งานวิจัยหน่วยบริการการแพทย์ฉุกเฉิน

Page 1

1

บทที่ 1 บทนํา การพัฒนาระบบการใหบริการประชาชน : กรณีศึกษา หนวยบริการการแพทยฉุกเฉิน องคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร 1.1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหา จากบันทึกความรวมมือเพื่อสนับสนุนการดําเนินงานขององคกรปกครองสวนทองถิน่ ใน เรื่องการบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพ และสวัสดิการชุมชนในระดับทองถิ่นหรือพื้นที่ ระหวาง สํานักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาติ กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงการพัฒนาสังคม และความมั่นคงของมนุษย กระทรวงมหาดไทย สมาคมองคการบริหารสวนจังหวัดแหงประเทศ ไทย สมาคมสันนิบาตเทศบาลแหงประเทศไทย และสมาคมองคการบริหารสวนตําบลแหงประเทศ ไทย ตามบันทึกความรวมมือ ที่ 54 /2550 จัดทําขึ้น ณ กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น เมื่อวันที่ 19 เดือนมีนาคม พ.ศ. 2550 โดยมีเปาหมายและวัตถุประสงคที่สําคัญคือ สนับสนุนการ ดําเนินงานและการบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพและสวัสดิการชุมชน ในระดับทองถิ่น หรือพื้นที่ เพื่อใหองคกรปกครองสวนทองถิ่น เชน องคการบริหารสวนจังหวัด หรือเทศบาล หรือ องคการบริหารสวนตําบล สามารถจัดตั้งและกํากับดูแลการดําเนินงานและบริหารจัดการระบบ หลักประกันสุขภาพและสวัสดิการชุมชนในระดับทองถิ่นหรือพื้นที่ไดอยางมีประสิทธิภาพ โดย เนนเรื่องการบริการการแพทยฉุกเฉิน การสรางเสริมสุขภาพ การปองกันโรค การฟนฟูสมรรถภาพที่ จําเปนตอสุขภาพและการดํารงชีวิต ผูรับบริการสามารถเขาถึงบริการสาธารณสุขไดอยางทั่วถึง โดย การบริหารจัดการอยางมีสวนรวมของบุคคลในพื้นที่ โดยบันทึกความรวมมือทั้งเจ็ดฝายมีความเห็น รวมกันในการกําหนดบทบาทและภาระหนาที่ของทุกฝาย ดังตอไปนี้ 1. สํานักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาติ 1.1 สงเสริมกระบวนการการมีสวนรวมตามความพรอมความเหมาะสมและความ ตองการของประชาชนในทองถิ่นหรือพื้นที่ โดยสนับสนุนและกําหนดหลักเกณฑเพื่อใหองคกร สวนทองถิ่น เชน องคการบริหารสวนจังหวัด หรือเทศบาล หรือองคการบริหารสวนตําบล


