รายงานวิเคราะห์ปัญหาการปฏิบัติงานในหน้าที่

Page 1

การวิเคราะห์ปัญหาการปฏิบัติงานในหน้าที่ เรื่องีปัญหาการปฏิบัติงานในหน้าทน่ ักบริหารงานการเกษตร ี​ีกรณศึกษาีองค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อี ี​ี​ี​ี​ีอาเภอโคกศรสุพรรณี​ี​ีจังหวัดสกลนคร

โดย ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ีนายเกยรติศักดิ์ีขันทท้าว

ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ีสังกัดีองค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อ

ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ีหลักสูตรีนักบริหารการเกษตร รุ่นท่ี1 ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ีสถาบันพัฒนาบุคลากรท้องถิ่น ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ีตาบลคลองหนึ่งีอาเภอคลองหลวงีจังหวัดปทุมธาน


คานา รายงานฉบั บ นี้ เป็ น การศึ ก ษา การวิ เคราะห์ ปั ญ หาในการปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ นั ก บริ ห ารงาน การเกษตร ที่องค์การบริห ารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อ อาเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร โดย การศึกษาวิเคราะห์ปัญหาจากการปฏิบัติหน้าที่ ที่ได้รับการถ่ายโอนภารกิจจากกรมส่งเสริมการเกษตร 9 ภารกิจ การปฏิบัติห น้าที่ตามพระราชบัญญัติกาหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอานาจให้ แก่ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นพ.ศ. 2542 การปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัติสภาตาบลและองค์การ บริ ห ารส่ ว นต าบล พ.ศ. 2537 และตามหน้ า ที่ ที่ ได้ รั บ มอบหมาย ซึ่ ง ศึ ก ษารวบรวมปั ญ หาและ ข้อเสนอแนะ จากการดาเนินโครงการ กิจกรรม ตามอานาจหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง เกียรติศักดิ์ ขันทีท้าว นักบริหารงานการเกษตร รุ่น 1


สารบัญี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี

หน้า บทที่ 1 บทนาี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ีความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา 1 วัตถุประสงค์ของการศึกษา 2 ขอบเขตของการศึกษา 3 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 3 บทที่ 2 กรอบแนวคิดีทฤษฎีและเอกสารทเ่ กย่ วข้อง แนวคิดการถ่ายโอนภารกิจของกรมส่งเสริมการเกษตร ให้อปท 4 อานาจหน้าทีต่ ามพ.ร.บกาหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอานาจให้อปท 10 อานาจหน้าที่ตามพ.ร.บสภาตาบลและองค์การบริหารส่วนตาบล พ.ศ. 2537 13 มาตรฐานกาหนดตาแหน่ง นักบริหารงานการเกษตร 14 บริบททั่วไปขององค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อ 17 กรอบแนวคิดในการศึกษา 24 บทที่ 3 วิธดาเนินการศึกษา ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ีสถานทีด่ าเนินศึกษา 25 แหล่งข้อมูล 25 การเก็บรวบรวมข้อมูล 25 การวิเคราะห์และนาเสนอข้อมูล 25 บทที่ 4 ผลการศึกษา ผลการศึกษาปัญหาและข้อเสนอแนะ 26 บทที่ 5 บทสรุปีและข้อเสนอแนะ บทสรุป 31 ข้อเสนอแนะ 32


สารบัญภาพ หน้า ภาพที่ 1 กรอบแนวคิดที่ใช้ในการศึกษา

24


1

บทท่ี1 ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ีบทนา 1. ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา งานส่งเสริมการเกษตรขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เป็นงานใหม่สาหรับองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น ตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 มีผลให้เกิดการบังคับ ใช้พระราชบัญญัติกาหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 พร้อมทั้งแผนกระจายอานาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เป็นกรอบทิศทางและแนวทาง ในการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยพระราชบัญญัติกาหนดแผนและขั้นตอน การกระจายอานาจให้ แก่องค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 กาหนดอานาจหน้าที่ในการจัด ระบบบริการสาธารณะเพื่อประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่นของตนเอง ที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริม การเกษตร ตามมาตรา 16 (6) การส่งเสริม การฝึก และประกอบอาชีพ นอกจากนี้ได้มีการส่งมอบ ถ่ายโอนภารกิจจากกรมส่งเสริมการเกษตรให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ตามแผนปฏิบัติ การกาหนดขั้นตอนการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ซึ่งได้ ประกาศใน ราชกิจจานุเบกษาเล่มที่ 119 ตอนพิเศษ 23 ง วันที่ 13 มีนาคม 2545 ซึ่งมีภารกิจที่ถ่ายโอนหน้าที่ หลายประการ เพื่อให้ ส ามารถตอบสนองความต้องการของประชาชนได้อย่างแท้จริง ทั่วถึง และ รวดเร็ว ตามหนังสื อที่ กษ 1009/ว1177 ซึ่งในส่วนของกรมส่งเสริมการเกษตรได้ถ่า ยโอนภารกิจ ให้ แก่องค์กรปกครองส่ ว นท้องถิ่น ไปแล้ ว จานวน 9 ภารกิจ ประกอบด้ว ย 1) การส ารวจข้อมู ล ที่ เกี่ยวข้องกบการเกษตร 2) การจั ดทาแผนพัฒ นาการเกษตรระดับตาบล 3) การบริการข้อมูลและ เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ 4) การรวบรวมส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่น 5) การสารวจช่วยเหลือป้องกันกา จัดศัตรูพืช 6) การฝึกอบรมอาชีพการเกษตร 7) การรวมกลุ่มและพัฒ นากลุ่ม 8) การกระจายพันธุ์ และ 9) ศูนย์บ ริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจาตาบล ซึ่งลั กษณะของภารกิจที่กรม ส่งเสริมการเกษตรถ่ายโอนให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เป็นลักษณะองค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น ดาเนินการร่วมกับรัฐ และจัดอยูในประเภทของกลุ่มงานที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเลือกทาได้ ทุกภารกิจที่ถ่ายโอนของกรมส่งเสริมการเกษตรให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ถ่ายโอน เฉพาะเนื้องานไม่มีการถ่ายโอน ทรัพย์สินและบุคลากร ดังนั้น เมื่อภารกิจที่กรมส่งเสริมการเกษตร ถ่ายโอนให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จัดอยู่ ในประเภทของกลุ่มงานที่องค์กรปกครองส่วนท้อง


2

ถิ่น เลือกทาโดยอิสระ จึงเป็ นดุลพินิจขององค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่นใน การจัดลาดับความสาคัญ ตามที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเห็นความจาเป็นตามศักยภาพและความต้องการของ ประชาชนใน ท้องถิ่น ก่อให้เกิดสูญญากาศในการทางานตามภารกิจถ่ายโอนระหวางกรมส่งเสริมการเกษตรและ องค์ ก รปกครองส่ ว นท้ องถิ่น และแนวทางการปฏิ บั ติ งานยังไม่ ค่ อยชัด เจน ในเรื่อง ของระเบี ย บ กฎหมาย ที่เกี่ยวข้องกับการถ่ายโอน ส่งผลให้เกิดการทางานที่ซ้าซ้อน เกิดความเข้าใจไม่ตรงกันใน การปฏิบัติงาน และขาดการทางานแบบบูรณาการร่วมกันระหว่างหน่วยงานราชการด้วยกัน อีกทั้ง ผู้บริหารและผู้บังคับบัญชาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ยังไม่ให้ความสาคัญ ไม่เข้าใจระบบการ ถ่ า ยโอนของงานเกษ ตร และไม่ มี น โยบายที่ ชั ด เจน ในการด าเนิ น ง านด้ า นการเกษ ตร นอกจากงานเกษตรที่เป็นงานที่มีขอบเขตงานที่กว้างขวาง หลากหลายครอบคลุม ในด้านพืช สัตว์ ประมง ดิน และกลุ่มอาชีพ แล้ว ยังมีงานตามพระราชบัญญัติสภาตาบลและองค์การบริหารส่วน ตาบล พ.ศ. 2537 ซึ่งกาหนดให้องค์การบริหารส่วนตาบลมีหน้าที่ที่ต้องทาในเขต อบต. ซึ่งเป็นงานที่ กองส่ งเสริ ม ต้ อ งรั บ ผิ ด ชอบไม่ ว่ าจะเป็ น การรัก ษาความสะอาดของถนน ทางน้ า ทางเดิ น และที่ สาธารณะ รวมทั้ งการกาจั ดขยะมู ล ฝอยและสิ่ งปฏิ กูล การป้ อ งกัน โรคและระงับ โรคติ ด ต่ อ การ คุ้มครอง ดูแลและบารุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และมีหน้าที่ที่อาจทากิจกรรมใน เขต อบต. ตามมาตรา 68 ได้แก่ การให้มีน้าเพื่อการเกษตร การพักผ่อนหย่อนใจและสวนสาธารณะ การให้มีส่งเสริมกลุ่มเกษตรกร และกิจการสหกรณ์ ประชาสัมพันธ์และส่งเสริมการท่องเที่ยวและงาน อื่นที่รับมอบหมาย เช่นงานด้านสาธารณสุข งานกองทุนหลักประกันสุขภาพ งานกองทุนสิ่งแวดล้อม ตามโครงการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการคัดแยกขยะที่ต้นทาง เป็นต้น เหตุดังกล่าวจึงมี ความจ าเป็ น ต้องศึกษาวิเคราะห์ ปั ญ หาการปฏิบัติงานในหน้าที่ งานบริห ารการเกษตร ที่ผู้ ศึกษา ปฏิบัติงานอยู่ ที่องค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อ อาเภอโคกศรีสุพ รรณ จังหวัด สกลนคร ว่ามี ปัญหาในการนาภารกิจการถ่ายโอนไปปฏิบัติหรือไม่ มีปัญหาในการปฎิบัติตามหน้าที่รับผิดชอบตาม ตามพระราชบัญญัติสภาตาบลและองค์การบริหารส่วนตาบล พ.ศ. 2537 หรือไม่ และมีปัญหาในการ ปฏิบัติตามภารกิจที่ได้รับมอบหมายหรือไม่ รวมทั้งมีข้อเสนอแนะต่อการปฏิบัติภารกิจอย่างไร รวมถึง การศึ ก ษาแนวทางพั ฒ นาการปฏิ บั ติ งาน ในต าแหน่ งนั ก บริ ห ารงานการเกษตร เพื่ อ ให้ เกิ ด การ ขับเคลื่อนไปสู่การให้บริการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรให้เกิดประโยชน์แก่ประชาชนในท้องถิ่น ต่อไป


3

2.ี​ี​ี​ีวัตถุประสงค์ของการศึกษา 2.1 เพื่อศึกษาการปฏิบัติงานในหน้าที่ นักบริหารงานการเกษตร ณ องค์การบริหารส่วน ตาบลเหล่าโพนค้อ อาเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร 2.2 เพื่อศึกษาวิเคราะห์ปัญหาและข้อเสนอแนะในการปฏิบัติงาน ในตาแหน่งนัก บริหารงานการเกษตร เพื่อให้ถูกต้องตามระเบียบ และกฎหมาย 3.ี​ี​ี​ี​ีขอบเขตของการศึกษา 3.1 ขอบเขตด้านเนื้อหา ในการศึกษาครั้งนี้ ผู้ศึกษาได้กาหนดเนื้อหาไว้ 3 ประเด็น คือ 3.1.1 ปัญหาการปฏิบัติงานตามภารกิจถ่ายโอนจากกรมส่งเสริมการเกษตร 3.1.2 ปัญหาการปฏิบัติงานตามพระราชบัญญัติสภาตาบลและองค์การบริหาร ส่วนตาบล พ.ศ. 2537 3.1.3 ปัญหาการปฏิบัติงานตามภารกิจที่ได้รับมอบหมาย 3.2 ขอบเขตด้านพื้นที่ ผู้ศึกษากาหนดขอบเขตด้านพื้นที่ไว้ที่ องค์การบริหารส่วนตาบลเหล่า โพนค้อ อาเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร 4.ี​ี​ี​ีประโยชน์ท่คาดว่าจะได้รับ 4.1 จะได้ทราบแนวทางการปฏิบัติงานในหน้าที่ นักบริหารงานการเกษตร ณ องค์การ บริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อ อาเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร 4.2 จะได้ทราบปัญหาและข้อเสนอแนะในการปฏิบัติในหน้าที่ นักบริหารการเกษตร ณ องค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อ อาเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร 4.3 จะได้นาผลการศึกษาไปใช้แก้ไขปัญหาและไปใช้ปรับปรุงการปฎิบัติหน้าที่ นัก บริหารงานการเกษตร ณ องค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อ อาเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัด สกลนคร ต่อไป


