มาตรฐานการปฏิ บ ต ั ง ิ าน มาตรฐานการปฏิบัติงานตามภารกิจหลัก ตามภารกิจหลัก
การบริ ารส่วนต าโพนค้ อ อ องค์องค์ การบริ หหารส่ นตาบลเหล่ าบลเหล่ าโพนค้ อาเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร อาเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร
สารบัญ มาตรฐานการปฏิบัติงานตามภารกิจหลัก
หน้า
บทที่ 1 บทนา หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ ประโยชน์การจัดทาคู่มือการปฏิบัติงาน ความหมายขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
1 2 2-3 3-6
บทที่ 2 สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐานที่สาคัญของตาบล สภาพทั่วไปของตาบลเหล่าโพนค้อและข้อมูลพื้นฐานที่สาคัญของตาบล ข้อมูลเกี่ยวกับศักยภาพของท้องถิ่น ศักยภาพของชุมชนในพื้นที่
8 9 10
บทที่ 3 การปฏิบัติงานตามภารกิจหลัก ความหมายมาตรฐานการปฏิบัติงาน วัตถุประสงค์ ประโยชน์ของมาตรฐานการปฏิบัติงาน โครงสร้างส่วนราชการองค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อ การปฏิบัติงานตามภารกิจหลัก/กระบวนงาน คู่มือแผนการปรับลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน แนวทางการดาเนินงาน ระบบติดตามและประเมินผล
16 17 17 - 19 20 - 22 23 - 26 27 38 - 41 42 - 43
บทที่ 4 ระบบการป้องกัน/การตรวจสอบเพื่อป้องกันการละเว้นการปฏิบัติหน้าที่ในภารกิจหลัก ระบบการปูองกัน/การตรวจสอบเพื่อปูองกันการละเว้นการปฏิบัติหน้าที่ตามภารกิจหลัก 44 - 57 ระเบียบ/ข้อบังคับ ที่บังคับใช้ต่อผู้ที่ละเว้นการปฏิบัติหน้าที่ 45 ประมวลจริยธรรมของข้าราชการการเมืองท้องถิ่นฝุายบริหารอบต.เหล่าโพนค้อ พ.ศ. 2561 46 ประมวลจริยธรรมของข้าราชการการเมืองท้องถิ่นฝุายสภาท้องถิ่นอบต.เหล่าโพนค้อพ.ศ.2561 47 ประมวลจริยธรรมของข้าราชการ อบต.เหล่าโพนค้อ พ.ศ. 2561 47 ข้อบังคับองค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อว่าด้วยจรรยาข้าราชการอบต.เหล่าโพนค้อ 49 พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสาร พ.ศ. 2540 51 - 54 มาตรฐานควบคุมการปฏิบัติงาน 54 - 57
๑
บทที่ 1 บทนา หลักการและเหตุผล จากบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัติสภาตาบลและองค์การบริหารส่วนตาบล พ.ศ. 2537 แก้ไขเพิ่มเติมถึง ฉบับที่ 6 พ.ศ. 2552 ส่วนที่ 3 เรื่อง อานาจหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนตาบล มาตรา 66 องค์การบริหารส่วน ตาบลมีอานาจหน้าที่ในการพัฒนาตาบล ทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม และมาตรา 67 ภายใต้ บังคับ แห่งกฎหมาย องค์การบริหารส่วนตาบล มีหน้าที่ต้องทาในเขตองค์การบริหารส่วนตาบล 1. จัดให้มี และบารุงรักษาทางน้าและทางบก 2. รักษาความสะอาดของถนน ทางน้า ทางเดิน และที่สาธารณะ รวมทั้งกาจัดมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล 3. ปูองกันโรคและระงับโรคติดต่อ 4. ปูองกันและบรรเทาสาธารณภัย 5. ส่งเสริมการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 6. ส่งเสริมการพัฒนาสตรี เด็ก เยาวชน ผู้สูงอายุ และผู้พิการ 7. คุ้มครองดูแล และบารุงรักษา ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 8. บารุงรักษาศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิปัญหาท้องถิ่นและวัฒนธรรมอันดีของท้องถิ่น 9. ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่ราชการมอบหมาย โดยจัดสรรงบประมาณ หรือบุคลากรให้ตามความจาเป็นและ สมควร ตามบทบาทภารกิ จ ของส่ ว นท้ อ งถิ่ น ตามกฎหมายรั ฐ ธรรมนู ญ แห่ ง ราชอาณาจั ก รไทย พ.ศ.2550 พระราชบั ญ ญั ติ ต าบลและองค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต าบล พ.ศ. 2537 แก้ ไ ขเพิ่ ม เติ ม ถึ ง ฉบั บ ที่ 6 พ.ศ. 2552 พระราชบัญญัติกาหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอานาจให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 และพระ ราชกฤษฎี ก าว่ า ด้ ว ยหลั ก เกณฑ์ แ ละวิ ธี บ ริ ห ารกิ จ การบ้ า นเมื อ งที่ ดี พ.ศ. 2546 ประกอบกั บ หนั ง สื อ กระทรวงมหาดไทย ที่ มท 0892.4/ว 435 ลงวันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2548 กาหนดแนวทางให้ องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น วัดผลการบริหารและปฏิบั ติราชการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เพื่อทราบผลสัมฤทธิ์ตรงตาม เปู าหมายภารกิ จ โดยจั ด ท าคู่ มือ กาหนดมาตรฐานการปฏิ บัติ ง านขององค์ก ารบริ ห ารส่ ว นตาบลเหล่ าโพนค้ อ มีเปูาประสงค์ในการนามาตรการปฏิบัติงานตามภารกิจหลักที่ได้มาใช้ในการปรับปรุง แก้ไข ส่งเสริม พัฒนา ขยาย หรือยุติการดาเนินการซึ่งบ่งชี้ว่ากระบวนการวิธีการจัดทาแผนหรือโครงการนั้นผลเป็นอย่างไร นาไปสู่ความสาเร็จ บรรลุตามเปูาหมายวัตถุประสงค์หรือไม่ เพียงใด คู่มือการปฏิบัติงาน (Operating Manual) เป็นเครื่องมือที่สาคัญประการหนึ่งในการทางานทั้งกับหัวหน้า งานและผู้ปฏิบัติงานในหน่วยงาน จัดทาขึ้นไว้เพื่อจัดทารายละเอียดของการทางานในหน่วยงานออกมาเป็นระบบ และครบถ้วน คู่มือการปฏิบัติงาน (Work Manual) เปรียบเสมือนแผนที่บอกเส้นทางการทางานที่มีจุดเริ่มต้นและสิ้นสุดของกระบวนการ ระบุถึงขั้นตอนและรายละเอียดของกระบวนการต่าง ๆ ขององค์กรและวิธีควบคุมกระบวนการนั้น มักจัดทาขึ้นสาหรับลักษณะงานที่ซับซ้อน มีหลายขั้นตอนและเกี่ยวข้องกับคนหลายคน สามารถปรับปรุงเปลี่ยนแปลงเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงการปฏิบัติงาน
๒
วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้หัวหน้าหน่วยงานได้มีโอกาสทบทวนภาระหน้าที่ของหน่วยงานของตนว่ายังคงมุ่งต่อจุดสาเร็จของ องค์การโดยสมบูรณ์อยู่หรือไม่ เพราะจากสภาพการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นอาจทาให้หน่วยงานต้องให้ ความสาคัญแก่ภาระบางอย่างมากยิ่งขึ้น 2. เพื่อให้หัวหน้าหน่วยงานจัดทา/กาหนดมาตรฐานการปฏิบัติงานหรือจุดสาเร็จของการทางานของแต่ละ งานออกมาเป็นลายลักษณ์อักษรเพื่อให้การทางานเกิดประโยชน์ต่อองค์การโดยส่วนรวมสูงสุด และเพื่อใช้มาตรฐาน การทางาน/จุดสาเร็จของงานนี้เป็นเครื่องมือในการประเมินผลการปฏิบัติงานของพนักงานต่อไปด้วย 3. เพื่อให้การปฏิบัติงานในปัจจุบันเป็นมาตรฐานเดียวกัน เพื่อให้ผู้ปฏิบัติงานได้ทราบความคาดหวังอย่าง ชัดแจ้ งว่า การทางานในจุ ดนั้ น ๆ ผู้ บั งคับ บัญชาจะวัดความสาเร็จของการทางานในเรื่องใดบ้าง ซึ่งย่อมทาให้ ผู้ปฏิบัติงานสามารถปรับวิธีการทางานและเปูาหมายการทางานให้ตรงตามที่หน่วยงานต้องการได้และส่งผลให้เกิด การยอมรับผลการประเมินฯ มากยิ่งขึ้น เพราะทุกคนรู้ล่วงหน้าแล้วว่าทางานอย่างไรจึงจะถือได้ว่ามีประสิทธิภาพ 4. เพื่อให้การปฏิบัติงานสอดคล้องกับนโยบาย วิสัยทัศน์ ภารกิจและเปูาหมายขององค์กร เพื่อให้หัวหน้า หน่วยงานสามารถมองเห็นศักยภาพของพนักงาน เนื่องจากการทางานทุกหน้าที่มีจุดวัดความสาเร็จที่แน่นอนเด่นชัด หัวหน้างานจึงสามารถใช้ทรัพยากรบุคคลให้เกิดประโยชน์สูงสุด
ประโยชน์ของการจัดทาคูม่ ือการปฏิบัติงาน ประโยชน์ของคู่มือการปฏิบัติงานที่มีต่อองค์กรและผู้บังคับบัญชา 1. การกาหนดจุดสาเร็จและการตรวจสอบผลงานและความสาเร็จของหน่วยงาน 2. เป็นข้อมูลในการประเมินค่างานและจัดชั้นตาแหน่งงาน 3. เป็นคู่มือในการสอนงาน 4. การกาหนดหน้าที่การงานชัดเจนไม่ซ้าซ้อน 5. การควบคุมงานและการติดตามผลการปฏิบัติงาน 6. เป็นคู่มือในการประเมินผลการปฏิบัติงาน 7. การวิเคราะห์งานและปรับปรุงงาน 8. ให้ผู้ปฏิบัติงานศึกษางานและสามารถทางานทดแทนกันได้ 9. การงานแผนการทางาน และวางแผนกาลังคน 10. ผู้บังคับบัญชาได้ทราบขั้นตอนและสายงานทาให้บริหารงานได้ง่ายขึ้น 11. สามารถแยกแยะลาดับความสาคัญของงาน เพื่อกาหนดระยะเวลาทางานได้ 12. สามารถกาหนดคุณสมบัติของพนักงานใหม่ที่จะรับได้ง่ายขึ้นและตรงมากขึ้น 13. ทาให้บริษัทสามารถปรับปรุงระเบียบแบบแผนการทางานให้เหมาะสมยิ่งขึ้นได้ 14. ยุติความขัดแย้งและเสริมสร้างความสัมพันธ์ในการประสานระหว่างหน่วยงาน 15. สามารถกาหนดงบประมาณและทิศทางการทางานของหน่วยงานได้ 16. เป็นข้อมูลในการสร้างฐานข้อมูลของบริษัทต่อไปนี้ 17. การศึกษาและเตรียมการในการขยายงานต่อไปนี้ 18. การวิเคราะห์ค่าใช้จ่ายกับผลงานและปริมาณกาลังคนของหน่วยงานได้ 19. ผู้บังคับบัญชาบริหารงานได้สะดวก และรวดเร็วขึ้น 20. เกิดระบบการบริหารงานโดยส่วนร่วมสาหรับผู้บังคับบัญชาคนใหม่ในการร่วมกันเขียนคู่มือ
๓
ประโยชน์ของคู่มือการปฏิบัติงานที่มตี ่อผู้ปฏิบัตงิ าน 1. ได้รับทราบภาระหน้าที่ของตนเองชัดเจนยิ่งขึ้น 2. ได้เรียนรู้งานเร็วขึ้นทั้งตอนที่เข้ามาทางานใหม่/หรือผู้บังคับบัญชาที่มีต่อตนเองชัดเจน 3. ได้ทราบความหวัง (Expectation) ของผู้บังคับบัญชาที่มีต่อตนเองชัดเจน 4. ได้รับรู้ว่าผู้บังคับบัญชาจะใช้อะไรมาเป็นตัวประเมินผลการปฏิบัติงาน 5. ได้เข้าใจระบบงานไปในทิศทางเดียวกันทั้งหน่วยงาน 6. สามารถช่วยเหลืองานซึ่งกันและกันได้ 7. เข้าใจหัวหน้างานมากขึ้น ทางานด้วยความสบายใจ 8. ไม่เกี่ยงงานกัน รู้หน้าที่ของกันและกันทาให้เกิดความเข้าใจที่ดีต่อกัน 9. ได้ทราบจุดบกพร่องของงานแต่ละขั้นตอนเพื่อนามารปรับปรุงงานได้ 10. ได้เรียนรู้งานของหน่วยงานได้ทั้งหมด ทาให้สามารถพัฒนางานของตนเองได้ 11. มีขั้นตอนในการทางานที่แน่นอน ทาให้การทางานได้ง่ายขึ้น 12. รู้จักวางแผนการทางานเพื่อให้ผลงานออกมาตามเปูาหมาย 13. สามารถใช้เป็นแนวทางเพื่อการวิเคราะห์งานให้ทันสมัยอยู่ตลอดเวลา 14. สามารถแบ่งเวลาให้กับงานต่าง ๆ ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม 15. รู้ขอบเขตสายการบังคับบัญชาทางานให้การประสานงานง่ายขึ้น 16. ได้เห็นภาพรวมของหน่วยงานต่าง ๆ ในฝุายงานเดียวกันเข้าใจงานมากขึ้น 17. สามารถทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น เพราะมีสิ่งที่อ้างอิง 18. ได้รับรู้ว่าตนเองต้องมีการพัฒนาอะไรบ้างเพื่อให้ได้ตามคุณสมบัติที่ต้องการ 19. ได้เรียนรู้และรับทราบว่าเพื่อนร่วมงานทาอะไร เข้าใจกันและกันมากขึ้น 20. ได้รับรู้ว่างานที่ตนเองทาอยู่นั้นสาคัญต่อหน่วยงานอย่างไร เกิดความภาคภูมิใจ ความหมายองค์การบริหารส่วนตาบล องค์การบริหารส่วนตาบล มีชื่อย่อเป็นทางการว่า อบต. มีฐานะเป็นนิติบุคคล และเป็นราชการ บริหารส่วนท้องถิ่นรู ป แบบหนึ่ ง ซึ่งจั ดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติสภาตาบลและองค์การบริหารส่ วนตาบล พ.ศ. 2537 และที่แก้ไขเพิ่มเติมจนถึงฉบับที่ 6 พ.ศ. 2552 โดยยกฐานะจากสภาตาบลที่มีรายได้โดยไม่รวมเงินอุดหนุน ในปีงบประมาณที่ล่วงมาติดต่อกันสามปีเฉลี่ยไม่ต่ากว่าปีละหนึ่งแสนห้าหมื่นบาท รูปแบบองค์การ องค์การบริหารส่วนตาบล ประกอบด้วย สภาองค์การบริหารส่วนตาบล และนายกองค์การบริหาร ส่วนตาบล 1. สภาองค์การบริหารส่วนตาบล ประกอบด้วยสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตาบล จานวน หมู่บ้านละสองคน ซึ่งเลือกตั้งขึ้นโดยราษฎร์ผู้มีสิทธิเลือกตั้งในแต่ละหมู่บ้านในเขตองค์การบริหารส่วนตาบลนั้น กรณีที่เขตองค์การบริหารส่วนตาบลใดมีเพียงหนึ่งหมู่บ้านให้มีสมาชิกองค์การบริหารส่วนตาบลจานวนหกคน และใน กรณีมีเพียงสองหมู่บ้านให้มีสมาชิกองค์การบริหารส่วนตาบล หมู่บ้านละสามคน
๔ 2. องค์การบริหารส่วนตาบลมีนายกองค์การบริหารส่วนตาบล หนึ่ งคน ซึ่งมาจากการเลือกตั้ง ผู้บริหารท้องถิ่นโดยตรง การเลือกตั้งโดยตรงของประชาชนตามกฎหมายว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือ ผู้บริหารท้องถิ่น การบริหาร กฎหมายกาหนดให้มีคณะกรรมการบริหาร อบต. (ม.58) ประกอบด้วยนายกองค์การบริหารส่วน ตาบล 1 คน และให้นายกองค์ การบริหารส่วนตาบลแต่งตั้งรองนายกองค์การบริหารส่วนตาบล 2 คน ซึ่งเรียกว่า ผู้บริหารขององค์การบริหารส่วนตาบลหรือผู้บริหารท้องถิ่น
อานาจหน้าที่ของ อบต. อบต.มีหน้าที่ตามพระราชบัญญัติสภาตาบล และองค์การบริหารส่วนตาบล พ.ศ. 2537 และแก้ไข เพิ่มเติม (ฉบับที่ 3 พ.ศ. 2542) 1. พัฒนาตาบลทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม (มาตรา 66) 2. มีหน้าที่ต้องทาตามมาตรา 67 ดังนี้ - จัดให้มีและบารุงทางน้าและทางบก - การรักษาความสะอาดของถนน ทางน้า ทางเดินและที่สาธารณะ รวมทั้งการกาจัด ขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล - ปูองกันโรคและระงับโรคติดต่อ - ปูองกันและบรรเทาสาธารณภัย - ส่งเสริมการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม - ส่งเสริมการพัฒนาสตรี เด็กและเยาวชน ผู้สูงอายุและพิการ - คุ้มครอง ดูแลและบารุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม - บารุงรักษาศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่นและวัฒนธรรมอันดีของท้องถิ่น - ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่ทางราชการมอบหมาย 3. มีหน้าที่ที่อาจทากิจกรรมในเขต อบต.ตามมาตรา 68 ดังนี้ - ให้มีน้าเพื่อการอุปโภค บริโภคและการเกษตร - ให้มีและบารุงไฟฟูาหรือแสงสว่างโดยวิธีอื่น - ให้มีและบารุงรักษาทางระบายน้า - ให้มีและบารุงสถานที่ประชุม การกีฬา การพักผ่อนหย่อนใจและสวนสาธารณะ - ให้มีและส่งเสริมกลุ่มเกษตรกร และกิจการสหกรณ์ - ส่งเสริมให้มีอุตสาหกรรมในครอบครัว - บารุงและส่งเสริมการประกอบอาชีพ - การคุ้มครองดูแลและรักษาทรัพย์สินอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน - หาผลประโยชน์จากทรัพย์สินของ อบต. - ให้มีตลาด ท่าเทียบเรือ และท่าข้าม - กิจการเกี่ยวกับการพาณิชย์ - การท่องเที่ยว - การผังเมือง
๕ อานาจหน้าที่ตามแผนและขั้นตอนการกระจายอานาจ พระราชบัญญัติกาหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 กาหนดให้ อบต.มีอานาจและหน้าที่ในการจัดระบบการบริการสาธารณะ เพื่อประโยชน์ของประชาชนใน ท้องถิ่นของตนเองตามมาตรา 16 ดังนี้ 1. การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นของตนเอง 2. การจัดให้มี และบารุงรักษาทางบกทางน้า และทางระบายน้า 3. การจัดให้มีและควบคุมตลาด ท่าเทียบเรือ ท่าข้าม และที่จอดรถ 4. การสาธารณูปโภคและการก่อสร้างอื่น ๆ 5. การสาธารณูปการ 6. การส่งเสริม การฝึก และการประกอบอาชีพ 7. คุ้มครอง ดูแล และบารุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม 8. การส่งเสริมการท่องเที่ยว 9. การจัดการศึกษา 10. การสังคมสงเคราะห์ และการพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็ก สตรี คนชรา และผู้ด้อยโอกาส 11. การบารุงรักษาศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น และวัฒนธรรมอันดีของท้องถิ่น 12. การปรับปรุงแหล่งชุมชนแออัด และการจัดการเกี่ยวกับที่อยู่อาศัย 13. การให้มี และบารุงรักษาสถานที่พักผ่อนหย่อนใจ 14.การส่งเสริมกีฬา 15. การส่งเสริมประชาธิปไตย ความเสมอภาค และสิทธิเสรีภาพของประชาชน 16. ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของราษฎรการพัฒนาท้องถิ่น 17. การรักษาความสะอาด และความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง 18. การกาจัดมูลฝอย สิ่งปฏิกูล และน้าเสีย 19. การสาธารณสุข การอนามัยครอบครัว และการรักษาพยาบาล 20. การให้มี และควบคุมสุสาน และการรักษาพยาบาล 21. การควบคุมการเลี้ยงสัตว์ 22. การจัดให้มี และควบคุมการฆ่าสัตว์ 23. การรักษาความปลอดภัย ความเป็นระเบียบเรียบร้อย และการอนามัย โรงมหรสพ และ สาธารณสถานอื่น ๆ 24. การจัดการ การบารุงรักษา และการใช้ประโยชน์จากปุาไม้ ที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม 25. การผังเมือง 26. การขนส่ง และการวิศวกรรมจราจร 27. การดูแลรักษาที่สาธารณะ 28. การควบคุมอาคาร 29. การปูองกันและบรรเทาสาธารณภัย 30. การรักษาความสงบเรียบร้อย การส่งเสริมและสนับสนุนการปูองกันและรักษาความปลอดภัย ในชีวิตและทรัพย์สินกิจอื่นใด ที่เป็นผลประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่นตามที่คณะกรรมการประกาศกาหนด
๖
