สรุปรายงานผลการดำเนินงานโครงการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการคัดแยกขยะที่ต้นทาง

Page 1


คานา รายงานผลการดาเนินงานโครงการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการคัดแยกขยะที่ต้นทาง ฉบับนี้ได้จัดทาขึ้นหลังจากที่มีการดาเนินโครงการเสร็จสิ้น ๑๔ เดือน (วันเริ่มต้น ๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๘ – วัน สิ้นสุด ๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๙ ) ซึ่งได้รับงบประมาณสนับสนุนจากกองทุนสิ่งแวดล้อม จานวน ๒๔๙,๘๙๐ บาท โดยมีการดาเนินกิจกรรมตามแผนงาน ๔ แผนงาน ได้แก่ การอบรมให้ความรู้การคัดแยกขยะมูลฝอย การคัด แยกขยะอินทรีย์ ขยะรีไซเคิล ขยะอันตราย และขยะทั่วไป การจัดการขยะแต่ละประเภท(เก็บรวบรวม บาบัด หรือกาจัดหรือนาไปใช้ประโยชน์) และการติดตาม ประเมินผล และการถอดบทเรียน ซึ่งได้มีการดาเนินแล้ว เสร็จทั้ง ๔ แผนงาน ดังนั้น เพื่อให้การดาเนินการเป็นไปด้วยความเรียบร้อยและมีประสิทธิภาพสูงสุด สามารถ ติดตาม และประเมิ นผลได้เ ชิง ประจัก ษ์ จึ ง ได้ส รุป ผลการดาเนินโครงการดั ง กล่า วเพื่ อประเมิ น และรายงานต่ อ สานักงานกองทุนสิ่งแวดล้อมาลัยและเป็นแนวทางให้กับองค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อ ในการพัฒนา งานต่อไป องค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อ


สารบัญ หน้า คานา สารบัญ สารบัญตาราง ๑.ชื่อโครงการ ๒. หน่วยงานผูร้ ับผิดชอบ ๓. งบประมาณ ๔. ระยะเวลาการดาเนินโครงการ ๕. สรุปผลการดาเนินโครงการ ๕.๑ วัตถุประสงค์โครงการ ๕.๒ เปูาหมายโครงการ ๕.๓ ผลการดาเนินงาน ๖. ผลลัพธ์ของโครงการ ๗. ผลกระทบของโครงการ ๘. ความต่อเนื่องภายหลังสิ้นสุดโครงการ ๙. ปัญหาอุปสรรค และแนวทางแก้ไข ๑๐. ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะ ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบประเมินผลโครงการตามแผนงานที่ ๑ ภาคผนวก ข แบบประเมินผลโครงการตามแผนงานที่ ๒ และแผนงานที่ ๓ ภาคผนวก ค แบบถอดบทเรียนโครงการ ภาคผนวก ค ระเบียบธนาคารขยะบ้านห้วยยาง ห้วยยางเหนือ หมู่ ๖ ,หมู่ ๙

ก ข ค ๑ ๘ ๘ ๘ ๘ ๘ ๙ ๒๓ ๒๔ ๒๑ ๒๕ ๒๖ ๒๖ ๒๘ ๒๙ ๓๑ ๓๓ ๓๖


สารบัญตาราง หน้า ตารางที่ ๑ แสดงครัวเรือนและจานวนประชากรในพื้นที่ ตารางที่ ๒ แสดงการแยกองค์ประกอบขยะองค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อ ตารางที่ ๓ งบประมาณในการดาเนินโครงการตามแผนงาน ตารางที่ ๔ คณะกรรมการดาเนินโครงการ ตารางที่ ๕ แผนและเปูาหมายการดาเนินโครงการผลการเบิกจ่ายงบประมาณ ตารางที่ ๖ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของระดับความคิดเห็นต่อแผน ๑ ตารางที่ ๗ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของระดับความคิดเห็นต่อ แผน ๒ และ แผน๓ ตารางที่ ๘ ร้อยละแสดงจานวนและร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถามความคิดเห็นจากการถอดบทเรียน ตารางที่ ๙ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของระดับความคิดเห็นจากการถอดบทเรียน

๒ ๓ ๕ ๖ ๙ ๑๖ ๑๘ ๒๐ ๒๑


๑.ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการคัดแยกขยะที่ต้นทาง ๑. หลักการและเหตุผล ๑.๑ ลักษณะทางกายภาพของพื้นที่ ๑.๑.๑ ลักษณะทางกายภาพของพื้นที่ องค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อ มีจานวน ๑๑ หมู่บ้าน มีเนื้อที่ ๓๖ ตารางกิโลเมตร ทิศเหนือ จดพื้นที่ตาบลแมดนาท่ม อาเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ทิศใต้ จดเทือกเขาภูพาน อ.เต่างอย จ.สกลนคร และ อ.ดงหลวง จ.มุกดาหาร ทิศตะวันออก จดพื้นที่ตาบลหนองบ่อ อาเภอนาแก จังหวัดนครพนม ทิศตะวันตก จดพื้นที่ตาบลตองโขบ อาโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร แผนที่ตาบลเหล่าโพนค้อ


ตาบลเหล่าโพนค้อ เป็นชุมชนชนบท มีสภาพทางกายภาพเป็นทีร่ าบเชิงเขา มีพื้นทีเ่ ป็นสภาพปุาที่ไม่ สมบูรณ์ ขนาด ๑๐๐ ไร่ เป็นพื้นที่ทาการเกษตร ๙,๗๘๗ ไร่ มีอ่างเก็บน้า ๒ แห่ง คือ อ่างเก็บน้าห้วยโท-ห้วย ยาง และอ่างเก็บน้าห้วยน้อย เป็นแหล่งต้นน้าลาห้วย ๒ สาย คือ ลาห้วยยาง และลาห้วยทราย มีโรงเรียน ระดับประถมศึกษา จานวน ๓ แห่ง มีตลาด ๒ แห่ง มีศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก ๓ แห่ง ๑.๑.๒ ลักษณะสังคม มีจานวนประชากร ๕,๖๘๔ คน จานวนครัวเรือน ๑,๙๑๑ ครัวเรือน จานวนประชากรแฝงในพื้นที่ ประมาณ ๑๐๐ คน การประกอบอาชีพของคนในชุมชนส่วนใหญ่ อาชีพหลักคือ การทานา อาชีพรองคือ การเลี้ยงสัตว์ ตารางที่ ๑ แสดงครัวเรือนและจานวนประชากรในพื้นที่ บ้าน

หมู่ที่

โพนค้อ โพนไฮ ดง หนองเหียน เหล่า ห้วยยาง เหล่าเหนือ ดงน้อย ห้วยยางเหนือ โพนสูง น้อยหนองไผ่สวน รวม

๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๑

จานวน ครัวเรือน ๒๒๓ ๙๖ ๙๙ ๑๘๐ ๑๗๑ ๒๗๒ ๑๑๗ ๑๒๓ ๒๘๕ ๒๗๙ ๖๖ ๑,๙๑๑

ชาย ๓๐๒ ๑๔๕ ๑๖๕ ๓๐๖ ๒๒๕ ๔๗๕ ๑๗๙ ๑๔๗ ๔๔๗ ๓๒๑ ๑๐๙ ๒,๘๒๑

จานวนประชากร หญิง ๓๒๕ ๑๒๙ ๑๔๐ ๓๔๖ ๒๔๒ ๔๖๔ ๑๙๒ ๑๘๙ ๔๒๐ ๓๐๒ ๑๑๔ ๒,๘๖๓

รวม ๖๒๗ ๒๗๔ ๓๐๕ ๖๒๕ ๔๖๗ ๙๓๙ ๓๗๑ ๓๓๖ ๘๖๗ ๖๒๓ ๒๒๓ ๕,๖๘๔

ที่มา : ข้อมูลสานักทะเบียนอาเภอโคกศรีสุพรรณ ณ วันที่ ๑๕ เดือน พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๕๘ ๑.๒ สภาพปัญหาในพื้นที่ดาเนินโครงการ ๑.๒.๑ องค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อ มีปริมาณขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นประมาณ ๒ ตันต่อวัน การ จัดการขยะในพื้นที่ ในขณะนี้ยังไม่มีการเก็บขนขยะ และไม่มีสถานที่กาจัดขยะมูลฝอยรวม ให้ทุกครัวเรือนกาจัด ขยะในพื้นที่ของตนเอง ซึ่งบางครัวเรือนไม่มีพื้นที่เพียงพอในการกาจัดขยะ ทาให้มีการนาขยะไปทิ้งในสาธารณะเช่น ปุาช้า , ปุาชุมชน เป็นต้น โดยพื้นที่ดาเนินโครงการที่คัดเลือกเป็นชุมชนเปูาหมาย คือ บ้าน ห้วยยาง และบ้าน ห้วยยางเหนือ มีปัญหาการสะสมขยะมากที่สุด เนื่องจากเป็นหมู่บ้านที่มีสถานที่ท่องเที่ยวอาทิเช่น อุโบสถดิน แห่งแรกในประเทศไทย อ่างเก็บน้าห้วยโท – ห้วยยาง และ น้าตกศรีตาดโตน ทาให้มีจานวนนักท่องเที่ยวเข้า มาในพื้นที่จานวนมาก นับตั้งแต่มีการก่อสร้างอุโบสถดินและเปิดการท่องเที่ยวอย่างเป็นทางการทาให้มีจานวน ขยะเพิ่มมากขึ้นตามสถานที่ท่องเที่ยวต่างๆ และบ้านห้วยยางยังเป็นหมู่บ้านที่มีการเพาะพันธุ์กล้าไม้จาหน่าย มากที่สุดในภาคอีสานตอนบน โดยเฉลี่ยประมาณ ๓๐ ล้านต้นต่อปี ทาให้มีขยะที่เกิดขึ้นจากการเพาะชากล้า ไม้และพ่อค้า ประชาชนที่เข้ามาซื้อกล้าไม้ในพื้นที่ นอกจากนี้บ้านห้วยยางยังเป็นหมู่บ้านที่มีการจัดตลาดนัด บ่อยที่สุดและมีตลาดนัดถึง ๒ แห่ง เฉลี่ยใน ๑ สัปดาห์มีการจัดตลาดถึงนัด ๔ วัน ทาให้บ้านห้วยยางทั้งสองหมู่ มีขยะที่เกิดขึ้นโดยเฉลี่ยมากกว่าหมูบ่ ้านอื่นๆในตาบลเหล่าโพนค้อ และมีปัญหาขยะสะสมตามที่สาธารณะมาก ที่สุดทั้งขยะอินทรีย์ที่เป็นเปลือกผลไม้จากการคั้นเอาเมล็ดและขยะทั่วไปจากวัสดุเพาะชา จากนักท่องเที่ยว ๒


พ่อค้า ประชาชนที่เข้ามาท่องเที่ยว มาซื้อกล้าไม้ และมาจ่ายตลาดนัด ทาให้มีปริมาณขยะมูลฝอยเกิดขึ้นเฉลี่ย ประมาณ ๑ ตันต่อวัน ๑.๒.๒ ปัญหาการจัดการขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน ในพื้นที่ตาบลเหล่าโพนค้อ ปัญหาขยะมูล ฝอยในพื้นที่ ส่วนใหญ่ที่พบมักจะมีการนาขยะไปทิ้งไว้ตามพื้นที่สาธารณะ เช่น ปุาช้า ปุาชุมชน และลาห้วย เป็นต้น และมักพบมากขึ้นเรื่อยๆ ตามการเพิ่มขึ้นของประชากร และความเจริญของหมู่บ้าน ที่มีความสะดวก ในการเข้าไปจับจ่ายซื้อสินค้า ทั้งในห้างและตลาดนัด ทาให้มีขยะเกิดขึ้นตามมามากมาย โดยเฉพาะบ้านห้วย ยางซึ่งเป็นหมู่บ้านที่มีประชากรมากที่สุดและอยู่กันอย่างหนาแน่น ทาให้ประสบปัญหาในเรื่องพื้นที่ในการ จัดการขยะของครัวเรือน ประกอบกับ องค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อนั้นมีงบประมาณไม่ เพียงพอใน การที่จะดาเนินการให้มีระบบเก็บขนและจัดการขยะอย่างเป็นรูปธรรม จึงทาให้เกิดปัญหาการลักลอบนาขยะ ไปทิ้งในที่สาธารณะ และเกิดปัญหาร้องเรียนตามมาจากการกองสะสมของขยะและส่งกลิ่นเหม็นรบกวนผู้ที่ อาศัยอยู่ในบริเวณนั้นและผู้ที่สัญจรผ่านไปมา การแยกองค์ประกอบขยะองค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อ อาเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ในโครงการการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการคัดแยกขยะที่ต้นทาง ขยะอินทรียม์ ีปริมาณมากที่สุด ๖๑.๒๖ % ขวดแตกรวม ๑๐.๗๑ % ขยะทั่วไป ๙.๙๘ % ขวด พลาสติกรวม ๘.๕๒ % ขวดพลาสติกใส ๔.๗๘ % เศษผ้า ๑.๙๕ % กระดาษ ๑.๑๔ % ขยะอันตราย ๐.๗๔ % กล่องนม ๐.๖๒ % สังกะสี ๐.๒๙ % ตามลาดับ ซึ่งอัตราการเกิดขยะวันที่ ๗ เท่ากับ ๐.๑๐ กก./คน/วัน วันที่ ๘ เท่ากับ ๐.๑๓ กก./คน/วัน และ วันที่ ๙ เท่ากับ ๐.๑๑ กก./คน/วัน ดังแสดงตามรายละเอียดดังต่อไปนี้ ตารางที่ ๒ แสดงการแยกองค์ประกอบขยะองค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อ อาเภอโคกศรี สุพรรณ จังหวัดสกลนคร วัน/เดือน/ปี (น้าหนักขยะ) ประเภทขยะ ร้อยละค่าเฉลี่ย ๗/๓/๒๕๕๙ ๘/๓/๒๕๕๙ ๙/๓/๒๕๕๙ ขยะทั่วไป ๓.๘ ๘ ๗.๘๐ ๙.๙๘ กล่องนม ๐.๔ ๐.๔๐ ๐.๔๐ ๐.๖๒ กระดาษ ๐.๒ ๑.๘๐ ๐.๔๐ ๑.๑๔ ขวดแตกรวม ๖.๔ ๑๒.๔๐ ๒.๘ ๑๐.๗๑ สังกะสี ๐.๒ ๐.๔๐ ๐.๒๙ ขวดพลาสติกใส ๓.๕ ๓.๒๐ ๒.๕ ๔.๗๘ ขยะอันตราย ๐.๒ ๑.๔๐ ๐.๗๔ ขวดพลาสติกรวม ๕.๘ ๖.๘๐ ๔ ๘.๕๒ เศษผ้า ๒.๘ ๐.๘๐ ๑.๙๕ ขยะอินทรีย์ ๓๕.๔ ๓๙.๒ ๔๓.๔๐ ๖๑.๒๖ รวมปริมาณขยะ(กก.) ๕๘.๗ ๗๔.๔ ๖๑.๓๐ ๑๐๐.๐๐ หมายเหตุ : ชุมชนระดับ อบต.อัตราการผลิตขยะ ๐.๔ กก./คน/วัน(สมทิพย์ ด่านธีรวนิชย์,๒๕๔๑)จานวน ประชากรตามทะเบียนราษฎร์ ๕๖๐ คน (องค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อ ตาบลเหล่าโพนค้อ อาเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ๓


