c ategorvid=38&contentid=12 และมีพอคามา รับซื้อถึงสวนไมตองไปเรข ายเหมือนแตกอ น ถึงแมสมาชิกกลุมอาชีพเพาะพัน ธุกลา ไมบานหวยยาง จะมีรายไดจากการขายกลาไม ที่มั่น คง แตก็ตองใชเงินทุนหมุนเวียนเปนอยาง มาก จึงไดมีการระดมทุนจากสมาชิกโดยเก็บ จากสมาชิกคนละ 200 บาท เปนคาธรรมเนียม แรกเขา และเก็บดอกเบี้ยเงินยืมจากสมาชิกอีกป ละ 100 บาทตอคน เพื่อรวบรวมเปนเงินทุน ของกลุ ม ให ส มาชิ ก กู ยื ม แต เ นื่ อ งจากมี จํานวนสมาชิกเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ ทําใหเงินที่จะ ใหสมาชิ ก กูยืมไมเพียงพอ กลุ ม จึงขอรับการ สนับสนุน จากองคก ารบริหารสว นตําบลเหลา โพนค อ ในป พ.ศ. 2547 และได รั บ การ สนับสนุนจํานวน 13,000บาท การบริ ห ารจั ด การเงิ น ของกลุ ม นั้ น บริหารจัดการโดยคณะกรรมการจํานวน 7 คน ที่มาจากการเลือกของสมาชิกและมีวาระในการ ดํารงตําแหนงคราวละ 5 ป ประกอบดว ย ประธาน 1 คน รองประธาน 2 คน คณะ กรรมการการเงิ น และบั ญ ชีจํ า นวน 3 คน เลขานุการ 1 คน
แมว าจะมี ค ณะกรรมการบริห ารกลุ ม แตใ นปจจุบันกลุมอาชีพเพาะพันธุก ลาไมบาน ห ว ยยางตํ า บลเหล า โพนค อ อํ า เภอโคกศรี สุพรรณ จังหวัดสกลนคร กลับประสบปญหา ในการตั้งราคาขายกลาไม ที่ไมเปน มาตรฐาน เดียวกัน การจัดซื้อวัสดุอุปกรณก็ตางคนตางซื้อ และมีร าคาแพงเนื่องจากไม มีใ นพื้น ที่ตองซื้ อ ผานพอค าคนกลาง นอกจากนี้ก ลุมยังประสบ ปญหาขาดแคลนแรงงานโดยเฉพาะฤดู ทํานา คาจางแรงงานก็มีราคาแพง แตราคาขายกลาไม กลับไมเพิ่มตามตน ทุน ที่เพิ่มขึ้นสงผลใหกําไร ของสมาชิกกลุมเพาะพัน ธุก ลาไมที่ไดจ ากการ ขายกลาไมลดลงเรื่อยๆ จนสมาชิก หลายราย ตองเลิกกิจการไป ถายังเปนอยางนี้ไปเรื่อยๆ ผูศึกษาเชื่อวา กลุมอาชีพเพาะพัน ธุกลาไมบาน หวยยาง ก็จะเปนกลุมอาชีพที่ไมมีความเขมแข็ง และยั่งยืน ดังนั้น ถามีก ารศึก ษาสภาพปญหาที่ เกิ ด ขึ้ น แล ว ดํ า เนิ น การแก ไ ข โดยให มี ขบวนการกลุม มีการรวมกันซื้อ รวมกันขาย ไมแขงขันกันเอง และชวยเหลือซึ่งกันและกัน ก็จะทําใหกลุมอาชีพเพาะพันธุกลาไมบานหว ย ยาง ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จั ง หวั ด สกลนคร เป น กลุ ม อาชี พ ที่ ทํ า ให สมาชิ ก และประชาชนในบา นห ว ยยาง หมู 6 และ หมู 9 มีร ายได ที่มั่น คงและเปน การเพิ่ ม ศัก ยภาพของชุมชนใหมีค วามสามารถในการ พึ่งพาตนเองไดและชวยเหลือผูอื่นได ผู ศึ ก ษาในฐานะเป น ผู ป ฏิ บั ติ ง านใน พื้นที่ตําบลเหลาโพนคอ ในตําแหนงนักวิชาการ เกษตร ขององคการบริหารสวนตําบลเหลาโพน
