กรณีศึกษาที่ …… พื้นที่ วิทยากร
กลุ่มธนาคารขยะลดปัญหาสิ่งแวดล้อมในชุมชน บ้านห้วยยาง และบ้านห้วยยางเหนือ ตาบลเหล่าโพนค้อ อาเภอโคกศรี สุพรรณ จังหวัดสกลนคร นายเวียง ยางธิสาร ประธาน อสม.บ้านห้วยยาง
1. แนวคิดหลักการ กลุ่มธนาคารขยะลดปัญหาสิ่งแวดล้อมในชุมชน มีแนวคิดในการดาเนินการ “ การลดปัญหาการ สะสมขยะในหมู่บ้าน โดยคัดแยกขยะจากครัวเรือนเพื่อจาหน่ายและนารายได้จากการขายขยะบางส่วนมา จัดสวัสดิการให้สมาชิก “ ริเริ่มโดยนิสิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม องค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อ และ อสม.ทั้งสองหมู่บ้าน เพื่อลดปัญหาการสะสมขยะในบ้านเรือนและที่สาธารณะต่างๆ 2. ที่มาของกิจกรรม ในอดีตบ้านห้วยยาง เป็นหมู่บ้านที่ได้ชื่อว่า เป็นหมู่บ้านขอทาน เนื่องจากขาดแหล่งน้าในการทา การเกษตร จวบจนกระทั่งในปี พ.ศ. 2527 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้เสด็จพระราชดาเนินมาสารวจ พื้นที่เพื่อก่อสร้างอ่างเก็บน้าห้วยโท – ห้วยยาง ทาให้ชาวบ้านห้วยยางสามารถทานาได้ปีละ 2 ครั้ง และ เพาะพันธุ์กล้าไม้จาหน่ายเป็นอาชีพเสริม ปี พ.ศ. 2553 มีการเปิดแหล่งท่องเที่ยวที่บ้านห้วยยาง เช่น อ่าง เก็บน้าห้วยโท- ห้วยยาง พระธาตุดอยอ่างกุ้ง น้าตกศรีตาดโตนเป็นต้น ต่อมาใน ปี พ.ศ. 2555 มีการ ก่อสร้างอุโบสถดินแห่งแรกในประเทศไทยเพื่อถวายเป็นพระราชกุศล แด่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในมหามงคลทรงเจริญพระชนมพรรษา 84 พรรษา ทาให้มีคนรู้จักบ้านห้วยยางและ ส่งผลให้มีการ ขายกล้าไม้ได้มากขึ้น มีการเพิ่มพื้นที่การผลิตกล้าไม้ มีการจัดตลาดนัด 3 ครั้งต่ออาทิตย์ ทาให้เกิดปัญหา กลิ่นเหม็นจากการสะสมขยะและเผาขยะในที่สาธารณะ องค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อจึงได้ดาเนิ นการขุดหลุมฝังกลบเพื่อบรรเทาความเดือดร้อน ในเบื้ อ งต้ น หลั ง จากนั้ น องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต าบลเหล่ า โพนค้ อ ได้ ร่ ว มกั บ นิ สิ ต จากมหาวิ ท ยาลั ย มหาสารคาม สาขาพัฒนาชุมชน ดาเนินการสารวจปัญหาและหาแนวทางแก้ไขปัญหาขยะ ได้มีความเห็น ร่วมกันในการจัดตั้งธนาคารขยะ เพื่อลดปัญหาสิ่งแวดล้อมในชุมชน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้เกิดการคัด แยกขยะรีไชเคิลที่ต้นทางครัวเรือน ก่อนนามาจาหน่าย ตามวันเวลาที่คณะกรรมการกาหนด และมีการ จัดสรรเงินรายได้ส่วนหนึ่งจากการขายขยะเพื่อเป็นเงินช่วยเหลือฌาปนกิจศพให้กับสมาชิก 3. กลุ่มเป้าหมาย มีสมาชิกกลุ่มเป้าหมายเป็นครัวเรือนของบ้านห้วยยาง หมู่ 6 และบ้านห้วยยางเหนือ หมู่ 9 จานวน 557 ครัวเรือน