๒.วัตถุประสงค์ ๒.๑ ให้ความรู้การคัดแยกประเภทขยะมูลฝอยกับชุมชน หมู่บ้าน สถานศึกษา ตลาดสด ฯลฯ ๒.๒ ให้มีการคัดแยกและกระบวนการจัดการขยะอินทรีย์ ขยะรีไซเคิล ขยะอันตราย ขยะทั่วไป เพื่อลด ปริมาณขยะในชุมชนเปูาหมาย ๒.๓ ให้มีชุมชน/กลุ่มเปูาหมายนาร่อง ในการคัดแยกขยะจากต้นทาง เพื่อใช้เป็นต้นแบบในการขยายผลสู่ ชุมชนอื่นๆ ต่อไป ๒.๔ ให้ชุมชนต้นแบบสามารถลดปริมาณขยะที่ต้องนาไปกาจัดลงได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๓๕ ของปริมาณ ขยะที่เกิดขึ้นก่อนเริ่มดาเนินโครงการ ๓.พื้นที่ดาเนินโครงการและกลุ่มเป้าหมาย ๓.๑ พื้นที่ดาเนินโครงการ ๑) จานวน ๒ หมู่บ้าน คือ บ้านห้วยยาง หมู่ ๖ และบ้านห้วยยางเหนือ หมู่ ๙ จานวนครัวเรือนที่เข้า ร่วมโครงการ ๕๕๗ ครัวเรือน จานวนประชากร ๑,๘๐๖ คน ๒) จานวนโรงเรียน ๑ แห่ง มีจานวนนักเรียน ๒๓๔ คน ครู ๑๖ คน ๓) จานวนตลาดนัด ๒ แห่ง ได้แก่ตลาดวัดโพธิ์ชัย และตลาดหนองไผ่ ๔) จุดชมวิวอ่างเก็บน้าห้วยโท – ห้วยยางและวัด ๓ แห่ง ๕) ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านห้วยยางเหนือ หมู่ ๙ ๓.๒ แผนที่แสดงพื้นที่ดาเนินโครงการ แสดงที่ตั้งจุดรับซื้อและรวบรวมขยะอันตราย จุดก่อตั้งธนาคาร ขยะในโรงเรียน จุดเรียนรู้การจัดการปุ๋ยอินทรีย์ และจุดสร้างบ่อแก๊สชีวภาพ

ภาพแสดงแผนที่ พื้นที่ดาเนินโครงการบ้านห้วยยาง หมู่ ๖ และบ้านห้วยยางเหนือ หมู่๙ ๓.๓ กลุ่มเปูาหมาย ๔


กลุ่มเปูาหมาย คือ บ้านห้วยยางและบ้านห้วยยางเหนือ แยกเป็นประชาชนในหมู่บ้าน จานวน ๑,๘๐๖ คน ๕๕๗ ครัวเรือน ครู ๑๖ คน นักเรียน จานวน ๒๕๐ คน และศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านห้วยยางเหนือ ๓.๔ระยะเวลาดาเนินโครงการ ๑๔ เดือน (วันเริม่ ต้น ๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๘ – วันสิ้นสุด ๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๙) ๔. วงเงินงบประมาณ จานวน ๒๔๙,๘๙๐ บาท ตารางที่ ๓ งบประมาณในการดาเนินโครงการตามแผนงาน งบกองทุนฯ (บาท) รวมงบ งบสมทบ(ถ้ามี) ทั้งโครงการ (บาท) ปีที่ ๑ ปีที่ ๒ รวม

งบประมาณ/แผนงาน/กิจกรรม

แผนงานที่ ๑ การอบรมให้ความรู้การคัดแยกประเภทขยะมูลฝอย ๑.๑ การอบรมให้ความรู้เรื่องการคัดแยกขยะแก่ผู้เข้าร่วมโครงการใน ชุมชนพื้นที่เปูาหมาย ........ ....... - ค่าเอกสาร (๕๖๐ เล่มๆละ ๒๐ บาท = ๑๑,๒๐๐ บาท) ๑๑,๒๐๐ ........ . - ค่าอาหาร ( ๕๖๐ คน x ๗๕.บาท x ๑ มื้อ/วัน = ๔๒,๐๐๐ บาท) ๔๒,๐๐๐ ....... - ค่าวิทยากร เหมาจ่าย ๑,๐๐๐ บาท x ๓ = ๓,๐๐๐ บาท) ๓,๐๐๐ . - ค่าปูายโครงการ ขนาด ๑ × ๓ เมตร = ๔๕๐ บาท ๔๕๐ รวม ๕๖,๖๕๐ ๑.๒ การจัดทาสื่อประชาสัมพันธ์ - ค่าแผ่นพับจานวน ๕๖๐ แผ่นๆละ ๒ บาท = ๑,๑๒๐ บาท ๑,๑๒๐ - ค่าปูายผ้าไวนิล ๑ ปูาย ขนาด ๒ × ๓ เมตร = ๙๐๐ บาท ๙๐๐ รวม ๒,๐๒๐ ๑.๓ การศึกษาดูงานในพื้นที่/ชุมชนใกล้เคียง (จัดให้กับผู้เข้าร่วม โครงการในชุมชนพื้นที่เปูาหมาย) - ค่ารถ ไปศึกษาดูงานเทศบาลตาบลพันนา จานวน ๒ คัน ๆละ ๓,๐๐๐ = ๖,๐๐๐ บาท ๖,๐๐๐ - ค่าอาหาร จานวน ๘๐ คนๆละ ๑๐๐ = ๘,๐๐๐ บาท ๘,๐๐๐ - ค่าของที่ระลึก = ๕๐๐ บาท ๕๐๐ รวม ๑๔,๕๐๐ รวมงบแผนงานที่ ๑ ๗๓,๑๗๐ แผนงานที่ ๒ การคัดแยกขยะอินทรีย์ ขยะรีไซเคิล ขยะอันตราย และขยะทั่วไป โดยชุมชน สถานประกอบการ หรือ สถาบันการศึกษา/ โรงเรียน ๒.๑ การคัดแยกขยะอินทรีย์ - สนับสนุนค่าจัดซื้อไม้ไผ่ ตะปู สาหรับทาคอกปุ๋ยหมักให้กับทุก ๑๒๕,๖๐๐ ครัวเรือนและ โรงเรียน ๕๗๘ คอกๆละ ๒๐๐ บาทและสร้างจุดสาธิต บ่อแก๊สชีวภาพจานวน ๒ บ่อๆละ ๕,๐๐๐ บาท รวม ๑๒๕,๖๐๐ ๒.๒ การคัดแยกขยะรีไซเคิล - ค่าจัดซื้อชุดถังคัดแยกขยะรีไซเคิล จานวน ๗ ชุดๆละ ๔,๐๐๐ บาท ๒๘,๐๐๐ รวม ๒๘,๐๐๐ ๒.๓ การคัดแยกขยะอันตรายค่าจัดซื้อถังพลาสติกพร้อมฝาปิดเพื่อ เก็บขยะอันตราย จานวน ๑๒ ถังๆละ ๑,๐๐๐ บาท ๑๒,๐๐๐ รวม ๑๒,๐๐๐ ๒.๔ การคัดแยกขยะทั่วไปประชาสัมพันธ์ให้มีการคัดแยกขยะจากต้น


งบกองทุนฯ (บาท) รวมงบ งบสมทบ(ถ้ามี) ทั้งโครงการ (บาท) ปีที่ ๑ ปีที่ ๒ รวม ๐.๐๐ รวม ๐.๐๐ รวมงบแผนงานที่ ๒ ๑๖๕,๖๐๐

งบประมาณ/แผนงาน/กิจกรรม ทาง(ไม่ได้ใช้จ่ายงบประมาณ)

แผนงานที่ ๓ การจัดการขยะแต่ละประเภท (เก็บรวบรวม บาบัด หรือกาจัด หรือนาไปใช้ประโยชน์) ๓.๑ การจัดการขยะอินทรีย์(ไม่ได้ใช้จ่ายงบประมาณ)มีการคัดแยก ๐.๐๐ ขยะอินทรีย์เพื่อทาปุ๋ยหมักและปุ๋ยชีวภาพ รวม ๐.๐๐ ๓.๒การจัดการขยะรีไซเคิล มีคัดแยกขยะรีไซเคิลจาหน่าย ณ จุดรับ ซื้อทุกวันที่ ๕ ของเดือน ๓.๒ การจัดการขยะอันตรายมีการคัดแยกขยะอันตรายรวบรวมใส่ถัง ๐.๐๐ พลาสติก ณ จุดรับซื้อ รวม ๐.๐๐ รวมงบแผนงานที่ ๓ ๐.๐๐ แผนงานที่ ๔ การติดตาม ประเมินผล และการถอดบทเรียน ๔.๑ การติดตาม ประเมินผล - ค่าเอกสารแบบประเมินติดตามโครงการ จานวน ๕๖๐ ชุดๆละ ๒ บาท = ๑,๑๒๐ บาท ๑,๑๒๐ ๔.๒ การถอดบทเรียน สรุปผล และการจัดทารายงาน - ค่าอาหาร อาหารว่าง จัดประชุมถอดบทเรียน จานวน ๘๐ คนๆ ละ ๑๐๐ บาท = ๘,๐๐๐ บาท ๘,๐๐๐ - ค่าเอกสารจัดประชุมถอดบทเรียน ๒,๐๐๐ บาท ๒,๐๐๐ รวมงบแผนงานที่ ๔ ๑๑,๑๒๐ รวมงบประมาณทั้งโครงการ ๒๔๙,๘๙๐

๕. การบริหารโครงการ ๕.๑ โครงสร้างการบริหารโครงการ ๕.๑.๑ คณะกรรมการบริหารโครงการ ตารางที่ ๔ คณะกรรมการดาเนินโครงการ ชื่อ-สกุล นายสาคร ยางธิสาร นางสุนันท์ หลวงศรี นายทวีชัย ยางธิสาร นายพายัพ ยางธิสาร นายเวียง ยางธิสาร นายสนที ยางธิสาร นายสมัย คาภูษา นายยุวัฒนา โต๊ะชาลี นายเสรีไทย ฮ่มปุา นายเกียรติศักดิ์ ขันทีท้าว

ตาแหน่ง ประธานโครงการ คณะกรรมการโครงการ คณะกรรมการโครงการ คณะกรรมการโครงการ คณะกรรมการโครงการ คณะกรรมการโครงการ คณะกรรมการโครงการ คณะกรรมการโครงการ คณะกรรมการโครงการ เลขานุการโครงการ

หน่วยงานต้นสังกัด บ้านห้วยยาง หมู่ ๖ โรงเรียนบ้านห้วยยาง บ้านห้วยยางเหนือ หมู่ ๙ บ้านห้วยยาง หมู่ ๖ บ้านห้วยยาง หมู่ ๖ บ้านห้วยยางเหนือ หมู่ ๙ บ้านห้วยยาง หมู่ ๖ บ้านห้วยยางเหนือ หมู่ ๙ บ้านห้วยยางเหนือ หมู่ ๙ อบต.เหล่าโพนค้อ

สถานที่ตดิ ต่อ/เบอร์โทรศัพท์ ๐๘๔ – ๗๙๑๒๔๐๒ ๐๘๑ – ๘๗๑๗๘๐๓ ๐๘๕ – ๖๙๖๖๘๕๓

๐๘๙ – ๕๗๒๑๐๓๘


บทบาทและหน้าที่ ๑. วางแผนการดาเนินงาน และควบคุมกากับให้การดาเนินงานโครงการมีประสิทธิภาพ ๒. ดาเนินกิจกรรมให้เป็นไปตามแผนด้วยความเรียบร้อย และบรรลุวัตถุประสงค์ของโครงการ ๓. ติดตามนิเทศโครงการ ๕.๑.๒ ผู้ประสานงานโครงการ (เจ้าหน้าที่ ทต./อบต.) ชื่อ-สกุล นายเกียรติศักดิ์ ขันทีท้าว

วุฒิการศึกษา ปริญญาโท

ประสบการณ์การทางานด้านสิ่งแวดล้อม ๒ ปี

เบอร์โทรศัพท์ ๐๘๙ – ๕๗๒๑๐๓๘

บทบาทและหน้าที่ ๑. ติดต่อ ประสานงานโครงการ ให้มี ก ารดาเนินงานเป็นไปตามแผนงานโครงการด้วยความ เรียบร้อย ๕.๒ แนวทางการบริหารโครงการเพื่อให้เกิดความต่อเนื่องยั่งยืนของโครงการ ระบุแนวทางให้ชัดเจนว่า หลังจากโครงการสิ้นสุดแล้ว จะมีการถ่ายทอดงาน ขับเคลื่อนโครงการ ต่อเนื่องอย่างไร และกลุ่มต่างๆ ที่เกิดขึ้นจะสามารถดาเนินงานต่อเนื่องหลังสิ้นสุดโครงการได้อย่างไร ๖. ผลประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ (ทั้งในระดับพื้นที่โครงการ และในภาพรวมของสังคม) ๖.๑ ผลประโยชน์ต่อประชาชนและชุมชน (๑) ประชาชนมีความรู้ และทักษะ สามารถคัดแยกและจัดการขยะแต่ละประเภทได้อย่างเหมาะสม (๒) ช่วยลดปัญหาปริมาณขยะ ปัญหาไม่มีที่กาจัดขยะ และปัญหาเกี่ยวกับสุขภาวะของประชาชนใน พื้นที่ (๓) เกิดชุมชนต้นแบบที่สามารถถ่ายทอดความรู้ และทักษะในการคัดแยกประเภทขยะสู่ชุมชนอื่นๆ ๖.๒ ผลประโยชน์ต่อทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (๑) สภาพแวดล้อมในพื้นที่ชุมชนต้นแบบมีความสะอาดปราศจากขยะมูลฝอย (๒) ลดการทาลายทรัพยากรดินในพื้นที่จากการกาจัดขยะด้วยวิธีการเผา (๓) ลดการปนเปื้อนสิ่งสกปรกลงสู่ทรัพยากรน้าในพื้นที่จากน้าชะขยะที่ไม่ได้กาจัดอย่างเหมาะสม