บทบาทหน้าที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น บทบาทภารกิจตามพระราชบัญญัติสภาตาบล และองค์การบริหารส่วนตาบล พ.ศ. 2537 จาก บทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัติสภาตาบล และองค์การบริหารส่วนตาบล พ.ศ. 2537 ส่วนที่ 3 เรื่องอานาจหน้าที่ ขององค์การบริหารส่วนตาบล มาตรา 66 กาหนดให้ "องค์การบริหารส่วนตาบล ทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม และ วัฒนธรรม" ซึ่งถือได้ว่า เป็นกรอบภาระหน้าที่หลักของ อบต. เมื่อพิจารณาตามบทบัญญัติรัฐธรรมนูญแห่งอาณาจักร ไทย พ.ศ. 2540 ว่าด้วยการปกครองท้องถิ่น มาตรา 289 บัญญัติว่า "องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ย่อมมีหน้าที่ บารุงรักษาศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น หรือวัฒนธรรมอันดีข องท้องถิ่น" และ "องค์การปกครองส่วน ท้องถิ่น ย่อมมีสิทธิที่จะจัดการศึกษาอบรมของรัฐ..." นอกจากนี้ มาตรา 290 ยังได้กาหนดให้องค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น มีอานาจหน้าที่ในการจัดการ การบารุงรักษา และการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม ที่อยู่ในเขตพื้นที่ตน เพื่อการส่งเสริม และรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมอีกด้วย ดังนั้น กรอบภาระหน้าที่ของ อบต. จึงครอบคลุมทั้งด้านเศรษฐกิจ (รวมถึงการส่งเสริมอาชีพ การ อุตสาหกรรมในครัวเรือน และอื่น ๆ) ด้านสังคม และวัฒนธรรม (รวมถึงการสาธารณสุข การส่งเสริม และรักษา คุณภาพสิ่งแวดล้อม การศึกษาอบรม ศิลปะจารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น และอื่น ๆ ) ซึ่งปรากฏอยู่ในบทบัญญัติ สภาตาบล และองค์การบริหารตาบล พ.ศ.2537 โดยกาหนดเป็นภารกิจหน้าที่ที่ต้องทา และอาจทา 1. องค์การบริหารส่วนตาบล (อบต.) มีอานาจหน้าที่ในการพัฒนาตาบลทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม (มาตรา 66) 2. องค์การบริหารส่วนตาบล (อบต.) มีหน้าที่ต้องทาในเขตองค์การบริหารส่วนตาบล ดังต่อไปนี้ (มาตรา 67) (1) จัดให้มีและบารุงรักษาทางน้า (2) การรักษาความสะอาดของถนน ทางน้า ทางเดินและที่สาธารณะ รวมทั้งการกาจัด ขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล (3) ปูองกันโรคและระงับโรคติดต่อ (4) ปูองกันและบรรเทาสาธารณภัย (5) ส่งเสริมการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม (6) ส่งเสริมการพัฒนาสตรี เด็กและเยาวชน ผู้สูงอายุและพิการ (7) คุ้มครอง ดูแลและบารุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (8) บารุงรักษาศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่นและวัฒนธรรมอันดีของท้องถิ่น (9) ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่ทางราชการมอบหมายโยจัดสรรงบประมาณหรือบุคลากรให้ ตามความจาเป็นและสมควร (ความเดิมในมาตรา 68 (8) ถูกยกเลิกและใช้ข้อความใหม่แทนแล้ว โดยมาตรา 14 และเพิ่มเติม (9) โดยมาตรา 15 ของ พ.ร.บ. สภาตาบลและองค์การบริหารส่วนตาบล (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2542 ตามลาดับ) 3. องค์การบริหารส่วนตาบล (อบต.) อาจทาให้เขตองค์การบริหารส่วนตาบล ดังต่อไปนี้ (มาตรา 68) (1) ให้มีน้าเพื่อการอุปโภค บริโภคและการเกษตร (2) ให้มีและบารุงไฟฟูาหรือแสงสว่างโดยวิธีอื่น (3) ให้มีและบารุงรักษาทางระบายน้า (4) ให้มีและบารุงสถานที่ประชุม การกีฬา การพักผ่อนหย่อนใจและสวนสาธารณะ (5) ให้มีและส่งเสริมกลุ่มเกษตรกร และกิจการสหกรณ์ (6) ส่งเสริมให้มีอุตสาหกรรมในครอบครัว (7) บารุงและส่งเสริมการประกอบอาชีพ
๗ (8) การคุ้มครองดูแลและรักษาทรัพย์สินอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน (9) หาผลประโยชน์จากทรัพย์สินของ อบต. (10) ให้มีตลาด ท่าเทียบเรือ และท่าข้าม (11) กิจการเกี่ยวกับการพาณิชย์ (12) การท่องเที่ยว (13) การผังเมือง (ความเดิมในมาตรา 68 (12) และ (13) เพิ่มเติมโดยมาตรา 16 ของ พ.ร.บ.สภาตาบลและองค์การบริหารส่วน ตาบล (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2542
แผนที่ตาบลเหล่าโพนค้อ
๘
บทที่ 2 สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐานที่สาคัญของตาบล ............................................................... 2.1 ข้อมูลทั่วไป 2.1.1 ด้านภูมิศาสตร์ ตาบลเหล่าโพนค้อมีสภาพทางกายภาพเป็นที่ราบเชิงเขา มีพื้นที่เป็นสภาพปุาที่ไม่สมบูรณ์ ขนาด 100 ไร่ และมีอ่างเก็บน้า 2 แห่ง คือ อ่างเก็บน้าห้วยโท-ห้วยยาง และอ่างเก็บน้าห้วยน้อย เป็นแหล่งต้นน้าลาห้วย 1 สาย 2.1.2 ที่ตั้งของหน่วยงาน ตาบลเหล่าโพนค้ออาเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของอาเภอโคกศรีสุพรรณ มีระยะทางห่างจากอาเภอฯประมาณ 10 กิโลเมตรและห่างจากจังหวัดสกลนครประมาณ 30 กิโลเมตร 2.2 อาณาเขตติดต่อ ทิศเหนือ จดพื้นที่ตาบลแมดนาท่ม อาเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ทิศใต้ จดเทือกเขาภูพาน อ.เต่างอย จ.สกลนคร และ อ.ดงหลวง จ.มุกดาหาร ทิศตะวันออก จดพื้นที่ตาบลหนองบ่อ อาเภอนาแก จังหวัดนครพนม ทิศตะวันตก จดพื้นที่ตาบลตองโขบ อาโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร 2.3 เนื้อที่ ตาบลเหล่าโพนค้อ มีเนื้อที่ทั้งหมด 36 ตารางกิโลเมตร หรือ 14,636 ไร่ เป็นพื้นที่ทาการเกษตร 9,787 ไร่ 2.4 การปกครอง หมู่ที่ 1 บ้านโพนค้อ นายเหรียญทอง พลราชม เป็นกานันตาบลเหล่าโพนค้อ หมู่ที่ 2 บ้านโพนไฮ นายธีระศักดิ์ อุ่นพิมพ์ เป็นผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 3 บ้านดง นายจรูญ บัวทะราช เป็นผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 4 บ้านหนองเหียน นายวารินทร์ จันทะวงศ์ เป็นผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 5 บ้านเหล่า นายเจริญศักดิ์ วงศ์คาษา เป็นผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 6 บ้านห้วยยาง นายพายัพ โต๊ะชาลี เป็นผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 7 บ้านเหล่าเหนือ นายณรงค์ กัณหา เป็นผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 8 บ้านดงน้อย นายวิพล หาญชนะ เป็นผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 9 บ้านห้วยยางเหนือ นายทวีชัย ยางธิสาร เป็นผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 10 บ้านโพนสูง นายวีราวัฒน์ เทือกตาหลอย เป็นผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 11 บ้านน้อยหนองไผ่สวนนายประเวส ศรีกะษร เป็นผู้ใหญ่บ้าน
๙
2.5 ข้อมูลด้านประชากร ตารางแสดงครัวเรือนและจานวนประชากรในพื้นที่ จานวน บ้าน หมู่ที่ ครัวเรือน โพนค้อ 1 223 โพนไฮ 2 96 ดง 3 99 หนองเหียน 4 180 เหล่า 5 171 ห้วยยาง 6 272 เหล่าเหนือ 7 117 ดงน้อย 8 123 ห้วยยางเหนือ 9 285 โพนสูง 10 279 น้อยหนองไผ่สวน 11 66 รวม 11 1,911
ชาย 302 145 165 306 225 475 179 147 447 321 109 2,82๑
จานวนประชากร หญิง 325 129 140 346 242 464 192 189 420 302 114 2,863
รวม 627 274 305 652 467 939 371 336 867 623 223 5,๖84
ที่มา : ข้อมูลสานักทะเบียนอาเภอโคกศรีสุพรรณ ณ วันที่ ๑๕ เดือน พฤษภาคม พ.ศ.25๖๐ 2.6 ด้านการเมืองการปกครอง 2.6.1 การปกครอง โครงสร้างขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตามพระราชบัญญัติสภาตาบลและองค์การบริหารส่วนตาบล พ.ศ.2537ได้แบ่งโครงสร้างขององค์การบริหารส่วนตาบลออกเป็น๒ส่วนคือสภาองค์การบริหารส่วนตาบลทาหน้าที่ ฝุายนิติบัญญัติและนายกองค์การบริหารส่วนตาบลทาหน้าที่ฝุายบริหารสาหรับการปฏิบัติงานตามอานาจและหน้าที่ ขององค์การบริหารส่วนตาบลจะมีโครงสร้างเพิ่มขึ้นอีกหนึ่งส่วนคือโครงสร้างส่วนราชการซึ่งมีพนักงานองค์การ บริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อทาหน้าที่ฝุายปฏิบัติโดยมีปลัดองค์การบริหารส่วนตาบลคนหนึ่งเป็นผู้บังคับบัญชา พนักงานองค์การบริหารส่วนตาบลและลูกจ้างองค์การบริหารส่วนตาบลรองจากนายกองค์การบริหารส่วนตาบลและ รับผิดชอบควบคุมดูแลราชการประจาขององค์การบริหารส่วนตาบลให้เป็นไปตามนโยบายและมีอานาจหน้าที่อื่น ตามที่กฎหมายกาหนดหรือตามที่นายกองค์การบริหารส่วนตาบลมอบหมาย องค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อตามรายงานทะเบียนราษฎร์มีประชากรทั้งสิ้น ๕,๖๘๔ คนแยกเป็น ชาย ๒,๘๒๑ คน หญิง ๒,๘๖๓ จานวน๑,๙๑๑หลังคาเรือนมีสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตาบลที่มาจากการ เลือกตั้งจานวน๒๒คนโดยแบ่ งเขตเลือกตั้งออกเป็น ๑๑ หมู่บ้านโดยประชาชนเลือกหมู่บ้านละ ๒คนและนายก องค์การบริหารส่วนตาบลมาจากการเลือกตั้งของประชาชนโดยตรงจานวน๑คนและรองนายกองค์การบริหารส่วน ตาบลจานวน๒คนและเลขานุการนายกจานวน๑คนมีพนักงานองค์การบริหารส่วนตาบล จานวน๑๒คนลูกจ้างประจา มีผู้บริหารและสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตาบล ดังนี้ ๑. นายอนุสรณ์ พลราชม นายกองค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อ ๒. นายชัชวาล คาภูษา รองนายกองค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อ
๑๐ ๓. นายทวีชัย พรหมเชษฐา รองนายกองค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อ ๔. นางกองมณี ขันทีท้าว ประธานสภาองค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อ ๕. นายสาคร ยางธิสาร รองประธานสภาองค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อ ๖. นายถวิล พลราชม สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อ หมู่ที่ ๑ ๗. นายอินทวา พลราชม สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อ หมู่ที่ ๑ ๘. นายวิเชียร คาภูษา สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อ หมู่ที่ ๒ ๙. นายวงค์ คาภูษา สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อ หมู่ที่ ๒ ๑๐.นายวรจิตร ลีนาลาด สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อ หมู่ที่ 3 11. นางศรีสุพรรณ์ ลีนาลาด สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อ หมู่ที่ 3 ๑2. นายปรารถนาพลราชม สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อ หมู่ที่๔ ๑3. นางประเทียน อินตัน สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อ หมู่ที่๔ ๑4. นายศรีจันทร์ คาภูษา สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อ หมู่ที่ 5 ๑5. นางวณิฎาโสดก สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อ หมู่ที่ 5 ๑6. นายสมัย คาภูษา สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อ หมู่ที่ 6 ๑7. นายประสงค์ศิลคาภูษา สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อ หมู่ที่ 7 ๑8. นายวิเลิศ อินปากดี สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อ หมู่ที่ 8 ๑9. นางจุฬาเพชรพลราชม สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อ หมู่ที่ 8 20. นายเสรีไทยฮ่มปุา สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อ หมู่ที่ 9 21. นายยุวัฒนาโต๊ะชาลี สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อ หมู่ที่ 9 ๒2. นายประสานพลราชม สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อ หมู่ที่ 10 ๒3. นายสมานชัยคาเพชร สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อ หมู่ที่ 10 ๒4. นายทักษินท์คาภูษา สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อ หมู่ที่ 11 ๒5. นายสมชาย พูลพร้อม สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อ หมู่ที่ 11 องค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อที่ได้กาหนดส่วนราชการเพื่อรองรับอานาจหน้าที่ตามที่กาหนดใน กฎหมายว่าด้วยการกาหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและกฎหมายอื่นที่ กาหนดอานาจหน้าที่ให้แก่องค์การบริหารส่วนตาบลโดยมีการแบ่งส่วนราชการและอานาจหน้าที่ความรับผิดชอบ ของส่วนราชการดังนี้ (1) สานักงานปลัดองค์การบริหารส่วนตาบลมีภาระหน้าที่เกี่ยวกับเป็นศูนย์กลางการบริหารงานในทุกด้าน ถ้างานไม่เกี่ยวกับส่วนอื่น (2) กองคลังมีภาระหน้าที่เกี่ยวกับการเบิกจ่ายงบประมาณ งานพัสดุ (3) กองช่างมีภาระหน้าที่เกี่ยวกับการก่อสร้าง ด้านโครงสร้างพื้นฐาน (4) ส่วนการศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมมีภาระหน้าที่เกี่ยวกับการบริหารศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและงานโรงเรียน (5) ส่วนการส่งเสริมการเกษตรมีภาระหน้าที่ดาเนินการเกี่ยวกับการส่งเสริมการเกษตร
2.6.2 ด้านเศรษฐกิจ
๑๑ 1) การประกอบอาชีพ โดยการจาแนกตามการประกอบอาชีพ หัวข้อ จานวน ร้อยละ 1. ทานา 1,851 70.46 2. ทาไร่ 12 0.46 3. ทาสวน 12 0.46 4. เลี้ยงสัตว์ 9 0.34 5. เพาะเลี้ยงสัตว์น้า 1 0.04 6. ทาประมง 0 0 7. รับจ้างทั่วไป/บริการ 115 4.38 หัวข้อ จานวน ร้อยละ 8. กรรมกร 11 0.42 9. ค้าขาย/ธุรกิจส่วนตัว 53 2.02 10. อุตสาหกรรมใน ครัวเรือน 4 0.15 11. รับราชการ 115 4.38 12. รัฐวิสาหกิจ 21 0.8 13. พนักงาน/ลูกจ้าง เอกชน 402 15.3 14. อืนๆ (ระบุ) 21 0.8 รวม 2,627 100 จากตารางประชาชนส่วนใหญ่มีอาชีพหลักมากที่สุดได้แก่ ทานา จานวน 1,851 คน คิดเป็นร้อย ละ 70.46รองลงมาคือ พนักงาน/ลูกจ้างเอกชนจานวน 402 คน คิดเป็นร้อยละ 15.3 และลาดับถัดไป คือรับราชการและรับจ้างทั่วไป/บริการจานวน 115 คน คิดเป็นร้อยละ 4.38 2.6.3 ด้านสังคม 1) ด้านการศึกษา ลาดับที่ ชื่อโรงเรียน สถานที่ตั้ง จานวนครู จานวน นักเรียน ๑ โรงเรี ย นบ้ า นเหล่ า โพนค้ อ เหล่ า ราษฎร์ บ้านเหล่าโพนค้อ ๑๖ ๒๑๓ วิทยา ๒ โรงเรียนบ้านห้วยยาง บ้านห้วยยาง ๑๕ ๒๒๗ ๔ โรงเรียนบ้านดงหนองเหียน บ้านดงหนอง ๕ ๙๖ เหียน รวม ๓๖ ๕๓๖ ที่มา :จากระบบข้อมูลตาบล (TCNAP)
๑๒ 2) ด้านสถาบันและองค์กรทางศาสนา ลาดับที่ สถาบันศาสนา ๑ วัดบ้านโพนค้อ ๒ วัดบ้านโพนไฮสามัคคี ๓ วัดนวกภูมิ ๔ วัดศรีแก้ว ๕ วัดศรีแก้วเหล่าอุดม ๖ วัดโพธิ์ชัย ๗ วัดปุาพุทธนิมิตรสถิตสีมาราม ๘ สานักสงฆ์หนองทอย ๙ สานักสงฆ์ภูน้อยอ่างแก้ว ๑๐ วัดปุาอัมพวัน รวม
สถานที่ตั้ง หมู่ที่ ๑ ต.เหล่าโพนค้อ อ.โคกศรีสุพรรณ จ.สกลนคร หมู่ที่ ๒ ต.เหล่าโพนค้อ อ.โคกศรีสุพรรณ จ.สกลนคร หมู่ที่ ๓ ต.เหล่าโพนค้อ อ.โคกศรีสุพรรณ จ.สกลนคร หมู่ที่ ๔ ต.เหล่าโพนค้อ อ.โคกศรีสุพรรณ จ.สกลนคร หมู่ที่ ๕ ต.เหล่าโพนค้อ อ.โคกศรีสุพรรณ จ.สกลนคร หมู่ที่ ๖ ต.เหล่าโพนค้อ อ.โคกศรีสุพรรณ จ.สกลนคร หมู่ที่ ๖ ต.เหล่าโพนค้อ อ.โคกศรีสุพรรณ จ.สกลนคร หมู่ที่ ๗ ต.เหล่าโพนค้อ อ.โคกศรีสุพรรณ จ.สกลนคร หมู่ที่ ๙ ต.เหล่าโพนค้อ อ.โคกศรีสุพรรณ จ.สกลนคร หมู่ที่ ๑๑ ต.เหล่าโพนค้อ อ.โคกศรีสุพรรณ จ.สกลนคร ที่มา : จากระบบข้อมูลตาบล (TCNAP)
2.6.3 ด้านความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน องค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อ มีศูนย์อาสาสมัครปูองกันภัยฝุายพลเรือนซึ่งเป็นศูนย์ที่ใช้ ประสานงานในเรื่องภัยพิบัติและอุบัติเหตุ อุบัติภัยต่างๆและมีกิจกรรมดังนี้ ๑. ศูนย์อปพร.ตาบลเหล่าโพนค้อ ตั้งอยู่ ณ ที่ทาการองค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อ ทุกปีมีการ ฝึกอบรมทบทวนอปพร.ตาบลตาบลเหล่าโพนค้อเพื่อให้อปพร. รู้หลักปฏิบัติในการให้ความช่วยเหลืออย่างถูกต้อง และถูกวิธีร่วมกับเจ้าหน้าที่ของรัฐตลอดจนสร้างความเข้มแข็งสามารถให้ความช่วยเหลือประชาชนที่ประสบภัยได้ อย่างทันท่วงทีซึ่งจะทาให้ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินโดยหลักสูตรการอบรมจะเน้น การปฏิบัติ จริงร่วมด้วยเช่นการซ้อมแผนเมื่อเกิดเหตุจราจล โดยเชิญวิทยากรมาจากหน่วยงานภาคีภาครัฐเช่นสถานีตารวจโคก ศรีสุพรรณโรงพยาบาลโคกศรีสุพรรณ เป็นต้น ๒. ศูนย์ปูองกันและลดอุบัติเหตุในช่วงเทศกาลต่างๆเพื่ออานวยความสะดวกและแก้ไขปัญหาให้กับ ประชาชนในการเดินทางกกลับภูมิลาเนาในช่วงเทศกาลต่างๆโดยการดาเนินกิจกรรมจะตั้งขึ้นจุดตรวจที่หน้า อบต. ๓. หน่วยแพทย์ฉุกเฉินตาบลเหล่าโพนค้อ ดาเนินกิจกรรมเพื่อช่วยเหลือผู้ผู้ปุวยฉุกเฉิน ผู้ยากไร้และมีรายได้ น้อยโดยการจัดส่งโรงพยาบาลฟรี
๑๓ 2.6.4 ด้านสาธารณสุข ลาดับ โรงพยาบาล
สถานที่ ผอ.รพ. สต.(คน)
๑
โรงพยาบาล ส่งเสริม สุขภาพ ตาบลโพน ค้อ
หมู่ที่ ๑
1
ตาแหน่งบุคลากรประจาหน่วยบริการ พยาบาล ทันตภิบาล แผนไทย วิชาชีพ สาธารณสุข (คน) (คน) ปฏิบัติการ (คน) 1 3 1
พนักงาน/ พนักงาน กระทรวง (คน) 3
14
โครงสร้าง การบริหารงานองค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อ ฝ่ายบริหาร
ฝ่ายนิติบัญญัติ
นายก อบต.