4

บทท่ี2 ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ีกรอบแนวคิดีทฤษฎและเอกสารท่เก่ยวข้อง ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ีการศึกษา เรื่อง ปัญหาการปฏิบัติงานในหน้าที่ นักบริหารการเกษตร องค์การบริหารส่วน ตาบลเหล่าโพนค้อ ตาบลเหล่าโพนค้อ อาเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร จะได้ผลการศึกษา ตามวัตถุประสงค์จาเป็น ต้องมีการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง ในบทนี้จะได้กล่าวถึงแนวคิด ทฤษฎี เอกสาร และกฏหมายที่เกี่ยวข้อง เพื่อนาผลมาวิเคราะห์ มาสรุปเป็นกรอบแนวคิดใน การศึกษา โดยมีรายละเอียดตามลาดับต่อไปนี้ ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี1. แนวคิดการถ่ายโอนภารกิจของกรมส่งเสริมการเกษตร ให้กับองค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น 2. อานาจหน้าที่ตามพระราชบัญญัติกาหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอานาจให้แก่ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นพ.ศ. ๒๕๔๒ 3. อานาจหน้าที่ตามพระราชบัญญัติสภาตาบลและองค์การบริหารส่วนตาบล พ.ศ. 2537 และ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3 พ.ศ. 2542) 4. มาตรฐานกาหนดตาแหน่งนักบริหารงานการเกษตร 5 ปริบททั่วไปขององค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อ 6. กรอบแนวคิดในการศึกษา 1.ีแนวคิดเก่ยวกับีการถ่ายโอนภารกิจของกรมส่งเสริมการเกษตรีให้กับองค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น การถ่ายโอนภารกิจอานาจหน้าที่ของส่วนราชการให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ได้ถูก กาหนดเป็นกฎหมายใช้บังคับให้ส่วนราชการและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่เกี่ยวข้อง ได้ถือปฏิบัติ ให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติกาหนดแผนและขั้น ตอนการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น ซึ่งได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 119 ตอนพิเศษ 23ง วันที่ 13 มีนาคม 2545 มีผล ผูกพันให้ส่วนราชการ 50 กรม (เดิม) ต้องถ่ายโอน 245 ภารกิจ ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ซึ่งในส่วนของกรมส่งเสริมการเกษตร มีภารกิจที่ต้องถ่ายโอนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ใน 3 ด้าน จานวน 11 ภารกิจ คิอ 1. ด้านงานส่งเสริมคุณภาพชีวิต มีภารกิจที่ถ่ายโอน 9 ภารกิจ คือ


5

1. การสารวจข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการเกษตร 2. การจัดทาแผนพัฒนาการเกษตรระดับตาบล 3. การบริการข้อมูลและเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ 4. การรวบรวมส่งเสริมพัฒนาภูมิปัญญาท้องถิ่น 5. การช่วยเหลือผู้ประสบภัยธรรมชาติ (ภารกิจนี้อยู่ระหว่างแก้กฎหมาย) 6. การสารวจช่วยเหลือป้องกันกาจัดศัตรูพืช 7. การฝึกอบรมอาชีพการเกษตร 8. การรวมกลุ่มและพัฒนากลุ่ม 9. การกระจายพันธุ์ 2. ด้านการวางแผน การส่งเสริมการลงทุน พานิชยกรรมและการท่องเที่ยวมีภารกิจที่ถ่ายโอน 1 ภารกิจ คือ ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีเกษตรชุมชน 3. ด้านการบริหารจัดการและการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อม มีภารกิจที่ถ่ายโอน 1 ภารกิจ คือการปรับปรุงพื้นฟูอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ (หมาย เหตุ ภารกิจนี้ กรมส่งเสริมการเกษตรได้ขอยกเลิกเนื่องจากไม่ใช่ภารกิจของกรมส่งเสริมการเกษตร ตามหนังสือกรมฯ ที่ กษ 1003/22148 ลงวันที่ 31 กรกฎาคม 2545) สาหรับภารกิจการช่วยเหลือผู้ประสบภัยธรรมชาติ ขณะนี้ยังถ่ายโอนให้องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นไม่ได้ เนื่องจากต้องแก้ไขระเบียบกระทรวงการคลัง แผนปฏิบัติการกาหนดขั้นตอนการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ตามมาตรา 32(1) มีรูปแบบการถ่ายโอน 3 ลักษณะ คือ 1. ภารกิจที่ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดาเนินการเอง 2. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดาเนินการร่วมกับรัฐ 3. ภารกิจที่รัฐดาเนินการอยู่แต่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสามารถดาเนินการได้ ลักษณะภารกิจที่ถ่ายโอน มี 2 ประเภท คือ 1. เลือกทาโดยอิสระ 2. หน้าที่ที่ต้องทา โดยสรุปลักษณะภารกิจที่ถ่ายโอนของกรมส่งเสริมการเกษตร ส่วนใหญ่เป็นแบบ “เลือกทา โดยอิสระ” โดยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ทางานร่วมกับรัฐ โดยรัฐเป็นผู้สนับสนุนทาง วิชาการ และ อปท. เป็นผู้ปฏิบัติ ยกเว้นภารกิจการช่วยเหลือผู้ประสบภัยธรรมชาติที่ อปท.


6

ดาเนินการทั้งหมดและทุกภารกิจช่วยเหลือผู้ประสบภัยธรรมชาติ ที่ อปท. ดาเนินการทั้งหมดและทุก ภารกิจที่ถ่ายโอนของกรมฯ ไม่มีการถ่ายโอนทรัพย์สินและบุคลากร แนวทางดาเนินการถ่ายโอนภารกิจกรมส่งเสริมการเกษตรให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ระยะ ท่ี2 (ปี​ีพ.ศ.ี2548 - 2553) 1. กรอบแนวทางดาเนินการและเป้าหมาย ในการดาเนินงานถ่ายโอนภารกิจของกรมส่งเสริมการเกษตรได้กาหนดเป้าหมายของการ ทางานเป็น 2 ระยะ คือ 1.1 เป้าหมายเบื้องต้น สานักงานเกษตรอาเภอทุกแห่งดาเนินการจัดให้มีการส่ง มอบ / รับมอบภารกิจ กับ อปท. (แต่ละแห่ง) ทั้งหมดทุกภารกิจ 1.2 เป้าหมายที่แท้จริง ต้องการให้ อปท. สามารถนาภารกิจของกรมส่งเสริม การเกษตรที่ได้รับมอบไปแล้ว นาไปปฏิบัติให้บริการที่เกิดประโยขน์แก่ประชาชนในท้องถิ่นอย่าง แท้จริง ภายในปี 2553 ซึ่งการดาเนินงานในส่วนนี้จะเกิดได้เร็วหรือช้าขึ้นอยู่กับตัวของ อปท. แต่ละ แห่งที่จะเห็นความจาเป็นหรือจัดความสาคัญก่อนหลังที่จะดาเนินการ ทั้งนี้ หลังจากการถ่ายโอนภารกิจให้ อปท. มิได้หมายความว่าภารกิจเหล่านั้นเป็น หน้าที่ของ อปท. แต่ฝ่ายเดียว สานักงานเกษตรอาเภอไม่ต้องเกี่ยวข้องอีกต่อไป แต่ที่แท้จริงแล้วต้อง เป็นการทางานร่วมกัน โดยส่วนราชการจะค่อยๆ ปรับเปลี่ยนบทบาทจากเป็นผู้ปฏิบัติในภารกิจนั้นๆ มามีบทบาทเป็นที่ปรึกษา ให้คาแนะนา และสนับสนุนทางวิชาการแก่ท้องถิ่น ซึ่งจะส่งผลให้ อปท. มี ความเข้มแข็งขึ้น สามารถนาภารกิจไปให้บริการ เกิดประโยชน์สุขต่อประชาชนจนบรรลุตาม เจตนารมณ์ของการกระจายอานาจให้ อปท.ต่อไป 2. ขั้นตอนี/ีวิธปฏิบัติ 2.1 ขัน้ ตอนการส่งมอบ / รับมอบภารกิจ เนื่องจากที่ผ่านมาผู้เกี่ยวข้องหลายแห่งมีความเข้าใจคลาดเคลี่ยนว่า อปท. ต้องมีความ พร้อมก่อนรับโอนภารกิจจากส่วนราชการส่งผลให้การส่งมอบ/รับมอบภารกิจไม่เป็นไปตามเป้าหมาย จึงขอความร่วมมือสานักงานเกษตรจังหวัด/อาเภอ ที่ ยังไม่ได้รับมอบภารกิจ หรือส่งมอบยังไม่ครบทุก ภารกิจ ให้เร่งรัดการส่งมอบภารกิจทุกภารกิจให้เสร็จสิ้นโดยเร็ว เนื่องจากกฏหมายได้กาหนดให้มีการ ถ่ายโอนภารกิจ โดยไม่จาเป็นต้องรอให้ อปท. พร้อมก่อนจะรับแต่อย่างใด


7

2.1.1 แนวทางดาเนินการ : ในกรณีที่ยังไม่ได้ส่งมอบกภารกิจหรือส่งมอบไม่ครบ ทุกภารกิจ (1) ประสานงานกับสานักงานท้องถิ่นอาเภอเพื่อประสานงานและ ปรึกษาหารือร่วมกันเพื่อวางแผนสนับสนุนดาเนินงานถ่ายโอนภารกิจฯ ให้เป็นไปตามเป้าหมาย (2) ตรวจสอบการดาเนินงานตามภารกิจที่ถ่ายโอนให้ท้องถิ่นทุกภารกิจว่า สานักงานเกษตรอาเภอได้ปฏิบัติงานในภารกิจฯ แค่ไหน อย่างไร มีชิ้นงานหรือไม่ แผนงานดาเนินการ เป็นอย่างไร เพื่อให้การส่งมอบ/รับมอบภารกิจมีหลักฐาน / เอกสารประกอบการส่งมอบอย่างเป็น รูปธรรม และเมื่อ อปท. รับภารกิจ ไปแล้ว สามารถดาเนินงานตามภารกิจนั้นๆ ได้อย่างต่อเนื่องไม่ ต้องเริ่มต้นใหม่ หรือขาดช่วงไป (3) จัดทาหนังสือแจ้งส่งมอบภารกิจให้ อปท. ทุกแห่งที่เกี่ยวข้องในเขต รับผิดชอบ โดยประสานงาน อปท. จัดให้มีการจดบันทึกส่งมอบ/รับมอบภารกิจระหว่างกันเป็นราย ภารกิจ (4) กรมฯ มอบอานาจให้อาเภอ (นายอาเภอ)เป็นผู้มีอานาจลงนามแทนกรมฯ ในฐานะผู้ส่งมอบภารกิจ โดยเกษตรอาเภอเป็นพยาน(ในส่วนของ อปท. นายก อปท. เป็นผู้ลงนาม ปลัด อปท. เป็นพยาน) โดยให้ใช้บันทึกการส่งมอบรับมอบภารกิจที่เป็ นคู่ฉบับเป็นหลักฐานสาคัญ ระหว่างกัน 2.1.2 แนวทางดาเนินการ : เมื่อมีการส่งมอบ/รับมอบภารกิจเรียบร้อยแล้ว (1) กรณีที่มีการรับมอบ/ส่งมอบภารกิจ อปท. ใดไปแล้วโดยใช้หนังสือตอบ รับเป็นหลักฐาน หรือใช้บันทึกการส่งมอบ รับมอบภารกิจโดยเกษตรอาเภอเป็นผู้ลงนามในฐานะผู้ มอบให้ถือว่าสามารถใช้เป็นหลักฐานได้โดยไม่ต้องทาขึ้นใหม่ (2) หลังจากการส่งมอบ/รับมอบภารกิจระหว่างกันแล้วให้อาเภอประสานงาน อปท. ได้ บ รรจุ ภ ารกิจ ที่ ถ่า ยโอนทุ ก เรื่อ งเข้ าอยู่ ในแผนพั ฒ นาท้ อ งถิ่ น เพื่ อ ให้ ส ามารถจั ด ท าเป็ น ข้อบัญญัติงบประมาณ แผนปฏิบัติการและอื่นๆ ตามความจาเป็นและความต้องการของท้องถิ่นขึ้นมา รองรับการดาเนินงานที่สามารถนาไปปฏิบัติได้จริงในปีงบประมาณถัดไปได้ (3) วางแผนเตรียมการถ่ายโอนภารกิจฯ ภายในสานักงานเกษตรอาเภอ โดย มีการซักซ้อมเจ้าหน้าที่ให้มีความเข้าใจ และวิธีปฏิบัติต่อ อปท. ให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน รวมทั้ง ม อ บ ห ม า ย ใ ห้ มี เจ้ า ภ า พ ใ น ก า ร ป ร ะ ส า น ง า น กั บ อ ป ท . แ ต่ ล ะ แ ห่ ง ชั ด เจ น (4) จั ด ให้ มี ก ารปรึ ก ษาหารื อ ประชุ ม ชี้ แ จง สร้ า งความเข้ า ใจระหว่ าง