2

เปนผูจัดตั้งระบบประกันสุขภาพในระดับทองถิ่นหรือพื้นที่ และระบบบริการการแพทยฉุกเฉิน รวมทั้งกํากับดูแลใหคณะกรรมการบริหารระบบหลักประกันสุขภาพ และระบบบริการการแพทย ฉุกเฉินสามารถดําเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับทองถิ่นหรือพื้นที่ และระบบบริการการแพทยฉุกเฉินใหเปนไปตามวัตถุประสงค 1.2 จัดสรรงบประมาณเพื่อสนับสนุนเปนคาใชจายเพือ่ การบริการสาธารณสุข ในการ ดําเนินงานและการบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับทองถิ่นหรือพื้นที่และระบบ บริการการแพทยฉุกเฉินตามภารกิจที่ตกลงตามกรอบที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแหงชาติ มอบหมาย 1.3 ดําเนินการเพื่อแกปญหาใหแกองคปกครองสวนทองถิ่น เชน องคการบริหารสวน จังหวัด หรือเทศบาล หรือองคการบริหารสวนตําบล อันเกิดจากการดําเนินการบริหารจัดการให ลุลวงไปไดดวยความรวดเร็ว ไมเปนอุปสรรคตอการดําเนินงานตามภารกิจที่ตกลงกัน 2. กระทรวงสาธารณสุข สงเสริมและจัดใหหนวยงานและหนวยบริการในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขใหความ รวมมือและใหความสนับสนุนชวยเหลือองคกรปกครองสวนทองถิ่น เชน องคการบริหารสวน จังหวัด หรือเทศบาล หรือองคการบริหารสวนตําบลใหสามารถดําเนินงานและบริหารจัดการระบบ หลักประกันสุขภาพในระดับทองถิ่นหรือพื้นที่และระบบบริการการแพทยฉุกเฉินไดอยางมี ประสิทธิภาพตามภารกิจ ที่ตกลงกัน 3. กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย สงเสริมและสนับสนุนใหหนวยงานและหนวยบริการในสังกัดกระทรวงการพัฒนา สังคมและความมั่นคงของมนุษย ใหความรวมมือและสนับสนุนองคกรปกครองสวนทองถิ่น ใหมี การพัฒนาศักยภาพในดานการพัฒนาระบบสวัสดิการชุมชนอยางตอเนื่อง และสามารถดูแลผู ยากลําบากในทองถิ่นไดอยางมีประสิทธิภาพ 4. กระทรวงมหาดไทย สงเสริมและสนับสนุนใหองคกรปกครองสวนทองถิ่น เชน องคการบริหาร สวนจังหวัด หรือเทศบาล หรือองคการบริหารสวนตําบล สามารถดําเนินงานและบริหารจัดการ ระบบหลักประกันสุขภาพในระดับทองถิ่นหรือพื้นที่ และระบบบริการการแพทยฉุกเฉินไดอยางมี ประสิทธิภาพไมเปนอุปสรรคตอการดําเนินงานตามภารกิจที่ตกลงกัน 5. สมาคมองคการบริหารสวนจังหวัดแหงประเทศไทย สมาคมสันนิบาตเทศบาลแหง


3

ประเทศไทยและสมาคมองคการบริหารสวนตําบลแหงประเทศไทย สงเสริมและสนับสนุนการ ดําเนินการเพื่อใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นสามารถดําเนินการบริหารจัดการระบบหลักประกัน สุขภาพและสวัสดิการชุมชนในระดับทองถิ่นหรือพื้นที่ไดอยางมีประสิทธิภาพ จาก MOU (บันทึกความรวมมือ 7 ฝาย) เพื่อสนับสนุนการดําเนินงานของ อปท. ในเรื่อง การบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพและสวัสดิการชุมชนในระดับทองถิ่นไดอยางมี ประสิทธิภาพ โดยเนนเรื่องการบริการการแพทยฉุกเฉิน ใหชุมชนสามารถเขาถึงบริการ สาธารณสุขไดอยางรวดเร็ว ปลอดภัย และทั่วถึง ตลอด 24 ชั่วโมง อบต.เหลาโพนคอ ไดจัดตั้งหนวยบริการการแพทยฉุกเฉิน FR เมื่อวันที่ 25 ธันวาคม 2549 ภายใตการบังคับบัญชาของผูอํานวยการศูนย อปพร. ตําบลเหลาโพนคอ โดยมีขั้นตอนการ ดําเนินงาน ดังนี้ 1. ใหบุคลากรองคการบริหารสวนตําบล เขารับการฝกอบรมอาสาสมัครกูชีพ กูภัย กับ สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดสกลนคร และสํานักงานปองกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด สกลนคร มีผูผานการฝกอบรมอาสาสมัครกูชีพ (FR) ครั้งแรก จํานวน 6 คน และอาสาสมัครกูภัย (OTOS) จํานวน 10 คน 2. จัดทําโครงการฝกอบรมอาสาสมัครกูชีพ เพิ่มเติมแกบุคคลในพื้นที่ รองรับการ ใหบริการที่ทั่วถึงและเพียงพอ โดยองคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ จัดการฝกอบรม อาสาสมัครกูชีพรวมกับองคการบริหารสวนตําบลแมดนาทม ในวันที่ 6 – 7 มิถุนายน 2550 และมี ผูผานการอบรมจํานวน 40 คน รวมปจจุบันมีอาสาสมัครกูชีพ จํานวน 46 คน 3. สนับสนุนงบประมาณในการจัดซื้อรถยนตกูชพี กูภัย ตลอดจนวัสดุ อุปกรณ เครื่องมือ เครื่องใชในหนวยบริการการแพทยฉุกเฉิน (FR) องคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ ดังนี้ รถยนตกูชีพกูภัย พรอมอุปกรณ , วิทยุสื่อสารติดตั้งประจํารถ 1 เครื่อง และวิทยุสื่อสารชนิดพกพา จํานวน 10 เครื่อง พรอมอุปกรณเวชภัณฑ งบประมาณ 570,000 บาท 4. จัดเวรอาสาสมัครกูชีพ กูภัย อปพร. ใหสามารถใหบริการไดตลอด 24 ชั่วโมง โดยมี ขั้นตอนการใหบริการดังนี้ 4..1 เมื่ออาสาสมัครไดรับแจงจากที่เกิดเหตุ จะออกเดินทางจากที่ตั้งหนวยไปยังที่เกิด เหตุ