ประธานสภา ฯ
รองนายกฯ
รองนายก ฯ เลขานุการ
รอง
เลขานุการสภา
ประธานสภาฯ
ฯ สมาชิกสภา อบต.
15
โครงสร้างการแบ่งส่วน ราชการองค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อ ปลัด อบต. (นักบริหารงาน อบต. 8)
สานักงานปลัด อบต. หัวหน้าสานักปลัด อบต. (นักบริหารงานทั่วไป 7)
กองคลัง ผู้อานวยการกองคลัง (นักบริหารงานการคลัง 7)
กองช่าง ผู้อานวยการกองช่าง (นักบริหารงานช่าง 7)
กองส่งเสริมการเกษตร (นักบริหารงานเกษตร 6)
กองการศึกษา ศาสนาและ วัฒนธรรม (นักบริหารการศึกษา ฯ 6)
กองสวัสดิการสังคม (นักบริหารงานสวัสดิการสังคม 6)
16
บทที่ 3 การปฏิบัติงานตามภารกิจหลัก ความหมายมาตรฐานการปฏิบัติงาน มาตรฐานการปฏิบัติงานถือเป็นเครื่องมือสาคัญอย่างหนึ่งที่องค์การจะนามาใช้ในการบริหารงานบุคคล เพราะทั้งผู้ บ ริ ห ารและผู้ ป ฏิบั ติงานต่า งจะได้รั บ ประโยชน์จากการกาหนดมาตรฐานการปฏิบัติงานขึ้น มาใช้ร่ว มกั น ผู้บริหารจะมีเครื่องมือช่วยควบคุมให้การดาเนินงานเป็นไปตามเปูาหมายที่กาหนดไว้ การมอบหมายหน้า ที่และการสั่งการ สามารถทาได้โดยสะดวกและรวดเร็ว การประเมินผลการปฏิบัติงานมีความยุติธรรมและน่าเชื่อถือ เนื่องจากมีทั้งหลักฐาน และหลักเกณฑ์ที่ผู้บริหารสามารถชี้แจงให้ผู้ปฏิบัติงานยอมรับผลการประเมินได้โดยงานในส่วนของผู้ปฏิบัติงาน มาตรฐาน ที่ก าหนดไว้ถื อเป็ น สิ่ งที่ ท้ าทายที่ ทาให้ เ กิด ความมุ่ งมั่ น ที่จ ะไปให้ ถึง เปูา หมายการปฏิบั ติง านมี ความถู กต้ อ งมากขึ้ น เนื่ องจากผู้ ป ฏิ บั ติง านมี ก รอบหรื อ แนวทางในการปรับ ปรุง งานและการพั ฒ นาศัก ยภาพ เพื่ อน าไปสู่ มาตรฐานการ ปฏิ บั ติ ง านที่ ทั้ ง ผู้ ป ฏิ บั ติ ง านและผู้ บ ริ ห ารองค์ ก ารได้ ร วมกั น ก าหนดไว้ เ พื่ อ คุ ณ ภา พของการปฏิ บั ติ ง านและความ เจริญก้าวหน้าขององค์การ มาตรฐานการปฏิบัติงาน (Performance Standard) การบริหารงานบุคคลนับเป็นภารกิจที่สาคัญยิ่ง ประการหนึ่งของการบริหารองค์การ เนื่องจากเป็นปัจจัยที่มีส่วนทาให้การพัฒนาองค์การบรรลุตามวัตถุประสงค์และ เปูาหมายที่วางไว้ การบริหารบุคคลเป็นกระบวนการที่เกี่ยวข้องตัวกับตัวบุคคลในองค์การ นับตั้งแต่การสรรหาบุคคลมา ปฏิบัติงาน การบรรจุแต่งตั้ง การพัฒนา การประเมินผลการปฏิบัติงาน ไปจนถึงการให้บุคคลพ้นจากงาน ทั้งนี้เพื่อให้ องค์การได้คนดีมีความรู้ ความสามารถและความประพฤติดีมาปฏิบัติงาน ซึ่งการที่องค์การจะได้บุคคลที่มีคุณสมบัติ ดังกล่าวมาปฏิบัติงานนั้น จาเป็นต้องสร้างเครื่องมือสาคัญคือการประเมินผลการปฏิบัติงาน (Performance Standard) ขึ้นมาใช้ในการวัดและประเมินคุณสมบัติของบุคคล ซึ่งผลที่ได้จาการประเมินผลการปฏิบัติงานจะเป็นข้อมูลที่องค์การ นาไปใช้ในการพิจารณาการเลื่อนขั้นเลื่อนตาแหน่ง การพัฒนาประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน การโอนย้าย การให้พักงาน และการให้พ้นจากงานโดยทั่วไปแล้ว การที่จะทาให้การประเมินผลการปฏิบัติงานดาเนินไปอย่างบริสุทธิ์ยุติธรรมและ เชื่อถือได้นั้น องค์การมักจะสร้างเครื่องมือประกอบอี กส่วนหนึ่งขึ้นมาใช้ในการพิจารณาประเมินผล ซึ่งหนึ่งในเครื่องมือที่ ต้องใช้ก็คือ มาตรฐานการปฏิบัติงาน (Performance Standard) ทั้งนี้เพื่อใช้เป็นเกณฑ์ในการเปรียบเทียบผลงาน ระหว่างบุคคลที่ปฏิบัติงานอย่างเดียวกัน โดยองค์การต้องทาการกาหนดมาตรฐานการปฏิบัติงานไว้เป็ นหลักเกณฑ์ที่ ชัดเจนก่อนแล้ว เมื่อดาเนินการประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคคลจึงเปรียบเทียบกับมาตรฐานที่องค์การได้กาหนดไว้ มาตรฐานการปฏิบัติงาน สาหรับคาว่ามาตรฐานการปฏิบัติงาน (Performance Standard) สานักงาน คณะกรรมการข้าราชการพลเรือน ได้ให้ความหมายว่าเป็นผลการปฏิบัติงานในระดับใดระดับหนึ่ง ซึ่งถือว่าเป็นเกณฑ์ที่น่า พอใจหรืออยู่ในระดับที่ผู้ปฏิบัติงานส่วนใหญ่ทาได้ การกาหนดมาตรฐานการปฏิบัติงานจะเป็นลักษณะข้อตกลงร่วมกัน
17 ระหว่างผู้บังคับบัญชากับผู้ใต้บังคับบัญชาในงานที่ต้องปฏิบัติ โดยจะมีกรอบในการพิจารณากาหนดมาตรฐานห ลาย ๆ ด้าน ด้วยกัน อาทิ ด้านปริมาณ คุณภาพ ระยะเวลา ค่าใช้จ่ายหรือพฤติกรรมของผู้ปฏิบัติงาน เนื่องจากมาตรฐานของงาน บางประเภทจะออกมาในรูปแบบของปริมาณ ในขณะที่บางประเภทอาจออกมาในรูปของคุณภาพองค์การ จึงจาเป็นต้อง กาหนดมาตรฐานการปฏิบัติงานให้เหมาะสมและสอดคล้องกับลักษณะของงานประเภท นั้น ๆ วัตถุประสงค์ 1. เพื่ อ ให้ ส่ ว นราชการมี ม าตรฐานการปฏิ บั ติ ง านที่ ชั ด เจน อย่ า งเป็ น ลายลั ก ษณ์ อั ก ษรที่ แ สดงถึ ง รายละเอียดขั้นตอนการปฏิบัติงานของกิจกรรม/กระบวนการต่าง ๆ ของหน่วยงาน 2. เพื่อใช้ประโยชน์ในการบริหารจัดการองค์การ/การจัดทามาตรฐานการปฏิบัติงานถือเป็นเครื่องมือ อย่างหนึ่งในการสร้างมาตรฐานการปฏิบั ติงาน (ตาม PM 5) ที่มุ่งไปสู่การบริหารคุณภาพทั่วไปทั้งองค์การอย่างมี ประสิทธิภาพ ทั้งนี้ เพื่อให้การทางานของส่วนราชการได้มาตรฐานเป็นไปตามเปูาหมาย ได้ผลิตผลหรือการบริการที่มี คุ ณ ภาพ เสร็ จ รวดเร็ ว ทั น ตามก าหนดเวลานั ด หมาย มี ก ารท างานปลอดภั ย เพื่ อ การบรรลุ ข้ อ ก าหนดที่ ส าคั ญ ของ กระบวนการ ประโยชน์ของมาตรฐานการปฏิบัติงาน หากจะพิจารณาถึงประโยชน์ที่องค์การและบุคคลในองค์การจะได้รับจากการกาหนดมาตรฐานการ ปฏิบัติงานขึ้นใช้ก็พบว่ามีด้วยกันหลายประการ ไม่ว่าจะเป็นทางด้านประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน การสร้างแรงจูงใจ การ ปรับปรุงงาน และการประเมินผลการปฏิบัติงาน ดังนี้ 1. ด้านประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน มาตรฐานการปฏิบัติงานจะช่วยให้ผู้ปฏิบัติงานสามารถปฏิบัติงาน ได้อ ย่ างถูก ต้อง การเปรี ย บเที ย บผลงานที่ทาได้กั บที่ ควรจะเป็น มีความชั ดเจน มองเห็ นแนวทางในการพั ฒ นาการ ปฏิบัติงานให้เกิดผลได้มากขึ้น และช่วยให้มีการฝึกฝนตนเองให้เขาสู่มาตรฐานได้ 2. ด้านการสร้ างแรงจู งใจ มาตรฐานการปฏิบัติงานเป็นสิ่ ง ทาให้ เราเกิดความมุ่งมั่นไปสู่ มาตรฐาน ผู้ ป ฏิ บั ติ ง านที่ มี ค วามสามารถจะเกิ ด ความรู้ สึ ก ท้ า ทายผู้ ป ฏิ บั ติ ง านที่ มุ่ ง ความส าเร็ จ จะเกิ ด ความมานะพยายาม ผู้ปฏิบัติงานจะเกิดความภาคภูมิใจและสนุกกับงาน 3. ด้านการปรับปรุงงานมาตรฐานการปฏิบัติงานจะช่วยให้ผู้ปฏิบัติงานทราบว่าผลงานที่มีคุณภาพ จะต้องปฏิบัติอย่างไร ช่วยให้ไม่ต้องกาหนดรายละเอียดของงานทุกครั้ง ทาให้มองเห็นแนวทางในการปรับปรุงงานและ พัฒนาความสามารถของผู้ปฏิบัติงาน และช่วยให้สามารถพิจารณาถึงความคุ้มค่าและเป็นประโยชน์ต่อการเพิ่มผลผลิต 4. ด้านการควบคุมงานมาตรฐานการปฏิบัติงานเป็นเครื่องที่ผู้บังคับบัญชาใช้ควบคุม การปฏิบัติงาน ผู้บังคับบัญชาสามารถมอบหมายอานาจหน้าที่และส่งผ่านคาสั่งได้ง่ายขึ้น ช่วยให้สามารถดาเนินงานตามแผนง่ายขึ้นและ ควบคุมงานได้ดีขึ้น
18 5. ด้านการประเมินผลการปฏิบัติงาน มาตรฐานการปฏิบัติงานช่วยให้การประเมินผลการปฏิบัติงาน เป็นไปอย่างมีหลักเกณฑ์ ปูองกันไม่ให้มีการประเมินผลการปฏิบัติงานด้วยความรู้สึกการเปรี ยบเทียบ ผลการปฏิบัติงานที่ ทาได้กับมาตรฐานการปฏิบัติงานมีความชัดเจน และช่วยให้ผู้ปฏิบัติงานยอรับผลการประเมินได้ดีขึ้น ขั้นตอนการกาหนดมาตรฐานการปฏิบัติงาน ประกอบด้วย 1. เลือกงานหลักของแต่ละตาแหน่งมาทาการวิเคราะห์โดยดูรายละเอียดจากแบบบรรยายลักษณะงาน (Job Description) ประกอบด้วย 2. พิจารณาวางเงื่อนไขหรือข้อกาหนดไว้ล่วงหน้าว่าต้องการผลงานลักษณะใดจากตาแหน่ง นั้น ไม่ว่าจะ เป็นปริมาณงาน คุณภาพงาน หรือวิธีการปฏิบัติงาน ซึ่งเงื่อนไขหรือข้อกาหนดที่ตั้งไว้ต้องไม่ขัดกับนโยบาย หลักเกณฑ์ หรือระเบียบข้อบังคับของหน่วยงานหรือองค์การ 3. ประชุมผู้ที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ผู้บังคับบัญชา หัวหน้าหน่วยงานทุกหน่วยงานและผู้ปฏิบัติงานในตาแหน่ง นั้น ๆ เพื่อปรึกษาและหาข้อตกลงร่วมกัน 4. ชี้แจงและทาความเข้าใจกับผู้ปฏิบัติงานและผู้เกี่ยวข้องอื่นๆ เกี่ยวกับมาตรฐานการปฏิบัติงานที่ กาหนดไว้ 5. ติดตามดูการปฏิบัติงานแล้วนามาเปรียบเทียบกับมาตรฐานที่กาหนดไว้ 6. พิจารณาปรับปรุงหรือแก้ไขมาตรฐานที่กาหนดไว้ใหม่ตามความเหมาะสมยิ่งขึ้น เกณฑ์ของมาตรฐาน การปฏิบัติงาน เกณฑ์ที่องค์การมักกาหนดเป็นมาตรฐานการปฏิบัติงาน ได้แก่ เกณฑ์ด้านปริมาณงานและระยะเวลาที่ ปฏิบัติคุณภาพของงาน ลักษณะการแสดงออกขณะปฏิบัติงาน ซึ่งกล่าวได้โดยละเอียด ดังนี้ 1. ปริมาณงานและระยะเวลาที่ปฏิบัติเป็นการกาหนดว่างานต้องมีปริมาณเท่าไร และควรจะใช้เวลา ปฏิบัติมากน้อยเพียงใดงานจึงจะเสร็จ ดังนั้นงานลักษณะเช่นนี้จะไม่สามารถกาหนดมาตรฐานด้วยปริมาณหรือระยะเวลา ที่ปฏิบัติได้ 2. คุณภาพของงาน เป็นการกาหนดว่าผลงานที่ปฏิบัติได้นั้นควรมีคุณภาพดีมากน้อยเพียงใด โดยส่วนใหญ่มัก กาหนดว่าคุณภาพของงานจะต้องมีความครบถ้วน ประณีต ถูกต้องเชื่อถือได้ ประหยัดทั้งเวลาและทรัพยากร 3. ลักษณะการแสดงออกขณะปฏิบัติงาน งานบางตาแหน่งไม่สามารถกาหนดมาตรฐานด้วยคุณภาพ หรือปริมาณ แต่เป็นงานที่ต้องปฏิบัติโดยการใช้บุคลิกหรือลักษณะเฉพาะบางอย่างประกอบ ดั ง นั้ น การก าหนดลั ก ษณะพฤติ ก รรมที่ ต้ อ งแสดงออกไว้ ใ นมาตรฐานการปฏิ บั ติ งานจะช่ ว ยให้ ผู้ปฏิบัติงานทราบว่าต้องปฏิบัติอย่างไร เนื่องจากการแสดงพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมอาจส่งผลเสียต่อภาพลักษณ์ของ องค์การและขวัญกาลังใจของเพื่อนร่วมงานอย่างไรก็ตาม เพื่อให้การกาหนดมาตรฐานการปฏิบัติ งานสาหรับตาแหน่งงาน ต่าง ๆ ในองค์การมีความเหมาะสมและเป็นที่ยอมรับของผู้ปฏิบัติงาน ผู้ทาหน้าที่กาหนดมาตรฐานการปฏิบัติงานจะต้อง คานึงถึงสิ่งสาคัญบางประการนั่นก็คือ ต้องเป็นมาตรฐานที่ผู้เกี่ยวข้องทุกฝุายสามารถยอมรับได้โดยทั้งผู้บังคับบัญชาและ ผู้ใต้บังคับบั ญชาเห็ นพ้องต้องกันว่ามาตรฐานมีความเป็นธรรม ผู้ ปฏิบัติงานทุกคนสามารถปฏิบัติได้ตามที่กาหนดไว้ ลักษณะงานที่กาหนดไว้ในมาตรฐานต้องสามารถวัดได้เป็นจานวนเปอร์เซ็นต์หรือหน่วยอื่น ๆ ที่สามารถวัดได้มีการบันทึก
19 ไว้ให้เป็นลายลักษณ์อักษรและเผยแพร่ให้เป็นที่รับรู้และเข้าใจตรงกัน และสุดท้ายมาตรฐานการปฏิบัติงานที่กาหนดไว้ ต้องสามารถเปลี่ยนแปลงได้ทั้งนี้ต้องไม่เป็นการเปลี่ยนแปลงเพราะผู้ปฏิบัติงานไม่สามารถปฏิบัติได้ตามมาตรฐาน การ เปลี่ ย นแปลงควรมี ส าเหตุ เนื่ อ งมาจากการที่ ห น่ ว ยงานมี วิ ธีป ฏิ บั ติง านใหม่ ห รือ น าอุ ป กรณ์ เ ครื่อ งมือ เครื่อ งใช้ม าใช้ ปฏิบัติงาน
โครงสร้างองค์กรขององค์การบริหารส่วนตาบล องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต าบลมี ส ภาต าบลอยู่ ใ นระดั บ สู ง สุ ด เป็ น ผู้ ก าหนดนโยบายและก ากั บ ดู แ ล กรรมการบริห ารของนายกองค์การบริห ารส่ วนตาบล ซึ่งเป็นผู้ ใช้อานาจบริหารงานองค์การบริห ารส่ วนตาบลและมี พนักงานประจาที่เป็นข้าราชการส่วนท้องถิ่นเป็นผู้ทางานประจาวันโดยมีปลัดองค์การบริหารส่วนตาบลเป็นหัวหน้างาน บริหารภายในองค์กรมีการแบ่งออกเป็นหน่วยงานต่าง ๆ ได้เท่าที่จาเป็นตามภาระหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนตาบลแต่ ละแห่งเพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชนในพื้นที่รับผิดชอบอยู่ เช่น - สานักปลัด - กองคลัง - กองช่าง - กองส่งเสริมการเกษตร - กองการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม - กองสวัสดิการสังคม ๑. สานักปลัด อบต. มีภารกิจด้านงานบริหารทั่วไป งานกิจการองค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อ งาน บริหารงานทั่วไป งานนโยบายและแผน งานกฎหมายและคดี งานส่งเสริมสุขภาพและสาธารณสุข งานรักษาความ สะอาด งานควบคุมและจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อม งานบริการสาธารณสุข งานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย งาน กิจการสภา งานบุคลากร ๒. กองคลัง มีภารกิจด้านงานการเงิน งานการบัญชี งานพัฒนาและจัดเก็บรายได้ และงานทะเบียนทรัพย์สินและพัสดุ ๓. กองช่าง มีภารกิจด้านงานก่อสร้าง งานออกแบบและควบคุมอาคาร งานประสานสาธารณูปโภค งานผัง เมือง 4. กองส่งเสริมการเกษตร งานส่งเสริมการเกษตร งานส่งเสริมปศุสัตว์ งานส่งเสริมการท่องเที่ยว 5. กองการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม มีภารกิจด้านงานบริหารการศึกษา งานส่งเสริมการศึกษา ศาสนาและ วัฒนธรรม งานกิจการโรงเรียน ๖. กองสวัสดิการสังคม งานสังคมสงเคราะห์ งานสวัสดิการและพัฒนาชุมชน งานส่งเสริมอาชีพและพัฒนาสตรี
20 โครงสร้างของสานักปลัดองค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อ หัวหน้าสานักปลัด (นักบริหารงานทั่วไป)
-งานบริหารงานทั่วไป -งานกิจการสภา อบต. -งานกฎหมายและคดี
-งานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย -งานอนามัยและสิ่งแวดล้อม
-งานส่งเสริมสุขภาพและสาธารณสุข -งานควบคุมและจัดการคุณภาพ สิ่งแวดล้อม -งานบริการสาธารณสุข
-งานนโยบายและแผน -งานส่งเสริมสุขภาพและ สาธารณสุข -งานควบคุมและจัดการ คุณภาพ สิ่งแวดล้อม
-งานบุคคล
โครงสร้างกองคลัง
กองคลัง (นักบริหารงานการคลัง)
-งานการเงิน
-งานการบัญชี
-งานพัฒนาและจัดเก็บรายได้
-งานทะเบียนทรัพย์สิน และพัสดุ
21 โครงสร้างกองช่าง กองช่าง (นักบริหารงานช่าง)
-งานก่อสร้าง -งานผังเมือง
-งานออกแบบและควบคุม อาคาร
-งานประสาน สาธารณูปโภค
โครงสร้างกองส่งเสริมการเกษตร กองส่งเสริมการเกษตร (นักบริหารงานเกษตร)
- งานส่งเสริมการเกษตร - งานส่งเสริมปศุสัตว์
- งานส่งเสริมการท่องเที่ยว - งานสื่อสารและประชาสัมพันธ์
22 โครงสร้างกองการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
กองการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม (นักบริหารงานการศึกษา)
-งานบริหารการศึกษา
-งานส่งเสริมการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม -งานรักษาความสะอาด
โครงสร้างกองสวัสดิการสังคม
กองสวัสดิการสังคม (นักบริหารงานสวัสดิการสังคม)
-งานสังคมสงเคราะห์ -งานสวัสดิการและการพัฒนาชุมชน
-งานส่งเสริมพัฒนาอาชีพและพัฒนาสตรี
23
การปฏิบัติงานตามภารกิจหลัก กระบวนงาน : การจัดทาแผนพัฒนาองค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อ แนวทางระเบียบการจัดทาแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการจัดทาแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2548 กาหนดให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจะต้องดาเนินการวางแผนพัฒนาโดยให้องค์การบริหารส่วนตาบลต้องมีการปรับปรุง แผนพัฒนาตาบล 3 ปีเป็นประจาทุกปีซึ่งการปรับปรุงแผนจะต้องนาข้อมูลที่ได้จากการจัดประชุมประชาคมหมู่บ้านประชาคม ตาบลปัญหาความต้องการท้องถิ่นยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด/อาเภอแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 11 นโยบายของผู้บริหารท้องถิ่นเพื่อนามาเปรียบเทียบและให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ขององค์การบริหารส่วนตาบล เพื่อให้ เป็นไปตามระเบียบฯ องค์การบริหารส่วนตาบลบ้านกุ่ม ได้ทาข้อมูลที่ได้มาปรับปรุงแผนพัฒนาตาบล 3 ปีเป็นแนวทางใน การพัฒนาตาบลเขาเขนและเป็นเครื่องมือของผู้บริหารในการวางกรอบการทางานการพัฒนาตาบลต่อไป ลักษณะของแผนพัฒนาสามปี แผนพัฒนาสามปี เป็นเอกสารที่มีความสัมพันธ์สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา แสดงแนวทาง การพัฒนาและวัตถุประสงค์ของการพัฒนาที่ชัดเจน มีโครงการ/กิจกรรมการพัฒนาที่จะดาเนินการเป็นระยะเวลา 3 ปี และการแสดงความเชื่อมโยงกับ ข้อบั ญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปี กล่ าวคือ องค์การบริห ารส่ วนตาบลใช้การ วางแผนยุ ท ธศาสตร์ ก ารพัฒ นาเป็ น เครื่ อ งมื อ ในการจั ด ท างบประมาณรายจ่า ยประจ าปี เพื่ อ ที่ ก ระบวนการจั ด ท า งบประมาณเป็นไปด้วยความรอบคอบ และผ่านกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชน ตามจุดประสงค์ของแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 พ.ศ. 2555 - 2559 วัตถุประสงค์ของการจัดทาแผนสามปี 1. เพื่อแสดงความสัมพันธ์เชื่อมโยงและสอดคล้องกันระหว่างแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา แผน 3 ปี และ การจัดทางบประมาณประจาปี 2. เพื่อแสดงแนวทางการพัฒนาในช่วงสามปีที่มีความสอดคล้องและสามารถสนองตอบต่อยุทธศาสตร์ การพัฒนาอย่างมีประสิทธิภาพ 3. เพื่อเป็นการจัดเตรียมโครงการพัฒนาต่าง ๆ ให้อยู่ในลักษณะที่พร้อมจะบรรจุในงบประมาณรายจ่าย ประจาปี และนาไปปฏิบัติได้ทันทีเมื่อได้รับงบประมาณ แผนพัฒนาสามปี มีลักษณะกว้าง ๆ ดังต่อไปนี้ 1. เป็นเอกสารที่แสดงความสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา 2. เป็นเอกสารที่จะแสดงความเชื่อมโยงระหว่างแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา กับงบประมาณรายจ่าย ประจาปี 3. เป็นเอกสารที่แสดงโครงการ/ กิจกรรมการพัฒนาที่จะดาเนินการเป็นห้วงระยะเวลา 4. เป็นเอกสารที่จะแสดงความเชื่อมโยงระหว่างแผนยุทธศาสตร์การพัฒนากับงบประมาณรายจ่าย ประจาปี
24
สรุปความเชื่อมโยง แผนพัฒนาระดับต่างๆ กับ แผนพัฒนาท้องถิ่น และงบประมาณท้องถิ่น
ปัจจัยนาเข้า • แผนพัฒนา เศรษฐกิจฯ • นโยบายของรัฐบาล/ แผนการบริหาร ราชการ แผ่นดิน • ยุทธศาสตร์กลุม่ จังหวัด/ จังหวัด/อาเภอ • นโยบายผูบ้ ริหาร ท้องถิ่น • ภารกิจตามอานาจ หน้าที่ • ปัญหาความต้องการ ของประชาชน/แผน ชุมชน • ข้อมูล
แผน ยุทธศาสตร์
วิสยั ทัศน์ พันธกิจ จุดมุ่งหมาย ยุทธศาสตร์ แนวทางการ พัฒนา
แผน พัฒนา สามปี
หมวด โครงการ รายจ่าย กิจกรรม ต่างๆ
งบประมาณ รายจ่ าย
อปท.