8

สานักงานเกษตรอาเภอ กับ อปท. แต่ละแห่ง เพื่อให้ทั้งสองฝ่ายได้เรียนรู้ในกระบวนการทางานถ่าย โอนภารกิจร่วมกันในลักษณะ "รู้เขา รู้เรา" และบูรราการการทางานร่วมกัน 2.2 ขั้นตอนการนาภารกิจที่ถ่ายโอนไปฏิบัติเพื่อให้บริการประชาชน (1) ภารกิจกรมส่งเสริมการเกษตรที่ถ่ายโอนให้ อปท. (9 ภารกิจ) มีรูปแบบ การถ่ายโอนในลักษณะ "อปท. ดาเนินการร่วมกับรัฐ" โดย อปท. มีบทบาทเป็นผู้ปฏิบัติ และส่วน ราชการมีบทบาทเป็่นที่ปรึกษาให้คาแนะนาสนับสนุนทางวิชาการแก่ท้องถิ่น และภารกิจดังกล่าว (9 ภารกิจ) เป็นกิจกรรมประเภท "เลือกทาโดยอิสระ" ถึงแม้ว่า อปท. มีอิสระในการที่จะเลือกทาตาม จาเป็นและความต้องการของท้องถิ่นแต่ก็ถือว่าเป็นความรับผิดชอบของ อปท. ที่ยังไม่ต้องดาเนินการ ต่อไป (2) การผลั กดัน ให้ ภ ารกิจที่ ถ่ายโอนแล้ ว ไปสู่ การปฏิ บั ติเกิดประโยชน์แ ก่ ประชาชน สานักงานเกษตรอาเภอ และ อปท. ต้องมีการประชุมหารือกันเพื่อกาหนดเป็นแผนการ ดาเนินงานร่วมกันตามศักยภาพที่มีอยู่ของแต่ละฝ่าย โดยจัดทาเป็นแผนปฏิบัติการประจาปีร่วมกัน ทั้งนี้ ไม่จาเป็นต้องมีความพร้อมกันทุกภารกิจ แต่ควรเริ่มจากภารกิจใดภารกิจหนึ่งที่ทั้งสองฝ่ายมี ความพร้อมนาไปปฏิบัติได้มากที่สุดในลักษณะนาร่อง แล้วค่อยขยายไปสู่ภารกิจที่เหลือ และทยอย นาไปสู่การปฏิบัติจนครบทุกภารกิจ ทั้งนี้เจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรยังคงทาหน้าที่โดยเป็นพี่เลี้ยงให้ คาปรึกษาการดาเนินงานตามภารกิจแก่ อปท. 2.2.1 แนวทางปฏิบัติระดับจังหวัด (1) สานักงานเกษตรจังหวัดร่วมกับสานักงานท้องถื่นจังหวัด จัดประชุม เจ้าหน้าที่ระดับอาเภอทั้งสองหน่วยงานเพื่อวิเคราะห์สภาพการณ์ ปัญหา/อุปสรรค การถ่ายโอน ภารกิจ และวางแผน/แก้ไขปัญหา/ปรับปรุง เพื่อให้การดาเนินงานเป็นไปตามเจตนารมณ์ของการ กระจายอานาจให้ อปท. (2) ติดตาม สนับสนุนการดาเนินงานแก่อาเภอ 2.2.2 แนวทางปฏิบัติระดับอาเภอ (1) สานักงานเกษตรอาเภอ ร่วมกับสานักงานท้องถิ่น อาเภอ จัดประชุม เจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้องการถ่ายโอนภารกิจ ประกอบด้วย - นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร ผู้ทาหน้าที่เป็นเลขาศูนย์บริการฯ - ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์บริการ - นายกเทศบาล / อบต. - ปลัดเทศบาล / อบต.


9

วัตถุประสงค์ของการประชุมดังกล่าวีเพื่อ (1) ชี้แจงและทบทวนบทบาทหน้าที่ของแต่ละหน่วยงานที่จะดาเนินการตามภารกิจที่ถ่าย โอนให้ชัดเจน โดยแบ่งงานตามบทบาท / หน้าที่ที่ต้องปฏิบัติให้ชัดเจนตามหลักการ - เทศบาท/อบต. เป็นผู้ปฏิบัติ (ดาเนินการ) สนับสนุนปัจจัยและค่าใช้จ่าย - ส่วนราชการสนับสนุนทางวิชาการ ให้คาปรึกษาแนะนา (2) กาหนดตัวบุคคลแต่ละฝ่ายเป็นผู้ทาหน้าที่ปฏิบัติงาน/ประสานงานในภารกิจถ่ายโอน ให้ชัดเจน (3) ใช้ภารกิจศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรปรจาตาบล เป็นกลยุทธ์หลัก ในการถ่ายโอนภารกิจ เพื่อนาร่องเป็นภารกิจแรกที่อาเภอกับ อปท. ทางานร่วมกัน และเกิดการ ขับเคลื่อนภารกิจอื่นๆ ตามมาในภายหลัง ตามความจาเป็นและศักยภาพของพื้นที่ที่นาไปสู่การปฏิบัติ ได้จริง โดยแบ่งภารกิจดังกล่าวออกได้เป็น 3 กลุ่ม ดังนี้ ก. ภารกิจที่ใช้เป็นตัวตั้งในการรับโอนภารกิจฯ ซึ่งต้องดาเนินการให้ครบทุก อปท. - ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจาตาบล (มี 4 ภารกิจย่อย) ข. ภารกิจที่มีเนื้องานเกี่ยวข้องกับศูนย์บริการฯ ซึ่งควรดาเนินการให้ครบทุก อปท. - การจัดทาแผนพัฒนาการเกษตรฯ - การสารวจข้อมูลฯ - การรวมกลุ่มและพัฒนากลุ่ม - การบริการข้อมูล และเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ ค. ภารกิจอื่นๆ ที่ไม่จาเป็นต้องมีครบทุก อปท. - การรวบรวมส่งเสริมพัฒนาภูมิปัญญาท้องถิ่น - การสารวจช่วยเหลือป้องกันกาจัดศัตรูพืช - การกระจายพันธุ์ (4) กาหนดเป้าหมาย/แผนการดาเนินการร่วมกันโดยกาหนด อปท. ที่นาภารกิจถ่ายโอน ไปดาเนินการในแต่ละปีให้ชัดเจนตามความพร้อมของแต่ละแห่ง ทั้งนี้ อาจเริ่มจากเทศบาลตาบล อบต.ขนาดใหญ๋ อบต.ขนาดกลาง อบต.ขนาดเล็ก ตามลาดับ (5) สานักงานเกษตรอาเภอ กับ อปท. จัดทาแผนปฏิบัติงานร่วมกันในแต่ละกิจกรรมของ แต่ละภารกิจ (6) กาหนดบทบาทหน้าที่ในแผนปฏิบัติที่ดาเนินการร่วมกันอย่างชัดเจน (จัดทาคู่มือ/ รายละเอียด/ขั้นตอนการปฏิบัติ)


10

(7) สานักงานเกษตรอาเภอมอบหมายนักวิชาการประสานงานกับ อปท. หรือ อบต. ทุก ท่านเพื่อเป็นพี่เลี้ยง ให้คาแนะนา และปฏิบัติงานในบทบาทหน้าที่ (8) สานักงานเกษตรอาเภอร่วมกับท้องถิ่น อาเภอ และ อปท. ติดตามและประเมินผลการ ดาเนินงานของภารกิจที่ถ่ายโอน เสนอจังหวัด กรม เพื่อรายงานสานักงานรัฐมนตรี ตามแบบรายงาน ทุก 6 เดือน (9) สานักงานเกษตรอาเภอ และ อปท. ร่วมแก้ไขปัญหาขัดข้องในการดาเนินงานที่ถ่าย โอน ภารกิจ (10) สานักงานเกษตรอาเภอร่วมกับ อปท. จัดทาประกาศให้ประชาชนในแต่ละท้องถิ่น ทราบถึงการเปลี่ยนแปลงผู้ให้บริการ (ตามภารกิจที่ถ่ายโอน) และแผนการเปิดให้บริการ เพื่อ ประชาชนได้ทราบและสามารถติดต่อขอใช้บริการต่างๆ ได้ถูกต้องและเป็นไปตามแผนการดาเนินงาน ที่ทั้งสองฝ่ายได้กาหนดไว้ 3. ตัวชี้วัดความสาเร็จในการดาเนินงานถ่ายโอนภารกิจฯ ในการดาเนินงานถ่ายโอนภารกิจฯ สานักงานเกษตรอาเภอและ อปท. สามารถประเมิน ความก้าวหน้า / ความสาเร็จในเบื้องต้นได้ด้วยตนเองจากตัวชี้วัด ดังต่อไปนี้ 3.1 เป้าหมายเบื้องต้น (1) เป้าประสงค์ : ต้องการให้เกิดการส่งมอบ / รับมอบภารกิจ ระหว่างสานักงาน เกษตรอาเภอกับ อปท. (2) ตัวชี้วัด : มีหลักฐานการส่งมอบ / รับมอบภารกิจที่เป็นลายลักษณ์อักษร 3.2 เป้าหมายที่แท้จริง (1) เป้าประสงค์ : อปท. สามารถนาภารกิจที่ได้รับมอบจากสานักงานเกษตรอาเภอ ไปปฏิบัติให้บริการประชาชนได้จริง (2) ตัวชี้วัด : - อปท. มีผู้รับผิดชอบ (ภารกิจถ่ายโอน) โดยตรง - อปท. มีแผนการดาเนินงานภารกิจถ่ายโอน - อปท. จัดตั้งงบประมาณสนับสนุนการดาเนินงานภารกิจถ่ายโอน - สานักงานเกษตรอาเภอมีผู้ประสานงานเพื่อสนับสนุนภารกิจถ่ายโอนเป็นราย อปท.


11

2. อานาจหน้าท่ตามพระราชบัญญัติกาหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอานาจให้แก่องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นพ.ศ. 2542 อานาจและหน้าท่ในการจัดระบบการบริการสาธารณะ มาตรา 16 ให้เทศบาล เมืองพัทยา และองค์การบริหารส่วนตาบลมีอานาจและหน้าที่ในการจัดระบบ การบริการสาธารณะเพื่อประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่นของตนเองดังนี้ (1) การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นของตนเอง (2) การจัดให้มีและบารุงรักษาทางบก ทางน้า และทางระบายน้า (3) การจัดให้มีและควบคุมตลาด ท่าเทียบเรือ ท่าข้าม และที่จอดรถ (4) การสาธารณูปโภคและการก่อสร้างอื่นๆ (5) การสาธารณูปการ (6) การส่งเสริม การฝึก และประกอบอาชีพ (7) การพาณิชย์ และการส่งเสริมการลงทุน (8) การส่งเสริมการท่องเที่ยว (9) การจัดการศึกษา (10) การสังคมสงเคราะห์ และการพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็ก สตรี คนชรา และผู้ด้อยโอกาส (11) การบารุงรักษาศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น และวัฒนธรรมอันดีของท้องถิ่น (12) การปรับปรุงแหล่งชุมชนแออัดและการจัดการเกี่ยวกับที่อยู่อาศัย (13) การจัดให้มีและบารุงรักษาสถานที่พักผ่อนหย่อนใจ (14) การส่งเสริมกีฬา (15) การส่งเสริมประชาธิปไตย ความเสมอภาค และสิทธิเสรีภาพของประชาชน (16) ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของราษฎรในการพัฒนาท้องถิ่น (17) การรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง (18) การกาจัดมูลฝอย สิ่งปฏิกูล และน้าเสีย (19) การสาธารณสุข การอนามัยครอบครัว และการรักษาพยาบาล (20) การจัดให้มีและควบคุมสุสานและฌาปนสถาน (21) การควบคุมการเลี้ยงสัตว์ (22) การจัดให้มีและควบคุมการฆ่าสัตว์ (23) การรั ก ษาความปลอดภั ย ความเป็ น ระเบี ย บเรี ย บร้ อ ย และการอนามั ย โรงมหรสพ และ สาธารณสถานอื่นๆ