๒. หน่วยงานผู้รับผิดชอบโครงการ องค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อ ๓. งบประมาณ ๓.๑ งบประมาณโครงการ ๓.๒ งบประมาณทีก่ องทุนจัดสรรให้ ๓.๓ งบประมาณอื่นสมทบ ๓.๔ เบิกจ่ายจากกรมบัญชีกลาง ๓.๕ จ่ายจริง ๓.๖ ส่งเงินคืนกองทุน รวม ๑. เงินคืน ๒. ดอกเบี้ยธนาคาร

๓๘๘,๘๙๐ ๒๔๙,๘๙๐ ๒๔๙,๘๙๐ ๒๔๙,๘๙๐ ๖๖๙.๗๔ ๖๖๙.๗๔

บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท

๔. ระยะเวลาการดาเนินโครงการ วันเริ่มต้น ๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๘ – วันสิ้นสุด ๓๐ เมษายน ๒๕๖๐ รวม ๕๔๖ วัน ๕. สรุปผลการดาเนินโครงการ ๕.๑วัตถุประสงค์โครงการ ๕.๑.๑ ให้ความรู้การคัดแยกประเภทขยะมูลฝอยกับชุมชน หมู่บ้าน สถานศึกษา ตลาดสด ฯลฯ ๕.๑.๒. ให้มีการคัดแยกและกระบวนการจัดการขยะอินทรีย์ ขยะรีไซเคิล ขยะอันตราย ขยะทั่วไป เพื่อลดปริมาณขยะในชุมชนเปูาหมาย ๕.๑.๓ ให้มีชุมชน/กลุ่มเปูาหมายนาร่อง ในการคัดแยกขยะจากต้นทาง เพื่อใช้เป็นต้นแบบในการ ขยายผลสู่ชุมชนอื่นๆ ต่อไป ๕.๑.๔ ให้ชุมชนต้นแบบสามารถลดปริมาณขยะที่ต้องนาไปกาจัดลงได้ ไม่ น้อยกว่าร้อยละ ๓๕ ของปริมาณขยะที่เกิดขึ้นก่อนเริ่มดาเนินโครงการ


๕.๒ เป้าหมายโครงการ ตารางที่ ๕ แผนและเปูาหมายการดาเนินโครงการ แผนงาน/กิจกรรม

วิธีการดาเนินงาน

กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่เป้าหมาย

ผลผลิตที่ได้จากการดาเนินงาน

แผนงานที่ ๑ การอบรมให้ความรู้การคัดแยกประเภทขยะมูลฝอย ๑.๑ การอบรมให้ความรู้เรื่องการคัดแยกขยะ ฝึกอบรมให้ความรู้การคัดแยกขยะโดย ประชาชนบ้านห้วยยาง ๕๕๗ ครัวเรือน ประชาชน ครู นักเรียนมีความรู้ในการ เจ้าหน้าที่จากสาธารณสุขอาเภอโคกศรีสุพรรณ ครู ๑๖ คน และนักเรียน ๒๕๐ คน คัดแยกขยะจากต้นทาง ณ ตลาดชุมชน วัดโพธิ์ชัย ๑.๒ การจัดทาสื่อประชาสัมพันธ์ จัดทาสมุดคู่มือการคัดแยกขยะ ปูายผ้าไวนิล เพื่อแจกคู่มือให้กับทุกครัวเรือน ครูและ ประชาชน ครู นักเรียนมีคู่มือ มีความรู้ โดยคณะกรรมการโครงการฯเพื่อให้ความรู้ขยะ นักเรียน และติด ปูายรณรงค์ใ นสถานที่ เพื่อใช้เป็นแนวทางในการคัดแยกขยะ ชนิดต่างๆและการคัดแยก รับซื้อขยะ ๑.๓ การศึกษาดูงานในพื้นที่/ชุมชนใกล้เคียง คณะกรรมการโครงการฯ นาตัวแทนประชาชน ตัวแทนประชาชน ครู นักเรีย นจานวน ได้แ นวคิ ด วิธีการดาเนินการธนาคาร ครู นักเรียน ศึกษาดูงานการจัดการขยะ ณ ๘๐ คน ณ เทศบาลตาบลพันนา ขยะมาดาเนินการในพื้นที่ เทศบาลตาบลพันนา แผนงานที่ ๒ กิจกรรมการคัดแยกขยะอินทรีย์ ขยะรีไซเคิล ขยะอันตราย และขยะทั่วไป โดยชุมชน สถานประกอบการ หรือ สถาบันการศึกษา/โรงเรียน ๒.๑ การคัดแยกขยะอินทรีย์ ทุกครัวเรือนมีการคัดแยกขยะอินทรีย์เพื่อทาปุ๋ย จานวน ๕๕๗ ครัวเรือน โรงเรียน ลดปริมาณขยะได้ ๔๐๐ กิโลกรัม ต่อ หมัก โรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก คัดแยกขยะ จานวน ๑ โรงเรียน ๑ ศูนย์พัฒนาเด็ก วัน และเกิดการเรียนรู้การผลิตแก๊ส อินทรีย์ ส่วนหนึ่งทาปุ๋ยหมัก ส่วนหนึ่งเพื่อผลิต เล็ก ชีวภาพเพื่อลดค่าใช้จ่ายในครัวเรือน แก๊สชีวภาพ ครัวเรือนที่เพาะพันธุ์กล้าไม้คัดแยก เปลือกผลไม้เพื่อรวบรวมนาไปทาแก๊สชีวภาพ ที่ ศูนย์เรียนรู้เกษตรผสมผสาน ๒.๒ การคัดแยกขยะรีไซเคิล มีการคัดแยกขยะรีไซเคิลจากครัวเรือน โรงเรียน จานวน ๕๕๗ ครัวเรือน โรงเรียน ลดปริมาณขยะได้ ๓๐๐ กิโลกรัมต่อวัน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเพื่อรวบรวมไว้จาหน่ายทุก จานวน ๑ โรงเรียนและ ๑ ศูนย์พัฒนา เดือน เด็กเล็ก ๒.๓ การคัดแยกขยะอันตราย ทุกครัวเรือน โรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก มีการ จานวน ๕๕๗ ครัวเรือน โรงเรียน ลดปริมาณขยะได้ ๕๐ กิโลกรัมต่อวัน คัดแยกขยะอันตรายเพื่อนามาเก็บรวบรวมในถัง จานวน ๑ โรงเรียนและ ๑ ศูนย์พัฒนา พลาสติกที่มีฝาปิดในศูนย์รับซื้อ เด็กเล็ก


แผนงาน/กิจกรรม ๒.๔ การคัดแยกขยะทั่วไป

วิธีการดาเนินงาน

กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่เป้าหมาย

ผลผลิตที่ได้จากการดาเนินงาน

ทุกครัวเรือน โรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก มี การคัดแยกขยะทั่วไป

จานวน ๕๕๗ ครัวเรือน โรงเรียน จานวน ๑ โรงเรียนและ ๑ ศูนย์พัฒนา เด็กเล็ก

ลดปริมาณขยะได้ ๒๕๐ กิโลกรัมต่อวัน

จานวน ๕๕๗ ครัวเรือน โรงเรียน จานวน ๑ โรงเรียน ๑ ศูนย์พัฒนาเด็ก เล็ก

ลดปริมาณขยะได้ ๔๐๐ กิโลกรัม ต่อ วัน

แผนงานที่ ๓ การจัดการขยะแต่ละประเภท (เก็บรวบรวม บาบัด หรือกาจัด หรือนาไปใช้ประโยชน์) ๓.๑ การจัดการขยะอินทรีย์ ทุกครัวเรือน โรงเรียน และศูนย์พัฒนาเด็กเล็กนา ขยะอินทรีย์ไปหมักทาปุ๋ยในคอกปุ๋ยหมักของตน สมาชิกกลุ่มกล้าไม้ที่มีเปลือกผลไม้ที่เหลือจาก การบีบเอาเมล็ดชีวภาพ และโรงเรียนที่มีเศษ อาหาร นาไปหมักเป็นแก๊สชีวภาพ ๓.๒ การจัดการขยะรีไซเคิล ทุกครัวเรือน โรงเรียน และศูนย์พัฒนาเด็ กเล็ก นาขยะรีไชเคิลที่รวบรวมไว้มาจาหน่ายทุกเดือน

จานวน ๕๕๗ ครัวเรือน โรงเรียน ลดปริมาณขยะได้ ๓๐๐ กิโลกรัมต่อวัน จานวน ๑ โรงเรียนและ๑ ศูนย์พัฒนา เด็กเล็ก ๓.๓ การจัดการขยะอันตราย ทุกครัวเรือน โรงเรียน และศูนย์พัฒนาเด็กเล็กนา จานวน ๕๕๗ ครัวเรือน โรงเรียน ลดปริมาณขยะได้ ๕๐ กิโลกรัมต่อวัน ขยะอันตรายมาส่งที่ศูนย์รับซื้อ เพื่อรวบรวมนาส่ง จานวน ๑ โรงเรียนและ ๑ศูนย์พัฒนา เทศบาลนครสกลนครนาส่งกาจัดต่อไป เด็กเล็ก ๓.๔ การจัดการขยะทั่วไป ทุกครัวเรือน โรงเรียน และศูนย์พัฒนาเด็กเล็กนา จานวน ๕๕๗ ครัวเรือนโรงเรียนจานวน ลดปริมาณขยะได้ ๒๕๐ กิโลกรัมต่อวัน ขยะทั่วไปเผาทาลาย ณ จุดเผาขยะของหมู่บ้ าน ๑ โรงเรียนและ ๑ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียน แผนงานที่ ๔ การติดตาม ประเมินผล และการถอดบทเรียน ๔.๑ การติดตาม ประเมินผล มีการติดตามประเมินผล การดาเนินกิจกรรมตาม จานวน ๕๕๗ ครัวเรือนโรงเรียนจานวน ทาให้ทราบถึงผลสาเร็จของการดาเนิน โครงการ ทุก ๓ เดือน ๑ โรงเรียนและ ๑ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โครงการ ๔.๒ การถอดบทเรียน สรุปผล และการจัดทารายงาน

จัดประชุมตัวแทนสมาชิก และคณะกรรมการ ดาเนินงานรวมทั้งโรงเรียนเพื่อถอดบทเรียนการ ดาเนินงาน

๑๐

กลุ่มเปูาหมายจานวน ๘๐ คน

ทาให้ได้แนวทางการดาเนินโครงการ เพื่อขยายผลไปยังหมู่บ้านอื่นๆ


๕.๓ ผลการดาเนินงาน จากปัญหาขยะในพื้นที่ ที่เริ่มจะมีปัญหามากขึ้นตามการขยายตัวของชุมชน องค์การบริหารส่วน ตาบลเหล่าโพนค้อได้พยายามดาเนินกิจกรรมหลายๆอย่าง เพื่อแก้ปัญหาที่เกิดขึ้น แต่ก็ไม่สามารถแก้ปัญหาได้ อย่างมีประสิทธิภาพ เนื่องจากขาดการมีส่วนร่วมจากภาคประชาชน องค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อจึง มีความจาเป็นต้องดาเนินโครงการเชิงรุกส่งเสริมการมีส่วนร่วมของหมู่บ้านในการคัดแยกขยะที่ต้ นทาง เพื่อ แก้ ไขปัญหาการจัดการขยะมู ล ฝอยในพื้นที่ บ้านห้วยยางและขยายผลไปยัง หมู่ บ้านอื่นๆ อีก ๑๐ หมู่บ้าน รวมทั้งโรงเรียนในพื้นที่ตาบลเหล่าโพนค้อ เพื่อรณรงค์/ส่งเสริมให้ประชาชน/เยาวชน เข้ามามีส่วนร่วมในการ จัดการขยะมูลฝอย โดยการคัดแยกและจัดการประเภทขยะมูลฝอย (ขยะอินทรีย์ ขยะรีไซเคิล ขยะอันตราย ขยะ ทั่วไป) ที่เกิดขึ้นจากแหล่งกาเนิดภายในหมู่บ้านของตนเองได้ และสามารถเป็นต้นแบบให้แก่หมู่บ้านอื่นๆ ภายในเขตพื้นที่ โดยองค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อได้รับงบประมาณในการดาเนินโครงการส่งเสริม การมี ส่วนร่วมของชุม ชนในการคัด แยกขยะที่ ต้นทาง จ านวน ๒๔๙,๘๙๐ บาท โดยแยกดาเนินการตาม แผนงานดังนี้ แผนงานที่ ๑ การอบรมให้ความรู้เรื่องการคัดแยกขยะแก่ผู้เข้าร่วมโครงการในชุมชนพื้นที่เป้าหมาย ๑.๑ การอบรมให้ความรู้เรื่องการคัดแยกขยะแก่ผู้เข้าร่วมโครงการในชุมชนพื้นที่เป้าหมาย โดยแบ่งการอบรมออกเป็น ๓ วัน ระหว่างวันที่ ๒๓ – ๒๖ มีนาคม ๒๕๕๙ มีกลุ่มเปูาหมายเป็น ประชาชนบ้านห้วยยาง หมู่ ๖ บ้านห้วยยางเหนือ หมู่ ๙ และนักเรียน ครู โรงเรียนบ้านห้วยยาง รวมจานวน ทั้งหมด ๕๖๐ คน สาเร็จตามตัวชี้วัดร้อยละ ๖๘.๐๔

๑๑


๑.๒ การจัดทาสื่อประชาสัมพันธ์ ดาเนินการจัดทาสมุดคู่มอื การคัดแยกขยะจานวน ๕๖๐ เล่ม แผ่นพับ จานวน ๕๖๐ แผ่น และปูาย เชิญชวนเข้าร่วมโครงการจานวน ๑ ปูาย สาเร็จตามตัวชี้วัดร้อยละ ๑๐๐

๑.๓ การศึกษาดูงานในพื้นที่/ชุมชนใกล้เคียง จัดให้มีการศึกษาดูงาน ณ เทศบาลตาบลพันนา อาเภอสว่างแดนดิน ในวันที่ ๕ เมษายน ๒๕๕๖ มีผู้ ร่วมศึกษางานจานวน ๘๐ คน สาเร็จตามตัวชี้วัดร้อยละ ๑๐๐

