รายงานสรุปผลการประเมินการจัดงานบุญประเพณีของดีโคกศรีสุพรรณ ประจำปี 2559

Page 1

รายงานสรุปผลการประเมิน การจัดงานบุญประเพณีของดีโคกศรีสุพรรณ ประจาปี ๒๕๕๙ วันที่ ๔-๕ มีนาคม ๒๕๕๙


สาระสาคัญ การจัดงานบุญประเพณีของดีโคกศรีสุพรรณ ประจาปี ๒๕๕๙ ในช่วงวันที่ ๔-๕ มีนาคม ๒๕๕๙ณ โรงเรียนอนุบาลโคกศรีสุพรรณ ตาบลตองโขบ อาเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร เพื่อให้ประชาชนมาร่วมงานบุญประเพณีของดีโคกศรีสพุ รรณภายในงาน มีการนาเสนอการแสดง ประเพณีและวัฒนธรรมของแต่ละชุมชน การประกวดกิจกรรมต่าง ๆ การแสดง แสง สีเสียง ตานาน โคกศรีสุพรรณ ตลอดจนการจาหน่ายสินค้า ในการจัดงานดังกล่าวกาหนดให้มีการประเมินผลการจัดงาน เพื่อสารวจความพึงพอใจในการ จัดงานบุญประเพณีของดีโคกศรีสุพรรณของผู้ร่วมงาน ตลอดจนศึกษาปัญหา และอุปสรรคที่เกี่ยวกับ การจัดงาน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินความพึงพอใจของการจัดงานบุญประเพณีของดีโคกศรี สุพรรณ ประจาปี ๒๕๕๙และศึกษาปัญหา ข้อเสนอแนะในการจัดงานเพื่อไปพัฒนาปรับปรุงงานในปี ต่อไป นางสาวเพ็ญแข นาถโกษา และคณะติดตามและประเมินผล ๕ มีนาคม ๒๕๕๙


สารบัญ หน้า บทนา......................................................................................................................... .................................... บทที่ ๑ วิธีการติดตามและประเมิน............................................................................................................. บทที่ ๒ ผลการประเมิน............................................................................................................................... บทที่ ๓ สรุป อภิปรายและข้อเสนอแนะ.................................................................................................... บทสรุปสาหรับผู้บริหาร.................................................................................................................................. ภาคผนวก....................................................................................................................................................... รูปภาพ....................................................................................................................... .................................... แบบสอบถาม.................................................................................................................................................

หน้า ก ๑ ๓ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๒๔


1

บทที่ ๑ วิธีการติดตามและประเมิน การติดตามและประเมินผลการดาเนินงานบุญประเพณีของดีโคกศรีสุพรรณ ประจาปี ๒๕๕๙ เพื่อสารวจความพึงพอใจของประชาชนที่ร่วมกิจกรรมการแสดงต่าง ๆ จานวน ๒๐๐ คน รวบรวมข้อมูลโดย ใช้แบบสอบถาม เก็บโดยบังเอิญ (ไม่เจาะจง) ในวันที่ ๕ มีนาคม ๒๕๕๙ วิเคราะห์ข้อมูลหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ( X ) และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) มีขั้นตอนประเมิน ดังนี้ ๑. ประเด็นการประเมิน ๒. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ๓. เครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน ๔. การเก็บและรวบรวมข้อมูล ๕. การวิเคราะห์ข้อมูล ๑.ประเด็นการประเมิน โดยประเมินมิติความพึงพอใจของกลุ่มเป้าหมายในด้านต่างๆดังนี้ ๑.๑ ด้านการประชาสัมพันธ์ ได้แก่ การได้รับข่าวสารการประชาสัมพันธ์การจัดงาน ความ เหมาะสมของระยะเวลา ช่วงเวลาที่ใช้ในการจัดงาน เอกสาร/แผ่นพับประชาสัมพันธ์ ๑.๒ ด้านการจัดการ ได้แก่ ความเหมาะสมและความน่าสนใจของรูปแบบการจัดงานใน ภาพรวม ความน่าสนใจในกิจกรรมต่างๆที่จัดขึ้น ความเหมาะสมของการจัดสถานที่สาหรับกิจกรรมต่าง ๆ ความรู้และประโยชน์ที่ได้รับจากการเข้าร่วมงาน การจัดสิ่งอานวยความสะดวกด้านต่างๆในบริเวณงานให้แก่ ผู้เข้าร่วมงาน และ ระบบแสง สี เสียง ๑.๓ ด้านการประกวด การแข่งขันและการแสดงกิจกรรมต่างๆ ได้แก่ การประกวดขบวนแห่ การประกวดพานบายศรี การประกวดสู่ขวัญข้าว การประกวดร้องเพลง การประกวดส้มตาลีลา การประกวดสรภัญญะ การแข่งขันวอลเลย์บอล การแข่งขันเซปักตะกร้อ การประกวดรากลองยาว การแสดงดนตรีพื้นเมืองและฟ้อนรา การจัดนิทรรศการทางวิชาการ ๑.๔ ด้านการแสดงบนเวที ได้แก่ การจัดการแสดงตามลาดับขั้นตอน พิธีกรดาเนินรายการ ตามขั้นตอน ๑.๕ ด้านคณะกรรมการตัดสิน ได้แก่ มีความรู้ความสามารถเหมาะสม ตัดสินด้วย ความยุติธรรม ๑.๖ ประโยชน์ที่ได้รับ ได้แก่ ได้รับความรู้ความเข้าใจงานบุญประเพณีของดี โคกศรีสุพรรณ ประจาปี ๒๕๕๙ และควรมีการจัดกิจกรรมนี้ในครั้งต่อไป ๒. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ดาเนินการประเมินกลุ่มบุคคล ได้แก่ บุคคลที่มาร่วมงานบุญประเพณีของดีโคกศรีสุพรรณ ประจาปี ๒๕๕๙ จานวน ๒๐๐ คน