12

(24) การจั ด การ การบ ารุ งรั ก ษา และการใช้ ป ระโยชน์ จ ากป่ าไม้ ที่ ดิ น ทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละ สิ่งแวดล้อม (25) การผังเมือง (26) การขนส่งและการวิศวกรรมจราจร (27) การดูแลรักษาที่สาธารณะ (28) การควบคุมอาคาร (29) การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (30) การรักษาความสงบเรียบร้อย การส่งเสริมและสนับสนุนการป้องกันและรักษาความปลอดภัยในชีวิตและ ทรัพย์สิน (31) กิจการอื่นใดที่เป็นผลประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่นตามที่คณะกรรมการประกาศกาหนด มาตรา 17 ภายใต้บ ัง คับ มาตรา 16 ให้อ งค์ก ารบริห ารส่ว นจัง หวัด มีอานาจและหน้า ที ่ใ น การ จัดระบบบริการสาธารณะเพื่อประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่นของตนเอง ดังนี้ (1) การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นของตนเอง และประสานการจัดทาแผนพัฒนาจังหวัดตามระเบียบที่ คณะรัฐมนตรีกาหนด (2) การสนับสนุนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่นในการพัฒนาท้องถิ่น (3) การประสานและให้ความร่วมมือในการปฏิบัติหน้าที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่น (4) การแบ่งสรรเงินซึ่งตามกฎหมายจะต้องแบ่งให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่น (5) การคุ้มครอง ดูแล และบารุงรักษาป่าไม้ ที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (6) การจัดการศึกษา (7) การส่งเสริมประชาธิปไตย ความเสมอภาค และสิทธิเสรีภาพของประชาชน (8) การส่งเสริมการมีส่วนร่วมของราษฎรในการพัฒนาท้องถิ่น (9) การส่งเสริมการพัฒนาเทคโนโลยีที่เหมาะสม (10) การจัดตั้งและดูแลระบบบาบัดน้าเสียรวม (11) การกาจัดมูลฝอยและสิ่งปฏิกูลรวม (12) การจัดการสิ่งแวดล้อมและมลพิษต่างๆ (13) การจัดการและดูแลสถานีขนส่งทั้งทางบกและทางน้า (14) การส่งเสริมการท่องเที่ยว (15) การพาณิชย์ การส่งเสริมการลงทุน และการทากิจการไม่ว่าจะดาเนินการเองหรือร่วมกับบุคคลอื่น หรือจากสหการ


13

(16) การสร้างและบารุงรักษาทางบกและทางน้าที่เชื่อมต่อระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่น (17) การจัดตั้งและดูแลตลาดกลาง (18) การส่งเสริมการกีฬา จารีตประเพณี และวัฒนธรรมอันดีงามของท้องถิ่น (19) การจัดให้มีโรงพยาบาลจังหวัด การรักษาพยาบาล การป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ (20) การจัดให้มีพิพิธภัณฑ์และหอจดหมายเหตุ (21) การขนส่งมวลชนและการวิศวกรรมจราจร (22) การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (23) การจัดให้มีระบบรักษาความสงบเรียบร้อยในจังหวัด (24) จัดทากิจการใดอันเป็นอานาจและหน้าที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่นที่อยู่ในเขต และกิจการนั้น เป็นการสมควรให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่นร่วมกันดาเนินการหรือให้องค์การบริหารส่วนจังหวัดจัดทา ทั้งนี้ ตามที่คณะกรรมการประกาศกาหนด (25) สนับสนุนหรือช่วยเหลือส่วนราชการ หรือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่นในการพัฒนา ท้องถิ่น (26) การให้บ ริก ารแก่เอกชน ส่ว นราชการ หน่ว ยงานของรัฐ รัฐ วิส าหกิจ หรือ องค์ก รปกครอง ส่วนท้องถิ่นอื่น (27) การสังคมสงเคราะห์ และการพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็ก สตรี คนชรา และผู้ด้อยโอกาส (28) จัดทากิจการอื่นใดตามที่กาหนดไว้ในพระราชบัญญัตินี้หรือกฎหมายอื่น กาหนดให้เป็นอานาจ และหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนจังหวัด (29) กิจ การอื่น ใดที ่เ ป็น ผลประโยชน์ข องประชาชนในท้อ งถิ่น ตามที่ค ณะกรรมการ ประกาศ กาหนด 3. อานาจหน้าท่ตามพระราชบัญญัติสภาตาบลและองค์การบริหารส่วนตาบลีพ.ศ.ี2537และี แก้ไขเพิ่มเติมี(ฉบับท่ี3 พ.ศ.ี2542) อบต. มีหน้าที่ตามพระราชบัญญัติสภาตาบล และองค์การบริหารส่วน ตาบล พ.ศ. 2537 และ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3 พ.ศ. 2542) 1. พัฒนาตาบลทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม (มาตรา 66)


14

2. มีหน้าที่ต้องทาตามมาตรา 67 ดังนี้ 1. จัดให้มีและบารุงทางน้าและทางบก 2. การรักษาความสะอาดของถนน ทางน้า ทางเดินและที่สาธารณะ รวมทั้งการกาจัดขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล 3. ป้องกันโรคและระงับโรคติดต่อ 4. ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย 5. ส่งเสริมการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 6. ส่งเสริมการพัฒนาสตรี เด็กและเยาวชน ผู้สูงอายุและพิการ 7. คุ้มครอง ดูแลและบารุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 8. บารุงรักษาศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่นและวัฒนธรรมอันดี ของท้องถิ่น 9. ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่ทางราชการมอบหมาย 3. มีหน้าที่ที่อาจทากิจกรรมในเขต อบต. ตามมาตรา 68 ดังนี้ 1. ให้มีน้าเพื่อการอุปโภค บริโภคและการเกษตร 2. ให้มีและบารุงไฟฟ้าหรือแสงสว่างโดยวิธีอื่น 3. ให้มีและบารุงรักษาทางระบายน้า 4. ให้มีและบารุงสถานที่ประชุม การกีฬา การพักผ่อนหย่อนใจและ สวนสาธารณะ 5. ให้มีและส่งเสริมกลุ่มเกษตรกร และกิจการสหกรณ์ 6. ส่งเสริมให้มีอุตสาหกรรมในครอบครัว 7. บารุงและส่งเสริมการประกอบอาชีพ 8. การคุ้มครองดูแลและรักษาทรัพย์สินอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน 9. หาผลประโยชน์จากทรัพย์สินของ อบต. 10. ให้มีตลาด ท่าเทียบเรือ และท่าข้าม 11. กิจการเกี่ยวกับการพาณิชย์ 12. การท่องเที่ยว 13. การผังเมือง


15

4 .มาตรฐานกาหนดตาแหน่งีนักบริหารงานการเกษตร มาตรฐานกาหนดตาาแหน่ง ต่าแหน่งประเภท อานวยการท้องถิ่น สายงาน บริหารงาน การเกษตร ลักษณะงานโดยทั่วไป สายงานนี้คลุมถึงตาแหน่งต่าง ๆ ที่ปฏิบัติงานทางการเกษตร และทางสัตวแพทย์ซึ่งมีลักษณะ งานที่ปฏิบัติเกี่ยวกับการศึกษา ค้นคว้า ทดลอง และวิเคราะห์ วิจัยทางการเกษตร เช่น การเพาะปลูก การปรับปรุงพันธ์ การขยายพันธุ์ การคิดพันธุ์ต้านทาน โรคและศัตรูพืช การวิเคราะห์ดิน และการจัดและรักษา มาตรฐานพันธุ์พืช การศึกษา วิเคราะะห์ วิ จั ย เพื่ อ ควบคุ ม พั น ธ์ พื ช วั ต ถุ มี พิ ษ และปุ๋ ย เคมี การให้ ค าปรึ ก ษาแนะน า และสาธิ ต งาน การเกษตร การฉีดวัคซีน การตรวจและรักษาพยาบาล การกักสัตว์ การให้คาแนะนาปรึกษาใน ด้านการเลี้ยงและรักษาสัตว์ การเพาะเลี้ยงเชื้อ ตลอดจนช่วยดูแลอุปกรณ์เครื่องมือเครื่องใช้และ การปฏิบัติ การในห้องทดลอง เป็นต้น และปฏิบัติหน้าที่อื่นที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งการดาเนินการ ด้านพัฒนา การแปรรูปผลิตภัณฑ์ การเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ด้านการเกษตรต่างๆ ตาแหน่งประเภท อานวยการท้องถิ่น ระดับต้น หน้าที่และความรับผิดชอบหลัก ปฏิบัติงานในฐานะหัวหน้าหน่วยงานระดับกองหรือตาแหน่งหัวหน้าฝ่าย ที่มีลักษณะงาน เกี่ยวกับการวางแผน บริหารจัดการจัดระบบงาน อานวยการ สั่งราชการ มอบหมาย กากับ แนะนา ตรวจสอบประเมินผลงาน ตัดสินใจแก้ปัญหาในงานของหน่วยงานที่รับผิดชอบ ซึ่งมี ลักษณะหน้าที่ความรับผิดชอบและคุณภาพของงานสูง และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่างๆดังนี้ 1. ด้านแผนงาน 1.1 ร่วมวางแผนงาน โครงการ หรือแผนการปฏิบัติงาน รวมทั้งเป้าหมายและ ผลสัมฤทธิ์ของหน่วยงานด้านงานวิชาการเกษตรหรือสัตว์แพทย์ที่สังกัด เพื่อเป็นแบบแผนในการ ปฏิบัติงานของหน่วยงานให้สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด 1.2 ร่วมวางแนวทางการศึกษา วิเคราะห์ และเสนอแนวทางพัฒนาการปฏิบัติงานหรือ ระบบงานของหน่วยงานด้านงานวิชาการเกษตรหรือสัตว์แพทย์ที่สังกัด เพื่อปรับปรุงกระบวนการ ทางานให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ภายใต้ข้อจากัดทางด้านงบประมาณ บุคลากร และเวลา 1.3 บูรณาการแผนงาน โครงการ กิจกรรม เพื่อให้เป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมฤทธิ์ ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตามที่กาหนด 1.4 ร่วมและติดตาม เร่งรัด การดาเนินกิจกรรมต่างๆ ให้เป็นไปตามแผนงาน โครงการ


16

หรือแผนการปฏิบัติงาน ตลอดจนประเมินผลและรายงานการดาเนินงาน เพื่อให้เป็นไปตาม เป้าหมายและผลสัมฤทธิ์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตามที่กาหนดไว้ 1.5 ค้นคว้าประยุกต์เทคโนโลยีหรือองค์ความรู้ใหม่ๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานในภารกิจของ หน่วยงานในภาพรวมเพื่อนามาปรับปรุงให้การปฏิบัติงาน ระบบงาน หรือกระบวนการทางานมี ประสิทธิภาพมากขึ้น 2. ด้านบริหารงาน 2.1 จัดระบบงาน และวิธีการปฏิบัติราชการของหน่วยงาน เพื่อเป็นแนวทางการ ปฏิบัติราชการของเจ้าหน้าที่ในหน่วยงานที่รับผิดชอบ 2.2 มอบหมาย กากับดูแล ตรวจสอบ ติดตาม ให้คาแนะนา ปรับปรุงแก้ไข ในเรื่อง ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับภารกิจของหน่วยงาน เพื่อให้การปฏิบัติงานบรรลุเป้าหมายและผลสัมฤทธิ์ ตามที่กาหนด 2.3 ควบคุมดูแล ตรวจสอบ ติดตาม ให้คาแนะนา และปรับปรุงแก้ไข การปรับปรุง บารุงพันธุ์ การคัดพันธุ์ ขยายพันธุ์ การปรับปรุงวิธีการผลิต การใช้ปุ๋ย การเก็บรักษาผลผลิต ทางการเกษตรเพื่อช่วยเกษตรกรหรือประชาชนผู้รับบริการได้ผลผลิตทางการเกษตรที่มี ประสิทธิภาพ 2.4 ควบคุมหรือดาเนินการศึกษา วิเคราะห์ วิจัย สรุปรายงานและเสนอแนะงานที่ อาศัยความชานาญเกี่ยวกับวิชาการเกษตร และสัตว์แพทย์ เพื่อให้ได้ผลการวิจัยหรือข้อเสนอแนะ ที่เกิดประโยชน์ต่อการท ำเกษตรกรรมของพื้นที่ที่รับผิดชอบ 2.5 ตรวจสอบ ควบคุมและดาเนินการเกี่ยวกับเรื่องการกักพืช พันธุ์พืช วัตถุมีพิษและ ปุ๋ยเคมี เพื่อให้เกิดความปลอดภัยและเป็นไปตามกฎหมาย 2.6 ให้คาแนะนาปรึกษาในด้านการเลี้ยง การรักษาสัตว์และการเพาะเลี้ยงเชื้อ เพื่อ ช่วยเกษตรกรหรือประชาชนผู้รับบริการมีกระบวนการที่ถูกต้องตามหลักวิชาการและได้ผลผลิตที่มี ประสิทธิภาพสูงสุด 2.7 ควบคุมดูแล ตรวจสอบ ติดตามการดูแลอุปกรณ์เครื่องมือเครื่องใช้และการ ปฏิบัติการในห้องทดลองหน่วยงาน เพื่อให้สามารถใช้งานตามความต้องการได้อย่างมีประสิทธิภาพ สูงสุดตามหลักวิชาการ 2.8 พิจารณาอนุมัติอนุญาตการดาเนินการต่างๆ ตามภารกิจที่หน่วยงานรับผิดชอบ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายและผลสัมฤทธิ์ตามที่กาหนด 2.9 ติดต่อประสานงานกับหน่วยงานหรือองค์กรภาครัฐ เอกชน และบุคคลที่เกี่ยวข้อง