๑๒


แผนงานที่ ๒ การคัดแยกขยะอินทรีย์ ขยะรีไซเคิล ขยะอันตราย และขยะทั่วไป ๒.๑ การคัดแยกขยะอินทรีย์ จัดซื้อวงบ่อซีเมนต์ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง ๘๐ เซนติเมตร สูง ๕๐ เซนติเมตร พร้อมเทฝาปิดก้นบ่อ และฝังท่อพีวซี ีระบายน้า สาหรับโรงเรียน วัด และครัวเรือนใช้หมักปุ๋ยอินทรีย์ จานวน ๕๗๘ บ่อ สาเร็จตาม ตัวชี้วัดร้อยละ ๑๐๐

๒.๒ การคัดแยกขยะรีไซเคิล จัดซื้อกรงคัดแยกขยะรีไซเคิล ให้กบั โรงเรียน ชุมขนและวัด จานวน ๗ กรง สาเร็จตามตัวชี้วัดร้อยละ ๑๐๐

๑๓


แผนงานที่ ๓ การจัดการขยะแต่ละประเภท ๓.๑ การจัดการขยะอินทรีย์ สร้างจุดสาธิตบ่อแก๊สชีวภาพจานวน ๒ บ่อ เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ของนักเรียน ณ โรงเรียนบ้านห้วย ยาง และชุมชน ณ ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงบ้านห้วยยางเหนือ หมู่ ๙

๓.๒ การจัดการขยะอันตราย จัดซื้อถังพลาสติกพร้อมฝาปิด จานวน ๑๒ ถัง เพื่อเก็บขยะอันตราย จานวน ๑๒ ถัง สาเร็จตาม ตัวชี้วัดร้อยละ ๑๐๐

การจัดการขยะรีไซเคิล มีการจัดตั้งธนาคารขยะ ในโรงเรียนและชุมชน เพื่อรับซื้อขยะรีไซเคิลเป็นประจา ทุกเดือน ๑๔


ผลการดาเนินการธนาคารขยะในพื้นที่เป้าหมาย บ้านห้วยยาง หมู่ ๖ และบ้านห้วยยางเหนือ หมู่ ๙ ตั้งแต่เริ่มดาเนินโครงการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการคัดแยกขยะที่ต้นทาง และมีการจัดตัง้ ธนาคารขยะรีไซเคิลเพื่อให้สมาชิกได้นาขยะมาขาย ณ จุดรับซื้อ ปัจจุบันมีสมาชิกที่นาขยะมาขายแล้ว จานวน ๑๐๕ คน โรงเรียนบ้านห้วยยาง มีสมาชิกจานวน ๒๒๐ คน (ข้อมูล ณ ๗ มีนาคม ๒๕๖๐) และมีการดาเนิน การจัดซื้อขยะไปแล้วตั้งแต่เดือนพฤษภาคม ๒๕๕๙ เป็นต้นมา แผนงานที่ ๔ การติดตามประเมินผล และการถอดบทเรียน การประเมินผลการดาเนินโครงการส่งเสริมการมีส่วนร่วมกับชุมชนในการคัดแยกขยะที่ต้นทาง โดยองค์ ก ารบริห ารส่ว นต าบลเหล่า โพนค้ อ ภายใต้ก รอบทิ ศทางการสนั บ สนุน เงิ นกองทุ น สิ่ง แวดล้ อ ม ระยะเวลาดาเนินโครงการ ๑๔ เดือน (๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๘ – ๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๙) พื้นที่ดาเนินโครงการ คือ บ้านห้วยยาง หมา ๖ และบ้านห้วยยางเหนือ หมู่ ๙ ตาบลเหล่าโพนค้อ อาเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัด สกลนคร คณะผู้ประเมินได้เน้นผลสัมฤทธิ์ของโครงการว่าเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของการจัดโครงการฯ มาก น้อยเพียงใด สาหรับเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลในครั้งนี้ คือแบบประเมินผู้เข้าร่วมโครงการฯ โดย แบบประเมินประกอบด้วยข้อคาถามแบบเลือกตอบ (Check List) ) และข้อคาถามปลายเปิด (Open-EndQuestion)การประเมินผลโครงการครั้งนี้ ได้แบ่งการประเมินตามแผนงานที่ดาเนินการ โดยแบ่งออกเป็น ๓ ๑๕


ครั้ง ครั้งที่ ๑ ประเมินผลโครงการตามแผนงานที่ ๑ การอบรมให้ความรู้การคัดแยกประเภทขยะมูลฝอย ครั้งที่ ๒ ประเมินผลโครงการตามแผนงานที่ ๒ การคัดแยกขยะอินทรีย์ ขยะรีไซเคิล ขยะอันตราย และขยะทั่วไป และแผนงานที่ ๓ การจัดการขยะแต่ละประเภท ครั้งที่ ๓ ประเมินผลโครงการตามแผนงานที่ ๔ การติดตาม ประเมินผลและการถอดบทเรียน การนาเสนอผลการประเมิ น โครงการในครั้ง นี้จ ะนาเสนอเฉพาะ การประเมิ นครั้ง ที่ ๑ และการ ประเมินครั้งที่ ๒ ตามแผนงานที่ได้กาหนดเอาไว้ ที่จะต้องมีการประเมินผลการดาเนินโครงการทุก ๓ เดือน ตั้งแต่เริ่มดาเนินโครงการ หลังจากได้รับงบประมาณ คือ ตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ – เมษายน ประเมินครั้งที่ ๑ เดือนพฤษภาคม – กรกฎาคม ประเมินครั้งที่ ๒ ในการประเมินครั้งที่ ๑ ได้แบบประเมินกลับมา ๑๐๐ ชุด การ ประเมินครั้งที่ ๒ ได้แบบประเมินกลับมา ๘๐ ชุด การเก็บรวบรวมข้อมูลในครั้งนี้ได้เก็บหลังจากดาเนินการตาม ห้วงเวลาที่กาหนด สาหรับการวิเคราะห์ข้อมูลในครั้งนี้ใช้สถิติเชิ งบรรยาย(Descriptive Statistic) ได้แก่ ค่า ร้อยละ (Percentage) หาค่าเฉลี่ยเลขคณิต (X ) และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน(S.D.) และการแปลผลระดับความ คิดเห็นต่อความพึงพอใจในการดาเนินโครงการ โดยการให้คะแนนข้อมูลมีคาตอบให้เลือก ๖ ระดับ ได้แก่ ดี มาก ดี พอใช้ น้อย น้อยมาก ไม่มีความคิดเห็น มาตรวัด ค่าเฉลี่ย แปลผล ๕ ๔.๕๐-๕.๐๐ ดีมาก ๔ ๓.๕๐-๔.๔๙ ดี ๓ ๒.๕๐-๓.๔๙ พอใช้ ๒ ๑.๕๐-๒.๔๙ น้อย ๑ ๑.๐๐-๑.๔๙ น้อยมาก ๐ ๐.๐๐ ไม่มีความคิดเห็น ซึ่งจะได้นาเสนอผลการประเมินดังนี้ ๑. ผลการประเมินความคิดเห็นต่อการดาเนินโครงการตามแผนงานที่ ๑ ผลการสารวจความคิดเห็นของผู้เข้าร่วมโครงการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการคัดแยกขยะที่ต้นทาง (ดังแสดงในตารางที่ ๖ ) ตารางที่ ๖ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของระดับความคิดเห็นของผู้เข้าร่วมโครงการส่งเสริม การมีส่วนร่วมของชุมชนในการคัดแยกขยะที่ต้นทาง ประเด็น ๑. การอบรมให้ความรู้ ๑.๑ ความรู้ความ เข้าใจในหลักสูตรเนือ้ หา การฝึกอบรม ก. ก่อนเข้าฝึกอบรม ข.หลังเข้าฝึกอบรม

ดีมาก

๖๐ ๖๐

ระดับความคิดเห็น ดี พอใช้ น้อย

๒๕ ๒๖

๑๓ ๑๑

๐ ๒ ๑๖

น้อย มาก

๒ ๑

ไม่มี ความ คิดเห็น

๐ ๐

S.D.

๔.๔๑ ๐.๘๗ ๔.๔๒ ๐.๘๔

แปลผล

ดี ดี


๑.๒ วิทยากรและ บริการ ๗๖ ก.ความรอบรู้ใน หัวข้อที่บรรยายของ วิทยากร ข. ความสามารถใน ๔๘ การถ่ายทอดเนือ้ หา ค. ความเหมาะของ ๕๓ ระยะเวลาที่ใช้ฝึกอบรม ๒. การจัดทาสื่อ ประชาสัมพันธ์ ก. สื่อของหลักสูตรมี ๗๐ ประโยชน์ต่อการ นาไปใช้ ข .สื่อประชาสัมพันธ์มี ๕๑ เนื้อหาครบถ้วนชัดเจน ค. การใช้สื่อ ๕๑ ประกอบการบรรยาย ๓. การศึกษาดูงาน ก.การศึกษาดูงานมี ๖๗ ประโยชน์ต่อการ นาไปใช้ ข.หัวข้อในการศึกษาดู ๓๔ งาน ค.ความพึงพอใจใน ๖๐ สถานที่ศึกษาดูงาน ๔. การนาองค์ความรู้ ๖๓ จากการฝึกอบรมไป ประยุกต์ใช้ ภาพรวม ๕๗.๗๕

๑๙

๔.๗๑ ๐.๕๖ ดีมาก

๔๗

๔.๓๒ ๐.๗๕

ดี

๒๙

๑๔

๔.๓๐ ๐.๙๐

ดี

๒๘

๔.๖๘ ๐.๕๑ ดีมาก

๓๙

๔.๓๕ ๐.๘๕

ดี

๓๘

๔.๓๖ ๐.๘๑

ดี

๒๙

๔.๖๓ ๐.๕๖ ดีมาก

๔๕

๑๔

๔.๐๓ ๐.๙๖

ดี

๒๗

๑๑

๔.๔๔ ๐.๘๐

ดี

๓๒

๔.๕๕ ๐.๖๗ ดีมาก

๔.๔๓ ๐.๗๖

๓๒ ๘.๐๘ ๑.๘๕ ๒.๑๖

ดี

จากตารางที่ ๖ พบว่าผู้เข้าร่วมโครงการมีความคิดเห็นต่อภาพรวมการดาเนินโครงการส่งเสริมการ มีส่วนร่วมของชุมชนในการคัดแยกขยะที่ต้นทาง ตามแผนงานที่ ๑ อยู่ในระดับดี ( = ๔.๔๓) ซึ่งเรียงลาดับ จากหัวข้อที่มีคะแนนความคิดเห็นว่าโครงการดีมากไปยังหัวข้อที่ไม่มีความคิดเห็น ดังนี้ การดาเนินโครงการ ตามแผนงานที่ ๑ การอบรมให้ความรู้ก ารคัดแยกประเภทขยะมูล ฝอย ความรอบรู้ในหัวข้อที่บรรยายของ วิทยากร มีความคิดเห็นต่อโครงการอยู่ในระดับดีมาก ( = ๔.๗๑) สื่อของหลักสูตรมีประโยชน์ต่อการนาไปใช้มี ความคิดเห็นต่อโครงการอยู่ในระดับดี มาก ( = ๔.๖๘) การศึกษาดูงานมีประโยชน์ต่อการนาไปใช้ มีความ คิดเห็นต่อโครงการอยู่ในระดับดีมาก ( = ๔.๖๓) การนาองค์ความรู้จากการฝึกอบรมไปประยุกต์ใช้ มีความ ๑๗


คิดเห็นต่อโครงการอยู่ในระดับดีมาก ( = ๔.๕๕) ความพึงพอใจในสถานที่ศึกษาดูงาน มีความคิดเห็นต่อ โครงการอยู่ในระดับดี ( = ๔.๔๔) ความรู้ความเข้าใจหลังเข้าฝึกอบรมมีความคิดเห็นต่อโครงการอยู่ในระดับดี ( = ๔.๔๒) ความรู้ความเข้าใจหลังเข้าฝึกอบรมมีความคิดเห็นต่อโครงการอยู่ในระดับดี ( = ๔.๔๑)การใช้สื่อ ประกอบการบรรยายมีความคิดเห็นต่อโครงการอยู่ในระดับดี( = ๔.๓๖) สื่อประชาสัมพันธ์มีเนื้อหาครบถ้วน ชัดเจน มีความคิดเห็นต่อโครงการอยู่ในระดับดี( = ๔.๓๕)ความสามารถในการถ่ายทอดเนื้อหามีความคิดเห็น ต่อโครงการอยู่ในระดับดี( = ๔.๓๒)ความเหมาะของระยะเวลาที่ใช้ฝึกอบรมมีความคิดเห็นต่อโครงการอยู่ใน ระดับดี( = ๔.๓๐)หัวข้อในการศึกษาดูงานมีความคิดเห็นต่อโครงการอยู่ในระดับดี( = ๔.๐๓) โดยภาพรวม ความพึงพอใจต่อแผนงานที่ ๑ การฝึกอบรมให้ความรู้ในการคัดแยกประเภทขยะมูลฝอย จากการสอบถามความพึงพอใจของผูเ้ ข้าร่วมโครงการจานวน ๑๐๐ คน มีความพึงพอใจอยู่ในระดับดีมากคิด เป็นร้อยละ ๖๑ มีความพึงพอใจอยู่ในระดับดี คิดเป็นร้อยละ ๓๗ มีความพึงพอใจอยู่ในระดับพอใช้ คิดเป็น ร้อยละ ๒ ๒. ผลการประเมินความคิดเห็นต่อการดาเนินโครงการตามแผนงานที่ ๒ และแผนงานที่ ๓ ผลการสารวจความคิดเห็นของผู้เข้าร่วมโครงการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการคัดแยกขยะที่ต้นทาง (ดังแสดงในตารางที่ ๗ ) ตารางที่ ๗ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของระดับความคิดเห็นของผู้เข้าร่วมโครงการส่งเสริม การมีส่วนร่วมของชุมชนในการคัดแยกขยะที่ต้นทาง N = ๘๐ ประเด็น ๑. การอบรมให้ความรู้ ๑.๑ ความรู้ความเข้าใจ ในหลักสูตรเนื้อหาการ ฝึกอบรม ก. ก่อนเข้าฝึกอบรม ข.หลังเข้าฝึกอบรม ๑.๒ วิทยากรและบริการ ก.ความรอบรู้ในหัวข้อ ที่บรรยายของวิทยากร ข. ความสามารถใน การถ่ายทอดเนือ้ หา ค. ความเหมาะของ ระยะเวลาที่ใช้ฝึกอบรม

ระดับความคิดเห็น ดีมาก ดี พอใช้ น้อย

น้อย มาก

ไม่มีความ คิดเห็น

S.D.