แผนการ ดาเนิ นงาน (ปฏิทิน การ ทางาน)
25
Work Flowกระบวนงาน การใช้สัญลักษณ์ต่าง ๆ ในการเขียนแผนผังการทางาน เพื่อให้เห็นถึงลักษณะ และความสัมพันธ์ก่อน - หลัง ของแต่ละขั้นตอนในกระบวนงาน ที่จะเป็นประโยชน์ในการช่วยทาความเข้าใจกระบวนการทางานที่ง่ายขึ้นและแสดงให้ เห็นภาพความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลที่เกี่ยวข้อง ขั้นตอนการทางาน (Work Flow)
ผังงาน (Flow Chart)
ระยะเวลา
ประชาคม
ก.พ. - มี.ค.
รวบรวมข้อมูล/ปัญหา/ ความต้องการจาก ประชาคมหมู่บ้านเพื่อ จัดทาประชาคมระดับ ตาบล
มี.ค. - พ.ค. N Ye
จัดทาร่างแผนฯ
พ.ค. - มิ.ย.
ประชุม คกก.จัดทาแผน/ คกก.สนับสนุนแผนฯ เสนอสภาฯพิจารณา เห็นชอบ
N
พ.ค. - มิ.ย.
Y
ประกาศใช้
จุดเริ่ มต้ นและสิ ้นสุดของกระบวนงาน กิจกรรมและการปฏิบตั ิงาน การตัดสินใจ เช่น การตรวจสอบ การอนุมตั ิ แสดงถึงทิศทางหรือการเคลือ่ นไหวของงาน จุดเชื่อมต่อระหว่างขันตอน ้
มิ.ย. มิ.ย.
ผู้รับผิดชอบ* (ตาแหน่ง/กลุ่ม/ฝุาย) จนท.วิเคราะห์ฯ/หัวหน้า ส านั ก งานปลั ด /ปลั ด ฯ/ จนท.ส านั ก งานปลั ด ฯ/ ค ก ก . จั ด ท า แ ผ น / คกก.สนันสนุนแผนฯ จนท.วิเคราะห์ฯ/หัวหน้า สานักงานปลัด/ปลัดฯ/ คกก.จัดทาแผน/คกก. สนับสนุนแผนฯ จนท.วิเคราะห์ฯ/หัวหน้า สานักงานปลัด/ปลัดฯ/ คกก./จนท.สานักงาน ปลัดฯ จนท.วิเคราะห์ฯ/หัวหน้า สานักงานปลัด/ปลัดฯ/ จนท.สานักงานปลัดฯ/ คกก.จัดทาแผน/คกก. สนับสนุนแผนฯ จนท.วิเคราะห์ฯ/หัวหน้า สานักงานปลัด/ปลัดฯ/ สภาฯ ผู้บริหารท้องถิ่น
26
ขั้นตอนการจัดทาแผนพัฒนาสามปี 1. ประชาคมหมู่บ้าน 2. รวบรวมนาข้อมูลปัญหา/ความต้องการ/โครงการจากากรประชาคมหมู่บ้านเพื่อประชุมคณะกรรมการสนับสนุน การจัดทาแผนพัฒนา อบต.และคณะกรรมการพัฒนา อบต. 3. ประชาคมระดับตาบล 4. เสนอร่างแผนพัฒนาสามปีต่อสภาองค์การบริหารส่วนตาบลให้ความเห็นชอบ 5. ประกาศใช้แผนพัฒนาสามปี 6. รายงานอาเภอ จังหวัด กระทรวงทราบ 7. ประกาศให้ทราบเป็นแผนพัฒนาตาบล 8. ฝ่ายบริหาร และเจ้าหน้าที่งบประมาณจัดทาเป็นข้อบัญญัติ 9. เสนอให้สภาองค์การบริหารส่วนตาบลให้ความเห็นชอบ 10. นายอาเภออนุมัติ 11. นายกองค์การบริหารส่วนตาบลลงนามประกาศเป็นข้อบัญญัติ 12. ฝ่ายบริหารจัดการบริหารโครงการ -จัดทาเอง - สนับสนุนงบประมาณ 13. ประชาชนติดตามโครงการต่าง ๆ - ตรวจสอบงบประมาณ - เสนอโครงกา
27 คู่มือแผนการปรับลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 25๖๑ กระบวนการ ขั้นตอน และวิธีปฏิบัติในการจัดทาแผนพัฒนาองค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อ ขององค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อ อาเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ลาดับ
1
กระบวนงานบริการ
ขั้นตอนการให้บริการ
สานักงานปลัด กระบวนงาน : การจัดทา แผนพัฒนาองค์การ บริหารส่วนตาบล แต่งตั้งคณะกรรมการ 1.1 ผู้บริหารท้องถิ่นแต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาท้องถิ่น พัฒนาท้องถิ่น/ 1.2 ผู้บริหารท้องถิ่นแต่งตั้งคณะกรรมการสนับสนุนการจัดทา คณะกรรมการสนับสนุน แผนพัฒนาท้องถิ่น การจัดทาแผนพัฒนา ท้องถิ่น
เอกสารประกอบการพิจารณา
ระยะเวลาการให้บริการ
- ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการจัดทาแผนพัฒนา ขององค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น หมวด 1 ข้อ 7 และ ข้อ 9
- ดาเนินการเมื่อคณะกรรมการชุด เดิมหมดวาระแล้ว ซึ่ง คณะกรรมการแต่ละชุดมีวาระอยู่ ในตาแหน่งคราวละสองปี - ภายในเดือนพฤศจิกายน
หมาย เหตุ
28 ลาดับ 2
กระบวนงานบริการ
ขั้นตอนการให้บริการ
การเตรียมการจัดประชุม 2.1 คณะกรรมการพัฒนาแผนท้องถิ่นร่วมกับส่วนราชการผู้นา ประชาคม ชุมชนทุกหมู่บ้าน กาหนดวัน เวลา และสถานที่จัดเวที ประชาคม รูปแบบ การจัดเวทีประชาคมและระเบียบวาระ/ ลาดับการนาเสนอ 2.2 ประสานส่วนราชการที่เกี่ยวข้องทราบ เพื่อนาแผนงาน/ โครงการ เข้าร่วมบูรณาการ 2.3 แจ้งอาเภอ/ส่วนราชการที่เกี่ยวข้องเพื่อเข้าร่วม กระบวนการ 2.4 เชิญผู้แทนครอบครัวเข้าร่วมเวทีประชาคมต้องไม่น้อยกว่า ร้อยละ 70 ของครัวเรือนทั้งหมด
เอกสารประกอบการพิจารณา
ระยะเวลาการให้บริการ
- หนังสือเชิญอาเภอ/ส่วน - ดาเนินการภายในเดือน ราชการที่เกี่ยวข้องเข้าร่วม กุมภาพันธ์ บูรณาการ - แบบนาเสนอแผนงาน/ โครงการ - ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการจัดทาแผนพัฒนา องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หมวด 1 ข้อ 10 (1)
หมาย เหตุ
29 ลาดับ
3.
กระบวนงานบริการ
ขั้นตอนการให้บริการ
สานักงานปลัด กระบวนงาน : การจัดทา แผนพัฒนาองค์การ บริหารส่วนตาบล การประชุมประชาคม 3.1 ผู้มาร่วมจัดเวทีประชาคมลงทะเบียนทุกคน ระดับหมู่บ้าน 3.2 ส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง/ผู้นาชุมชน/ประชาชน/ คณะกรรมการหมู่บ้านนาเสนอแผนงาน/โครงการ เพื่อบรรจุ ลงร่างแผนพัฒนาท้องถิ่น 3.3 จัดหมวดหมู่ข้อมูล แผนงาน/ โครงการ 3.4 วิเคราะห์ข้อมูลจัดลาดับความสาคัญ 3.5 เสนอแนวทางแก้ไข ทิศทางการพัฒนาหมู่บ้าน 3.6 ตรวจสอบเอกสารสรุปผลการประชาคมเบื้องต้นและลงมติ โดยการยกมือ 3.7 บันทึกผลการประชุมประชาคม
เอกสารประกอบการพิจารณา
ระยะเวลาการให้บริการ
หมาย เหตุ
- หนังสือเชิญประชุม - ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการจัดทาแผนพัฒนา องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หมวด 3 ข้อ 17 (1) - สมุดลงชื่อเข้าร่วมประชุมฯ - บันทึกรายงานการประชุม ประชาคมทุกหมู่บ้าน ทั้ง ๖ หมู่บ้าน - ภาพถ่าย - แบบประเมิน
- ดาเนินการระหว่างเดือน กุมภาพันธ์ - มีนาคม - ออกประชาคมทั้งหมด ๖ หมู่บ้าน วันละ 1 หมู่บ้าน รวม ๖ คน
.
30
ลาดับ
กระบวนงานบริการ
ขั้นตอนการให้บริการ
4.
การรวบรวมนาข้อมูล ปัญหา/ความต้องการ/ โครงการจากการ ประชาคมหมู่บ้าน
4.1 คณะกรรมการพัฒนาท้องถิ่นและเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง รวบรวมปัญหา/ความต้องการ และรวบรวมข้อมูลของทั้ง ๖ หมู่บ้าน 4.2 จัดลาดับความสาคัญ ความจาเป็นเร่งด่วนจากการประชุม ประชาคมหมู่บ้านเพื่อดาเนินการต่อไป
เอกสารประกอบการพิจารณา
ระยะเวลาการให้บริการ
- แบบเสนอแผนงาน/โครงการ - ดาเนินการทันที่ประชาคมระดับ แต่ละหมู่บ้าน ทั้ง 4 หมู่บ้าน หมู่บ้านเรียบร้อยแล้วทั้ง 4 - ระเบียบกระทรวงมหาดไทย หมูบ่ ้าน ภายในเดือน มีนาคม ว่าด้วยการจัดทาแผนพัฒนา องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หมวด 3 ข้อ 17 (2) - บันทึกรายงานการประชุม
หมาย เหตุ
31 ลาดับ
5.
กระบวนงานบริการ
ขั้นตอนการให้บริการ
สานักงานปลัด กระบวนงาน : การจัดทา แผนพัฒนาองค์การบริหาร ส่วนตาบล ประชาคมระดับตาบล 5.1 รวบรวมปัญหา/ความต้องการ และรวบรวมข้อมูล แผนงาน/โครงการ ของทั้ง ๖ หมู่บ้าน ที่จัดลาดับจัด ความสาคัญ ความจาเป็นเร่งด่วนจากการประชุมประชาคม หมู่บ้านมาพิจารณา 5.2 เสนอความต้องการเร่งด่วนในภาพรวมและระดับตาบล รวมทั้งหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อรวบรวมทุกประเด็นปัญหา ตามลาดับ 5.3 สรุปประเด็นปัญหาทั้งหมดเพื่อพิจารณาจัดลาดับและลง มติโดยการยกมือ
เอกสารประกอบการพิจารณา
- บันทึกรายงานการประชุมประชาคม ระดับหมู่บ้าน - สรุปประเด็นปัญหา/ความต้องการทั้ง ๖ หมู่บ้าน - ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วย การจัดทาแผนพัฒนาองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น หมวด 3 ข้อ 17 (2) - สมุดลงชื่อเข้าร่วมประชุมประชาคม ระดับตาบล - บันทึกรายงานการประชุมประชาคม ระดับตาบล - ภาพถ่าย
ระยะเวลาการให้บริการ
- ดาเนินการทันทีหลังจาก รวบรวมข้อมูลการประชาคม ระดับหมู่บ้านทั้ง ๖ หมู่บ้าน ภายในเดือน เมษายน
หมาย เหตุ
32 ลาดับ
6.
7.
กระบวนงานบริการ
ขั้นตอนการให้บริการ
สานักงานปลัด กระบวนงาน : การจัดทา แผนพัฒนาองค์การบริหาร ส่วนตาบล จัดทาร่างแผนพัฒนาฯ 6.1 คณะกรรมการพัฒนาท้องถิ่นประสานกับประชาคม หมู่บ้านในการรวบรวม วิเคราะห์ปัญหา ความต้องการของ ประชาชนในท้องถิ่นและจัดทาเป็นโครงการหรือกิจกรรมให้ สอดคล้องกับยุทธศาสตร์การพัฒนาท้องถิ่น 6.2 คณะกรรมการสนับสนุนการจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่น จัดทาร่างแผนพัฒนาให้สอดคล้องกับแนวทางการพัฒนาที่ ประชุมคณะกรรมการ 7.1 เชิญคณะกรรมการพัฒนาท้องถิ่นและคณะกรรมการ พัฒนาท้องถิ่น/ สนับสนุนการจัดทาแผนท้องถิ่นเข้าประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่ง คณะกรรมการสนับสนุนฯ ของจานวนกรรมการทั้งหมดเพื่อพิจารณาร่างแผนพัฒนา ท้องถิ่นให้ตรงกับยุทธศาสตร์การพัฒนาของตาบล 7.2 สรุปประเด็นปัญหาความต้องการจากร่างแผนพัฒนา ท้องถิ่นเพื่อนาเข้าระเบียบวาระเสนอสภาฯ พิจารณาเห็นชอบ ต่อไป
เอกสารประกอบการพิจารณา
ระยะเวลาการให้บริการ
- บันทึกรายงานการประชุมประชาคม ระดับหมู่บ้าน/ระดับตาบล - สรุปประเด็นปัญหา/ความต้องการ เพื่อจัดลาดับความสาคัญ - จัดแผนงาน/โครงการให้สอดคล้องกับ ยุทธศาสตร์การพัฒนาของตาบล - หนังสือเชิญประชุม - สมุดลงชื่อผู้เข้าประชุม - ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วย การจัดทาแผนพัฒนาองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น หมวด 1 ข้อ 12 - บันทึกรายงานการประชุม - ภาพถ่าย
- ดาเนินการทันทีหลังจาก ประชาคมระดับหมู่บ้าน/ระดับ ตาบลเสร็จสิ้นแล้ว ภายใน เดือนพฤษภาคม - ดาเนินการทันทีหลังจาก จัดทาร่างแผนพัฒนาท้องถิ่น แล้วภายในเดือนพฤษภาคม
หมาย เหตุ
33
ลาดับ 8.
9.
กระบวนงานบริการ
ขั้นตอนการให้บริการ
สภาพิจารณาเห็นชอบร่าง 8.1 ผู้บริหารท้องถิ่นพิจารณาเสนอร่างแผนพัฒนาสามปีต่อ แผนพัฒนาท้องถิ่น สภาองค์การบริหารส่วนตาบลเพื่อให้ความเห็นชอบ 8.2 สภาท้องถิ่นพิจารณาร่างแผนพัฒนาท้องถิ่นของแต่ละ ยุทธศาสตร์ 8.3 สภาท้องถิ่นลงมติเห็นชอบร่างแผนพัฒนาท้องถิ่นโดยการ ยกมือ 8.4 บันทึกรายงานการประชุมสภาฯ ประกาศใช้แผนพัฒนา 9.1 ผู้บริหารท้องถิ่นพิจารณาอนุมัติและประกาศใช้ ท้องถิ่น แผนพัฒนาท้องถิ่น 9.2 นาแผนพัฒนาสามปีไปปฏิบัติรวมทั้งแจ้งสภาท้องถิ่นผู้นา ขุมชนหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและประชาชนในท้องถิ่นทราบโดย ทั่วกันภายใน 15 วัน นับแต่วันที่ประกาศใช้และปิดประกาศ โดยเปิดเผยไม่น้อยกว่าสามสิบวัน
เอกสารประกอบการพิจารณา
ระยะเวลาการให้บริการ
ส่วนท้องถิ่น หมวด 3 ข้อ 17 (4) - บันทึกรายงานการประชุมสภาฯ - ภาพถ่าย
- ผู้บริหารท้องถิ่นพิจารณาอนุมัตริ ่าง แผนพัฒนาสามปีและประกาศใช้แผนพัฒนา สามปี - รายงานให้ผู้กากับดูแลในระดับอาเภอทราบ - ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการ จัดทาแผนพัฒนาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หมวด 3 ข้อ 17 (4) และ หมวด 5 ข้อ 24,25
- ดาเนินการทันทีเมื่อ ดาเนินการจัดทาแผนพัฒนา ท้องถิ่นเรียบร้อยแล้ว ภายใน เดือนมิถุนายน
หมาย เหตุ
34 ลาดับ
9.