2 ๓. เครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน ใช้แบบสอบถามแบ่งออกเป็น ๓ ส่วน คือ ๓.๑ ส่วนที่ ๑ ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ได้แก่ เพศ อายุ ระดับการศึกษา และอาชีพหลัก ๓.๒ ส่วนที่ ๒ ความพึงพอใจต่อการดาเนินงานประเพณีมหกรรมของดี ๔ ตาบล อาเภอโคกศรีสุพรรณร่วมงาน ๓.๓ ส่วนที่ ๓ ข้อเสนอแนะและอื่นๆ ๔. การเก็บรวบรวมข้อมูล รวบรวมข้อมูลโดยแบบสอบถามและเก็บโดยบังเอิญ(ไม่เจาะจง)จากกลุ่มตัวอย่าง ในวันที่ ๕ มีนาคม ๒๕๕๙ จานวน ๒๐๐ คน ๕. การวิเคราะห์ข้อมูล ๕.๑ ข้อมูลทั่วไป ได้แก่ เพศ อายุ ระดับการศึกษา และอาชีพหลัก วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่า ร้อยละ ๕.๒ ความพึงพอใจต่อการดาเนินงาน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ( X )และค่า เบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) โดยกาหนดคะแนนดังนี้ มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สุด

ให้คะแนน ให้คะแนน ให้คะแนน ให้คะแนน ให้คะแนน

๕ ๔ ๓ ๒ ๑

นาข้อมูลที่ได้ทั้งหมดมาทาการวิเคราะห์แปลผลและเขียนรายงาน โดยหาค่าเฉลี่ยแล้วนาไปเทียบกับ เกณฑ์การแปลความหมายดังนี้ ค่าเฉลี่ย ๔.๕๑ – ๕.๐๐ แปลความหมายว่า มากที่สุด ค่าเฉลี่ย ๓.๕๑ – ๔.๕๐ แปลความหมายว่า มาก ค่าเฉลี่ย ๒.๕๑ – ๓.๕๐ แปลความหมายว่า ปานกลาง ค่าเฉลี่ย ๑.๕๑ – ๒.๕๐ แปลความหมายว่า น้อย ค่าเฉลี่ย ๑.๐๐ – ๑.๕๐ แปลความหมายว่า น้อยที่สุด