17

เพื่อให้เกิดความร่วมมือ หรือบูรณาการงานให้เกิดผลสัมฤทธิ์และเป็นประโยชน์ต่อประชาชน ผู้รับบริการ 2.10 ชี้แจงข้อเท็จจริง พิจารณาให้ความเห็น ข้อเสนอแนะในที่ประชุมคณะกรรมการ และคณะทางานต่าง ๆ ที่ได้รับแต่งตั้ง หรือเวทีเจรจาต่าง ๆ ในระดับหน่วยงานหรือองค์กรทั้งใน ประเทศและต่างประเทศ ในฐานะผู้แทนหน่วยงานหรือส่วนราชการ เพื่อรักษาผลประโยชน์ของ ราชการและประเทศชาติ 3. ด้านการบริหารงานทรัพยากรบุคคล 3.1 จัดระบบงานและอัตรากาลังเจ้าหน้าที่ในหน่วยงานให้สอดคล้องกับภารกิจ เพื่อให้ การปฏิบัติราชการเกิดประสิทธิภาพ และความคุ้มค่า 3.2 ติดตามและประเมินผลงานของเจ้าหน้าที่ในบังคับบัญชา เพื่อให้การปฏิบัติงาน สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของหน่วยงานและบรรลุเป้าหมายและผลสัมฤทธิ์ตามที่กาหนด 3.3 ให้คาปรึกษาแนะนา ปรับปรุงและพัฒนาการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ในบังคับ บัญชาเพื่อให้เกิดความสามารถและสมรรถนะที่เหมาะสมกับงานที่ปฏิบัติ 4. ด้านบริหารทรัพยากรและงบประมาณ 4.1 ร่วมวางแผนการใช้ทรัพยากรและงบประมาณของหน่วยงาน เพื่อให้สอดคล้องกับ นโยบาย พันธะกิจ และเป็นไปตามเป้าหมายขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 4.2 ร่วมหรือวางแผนและประสานกิจกรรมให้มีการใช้ทรัพยากรของหน่วยงานที่รับผิดชอบ ทั้งด้านงบประมาณ อาคารสถานที่และอุปกรณ์ในการทางาน เพื่อให้การทางานเกิดประสิทธิภาพ คุ้มค่า และบรรลุเป้าหมายขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่สังกัด โดยอาจพิจารณานางบประมาณที่ ได้รับจัดสรรมาดาเนินการและใช้จ่ายร่วมกัน 4.3 ติดตาม ตรวจสอบการใช้ทรัพยากรและงบประมาณ เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพ ความคุ้มค่า และเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมฤทธิ์ตามที่กาหนด 5ีบริบททั่วไปขององค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อ องค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อ เป็น อบต.เล็กๆ ที่ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของอาเภอ โคกศรี สุ พ รรณ มี ร ะยะทางห่ า งจากอ าเภอฯ ประมาณ 9 กิ โ ลเมตร ห่ างจากจั งหวั ด สกลนคร ประมาณ 30 กิโลเมตร มีเนื้ อที่ทั้งหมด 36 ตารางกิโลเมตร หรือ 14,636 ไร่ เป็นพื้นที่ทา การเกษตร 9,787 ไร่ มีอ่างเก็บน้าขนาดใหญ่ 2 แห่ง คือ อ่างเก็บน้าห้วยโท-ห้วยยาง และอ่างเก็บ น้าห้วยน้อย มีลาห้วยที่สาคัญที่ใช้เพื่อการเกษตร อยู่ 2 สาย คือลาห้วยยางและลาห้วยทราย โดยมี อาณาเขตดังนี้


18

ทิศเหนือ ทิศใต้ ทิศตะวันออก ทิศตะวันตก

จดพื้นที่ตาบลแมดนาท่ม อาเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร จดเทือกเขาภูพาน อ. เต่างอย จ.สกลนคร และ อ.ดงหลวง จ. มุกดาหาร จดพื้นที่ตาบลหนองบ่อ อาเภอนาแก จังหวัดนครพนม จดพื้นที่ตาบลตองโขบ อาเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร

จานวนหมู่บ้าน มีจานวนหมู่บ้านและประชากร ดังนี้

หมู่ท่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11

ชื่อหมู่บ้าน โพนค้อ โพนไฮ

ดง หนองเหียน เหล่า ห้วยยาง เหล่าเหนือ ดงน้อย ห้วยยางเหนือ โพนสูง น้อยหนองไผ่สวน รวม 2. สภาพทางเศรษฐกิจ

จานวน ครัวเรือน 168 55

จานวน ประชากร 767 263

83 144 130 185 79 121 159 166 35 1,325

289 675 545 897 414 342 804 649 164 5,809

ชาย

หญิง

375 136

392 127

155 324 257 456 196 164 419 325 85 2,892

134 351 288 441 218 178 388 324 79 2,917

2.1 อาชพ ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม เช่น การทานา ทาสวน ทาไร่ เลี้ยงสัตว์ และ อาชีพเสริม คือ รับจ้างทั่วไป 2.2 หน่วยงานธุรกิจในเขตองค์การบริหารส่วนตาบลี​ี​ี


19

- ปั้มน้ามัน 3. สภาพทางสังคม 3.1 การศึกษาี​ี​ี​ี

3

แห่ง

- โรงเรียนประถมศึกษา 3 แห่ง - ที่อ่านหนังสือประจาหมู่บ้าน 7 แห่ง - โรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา 2 แห่ง - ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 3 แห่ง 3.2 สถาบันและองค์กรทางศาสนา - วัด/สานักสงฆ์ 8/1 แห่ง ี​ี​ี3.3 สาธารณสุข - สถานีอนามัยประจาตาบล/หมู่บ้าน 1 แห่ง - ร้านขายยาแผนปัจจุบัน 2 แห่ง - อัตราการมีและการใช้ส้วมราดน้า 100% 4. การบริการขั้นพื้นฐาน 4.1 การคมนาคม ตาบลเหล่าโพนค้อ มีระยะทางห่างจากอาเภอโคกศรีสุพรรณ ประมาณ 9 กม. และห่างจากจังหวัดสกลนคร 33 กม. มีถนนลาดยางระยะทาง 11.1 กม. (ลาด ยางสายโพนค้อ – โพนงาม 5.1 กม./โพนค้อ – โพนไฮ 6 กม.) 4.2 การโทรคมนาคม - โทรศัพท์สาธารณะ 4.3 การไฟฟ้า

11

แห่ง

ตาบลเหล่าโพนค้อ มีหมู่บ้านที่ใช้ไฟฟ้า 11 หมู่บ้าน มีจานวนครัวเรือนที่ใช้ไฟฟ้าทั้งหมด 1,325 ครัวเรือน 4.4 แหล่งน้าธรรมชาติ - ลาห้วย, ลาน้า - บึง , หนอง และอื่น ๆ 4.5 แหล่งน้าท่สร้างขึ้น - น้าประปา ขนาดใหญ่

9 7 1

สาย แห่ง แห่ง


20

- น้าประปาขนาดกลาง - บ่อน้าตืน้ ถูกหลักอนามัย - ฝาย น้าล้น มข/27 - บ่อน้าตื้น ไม่ถูกหลักอนามัย - บ่อโยกบาดาล - อ่างเก็บน้า - สระน้าสาธารณะ - สระน้าส่วนตัว 5 ข้อมูลอื่นีๆ

11 611 9 72 31 2 17 400

แห่ง บ่อ แห่ บ่อ แห่ง แห่ง แห่ง แห่ง

5.1 ทรัพยากรธรรมชาติในพื้นท่ ตาบลเหล่าโพนค้อมีทรัพยากรป่าไม้ ประมาณ 3,500 ไร่ ซึ่งอยู่ในเขตอุทยานแห่งชาติ ภูพาน 5.2 มวลชนจัดตั้ง - ลูกเสือชาวบ้าน รุ่นที่ 6779/1 จานวน 288 คน , รุ่นที่ 2 จานวน 120 คน รุ่นที่ 3 จานวน 50 คน - ไทยอาสาป้องกันชาติ รุ่นที่ 1242/2528 จานวน 300 - กองหนุนเพื่อความมั่นคงแห่งชาติ จานวน - อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน 2 รุ่น จานวน 113 - อาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน (อสม) จานวน 98 - ชมรมผู้สูงอายุ จานวน 164 - หน่วยกู้ชีพ กู้ภัยและหน่วยแพทย์ฉุกเฉิน จานวน 150 6. ศักยภาพในตาบล ก. ศักยภาพขององค์การบริหารส่วนตาบล 1. จานวนบุคลากร จานวน 31 ตาแหน่งในสานักปลัดองค์การบริหารส่วนตาบล ตาแหน่งในกองคลัง ตาแหน่งในกองช่าง ตาแหน่งในกองการศึกษา

จานวน จานวน จานวน จานวน

9 5 2 13

ราย ราย ราย ราย

คน คน คน คน คน คน

ราย


21

ตาแหน่งในกองส่งเสริมการเกษตร ตาแหน่งในกองสวัสดิการสังคม 2. ระดับการศึกษา

จานวน จานวน

1 1

ราย ราย

มัธยมศึกษา/อาชีวศึกษา จานวน 5 ราย ปริญญาตรี จานวน 11 ราย ปริญญาโท จานวน 15 ราย ยุทธศาสตร์ี​ีแนวทางการพัฒนา ยุทธศาสตร์ท่ี1ี​ีการพัฒนาคนและสังคมให้มคุณภาพ แนวทางการพัฒนา - จัดตั้งศูนย์พัฒนาผู้ประกอบการ - ส่งเสริมและเผยแพร่ภูมิปัญญาท้องถิ่น - การศึกษาในการให้บริการทางวิชาการ - พัฒนาขยายผลหมู่บ้าน/ชุมชนเข็มแข็ง ยุทธศาสตร์ท่ี2ี​ีการสร้างรายได้ แนวทางการพัฒนา - ส่งเสริมให้ประชาชนประกอบอาชีพเสริมหลังฤดูกาลเก็บเกี่ยว - ขออนุญาตปรับปรุงไหล่ถนนสายหลักมุ่งตลาดอินโดจีนเพื่อจาหน่ายสินค้าและ ผลิตภัณฑ์ชุมชน - ติดต่อประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องด้านอาชีพต่างๆ ให้ความรู้เพื่อเป็น ทางเลือกในการประกอบอาชีพ - สนับสนุนเงินทุนในการประกอบอาชีพแก่ประชาชนในพื้นที่ ยุทธศาสตร์ท่ี3ี​ีการพัฒนาการท่องเท่ยว แนวทางการพัฒนา - พัฒนาแหล่งท่องเที่ยวที่มีอยู่ในเขตตาบลเหล่าโพนค้อให้ดีขึ้น - ประชาสัมพันธ์ และจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยว - สร้างเครือข่ายร่วมกับหน่วยงานในพื้นที่และนอกพื้นที่เพื่อจัดการด้านการ ท่องเที่ยว - พัฒนาคุณภาพการให้บริการและอานวยความสะดวกด้านการท่องเที่ยว