กระบวนงานบริการ
ขั้นตอนการให้บริการ
สานักงานปลัด กระบวนงาน : การจัดทา แผนพัฒนาองค์การบริหาร ส่วนตาบล ประกาศใช้แผนพัฒนา 9.3 อปท.ใช้แผนพัฒนาสามปีเป็นกรอบในการจัดทา ท้องถิ่น งบประมาณรายจ่ายประจาปี และงบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม รวมทั้งวางแนวทางเพื่อให้มีการปฏิบัติให้บรรลุวัตถุประสงค์ รวมโครงการที่กาหนดไว้ในแผนพัฒนาสามปี 9.4 ประสานแผนพัฒนาสามปีที่เกินศักยภาพเพื่อเสนอ คณะกรรมการระดับอาเภอเพื่อพิจารณาประสานหน่วยงานที่ เกี่ยวข้องต่อไป 9.5 จัดเก็บไว้ใช้ประโยชน์ในการพัฒนาหมู่บ้าน 9.6 จัดส่งให้อาเภอ/จังหวัด เพื่อเป็นข้อมูลจัดทาแผนพัฒนา อาเภอและแผนพัฒนาจังหวัด 9.7 จัดส่งให้องค์กรเอกชนหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
เอกสารประกอบการพิจารณา
ระยะเวลาการให้บริการ
หมาย เหตุ
35 ลาดับ
10.
กระบวนงานบริการ
ขั้นตอนการให้บริการ
สานักงานปลัด กระบวนงาน : การจัดทา แผนพัฒนาองค์การบริหาร ส่วนตาบล จัดทาแผนการดาเนินงาน 10.1 คณะกรรมการสนับสนุนการจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่น รวบรวมแผนงาน โครงการพัฒนาของ อปท.หน่วยราชการ ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค รัฐวิสาหกิจและหน่วยงานอื่น ๆ ที่ ดาเนินการในพื้นที่ของ อปท. 10.2 จัดทาร่างแผนการดาเนินงาน เสนอคณะกรรมการ พัฒนาท้องถิ่น 10.3 คณะกรรมการพัฒนาท้องถิ่นพิจารณาร่างแผนการ ดาเนินงาน แล้วเสนอผู้บริหารท้องถิ่นประกาศเป็นแผน ดาเนินงาน 10.4 ปิดประกาศภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่ประกาศเพื่อให้ ประชาชนในท้องถิ่นทราบโดยทั่วกันและต้องปิดประกาศไว้ อย่างน้อยสามสิบวัน
เอกสารประกอบการพิจารณา
ระยะเวลาการให้บริการ
- แผนพัฒนาท้องถิ่น - ข้อบัญญัติตาบล - ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วย การจัดทาแผนพัฒนาองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น หมวด 5 ข้อ 26
- ดาเนินงานให้แล้วเสร็จ ภายในเดือนธันวาคมของ ปีงบประมาณนั้นหรือภายใน สามสิบวันนับแต่วันที่ตั้ง งบประมาณดาเนินการหรือ ได้รับแจ้งแผนงาน/โครงการ จากหน่วยราชการส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค รัฐวิสาหกิจหรือ หน่วยงานอืน่ ๆ ที่ต้อง ดาเนินการในพื้นที่ อปท.ใน ปีงบประมาณนั้น
หมาย เหตุ
36
ลาดับ
11.
กระบวนงานบริการ
ขั้นตอนการให้บริการ
สานักงานปลัด กระบวนงาน : การจัดทา แผนพัฒนาองค์การบริหาร ส่วนตาบล การติดตามและ 11.1 ผู้บริหารท้องถิ่นแต่งตั้งคณะกรรมการติดตามและ ประเมินผลแผนพัฒนา ประเมินผลแผนพัฒนาท้องถิ่น 11.2 คณะกรรมการกาหนดแนวทาง วิธีการในการติดตาม 11.3 ดาเนินการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนา 11.4 รายงานผลและเสนอความเห็นซึ่งได้จากการติดตาม และประเมินผลแผนพัฒนาต่อผู้บริหารท้องถิ่น 11.5 ผู้บริหารท้องถิ่นเสนอต่อสภาท้องถิ่นคณะกรรมการ พัฒนาท้องถิน่ และประกาศผลการติดตามและประเมินผล แผนพัฒนาให้ประชาชนในท้องถิ่นทราบโดยทั่วไปอย่างน้อยปี ละหนึ่งครั้ง ภายในเดือนธันวาคมของทุกปี 11.6 ปิดประกาศโดยเปิดเผยไม่น้อยกว่าสามสิบวัน
เอกสารประกอบการพิจารณา
ระยะเวลาการให้บริการ
- แผนพัฒนาท้องถิ่น - ดาเนินการทันทีหลังจาก - ข้อบัญญัติตาบล จัดทาแผนการดาเนินงานแล้ว - ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วย ภายในเดือนธันวาคม การจัดทาแผนพัฒนาองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น หมวด 6 ข้อ 28,29,30, และ ข้อ 31 - ผู้บริหารประกาศการติดตามแผนและ ประเมินผลแผนฯ ให้ประชาชนทราบ
หมาย เหตุ
37
แนวทางการดาเนินงาน จากแผนผัง/ขั้นตอนการจัดทาแผนสามปี หลัง จากที่ได้มีการกาหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาและแนว ทางการพัฒนาในแผนยุทธศาสตร์แล้วก็จะต้องถึงขั้นตอนในการแปลงสู่การปฏิบัติโดยการจัดทาแผนพัฒนาสามปีซึ่งได้ กาหนดขั้นตอนการจัดทาเป็นแนวทางให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นนาไปดาเนินการ 7 ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 การเตรียมการจัดทาแผน 1. หน่วยงานที่รับผิดชอบการจัดทาแผนพัฒนาควรเข้าพบผู้บริหารท้องถิ่น เพื่อชี้แจงวัตถุประสงค์ ความสาคัญและความจาเป็นไปการจัดทาแผนพัฒนาสามปี เพื่อให้ผู้บริหารทราบถึงภารกิจทีจะต้องดาเนินการต่อไปนี้ และดาเนินการเสนอโครงการจัดทาแผนพัฒนาสามปี ห้วงปี พ.ศ. 2548 ถึง พ.ศ. 2550 ผ่านปลัดองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นถิ่นอนุมัติ 2. หน่วยงานที่รับผิดชอบแจ้งโครงการที่ได้รับอนุมัติให้ผู้เกี่ยวข้องทราบ ได้แก่คณะกรรมการพัฒนา ท้องถิ่น คณะกรรมการสนับสนุนการจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่น หน่วยงานภายในขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและ ประชาชน ขั้นตอนที่ 2 การคัดเลือกยุทธศาสตร์และแนวทางการพัฒนา 1. ในขั้นตอนนี้ คณะกรรมการสนับสนุนการจัดทาแผนพัฒนา จะสรุปยุทธศาสตร์การพัฒนาและ แนวทางการพัฒนาจากแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาพร้อมทั้งข้อมูลที่เกี่ยวข้อง ปัญหาความต้องการของท้องถิ่น รวมทั้ง สรุปยุทธศาสตร์การพัฒนาของจังหวัด/อาเภอและนโยบายของผู้บริหารท้องถิ่น เพื่อนาเสนอต่อคณะกรรมการพัฒนา ท้องถิ่น 2. คณะกรรมการพัฒนาท้องถิ่น จัดการประชุมร่วมระหว่างคณะกรรมการพัฒนาท้องถิ่นประชาคม ท้องถิ่นและส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง เพื่อร่วมกันพิจารณาโดยในการจัดทาแผนพัฒนาสามปีในครั้ งแรกให้เวทีการ ประชุมร่วมกันดังกล่าว คัดเลือกยุทธศาสตร์การพัฒนาแนวทางที่สมควรนามาใช้เป็นแนวทางการจัดทาแผนพัฒนา สามปี เพื่อเป็นกรอบในการพิจารณาจัดทาโครงการ/กิจกรรมในแผนพัฒนาสามปีต่อไป 3. เมื่อได้แนวทางการพัฒนาแล้ว เวทีการประชุมร่วมพิจารณาว่าจะมีโครงการ/กิจกรรมอะไรบ้างที่ จะต้องดาเนินการเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์และเปูาหมายของแนวทางการพัฒนาที่คัดเลือกมาใช้เป็นกรอบในการ พัฒนา 4. โครงการ/กิจ กรรมที่พิจ ารณากาหนดอาจมีเป็นจานวนมาก ดังนั้น ในขั้นตอนนี้จะต้องมีการ ดาเนินการ ดังนี้ (1) พิจารณาความเกี่ยวเนื่องกันระหว่างยุทธศาสตร์หรือระหว่างแนวทางการพัฒนา (2) ให้พิจารณานาโครงการ/กิจกรรมจากแผนชุมชนที่เกินขีดความสามารถในการดาเนินการของ ชุมชนที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์การพัฒนาในแผนยุทธศาสตร์การพัฒนามาประกอบการจัดทาแผนพัฒนาสามปี (3) มีการจัดลาดับความสาคัญของโครงการ/กิจกรรมเพื่ อที่จะบรรลุในแผนพัฒนาสามปีได้อย่าง เหมาะสมและนอกจากนั้นยังเป็นการจัดลาดับโครงการไว้เพื่อทาแผนพัฒนาสามปี ในช่วงถัดไปด้วย (4) เนื่องจากกิจกรรมที่จะต้องดาเนินการมีความหลากหลาย ดังนั้น ในชั้นของการพิจารณากาหนด กิจกรรม องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจะต้องคานึงถึงสิ่งต่าง ๆ ดังต่อไปนี้
38 - งบประมาณรายรับ รายจ่ายขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น - ทรัพยากรการบริหารอื่น ๆ ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น - ภาคีการพัฒนาที่สามารถเข้ามาร่วมดาเนินการหรือภารกิจรับผิดชอบการดาเนินการในเรื่องนั้น ๆ เมื่อพิจารณาด้านต่างๆ ดังกล่าวแล้ว จะต้องแยกประเภทของโครงการออกอย่างน้อยสามประเภท คือ - โครงการที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดาเนินการเอง กล่าวคือ มีขีดความสามารถทั้งทางด้านกาลังเงิน กาลังคน วัสดุอุปกรณ์ และความรู้ทางด้านกายบริหารจัดการที่จะดาเนินการได้เอง - โครงการที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอุดหนุนให้หน่วยงานอื่นดาเนินการ เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพ ในการดาเนินงาน เนื่องจากเป็นงานที่อยู่ในอานาจหน้าที่ แต่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ไม่สามารถหรือไม่ประสงค์ จะดาเนินการ จึงมอบให้หน่วยงานอื่นดาเนินการแทนโดยการตั้งงบประมาณเป็นเงินอุดหนุนให้ตามระเบียบวิธีการของ ทางราชการ - โครงการที่จ ะขอรั บการสนั บสนุนจากหน่วยงานอื่น ทั้งราชการบริห ารส่ว นกลาง ส่ว นภูมิภ าค รัฐวิสาหกิจ หน่วยงานอื่นๆ และภาคเอกชน อันเนื่องมาจากเป็นโครงการขนาดใหญ่ หรือเป็นโครงการที่หน่วยงาน ดังกล่าวเป็นหน่วยปฏิบัติและมีหน้าที่จัดบริการสาธารณะดังกล่าวอยู่แล้ว ทั้งนี้ รวมถึงโครงการเงินอุดหนุนเฉพาะ ขั้นตอนที่ 3 การเก็บรวบรวมข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล 1. การเก็บรวบรวมข้อมูล คณะกรรมการสนับสนุนการจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่น ดาเนินการสารวจและเก็บรวบรวมข้อมูลที่ จาเป็นต่อการจัดทาแผนพัฒนาสามปี ซึ่งนอกจากจะต้องเก็บรวบรวมข้อมูลพื้นฐานทั่วไปแล้ว ยังจะต้องวิเคราะห์ว่า ยุทธศาสตร์การพัฒนา แนวทางการพัฒนาที่เลือกต้องการข้อมูลประเภทใดเป็นพิเศษต้องการข้อมูลของห้วงเวลาใด และจะเก็บข้อมูลจากแหล่งใด เพื่อเป็นข้อมูลที่จะนามาวิเคราะห์แนวทางการพัฒนา โครงการ/กิจกรรมได้อย่างถูกต้อง 2. การวิเคราะห์ข้อมูล ประกอบด้วย 4 กิจกรรมหลัก คือ - การประเมินผลการพัฒนาที่ผ่านมา - การคัดเลือกยุทธศาสตร์การพัฒนา - การจัดลาดับความสาคัญของแนวทางการพัฒนา - การตัดสินใจเลือกแนวทางพัฒนาในห้วงสามปี โดยมีรายละเอียดในแต่ละกิจกรรม ดังนี้ 1. การประเมินผลการพัฒนาที่ผ่านมา คณะกรรมการสนับสนุนการจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่น สรุปผลการพัฒนาที่ผ่านมาและนาเสนอที่ ประชุมซึ่งประกอบด้วยคณะกรรมการพัฒนาท้องถิ่น ประชาคมท้องถิ่น และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อประเมินผลการ พัฒนาท้องถิ่นในรอบปีที่ผ่านมาโดยประเมินทั้งในเชิงประมาณและในเชิงคุณภาพ 2. การคัดเลือกยุทธศาสตร์การพัฒนา หลังจาการประเมินผลการพัฒ นาในรอบปีที่ผ่านมาแล้ว ให้ที่ประชุมตามข้อ 1 ร่ว มกันคัดเลือก ยุทธศาสตร์การพัฒนาในแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา รวมทั้งสอดคล้องกับปัญหาความต้องการของประชาคม/ชุมชนใน
39 ห้วงระยะเวลาสามปี (ในกรณีดังกล่าวอาจคัดเลือกทุกยุทธศาสตร์การพัฒนามาเป็นกรอบในการจัดทาแผนพัฒนาสาม ปีก็ได้) ในกรณีที่เห็นว่ามียุทธศาสตร์การพัฒนาใดที่ยังไม่ได้กาหนดไว้ในยุทธศาสตร์การพัฒนาแต่มีความ จาเป็นเร่งด่วนที่จะต้องกาหนดขึ้น ก็อาจกาหนดขึ้นได้แต่ทั้งนี้ต้องแสดงให้เห็นถึ งเหตุผลและวัตถุประสงค์ที่มีความ สอดคล้องกับจุดมุ่งหมายของการพัฒนาที่ยั่งยืน และวิสัยทัศน์การพัฒนาท้องถิ่น (และนาไปปรับแผนยุทธศาสตร์การ พัฒนาต่อไป) 3. การจัดลาดับความสาคัญของแนวทางการพัฒนา ภายใต้ ยุ ท ธศาสตร์ จ ะมี แ นวทางการพั ฒ นาที่ ห ลากหลาย ซึ่ ง ล้ ว นแล้ ว แต่ มี ค วามจ าเป็ น ในการ ดาเนินการเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ของยุทธศาสตร์การพัฒนาทั้งสิ้น แต่มีความสาคัญจาเป็นเร่งด่วนมากน้อยแตกต่าง กัน ที่ประชุมตามข้อ 1 จะต้องร่วมกันจัดเรียงลาดับความสาคัญของแนวทางการพัฒนา การจัดลาดับความสาคัญ ดังกล่ าวไม่ได้ห มายความว่าแนวทางการพัฒ นาทุกแนวทาง ได้รับการพิจารณาแล้ ว ว่าต้องดาเนินการแต่ในห้ ว ง ระยะเวลาสามปีของแผนพัฒนาสามปีนั้น อาจมีแนวทางที่จาเป็นต้องนามาเน้นการปฏิบัติ วิธีการจั ดล าดับ ความส าคัญ มีห ลายวิธี ตั้งแต่วิ ธีง่าย ๆ คือ ประชุมตกลงกันหรืออาจใช้วิธีการ ลงคะแนนคัดเลื อกโดยใช้บั ตรลงคะแนน เพื่อนามารวมคะแนนและจัดล าดับ วิธีการจัดลาดับความส าคัญที่เป็น วิทยาศาสตร์อาจใช้วิธี Rating Scale หรือวิธี Strategic lssues Graph หรือวิธีอื่นๆ ซึ่งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น แต่ละแห่งสามารถเลือกวิธีการปฏิบัติได้ตามความเหมาะสม 4. การตัดสินใจเลือกแนวทางการพัฒนาในห้วงสามปี หลังจากจัดลาดับแนวทางพัฒนาแล้ว ที่ประชุมจะต้องตัดสินใจว่าจะนาแนวทางการพัฒนาเหล่านั้น มาดาเนินการแต่ในการตัดสินใจเลือกนั้น ควรจะได้วิเคราะห์ถึงความเป็นไปในทางปฏิบัติ เพราะในการจัดลาดับ ความสาคัญอาจใช้การตัดสินใจของแต่ละบุคคลเป็นหลัก ดังนั้นเพื่อทบทวนและยืนยันการจัดลาดับว่ามีความเป็นไปได้ ในทางปฏิบัติจริงหรือไม่ จึงควรนาแนวทางการพัฒนามาทาการวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาสและอุปสรรคอีกครั้ง ขั้นตอนที่ 4 การกาหนดวัตถุประสงค์ของแนวทางการพัฒนา 1. หลั ง จากได้ แ นวทางการพั ฒ นาในช่ ว งสามปี แ ล้ ว ให้ ที่ ป ระชุ ม ร่ ว มกั น พิ จ ารณาคั ด เลื อ ก วัตถุประสงค์ของยุ ทธศาสตร์การพัฒนา มาจัดทาเป็นวัตถุประสงค์ของแนวทางการพัฒนา โดยพิจารณาคัดเลือก วัตถุประสงค์ของยุทธศาสตร์การพัฒนาจากแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาที่สอดคล้องกับแนวทางการพัฒนาในช่วงสามปี โดยนาวัตถุประสงค์ดังกล่าวมาจัดทาเป็นวัตถุประสงค์ของแนวทางการพัฒนาในช่วงสามปี ขั้นตอนที่ 5 การจัดทารายละเอียดโครงการ/กิจกรรมการพัฒนา คณะกรรมการสนับสนุนการจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่น พิจารณาคัดเลือกโครงการที่สอดคล้องกับแนว ทางการพัฒนาในช่วงสามปี มาจัดทารายละเอียดโครงการ ในด้านเปูาหมาย ผลผลิต ผลลัพธ์ งบประมาณระยะเวล า ผู้ รั บ ผิ ด ชอบ และตัว ชี้วั ดความส าเร็ จ โดยเน้ นการศึ กษารายละเอีย ดของกิ จกรรมที่ จะด าเนิน การในปีแ รกของ แผนพัฒนาสามปี เพื่อให้สามารถนาไปจัดทางบประมาณรายจ่ายประจาปีได้ต่อไป
40 ขั้นตอนที่ 6 การจัดทาร่างแผนพัฒนาสามปี 1. คณะกรรมการสนั บ สนุ น การจั ด ท าแผนพั ฒ นาท้ อ งถิ่ น จั ด เวที ป ระชาคม ซึ่ ง ประกอบด้ ว ย คณะกรรมการพัฒนาท้องถิ่น ประชาคมท้องถิ่น และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อเสนอร่างแผนพัฒนาสามปีและรับฟัง ความคิดเห็น ข้อเสนอแนะแล้วนาไปปรับปรุงแผนพัฒนาสามปีให้สมบูรณ์ต่อไป 2. คณะกรรมการสนับสนุนการจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นนาร่างแผนพัฒนาสามปีที่ปรับปรุงแล้วเสนอ คณะกรรมการพัฒนาท้องถิ่นเพื่อพิจารณา ขั้นตอนที่ 7 การอนุมัติและประกาศใช้แผนพัฒนาสามปี 1. คณะกรรมการพั ฒ นาท้ อ งถิ่ น ร่ว มกั บ ประชาคมท้ อ งถิ่ น ก าหนดประเด็ นหลั ก การพั ฒ นาให้ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ พันธกิจ และจุดมุ่งหมายเพื่อการพัฒนาในแผนยุทธศาสตร์การพัฒนารวมทั้งสอดคล้องกับ ปัญหา ความต้องการของประชาคมและชุมชน โดยให้นาข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาจากหน่วยงานต่าง ๆ และข้อมูล ในแผนชุมชนมาพิจารณาประกอบการจัดทาแผนพัฒนาสามปี 2. คณะกรรมการสนับสนุนการจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นรวบรวมประเด็นหลักการพัฒนา ปัญหา ความต้องการและข้อมูลนามาจัดทาร่างแผนพัฒนาสามปี แล้วเสนอคณะกรรมการพัฒนาท้องถิ่น 3. คณะกรรมการพัฒนาท้องถิ่นพิจารณาร่างแผนพัฒนาสามปีเพื่อเสนอผู้บริหารท้องถิ่น 4. ผู้บริหารท้องถิ่นพิจารณาอนุมัติร่างแผนพัฒนาสามปีและประกาศใช้แผนพัฒนาสามปีสาหรับ องค์การบริหารส่วนตาบลให้ผู้บริหารท้องถิ่นเสนอร่างแผนพัฒนาสามปีต่อสภาองค์การบริหารส่วนตาบลเพื่อให้ความ เห็นชอบก่อนแล้วผู้บริหารท้องถิ่นจึงพิจารณาอนุมัติและประกาศใช้แผนพัฒนาสามปีต่อไป ประโยชน์ของแผนพัฒนา 3 ปี การจัดทาแผนสามปี เป็นเครื่องมือที่จะช่วยให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้พิจารณาอย่างรอบคอบ ให้เห็นถึงความเชื่อมโยงระหว่างแนวทางการดาเนินงานต่างๆที่อาจมีความเชื่อมโยง และส่งผลทั้งในเชิงสนับสนุนและ เป็นอุปสรรคต่อกัน เพื่อให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นนามาตัดสินใจกาหนดแนวทางการดาเนินงานและใช้ทรัพยากร การบริหารของท้องถิ่นอย่างมีประสิทธิภาพเพื่อให้เกิดประโยชน์สาธารณะสูงสุด ทรัพยากรการบราหร โดยทั่วไปประกอบด้วย เงิน ทั้งเงินงบประมาณขององค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น และแหล่งงบประมาณภายนอกรวมทั้ง มาตรการการประหยัดงบประมาณรายจ่ายด้วย คน ซึ่งหมายถึงความรวมตั้งแต่ผู้บริหารท้องถิ่น พนักงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทุกระดับ ซึ่งจะมีความแตกต่างหลักหลายทั้งด้านความรู้ ทักษะ และทัศนคติ ซึ่งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจะต้องนาศักยภาพ กาลังคนเหล่านั้นมาใช้ รวมทั้งต้องพัฒนากาลังคนเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทางานให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และ ถ้าพิจารณาในความหมายอย่างกว้างและอาจหมายความรวมถึงประชาชนในท้องถิ่นซึ่งจะมีส่วนในการพัฒนาท้องถิ่น ด้วย วัสดุอุปกรณ์ หมายถึงเครื่องจักร เครื่องมือ รวมทั้งอาคารสถานที่ที่จะสามารถนามาใช้ในการบริหาร จัดการท้องถิ่นให้เกิดการพัฒนาสูงสุด โดยมีการและใช่วัสดุอุปกรณ์ให้มีความทันสมัยเพื่ อรองรับความก้าวหน้าของ สังคมโดยส่วนรวมได้อย่างเท่าทัน และใช้วัสดุอุปกรณ์ดังกล่าวอย่างเต็มศักยภาพ