4

4..2 เมื่อถึงที่เกิดเหตุ ใหการปฐมพยาบาลผูปวยหรือผูบาดเจ็บ แจงศูนยสงการ โรงพยาบาล สกลนคร และนําผูปวยหรือผูบาดเจ็บสงโรงพยาบาลโคกศรีสุพรรณ (โดยมาตรฐาน นั้นจะตองดําเนินการใหแลวเสร็จภายใน 8 นาที) 4.3 หลังการสงผูปวยหรือผูบาดเจ็บและกลับที่ตั้งหนวยแลว จะตองรายงานผลการให ความ ชวยเหลือตอศูนยสั่งการโรงพยาบาลสกลนคร 4..4 รวบรวมขอมูล สถิติ การใหบริการประจําเดือนเสนอผูบังคับบัญชาทราบ เมื่อองคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ ไดจัดตั้งหนวยบริการการแพทยฉุกเฉินขึ้น จึงเปนที่ชื่นชอบ พึงพอใจ ยอมรับ และใชบริการเปนอันมากเพราะการบริการอยางนี้ตรงใจ อบอุนใจ สรางความมั่นใจในความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน ตามทฤษฎีความตองการ พืน้ ฐานของมาสโลว ทําใหแตละองคกรปกครองสวนทองถิ่น เกิดการแขงขันใหบริการ เพราะ ประชาชนเกิดการเปรียบเทียบกันระหวาง องคกรปกครองสวนทองถิ่นดวยกันจึงทุมเทงบประมาณ ทรัพยากรเพื่อการนี้ ประกอบกับเขาทางของนักการเมืองทองถิ่น ที่จะสรางความนิยมชมชอบและ ความศรัทธาตอตนเองเพราะประชาชนหากไดรับบริการที่ดีจะเกิดบุญคุณตอกันอยางไมมีวันลืม ดัง จะเห็นไดวาทุกองคกรปกครองสวนทองถิ่น จะมีอาสาสมัครและรถยนตกูชีพกูภัยแทบทุกหนวยงาน แตจะมีบุคลากรมากนอยพียงใดที่รูวาการบริหารจัดการหนวยบริการการแพทยฉุกเฉินนี้ เปนภารกิจ ที่ไมมีระเบียบ กฎหมาย ของทองถิ่นรองรับไวเลย แมจะไดมีการทําบันทึกความรวมมือจาก 7 ฝายก็ตาม ไดแตอิงภารกิจหนาที่ปองกันและบรรเทาสาธารณภัย ซึ่งยังไมตรงประเด็นแมจะมี พรบ. กําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจ พ.ศ. 2542 ที่กําหนดภารกิจใหทอ งถิ่นตองดําเนินการ ไว 6 ดาน และภารกิจหนึ่งในหกดานนั้นคือ ดานงานสงเสริมคุณภาพชีวิต แตก็เปนเพียงกรอบ กวาง ๆ ไมมีการชี้ชัดเกี่ยวกับการบริหารจัดการการแพทยฉุกเฉิน นี้เลย จากการดําเนินการ คณะผูศ ึกษาไดพบวามีความยุงยากและมีปญหา/อุปสรรค เชน 1. ระเบียบ กฎหมาย แนวทางดําเนินการ หรือหนังสือสั่งการเกี่ยวกับการบริหารจัดการ ดานเงินงบประมาณ คาใชจายตาง ๆ ของอาสาสมัครหรือหนวยบริการการแพทยฉุกเฉินยังไมมี ความชัดเจน 2. ยังไมมีบุคลากร เจาหนาที่ หรือสวนราชการ ที่รับผิดชอบในงานสาธารณสุขโดยตรง 3. สัญญาณวิทยุและสัญญาณโทรศัพท ไมครอบคลุมทุกหมูบาน 4. ประชาชนบางสวนยังไมเขาใจในขอบเขตการใหบริการของหนวยบริการการแพทย ฉุกเฉินระดับตน เชน การวินิจฉัยความเจ็บปวยฉุกเฉินของเจาหนาที่สาธารณสุข/อาสาสมัครกูชีพ