5
คอ มีหนาที่โดยตรงในการสงเสริมอาชีพดาน การเกษตร การรวมกลุม และพัฒนากลุม จึงมี ความสนใจที่จ ะศึกษาสภาพปญหาการบริหาร จั ด การกลุ ม เพาะ พั น ธุ กล า ไม บ า นห ว ยยาง ตํ า บลเหล า โพนค อ อํ า เภอโคกศรี สุ พ รรณ จังหวัดสกลนคร เพื่อหาแนวทางแกไขปญหา ของกลุมเพาะพันธุกลาไมบานหวยยาง ใหเปน กลุ ม อาชี พที่ มี ค ว ามสาม ารถใน การผลิ ต การตลาด และการบริหารจัดการกลุม ใหมีความ เขมแข็งตอไป 2. วัตถุประสงคการศึกษา 2.1 เพื่อศึกษาสภาพปญหาการบริหาร จัดการกลุมอาชีพเพาะพันธุกลาไมบานหวยยาง ตํ า บลเหล า โพนค อ อํ า เภอโคกศรี สุ พ รรณ จังหวัดสกลนคร 2.2 เพื่ อ ศึ ก ษาแนวทางแก ไ ขสภาพ ปญหาการบริหารจัดการ กลุมอาชีพเพาะพัน ธุ กลาไมบานหวยยาง ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอ โคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร 3. ขอบเขตของการศึกษา ในการศึกษาครั้งนี้ ผูศึกษาไดกําหนด ขอบเขตของการศึกษาไวดังนี้ 3.1 ขอบเขตดานเนื้อหา ผูศึกษาได กําหนดเนื้อหาไว 4 ประเด็น คือ 3.1.1 ปญหาการบริหารจัดการ ดานคน(Man) 3.1.2 ปญหาการบริหารจัดการ ดานเงิน(Money) 3.1.3 ปญหาการบริหารจัดการ
ดานวัสดุอุปกรณ(Material) 3.1.4 ปญหาการบริหารจัดการ ดานการจัดการ(Management) 3.2 ขอบเขตดานประชากรในการศึกษา ครั้งนี้ ผูศ ึกษาไดกําหนดขอบเขตของการศึกษา ดานประชากร โดยศึกษาจาก คณะกรรมการ บริหาร กลุม เพาะพันธุกลาไม บานหวยยาง จํานวน 7 คน และสมาชิกกลุมอาชีพเพาะพันธุ กลาไมบานหวยยาง ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอ โคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร รวม 62 คน 3.3 ขอบเขตดานพื้นที่ ผูศ ึกษากําหนด ขอบเขตดานพื้นที่ไวที่เขตหมูบานหวยยาง หมู 6 หมู 9 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร 4. ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 4.1 จะไดทราบสภาพปญหาการบริหาร จัดการกลุมอาชีพเพาะพันธุกลาไม บานหวย ยาง ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร 4.2 จะไดทราบแนวทาง ในการแกไข ปญหา และปรับปรุงการบริหารจัดการของกลุม อาชีพเพาะพันธุกลาไมบานหวยยาง ตําบลเหลา โพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร 4.3 จะไดนําผลการศึกษา ไปใชแกไข ปญหาและไปใชปรับปรุงการบริหารจัดการของ กลุมอาชีพเพาะพันธุกลาไมบานหวยยาง ตําบล เหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัด สกลนครตอไป
6