4. กระบวนการพัฒนา 4.1 ระบบการผลิตแบบพึ่งตนเอง ชาวบ้านได้ร่วมกันแก้ปัญหาขยะที่เกิดขึ้นในชุมชน โดยจัดตั้งกลุ่มธนาคารขยะเพื่อรับซื้อขยะรี ไซเคิลที่มีการคักแยกจากครัวเรือน ซึง่ ดาเนินการโดย อสม.ทัง้ สองหมูบ่ ้าน 4.2 การรวมกลุ่มของคนในชุมชน กลุ่มธนาคารขยะได้จัดตั้งขึ้นในปี 2556 โดยมีการคัดเลือกตัวแทนผู้นาหมู่บ้าน อสม. และสมาชิก ร่วมเป็นคณะกรรมการดาเนินการ และแบ่งหน้าที่รับผิดชอบงานในแต่ละฝ่าย เช่น ฝ่ายชั่งคัดแยกขยะ ฝ่ายจดบันทึกข้อมูล 4.3 ระบบการตลาดแบบพึ่งตนเอง มีการรวบรวมขยะรีไซเคิลไว้ ณ จุดรับซื้อ เพื่อให้ผู้ประกอบการมารับซื้อถึงที่ ทาให้ประหยัด ค่าใช้จ่ายในการขนย้ายขยะรีไซเคิลไปจาหน่าย 4.4 ระบบการจัดการการเงิน สมาชิกที่นาขยะมาขายจะได้รับสมุดบัญชีเงินฝากประจาตัวทุกคน ส่วนเงินรายได้จากการขาย ขยะจะฝากบัญชีธนาคารในนามกลุ่ม ธนาคารขยะลดปัญหาสิ่งแวดล้อมในชุมชนบ้านห้วยยาง และจะ มีการถอนเงินเมื่อสมาชิกต้องการถอนเงินแต่มีระเบียบว่า ต้องคงเหลือไว้ในบัญชีไม่น้อยกว่า 100 บาทและเบิกถอนเงินเมื่อมีสมาชิกเสียชีวิตเพื่อช่วยเหลืองานศพ โดยหักจากเงินรายได้สมาชิกคนละ 5 บาท 5. วิธีการดาเนินการ 5.1 การรวมกลุ่ม สร้างข้อตกลง จัดการทรัพยากร จัดการเงิน กลุ่มมีคณะกรรมการดาเนินการโดยคัดเลือกจากสมาชิกและสร้างข้อตกลงร่วมกันในการ จัดสรรเงินรายได้จากการขายขยะ โดยจัดสรรให้คณะกรรมการดาเนินการ จัดสรรคืนให้สมาชิกและ จัดสรรเพื่อเป็นเงินฌาปนกิจช่วยเหลืองานศพ 5.2 สร้างการเรียนรู้ ปลูกฝังวินัย ทาเป็นวิถีพอเพียง พึ่งตนเอง สร้างจิตสานึก จากัดการผลิต/ ความ ต้องการ กิจกรรมกลุ่มธนาคารขยะ ทาให้ชาวบ้านเกิดการเรียนรู้ในเรื่องของการคัดแยกและการจัดการ ขยะมากขึ้น ชาวบ้านได้รับสวัสดิการในเรื่องของการได้รับการช่วยเหลือในเรื่องของค่าใช้จ่ายเช่น หาก สมาชิกมีการเสียชีวิต จะได้รับเงินช่วยเหลือค่าฌาปณกิจศพจากสมาชิกคนละ 5 บาท และในกรณีที่ ต้องการเบิกเงินจากบัญชี ก็สามารถเบิกใช้ได้แต่ต้องมีเงินคงเหลือขั้นต่าในบัญชีไม่น้อยกว่า 100 บาท ขึ้นไปเพื่อสาหรับสมทบค่าใช้จ่าย โดยมีการจัดการคือ มีเจ้า หน้าที่ของ อบต.