5

กับ ความเจ็บปวยฉุกเฉินของญาติผูปวยไมตรงกัน เพราะผูเจ็บปวยบางรายจําเปนตองรอใหหนวย แพทยฉุกเฉินของโรงพยาบาลมารับยังที่เกิดเหตุเพื่อความปลอดภัย แตญาติมักจะเรงรัดใหรีบนําสง หรือบางคนอยากจะใหไปสงถึงโรงพยาบาลทั่วไป ดังนั้น ผูศ ึกษาจึงมีความสนใจที่จะศึกษาแนวทางการพัฒนาระบบการใหบริการ ประชาชน กรณีศึกษาหนวยบริการการแพทยฉุกเฉิน ขององคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ที่จะสงผลดีตอการดําเนินงานของหนวยบริการการแพทย ฉุกเฉินไดอยางแทจริง

1.2 วัตถุประสงคของการศึกษา 1. เพื่อนําผลการศึกษาไปสูการปรับปรุงการปฏิบัติงานและการใหบริการของหนวย บริการการแพทยฉุกเฉิน องคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัด สกลนคร 2. เพื่อศึกษาระดับการยอมรับของประชาชนที่มีตอการใชบริการของหนวยบริการ การแพทยฉุกเฉิน องคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร

1.3 ขอบเขตการศึกษา 1.3.1.ขอบเขตเนื้อหา 1. ศึกษาการใหบริการของหนวยบริการการแพทยฉุกเฉิน องคการบริหารสวนตําบล เหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร 2. ศึกษาระดับการยอมรับ หรือไมยอมรับของประชาชนที่มีตอการใชบริการของ หนวยบริการการแพทยฉุกเฉิน องคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร 1.3.2 ประชากรและกลุมตัวอยาง ประชากรที่ใชเปนกลุมตัวอยางในการศึกษาคนควาครั้งนี้คือ ประชาชนที่อยูในเขต ตําบลเหลาโพนคอ จํานวน 11 หมูบาน จํานวน 5,809 คน โดยวิธีการสุมตัวอยางแบบงาย จึง เลือกกลุมตัวอยางประชาชนที่ใชบริการหนวยการแพทยฉุกเฉิน