3

บทที่ ๒ ผลการประเมิน ผลการดาเนินงานการจัดงานบุญประเพณีของดีโคกศรีสุพรรณ ประจาปี ๒๕๕๙ เพื่อสารวจ ความพึงพอใจของผู้มาร่วมงาน จานวน ๒๐๐ คน รวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามเก็บโดยบังเอิญ (ไม่เจาะจง) ในวันที่ ๕ มีนาคม ๒๕๕๙ วิเคราะห์ข้อมูลหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ( X ) และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) โดยแบ่งผลการประเมินเป็น ๓ ส่วน ดังนี้ ๑.ข้อมูลทั่วไป ๒. ความพึงพอใจ ๓. ข้อเสนอแนะอื่นๆ ๑. ข้อมูลทั่วไป ตาราง ๑ จานวนร้อยละของกลุ่มตัวอย่าง จาแนกตามข้อมูลทั่วไป ข้อมูลทั่วไป

จานวน (คน)

ร้อยละ

๗๕ ๑๒๕

๓๗.๕๐ ๖๒.๕๐

ไม่เกิน ๒๐ ปี ๒๑ – ๓๐ ปี ๓๑ – ๔๐ ปี ๔๑ – ๕๐ ปี ๕๑ – ๖๐ ปี มากกว่า ๖๐ ปี

๒๘ ๔๓ ๔๒ ๕๓ ๓๐ ๔

๑๔.๐๐ ๒๑.๕๐ ๒๑.๐๐ ๒๖.๕๐ ๑๕.๐๐ ๒.๐๐

ประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น มัธยมศึกษาตอนปลาย อนุปริญญาหรือเทียบเท่า

๓๗ ๕๓ ๔๐ ๑๓

๑๔.๐๐ ๒๖.๕๐ ๒๐.๐๐ ๖.๕๐

เพศ ชาย หญิง อายุ

ระดับการศึกษา


4

ตาราง ๑. (ต่อ) ข้อมูลทั่วไป

จานวน (คน)

ร้อยละ

ปริญญาตรี สูงกว่าปริญญาตรี

๔๗ ๑๓

๒๓.๕๐ ๖.๕๐

เกษตรกรรม ค้าขาย พนักงานรัฐวิสาหกิจ ข้าราชการ นักเรียน/นักศึกษา

๖๒ ๓๕ ๒๙ ๓๗ ๓๗

๓๑.๐๐ ๑๗.๕๐ ๑๔.๕๐ ๑๘.๕๐ ๑๘.๕๐

ระดับการศึกษา อาชีพหลัก

จากตาราง ๑ พบว่า ข้อมูลทั่วไปของประชาชนที่ร่วมงานบุญประเพณีของดีโคกศรีสุพรรณ ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง ร้อยละ ๖๒.๕๐ มีอายุระหว่าง ๔๑ – ๕๐ รองลงมาอายุ ๒๑ – ๓๐ปี อายุ ๓๑ – ๔๐ ปีอายุ ๕๑ – ๖๐ ปี อายุไม่เกิน ๒๐ ปี และอายุ มากกว่า ๖๐ ปี ตามลาดับ มีระดับการศึกษามัธยมศึกษา ตอนต้นมากที่สุด ร้อยละ ๒๖.๕๐ รองลงมาระดับปริญญาตรี ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ระดับ ประถมศึกษา ระดับอนุปริญญา และระดับสูงกว่าปริญญาตรีเท่ากันตามลาดับ ผู้ร่วมงานส่วนใหญ่มีอาชีพเกษตรกรรม ร้อยละ ๓๑.๐๐ รองลงมาอาชีพข้าราชการ นักเรียน/นักศึกษาค่าเท่ากัน อาชีพค้าขาย และอาชีพพนักงาน รัฐวิสาหกิจ ๒. ความพึงพอใจการจัดงานบุญประเพณีของดีโคกศรีสุพรรณ ประจาปี ๒๕๕๙ ตาราง ๒ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจการจัดงานบุญประเพณีของดีโคกศรีสุพรรณ ประจาปี ๒๕๕๙ จาแนกรายข้อ ดังนี้ รายการ ด้านการประชาสัมพันธ์ ๑. มีการประชาสัมพันธ์การจัดงานบุญประเพณีของดี โคกศรีสุพรรณ ประจาปี ๒๕๕๙ ๒. ความเหมาะสมของระยะเวลา/ช่วงเวลาที่ใช้ในการจัดงาน ๓. มีเอกสาร/แผ่นพับ ประชาสัมพันธ์