5. วิธีดําเนินการศึกษา การศึกษาเรื่อง สภาพปญหาการบริหาร จัดการกลุมอาชีพเพาะพันธุกลาไม บานหวยยาง ตํ า บลเหล า โพนค อ อํ า เภอโคกศรี สุ พ รรณ จังหวัดสกลนคร มีวิธีดําเนินการศึกษาคือ พื้นที่ การศึก ษาไดแ ก บานหว ยยาง หมู 6 และบาน หวยยางเหนือ หมู 9 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอ โคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ประชากรและ กลุมตัวอยางไดแกคณะกรรมการดําเนินการและ สมาชิ ก กลุ ม เพาะพั น ธุ ก ล า ไม รวม 62 คน เครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูล คือแบบ สัมภาษณที่มีโครงสราง(Structured Interview) เปนการสัมภาษณเชิงลึก(Depth Interview) และ แบบสนทนากลุม (Focus group) วิธีก ารเก็บ รวบรวมข อ มู ล ผู ศึ ก ษาได ดํ า เนิ น การดั ง นี้ โดยการนํ า แบบสั ม ภาษณ ไปสั ม ภาษณ คณะกรรมการดําเนินการและสมาชิกจํานวน 62 คน และ ดําเนิ น การสนทนากลุม เพื่อทําการ ประชุ ม กลุ ม คณะกรรมการดํ า เนิ น การและ สมาชิกกลุมอาชีพเพาะพันธุกลาไมบานหวยยาง รวม 10 คน โดยมี ป ระเด็ น ในการสนทนา 2 ประเด็น คือสภาพปญหาการบริหารจัดการกลุม อาชีพเพาะพัน ธุกลาไม และขอเสนอแนะแนว ทางแกไขสภาพปญหาการบริหารจัดการกลุม อาชีพเพาะพันธุกลาไมบานหวยยาง ตําบลเหลา โพนค อ อํ า เภอโคกศรี สุ พ รรณ จั ง หวั ด สกลนคร 6. ผลการศึกษา สภาพปญหาการบริหารจัด การกลุม อาชีพเพาะพันธุกลาไมบานหวยยาง ตําบลเหลา
โพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ผูศึกษาสามารถสรุปผลการศึก ษาในแตละดาน ดังตอไปนี้ ดานคน(Man) พบวา กลุมมีปญหา ในเรื่ อ งราคาขายกล า ไม ไม เ ป น มาตรฐาน เดี ย วกั น และสมาชิ ก ส ว นใหญ ต า งคนต า งมี วิ ธี ก ารเพาะกล า ไม ข องใครของมั น ไม เ ป น มาตรฐานเดียวกัน นอกจากนี้ยังมีปญหาการขาด แคลนแรงงานและคาจางแรงงานแพงในฤดูทํา นา ดานเงิน(Money) โดยสรุปแลวพบวา กลุมมี เงินนอยไมเพียงพอกับความตองการของสมาชิก ที่ตองการกูยืมเงินไปใชจายตามความจําเปนเชน คาจางคนแรงงาน วัสดุอุปกรณ เมล็ดพันธุ และ ท อ น พั น ธุ เ ป น ต น ด า น วั ส ดุ อุ ป ก ร ณ (Material)พบว า เมล็ ด พั น ธุ มี ร าคาแพง โดยเฉพาะเมล็ ด ผั ก หวาน มะกรู ด มะนาว เนื่องจากไมมีในพื้น ที่ตองสั่งซื้อจากที่อื่น โดย ผ า นพ อ ค า คนกลาง และถุ ง เพาะชํ า กล า ไม คุณภาพดีไมเพียงพอกับความ และแกลบดําก็มี ราคาแพง และมีค วามเปน กรดสูงไมเหมาะใน การเพาะพั น ธุ ก ล า ไม ด า นการจั ด การ (Management) พบว า สมาชิก