6

1.3.3 ขอบเขตพื้นที่ ในการศึกษาครั้งนี้ ไดศึกษาเฉพาะหนวยบริการการแพทยฉุกเฉิน ขององคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร 1.3.4 ระยะเวลาในการเก็บขอมูล ในการศึกษาครั้งนี้ไดทําการสัมภาษณพูดคุย และให อธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับแบบสอบถามแกผูตอบแบบสอบถามจากกลุมตัวอยางในหวง เดือนกรกฎาคม – เดือนกันยายน 2551 เปนเวลา 3 เดือน 1.3.5 ตัวแปรที่ศึกษา ตัวแปรตน ไดแก เพศ อายุ ระดับการศึกษา ตัวแปรตาม ไดแก การใหบริการของหนวยบริการการแพทยฉุกเฉิน และการยอมรับ หรือไมยอมรับของประชาชนที่มีตอการใชบริการของหนวยบริการการแพทยฉุกเฉิน

1.4 นิยามศัพทเฉพาะ อบต. หมายถึง องคการบริหารสวนตําบลที่จะทําการวิจัยไดแก องคการบริหารสวน ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร การพัฒนา หมายถึง การเปลี่ยนแปลงของสิ่งหนึ่งสิ่งใดทั้งในดานคุณภาพ และปริมาณโดย การเปลี่ยนแปลงดังกลาว เปนการเปลี่ยนแปลงในลักษณะดีขึ้น เจริญเติบโตขึ้น เพิ่มขึ้น มี ความกาวหนามากยิ่งขึ้น มีคุณภาพดีขึ้น ดวยการบริหารจัดการของมนุษยอยางมีประสิทธิภาพ ระบบการใหบริการประชาชน หมายถึง ระบบบริการภายนอกองคการบริหารสวนตําบลที่ ทําการวิจัย ซึ่งประกอบดวย บุคลากร เครื่องมือวัสดุ อุปกรณ ยานพาหนะ ระบบแจงเหตุ ระบบการ ประสานงาน สถานพยาบาล ระบบสงตอ หนวยบริการการแพทยฉุกเฉิน (FR) หมายถึง หนวยการใหบริการรักษาพยาบาลผูปวย ฉุกเฉิน ณ จุดเกิดเหตุ องคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัด สกลนคร หลักประกันสุขภาพ หมายถึง สิทธิและความคุมครองของประชาชนในการรับบริการทาง การแพทย การสาธารณสุข และการอนามัย อันจําเปนตอสุขภาพและการดํารงชีวิต สวัสดิการชุมชน หมายถึง การสรางหลักประกันเพื่อความมั่นใจของชุมชน ซึ่งหมายถึงทุก สิ่งทุกอยางที่จะทําใหคนในชุมชนมีความเปนอยูที่ดีขึ้น อาจจะอยูในรูปของสิ่งของ เงินทอง น้ําใจ การชวยเหลือเกื้อกูล


7

ศูนย อปพร. หมายถึง ศูนยอํานวยการอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน องคการบริหาร สวนตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร อาสาสมัครกูชีพ (FR) หมายถึง อาสาสมัครกูชีพหนวยบริการการแพทยฉุกเฉิน องคการ บริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร อาสาสมัครกูภัย (OTOS) หมายถึง อาสาสมัครกูภัยหนวยบริการการแพทยฉุกเฉิน องคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร นักการเมืองทองถิ่น หมายถึง ผูบริหารองคกรปกครองสวนทองถิ่น ไดแก นายกองคการ บริหารสวนจังหวัด นายกองคการบริหารสวนตําบลและนายกเทศมนตรี รวมถึงสมาชิกสภาทองถิ่น ดวย การบริหารจัดการ หมายถึง กระบวนการมุงสูเปาหมายขององคการจากการทํางานรวมกัน โดยใชบุคคลและทรัพยากรอื่น ๆ หรือ เปนกระบวนการออกแบบและรักษาสภาพแวดลอมที่บุคคล ทํางานรวมกันในกลุมใหบรรลุเปาหมายที่กําหนดไวอยางมีประสิทธิภาพ