๒.๙๙

S.D. .๖๓๐

ระดับคุณภาพ ปานกลาง

๒.๙๕ ๓.๐๑ ๓.๐๔

.๘๙๕ .๘๘๓ ๑.๐๗๐

ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง

X


5

ตาราง ๒ (ต่อ) รายการ

X

S.D. ระดับคุณภาพ .๖๙๑ มาก .๘๒๒ มาก .๘๕๐ มาก .๘๒๗ มาก .๗๗๘ มาก .๘๐๒ มาก .๙๔๐ มาก .๘๖๑ มาก .๖๖๙ มาก .๗๐๖ มาก .๘๐๘ มาก .๗๕๑ มาก .๘๔๗ มาก .๘๕๒ มาก .๘๔๗ มาก .๘๖๘ มาก .๘๔๙ มาก .๙๑๓ มาก .๗๗๗ มาก .๙๔๗ มาก .๗๖๔ มาก .๘๒๗ มาก .๘๑๑ มาก .๗๕๔ มาก .๘๑๔ มาก .๘๐๕ มาก .๗๐๖

ด้านการจัดการ ๔.๐๖ ๔. พิธีเปิด ๔.๐๕ ๕. ความเหมาะสมและความน่าสนใจรูปแบบการจัดงานในภาพรวม ๔.๐๘ ๖. ความน่าสนใจของกิจกรรมต่างๆที่จัดขึ้น ๔.๑๔ ๗. ความเหมาะสมของการจัดสถานที่สาหรับกิจกรรมต่างๆ ๔.๑๒ ๘. ความรู้และประโยชน์ที่ได้รับจากการเข้าร่วมงาน ๔.๐๒ ๙. การจัดสิ่งอานวยความสะดวกด้านต่างๆในบริเวณงานให้แก่ผู้มาร่วมงาน ๓.๙๘ ๑๐. ระบบแสง สี เสียง ๔.๐๙ ด้านการประกวด การแข่งขันและการแสดง กิจกรรมต่างๆ ๔.๐๗ ๑๑. การประกวดขบวนแห่ ๔.๓๕ ๑๒. การประกวดพานบายศรี ๔.๒๐ ๑๓. การประกวดสู่ขวัญข้าว ๔.๒๒ ๑๔. การประกวดร้องเพลงลูกทุ่ง ๔.๐๔ ๑๕. การประกวดส้มตาลีลา ๔.๐๖ ๑๖. การประกวดสรภัญญะ ๓.๙๘ ๑๗. การแข่งขันวอลเลย์บอล ๓.๘๖ ๑๘. การแข่งขันเซปักตะกร้อ ๓.๙๔ ๑๙. การประกวดรากลองยาว ๔.๐๘ ๒๐. การแสดงดนตรีพื้นเมืองและฟ้อนรา ๔.๒๐ ๒๑. การจัดนิทรรศการทางวิชาการ ๓.๘๙ ด้านการแสดงบนเวที ๓.๙๙ ๒๒. จัดการแสดงได้ตามลาดับขั้นตอน ๓.๙๙ ๒๓. พิธีกรดาเนินรายการตามขั้นตอน ๔.๐๐ ด้านคณะกรรมการตัดสิน ๓.๙๘ ๒๔. มีความรู้ความสามารถเหมาะสม ๔.๐๐ ๒๕. การตัดสินด้วยความบริสุทธิ์ยุติธรรม ๓.๙๘ ด้านประโยชน์ที่ได้รับ ๔.๑๗ ๒๖. ได้รับความรู้ความเข้าใจงานบุญประเพณีของดีโคกศรีสุพรรณ ประจาปี ๒๕๕๙ ๔.๑๓ .๗๙๘ มาก ๒๗. ควรมีการจัดกิจกรรมนี้ในครั้งต่อไป ๔.๒๑ .๗๗๔ มาก รวม ๓.๙๕ .๘๔๒ มาก จากตาราง ๒ พบว่า ความพึงพอใจเกี่ยวกับการจัดงานบุญประเพณีของดีโคกศรีสุพรรณ ประจาปี ๒๕๕๙ มากที่สุด คือ การประกวดสู่ขวัญข้าว ( X = ๔.๒๒) รองลงมา ควรมีการจัดกิจกรรมนี้ในครั้งต่อไป