จะมีปญหาใน ดานตลาดสําหรับสมาชิก ใหม เนื่องจากยังไม เป น ที่ รู จั ก ของพ อ ค า มากนั ก และเรื่ อ งการ ประชาสัมพันธข ายกลาไมก็ยังไมทั่ว ถึง มีก าร ประชาสั มพั น ธ เฉพาะสวนของประธานกลุ ม เทานั้น นอกจากนี้ยังมีปญหาในตั้งขอบังคับใน ดานราคาขายกลาไม ยังไมสามารถทําไดเนื่อง คุณภาพของกลาไมไมเหมือนกัน มีความจําเปน ในการใช เ งิ น ต า งกั น และไม ไ ด จั ด ทํ า บั ญ ชี คาใชจายทําใหไมรูตนทุนที่แทจริง
7
สวนขอเสนอแนะแนวทางแกไขสภาพ ป ญ หาการบริ ห ารจั ด การด า นต า งๆ ผู ศึ ก ษา สาม ารถสรุ ป ผลก ารศึ กษา ในแต ล ะ ด า น ดังตอไปนี้ ดานคน(Man) มีขอเสนอแนะใหมี การฝก อบรมการเพาะพัน ธุ ก ล าไม แกส มาชิ ก เพื่อจะไดทําตามหลักวิชาการและเปนมาตรฐาน เดี ย วกั น สํ า หรั บ การขาดแคลนแรงงานและ คาจางแรงงานแพงในฤดูทํานาไดมีขอเสนอแนะ ให มี ก ารประชาสั ม พั น ธ ไ ปยั ง หมู บ า นอื่ น ๆ พร อ มกั บ ทํ า ข อ ตกลงร ว มกั น ในเรื่ อ งค า จ า ง แรงงานและสวัสดิการใหเปนมาตรฐานเดียวกัน ดานเงิน (Money) มีขอเสนอแนะใหมีการหาเงิน เขากลุม โดย ใหคณะกรรมการจัดทําโครงการ ขอรับเงินอุดหนุนและขอกูเงินเศรษฐกิจชุมชน ให เพิ่ ม ดอกเบี้ ยเงิ น ยื ม จากที่เ คยเก็บ ป ละ 100 บาท เปนรอยละ 6 บาทตอ ป นอกจากนี้ยังมี ขอเสนอใหกลุมซื้อวัสดุ อุปกรณ และเมล็ดพันธุ มาขายใหสมาชิก เพิ่มคาธรรมเนียมแรกเขา และ ให มี ก ารระดมหุ น จากสมาชิ ก เพื่ อ ให มี เ งิ น เพียงพอในการใหสมาชิกกูยืม ดานวัสดุอุปกรณ (Material) มีข อเสนอแนะ ให ค ณะกรรมการ กลุมหรือองคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ ติดตอซื้อวัสดุอุปกรณจากแหลงผลิตที่มีคุณภาพ โดยตรงไมตองผานพอคาคนกลาง พรอมกับให มีก ารตรวจสอบคุณ ภาพกอนนํ ามาใหสมาชิ ก โดยรวบรวมความตองการของสมาชิก ทั้งหมด แลว จัด ซื้อมาแบงใหสมาชิก หรือใหกรรมการ เป น ผู จั ด ซื้ อ วั ส ดุ อุ ป กรณ ม าขายให ส มาชิ ก โดยตรง ดานการจัดการ(Management)ใหมีการ ประชาสัมพันธใหมากขึ้น โดย การนํากลาไมไป
ขายตามงานตางๆเชน งานกาชาด เปนตน และ ใหมีก ารนํากลาไมไปเสนอขายตามหนว ยงาน ราชการ นอกจากนี้ยังมีขอเสนอแนะใหการทํา ปายประชาสัมพันธกลุมกลาไมติดไวที่ถนนสาย หลัก และการประชาสัมพันธทางเวบไซตใหกับ สมาชิกทุกคน ในดานการตั้งราคาขายกลาไมให เปนราคาเดียวกันมีขอเสนอแนะใหกลุมจัด หา เงิ น ทุ น ใหส มาชิก กูยื มเวลามี ค วามจํา เป น จั ด ฝกอบรมการเพาะพันธุกลาไมใหเปนมาตรฐาน เดีย วกั น และการจัด ทํา บัญชี คา ใช จายเพื่ อให สมาชิ ก รู ถึ ง ตน ทุน ที่ แท จ ริง ของตนเอง จึง จะ สามารถแกปญหาการขายกลาไมตัดราคากันได 7. อภิปรายผล ผลการศึ ก ษาเรื่ อ งสภาพป ญ หาการ บริหารจัด การกลุมอาชีพเพาะพันธุก ลาไมบาน ห ว ยยาง ตํ า บลเหล า โพนค อ อํ า เภอโคกศรี สุพรรณ จังหวัดสกลนคร เปนการศึกษาโดยใช ขอมูลเชิงคุณ ภาพ จากผลการศึก ษาดังที่ก ลาว แลว ขอนํามาอภิปรายดังตอไปนี้ดานคน(Man) มีผลการศึกษา คือ คาจางแรงงานแพงและขาด แคลนแรงงานในชว งฤดูทํานา การขายกลาไม เปนแบบตางคนตางขายและขายตัดราคากันเอง ในระหวางสมาชิกดวยกัน ที่เปนเชนนี้เนื่องจาก สมาชิก อางวา กลุมไมมีเงิน ทุน มากพอที่จะให สมาชิกกูยืมมาแกปญหาของเขาได เมื่อมีความ จําเปนราคาเทาไหรก็ตองขายเพื่อใหไดเงินมาใช จ า ย นอกจากนี้ ยั ง พบว า คุ ณ ภาพของกล า ไม แตกตางกัน ทําใหสมาชิก ไมสามารถขายราคา เดียวกัน ได เนื่องจากมีวิธีก ารเพะกลาไมที่ไ ม เหมื อ นกั น ส ว นข อ เสนอแนะแนวทางแก ไ ข
8
สภาพปญหาการบริหารจัดการดานคน(Man) ก็ พบวา มีขอเสนอแนะใหประชาสัมพัน ธค วาม ตองการแรงงานไปยังหมู บานอื่น ๆ พรอมกั บ แจงอัตราคาจางที่ไดต กลงกันในกลุม ดานเงิน (Money) มีผ ลการศึ ก ษา คือ กลุมมี เงิ น ทุ น นอยไม เพี ยงพอที่จ ะใหสมาชิก กูยื มได สว น ขอเสนอแนะและแนวทางแกไขสภาพปญหา การบริ ห ารจั ด การด านเงิ น (Money) มี ก าร เสนอใหคณะกรรมการจัดทําโครงการขอรับเงิน อุดหนุน และขอกูเงินเศรษฐกิจชุมชน ซื้อวัสดุ อุปกรณ และเมล็ดพันธุมาขายใหสมาชิก เพิ่ม คาธรรมเนียมแรกเขา และใหมีก ารระดมหุ น จากสมาชิก นอกจากนี้ยั งมีขอ เสนอใหเพิ่ ม ดอกเบี้ยเงินยืมจากที่เคยเก็บปละ 100 บาท เปน รอยละ 6 บาท ดานวัสดุอุปกรณ(Material) มี ผลการศึกษา คือ วัสดุที่ใชในการเพาะชํา เชน แกลบเป น แกลบใหม มี ค วามเป น กรดสู ง ถุงพลาสติก คุณภาพไมดี ที่คุณภาพดีก็หาซื้อยาก ราคาแพง นอกจากนี้สมาชิก สว นใหญยัง มี ปญหาของเมล็ด พัน ธุมีราคาแพงเนื่องจากไมมี ในพื้นที่หรือพื้นที่ใกลเคียงตองสั่งซื้อจากที่อื่น โดยผานพอคาคนกลาง สวนขอเสนอแนะและ แนวทาง แกไข ดา นวัสดุอุ ปกรณ ( Material) พบว า มีข อ เสนอให ค ณะกรรมการกลุ ม หรื อ องคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ ติดตอ ซื้อวัสดุอุปกรณจากแหลงผลิตที่มีคุภาพโดยตรง ไมตองผานพอคาคนกลาง พรอมกับตรวจสอบ คุณภาพกอนนํามาใหสมาชิก โดยรวบรวมความ ตอการของสมาชิกทั้งหมดแลวจัดซื้อมาแบงให สมาชิ ก หรื อให ก รรมการเปน ผูจัด ซื้อ วัส ดุ