แปล ผล

๓๔ ๓๖

๓๐ ๔๐

๑๖ ๔

๐ ๐

๐ ๐

๐ ๐

๔.๒๓ ๐.๗๖ ๔.๔๐ ๐.๕๙

๔๘

๒๕

๔.๕๓ ๐.๖๔ ดีมาก

๔๒

๒๔

๑๐

๔.๓๕ ๐.๗๖

ดี

๔๐

๒๖

๑๔

๔.๒๖ ๐.๙๑

ดี

๑๘

ดี ดี


ประเด็น ๒. การคัดแยกขยะแต่ละ ประเภท ก. ความรู้ความเข้าใจใน การคัดแยกขยะอินทรีย์ และการใช้ประโยชน์ ข .ความรู้ความเข้าใจใน การคัดแยกขยะอันตราย ค. ความรู้ความเข้าใจใน การคัดแยกขยะรีไซเคิล ง. ความรู้ความเข้าใจใน การคัดแยกทั่วไป ๓. การจัดการขยะแต่ละ ประเภท ก.การจัดการขยะอินทรีย์ มีประโยชน์ต่อการ นาไปใช้ ข.การจัดการขยะรีไซเคิล ขยะอันตราย ขยะทั่วไปมี ความเหมาะสม ค. ความพึงพอใจใน วิธีการจัดการขยะ ๔. การนาองค์ความรูจ้ าก การฝึกอบรมไปประยุกต์ ภาพรวม

ดีมาก

ระดับความคิดเห็น ดี พอใช้ น้อย

น้อย มาก

ไม่มี ความ คิดเห็น

S.D.

แปล ผล

๔๔

๒๕

๑๐

๔.๓๘ ๐.๘๐

ดี

๔๐

๓๒

๔.๓๓ ๐.๘๑

ดี

๔๑

๒๙

๑๐

๔.๓๙ ๐.๗๐

ดี

๔๐

๓๐

๑๐

๔.๓๘ ๐.๗๐

ดี

๔๔

๓๒

๔.๕๐ ๐.๖๐ ดีมาก

๔๐

๓๔

๔.๔๓ ๐.๖๓

๔๖

๒๙

๔.๕๑ ๐.๖๒ ดีมาก

๔๓

๓๕

๔.๕๐ ๐.๕๕ ดีมาก

๔.๔๐ ๐.๗๐

๔๑.๓๐ ๓๐.๑๕ ๘.๐๘ ๑.๖๗ ๑.๐๐

ดี

ดี

จากตารางที่ ๗ พบว่าผู้เข้าร่วมโครงการมีความคิดเห็นต่อภาพรวมการดาเนินโครงการส่งเสริมการมี ส่วนร่วมของชุมชนในการคัดแยกขยะที่ต้นทาง ตามแผนงานที่ ๒ และแผนงานที่ ๓ อยู่ในระดับดี ( = ๔.๔๐) ซึ่งเรียงลาดับจากหัวข้อที่มีคะแนนความคิดเห็นว่าโครงการดีมากไปยัง หัวข้อที่ไม่มีความคิดเห็น ดังนี้ การ ดาเนินโครงการตามแผนงานที่ ๒ การคัดแยกขยะอินทรีย์ ขยะรีไซเคิล ขยะอันตราย และขยะทั่ วไป และ แผนงานที่ ๓ การจัดการขยะแต่ละประเภท ความรอบรู้ในหัวข้อที่บรรยายของวิทยากร มีความคิดเห็นต่อ โครงการอยู่ในระดับดีมาก ( = ๔.๕๓) ความพึงพอใจในวิธีการจัดการขยะมีความคิดเห็นต่อโครงการอยู่ ใน ระดับดีมาก ( = ๔.๕๑) การนาองค์ความรู้จากการฝึกอบรมไปประยุกต์ ใช้ มีความคิดเห็นต่อโครงการอยู่ใน ๑๙


ระดับดีมาก ( = ๔.๕๐) การจัดการขยะอินทรีย์มีประโยชน์ต่อการนาไปประยุกต์ใช้ มีความคิดเห็นต่อโครงการ อยู่ในระดับดีมาก ( = ๔.๕๐) การจัดการขยะรีไซเคิล ขยะอันตราย ขยะทั่วไปมีความเหมาะสม มีความคิดเห็น ต่อโครงการอยู่ในระดับดี ( = ๔.๔๓) ความรู้ความเข้าใจหลังเข้าฝึกอบรมมีความคิดเห็นต่อโครงการอยู่ใน ระดับดี ( = ๔.๔๐) ความรู้ความเข้าใจในการคัดแยกขยะรีไซเคิล มีความคิดเห็นต่อโครงการอยู่ในระดับดี (X= ๔.๓๙) ความรู้ความเข้าใจในการคัดแยกขยะอินทรีย์และการใช้ประโยชน์ มีความคิดเห็นต่อโครงการอยู่ใน ระดับดี ( = ๔.๓๘)ความรู้ความเข้าใจในการคัดแยกทั่วไป มีความคิดเห็นต่อโครงการอยู่ในระดับดี( = ๔.๓๘) ความสามารถในการถ่ายทอดเนื้อหา อันตราย มีความคิดเห็นต่อโครงการอยู่ในระดับดี(X= ๔.๓๕)ความรู้ความ เข้าใจในการคัดแยกขยะอั นตราย มีความคิดเห็นต่อโครงการอยู่ในระดับ ดี ( = ๔.๓๓) ความเหมาะของ ระยะเวลาที่ใช้ฝึกอบรม มีความคิดเห็นต่อโครงการอยู่ในระดับดี( = ๔.๒๖) ความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาก่อน เข้าฝึกอบรม มีความคิดเห็นต่อโครงการอยู่ในระดับดี( = ๔.๒๓) โดยภาพรวม ความความพึงพอใจต่อ แผนงานที่ ๒ การคัดแยกขยะอินทรีย์ ขยะรีไซเคิล ขยะอันตราย และขยะทั่วไป และแผนงานที่ ๓ การจัดการขยะแต่ละประเภท จากการสอบถามความความพึงพอใจของ ผู้เข้าร่วมโครงการจานวน ๘๐ คน มีความพึงพอใจอยู่ในระดับดีมากคิดเป็นร้อยละ ๖๐ มีความพึงพอใจอยู่ใน ระดับดี คิดเป็นร้อยละ ๔๐ ๓. ผลการถอดบทเรียน โครงการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการคัดแยกขยะที่ต้นทาง ผลการถอดบทเรียน สารวจความคิดเห็นของผูเ้ ข้าร่วมโครงการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการ คัดแยกขยะที่ต้นทาง(ดังแสดงในตารางที่ ๘ และ ๙ ) ตารางที่ ๘ แสดงจานวนและร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถามความคิดเห็น ต่อการดาเนินโครงการ ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการคัดแยกขยะที่ต้นทาง ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม 1.เพศ ชาย หญิง

จานวน (N= ๘๐)

ร้อยละ (%)

๑๔ ๖๖

๑๗.๕๐ ๗๕.๐๐

2.อายุ

น้อยกว่า ๓๑ ปี ๓๑ – ๓๕ ปี ๓๖ – ๔๐ ปี ๔๑ - ๔๕ ปี ๔๖ - ๕๐ ปี ๕๑ - ๕๕ ปี ๕๖ ปี ขึ้นไป

๐ ๑ ๘ ๓ ๙ ๔ ๕๖

๒๐

๐.๐๐ ๑.๒๕ ๑๐.๐๐ ๓.๗๕ ๑๑.๒๕ ๕.๐๐ ๗๐.๐๐


จากตารางที่ ๘ เมื่อจาแนกตามข้อมูลทัง่ ไปของผู้ตอบแบบสอบถาม พบว่า เพศ เมื่อจาแนกตามเพศ ผู้ตอบแบบสารวจความคิดเห็น ส่วนมากเป็นหญิง จานวน ๖๖ คน คิดเป็นร้อยละ ๘๒.๕๐ ส่วนเพศชายมีจานวน ๑๔ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๗.๕๐ อายุ เมื่อจาแนกตามอายุ ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ มีอายุ ๕๖ ปี ขึ้นไป จานวน ๕๖ คน คิดเป็นร้อย ละ ๗๐ รองลงมาคือ อายุระหว่าง ๔๖ – ๕๐ ปี จานวน ๙ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๑.๒๕ อายุระหว่าง ๓๖ – ๔๐ ปี จานวน ๘ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๐.๐๐ อายุระหว่าง ๕๑ – ๕๕ ปี จานวน ๔ คน คิดเป็นร้อยละ ๕.๐๐ อายุระหว่าง ๔๑ – ๔๕ ปี จานวน ๓ คน คิดเป็นร้อยละ ๓.๗๕ และอายุระหว่าง ๓๑ – ๓๕ ปี จานวน ๑ คน คิดเป็นร้อยละ ๑.๒๕ ตามลาดับ ตารางที่ ๙ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของระดับความคิดเห็นจากการถอดบทเรียนของ ผู้เข้าร่วมโครงการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการคัดแยกขยะที่ต้นทาง ประเด็น

ดีมาก

ระดับความคิดเห็น ดี พอใช้ น้อย น้อย มาก

แผนงานที่ ๑ การอบรมให้ ความรู้การคัดแยกขยะ ๑.๑ การอบรมให้ความรู้ ๔๕ ๒๐ ๙ ๖ ๐ ๑.๒ การจัดทาสื่อ ๓๘ ๒๐ ๒๒ ๐ ๐ ๑.๓ การศึกษาดูงาน ๓๘ ๒๐ ๑๓ ๙ ๐ แผนงานที่ ๒. การคัดแยก ขยะแต่ละประเภท ๒.๑ ขยะอินทรีย์ ๔๖ ๑๘ ๑๕ ๐ ๑ ๒.๒ ขยะรีไซเคิล ๓๙ ๒๒ ๑๒ ๗ ๐ ๒.๓ ขยะอันตราย ๓๙ ๒๒ ๑๖ ๒ ๑ ๒.๔ ขยะทั่วไป ๔๐ ๒๐ ๑๘ ๐ ๒ แผนงานที่ ๓. การจัดการ ขยะแต่ละประเภท ๓.๑ ขยะอินทรีย์ ๔๑ ๒๖ ๑๑ ๒ ๐ ๓.๒ ขยะรีไซเคิล ๔๒ ๒๑ ๑๓ ๔ ๐ ๓.๓ ขยะอันตราย ๓๑ ๒๘ ๑๔ ๕ ๒ ๓.๔ ขยะทั่วไป ๓๘ ๒๔ ๑๘ ๓.๑๘ ๐ แผนงานที่ ๔. การติดตาม ประเมินผลและถอด บทเรียน ๔.๑ ติดตามประเมินผล ๖๐ ๑๓ ๗ ๐ ๐ ๔.๒ การถอดบทเรียน ๔๕ ๒๐ ๑๕ ๐ ๐ ภาพรวม ๓๙.๗๓ ๒๑.๙๐ ๑๖.๖๔ ๑.๖๗ ๐.๕๕ ๒๑

S.D.