22

ยุทธศาสตร์ท่ี4ี​ีการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม แนวทางการพัฒนา - เสริมสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชนในการพัฒนาและฟื้นฟูป่าชุมชน - ส่งเสริมให้ประชาชนร่วมอนุรักษ์ฟื้นฟูป่าต้นน้า - ส่งเสริมให้ประชาชนก่อสร้างฝายชะลอน้า(ฝายแม้ว) - ส่งเสริมการปลูกสมุนไพรท้องถิ่นแซมป่า - สร้างจิตสานึกในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ยุทธศาสตร์ท่ี5ีการพัฒนาระบบบริหารการจัดการท่ด แนวทางการพัฒนา - เสริมสร้างการพัฒนาการเมืองในท้องถิ่นให้มีความโปร่งใส สุจริตและเที่ยง ธรรม - ส่งเสริมภาวะความเป็นผู้นา ของผู้บริหาร และผู้นาในท้องถิ่น ให้มีคุณธรรม จริยธรรม - ส่งเสริมและสนับสนุนให้บุคลากรในหน่วยงานเข้ารับการอบรมในหลักสูตรที่ เกี่ยวข้องกับการทางาน - พัฒนาระบบเทคโนโลยี สารสนเทศ ในหน่วยงานให้ทันสมัยสามารถเข้าถึง ข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว - ส่งเสริมและสนับสนุนให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการบริหารงานขององค์การ บริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อ ยุทธศาสตร์ท่ี6ี​ีการพัฒนาตาบลน่าอยู่ แนวทางการพัฒนา - พัฒนาถนนในเขตพื้นที่ตาบลให้มีความสะอาด มีรั้วรอบขอบชิด ปลอดภัยจาก อุบัติเหตุ - พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน การคมนาคม แหล่งน้า ประปาให้ทั่วถึงและได้ มาตรฐาน - พัฒนาหน่วยกู้ชีพ กู้ภัยและหน่วยแพทย์ฉุกเฉินประจาตาบล เพื่อให้มี ประสิทธิภาพในการบริการประชาชน - พัฒนาถนนสายหลักให้มีความสวยงาม มีต้นไม้เขียวขจีสองข้างถนน


23

- ส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาสภาพแวดล้อมในตาบลให้ปลอดภัย จากยาเสพติดและอบายมุข ยุทธศาสตร์ท่ี7ีการพัฒนาด้านการเกษตร แนวทางการพัฒนา - ส่งเสริมการผลิตปุ๋ยชีวภาพทดแทนการใช้ปุ๋ยเคมี - วิจัยและพัฒนาคุณภาพดิน - ส่งเสริมการพัฒนาและแปรรูปผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร - ส่งเสริมให้เกษตรกรปลูกพืชหมุนเวียน - พัฒนาแหล่งน้าทางการเกษตร - ส่งเสริมให้ประชาชนดาเนินการเกษตรตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ยุทธศาสตร์ท่ี8ีการพัฒนาด้านสุขภาพและอนามัยชุมชน แนวทางการพัฒนา - ส่งเสริมให้ประชาชนออกกาลังกายทุกวัน - ส่งเสริมให้ประชาชนรู้หลักการบริโภคตามหลักโภชนาการ - ส่งเสริมให้ประชาชนปลูกและทานสมุนไพรในชุมชนแทนการทานยาแผน ปัจจุบันบางชนิด - สนับสนุนและส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการกาจัดพาหะนาโรคต่างๆ ใน ท้องถิ่น - ส่งเสริมให้ชุมชนจัดตั้งกองทุนด้านสุขภาพชุมชน ยุทธศาสตร์ท่ี9ีการพัฒนาด้านเศรษฐกิจพอเพยง แนวทางการพัฒนา - ส่งเสริมให้ประชาชนได้เข้าถึงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง - ส่งเสริมให้ประชาชนปลูกพืชผักสวนครัวรั้วกินได้และสมุนไพรใกล้ตัวเพื่อ สุขภาพ - ส่งเสริมให้ประชาชนรู้จักการพอประมาณ


24

6.ี​ีกรอบแนวคิดในการศึกษา จากการที่ได้ศึกษาทบทวนแนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องดังกล่าวแล้วในข้อ 1 – 5 ผู้ศึกษาได้ วิเคราะห์สรุปสาระออกมาและสามารถกาหนดเป็นกรอบแนวคิดในการศึกษาได้ดังนี้

ปัญหาและข้อเสนอแนะในการ ปฎิบัติงาน ในตาแหน่ง นัก บริหารงานการเกษตร ตามอานาจ หน้าที่ที่เกี่ยวข้องและภารกิจที่ ได้รับมอบหมาย

ภารกิจถ่ายโอนจากกรมส่งเสริมการเกษตร - การสารวจข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการเกษตร - การจัดทาแผนพัฒนาการเกษตรระดับตาบล - การบริการข้อมูลและเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ - การรวบรวมส่งเสริมพัฒนาภูมิปัญญาท้องถิ่น - การสารวจช่วยเหลือป้องกันกาจัดศัตรูพืช - การฝึกอบรมอาชีพการเกษตร - การรวมกลุ่มและพัฒนากลุ่ม - การกระจายพันธุ์ - ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร อานาจหน้าที่ที่เกี่ยวข้องตามพระราชบัญญัติกาหนด แผนและขั้นตอนการกระจายอานาจให้แก่ องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นพ.ศ. 2542 - การส่งเสริม การฝึก และประกอบอาชีพ - การส่งเสริมการท่องเที่ยว - การสาธารณสุข การอนามัยครอบครัว อานาจหน้าที่ที่เกี่ยวข้องตาม พระราชบัญญัติสภา ตาบลและองค์การบริหารส่วนตาบล พ.ศ. 2537 - ป้องกันโรคและระงับโรคติดต่อ - คุ้มครอง ดูแลและบารุงรักษา ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

ภาพที่ 1 กรอบแนวคิดในการศึกษา

อานาจหน้าที่ตามที่ได้รับมอบหมาย - กองทุนหลักประกันสุขภาพ - งานสื่อสารและประชาสัมพันธ์


25

ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ีบทท่ี3 ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ีวิธดาเนินการศึกษา การศึกษาเรื่อง ปัญหาการปฏิบัติงานในหน้าที่ นักบริหารงานการเกษตร องค์การบริหาร ตาบลเหล่าโพนค้อ อาเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร เป็นการศึกษาโดยใช้ข้อมูลเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ซึ่งผู้ศึกษา ได้ศึกษาทบทวนแนวคิด ทฤษฎีและกฏหมายที่เกี่ยวข้องแล้ว และเพื่อให้การรวบรวมข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล เป็นไปด้วยความเรียบร้อยตามกรอบแนวคิดใน การศึกษาปัญหาการปฏิบัติงานในหน้าที่นักบริหารงานการเกษตร ในบทนี้ จะได้กล่าวถึงวิธี ดาเนิน การศึกษาเพื่อแสดงขั้นตอนการศึกษา โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ 1.ีสถานท่ดาเนินการศึกษา ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ีสถานที่ดาเนินการศึกษา ได้แก่ องค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อ ตาบลเหล่าโพนค้อ อาเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร 2.ีแหล่งข้อมูล ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ีแหล่งข้อมูลที่ใช้ในการศึกษา ผู้ศึกษาได้มาจาก 2 แหล่ง ได้แก่ 3.1 ข้อมูลปฐมภูมิ(Primary Data) เป็นแหล่งข้อมูลที่ผู้ศึกษาได้มาจากแบบประเมินผล โครงการ ปัญหา อุปสรรคข้อเสนอ ในการปฏิบัติงานในตาแหน่ง นักบริหารงานการเกษตร ของ องค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อ อาเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร 3.2 ข้อมูลทุติยภูมิ(Secondary Data) เป็นแหล่งข้อมูลที่ผู้ศึกษาได้มาจากการศึกษา ค้นคว้าจากข้อมูล ระเบียบ กฎหมาย และ ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง 3.ีการเก็บรวบรวมข้อมูล ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้ศึกษาได้ดาเนินการรวบรวมจากปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ จากการประเมินและรายงานผลการดาเนินโครงการที่ปฎิบัติตามอานาจหน้าที่ที่เกี่ยวข้องและได้รับ มอบหมาย ี4.ีการวิเคราะห์และนาเสนอข้อมูล ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ีเนื่องจากการศึกษาครั้งนี้ เป็นการศึกษา โดยใช้ข้อมูลเชิงคุณภาพ เพราะฉะนั้นข้อมูลที่ ได้มาจากระเบียบ กฏหมาย เอกสารวิชาการต่างๆ จากการประเมินโครงการ รายงานปัญหาอุปสรรค และขอเสนอแนะ ในการทางาน ในตาแหน่งนักบริหารงานการเกษตร ผู้ศึกษา จะได้นาข้อมูลที่ เกี่ยวข้องที่ได้มาทั้งหมดนี้ มาวิเคราะห์เนื้อหา(Content Analysis) แล้วนาเสนอในรูปความเรียง


26

บทท่ 4 ผลการศึกษา การศึกษาเรื่อง การวิเคราะห์ ปัญหาการปฏิบัติงานในหน้าที่ นักบริหารงานการเกษตร ของ องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต าบลเหล่ าโพนค้อ ตาบลเหล่ าโพนค้ อ อ าเภอโคกศรีสุ พ รรณ จังหวัด สกลนคร โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค์ เพื่ อ ศึ ก ษาการปฏิ บั ติ ง านในหน้ า ที่ และวิ เคราะห์ ปั ญ หาและ ข้อเสนอแนะในการปฏิบัติงาน ในตาแหน่งนักบริหารงานการเกษตร ผู้ศึกษาได้ใช้วิธีการเก็บรวบรวม ข้อมูล จากปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ จากการประเมินผลโครงการและรายงานผลการดาเนิน โครงการที่ ป ฎิ บั ติต ามอ านาจหน้ าที่ ที่ เกี่ ย วข้ องและได้ รับ มอบหมายแล้ ว น าข้อ มู ล ที่ ได้ ม าท าการ วิเคราะห์เนื้อหา ออกมาเป็นผลการศึกษาที่ตอบวัตถุประสงค์ตามประเด็นต่างๆ และ ผู้ศึกษา ขอ เสนอผลการศึกษา ตามภารกิจ ดังนี้ ปัญหาในการปฏิบัติงาน ในตาแหน่งนักบริหารงานการเกษตร ขององค์การบริหารส่วน ตาบลเหล่าโพนค้อ อาเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร แยกตามภารกิจที่ถ่ายโอนจากกรมส่งเสริม การเกษตร จานวน 9 ภารกิจ ดังนี้ 1) ภารกิจการสารวจข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการเกษตร มีปัญหาในการวิเคราะห์ข้อมูลและ สรุปผลข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการเกษตร 2) ภารกิจการจัดทาแผนพัฒนาการเกษตรระดับตาบล มีปัญหาในการการรวบรวมข้อมูลที่ใช้ จัดทาและการวิเคราะห์ข้อมูลและจัดทาแผนพัฒนาการเกษตรระดับตาบล 3) ภารกิจการบริการข้อมูลและเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ มีปัญหาในการบริการข้อมูลข่าวสาร และเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ข่าวสารด้านการเกษตรให้แก่เกษตรกร 4) ภารกิจการรวบรวมส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่น มีปัญหาในการศึกษาวิจัยภูมิปัญญาท้องถิ่น และการพัฒนาภูมิปัญญาท้องถิ่น 5) ภารกิจการสารวจช่วยเหลือป้องกันกาจัดศัตรูพืช มีปัญหาในการให้บริการสารเคมีและ เครือ่ งมือในการป้องกันกาจัดศัตรูพืช 6) ภารกิจ การฝึ กอบรมอาชีพ การเกษตร มีปัญ หาในการส ารวจความต้องการความรู้ของ เกษตรกรในการพัฒนาอาชีพ และการจัดรวมกลุ่มเกษตรกรเพื่อฝึกอบรมอาชีพการเกษตร 7) ภารกิจการรวมกลุ่ม และพัฒนากลุ่ม มีปัญหาในการรวมกลุ่มต่างๆเข้าเป็นเครือข่าย 8) ภารกิจการกระจายพันุธ์ มีปัญหาในการจัดหาพืชพันธ์ดีที่มีคุณภาพ และการจัดตั้งแปลง ขยายพืชพันธุ์ดีเพื่อกระจายให้แก่เกษตรกรรายอื่นๆ