41 การบริห ารจั ดการ เป็ น สิ่งที่จ ะช่ว ยขับเคลื่อนทรัพยากรทั้งสามประการข้างต้นให้เป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพ และมีสภาพการพัฒนาอย่างยั่งยืน การบริหารจัดการเป็นศาสตร์และศิ ลป์ที่ต้องศึกษาและนาไปปฏิบัติ อย่างต่อเนื่อง
ระบบติดตามประเมินผล เนื่องด้วยการติดตามและประเมินผลโครงการเป็นหน้าที่ที่สาคัญอย่างหนึ่งในการดาเนินงานพัฒนา องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ดังนั้น องค์การบริหารส่วนตาบลจาเป็นต้องทาหน้าที่ติดตามและประเมินผลการพัฒนา สาหรับการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ระเบียบได้กาหนดองค์ประกอบของ การติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาท้องถิ่น พ.ศ. 2548 หมวด 6 ข้อ 28 ได้กาหนดองค์ประกอบของคณะติดตาม และประเมินผลแผนพัฒนาท้องถิ่น ซึ่งประกอบด้วย สมาชิกสภาท้องถิ่นที่สภาท้องถิ่ นคัดเลือกจานวนสามคน ผู้แทน ประชาคมท้องถิ่นที่ประชาคมท้องถิ่นคัดเลือกจานวนสองคน ผู้แทนหน่วยงานที่เกี่ยวข้องที่ผู้บริหารท้องถิ่นคัดเลือก จานวนสองคน หัวหน้าส่วนการบริหารที่คัดเลือกกันเองจานวนสองคน ผู้ทรงคุณวุฒิที่ผู้บริหารท้องถิ่นคัดเลือกจานวน สองคน โดยให้คณะกรรมการเลือกคณะกรรมการหนึ่งคนทาหน้าที่ประธานคณะกรรมการ และกรรมการอีหนึ่งคนทา หน้าที่เลขานุการของคณะกรรมการ โดยคณะกรรมการทั้งหมดให้มีวาระอยู่ในตาแหน่งคราวละสองปีและอาจได้รับ การคัดเลือกอีกได้ แนวทางในการติดตามประเมินผลแผนพัฒนาขององค์การบริหารส่วนตาบล ระเบีย บกระทรวงมหาดไทย ว่าด้ว ยการจัดทาแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2548 หมวด 6 ข้อ 29 ได้กาหนดอานาจหน้าที่ของคณะกรรมการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาท้องถิ่นไว้ ดังนี้ 1. กาหนดแนวทางวิธีการในการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนา 2. ดาเนินการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนา 3. รายงานผลและเสนอความเห็นซึ่งได้จากการติดตามและประเมินผลแผนพัฒ นาต่อผู้ บริห าร ท้องถิ่นเพื่อให้ผู้บริหารท้องถิ่นเสนอต่อสภาท้องถิ่น คณะกรรมการพัฒนาท้องถิ่น และประกาศผลการติดตามและ ประเมินผลแผนพัฒนาให้ประชาชนในท้องถิ่นทราบโดยทั่วกันอย่างน้อยปีละหนึ่ง ครั้ง ภายในเดือนธันวาคมของทุกปี ทั้งนี้ให้ปิดประกาศโดยเปิดเผยไม่น้อยกว่าสามสิบวัน 4. แต่งตั้งคณะอนุกรรมการหรือคณะทางานเพื่อช่วยปฏิบัติงานตามที่เห็นสมควร
การติดตามและประเมินผลแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาและแผนพัฒนาสามปี จุ ด มุ่ ง หมายส าคั ญ ของการประเมิ น ผลแผนยุ ท ธศาสตร์ นั้ น คื อ การประเมิ น ว่ า มี ก ารน าแผน ยุทธศาสตร์ไปปฏิบัติอย่างแท้จริงเพียงใด และได้ผลเป็นอย่างไรเพื่อที่สามารถวัดความสัมฤทธิ์ผลของแผนยุทธศาสตร์ ได้ ในขณะเดียวกันก็สามารถเก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อใช้เป็นสมมุติฐานในการจัดทาแผนยุทธศาสตร์ฉบับต่อไปได้ ดังนั้น
42 การที่จะประเมินผลแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาในภาพรวมได้จาเป็นต้องประเมินผลการปฏิบัติในแต่ละแนวทางการ พัฒนาก่อน เพื่อนาไปสู่การวัดความสาเร็จของยุทธศาสตร์ ซึ่งจะแสดงให้เห็นได้ว่าการพัฒนาเป็นไปในแนวทางใด บรรลุวัตถุประสงค์ของการพัฒนาที่ยั่งยืนและตอบสนองต่อวิสัยทัศน์หรือไม่ ดังนั้นในขั้นต้น องค์การบริหารส่วนตาบล บ้านกุ่ม จึงต้องติดตามประเมินผลแผนพัฒนาสามปีให้ได้ข้อมูล ข้อเท็จจริง อันนามาสู่บทสรุปที่ไม่บิดเบือนจากผล การปฏิบัติจริงที่เกิดขึ้น
43
บทที่ 4 ระบบการป้องกัน/การตรวจสอบเพื่อป้องกันการละเว้นการปฏิบัติหน้าที่ในภารกิจหลัก ระบบการป้องกัน/การตรวจสอบเพื่อป้องกันการละเว้นการปฏิบัติหน้าที่ในภารกิจหลัก ปัจจุบันรัฐบาลได้มีมาตรการเน้นหนักเกี่ยวกับการปูองกันการทุจริตและประพฤติมิชอบในภาคราชการและ เสริมสร้างประสิทธิภาพในการปฏิบัติหน้าที่ รวมทั้งปฏิรูประบบบริหารราชการโดยการปรับปรุงคุณภาพข้าราชการใน การทางานโดยเน้นผลงาน การมีคุณภาพ ความซื่อสัตย์สุจริต การมีจิตสานึกในการให้บริการประชาชน สาหรับ หน่วยงานที่มีหน้าที่หลักในการตรวจสอบการทุจริต เช่น สานักงานคณะกรรมการปูองกันและปราบปรามการทุจริต แห่งชาติ สานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน เป็นต้น สาหรับคาว่า "ทุจริต" มีกฎหมายหลายฉบับที่กาหนดนิยามความหมายไว้ เช่น ประมวล กฎหมายอาญา มาตรา 1(1) "โดยทุจริต" หมายความว่าเพื่อแสวงหาประโยชน์ที่มิควรได้โดยชอบด้วยกฎหมายสาหรับตนเองหรือผู้อื่น พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการปูองกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2542 (แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ.2550 และ ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2554) "ทุจริตต่อหน้าที่" หมายความว่า ปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติอย่างใดใน ตาแหน่งหรือหน้าที่ หรือปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติอย่างใดในพฤติการณ์ที่อาจทาให้ผู้อื่นเชื่อว่ามีตาแหน่ งหรือ หน้าที่ทั้งที่ตนมิได้มีตาแหน่งหรือหน้าที่นั้น หรือใช้อานาจในตาแหน่งหรือหน้าที่ ทั้งนี้ เพื่อแสวงหาประโยชน์ที่มิควร ได้โดยชอบสาหรับตนเองหรือผู้อื่น ในส่วนของการปฏิบัติหน้าที่ราชการโดยทุจริต กาหนดไว้ในพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 มาตรา 85 (2) บัญญัติว่า การปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่ราชการโดยทุจริต เป็นการกระทา ผิดวินัยอย่างร้ายแรง มีโทษปลดออกหรือไล่ออก การทุจริตตามพระราชบัญญัติข้าราชการพลเรือนนั้น มีหลักหรือ องค์ประกอบที่พึงพิจารณา 4 ประการ คือ 1. มีหน้าที่ราชการที่ต้ องปฏิบัติราชการ ผู้มีหน้าที่จะปฏิบัติหน้าที่อยู่ในสถานที่ราชการหรือนอกสถานที่ ราชการก็ได้ ในกรณีที่ไม่มีกฎหมายบังคับไว้โดยเฉพาะว่าต้องปฏิบัติในสถานที่ราชการและการปฏิบัติหน้าที่ราชการ นั้นไม่จาเป็นจะต้องปฏิบัติในวันและเวลาทางานตามปกติ อาจปฏิบัติในวันหยุดราชการหรือนอกเวลาราชการก็ได้ การพิจารณาว่ามีหน้าที่ราชการหรือไม่ มีแนวพิจารณาดังนี้ 1.1 พิจารณาจากกฎหมายหรือระเบียบที่กาหนดหน้าที่ไว้เป็นลายลักษณ์อักษรโดยระบุว่าผู้ดารงตาแหน่งใด เป็นพนักงานเจ้าหน้าที่ในเรื่องใด 1.2 พิจารณาจากมาตรฐานกาหนดตาแหน่ง ที่ ก.พ.จัดทา 1.3 พิจารณาจากคาสั่งหรือการมอบหมายของผู้บังคับบัญชา 1.4 พิจารณาจากพฤตินัย ที่สมัครใจเข้าผูกพันตนเอง ยอมรับเป็นหน้าที่ราชการที่ตนต้องรับผิดชอบ เช่น ก.พ. ได้พิจารณาเรื่องประจาแผนกธุรการของโรงพยาบาลซึ่งไม่มีหน้าที่รับส่งเงินแต่ได้รับฝากเงินจากพยาบาลอนามัย ผู้มีหน้าที่รับส่งเงิน และการรับฝากเงินนั้นมิใช่รับฝากเงินฐานะส่วนตัว แต่มีลักษณะเป็นการรับฝากเป็นทางราชการ เพื่อนาไปส่งลงบัญชีโดยได้เซ็นรับหลังใบเสร็จรับเงินว่า "ได้รับเงินไปแล้ว" เช่นนี้ ก.พ.วินิจฉัยว่าประจาแผนกผู้นั้นมี
44 หน้าที่ราชการที่ต้องนาเงินส่งลงบัญชี เมื่อไม่นาเงินส่งลงบัญชีและนาเงินไปใช้ส่วนตัวถือเป็นการทุจริตต่อหน้าที่ ราชการ 2.ได้ปฏิบัติหน้าที่ราชการโดยมิชอบหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่ราชการโดยมิชอบ "ปฏิบัติหน้าที่ราชการ" หมายความว่า ได้มีการกระทาลงไปแล้ว "ละเว้นการปฏิบัติหน้าที่ราชการ" หมายความว่า มีหน้าที่ราชการที่ต้องปฏิบัติแต่ผู้นั้นไม่ปฏิบัติหรืองดเว้นไม่ กระทาการตามหน้าที่ การที่ไม่ปฏิบัติหรืองดเว้นไม่กระทาการตามหน้าที่นั้นจะเป็นความผิดฐานทุจริตต่อหน้าที่ ราชการก็ต่อเมื่อได้กระทาโดยเป็นการจงใจที่จะไม่ปฏิบัติการตามหน้าที่ โดยปราศจากอานาจหน้าที่จะอ้างได้ตาม กฎหมาย กฎ ระเบียบหรือข้อบังคับ แต่ถ้าเป็นเรื่องปล่อยปละ ละเว้นก็ยังถือไม่ได้ว่าเป็นการละเว้นการปฏิบัติ หน้าที่ราชการที่จะเป็นความผิดฐานทุจริตต่อหน้าที่ราชการส่วนจะเป็นความผิดฐานใดต้องพิจารณาข้อเท็จจริงเป็น เรื่อง ๆ ไป "มิชอบ" หมายความว่า ไม่เป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบของทางราชการ คาสั่งของผู้บังคับบัญชา มติของ คณะรัฐมนตรีแบบธรรมเนียมของราชการหรือทานองคลองธรรม 3. เพื่อให้ตนเองหรือผู้อื่นได้ประโยชน์ที่มิควรได้ "ผู้อื่น" หมายถึงใครก็ได้ที่จะได้รับประโยชน์จากการที่ราชการผู้นั้นปฏิบัติ หรือไม่ปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบ "ประโยชน์" หมายถึง สิ่งที่ได้รับอันเป็นคุณแก่ผู้ได้รับ ซึ่งอาจเป็นทรัพย์สินหรือประโยชน์อย่างอื่นที่มิใช่ ทรัพย์สิน เช่น การได้รับบริการ เป็นต้น "มิควรได้" หมายถึง ไม่มีสิทธ์โดยชอบธรรมที่จะได้รับประโยชน์ใด ๆ ตอบแทนจากการปฏิบัติหน้าที่นั้น 4. โดยมีเจตนาทุจ ริต การพิจารณาว่าการกระทาใดเป็นการทุจริตต่อหน้าที่ราชการหรือไม่นั้นจะต้อง พิจารณาลงไปถึงเจตนาของผู้กระทาด้วยว่ามีเจตนาทุจริตหรือมีจิตอันชั่วร้ายคิดเป็นโจร ในการปฏิบัติหน้าที่ราชการ หรือละเว้นการปฏิบั ติหน้าที่ ราชการโดยมุ่งที่จ ะให้ ตนเองหรือผู้อื่นได้รับประโยชน์ที่มิควรได้ซึ่งหากการสอบสวน พิจารณาได้ว่า ข้าราชการผู้อื่นใดกระทาผิดวินัยฐานทุจริตต่อหน้าที่ราชการ คณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่ 21 ธันวาคม 2536 ว่าการลงโทษผู้กระทาผิดวินัยฐานทุจริตต่อหน้าที่ราชการ ซึ่งควรลงโทษเป็น ไล่ออกจากราชการ การนาเงินที่ทุจริตไปแล้วมาคืนหรือมีเหตุอันควรปราณีอื่นใดไม่เป็นเหตุลดหย่อนโทษ ตามนัยหนังสือสานักเลขาธิการ คณะรัฐมนตรี ที่ นร.0205/ว.234 ลงวันที่ 24 ธันวาคม 2536 รวมทั้งอาจจะถูกยึดทรัพย์และดาเนินคดีอาญา เนื่องจากเป็ นความผิ ดมูลฐาน ตามมาตรา 3(5) แห่ งพระราชบัญญัติปูองกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. 2542 และความผิดอาญาฐานเป็นเจ้าพนักงานปฏิบัติหรือปฏิบัติหน้าที่ราชการโดยมิชอบ เพื่อให้เกิดความเสียหาย แก่ผู้หนึ่งผู้ใดหรือปฏิบัติละเว้นการปฏิบัติหน้าที่โดยทุจริต ตามมาตรา 157 แห่งประมวลกฎหมายอาญา ซึ่งต้อง ระวางโทษจาคุกตั้งแต่หนึ่งปีถึงสิบปี หรือปรับตั้งแต่สองพันถึงสองหมื่นบาทหรือทั้งจาทั้งปรับ หากข้าราชการผู้ใดกระทาผิดวินัยฐานทุจริตก็จะต้องถูกลงโทษไล่ออกสถานเดียว รวมทั้งอาจจาคุกและยึด ทรัพย์ ดังนั้น ข้าราชการทุกคนควรพึงละเว้น การทุจริตต่อหน้าที่ราชการโดยเห็นแก่ประโยชน์ของประเทศชาติเป็น สาคัญ ให้สมกับการเป็นข้าราชการในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว องค์การบริหารส่วนตาบลบ้านกุ่ม ได้เล็งเห็นความสาคัญของปัญหาการละเว้นการปฏิบัติงานซึ่งเป็นปัญหาที่ ทาให้เกิดผลกระทบและความเสียหายต่อพี่น้ องประชาชนทั้งทางอ้อมและทางตรง ทาให้ผลประโยชน์ไม่ตกถึงมือ
45 ประชาชนอย่างแท้จ ริง องค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อมีเจตนารมณ์ร่วมกันในการดาเนินงานให้เกิดความ โปร่งใส เป็นธรรม และสามารถตรวจสอบได้เพื่อให้องค์กรเป็นหน่วยงานในการปฏิบัติงานตามภารกิจให้เกิดผลตาม เปูาประสงค์เพื่อประโยชน์ต่อประชาชนในพื้นที่อย่างแท้จริง ความส าเร็ จหรือล้มเหลวของปฏิบั ติงานตามภารกิจใด ๆ ก็ตาม ขึ้นอยู่กับการบริหารงาน กล่าวคือการ บริหารงานที่ดีจะช่วยให้การดาเนินงานตามโครงการมีประสิทธิภาพ สามารถบรรลุตามวัตถุประสงค์ในแต่ละขั้นตอน ของการดาเนินงาน และในทางตรงข้ามแม้ว่าการปฏิบัติงานตามภารกิจนั้น ๆ จะออกแบบไว้ดี มีความเป็นไปได้ทาง เทคนิค งบประมาณ และเงื่อนไขอื่นใดในระดับสูงก็ตามแต่ถ้าการบริหารจัดการไม่ดี การปฏิบัติงานตามภารกิจนั้นก็ ไม่สามารถบรรลุตามวัตถุประสงค์ได้
ระเบียบ/ข้อบังคับ ที่บงั คับใช้ต่อผู้ที่ละเว้นการปฏิบัติหน้าที่ องค์การบริหารส่วนตาบลได้กาหนดมาตรฐานจริยธรรมอันเป็นค่านิยมหลัก ดังนี้ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 - หมวด 5 การลดขั้น ตอนการปฏิ บัติงาน มาตรา 29 ในการปฏิบัติ งานที่เ กี่ยวข้อ งกับการบริการ ประชาชนหรือการติดต่อประสานงานระหว่างส่วนราชการด้วยกัน ให้ส่วนราชการแต่ละแห่งจัดทาแผนภูมิขั้นตอน และระยะเวลาการดาเนินการรวมทั้งรายละเอียดอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องในแต่ละขั้นตอนเปิดเผยไว้ ณ ที่ทาการของส่วน ราชการและในระบบเครือข่ายสารสนเทศของส่วนราชการ เพื่อให้ประชาชนหรือผู้ที่เกี่ยวข้องเข้าตรวจดูได้ - หมวด 6 การปรับปรุงภารกิจของส่วนราชการ มาตรา 33 ให้ส่วนราชการจัดให้มีการทบทวนภารกิจของ ตนว่าภารกิจใดมีความจาเป็นหรือสมควรที่จะได้ดาเนินการต่อไปหรือไม่ โดยคานึงถึงแผนการบริหารราชการแผ่นดิน นโยบายของคณะรัฐมนตรี กาลังเงินงบประมาณของประเทศ ความคุ้มค่าของภารกิจและสถานการณ์อื่นประกอบกัน - หมวด 7 การอานวยความสะดวกและการตอบสนองความต้องการของประชาขนมาตรา 37 ในการ ปฏิบัติราชการที่เกี่ยวข้องกับการบริการประชาชนหรือติดต่อประสานงานในระหว่างส่วนราชการด้วยกัน ให้ส่วน ราชการกาหนดระยะเวลาแล้วเสร็จของงานแต่ละงานและประกาศให้ประชาชนและข้าราชการทราบเป็นการทั่วไป ส่วนราชการใดมิได้กาหนดระยะเวลาแล้วเสร็จของงานใดและ ก.พ.ร. พิจารณาเห็นว่างานนั้น มีลักษณะที่สามารถ กาหนดระยะเวลาแล้วเสร็จได้ หรือส่วนราชการได้กาหนดระยะเวลาแล้วเสร็จไว้ แต่ ก.พ.ร. เห็นว่าเป็นระยะเวลาที่ ล่าช้าเกินสมควร ก.พ.ร. จะกาหนดเวลาแล้วเสร็จให้ส่วนราชการนั้นต้องปฏิบัติก็ได้ มาตรา 42 เพื่อให้การปฏิบัติ ราชการเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดความสะดวกรวดเร็ว ให้ส่วนราชการที่มีอานาจออกกฎระเบียบ ข้อบังคับ หรือประกาศ เพื่อใช้บังคับกับส่วนราชการอื่น มีหน้าที่ตรวจสอบว่ากฎ ระเบียบ ข้อบังคับ หรือประกาศนั้น เป็น อุปสรรคหรือก่อให้เกิดความยุ่งยาก ซ้าซ้อน หรือความล่าช้า ต่อการปฏิบัติหน้าที่ของส่วนราชการอื่นหรือไม่ เพื่อ