6 ( X = ๔.๒๑) การประกวดพานบายศรี( X = ๔.๒๐) และ การแสดงดนตรีพื้นเมืองและฟ้อนรา( X = ๔.๒๐) ตามลาดับ

ตาราง ๓ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจการจัดงานบุญประเพณีของดีโคกศรีสุพรรณ ประจาปี ๒๕๕๙ จาแนกรายด้าน ดังนี้ รายการ การประชาสัมพันธ์การจัดงาน การจัดการ การการประกวด การแข่งขันและการแสดง กิจกรรมต่าง ๆ การแสดงบนเวที คณะกรรมการตัดสิน ประโยชน์ที่ได้รับ รวม

(X )

(S.D.)

ร้อยละ

๒.๙๙ ๔.๐๖

.๖๓๐ .๖๙๑

๗๖.๒๐ ๗๙.๙๔

๔.๐๗ ๓.๙๙ ๓.๙๘ ๔.๑๗ ๓.๙๒

.๖๙๙ .๗๖๔ .๗๕๔ .๗๐๖ .๗๐๘

๘๑.๔๑ ๗๘.๘๗ ๗๘.๘๐ ๘๓.๔๐ ๘๓.๓๓

ระดับคุณภาพ ปานกลาง มาก มาก มาก มาก มาก มาก

จากตาราง ๓ พบว่า ร้อยละของค่าเฉลี่ยความพึงพอใจในการจัดงานจัดงานบุญประเพณีของดี โคกศรีสุพรรณ ประจาปี ๒๕๕๙ มากที่สุด คือ ด้านประโยชน์ที่ได้รับร้อยละ ๘๓.๔๗ ( X = ๔.๑๗) รองลงมาด้านการประกวดการแข่งขันและการแสดงกิจกรรมต่างๆ ร้อยละ ๘๑.๔๑ ( X = ๔.๐๗ ) ด้านการจัดการ ร้อยละ ๗๙.๙๔ ( X = ๔.๐๖ ) ตามลาดับ ในขณะที่การประชาสัมพันธ์การจัดงาน มีความพึงพอใจร้อยละและค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด เมื่อพิจารณาโดยภาพรวมความพึงพอใจในการจัดงานบุญประเพณีของดีโคกศรีสุพรรณ ประจาปี ๒๕๕๘ อยู่ในระดับมาก มีร้อยละค่าเฉลี่ย ๘๓.๓๗ ๒.๓ ปัญหาและข้อเสนอแนะอื่นๆ ๒.๓.๑ การประชาสัมพันธ์ยังน้อย ไม่ทั่วถึง ๒.๓.๒ งบประมาณสนับสนุนน้อย ๒.๓.๓ การจัดขบวนแห่ไม่ต่อเนื่องกันและใช้เวลานานในการแสดงต่อหน้าคณะกรรมการ ๒.๓.๔ ควรมีผลิตภัณฑ์ เอกลักษณ์ที่แสดงให้เห็นถึงของดีโคกศรีสุพรรณ ๒.๓.๕ ส่วนราชการในอาเภอโคกศรีสุพรรณควรมีส่วนร่วมมากขึ้น ๒.๓.๖ กิจกรรมการแข่งขันต่าง ๆ ควรแยกระหว่างนักเรียนกับประชาชน