ไม่มี ความ คิดเห็น

แปล ผล

๐ ๐ ๐

๔.๓๐ ๐.๙๕ ๔.๒๐ ๐.๘๕ ๔.๐๙ ๑.๐๕

ดี ดี ดี

๐ ๐ ๐ ๐

๔.๓๕ ๔.๑๔ ๔.๒๑ ๔.๑๙

๐.๘๗ ๑.๐๒ ๐.๙๕ ๐.๙๖

ดี ดี ดี ดี

๐ ๐ ๐ ๐

๔.๓๓ ๔.๔๘ ๔.๐๓ ๔.๒๕

๐.๘๑ ๐.๕๙ ๑.๐๒ ๐.๘๐

ดี ดี ดี ดี

๐ ๐ ๐

๔.๖๖ ๐.๖๔ ดีมาก ๔.๓๘ ๐.๗๙ ดี ๔.๒๘ ๐.๘๗ ดี


จากตารางที่ ๘ พบว่าผู้เ ข้าร่วมโครงการมี ความคิดเห็นจากการถอดบทเรียน หลัง จากดาเนิน โครงการครบทุกแผนงาน ตามโครงการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการคัดแยกขยะที่ต้นทาง อยู่ใน ระดับดี ( = ๔.๒๘) ซึ่งเรียงลาดับจากหัวข้อที่มีคะแนนความคิดเห็นต่อแผนงานต่างๆจากระดับดีมาก ไปยัง หัวข้อที่ไม่มีความคิดเห็น ดังนี้ การติดตามประเมินผล มีความคิดเห็นต่อโครงการอยู่ในระดับดีมาก ( = ๔.๖๖) การจัดการขยะรีไซเคิล มีความคิดเห็นต่อโครงการอยู่ในระดับดี ( = ๔๘) การถอดบทเรียน มีความคิดเห็นต่อ โครงการอยู่ในระดับดี ( = ๔.๓๘) การคัดแยกขยะอินทรีย์ มีความคิดเห็นต่อโครงการอยู่ในระดับดี ( = ๔.๓๕) การจัดการขยะอินทรีย์ มีความคิดเห็นต่อโครงการอยู่ในระดับดี ( = ๔.๓๓) ความรู้ความเข้าใจหลังเข้า ฝึกอบรมมีความคิดเห็นต่อโครงการอยู่ในระดับดี ( = ๔.๔๐) ความรู้ความเข้าใจในการคัดแยกขยะรีไซเคิล มี ความคิดเห็นต่อโครงการอยู่ในระดับดี (X= ๔.๓๙) ความรู้ความเข้าใจในการคัดแยกขยะอินทรีย์และการใช้ ประโยชน์ มีความคิดเห็นต่อโครงการอยู่ในระดับดี ( = ๔.๓๘)ความรู้ความเข้าใจในการคัดแยกทั่วไป มีความ คิดเห็นต่อโครงการอยู่ในระดับดี( = ๔.๓๘) ความสามารถในการถ่ายทอดเนื้อหา อันตราย มีความคิดเห็นต่อ โครงการอยู่ในระดับดี(X= ๔.๓๕)ความรู้ความเข้าใจในการคัดแยกขยะอันตราย มีความคิดเห็นต่อโครงการอยู่ ในระดับดี( = ๔.๓๓) การอบรมให้ความรู้ มีความคิดเห็นต่อโครงการอยู่ในระดับดี( = ๔.๓๐) การจัดการขยะ ทั่วไป มีความคิดเห็นต่อโครงการอยู่ในระดับดี( = ๔.๒๕) การคัดแยกขยะอันตราย มีความคิดเห็นต่อโครงการ อยู่ในระดับดี( = ๔.๒๑) การจัดทาสื่อ มีความคิดเห็นต่อโครงการอยู่ในระดับดี ( = ๔.๒๐) การคัดแยกขยะ ทั่วไป มีความคิดเห็นต่อโครงการอยู่ในระดับดี( = ๔.๑๙) การคัดแยกขยะรีไซเคิล มีความคิดเห็นต่อโครงการ อยู่ในระดับดี( = ๔.๑๔) การศึกษาดูงาน มีความคิดเห็นต่อโครงการอยู่ในระดับดี( = ๔.๐๙) และการจัดการ ขยะอันตราย มีความคิดเห็นต่อโครงการอยู่ในระดับดี(X= ๔.๐๓) โดยภาพรวม จากการสอบถามความคิดเห็น ของผู้เข้าร่วมถอดบทเรียน การดาเนินโครงการส่งเสริม การมีส่วนร่วมของชุมชนในการคัดแยกขยะที่ต้นทาง จานวน ๘๐ คน ส่วนใหญ่มีความคิดเห็นต่อการดาเนิน กิจกรรมอยู่ในระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ ๔๙.๖๖ มีความคิดเห็นต่อการดาเนินโครงการฯอยู่ในระดับดี คิดเป็น ร้อยละ ๒๗.๓๗ มีความคิดเห็นต่อการดาเนินโครงการฯอยู่ในระดับ พอใช้ คิดเป็นร้อยละ ๒๐.๘๐ มีความ คิดเห็นต่อการดาเนินโครงการฯอยู่ในระดับน้อย คิดเป็นร้อยละ ๒.๐๘ มีความคิดเห็นต่อการดาเนินโครงการฯ อยู่ในระดับน้อยมาก คิดเป็นร้อยละ ๐.๖๘ และมีเสนอแนะ อยากให้มีการทาเตาเผาขยะทั่วไป และจัดให้มีถุง สาหรับคัดแยกขยะ สรุปผลการประเมินและถอดบทเรียน การประเมินผลโครงการครั้งนี้ได้รับแบบประเมินกลับมาสาหรับการประเมินในครั้งที่ ๑ ตามแผนงาน ที่ ๑ การอบรมให้ความรู้ จานวน ๑๐๐ ชุด และ การประเมินครั้งที่ ๒ ตามแผนที่ ๒ กิจกรรมการคัดแยกขยะ อินทรีย์ ขยะรีไซเคิล ขยะอันตราย ขยะทั่วไป แผนงานที่ ๓ การจัดการขยะแต่ละประเภท ได้รับแบบประเมิน กลับมาจานวน ๘๐ ชุด และการถอดบทเรียนได้รับแบบประเมินกลับมาจานวน ๘๐ ชุด สาหรับการวิเคราะห์ ข้อมูลในครั้งนี้ใช้สถิติเชิงบรรยาย(Descriptive Statistic) ได้แก่ ค่าร้อยละ (Percentage) หาค่าเฉลี่ยเลขคณิต (X ) และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน(S.D.) และการแปลผลระดับความคิดเห็นต่อความพึงพอใจในการดาเนินโตรง การ โดยการให้คะแนนข้อมูล มีคาตอบให้เลือก ๖ ระดับ ได้แก่ ดีม าก ดี พอใช้ น้อย น้อยมาก ไม่มีความ คิดเห็น

๒๒


สรุปผลการประเมิน ๑. สรุปผลการประเมินแผนงานที่ ๑ ผู้ตอบแบบสอบถามมีความคิดเห็นต่อความพึงพอใจใน การดาเนินโตรงการส่งเสริมการมีส่วนร่วม ของชุมชนในการคัดแยกขยะที่ต้นทางตามแผนงานที่ ๑ อยู่ในระดับดี (X = ๔.๔๓) ซึ่งเรียงลาดับจากหัวข้อที่ มีคะแนนความพึงพอใจสูงที่สุด คือ ความรอบรู้ในหัวข้อทีบ่ รรยายของวิทยากร พึงพอใจอยู่ในระดับมากทีส่ ุด (X= ๔.๗๑) และหัวข้อทีม่ ีคะแนนความพึงพอใจต่าที่สุด คือ หัวข้อในการศึกษาดูงาน(X= ๔.๐๓) โดยภาพรวม ความพึงพอใจต่อการฝึกอบรมให้ความรู้ในการคัดแยกประเภทขยะมูลฝอย มีความพึง พอใจอยู่ในระดับดีมากคิดเป็นร้อยละ ๖๑ มีความพึงพอใจอยู่ในระดับดี คิดเป็นร้อยละ ๓๗ มีความพึงพอใจ อยู่ในระดับพอใช้ คิดเป็นร้อยละ ๒ ๒. สรุปผลการประเมินแผนงานที่ ๒และแผนงานที่ ๓ ผู้ตอบแบบสอบถามมีความคิดเห็นต่อความพึงพอใจในการดาเนินโครงการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของ ชุมชนในการคัดแยกขยะที่ต้นทางตามแผนงานที่ ๒ และแผนงานที่ ๓ อยู่ในระดับดี (X = ๔.๔๐) ซึ่ง เรียงลาดับจากหัวข้อที่มีคะแนนความพึงพอใจสูงทีส่ ุด คือ ความรอบรู้ในหัวข้อที่บรรยายของวิทยากร มีความ พึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด (X= ๔.๗๑) และหัวข้อที่มีคะแนนความพึงพอใจต่าทีส่ ุด คือ ความรู้ความเข้าใจ ในเนื้อหาก่อนเข้าฝึกอบรม มีความคิดเห็นต่อโครงการอยู่ในระดับดี(X= ๔.๒๓) โดยภาพรวม ความพึงพอใจต่อการฝึกอบรมให้ความรู้ในการคัดแยกประเภทขยะมูลฝอย มีความพึง พอใจอยู่ในระดับดีมากคิดเป็นร้อยละ ๖๐ มีความพึงพอใจอยู่ในระดับดี คิดเป็นร้อยละ ๔๐ ๓. สรุปผลการถอดบทเรียน ผู้เข้ารวมกิจกรรมถอดบทเรียนมีความคิดเห็นต่อการดาเนินโครงการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนใน การคัดแยกขยะที่ต้นทาง อยู่ในระดับดี (X = ๔.๒๘)เรียงลาดับจากหัวข้อที่มีคะแนนความคิดเห็นต่อแผนงาน ต่างๆ มากที่สุด คือ การติดตามประเมินผล มีความคิดเห็นต่อโครงการอยู่ในระดับดีมาก (X= ๔.๖๖)และน้อย ที่ สุ ด คื อ การจั ด การขยะอั น ตราย มี ค วามคิ ด เห็ น ต่ อ โครงการอยู่ ใ นระดั บ ดี (X= ๔.๐๓) โดยภาพรวม ส่วนใหญ่มีความคิดเห็นต่อการดาเนินกิจกรรมอยู่ในระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ ๔๙.๖๖ มี ความคิดเห็นต่อการดาเนิ นโครงการฯอยู่ในระดับ ดี คิดเป็นร้อยละ ๒๗.๓๗ มีความคิดเห็นต่อการดาเนิน โครงการฯอยู่ในระดับพอใช้ คิดเป็นร้อยละ ๒๐.๘๐ มีความคิดเห็นต่อการดาเนินโครงการฯอยู่ในระดับน้อย คิดเป็นร้อยละ ๒.๐๘ มีความคิดเห็นต่อการดาเนินโครงการฯอยู่ในระดับน้อยมาก คิดเป็นร้อยละ ๐.๖๘ และมี เสนอแนะ อยากให้มีการทาเตาเผาขยะทั่วไป และจัดให้มีถุงสาหรับคัดแยกขยะ ๖. ผลลัพธ์ของโครงการ การทาโครงการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการคัดแยกขยะที่ต้นทาง ซึ่งองค์การบริหาร ส่วนตาบลเหล่าโพนค้อได้รับงบประมาณสนับสนุนจากสานักงานกองทุนสิ่งแวดล้อม จานวน ๒๔๙,๘๙๐ บาท โดยทางองค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อได้ดาเนินการโดยให้มีการอบรมให้ความรู้การคัดแยกขยะ การ จัดท าสื่อประชาสัม พั นธ์ ได้แก่ หนัง สือ คู่ มื อการคัด แยกขยะ แผ่นพับ และปูายประชาสัม พัน ธ์โ ครงการ การศึกษาดูงาน มีการคัดแยกขยะตั้งแต่ต้นทาง โดยคัดแยกขยะจากต้นกาเนิด คือในครัวเรือนของตนเองนา กลับมาใช้หรือใช้ประโยชน์ เช่น ขยะอินทรีย์จะนามาทาปุ๋ยหมักชีวภาพ ขยะรีไซเคิล สามารถนามาขาย เป็น การเพิ่มรายได้ให้กับคนในชุมชน และเป็นเงินฌาปนกิจสงเคราะห์งานศพ ขยะทั่วไปครัวเรือน โรงเรียนมีการ กาจัดอย่างถูกวิธี และขยะอันตราย ที่มีพิษ มีจุดรวบรวม เพื่อรอให้องค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อนาไป กาจัดต่อไป ๒๓


การดาเนินโครงการนี้ ประชาชนในชุมชนได้มีความรู้ ความเข้าใจ และได้แลกเปลี่ยนแนวความคิดใน การบริหารจัดการขยะ สามารถนาความรู้และประสบการณ์ที่ได้รับจากโครงการนี้ ไปถ่ายทอดให้กับหมู่บ้านอืน่ หน่วยงานอื่นได้ บ้านห้วยยาง หมู่ ๖ บ้านห้วยยางเหนือ หมู่ ๙ และโรงเรียนบ้านห้วยยาง นับได้ว่าเป็นชุมชน และโรงเรียนต้นแบบในการมี ส่วนร่วมในการจัดการขยะอย่างครบวงจร ที่ สามารถถ่ายทอดองค์ความรู้ ประสบการณ์ที่มีคุณค่าให้กับท้ องถิ่นต่าง โรงเรียน ต่าง ๆ ซึ่งได้เดินทางมาศึกษาดูงานเป็นจานวนมาก และ นาไปประยุกต์ในการแก้ไขปัญหาในชุมชน นับได้ว่าโครงการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการคัดแยกที่ ต้นทาง ทาให้การบริหารจัดการขยะขององค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อ เกิดผลสาเร็จอย่างยั่งยืน ๗.ผลกระทบของโครงการ การแยกองค์ประกอบขยะองค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อ อาเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัด สกลนคร ในโครงการการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการคัดแยกขยะที่ต้นทาง ขยะอินทรีย์มีปริมาณมากทีส่ ุด ๖๑.๒๖ % ขวดแตกรวม ๑๐.๗๑ % ขยะทั่วไป ๙.๙๘ % ขวด พลาสติกรวม ๘.๕๒ % ขวดพลาสติกใส ๔.๗๘ % เศษผ้า ๑.๙๕ % กระดาษ ๑.๑๔ % ขยะอันตราย ๐.๗๔ % กล่องนม ๐.๖๒ % สังกะสี ๐.๒๙ % ตามลาดับ ซึ่งอัตราการเกิดขยะวันที่ ๗ เท่ากับ ๐.๑๐ กก./คน/วัน วันที่ ๘ เท่ากับ ๐.๑๓ กก./คน/วัน และ วันที่ ๙ เท่ากับ ๐.๑๑ กก./คน/วัน ดังแสดงในรายละเอียดดังต่อไปนี้ แสดงการแยกองค์ประกอบขยะองค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อ อาเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร วัน/เดือน/ปี (น้าหนักขยะ) ประเภทขยะ ร้อยละค่าเฉลี่ย ๗/๓/๒๕๕๙ ๘/๓/๒๕๕๙ ๙/๓/๒๕๕๙ ขยะทั่วไป ๓.๘ ๘ ๗.๘๐ ๙.๙๘ กล่องนม ๐.๔ ๐.๔๐ ๐.๔๐ ๐.๖๒ กระดาษ ๐.๒ ๑.๘๐ ๐.๔๐ ๑.๑๔ ขวดแตกรวม ๖.๔ ๑๒.๔๐ ๒.๘ ๑๐.๗๑ สังกะสี ๐.๒ ๐.๔๐ ๐.๒๙ ขวดพลาสติกใส ๓.๕ ๓.๒๐ ๒.๕ ๔.๗๘ ขยะอันตราย ๐.๒ ๑.๔๐ ๐.๗๔ ขวดพลาสติกรวม ๕.๘ ๖.๘๐ ๔ ๘.๕๒ เศษผ้า ๒.๘ ๐.๘๐ ๑.๙๕ ขยะอินทรีย์ ๓๕.๔ ๓๙.๒ ๔๓.๔๐ ๖๑.๒๖ รวมปริมาณขยะ(กก.) ๕๘.๗ ๗๔.๔ ๖๑.๓๐ ๑๐๐.๐๐ จากข้อมูลข้างต้นแสดงให้เห็นถึงปริมาณขยะที่เกิดขึ้นในบ้านห้วยยาง หมู่ ๖ และบ้านห้วยยาง เหนือ หมู่ ๙ โดยการสุ่มตรวจ พบว่ามีอัตราการเกิดขยะ เฉลี่ย ๐.๑๑ กก./คน/วัน โดยมีขยะอินทรีย์ มากที่สุด ร้อยละ ๖๑.๒๖ % ขยะรีไซเคิล ร้อยละ ๒๖.๐๖ ขยะทั่วไป ๑๑.๙๓ และขยะอันตราย ร้อยละ ๐.๗๔ และมีปัญหาการสะสมขยะตามที่ส าธารณะต่างๆ และส่ง มลพิษต่อชุมชนมาโดยตลอด แต่ หลังจากได้มีการดาเนินโครงการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการคัดแยกขยะที่ต้นทาง โดยความ ร่วมมือขององค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อ โรงเรียนบ้านห้วยยางและชาวบ้าน ทาให้ตั้งแต่เดือน ๒๔