46 ดาเนินการปรับปรุงแก้ไขให้เหมาะสมโดยเร็วต่อไป มาตรา 43 การปฏิบัติราชการในเรื่องใด ๆ โดยปกติให้ถือว่าเป็น เรื่องเปิดเผย เว้นแต่กรณีมีความจาเป็นอย่างยิ่งเพื่อประโยชน์ในการรักษาความมั่นคงของประเทศ ความมั่นคงทาง เศรษฐกิจ การรักษาความสงบเรียบร้อยของประชาชน หรือการคุ้มครองสิทธิส่วนบุคคล จึงให้กาหนดเป็นความลับ ได้เท่าที่จาเป็น - หมวด 8 การประเมินผลการปฏิบัติราชการ มาตรา 45 นอกจากการจัดให้มีการประเมินผลตาม มาตร 9 (3) แล้ว ให้ส่วนราชการจัดให้มีคณะผู้ประเมินอิสระดาเนินการประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการ เกี่ยวกับผลสัมฤทธิ์ของภารกิจ คุณภาพการให้บริการ ความพึงพอใจของประชาชนผู้รับบริ การ ความคุ้มค่าใน ภารกิจ ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และระยะเวลาที่ ก.พ.ร. กาหนด มาตรา 47 ในการประเมินผลการ ปฏิ บั ติง านของข้ า ราชการเพื่ อ ประโยชน์ ใ นการบริ ห ารงานบุ ค คล ให้ ส่ ว นราชการประเมิ น โดยคานึ งถึ ง ผลการ ปฏิบัติงานเฉพาะตัวของข้าราชการผู้นั้นในตาแหน่งที่ ปฏิบัติ ประโยชน์และผลสัมฤทธิ์ที่ หน่วยงานที่ข้าราชการผู้นั้น สังกัดได้รับจากการปฏิบัติงานของข้าราชการผู้นั้น ประมวลจริยธรรมของข้าราชการการเมืองท้องถิ่นฝ่ายบริหารองค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อ พ.ศ.25๖๑ ข้อ 5 ข้าราชการการเมืองท้องถิ่น มี ห น้าที่ดาเนินการให้ เป็นไปตามกฎหมาย เพื่อรักษาประโยชน์ ส่วนรวม เป็นกลางทางการเมือง อานวยความสะดวกและให้บริหารประชาชนตามหลักธรรมาภิบาลโดยจะต้องยึดมั่น ในมาตรฐานทางจริยธรรมอันเป็นค่านิยมหลัก 9 ประการ ดังนี้ 1) 2) 3) 4) 5) 6) 7) 8) 9)
ยึดมั่นในคุณธรรมและจริยธรรม การมีจิตสานึกที่ดี ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบ การยึดถือประโยชน์ของประเทศชาติเหนือกว่าประโยชน์ส่วนตน และไม่มีผลประโยชน์ทับซ้อน การยืนหยัดทาในสิ่งที่ถูกต้อง เป็นธรรม และถูกกฎหมาย การให้บริการแก่ประชาชนด้วยความรวดเร็ว มีอัธยาศัย และไม่เลือกปฏิบัติ การให้ข้อมูลข่าวสารแก่ประชาชนอย่างครบถ้วน ถูกต้อง และไม่บิดเบือนข้อเท็จจริง การมุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน รักษามาตรฐาน มีคุณภาพ โปร่งใส และตรวจสอบได้ การยึดมั่นในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมาหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข การยึดมั่นในหลักจรรยาวิชาชีพขององค์การ
47 ประมวลจริยธรรมของข้าราชการการเมืองท้องถิ่นฝ่ายสภาท้องถิ่นองค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อ พ.ศ. 25๖๑ ข้อ 5 ข้า ราชการการเมือ งท้อ งถิ่น มีห น้า ที่ดาเนิน การให้เ ป็น ไปตามกฎหมาย เพื่อ รัก ษาประโยชน์ ส่วนรวม เป็นกลางทางการเมือง อานวยความสะดวกและให้บริการแก่ประชาชนตาม หลักธรรมาภิบาล โดย จะต้องยึดมั่นในมาตรฐานทางจริยธรรมอันเป็นค่านิยมหลัก 9 ประการ ดังนี้ 1) 2) 3) 4) 5) 6) 7) 8) 9)
ยึดมั่นในคุณธรรมและจริยธรรม การมีจิตสานึกที่ดี ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบ การยึดถือประโยชน์ของประเทศชาติเหนือกว่าประโยชน์ส่วนตน และไม่มีผลประโยชน์ทับซ้อน การยืนหยัดทาในสิ่งที่ถูกต้อง เป็นธรรม และถูกกฎหมาย การให้บริการแก่ประชาชนด้วยความรวดเร็ว มีอัธยาศัย และไม่เลือกปฏิบัติ การให้ข้อมูลข่าวสารแก่ประชาชนอย่างครบถ้วน ถูกต้อง และไม่บิดเบือนข้อเท็จจริง การมุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน รักษามาตรฐาน มีคุณภาพ โปร่งใส และตรวจสอบได้ การยึดมั่นในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข การยึดมั่นในหลักจรรยาวิชาชีพขององค์กร
ประมวลจริยธรรมของข้าราชการ องค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อ พ.ศ.25๖๑ ข้อ 3 ข้าราชการขององค์การบริหารส่วนตาบลบ้านกุ่มทุกคน มีหน้าที่ดาเนินการให้เป็นไปตามกฎหมาย เพื่อรักษาประโยชน์ส่ วนรวม เป็ นกลางทางการเมือง อานวยความสะดวกและให้บริการแก่ประชาชนตามหลั ก ธรรมาภิบาล โดยจะต้องยึดมั่นในค่านิยมหลัก 10 ประการดังนี้ 1) การยึดมั่นในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข 2) ยึดมั่นในคุณธรรมและจริยธรรม 3) การมีจิตสานึกที่ดี ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบ 4) การยึดถือประโยชน์ของประเทศชาติเหนือกว่าประโยชน์ส่วนตน และไม่มีผลประโยชน์ทับซ้อน 5) การยืนหยัดทาในสิ่งที่ถูกต้อง เป็นธรรม และถูกกฎหมาย 6) การให้บริการแก่ประชาชนด้วยความรวดเร็ว มีอัธยาศัย และไม่เลือกปฏิบัติ 7) การให้ข้อมูลข่าวสารแก่ประชาชนอย่างครบถ้วน ถูกต้อง และไม่บิดเบือนข้อเท็จจริง 8) การมุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน รักษามาตรฐาน มีคุณภาพ โปร่งใส และตรวจสอบได้ 9) การยึดมั่นในหลักจรรยาวิชาชีพขององค์กร 10) การสร้างจิตสานึกให้ประชาชนในท้องถิ่นประพฤติตนเป็นพลเมืองที่ดี ร่วมกัน พัฒนาชุมชนให้ น่าอยู่คู่คุณธรรมและดูแลสภาพแวดล้อมให้สอดคล้องรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบัน
48
ข้อบังคับองค์การบริหารส่วนตาบล ว่าด้วยจรรยาข้าราชการองค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อ องค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อ ในฐานะเป็นองค์กรที่ใกล้ชิดกับประชาชนมากที่สุด โดยมีหน้าที่ใน การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่น การดาเนินการด้านการเงิน การคลัง งบประมาณ การพัสดุ การจั ดเก็บรายได้การ พัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศเพื่อการบริหารงาน พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของชุมชนวางมาตรฐานการดาเนินงาน จัดการบริ การสาธารณะ การศึกษาของท้องถิ่น การบริห ารงานบุคคลและพัฒ นาบุคลากร รวมทั้งส่ งเสริมให้ ประชาชนได้มีส่วนร่วมในการบริหารงานและตรวจสอบการดาเนินงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นฉะนั้น เพื่อเป็น การสร้างจิตสานึกของข้าราชการให้สามารถปฏิบัติหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล มีความโปร่งใส และเป็น ธรรม จึงสมควรให้มีข้อบังคับว่าด้วยจรรยาข้าราชการองค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อ องค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อ จึงได้กาหนดข้อบังคับจรรยาข้าราชการองค์การบริหารส่วนตาบล เหล่าโพนค้อ เพื่อเป็นกรอบมาตรฐานในการประพฤติปฏิบัติตนของข้าราชการ ลูกจ้าง และพนักงานจ้าง ให้มีความ รับผิดชอบในการปฏิบัติหน้าที่ด้วยความเป็นธรรม ธารงไว้ซึ่งศักดิ์ศรีและเกียรติภูมิของข้า ราชการ อันจะทาให้ได้รับ การยอมรับเชื่อถือและศรัทธาจากประชาชนทั่วไปไว้ดังนี้ ข้อ 1 ความซื่อสัตย์ และรับผิดชอบ 1.1 ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต 1.2 ใช้ทรัพยากรขององค์กรอย่างประหยัด และโปร่งใส เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ทางราชการ 1.3 ปฏิบัติหน้าที่อย่างเต็มกาลังความรู้ ความสามารถ โดยคานึงถึงประโยชน์ของทางราชการเป็น สาคัญ 1.4 รับผิดชอบต่อผลการกระทาของตนเอง และมุ่งมั่น แก้ไขเมื่อเกิดข้อผิดพลาด ข้อ 2 การมีจิตสานึกมุ่งบริการและให้คาปรึกษา 2.1 ให้บริการแก่ส่วนราชการองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และประชาชนอย่างเท่าเทียมกันด้วย ความเต็มใจ 2.2 ให้คาปรึกษาแนะนาแก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว และครบถ้วน ข้อ 3 การมุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน 3.1 ปฏิบัติหน้าที่โดยมุ่งประสิทธิภาพ ประสิทธิผลของงาน เพื่อให้เกิดผลดีและเป็นประโยชน์ต่อ ส่วนรวม 3.2 ขยัน อุทิศตน และมุ่งมั่นในการปฏิบัติหน้าที่ให้สาเร็จตามเปูาหมาย 3.3 ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความสามัคคี มีน้าใจ เพื่อให้บรรลุภารกิจของหน่วยงาน 3.4 พัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง
49 ข้อ 4 การปฏิบัติหน้าที่อย่างเป็นธรรม 4.1 ตัดสินใจบนหลักการ ข้อเท็จจริง เหตุผลเพื่อความยุติธรรม 4.2 ไม่มีอคติในการปฏิบัติหน้าที่ ข้อ 5 การดารงชีวิตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง 5.1 วางแผนการดารงชีวิตอย่างมีเปูาหมาย พร้อมที่จะเผชิญต่อการเปลี่ยนแปลง 5.2 ใช้จ่ายอย่างคุ้มค่า มีเหตุผล และไม่ฟุมเฟือยเกินฐานะของตนเอง 5.3 ปฏิบัติตามหลักศาสนา รู้จักพึ่งตนเองและลด ละ เลิกอบายมุข ข้อ 6 การยึดมั่นและยืนหยัดในสิ่งที่ถูกต้อง 6.1 ยึดมั่นในผลประโยชน์ส่วนรวมเหนือผลประโยชน์ส่วนตน 6.2 กล้าหาญ และยืนหยัดในสิ่งที่ถูกต้อง 6.3 ปฏิบัติตามหลักคุณธรรม จริยธรรม เพื่อเป็นแบบอย่างที่ดีแก่เพื่อนข้าราชการ ข้อ 7 ความโปร่งใส และสามารถตรวจสอบได้ 7.1 เปิดเผยข้อมูลข่าวสารภายในขอบเขตของกฎหมาย 7.2 พร้อมรับการตรวจสอบ และรับผิดชอบต่อผลของการตรวจสอบ มาตรฐานทางคุณธรรมจริยธรรม พนักงานส่วนตาบลและพนักงานจ้างขององค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อ อนุสนธิสัญญาทางคณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น (ก.ถ.) ได้กาหนดมาตรฐานทาง คุณธรรมจริยธรรมของข้าราชการ พนักงานส่วนตาบล และพนักงานจ้างขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ซึ่งได้ ประมวลขึ้นจากข้อเสนอแนะของผู้บ ริหารท้องถิ่น สมาชิกสภาท้องถิ่น ข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่น โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อใช้เป็นหลักการและแนวทางปฏิบัติให้ข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่นโดยทั่วไปใช้ยึดถือปฏิบัติ เป็นเครื่องกากับความประพฤติ ดังนี้ 1. พึงดารงตนให้ตั้งมั่นอยู่ในศีลธรรม ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์ สุจริต เสียสละ และมีความ รับผิดชอบ 2. พึงปฏิบัติหน้าที่อย่างเปิดเผย โปร่งใส พร้อมให้ตรวจสอบ 3. พึงให้บริการด้วยความเสมอภาค สะดวก รวดเร็ว มีอัธยาศัยไมตรี โดยยึดประโยชน์ของประชาชนเป็น หลัก 4. พึงปฏิบัติหน้าที่โดยยึดผลสัมฤทธิ์ของงานอย่างคุ้มค่า 5. พึงพัฒนาทักษะ ความรู้ ความสามารถ และตนเองให้ทันสมัยอยู่เสมอ 6. พึงมีจรรยาบรรณต่อตนเอง 7. พึงมีจรรยาบรรณต่อหน่วยงาน 8. พึงมีจรรยาบรรณต่อผู้บังคับบัญชา ผู้อยู่ใต้บังคับบัญชาและผู้ร่วมงาน 9. พึงมีจรรยาบรรณต่อประชาชนและสังคม
50
พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 ภายใต้พระราชบั ญญัติข้อมูล ข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 มุ่งเน้นการประเมินความโปร่งใสของ หน่วยงานของรัฐใน 3 มิติ คือ มิติการเปิดเผยและการตรวจสอบได้มิติการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพและมิติ ของการดาเนินการตามพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 ในลักษณะของการจัดเตรียมความ พร้อมด้านข้อมูลข่าวสาร เอกสาร หลักฐานและระดับการปฏิบัติงานที่มีประสิทธิภาพ ซึ่งจะเป็นส่วนที่สนับสนุนให้ หน่วยงานภาครัฐได้มีการเตรียมความพร้อมด้านข้อมูลข่าวสารเพื่อรองรับการประเมินผลจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ตามมาตรฐานและตัวชี้วัดความโปร่งใสของหน่วยงานภาครัฐ อันจะส่งให้การพัฒนาระบบบริหารราชการ แผ่นดินและการใช้สิทธิตามพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540 ของภาครัฐและประชาชนเป็นไป อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิท ธิผลตามเจตนารมณ์ของกฎหมายและมีความสอดคล้องกับนโยบายการบริหาร ของรัฐบาลที่ต้องการส่งเสริมให้ประชาชนมีโอกาสได้รับรู้ข้อมูลข่าวสารจากทางราชการและสื่อสาธารณะอื่นได้อย่าง กว้างขวาง ถูกต้อง เป็นธรรม และรวดเร็ว มาตรฐานและตัวชี้วัดความโปร่งใสหน่วยงานภาครัฐ มีความสาคัญ ต่อ การบริหารจัดการที่มีคุณค่าและมีประสิทธิภาพ โดยเป็นกระบวนการที่หน่วยงานภาครัฐได้ดาเนินการเพื่อยกระดับ มาตรฐานการ ปฏิบัติงานด้วยความซื่อสัตย์สุจริตสามารถเปิดเผยและตรวจสอบได้จากทุกฝุายรวมทั้งการให้ การ บริการแก่ประชาชนบนพื้นฐานของความเท่าเทียมและมีมาตรฐานเป็นหนึ่งเดียวมาตรฐานและตัวชี้วัดความโปร่งใส หน่วยงานภาครัฐที่กาหนดภายใต้ พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 มีประโยชน์ทั้งต่อภาค ประชาชน และหน่วยงานภาครัฐ ดังนี้ ประโยชน์ต่อภาคประชาชน 1) ประชาชนได้รับความสะดวกรวดเร็วในการับบริการดานข้อมูล ข่าวสารและกระบวนการทางานอื่น ๆ จากเจ้าหน้าที่และหน่วยงานของรัฐ 2) สามารถรับทราบและเข้าถึงข้อมูลข่าวสารของราชการได้อย่าง ถูกต้องและรวดเร็ว 3) สามารถตรวจสอบข้อมูลข่าวสารและกระบวนการทางานของหน่วยงานภาครัฐได้ 4) มีความเข้าใจและมีแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดการข้อมูลส่วนบุคคลและสังคม 5) สามารถเข้าไปมีส่วนร่ว มในการาเนินการในกิจกรรมต่าง ๆ ของ หน่วยงานภาครัฐโดยเฉพาะการใช้ ช่องทางผ่าน พ.ร.บ. ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540 ประโยชน์ต่อหน่วยงานภาครัฐ 1) มีข้อกาหนดและหลักเกณฑ์ในการปฏิบัติงานที่กาหนด ภายใต้พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540 2) มีแนวทางในการบริหารจัดการภายในองค์กรที่สอดคล้องกับความโปร่งใสที่แสดงให้เห็นถึงขั้นตอนการ ดาเนินการที่สามารถเปิดเผยและตรวจสอบได้ทั้งในเชิงข้อมูลและกระบวนการ
51 3) มีหลักเกณฑ์มาตรฐาน ตัวชี้วัด แนวทางการประเมินผลและสามารถใช้เกณฑ์มาตรฐานและตัวชี้วัด ดังกล่าวเป็นตัวแบบในการประเมินตนเอง ภายใต้พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 4) หน่วยงานภาครัฐสามารถใช้เกณฑ์มาตรฐานและตัวชี้วัดความโปร่งใส เป็นแบบประเมินเพื่อเตรียมความ พร้อมในการรองรับการตรวจประเมินของหน่วยงานที่มีอานาจหน้าที่ในการตรวจประเมินตามกฎหมายหรือเพื่อกิจการ อื่น 5) ได้ส่งเสริมให้ประชาชนมีโอกาสได้รับรู้ข้อมูลข่าวสารจากทางราชการและสามารถพัฒนาระบบกลไกใน การบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ ถูกต้อง เป็นธรรมและรวดเร็ว มาตรฐานและตัวชี้วัดความโปร่งใสของหน่วยงาน ภาครัฐ ประกอบด้วย เกณฑ์มาตรฐานมีความครอบคลุมแนวคิด และกระบวนการปฏิบัติงานที่แสดงถึงความโปร่งใส ของหน่วยงานภาครัฐ โดยเฉพาะการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารการมีส่วนร่วมของประชาชนและการตรวจสอบการใช้ อานาจรัฐของภาคประชาชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ประกอบด้วยเกณฑ์มาตรฐานความโปร่งใส การส่งเสริมให้ภาคประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในขั้นตอนและกระบวนการบริหารจัดการของภาครัฐ โดยมี ตัวชี้วัดมาตรฐานความโปร่งใสด้าน การบริหารงาน 5 ประการ ได้แก่ 1. การจัดทาและเผยแพร่โครงสร้างและอานาจหน้าที่ของหน่วยงาน 2. การจัดทาวิสัยทัศน์พันธกิจและแผนปฏิบัติการประจาปีของหน่วยงาน 3. การกาหนดหลักเกณฑ์และขั้นตอนการปฏิบัติงานของหน่วยงาน 4. การดาเนินการตามแผนปฏิบัติการประจาปี 5. การส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนในการบริหารจัดการของหน่วยงาน มาตรฐานและตัวชี้วัดความ โปร่งใสด้านการให้บริการแก่ประชาชน มาตรฐานความโปร่งใสด้านการให้บริการแก่ประชาชน เป็นมาตรฐานเกี่ยวกับการปฏิบัติหน้าที่ของหน่วยงาน ภาครัฐที่สะท้อนให้เห็นถึงการทาหน้าที่โดย ความซื่อสัตย์สุจริตไม่มีการเลือกปฏิบัติและการขจัดข้อโต้แย้งที่ไม่เป็น ธรรมโดยเป็น การกาหนดหลักเกณฑ์และขั้ นตอนการให้บริการการเลือกใช้ช่องทางการให้บริการรวมไปถึงการ ประเมิน ความพึงพอใจของประชาชน โดยมี ตัว ชี้วัด มาตรฐานความโปร่งใสด้า นการให้ บริการแก่ประชาชน 6 ประการ ได้แก่ 1. 2. 3. 4. 5. 6.