27

9) ภารกิ จ ศู น ย์ บ ริ ก ารและถ่ า ยทอดเทคโนโลยี ก ารเกษตรชุ ม ชน มี ปั ญ หาในการจั ด ตั้ ง ศูนย์บริการฯ การรับจดทะเบียนสมาชิก การถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร ข้อเสนอแนะในการปฏิบัติงาน ในตาแหน่งนักบริหารงานการเกษตร ขององค์การบริหาร ส่วนตาบลเหล่าโพนค้อ อาเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร เสนอแนะการปฏิบัติตามภารกิจ ถ่าย โอนจากกรมส่งเสริมการเกตร จานวน 9 ภารกิจ ดังนี้ 1) ภารกิจการสารวจข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการเกษตร เสนอแนะว่ า กรมส่งเสริมการเกษตร ในพื้นที่และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นควรประสานงานในการสารวจข้อมูลที่เกี่ยวข้องในระดับตาบล ร่วมกัน 2) ภารกิ จ การจั ด ท าแผนพั ฒ นาการเกษตรระดั บ ต าบล เสนอแนะว่ า กรมส่ ง เสริ ม การเกษตรในพื้นที่ควรมอบหมายบุคลากรเข้าร่วมในการจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นเพื่อนาเสนอข้อมูล แผนพัฒนาการเกษตรบรรจุลงในแผนพัฒนาท้องถิ่น และควรมีการรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูล ร่วมกัน ในการจัดทาแผนพัฒนาการเกษตร 3) ภารกิ จ การบริ ก ารข้ อ มู ล และเผยแพร่ ป ระชาสั ม พั น ธ์ เสนอแนะว่ า กรมส่ ง เสริ ม การเกษตรในพื้นควรประสานงานการเผยแพร่ข้อมูลประชาสัมพันธ์ให้เป็นปัจจุบันทันต่อสถานการณ์ เพื่อที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจะได้นาไปเผยแพร่ประชาสัมพันธ์หรือแจ้งเตือนให้แก่เกษตรกรใน พื้นที่ และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต้องสนับสนุนช่องทางในการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ในชุมชน 4) ภารกิจการรวบรวมส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่น เสนอแนะว่า องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ควรจัดทาฐานข้อมูลการสืบค้นหรือทาทะเบียนภูมิปัญญาท้องถิ่นในระดับหมู่บ้าน ตาบล และควร ร่วมมือกันสนับสนุนและพัฒนาต่อยอดภูมิปัญญาท้องถิ่น 5) ภารกิจการสารวจช่วยเหลือป้องกันศัตรูพืช เสนอแนะว่า กรมส่งเสริมการปกครองส่วน ท้องถิ่นต้องมีแนวทางการปฏิบัติที่ชัดเจน และต้องแจ้งเตื่อนการแพร่ระบาดให้ทันต่อสถานการณ์ และ ร่วมกบองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นบริการวินิจฉัยศัตรูพืช 6) ภารกิจการฝึ กอบรมอาชีพการเกษตร เสนอแนะว่ า องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นควร ดาเนินโครงการฝึกอบรมให้สอดคล้องกับความต้องการของเกษตรกรในพื้นที่ และ กรมส่งเสริม การเกษตรควรให้การสนับสนุนร่วมกับองค์กรปกครองสุ่วนท้องถิ่นในการพัฒนาอาชีพเกษตรกร 7) ภารกิ จ การรวมกลุ่ ม พั ฒ นากลุ​ุม่ เสนอแนะว่ า ควรมี ก ารติ ด ตามและประเมิ น ความ ก้าวหน้า ของกลุ่มที่ได้รับการสนับสนุนในการดาเนินกิจกรรมกลุ่ม รองลงมาเสนอแนะวา ่ องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นควรจัดทาฐานข้อมูลกลุ่มเกษตรกรในตาบล และกรมส่งเสริมการเกษตรควรร่ว ม สนับสนุนกลุ่มต่างๆเพื่อพัฒนาให้เป็นเครือข่ายร่วมกบองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น


28

8) ภารกิจการกระจายพันุธ์ เสนอแนะว่า กรมส่งเสริมการเกษตรควรให้การสนับสนุนและ ร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจัดทาแปลงสาธิตขยายพืชพันธ์ดีเพื่อกระจายให้แก่เกษตรกรใน ชุมชนและควรส่งเสริมการผลิตและจัดสรรพืชพันธุ์ดีให้ตรงตามความต้องการของเกษตรกร 9) ภารกิ จ ศู น ย์ บ ริ ก ารและถ่ ายทอดเทคโนโลยี ก ารเกษตร เสนอแนะว่ า กรมส่ งเสริ ม การเกษตรควรสนั บ สนุ น การดาเนิ นการร่วมกับ อปท ในการจัดตั้งและบริห ารจัดการศูนย์บริการ และถ่ า ยทอดเทคโนโลยี ก ารเกษตรร่ ว มกั น และควรก าหนดให้ ศู น ย์ บ ริ ก ารและ ถ่ า ยทอด เทคโนโลยีการเกษตรประจาตาบลเป็นภารกิจที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีหน้าที่ต้องทา ปัญหาในการปฏิบัติงาน ในตาแหน่งนักบริหารงานการเกษตร ขององค์การบริหารส่วน ตาบลเหล่าโพนค้อ อาเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร แยกตามอานาจหน้าที่ที่เกี่ยวข้องตาม พระราชบัญญัติกาหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอานาจให้แก่ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นพ.ศ. 2542 ดังนี้ 1) การส่งเสริมการฝึก และประกอบอาชีพ มีปัญหาในการสารวจความต้องการความรู้ของ เกษตรกรในการพัฒนาอาชีพ และการจัดรวมกลุ่มเกษตรกรเพื่อฝึกอบรมอาชีพ การเกษตร 2) การส่ ง เสริ ม การท่ อ งเที่ ย ว มี ปั ญ หาในการพั ฒ นา ปรั บ ปรุ ง ประชาสั ม พั น ธ์ แ หล่ ง ท่องเที่ยว และ ขาดแคลนบุคลากรที่มีความรู้ในการส่งเสริมการท่องเที่ยว 3) การสาธารณสุ ข การอนามัยครอบครัว มีปั ญ หา การขาดแคลนบุ คลากรที่ มีความรู้ ความชานาญเฉพาะด้านมาดูแลรับผิดชอบงานสาธารณสุข การอนามัยครอบครัว ข้อเสนอแนะในการปฏิบัติงาน ในตาแหน่งนักบริหารงานการเกษตร ขององค์การบริหาร ส่วนตาบลเหล่าโพนค้อ อาเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร แยกตามอานาจหน้าที่ที่เกี่ยวข้องตาม พระราชบัญญัติกาหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอานาจให้แก่ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นพ.ศ. 2542 ดังนี้ 1) การส่งเสริมการฝึก และประกอบอาชีพ เสนอแนะ ให้มีการสารวจความต้องการความรู้ ของเกษตรกรในการพัฒนาอาชีพ และการจัดรวมกลุ่มเกษตรกรเพื่อฝึกอบรมอาชีพการเกษตร 2) การส่ งเสริ ม การท่ อ งเที่ ยว เสนอแนะ จั ดท าข้ อมู ล แหล่ งเที่ ยว มี ก ารพั ฒ นา ปรับ ปรุง ประชาสัมพันธ์แหล่งท่องเที่ยว และ จัดหาบุคลากรที่มีความรู้ในการส่งเสริมการท่องเที่ยว 3) การสาธารณสุข การอนามัยครอบครัว เสนอแนะ ให้มีตาแหน่งด้านสาธารณสุขเพื่อดูแล งานสาธารณสุข การอนามัยครอบครัว


29

ปัญหาในการปฏิบัติงาน ในตาแหน่งนักบริหารงานการเกษตร ขององค์การบริหารส่วนตาบล เหล่าโพนค้อ อาเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร แยกตามอานาจหน้าที่ที่เกี่ยวข้องตามอานาจ หน้าที่ที่เกี่ยวข้องตาม พระราชบัญญัติสภาตาบลและองค์การบริหารส่วนตาบล พ.ศ. 2537 1) การป้องกันโรคและระงับโรคติดต่อ มีปัญหาในด้านการมีส่วนร่วมของชุมชนในการป้องกัน และระงับโรคติดต่อ รวมทั้งไม่มีเจ้าหน้าที่ด้านสาธารณสุขมาดูแลรับผิดชอบงาน 2) การคุ้มครอง ดูแลและบารุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มีปัญหาในการส่วน ร่วมของชุมชนในการดูแลและบารุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ข้อเสนอแนะในการปฏิบัติงาน ในตาแหน่งนักบริหารงานการเกษตร ขององค์การบริหารส่วน ตาบลเหล่าโพนค้อ อาเภอโคกศรีสุ พรรณ จังหวัดสกลนคร แยกตามอานาจหน้าที่ที่เกี่ยวข้องตาม อานาจหน้าที่ที่เกี่ยวข้องตาม พระราชบัญญัติสภาตาบลและองค์การบริหารส่วนตาบล พ.ศ. 2537 1) การป้องกันโรคและระงับโรคติดต่อ เสนอแนะ ให้มกี ารสร้างความตระหนัก ในการป้องกัน และระงับโรคติดต่อ รวมทั้งให้มีเจ้าหน้าที่ด้านสาธารณสุขมาดูแลรับผิดชอบงาน 2) การคุ้มครอง ดูแลและบารุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม เสนอแนะ ให้มีการ สร้างความตระหนัก และมีจิตสานึกในการดูแลและบารุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ปัญหาในการปฏิบัติงาน ในตาแหน่งนักบริหารงานการเกษตร ขององค์การบริหารส่วนตาบล เหล่าโพนค้อ อาเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร แยกตามอานาจหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย 1) งานกองทุนหลั กประกันสุขภาพ มีปัญหา ไม่มีบุคลากรที่มีความรู้ด้านสาธารณสุ ขมา รับผิดชอบงานโดยตรง 2) งานสื่อสารและประชาสัมพันธ์ มีปัญหา ขาดแคลนบุคลากรที่มีความรู้ ความสามารถมา รับผิดชอบงานโดยตรง ข้อเสนอแนะในการปฏิบัติงาน ในตาแหน่งนักบริหารงานการเกษตร ขององค์การบริหารส่วน ตาบลเหล่าโพนค้อ อาเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร แยกตามอานาจหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย 1) งานกองทุ น หลั ก ประกั น สุ ข ภาพ ข้ อ เสนอแนะ สรรหาบุ ค ลากรที่ มี ค วามรู้ ด้ า น สาธารณสุขมารับผิดชอบงานโดยตรง และ ส่งบุคลากรไปอบรมบ่อยๆ โดยเฉพาะหลักสูตรที่เกี่ยวข้อง กับการทางานในตาแหน่งนั้นๆ เพราะการอบรมแต่ละครั้ง วิทยากรที่ดาเนินการฝึกอบรม จะได้นา ระเบียบ กฎหมายใหม่ที่เกี่ยวข้องกับการทางาน มาอบรมและอธิบายขยายความให้เข้าใจมากกว่า การศึกษาเองด้วยซ้า


30

2) งานสื่อสารและประชาสัมพันธ์ ข้อเสนอแนะ สรรหาบุคลากรที่มีความรู้ ความสามารถมา รับผิดชอบงานโดยตรง และ ส่งบุคลากรไปอบรมบ่อยๆ โดยเฉพาะหลักสูตรที่เกี่ยวข้องกับการทางาน ในตาแหน่งนั้นๆ