พฤษภาคม ปี พ.ศ. ๒๕๕๙ ไม่มีขยะตกค้างตามที่สาธารณะต่างๆ ซึ่งการจัดการขยะอินทรีย์โดยเฉพาะ เปลือกผลไม้ท่เี ป็นปัญหาของชุมชน ไม่เกิดปัญหาขึ้นอีก โดยนาไปทาแก๊สชีวภาพ และปุ๋ยหมัก ส่วนขยะ รีไซเคิล ก็มีการนามาขายที่จุดรับซื้อตลาดชุมชนวัดโพธิ์ชัยทุกเดือน (รายละเอียดปรากฏตามตาราง) และยังสามารถลดก๊าซเรือนกระจกได้เฉลี่ยประมาณเดือนละ ๒,๐๐๐ kgco2 นอกจากนีข้ ยะอันตรายได้ มีการจัดถังรวบรวมไว้ที่ ตลาดชุมชน โรงเรียน เพื่อรวบรวมนาไปกาจัดต่อไป ดังนั้นปริมาณขยะที่เกิดขึ้น และสามารถลดได้ รวมแล้ว คิดเป็นร้อยละ ๓๘.๘๓ ๘. ความต่อเนื่องภายหลังสิ้นสุดโครงการ ความสาเร็จดังกล่าวเป็นที่มาของการขยาย เครือข่ายการดาเนินโครงการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของ ชุมชนในการคัดแยกขยะที่ต้นทางไปยัง อีก ๙ หมู่บ้าน และอีก ๒ โรงเรียนในพื้นที่บริการตาบลเหล่าโพนค้อ โดยอาศัยบ้านห้วยยางและโรงเรียนบ้านห้วยยางเป็นต้นแบบในการดาเนินโครงการ พร้อมกับได้มีการทาบันทึก ข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) โครงการความร่วมมือระหว่างองค์ การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อ กับส่วน ราชการ ผู้นาหมู่บ้านทุกหมู่บ้าน ในเขตตาบลเหล่าโพนค้อ เพื่อตกลงร่วมมือกันแก้ไขปัญหาและบริหารจัดการ ขยะมูลฝอยชุมชน "เหล่าโพนค้อสะอาด – ๓RS- ประชารัตน์ "โดยยึดหลักการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนตาม แนวทาง "ประชารั ต น์ " ได้ แ ก่ ภาคส่ วนราชการ สถานศึ ก ษา ภาคเอกชน องค์ ก รทางศาสนา สถาน ประกอบการ ภาคประชาชน และประชาสัง คมต่างๆ เพื่อลดปริมาณขยะมูลฝอยชุมชน ภายใต้หลักการ 3Rs คือ การใช้น้อย (Reduce) ใช้ซ้า (Reuse) และนากลับมาใช้ใหม่(Recycle) โดยมีวัตถุประสงค์ ๕ ประการ คือ ๑. ปริมาณขยะมูลฝอยชุมชน ในแต่ละสถานที่ราชการ สถานศึกษา หมู่บ้านทุกหมู่บ้าน เข้าสู่ระบบการกาจัดที่ ปลายทางลดลง ร้อ ยละ ๕ เมื่อเทียบกับ ปริม าณขยะมูลฝอยปี ๒๕๕๙ ๒. ร้อยละ ๑๐๐ ของส่วนราชการ สถานศึกษา ภาคเอกชน องค์กรทางศาสนา และสถานประกอบการจัดกิจกรรมการลดและคัดแยกขยะมูลฝอย หรือการนาขยะมูลฝอย ไปใช้ประโยชน์ ๓. ร้อยละ ๔๐ ของหมู่บ้านในพื้นที่สามารถเป็นต้นแบบการลดและคัด แยกขยะมู ล ฝอย ๔. ร้อ ยละ ๑๐๐ ของหมู่ บ้าน มี ก ารจัดตั้ง " จุดรวบรวมขยะอันตรายชุม ชน" ๕ .กาก อุตสาหกรรมที่เป็นอันตราย ร้อยละ ๗๐ และมูลฝอยติดเชื้อร้อยละ ๘๕ ได้รับการกาจัดอย่างถูกต้อง ตามหลัก วิชาการเพิ่มขึ้น กาหนดให้มีผล ตั้งแต่วันที่ ๒๕ มกราคม ๒๕๖๐ เพื่อให้เกิดการขยายผลและเกิดการมีส่วน ร่วมในการคัดแยกขยะที่ต้นทางทุกครอบครัว ทุกหน่วยงาน ทุกหมู่บ้าน อย่างต่อเนื่องและยั่งยืน

๒๕


ภาพการจัดทาบันทึกข้อตกลงเหล่าโพนค้อสะอาด

การจัดนิทรรศการธนาคารขยะชุมชนเพื่อขยายผล

๙.ปัญหาอุปสรรคและแนวทางแก้ไข สภาพปัญหาการบริหารจัดการขยะมูลฝอยในเขตองค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อในระยะแรก นั้นเป็นการจัดการขยะมูลฝอยที่ประชาชนจัดการกันเองโดยขาดความรู้และความเข้าใจถึงวิธีการที่ถูกต้องตาม หลักสุขาภิบาล มีวิธีการกาจัดทีม่ ักง่าย และจากปริมาณขยะที่มีปริมาณเพิม่ ขึ้นตามจานวนประชากรบวกกับ องค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อยังไม่มีการเก็บขนขยะมูลฝอย และไม่มีพื้นที่ในกาจัดขยะ ส่งผลให้มกี าร นาขยะไปทิ้งในทีส่ าธารณะ เกิดมลภาวะทางด้านทัศนียภาพ และยังเป็นแหล่งเพาะพันธุ์เชื้อโรคต่างๆ ทาให้ องค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อต้องสิ้นเปลืองงบประมาณในการดาเนินการกาจัดขยะ จนทาให้เป็น ปัญหาที่ต้องแก้ไขร่วมกันระหว่างองค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อกับหมูบ่ ้าน โดยปัญหาที่สาคัญที่สุดพบว่า 1) ประชาชนส่วนใหญ่ก่อนหน้านี้ยงั ไม่เข้าใจกระบวนการบริหารจัดการขยะอย่างครบวงจร บวกกับการดาเนิน ชีวิตประจาวันของประชาชนที่มกี ิจกรรมต่างๆ มากมาย ทาให้ปริมาณขยะเพิม่ มากขึ้นทุกวันและไม่มพี ื้นที่ กาจัดขยะในบ้านเรือน แนวทางแก้ไข จัดฝึกอบรม ศึกษาดูงาน และจัดนิทรรศการให้ความรูอ้ ย่างต่อเนื่อง รวมทั้งหาพื้นที่ให้ ชุมชนในการกาจัดขยะที่นามาใช้ประโยชน์ไม่ได้ 2) สิ่งทีเ่ ป็นปัญหารองลงมา คือ ประชาชนยังไม่เห็นความสาคัญในการคัดแยก และจัดการขยะ อย่างครบวงจร แนวทางแก้ไข ประชุมชี้แจง ติดตามประเมินผลเป็นระยะๆ มอบเกียรติบัตรรางวัลสร้างแรงจูงใจ 3) ปัญหาการขยะทั่วไป ที่ไม่สามารถขายเป็นวัสดุรีไซเคิลได้ เช่น ถุงพลาสติก กระป๋องแปูง ขวดพลาสติกแบบ สี ๒๖


แนวทางแก้ไข รณรงค์ลดการใช้ถุงผ้าแทนถุงพลาสติก นาขวดพลาสติกที่ขายไม่ได้มา Reuse และเสนอ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ออกมาตรการลดการผลิตวัสดุที่ไม่สามารถรีไซเคิลได้ ๑๐. ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะ การดาเนินโครงการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการคัดแยกขยะที่ตน้ ทาง โครงการจะ สาเร็จ และยั่งยืน นั้น สิ่งทีส่ าคัญ คือ ๑. ผู้บริหารให้อานาจประชาชนเต็มที่ในการบริหารจัดการ เปิดกว้างในการดาเนินงานที่จะรับฟัง ความคิดเห็นของประชาชนก่อนดาเนินงาน และนาแนวคิดการบริหารจัดการนาเสนอต่อสาธารณะเพื่อ พิจารณาทาให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างองค์กรที่เกี่ยวข้อง ๒. ผู้นาหมูบ่ ้านต้องมีความเข้มแข็งและอุทิศตนให้หมู่บา้ น ผู้นาและคณะกรรมการหมูบ่ ้าน อสม.มี ความจริงจังในการทางาน มีการเชิญชวนประชาสัมพันธ์เพื่อให้ประชาชนร่วมมือในการช่วยกันบริหาร จัดการขยะมูลฝอย และมีการประเมินรายงานความคืบหน้าในการดาเนินงานทุกเดือน ๓. การมีส่วนร่วมของคนในชุมชน ในการจัดการขยะและนาเสนอแนวคิดและบทบาทในการ ดาเนินงาน ให้ภาคประชาชนได้กระทาด้วยตนเองอย่างแท้จริง โดยเฉพาะกระบวนการวางแผน การคิด การตัดสินใจ ๔. ปฏิบตั ิตามกฎและปฏิญญาที่ร่วมกันตั้งไว้ ก่อนที่จะมีการดาเนินกิจกรรมมีการประชุมและ กาหนดระเบียบหรือปฏิบัตริ ่วมกัน ซึ่งสมาชิกทุกคนต้องถือปฏิบัติโดยเคร่งครัด ๕. การประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารอย่างต่อเนื่อง การประชาสัมพันธ์เป็นสิ่งที่มีความสาคัญใน การจัดการหมูบ่ ้านเป็นอย่างมาก ซึ่งการประชาสัมพันธ์ขององค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อมี ความชัดเจน เข้าใจง่ายและมีหลายรูปแบบเพื่อให้ข่าวสารเข้าถึงหมูบ่ ้านให้ได้มากที่สดุ และทาการ ประชาสัมพันธ์อย่างต่อเนื่องในเรื่องการจัดการด้านขยะมูลฝอย และกิจกรรมทีจ่ ะต้องทาร่วมกับ ประชาชนในหมูบ่ ้าน ลงชื่อ

ผู้จัดทารายงาน (นายเกียรติศกั ดิ์ ขันทีทา้ ว) ตาแหน่ง ผู้อานวยการกองส่งเสริมการเกษตร

ลงชื่อ

ผูร้ ับรอง

(นายอนุสรณ์ พลราชม) ตาแหน่งนายกองค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อ ๒๗


ภาคผนวก

๒๘


ภาคผนวก ก แบบประเมินโครงการตามแผนงานที่ ๑

๒๙


แบบประเมินผลโครงการตามแผนงานที่ 1 ชื่อโครงการ : โครงการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการคัดแยกขยะที่ต้นทาง กิจกรรม : การอบรมให้ความรู้การคัดแยกประเภทขยะมูลฝอย กรุณาเขียนเครื่องหมาย (  ) และแสดงความคิดเห็นลงในช่องว่างเพื่อนามาแก้ไขปรับปรุงการดาเนินงาน ต่อไป ระดับคะแนน 5 = ดีมาก 4 = ดี 3 = พอใช้ 2 = น้อย 1 = น้อยมาก 0 = ไม่มีความคิดเห็น 1.การอบรมให้ความรู้ 1.1 ความรู้ความเข้าใจในหลักสูตรเนื้อหาการฝึกอบรม 5 4 3 2 1 0 ก. ก่อนเข้าฝึกอบรม ข. หลังเข้าฝึกอบรม 1.2 วิทยากรและบริการ 5 4 3 2 1 0 ก.ความรอบรู้ในหัวข้อทีบ่ รรยายของวิทยากร ข. ความสามารถในการถ่ายทอดเนื้อหา ค. ความเหมาะสมของระยะเวลาที่ใช้ในการฝึกอบรม 2.การจัดทาสื่อประชาสัมพันธ์ 5 4 3 2 1 0 ก. สื่อของหลักสูตรมีประโยชน์ต่อการนาไปใช้งาน ข. สื่อประชาสัมพันธ์ มีเนื้อหา ครบถ้วนชัดเจน ค. การใช้สื่อประกอบการบรรยาย 3. การศึกษาดูงาน 5 4 3 2 1 0 ก. การศึกษาดูงานมีประโยชน์ต่อการนาไปประยุกต์ใช้ ข. หัวข้อในการศึกษาดูงาน ค. ความพึงพอใจในสถานที่ศึกษาดูงาน 5

4

3

2

4. การนาองค์ความรู้จากการฝึกอบรมไปประยุกต์ใช้ 5. องค์ความรู้ที่สามารถนาไประยุกต์ใช้…………………………………..…………….…………… 6.ข้อเสนอแนะ………………………………………………..…………………………………………… โดยภาพรวม ท่านพอใจกับการฝึกอบรมครั้งนี้ มากน้อยเพียงใด  ดีมาก ดี  พอใช้

๓๐

 ควรปรับปรุง

1

0


ภาคผนวก ข แบบประเมินโครงการตามแผนงานที่ ๒ และแผนงานที่ ๓

๓๑


แบบประเมินผลโครงการตามแผนงานที่ ๒และแผนงานที่ ๓ ชื่อโครงการ : โครงการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการคัดแยกขยะที่ต้นทาง กิจกรรม : การอบรมให้ความรู้การคัดแยกประเภทขยะมูลฝอย กรุณาเขียนเครื่องหมาย( ) และแสดงความคิดเห็นลงในช่องว่างเพื่อนามาแก้ไขปรับปรุงต่อไป ระดับคะแนน 5 = ดีมาก 4 = ดี 3 = พอใช้ 2 = น้อย 1 = น้อยมาก 0 = ไม่มีความคิดเห็น 1.การอบรมให้ความรู้ 1.1 ความรู้ความเข้าใจในหลักสูตรเนื้อหาการฝึกอบรม 5 4 3 2 1 0 ก. ก่อนเข้าฝึกอบรม ข. หลังเข้าฝึกอบรม 1.2 วิทยากรและบริการ 5 4 3 2 1 0 ก.ความรอบรู้ในหัวข้อทีบ่ รรยายของวิทยากร ข. ความสามารถในการถ่ายทอดเนื้อหา ค. ความเหมาะสมของระยะเวลาที่ใช้ในการฝึกอบรม 2.การคัดแยกขยะแต่ละประเภท 5 4 3 2 1 0 ก. ความรู้ความเข้าใจในการคัดแยกขยะอินทรีย์และการ ใช้ประโยชน์ ข. ความรู้ความเข้าใจในการคัดแยกขยะอันตราย ค. ความรู้ความเข้าใจในการคัดแยกขยะรีไซเคิล ง. ความรู้ความเข้าใจในการคัดแยกขยะทั่วไป 3. การจัดการขยะแต่ละประเภท 5 4 3 2 1 0 ก. การจัดการขยะอินทรีย์มปี ระโยชน์ต่อการนาไป ประยุกต์ใช้ ข. การจัดการขยะรีไซเคิล ขยะอันตราย ขยะทั่วไปมี ความเหมาะสม ค. ความพึงพอใจในวิธีการจัดการขยะ 5

4

3

2

4. การนาองค์ความรู้จากการฝึกอบรมไปประยุกต์ใช้ 5. องค์ความรู้ที่สามารถนาไประยุกต์ใช้……………………..…………….…………….………………… 6.ข้อเสนอแนะ………………………………………………..…………………………………………… โดยภาพรวม ท่านพอใจกับการฝึกอบรมครั้งนี้ มากน้อยเพียงใด  ดีมาก ดี  พอใช้  ควรปรับปรุง ๓๒