7

บทที่ ๓ สรุป อภิปรายและข้อเสนอแนะ การติดตามประเมินผลการจัดงานบุญประเพณีของดีโคกศรีสุพรรณ ประจาปี ๒๕๕๙ เพื่อสารวจความพึงพอใจของผู้มาร่วมงาน จานวน ๒๐๐ คน รวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามเก็บข้อมูล เก็บโดยบังเอิญ(แบบไม่เจาะจง) ในวันที่ ๕ มีนาคม ๒๕๕๙ วิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติเชิงพรรณนา หาค่าร้อย ละ ค่าเฉลี่ย ( X ) และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) สรุปผลข้อมูลและอภิปราย ๑.ข้อมูลทั่วไป พบว่า ผู้มาร่วมงานส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง ร้อยละ ๖๒.๕๐ และมีอายุอยู่ระหว่าง มีอายุระหว่าง ๔๑ – ๕๐ ปี มีระดับการศึกษามัธยมศึกษาตอนต้นมากที่สุด ร้อยละ ๒๖.๕๐ ซึ่งส่วนใหญ่ ประกอบอาชีพเกษตรกรรมร้อยละ ๓๑.๐๐ ๒. ความคิดเห็นต่อการดาเนินงานบุญประเพณีของดีโคกศรีสุพรรณ ประจาปี ๒๕๕๙ กลุ่มตัวอย่างทั้งหมด จานวน ๒๐๐ คน ได้แสดงความคิดเห็นไปในทางเดียวกันโดย ส่วนใหญ่มีความพึงพอใจโดยรวมในระดับมาก(ค่าเฉลี่ย ๓.๙๒) คิดเป็นร้อยละ ๘๓.๓๓ ต่อการจัดงานบุญ ประเพณีของดีโคกศรีสุพรรณ ประจาปี ๒๕๕๙ เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ด้านประโยชน์ที่ได้รับมีค่าเฉลี่ย มากที่สุด ( X = ๔.๑๗) รองลงมาด้านการประกวดการแข่งขันและการแสดงกิจกรรมต่างๆ มีค่าเฉลี่ย( X = ๔.๐๗ ) ด้านการจัดการมีค่าเฉลี่ย( X = ๔.๐๖ ) ด้านการแสดงบนเวที มีค่าเฉลี่ย ( X = ๓.๙๙ ) ด้านคณะกรรมการตัดสินมีค่าเฉลี่ย( X = ๓.๙๘ ) และการประชาสัมพันธ์การจัดงานมีค่าเฉลี่ย น้อยที่สุด ( X = ๒.๙๙ ) เมื่อพิจารณาโดยภาพรวมความพึงพอใจในการจัดงานบุญประเพณีของดีโคกศรี สุพรรณ ประจาปี ๒๕๕๙ อยู่ในระดับมาก มีร้อยละค่าเฉลี่ย ๘๓.๓๓ สาหรับข้อเสนอแนะโดยภาพรวมมีข้อเสนอแนะ ขาดการประชาสัมพันธ์มีการประชาสัมพันธ์น้อย และไม่ทั่วถึง ควรมีการประชาสัมพันธ์ให้มากขึ้น การจัดขบวนแห่ไม่ต่อเนื่องกันและใช้เวลานานใน การแสดงต่อหน้าคณะกรรมการ การจาหน่ายสินค้าควรมีผลิตภัณฑ์ เอกลักษณ์ที่แสดงให้เห็นถึงของดี โคกศรีสุพรรณ ให้มากขึ้น กิจกรรมการแข่งขันต่าง ๆ ควรแยกระหว่างนักเรียนกับประชาชน งบประมาณใน การสนับสนุนงานน้อย และส่วนราชการในอาเภอโคกศรีสุพรรณควรมีส่วนร่วมมากขึ้น