31

บทท่ี​ี5 บทสรุปีและข้อเสนอแนะ การศึกษาเรื่อง “การวิเคราะห์ปัญหาการปฏิบัติงานในหน้าที่ นักบริหารงานการเกษตร ของ องค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อ อาเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ได้ผลสรุป ดังนี้ 1.บทสรุป ปัญ หาในการปฎิบั ติงานในตาแหน่งนักบริห ารงานการเกษตร ณ องค์การบริห ารส่ว น ตาบลเหล่าโพนค้อ อาเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ตามภารกิจที่ถ่ายโอนมาจากกรมส่งเสริม การเกษตร 9 ภารกิจการสารวจข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการเกษตร มีปัญหาในการวิเคราะห์ข้อมูลและ สรุป ผลข้อมูลที่ เกี่ย วข้องกับ การเกษตร ภารกิจการจัดทาแผนพัฒ นาการเกษตรระดับตาบล มี ปัญหาในการการรวบรวมข้อมูลที่ใช้จัดทาและการวิเคราะห์ข้อมูลและจัดทาแผนพัฒนาการเกษตร ระดับ ตาบล ภารกิจ การบริการข้อมูล และเผยแพร่ ประชาสั ม พัน ธ์ มีปั ญ หาในการบริการข้อมู ล ข่าวสารและเผยแพร่ ป ระชาสั มพั น ธ์ข่าวสารด้านการเกษตรให้ แก่เกษตรกร ภารกิจการรวบรวม ส่งเสริมภูมิปั ญญาท้องถิ่น มีปัญ หาในการศึกษาวิจัยภูมิปัญ ญาท้องถิ่น และการพัฒ นาภูมิปัญญา ท้องถิ่น ภารกิจ การส ารวจช่ว ยเหลือป้องกันกาจัดศัตรูพืช มีปัญ หาในการให้ บริการสารเคมีและ เครื่องมือในการป้องกันกาจัดศัตรูพืช ภารกิจการฝึกอบรมอาชีพการเกษตร มีปัญหาในการสารวจ ความต้องการความรู้ของเกษตรกรในการพัฒ นาอาชีพ และการจัดรวมกลุ่มเกษตรกรเพื่อฝึกอบรม อาชีพการเกษตร ภารกิจการรวมกลุ่ม และพัฒนากลุ่ม มีปัญหาในการรวมกลุ่มต่างๆเข้าเป็นเครือข่าย ภารกิจการกระจายพันุธ์ มีปัญหาในการจัดหาพืชพันธ์ดีที่มีคุณภาพ และการจัดตั้งแปลงขยายพืชพันธุ์ ดีเพื่อกระจายให้แก่เกษตรกรรายอื่นๆภารกิจศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรชุมชน มี ปัญหาในการจัดตั้งศูนย์บริการฯ การรับจดทะเบียนสมาชิก การถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร ปั ญ หาในการปฏิ บั ติ งาน ในต าแหน่ งนั ก บริห ารงานการเกษตร ตามอ านาจหน้ าที่ ที่ เกี่ยวข้องตามพระราชบัญญัติกาหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอานาจให้แก่ องค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่นพ.ศ. 2542 การส่งเสริมการฝึก และประกอบอาชีพ มีปัญหาในการสารวจความต้องการความรู้ ของเกษตรกรในการพัฒนาอาชีพ และการจัดรวมกลุ่มเกษตรกรเพื่อฝึกอบรมอาชีพการเกษตร การ ส่งเสริมการท่องเที่ยว มีปัญหาในการพัฒนา ปรับปรุง ประชาสัมพันธ์แหล่งท่องเที่ยว และ ขาดแคลน บุคลากรที่มีความรู้ในการส่งเสริมการท่องเที่ยว และการสาธารณสุข การอนามัยครอบครัว มีปัญหา การขาดแคลนบุคลากรที่มีความรู้ ความชานาญเฉพาะด้านมาดูแลรับผิดชอบงานสาธารณสุข การ อนามัยครอบครัว


32

ปัญหาในการปฏิบัติงาน ในตาแหน่งนักบริหารงานการเกษตร ตามอานาจหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง ตาม พระราชบัญญัติสภาตาบลและองค์การบริหารส่วนตาบล พ.ศ. 2537 การป้องกันโรคและระงับ โรคติดต่อ มีปั ญหาในด้านการมีส่วนร่วมของชุมชนในการป้องกันและระงับโรคติดต่อ รวมทั้งไม่มี เจ้ า ห น้ า ที่ ด้ า นสาธารณ สุ ข มาดู แ ลรั บ ผิ ด ชอบ งาน การคุ้ ม ครอง ดู แ ลและบ ารุ ง รั ก ษ า ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มีปัญหาในการส่วนร่วมของชุมชนในการดูแลและบารุงรักษา ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ส่วนปัญหาในการปฏิบัติงาน ในตาแหน่งนักบริหารงานการเกษตร ตามอานาจหน้าที่ที่ได้รับ มอบหมาย งานกองทุ น หลั กประกัน สุ ขภาพ มีปัญ หา ไม่มี บุคลากรที่ มีความรู้ด้านสาธารณสุ ขมา รับผิดชอบงานโดยตรง และงานสื่อสารและประชาสัมพันธ์ มีปัญหา ขาดแคลนบุคลากรที่มีความรู้ ความสามารถมารับผิดชอบงานโดยตรงเช่นกัน 2. ข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะในการปฏิบัติงาน ในตาแหน่งนักบริหารงานการเกษตร ขององค์การบริหาร ส่วนตาบลเหล่าโพนค้อ อาเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร เสนอแนะการปฏิบัติตามภารกิจถ่าย โอนจากกรมส่งเสริมการเกตร จานวน 9 ภารกิจ ได้แก่ ภารกิจการสารวจข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ การเกษตร เสนอแนะว่า กรมส่งเสริมการเกษตรใน พื้นที่และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นควรประสานงานในการสารวจข้อมูลที่เกี่ยวข้องในระดับตาบล ร่วมกัน ภารกิจการจัดทาแผนพัฒนาการเกษตรระดับตาบล เสนอแนะว่า กรมส่งเสริมการเกษตรใน พื้นที่ควรมอบหมายบุคลากรเข้าร่วมในการจัดทาแผนพัฒ นาท้องถิ่นเพื่อนาเสนอข้อมูลแผนพัฒ นา การเกษตรบรรจุลงในแผนพัฒนาท้องถิ่น และควรมีการรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูลร่วมกัน ใน การจัดทาแผนพัฒนาการเกษตร ภารกิจการบริการข้อมูลและเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ เสนอแนะว่า กรมส่งเสริมการเกษตรในพื้นควรประสานงานการเผยแพร่ข้อมูลประชาสัมพันธ์ให้เป็นปัจจุบันทันต่อ สถานการณ์ เพื่อที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจะได้นาไปเผยแพร่ประชาสัมพันธ์หรือแจ้งเตือนให้แก่ เกษตรกรในพื้ น ที่ และองค์ กรปกครองส่ ว นท้ องถิ่ น ต้อ งสนั บ สนุ นช่ องทางในการเผยแพร่ ป ระชา สัมพันธ์ในชุมชน ภารกิจการรวบรวมส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่น เสนอแนะว่า องค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่นควรจัดทาฐานข้อมูลการสืบค้นหรือทาทะเบียนภูมิปัญญาท้องถิ่นในระดับหมู่บ้าน ตาบล และ ควรร่วมมือกันสนับ สนุนและพัฒ นาต่อยอดภูมิ ปัญญาท้องถิ่น ภารกิจการสารวจช่วยเหลือป้องกัน ศัตรูพืช เสนอแนะว่า กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่นต้องมีแนวทางการปฏิบัติที่ชัดเจน และต้อง แจ้งเตือนการแพร่ระบาดให้ทันต่อสถานการณ์ และร่วมกบองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นบริการวินิจฉัย ศัตรูพืช ภารกิจการฝึกอบรมอาชีพการเกษตร เสนอ แนะว่า องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นควรดาเนิน


33

โครงการฝึกอบรมให้สอดคล้องกับความต้องการของเกษตรกรในพื้นที่ และ กรมส่งเสริมการเกษตร ควรให้การสนับสนุนร่วมกับองค์กรปกครองสุ่วนท้องถิ่นในการพัฒ นาอาชีพเกษตรกร ภารกิจการ รวมกลุ่มพัฒนากลุ​ุม่ เสนอแนะว่า ควรมีการติ ดตามและประเมินความก้าวหน้า ของกลุ่มที่ได้รับการ สนับสนุนในการดาเนินกิจกรรมกลุ่ม รองลงมาเสนอแนะวา ่ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นควรจัดทา ฐานข้อมูลกลุ่มเกษตรกรในตาบล และกรมส่งเสริมการ เกษตรควรร่วมสนับสนุนกลุ่มต่างๆเพื่อพัฒนา ให้ เป็ น เครือข่ายร่วมกบองค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น ภารกิจการกระจายพันุธ์ เสนอแนะว่า กรม ส่งเสริมการเกษตรควรให้การสนับสนุนและร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจัดทาแปลงสาธิตขยาย พืชพันธ์ดีเพื่อกระจายให้แก่เกษตรกรในชุมชนและควรส่งเสริมการผลิตและจัดสรรพืชพันธุ์ดีให้ตรง ตามความต้องการของเกษตรกรและภารกิจศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร เสนอแนะ ว่า กรมส่งเสริมการเกษตรควรสนับสนุนการดาเนินการร่วมกับอปท ในการจัดตั้งและบริหารจัดการ ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรร่วมกันและควรกาหนดให้ศูนย์บริการและ ถ่ายทอด เทคโนโลยีการเกษตรประจาตาบลเป็นภารกิจที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีหน้าที่ต้องทา ข้อเสนอแนะในการปฏิบัติงาน ในตาแหน่งนักบริหารงานการเกษตร ตามอานาจหน้าที่ที่ เกี่ยวข้องตามพระราชบัญญัติกาหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอานาจให้แก่ องค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่นพ.ศ. 2542 การส่งเสริมการฝึก และประกอบอาชีพ เสนอแนะ ให้มีการสารวจความต้องการ ความรู้ของเกษตรกรในการพัฒนาอาชีพ และการจัดรวมกลุ่มเกษตรกรเพื่อฝึกอบรมอาชีพการเกษตร การส่งเสริมการท่องเที่ยว เสนอแนะ จัดทาข้อมูลแหล่งเที่ยว มีการพัฒนา ปรับปรุง ประชาสัมพันธ์ แหล่งท่องเที่ยว และ จัดหาบุคลากรที่มีความรู้ในการส่งเสริมการท่องเที่ยว และการสาธารณสุข การ อนามัยครอบครัว เสนอแนะ ให้มีตาแหน่งด้านสาธารณสุขเพื่อดูแลงานสาธารณสุข การอนามัย ครอบครัว ข้อเสนอแนะในการปฏิบัติงาน ในตาแหน่งนักบริหารงานการเกษตร ตามอานาจหน้าที่ที่ เกี่ยวข้องตามอานาจหน้าที่ที่เกี่ยวข้องตาม พระราชบัญญัติสภาตาบลและองค์การบริหารส่วนตาบล พ.ศ. 2537 การป้องกันโรคและระงับโรคติดต่อ เสนอแนะ ให้มีการสร้างความตระหนัก ในการ ป้องกันและระงับโรคติดต่อ รวมทั้งให้มีเจ้าหน้าที่ด้านสาธารณสุขมาดูแลรับผิดชอบงาน การคุ้มครอง ดูแลและบารุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เสนอแนะ ให้มีการสร้างความตระหนัก และ มีจิตสานึกในการดูแลและบารุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ข้อเสนอแนะในการปฏิบัติงาน ในตาแหน่งนักบริหารงานการเกษตร ตามอานาจหน้าที่ที่ ได้รับมอบหมาย งานกองทุนหลักประกันสุขภาพ ข้อเสนอแนะ สรรหาบุคลากรที่มีความรู้ด้าน สาธารณสุขมารับผิดชอบงานโดยตรง และ ส่งบุคลากรไปอบรมบ่อยๆ เพราะการอบรมแต่ละครั้ง


34

วิทยากรที่ดาเนินการฝึกอบรม จะได้นาระเบียบ กฎหมายใหม่ที่เกี่ยวข้องกับการทางาน มาอบรมและ อธิบายขยายความให้เข้าใจมากกว่าการศึกษาเองด้วยซ้าและ งานสื่อสารและประชาสัมพันธ์ ข้อเสนอแนะ สรรหาบุคลากรที่มีความรู้ ความสามารถมารับผิดชอบงานโดยตรง และ ส่งบุคลากรไป อบรมบ่อยๆ โดยเฉพาะหลักสูตรที่เกี่ยวข้องกับการทางานในตาแหน่งนั้นๆ


35

เอกสารอ้างอิง กรมส่งเสริมการเกษตร.คู่มือการถ่ายโอนภารกิจกรมส่งเสริมการเกษตรีให้ีอปท.ค้นเมื่อ วันที่ 8 สิงหาคม 2559, http://www.tlg.rmutt.ac.th/?p=3898 มะลิวรรณ สิงห์ศรี. การปฏิบัติงานส่งเสริมการเกษตรขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นีจังหวัด ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ี​ีศรสะเกษ.ค้นเมื่อ 8 สิงหามคม 2559, http://www.stou.ac.th/thai/grad_stdy/Masters


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.