1

0


ภาคผนวก ค แบบถอดบทเรียน

๓๓


แบบประเมินผลและถอดบทเรียน โครงการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการคัดแยกขยะที่ต้นทาง เรียน ผู้เข้าร่วมประเมินผลโครงการ/ถอดบทเรียนทุกท่าน องค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อ ใคร่ขอความร่วมมือจากท่านตอบแบบประเมินผลโครงการ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาและปรับปรุงกระบวนการดาเนินโครงการและถอดบทเรียนการดาเนินโครงการที่ ผ่านมา จึงขอความกรุณาจากท่านโปรดตอบตามความเป็นจริง และส่งคืนผู้จัดด้วยจะขอบคุณมาก คาชี้แจง กรุณาเติมข้อความลงในช่องว่างหรือใส่เครื่องหมาย  ลงใน  หน้าข้อความที่ตรงกับ ความเป็นจริง (ตอนที่ 1-2) ตอนที่ 1 ข้อมูลผู้ตอบแบบสอบถาม 1. เพศ

 ชาย

 หญิง

2. อายุ

 ต่ากว่า 31 ปี  31-35 ปี 36-40 ปี  41- 45 ปี  46-50 ปี  51-55 ปี  56-60 ปี

3. การเป็นสมาชิกธนาคารขยะ  เป็นสมาชิก  ไม่เป็นสมาชิก คาชี้แจง กรุณาใส่เครื่องหมาย  หน้าข้อความที่ตรงกับความคิดเห็นของท่าน (ตอนที่ 2.1-2.3) ระดับความคิดเห็นแบ่งออกเป็น 5 ระดับ ได้แก่ มีความเห็นต่อเรื่องนั้นในระดับ ดีมาก มีคะแนนเท่ากับ 5 มีความเห็นต่อเรื่องนั้นในระดับ ดี มีคะแนนเท่ากับ 4 มีความเห็นต่อเรื่องนั้นในระดับ พอใช้ มีคะแนนเท่ากับ 3 มีความเห็นต่อเรื่องนั้นในระดับ น้อย มีคะแนนเท่ากับ 2 มีความเห็นต่อเรื่องนั้นในระดับ น้อยมาก มีคะแนนเท่ากับ 1 ไม่มีความคิดเห็น มีคะแนนเท่ากับ ๐ ตอนที่ 2 แบบประเมินผลการดาเนินโครงการ แผนงานที่ 1 การอบรมให้ความรู้การคัดแยกขยะ ระดับคะแนนผลการดาเนินการ ดีมาก

แผนงาน/กิจกรรม

1.การอบรมให้ความรู้การคัดแยกขยะ 2.การจัดทาสื่อประชาสัมพันธ์ 3.การศึกษาดูงาน ๓๔

มาก

ปาน น้อย กลาง

น้อย ที่สุด

ไม่มี ความ คิดเห็น


แผนงานที่ 2 การ คัดแยกขยะอินทรีย์ ขยะรีไซเคิล ขยะอันตราย และขยะทั่วไป ระดับคะแนนผลการดาเนินงาน มาก มาก ปาน น้อย น้อย ไม่มี ที่สุด กลาง น้อยที่สุด ความ แผนงาน/กิจกรรม คิดเห็น 1.การคัดแยกขยะอินทรีย์ 2.การคัดแยกขยะรีไซเคิล 3.การคัดแยกขยะอันตราย 4. การคัดแยกขยะทั่วไป แผนงานที่ 3 การจัดการขยะอินทรีย์ ขยะรีไซเคิล ขยะอันตราย และขยะทั่วไป ระดับคะแนนผลการดาเนินงาน มาก มาก ปาน น้อย น้อย ไม่มี ที่สุด กลาง น้อย ความ แผนงาน/กิจกรรม ที่สุด คิดเห็น 1.การจัดการขยะอินทรีย์ 2.การจัดการขยะรีไซเคิล 3.การจัดการแยกขยะอันตราย 4. การจัดการขยะทั่วไป แผนงานที่ 4 การติดตามประเมินผล และการถอดบทเรียน มาก ที่สุด

แผนงาน/กิจกรรม

ระดับคะแนนผลการดาเนินงาน มาก ปาน น้อย น้อย ไม่มี กลาง น้อย ความ ที่สุด คิดเห็น

1.การติดตามประเมินผล 2.การถอดบทเรียน สรุปผล ตอนที่ 3 การแสดงความคิดเห็น ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะอื่น ๆ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ..................................................................................................................................................................... ขอขอบคุณในความร่วมมือ ……. อบต.เหล่าโพนค้อ ๓๕


ภาคผนวก ง ระเบียบธนาคารขยะ บ้านห้วยยาง ห้วยยางเหนือ หมู่ ๖ หมู่ ๙

๓๖


ระเบียบชุมชนห้วยยางและห้วยยางเหนือ ว่าด้วยการจัดตัง้ ธนาคารขยะ ลดปัญหาสิ่งแวดล้อมในชุมชน พ.ศ.๒๕๕๙ ตามที่แผนการจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ.๒๕๕๕ – ๒๕๕๙ (ฉบับปัจจุบัน) มีแนวทาง การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยตั้งอยู่บนพื้นฐานของหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง ที่เป็นความสมดุล ความพอประมาณ ความมีเหตุผลและการสร้างฐานเศรษฐกิจที่มั่นคงและยั่งยืน บนรากฐานการพัฒนาของความสมดุล ใน ๓ มิติ คือ เศรษฐกิจ สังคม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยใช้แนวทางการจัดการแบบบูรณาการที่สอดคล้องตามระบบนิเวศของแต่ละพื้นที่ รวมทั้งผสมผสานการใช้ ภูมิปัญญาท้องถิ่นร่วมกับการใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมเพื่อนาไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน ในการนี้ ชุมชนห้วยยาง และห้วยยางเหนือ จึงได้นาโครงการการจัดการขยะมูลฝอยโดยชุมชน (Community Based Solid Waste Management : CBM) เข้ามาดาเนินงานเพื่อให้ชุมชนและครัวเรือนเข้ามามีส่วนร่วม โดยมีเปูาหมายเพื่อให้ ประชาชนมีการคัดแยกขยะให้มากที่สุด จนทาให้ปริมาณขยะเหลือน้อยที่สุดก่อนนาไปกาจัด ดังนั้นเพื่อให้การ จัดการขยะมูลฝอยโดยชุมชนเป็นไปด้วยความเรียบร้อยและประชาชนในความร่วมมือเป็นอย่างดี ชุมชนห้วย ยางและห้วยยางเหนือจึงให้มีการจัดตั้งธนาคารขยะขึ้น โดยการสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพตาบล เหล่าโพนค้อ และมีระเบียบ ดังนี้ ข้อ ๑ ระเบียบนี้ เรียกว่า “ระเบียบชุมชนห้วยยางและห้วยยางเหนือ ว่าด้วยการจัดตั้ง ธนาคารขยะลดปัญหาสิ่งแวดล้อมในชุมชน พ.ศ.๒๕๕๙” ข้อ ๒ ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ ๑ เมษายน ๒๕๕๙ เป็นต้นไป ข้อ ๓ ในระเบียบนี้ให้ครอบครัวที่เป็นสมาชิกธนาคารขยะลดปัญหาสิ่งแวดล้อมในชุมชน มี สิทธิได้รับ เงินค่าฌาปนกิจศพจากสมาชิก คนละ ๑๐ บาท โดยต้องมีคุณสมบัติดังนี้ ๑. มีชื่อในทะเบียนบ้านของครัวเรือนนั้นและอยู่ในเขตบ้านห้วยยางและห้วยยาง เหนือ ๒. ต้องขายขยะรีไซเคิลติดต่อกันไม่น้อยกว่า ๓ เดือน ๓. หลังจากขายขยะรีไซเคิลติดต่อกันครบ ๓ เดือน แล้วต้องไม่หยุดขายติดต่อกัน เกิน ๑ เดือน ๔. ถ้าหยุดขายติดต่อกันเกิน ๑ เดือน จะต้องเริ่มต้นนับการขายติดต่อกันไม่น้อย กว่า ๓ เดือนใหม่ สิทธิดังกล่าวจึงจะกลับมาดังเดิม ๕. กรณีสมาชิกในครอบครัวย้ายเข้ามาเพิ่มเติมต้องมีชื่อยู่ในทะเบียน นับตั้งแต่วัน ย้ายเข้าบ้านสมาชิกโครงการฯ ไม่ น้อยกว่า ๓ เดือน จึง มี สิท ธิรับ เงินค่า ฌาปนกิจ ๖. ให้ครอบครัวที่ประสงค์จะสมัครเป็นสมาชิกยื่นใบสมัครได้ที่ ที่ทาการผู้ใหญ่บ้าน ประธาน อสม. พร้อ มแนบส าเนาทะเบี ยนบ้ านเพื่ อแจ้ง รายชื่อ สมาชิ ก ใน ครอบครัว ข้อ ๔ การถอนเงินและรักษาบัญชี ๑. นาสมุดฝากไปถอนเงิน กับคณะกรรมการในวันทาการรับชื้อขายขยะ ๒. ให้คงเหลือเงินในบัญชีไม่น้อยกว่า ๑๐๐ บาท เพื่อสาหรับการสมทบจ่ายค่า ฌาปนกิจศพแก่สมาชิกรายอื่นๆ ๓๗


ข้อ ๕ ครอบครัวที่เป็นสมาชิก ประสงค์ที่จะขอรับเงินค่าฌาปนกิจศพ จะต้องยื่นเอกสาร ดังนี้ ๑. คาร้องขอรับเงินค่าฌาปนกิจศพ ๒. ใบมรณะบัตรของผู้เสียชีวิต ๓. สาเนาบัตรประจาตัวผู้ยื่นคาขอ ๔. สาเนาบัตรประจาตัวผู้เสียชีวิต ๕. สาเนาทะเบียนบ้าน ข้อ ๖ คณะกรรมการบริหารเงินกองทุนธนาคารขยะลดปัญหาสิ่งแวดล้อม บ้านห้วยยางและ ห้วยยางเหนือ ประกอบด้วย คณะกรรมการอานวยการ ๑.นายทวีชัย ยางธิสาร ประธานอานวยการ ๒.นายพายัพ โต๊ะชาลี รองประธานอานวยการ ๓.นายสาคร ยางธิสาร กรรมการอานวยการ ๔.นายสุรญ ั โต๊ะชาลี กรรมการอานวยการ ๕.นายจบ ยางธิสาร กรรมการอานวยการ ๖.นายสนที ยางธิสาร กรรมการอานวยการ ๗.นายเวียง ยางธิสาร กรรมการอานวยการ ๘.นางวงศ์จันทร์ ยางธิสาร กรรมการอานวยการ/เลขานุการ คณะกรรมการดาเนินงาน ๑.นายสมัย คาภูษา ประธานกรรมการดาเนินงาน ๒.นางจินตนา พลราชม กรรมการดาเนินงาน ๓.นายมวลชัย ยางธิสาร กรรมการดาเนินงาน ๔.นายปัญญา วงศ์อินพ่อ กรรมการดาเนินงาน ๕.นางวงศ์เพชร ยางธิสาร กรรมการดาเนินงาน ๖.นางไหมคา ฮ่มปุา กรรมการดาเนินงาน ๗.นางบุญเพ็ง กล้ายิ่ง กรรมการดาเนินงาน ๘.นางบุญมา แทนโสภา กรรมการดาเนินงาน ๙.นางประภาภร ยางธิสาร กรรมการดาเนินงาน ๑๐.นางอรพรรณ ยางธิสาร กรรมการดาเนินงาน ๑๑.นางสาววิลาวรรณ ชมพูบุตร กรรมการดาเนินงาน ๑๒.นางเออิ โต๊ะชาลี กรรมการดาเนินงาน ๑๓.นางทิพฤทัย เถือกตาถา กรรมการดาเนินงาน ๑๔.นางชมสวน ราชสูงเนิน กรรมการดาเนินงาน ๑๕.นางประภาภรณ์ พิมพ์กาล กรรมการดาเนินงาน ๑๖.นายมานะชัย แสนธิจักร กรรมการดาเนินงาน ๑๗.นายเธิญทักษ์ ชาลีพร กรรมการดาเนินงาน ๑๘.นายเสวย โต๊ะชาลี กรรมการดาเนินงาน ๓๘


๑๙.นายทูน ยางธิสาร ๒๐.นางวันทอง โต๊ะชาลี ๒๑.นางละพิน ยางธิสาร ๒๒.นางดอกลักษ์ จองสระ ๒๓.นางไขคูณ ยางธิสาร ๒๔.นางประยิ้ม บุญเรืองจักร ๒๕.นางบุญทวี ยางธิสาร ๒๖.นางแหวนเพชร จันทะผอง

กรรมการดาเนินงาน กรรมการดาเนินงาน กรรมการดาเนินงาน กรรมการดาเนินงาน กรรมการดาเนินงาน กรรมการดาเนินงาน กรรมการดาเนินงาน กรรมการดาเนินงาน/เลขานุการ

คณะกรรมการการเงินและบัญชี ๑.นายเวียง ยางธิสาร ประธานกรรมการการเงินและบัญชี ๒.นายสนที ยางธิสาร กรรมการการเงินและบัญชี ๓.นายทวีชัย ยางธิสาร กรรมการการเงินและบัญชี คณะกรรมการที่ปรึกษา ๑.นายกอนุสรณ์ พลราชม ประธานกรรมการที่ปรึกษา ๒.นายหวล ยางธิสาร กรรมการที่ปรึกษา ๓.ผอ.สุนันท์ หลวงศรี กรรมการทีป่ รึกษา ๔.นายเกียรติศักดิ์ ขันทีท้าว กรรมการที่ปรึกษา/เลขานุการ ให้คณะกรรมการมีหน้าที่กาหนดหลักเกณฑ์ให้ความเห็นชอบการจ่ายเงินฌาปนกิจและวางแผนพัฒนา กองทุนฌาปนกิจจากการขายขยะให้มีประสิทธิภาพ ข้อ ๗ ให้ประธานอานวยการ รักษาการตามระเบียบนี้ การวินิจฉัย ระเบียบชี้ขาดการปฏิบัติตาม ระเบียบให้เป็นอานาจของคณะกรรมการตามข้อ ๕ โดยถือมติเสียงข้างมาก คาวินิจฉัยของคณะกรรมการถือ เป็นข้อยุติ หากการลงมติมีเสียงเท่ากันให้ประธานอานวยการเป็นผู้วินิจฉัย ประกาศ ณ วันที่ ๑ เดือน เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๙

๓๙


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.