การกาหนดหลักเกณฑ์และขั้นตอนในการให้บริการแก่ประชาชน การให้บริการตามหลักเกณฑ์และขั้นตอนที่กาหนดไว้โดยไม่มีการเลือกปฏิบัติ การเลือกใช้ช่องทางการให้บริการที่เหมาะสมกับการให้บริการ การจัดให้มีช่องทางและกลไกในการแก้ไขปัญหาเรื่องร้องเรียนของประชาชน การประเมินผลความพึงพอใจของประชาชนผู้รับบริการ การจัดทาระบบข้อมูลทางสถิติและสรุปผลการให้บริการแก่ประชาชน
52 ซึ่งเป็นการสะท้อนให้เห็นถึงเปิดเผย การตรวจสอบได้และการส่งเสริมการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารของราชการ และการตรวจสอบการใช้อานาจรัฐของภาคประชาชนตามเจตนารมณ์ ของพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540 การประเมินการประเมินความสมบูรณ์ของขั้นตอนและการปฏิบัติงานของหน่วยงานโดยพิจารณาจากระดับ ความสมบูรณ์ของข้อมูลข่าวสารและขั้นตอนการดาเนินการของหน่วยงานภาครัฐในเชิงคุณภาพที่มีความก้าวหน้าใน ด้านข้อมูลข่าวสาร หลักฐานและความสามารถในการปฏิบัติงานที่มีคุณภาพมาตรฐานและประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้น การปฏิบัติงานที่มีมาตรฐานและประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้น โดยมีการวัดค่าของความสมบูรณ์ของกระบวนการ และขั้นตอนการปฏิบัติงาน มีมาตรฐานความโปร่งใสด้านการติดตามและประเมินผล เป็นมาตรฐานเกี่ยวกับการ เปิดเผยให้เห็น ถึงระบบการติดตามและประเมินผลที่มีประสิ ทธิภาพโดยเป็น การกาหนดหลักเกณฑ์และตัวชี้วัด สาหรับการประเมินผลการปฏิบัติงานของหน่วยงานการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในของหน่วยงานการจัด ให้มีกลไกการตรวจสอบทั้งภายในและภายนอกที่มีความเป็นอิสระการให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการติดตามและ ประเมินผลและการส่งเสริมการมี ส่วนร่วมของประชาชนในการติดตาม และประเมินผลการทางานของหน่วยงาน ภาครัฐโดยมีตัวชี้วัดมาตรฐานความโปร่งใส ด้านการติดตามและประเมินผล 5 ประการได้แก่ 1. การจัดทาหลักเกณฑ์และตัวชี้วัดการติดตามประเมินผลการปฏิบัติงานของหน่วยงาน 2. การจัดให้มีระบบและกลไกการตรวจสอบภายใน (Internal Audit) ที่เหมาะสม 3. การจัดให้มีระบบและกลไกการปฏิบัติการเพื่อรองรับการตรวจประเมินจากหน่วยงานภายนอก (External Audit) ที่เป็นอิสระ 4. การส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนในการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงานของหน่วยงาน 5. การรายงานผลการประเมินการปฏิบัติงานของหน่วยงานตามแผนปฏิบัติการประจาปีมาตรฐานความ โปร่งใสด้านการเปิดเผยและการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารของราชการ เป็นมาตรฐานในการเปิดเผยและการส่งเสริมสิทธิ การเข้าถึงการรับรู้ ข้อมูลข่าวสารของราชการการจัดระบบและช่องทางการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารการพั ฒนาศักยภาพ ของระบบข้ อ มู ล ข่ า วสารเพื่ อ การบริ ห ารความโปร่ ง ใสและการจั ด การความรู้ ข องหน่ ว ยงานซึ่ ง เป็ น ไปตาม พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540 กลไกลการาตรวจสอบภายในเป็นเครื่องมือในการติดตามและประเมินผล วิธีการประเมิน พิจารณาจากการ ปฏิบัติการตามแผนปฏิบั ติการประจาปีของหน่วยงานที่มีความสอดคล้องกับแผนงาน งบประมาณความรับผิดชอบ และระยะเวลาตามที่กาหนดไว้ในแผนปฏิบั ติการประจาปี และพิจารณาผลการปฏิบัติการของหน่วยงานเกณฑ์ มาตรฐานการประเมิน 1. มีการกาหนดหน้าที่และความรับ ผิดชอบของบุคคลและส่ วนงานภายในหน่ว ยงานที่เกี่ ยวข้องกับการ ปฏิบัติหน้าที่ตามแผนปฏิบัติการประจาปี 2. มีการปฏิบัติหน้าที่ตามแผนปฏิบัติการประจาปีภายใต้ตามกรอบระยะเวลาที่กาหนดไว้ในแผนปฏิบัติการ ประจาปี
53 3. มีการประเมิน การปฏิบั ติห น้ าที่ของแต่ล ะส่ ว นงานภายใน หน่ว ยงาน โดยพิจารณาจากผลการนา แผนปฏิบัติการประจาปีของหน่วยงานไปปฏิบัติในแต่ละช่วงเวลา หลั กเกณฑ์ ใ นการปฏิ บั ติ ข องหน่ ว ยงาน หมายถึง การที่ บุค ลากรและหน่ ว ยงานได้ มีก ารให้ บริ ก ารแก่ ประชาชนตามหลักเกณฑ์และขั้นตอนที่กาหนดไว้โดยไม่มีการเลือกปฏิบัติซึ่งเป็นการให้บริการตามแนวทางและระบบ ที่หลากหลาย เช่น การบริการตามลาดับก่อน-หลัง หรือการให้การบริการที่เหมาะสมกับภารกิจและอานาจหน้าที่ ของหน่วยงาน เป็นต้น ทั้งนี้เพื่อเป็นการอานวยความสะดวก รวดเร็ว ประหยัด และถูกต้องแก่ประชาชนผู้มารับ บริการ
วิธีการประเมิน จากการให้บริการตามหลักเกณฑ์และขั้นตอนที่หน่วยงานกาหนดไว้ว่ามีห รือไม่มีการให้บริการตามหลักเกณฑ์ และขั้น ตอนที่กาหนดไว้หรื อไม่ อย่ างไรและพิจารณาจากความหลากหลายในการให้ บริการแก่ประชาชนเกณฑ์ มาตรฐานการประเมิน 1. มีการให้การบริการตามหลักเกณฑ์และขั้นตอนที่กาหนดไว้ 2. มีการให้การบริการภายในระยะเวลาที่กาหนด 3. มีการให้บริการเรียงตามลาดับก่อน - หลัง การที่หน่วยงานได้มีการกาหนดและดาเนินการเพื่อพัฒนา ระบบการให้คุณให้โทษและการจัดทากิจกรรม การเสริมสร้างขวัญและกาลังใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรภายในหน่วยงาน โดยเป็นการกาหนดรูปแบบและ เกณฑ์มาตรฐานในการพิจารณาให้โทษแก่บุคลากรที่กระทาความผิดตามกฎระเบียบของราชการและจริยธรรมของ หน่วยงานรวมทั้งการสนับสนุนและให้รางวัลแก่บุคลากรที่มีความขยันหมั่นเพียรในการปฏิบัติหน้าที่ทั้งนี้เพื่อเป็นการ ส่งเสริมให้บุคลากรมีขวัญและกาลังใจในการปฏิบัติงานด้วยความโปร่งใสและยุติธรรม วิธีการประเมินพิจารณาจาก การกาหนดและดาเนินการเพื่อพัฒนาระบบการให้ คุณ ให้โทษ และการสร้างขวัญกาลังใจแก่บุคลากรในหน่วยงาน และพิจารณาจากขั้นตอนและกระบวนการพัฒนาระบบการ ให้คุณ/ให้โทษแก่บุคลากรในหน่วยงาน สาหรับการประเมินผลการปฏิบัติงานของหน่วยงานในภาพรวม เพื่อให้มีติดตามประเมินผลการปฏิบัติงาน ของบุคลากรภายในหน่วยงานและเพื่อพัฒนาระบบ การติดตามและประเมินผลของหน่วยงานโดยมีการกาหนด หลักเกณฑ์และตัวชี้วัดที่ สะท้อนให้เห็นประสิทธิภาพ/ผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานของหน่วยงานรวมทั้งมีการกาหนด วิธีการประเมินผลตามหลักเกณฑ์และตัวชี้วัดที่กาหนดไว้และมีการเผยแพร่ หลักเกณฑ์ตัวชี้วัดและวิธีการประเมินให้ บุคลากร/สาธารณชนได้รับทราบ การจัดทารายงานผลการติดตามประเมินผลการทางานของหน่วยงาน เกณฑ์มาตรฐานการประเมิน 1. มีการจัดแผนงานกิจกรรม/โครงการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของ ประชาชนในการติดตามและประเมินผล การทางานของหน่วยงาน เช่น การจัดเวทีประชาคม/สาธารณะ 2. มีการแต่งตั้งคณะกรรมการที่มาจากภาคประชาชน เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนในการ ติดตามและประเมินผลการทางานของหน่วยงาน
54 กาหนดไว้โดยจะต้องมีการเผยแพร่ผลการประเมินผลการปฏิบัติงานของหน่วยงานให้เป็นที่รับทราบโดยทั่วไป วิธีการประเมิน พิจารณาจากการจัดทารายงานการประเมินผลการปฏิบัติงานของหน่วยงานตามแผน ปฏิบัติการ ประจาปีของหน่วยงาน 1. พิจารณาจากช่องทางในการเผยแพร่ผลการประเมินผลการปฏิบัติงานของหน่วยงาน การจัดทารายงาน ผลการประเมินการดาเนินการตามแผนปฏิบัติการประจาปีพร้อมทั้งวิเคราะห์ปัญหาอุปสรรคในการดาเนินการตาม แผนการปฏิบัติการประจาปี 2. มีการเผยแพร่ผลการประเมินการปฏิบัติงานตามแผนปฏิบัติการประจาปีให้เป็นที่รับรู้ของบุคคลทั้งภายใน และภายนอกหน่วยงานที่ศูนย์ข้อมูลข่าวสารของหน่วยงาน และทางเว็บไซต์ของหน่วยงานหลักฐาน ประกอบการ ตรวจสอบ/ข้อมูลที่ต้องการ
มาตรการควบคุมการปฏิบัติงาน การควบคุม หมายถึง กระบวนการที่กระทาให้มั่นใจว่าการปฏิบัติงานได้ดาเนินการไปตามแผนที่กาหนดไว้ หรือถ้าจะให้ความหมายที่ชี้ให้เห็นถึงบทบาทของผู้ควบคุมชัดเจนขึ้นก็หมายถึง การบังคับให้กิจกรรมต่างๆ เป็นไป ตามแผนที่กาหนดไว้ จากความหมายดังกล่าวจะเห็นได้ว่าเมื่อมีการศึกษาผลการปฏิบัติงานตามแผนปรากฏว่าไม่ เป็น ไปตามทิศทาง กรอบ หรือข้อกาหนดที่ว างไว้ ผู้ ควบคุมหรือผู้ บริหารจะต้องดาเนินการอย่างหนึ่งจะแก้ไข ปรับปรุงให้การปฏิบัติงานเป็นไปตามแผนดังกล่าว มิฉะนั้นแล้วแผนก็จะไม่บรรลุวัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้
การควบคุมอาจแบ่งตามลักษณะของสิ่งที่ถูกควบคุมออกเป็น 5 ประเภทด้วยกัน คือ 1. การควบคุมผลการปฏิบัติงาน (Product Control) เป็นการควบคุมผลผลิตของโครงการเพื่อจัดการให้ โครงการผลิตได้ปริมาณตามที่กาหนดไว้ในแผน เรี ยกว่า การควบคุมปริมาณ (Quantity Control) และควบคุม ให้ผลผลิตที่ได้มีลักษณะและคุณสมบัติตามที่กาหนดไว้เรียกว่าการควบคุม คุณภาพ (Quality Control) การควบคุม ในข้อนี้ รวมถึงการควบคุมเวลาของโครงการด้ว ย คือการควบคุมให้โ ครงการสามารถผลิ ตผลงานได้ปริมาณและ คุณภาพตามช่วงเวลาที่กาหนดไว้ 2. การควบคุมบุคลากร (Personal of Staff Control) เป็นการควบคุมพฤติกรรมการปฏิบัติงานของ เจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานโครงการ โดยควบคุมให้ปฏิบัติงานตามวิธีที่กาหนดไว้และให้เป็นไปตามกาหนดการโครงการ ควบคุมและบารุงขวัญพนักงาน ความประพฤติ ความสานึกในหน้าที่และความรับผิดชอบตลอดจนควบคุมด้านความ ปลอดภัยของพนักงานด้วย 3. การควบคุมด้านการเงิน (Financial Control) ได้แก่ การควบคุมการใช้จ่าย (Cost - Control) การ ควบคุมทางด้านงบประมาณ (Budget Control) ตลอดจนการควบคุมทางด้านบัญชีต่างๆ ทั้งนี้เพื่อให้ โครงการเสีย ค่าใช้จ่ายต่าสุด และมีเหตุผลเป็นไปด้วยความบริสุทธิ์ยุติธรรม 4. การควบคุมทรัพยากรทางกายภาพ (Control of Physical Resources) ได้แก่ การควบคุมการใช้จ่าย ทรัพยากรประเภทวัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ อาคารและที่ดินตลอดจนแรงงานในการเป็นปัจจัยนาเข้าของโครงการ เพื่อให้เกิดการประหยัดในการใช้ทรัพยากรดังกล่าว
55 5. การควบคุมเทคนิควิธีการปฏิบัติงาน (Control of Techniques or Procedure) ได้แก่ การควบคุม กากับดูแลเทคนิคและวิธีการปฏิบัติงานให้ถูกต้องตามหลักวิชาที่กาหนดไว้ สาหรับการปฏิบัติงานประเภทนั้น ๆ โดย จะต้ อ งควบคุ ม ทั้ ง เทคนิ ค วิ ธี ที่ ม องเห็ น และเข้ า ใจง่ า ย เช่ น โครงการพั ฒ นาสั ง คม วั ฒ นธรรม การส่ ง เสริ ม ประชาธิปไตย หรือโครงการพัฒนาชนบท เป็นต้น ความสาคัญของการติดตามและการควบคุม ความสาคัญ ความจาเป็น และประโยชน์ของการติดตามและการควบคุมนั้น อาจพิจารณาได้จากประเด็น ต่อไปนี้ 1. เพื่อให้แผนบรรลุเปูาหมายและวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ประโยชน์ในข้อนี้นับว่าเป็นวัตถุประสงค์ที่สาคัญที่สุด ของการติดตามและการควบคุมโครงการ ทั้งนี้เพราะวัตถุประสงค์และเปูาหมายถือเป็นหัวใจสาคัญของโครงการ หาก ไม่มีการยึดเปูาหมายและวัตถุประสงค์เป็ นหลักแล้ว เราก็ไม่ทราบว่าจะทาโครงการนี้ไปทาไม เมื่อเป็นเช่นนี้ การ ติดตามและควบคุมการปฏิบัติงานต่าง ๆ ที่จะช่วยประคับประคองให้โครงการบรรลุสิ่งที่มุ่งหวังดังกล่าวจึงถือเป็น กิจกรรมที่สาคัญยิ่งของผู้บริหารโครงการ 2. ช่วยประหยัดเวลาและค่าใช้จ่าย ผู้บริหารที่ดีจะต้องควบคุมเวลาและค่าใช่จ่ายของโครงการโดยการ เสนอแนะเทคนิควิธีการปฏิบัติที่มีประสิทธิภาพให้ซึ่งจะสามารถลดเวลาและค่าใช้จ่ายของโครงการลงไปได้มาก ทาให้ สามารถนาทรัพยากรที่ลดลงไปใช้ประโยชน์กับโครงการอื่น หรือเพื่อวัตถุประสงค์อื่น ๆ ได้ 3. ช่วยกระตุ้น จูงใจ และสร้างขวัญกาลังใจให้ผู้ปฏิบัติงาน การติดตามควบคุมนั้นไม่ใช่เป็นการจับผิดเพื่อ ลงโทษ แต่เป็นการแนะนาช่วยเหลือโดยคานึงถึงผลสาเร็จของโครงการเป็นสาคัญ เพราะฉะนั้นผู้นิเทศงานและผู้ ควบคุมงานที่ดีมักจะได้รับการต้อนรับจากผู้ปฏิบัติงาน ทาให้ผู้ปฏิบัติง านรู้สึกกระตือรือร้น เพราะมีพี่เลี้ยงมาช่วย แนะนา ช่วยเหลืออีกแรงหนึ่ง ขวัญกาลังใจที่จะปฏิบัติงานต่อสู้กับปัญหาอุปสรรคต่าง ๆ ก็จะมีมากขึ้น 4. ช่วยปูองกันและความเสียหายรุนแรงที่อาจจะเกิดขึ้นได้ โครงการบางโครงการถ้ามีการควบคุมไม่ดีพอ อาจเป็นสาเหตุให้เกิดความเสียหายใหญ่หลวงได้ และหากพบความเสียนั้นแต่ต้นลักษณะของเหตุการณ์ที่เรียกว่า "สายเกินแก้" ก็จะไม่เกิดขึ้น 5. ทาให้ พบปั ญหาที่อาจเกิดขึ้น เนื่ องมาจากโครงการนั้น ทั้ง นี้ในขณะที่ทาการติดตามและควบคุมนั้ น ผู้บริหารจะมองเห็นปัญหาอันเป็นผลกระทบต่าง ๆ ของโครงการหลายประการ จึงจะสามารถจัดหามาตรการในการ ปูองกันแก้ไขได้อย่างถูกต้อง เช่น โครงการสร้างถนนเข้าไปในถิ่นทุรกันดาร อาจก่อให้เกิดปัญหาการลักลอบตัดไม้ เถื่อนโดยใช้ถนนสายนั้นเป็นเส้นทางขนส่ง เป็นต้น 6. ช่วยให้ผู้เกี่ยวข้องทุกฝุายได้เห็นเปูาหมายวัตถุประสงค์ห รือมาตรฐานของงานได้ชัดเจนขึ้น โดยปกติ โครงการต่าง ๆ มักจะกาหนดวัตถุประสงค์หรือเปูาหมายไว้อย่างหลวม ๆ หรือใช้คาที่ค่อนข้างจะเป็นนามธรรมสูง เช่น คาว่าพัฒนา ขยาย ปรับปรุง กระตุ้น ยกระดับ ฯลฯ ซึ่งทาให้ผู้ปฏิบัติงาน หรือแม้กระทั่งผู้บริหารมองไม่ เห็นเปูาหมายได้ชัดเจน ไม่อาจปฏิบัติงานให้บรรลุเปูาหมายที่ถูกต้องได้ เมื่อมีการติดตามและควบคุมโครงการจะต้อง
56 มีการทาให้วัตถุประสงค์และเปูาหมายรวมทั้งมาตรฐานต่าง ๆ ชัดเจนขึ้น เพื่อจะได้สามารถเปรียบเทียบและทาการ ควบคุมได้ กล่าวโดยสรุปได้ว่า การติดตามและการควบคุมเป็นเครื่องมือสาคัญของกระบวนการบริหารและกระบวนการ วางแผน ทาให้ การดาเนินการเป็นไปตามวัตถุประสงค์ นโยบายที่กาหนดไว้การติดตามและการควบคุมนั้นเป็น กิจกรรมที่เกี่ยวเนื่องกัน มักจะใช้ควบคู่กันไม่ได้มีการแยกกันอย่างอิสระ กล่าวคือเมื่อมีการติดตามดูผลการทางานว่า เป็นอย่างไรแล้ว ก็ต้องมีการควบคุมเพื่อปรับปรุงปฏิบัติงานดังกล่าวให้ไปสู่ทิศทางที่ต้องการ และในทางกลับกันใคร หรือหน่วยงานใดก็ตามที่จะทาหน้าที่ควบคุมก็ต้องมีการติดตามก่อนเสมอ มิฉะนั้นก็ไม่สามารถควบคุมอะไรได้ ********************************