อุ ป กรณ ม าขายให ส มาชิ ก โดยตรง ด า นการ จัดการ(Management) มีผลการศึกษา คือ ยังไม มีก ารประชาสั ม พั น ธ ด า นตลาดมากนั ก มี แ ต ลูกคากลุมเดิมที่มารับซื้อถึงสวน ยังไมมีการหา ตลาด ใหม ๆ อี กป ญหาหนึ่ ง ที่ พ บคื อก า ร ประชาสั ม พั น ธ ข องหน ว ยงานราชการไม ครอบคลุมสมาชิกทุก คนที่เปน เชนนี้เนื่องจาก การประชาสั มพั น ธ ไมว าจะเป น ทางแผ น พั บ หรือทางเวบไซต โดยองคการบริหารสวนตําบล เหลาโพนคอ และสํานักงานพัฒนาชุมชนอําเภอ โคกศรีสุพรรณ จะมีการประชาสัมพันธใหกลุม เพาะพันธุกลาไมบานหวยยางโดยแจงเฉพาะชื่อ และเบอร โ ทรศั พ ท ข องประธานกลุ ม เท า นั้ น ไมไดแจงรายชื่อและเบอรโทรศัพทของสมาชิก ทุ ก คน ทํ า ให เ กิ ด ป ญ หาขึ้ น นอกจากนี้ ยั ง มี ปญหาในตั้งขอบังคับในดานราคาขายกลาไม ยัง ไมสามารถทําได เนื่องจากกลุมยังไมมีเงิน ทุน เพียงพอที่จะใหสมาชิกกูยืม เวลาสมาชิกมีความ จํ า เป น ต อ งใช เ งิ น คุ ณ ภาพของกล า ไม ก็ ไ ม เหมือนกัน และสมาชิก ยังไมมีก ารจัด ทําบัญชี คาใชจายในสวนกลาไมของตนเอง ทําใหไมรูถึง ต น ทุ น ที่ แท จ ริ งของ ตนเอง ส ว นป ญ หา ขอเสนอแนะแนวทางแก ไขสภาพปญ หาการ บริหารจัดการดานการจัดการ(Management) ก็ พบวา ใหมีก ารประชาสัมพันธใหมากขึ้น โดย การนํ า กล า ไม ไปขายตามงานต า งๆหรื อ ตาม หนวยงานราชการ นอกจากนี้ยังมีขอเสนอแนะ ใหการทําปายประชาสัมพันธกลุมกลาไมตดิ ไวที่ ถนนสายหลัก และใหมีการประชาสัมพันธทาง เวบไซตใหกับสมาชิกทุกคน ในดานการตั้งราคา
9
ขายกลาไมใหเปนราคาเดียวกันมีขอเสนอแนะ ใหกลุมจัดหาเงินทุนใหสมาชิกกูยืมเวลามีความ จําเปน จัด ฝก อบรมการเพาะพัน ธุก ลาไม และ การจัดทําบัญชีคาใชจายเพื่อใหสมาชิกรูตน ทุนที่ แทจ ริง จึงจะสามารถแกปญหาการขายกลาไม ตัดราคากันได 8. ขอเสนอแนะ 8.1 ขอเสนอแนะจากการศึกษา จัดฝกอบรมใหความรูแกสมาชิกในการ เพาะพัน ธุใ หถูก ตองตามหลัก วิชาการและให เปน มาตรฐานเดียวกั น และฝก อบรมการทํ า บัญชีคาใชจาย เพิ่มเงินทุนกลุมใหมากขึ้น โดย ขอรับเงินอุดหนุน ระดมหุน เปนตน นอกจากนี้ ควรซื้อวัสดุอุปกรณ เมล็ดพันธุ และทอนพัน ธุ มาขายใหแกสมาชิก เพิ่มการประชาสัมพันธให มากขึ้นโดยนํากลาไมไปขายตามงานตางๆและ หน ว ยงานราชการรวมทั้ ง เพิ่ ม การประชา สัมพันธทางเวบไซตใหสมาชิกทุกคน 8.2 ขอเสนอแนะจากผูศึกษา
การพัฒนาการผลิต เชนเครื่องวัดความเปนกรด เปนดางของดิน เปนตน 8.3 ขอเสนอแนะในการศึกษาครั้งตอไป ควรมีการศึกษาเกี่ยวกับ ชนิดพันธุไมที่ สามารถจําหนายไดมากที่สุด ศึกษาเกี่ยวกับคุณ สมบัติของน้ําและปริมาณน้ํา