8

บทสรุปสาหรับผู้บริหาร อาเภอโคกศรีสุพรรณ โดยคณะกรรมการฝ่ายประเมินผล ได้ติดตามและประเมินผลการจัดงาน บุญประเพณีของดีโคกศรีสุพรรณ ประจาปี ๒๕๕๙ เพื่อสารวจความพึงพอใจของผู้มาร่วมงานจานวน ๒๐๐ คน รวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามเก็บโดยบังเอิญ (ไม่เจาะจง) ในวันที่ ๕ มีนาคม ๒๕๕๙ วิเคราะห์ข้อมูล หาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ( X ) และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ผลการสารวจครั้งนี้พบว่า ส่วนใหญ่กลุ่มตัวอย่าง เป็นเพศหญิงร้อยละ ๖๒.๕๐ อายุระหว่าง ๔๑ – ๕๐ ปี ร้อยละ ๒๖.๕๐ มีการศึกษาระดับมัธยมศึกษา ตอนต้นพบมากที่สุดร้อยละ ๒๖.๕๐ อาชีพส่วนใหญ่เกษตรกรรมร้อยละ ๓๑.๐๐ ความพึงพอใจทั้ง ๖ ด้าน ได้แก่ ด้านประโยชน์ที่ได้รับมีความพึงพอใจมากที่สุด รองลงมาคือ ด้านการจัดการและด้านการประกวด การแข่งขันและการแสดงกิจกรรมต่างๆ ด้านการจัดการ ด้านการแสดงบนเวที ด้านคณะกรรมการตัดสินตามลาดับ และด้านการประชาสัมพันธ์มีความพึงพอใจน้อย ที่สุด ผลการสารวจความคิดเห็นต่อการจัดงานครั้งนี้ สะท้อนถึงความสาเร็จของการจัดงานสมควร ที่จะมีการจัดอย่างต่อเนื่องต่อไป แต่ควรมีการประชาสัมพันธ์การจัดงานอย่างทั่วถึงระยะเวลาในการ ประชาสัมพันธ์ควรให้นานกว่าเดิมและควรใช้สื่อให้หลากหลาก เพราะทาให้บางกิจกรรมผู้ร่วมงานและผู้ชม มีน้อย ในด้านขบวนแห่ของแต่ละตาบลได้แสดงออกถึงประเพณีวัฒนธรรมควรดาเนินการต่อไป แต่ควร กาหนดเวลาในการแสดงหน้าประธานและกรรมการให้ชัดเจนเพราะแต่ละตาบล มีระยะเวลาการแสดงต่างกัน ทาให้ขบวนตาบลอื่น ๆ รอ ส่วนการแสดโชว์กิจกรรมของแต่ละตาบลควรแสดงในบริเวณจัดงานหลังจาก ขบวนแห่เดินทางถึงบริเวณจัดงานกิจกรรมให้ต่อเนื่องกัน การสื่อถึงของดีโคกศรีสุพรรณมีน้อยและควรเน้น ผลิตภัณฑ์ OTOP ของแต่ละชุมชนให้มากขึ้น สาหรับจุดเด่นของการจัดงาน คือ ขบวนแห่ของแต่ละตาบลที่มีการแสดงประเพณีไทย แบบฮีต ๑๒ ครอง ๑๔ ผสมผสานวัฒนธรรมการแต่งกาย การฟ้อนภูไทของทั้ง ๔ ตาบลที่สื่อถึงเอกลักษณ์ ของท้องถิ่นชาวโคกศรีสุพรรณ มีการจาลองบ้านที่แสดงถึงวิถีชีวิตของชาวไท ซึ่งเป็นการอนุรักษ์และสิ่งเสริม ศิลปวัฒนธรรมและประเพณีอันดีงามของท้องถิ่นได้เป็นอย่างดี สาหรับจุดด้อยของการจัดงาน คือ การประชาสัมพันธ์ไม่ทั่วถึง


9

ภาคผนวก


10

พิธีเปิดงาน


11

พิธีทาบุญตักบาตร บุญกองข้าว


12

การแสดงกลางแจ้ง


13

การแสดงบนเวที


14

การแข่งขันส้มตาลีลา


15

คณะกรรมการดาเนินงาน


16

การแข่งขันกีฬา


17

การแข่งขันท่องสรภัญญะ

คณะกรรมการตัดสินขบวนแห่


18

ขบวนแห่


19


20


21

บ้านจาลองแสดงวิถีชีวิตชาวโคกศรีสุพรรณ


22

ราวงการกุศล


23

การแสดงแสงสีเสียง


24

คณะผู้จัดทา ๑. นางสาวเพ็ญแข นาถโกษา ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านห้วยหีบวิทยาธาร ๒. นางสุนันท์ หลวงศรี ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านห้วยยาง ๓. นายเหมันต์ คล่องดี ๔. นางพิมลศรี จันทร์เมฆา ๕. นางสาวดารุณี พลราชม ๖. ส.อ.ชาตรี สุคนธชาติ ๗. นางภัทรนันท์ ขันทีท้าว ครูโรงเรียนบ้านห้วยหีบวิทยาธาร ๘. นางโสภา ฮ่มป่า ครูโรงเรียนบ้านห้วยหีบวิทยาธาร ๙. นางจิตรา ฮ่มป่า ครูโรงเรียนบ้านห้วยหีบวิทยาธาร ๑๐ นางสาวครองทรัพย์ อุตนาม ครูโรงเรียนบ้านห้วยหีบวิทยาธาร

ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ/เลขานุการ


25


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.