เป็นผู้จัดการในเรื่องของ การรับซื้อรวบรวมขยะ และมีคณะกรรมการดาเนิน การและ อสม.เป็นผู้คัดแยก ผู้ใหญ่บ้านเป็นผู้ ลงบั ญชีเงิน ของสมาชิกแต่ละคน ทุกวันที่ 5 ของเดือนจะมีการรับซื้อในพื้นที่ มีกิจกรรมประชุ ม สมาชิกอย่างต่อเนื่องโดยเน้นการฝึกอบรม ให้ความรู้ในการคัดแยกขยะจากครัวเรือน และรณรงค์การ รักษาความสะอาดในที่สาธารณะ
5.3 สร้างการมีส่วนร่วม ร่วมคิด ร่วมทา ร่วมรับประโยชน์ ร่วมเป็นเจ้าของ มีการจัดเวรแบ่งหน้าที่ในการมารับซื้อขยะในแต่ละเดือน มีการประชุม เพื่อเสนอแนะปัญหา อุปสรรค มีการเลือกตั้งคณะกรรมการดาเนินการ โดยอาศัยเวทีประชุมสมาชิกที่ทุกคนมีส่วนร่วม 5.4 เพิ่มทักษะ พัฒนาศักยภาพ พัฒนาเทคนิค ส่งเสริมภูมิปัญญา(เทคโนโลยีใหม่ ทักษะดั้งเดิม มีการสารวจ ปัญหาข้อเสนอ แนะ มีการขยายผลไปยังโรงเรียนในพื้นที่ 6. ปัจจัยเงื่อนไขการดาเนินการ การดาเนินการจะประสบความสาเร็จได้และมีความยั่งยืน ปัจจัยที่สาคัญ คือ จานวนครัวเรือนที่มา สมัครสมาชิก ต้องมีจานวนมากพอ ไม่ควรน้อยกว่าร้อยละ 70 และความสม่าเสมอในการนาขยะรีไซเคิล มาขาย เป็นปัจจัยสาคัญที่จะทาให้กิจกรรมดาเนินต่อไปได้ 7. ผลลัพธ์ต่อการพึ่งตนเองของชุมชน 7.1 ด้านเกษตรกรรมยั่งยืน การคัดแยกในครัวเรือนทาให้ส่วนหนึ่งได้ขยะที่เป็นขยะอินทรีย์ กลุ่มได้ส่งเสริมให้มีการนาไปหมัก เป็นปุ๋ยหมัก เพื่อใช้ในการเกษตร ลดต้นทุนในการผลิตและพึ่งพาตนเองได้ 7.2 ด้านสิ่งแวดล้อมปลอดภัย สนับสนุ นและส่ งเสริมการจัดการขยะในระดับครัวเรือนและชุมชนอย่างถูกวิธี ประชาชนใน ชุมชนจานวน 557 ครัวเรือนในหมู่บ้านมีการคัดแยกขยะ สามารถลดปัญหาการสะสมขยะ และมลพิษ จากควันและกลิ่นเหม็นจากขยะได้ ด้านการดูแลสุขภาพชุมชน 7.3 ด้านจัดการท่องเที่ยวชุมชน มีการจัดการขยะที่ถูกวิธี บริเวณบ้านสะอาดขึ้นชุมชนสะอาดเป็นระเบียบเรียบร้อย สร้างสุข นิสัยให้สมาชิกตั้งแต่จนถึงคนชรา ทาให้ชุมชนมีความพร้อมในการต้อนรับนักท่องเที่ยวมากขึ้น 7.4 ด้านเศรษฐกิจพึ่งพาตนเอง สังคมเป็นสุข สมาชิกมีรายได้เพิ่มขึ้นจากการขายขยะ และสามารถลดต้นทุนได้จากคัดแยกขยะอินทรีย์นาไป ทาปุ๋ยคอก เพื่อใช้ในการเกษตร และมีการช่วยเหลือระหว่างสมาชิกด้วยกันเอง โดยนาเงินรายได้ส่วนหนึ่งจาก การขายขยะไปเป็นเงินฌาปนกิจศพ