ที่ใชในแตละป
ศึกษาเกี่ยวกับ ระยะเวลาที่เหมาะสมในการเพาะ พันธุก ลาไมแตละชนิด ศึกษาเกี่ยวกับการเพาะ พันธุและปลูกผักหวาน ซึง่ เปนผักธรรมชาติที่ ปลูกยาก แตเปนที่ตองการของตลาดเปนอยาง มาก
เนื่องจากมีสมาชิกเปนจํานวนมาก ควร มีการแบงสมาชิกเปนกลุมยอย ๆ แลวเลือกตัว แทนมาเปนคณะกรรมการ และใหคณะกรรม การเปนผูดําเนินการในการซื้อ การขาย และหา ชองทางในการเพิ่มมูลคาใหกับสินคา เชนการ เปลี่ยนถุงใหใหญขึ้นตามขนาดตนไม การเสียบ ยอดกิ่งพันธุดีจัดหา หรือผลิตกลาไมใหม ๆ ที่ ตลาดตองการมาจําหนายเพิ่มเติมจากที่มีอยู และ จัดฝกอบรมใหความรูแกสมาชิก อยางตอ เนื่อง จัดหาเครื่องมือ วัสดุอุปกรณ ที่ทันสมัยมาใชใน
เอกสารอางอิง กรมสงเสริมการปกครองสวนทองถิ่น. (2551). มาตรฐานการสงเสริมอาชีพ.พิมพ ครั้งที่ 404 กระทรวงมหาดไทย.พิมพที่ ชุมชนสหกรณการเกษตรแหงประเทศ ไทย. ขนิษฐา สุดเสนห. (2553). การบริหารจัดการ ของกลุมอาชีพ กรณีศึกษากลุมอาชีพทอ ผาพื้นเมืองบานโคกสุวรรณ ตําบล
10
พรรณา อําเภอพรรณานิคม จังหวัด สกลนคร. ผลการรายงานการศึกษา อิสระปริญญารัฐประศาสนศาสตร มหาบัณฑิต สาขาวิชาการปกครอง ทองถิ่น วิทยาลัยการปกครองทองถิ่น มหาวิทยาลัยขอนแกน. ทองพูล วรรณโพธิ.์ (2552).การขยายพันธุพืช . พิมพครั้งที่ 8.กรุงเทพฯ: บริษัท นาคา อินเตอรมีเดีย จํากัด. บุญอนันต พินัยทรัพย และ พลาพรรณ คําพรรณ (2548). ชุมชนเขมแข็ง กระบวนการ สรางสรรค คืนพลังสูชุมชน. คนเมื่อ 25 เมษายน 2554, จาก http://rc.nida.ac.th/ research_detail. php? id=254801. ประภาส สุทธิอาคารและคณะ. (2550).วิสาหกิจ ชุมชน.กรุงเทพฯ:เจริญวิทยการพิมพ. วรรณภา สังเกตุ.(2552). การบริหารจัดการกลุม อาชีพ ศึกษากรณีกลุมขนมหวานบาน ชะอม อําเภอโชคชัย จังหวัด นครราชสีมา.ผลการรายงานการศึกษา อิสระปริญญารัฐประศาสนศาสตร มหาบัณฑิต สาขาวิชาการปกครอง ทองถิน่ วิทยาลัยการปกครองทองถิ่น มหาวิทยาลัยขอนแกน. วีระวัฒน ยาทองไชย. (2553) . การบริหาร จัดการกลุมอาชีพเพาะพันธุกลาไมบาน ดานมวงคํา ตําบลดานมวงคํา อําเภอ โคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร. ผล การรายงานการศึกษา อิสระปริญญารัฐ
ประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา การปกครองทองถิ่น วิทยาลัยการ ปกครองทองถิ่น มหาวิทยาลัย ขอนแกน. สังฆราชสรางโบสถดินถวายในหลวง.เดลินิวส. คนเมื่อ 18 กุมภาพันธ 2554 , จาก http:// www. dailynews.co.th/ newstartpage/printmond.cpm? categorvid=38&contentid=12.