1.5 วิธีการศึกษา 1.5.1 ประชากรและกลุมตัวอยาง ประชากร ในการศึกษาคนควาครั้งนี้คือ ประชาชนที่อยูในเขตตําบลเหลาโพนคอ จํานวน 11 หมูบานโดยวิธีการสุมตัวอยางแบบงาย จึงเลือกกลุมตัวอยางประชาชนที่ใชบริการของหนวยบริการ การแพทยฉุกเฉิน จํานวน 11 หมูบาน ประกอบดวย 1. ประชากรบานโพนคอ 2. ประชากรบานโพนไฮ 3. ประชากรบานดง 4. ประชากรบานหนองเหียน 5. ประชากรบานเหลา 6. ประชากรบานหวยยาง 7. ประชากรบานเหลาเหนือ 8. ประชากรบานดงนอย 9. ประชากรบานหวยยางเหนือ


8

10. ประชากรบานโพนสูง 11. ประชากรบานนอยหนองไผสวน กลุมตัวอยาง กลุมตัวอยางที่ใชในการสํารวจครั้งนี้ ไดแก ประชากรในแตละหมูบาน ทั้งหมด 11 หมูบาน หมูบานละ 9 ฉบับ / เรื่อง รวมกลุมตัวอยางทั้งสิ้น 99 คน โดยการสุมตัวอยาง แบบงาย (Simple Random Sampling) ดังตารางที่ 1 ตารางที่ 1 ที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11

หมูบาน บานโพนคอ บานโพนไฮ บานดง บานหนองเหียน บานเหลา บานหวยยาง บานเหลาเหนือ บานดงนอย บานหวยยางเหนือ บานโพนสูง บานนอยหนองไผสวน

จํานวนหมู

งานบริการหนวย แพทยฉุกเฉิน

1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1

9 9 9 9 9 9 9 9 9 9 9

1.5.2 การเก็บรวบรวมขอมูล การรวบรวมขอมูลใชเวลาประมาณ 3 เดือน กรกฏาคม- กันยายน 2551 โดยดําเนินการเก็บ รวบรวมขอมูลตามขั้นตอนดังนี้ 1. ศึกษาวิจัยที่เกีย่ วของจากพระราชบัญญัติฯ และเอกสารการบริการหนวยแพทยฉุกเฉิน ภายในองคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ 2. ผูวิจัยนําแบบสอบถามไปแจกประชาชนในเขตตําบลเหลาโพนคอ จํานวน 11 หมูบาน ๆ ละ 9 ฉบับ และเก็บรวบรวมแบบสอบถามคืนภายในวันเดียวกัน


9

1.5.3 เครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูล เครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูลเปนแบบสอบถามเกี่ยวกับการใหบริการของหนวย แพทยฉุกเฉิน และการวัดระดับสภาพการยอมรับของประชาชน ขององคการบริหารสวนตําบล เหลาโพนคอ ซึ่งประกอบไปดวย 3 ตอน ตอนที่ 1 เปนแบบสํารวจรายการเกี่ยวกับสถานภาพของผูตอบแบบสอบถาม ตอนที่ 2 เปนแบบสอบถามเกี่ยวกับระดับสภาพการยอมรับของประชาชน ตอนที่ 3 เปนแบบสอบถามเกี่ยวกับการเสนอแนะขอคิดเห็น และปญหาอุปสรรค ขอขัดของในการปฏิบัติงาน ลักษณะของแบบสอบถามเปนแบบมาตราสวนประมาณคา แบงออกเปน 5 ระดับ คือ ระดับที่ 1 มีสภาพการยอมรับในการใหบริการของประชาชนนอยที่สุด ระดับที่ 2 มีสภาพการยอมรับในการใหบริการของประชาชนนอย ระดับที่ 3 มีสภาพการยอมรับในการใหบริการของประชาชนปานกลาง ระดับที่ 4 มีสภาพการยอมรับในการใหบริการของประชาชนมาก ระดับที่ 5 มีสภาพการยอมรับในการใหบริการของประชาชนมากที่สุด 1.5.3.1 ขั้นตอนในการสรางเครื่องมือ เครื่องมือที่ใชในการรวบรวมขอมูล เปนแบบสอบถามเกี่ยวกับการใหบริการของหนวย บริการการแพทยฉุกเฉิน และการยอมรับของประชาชนในเขตตําบลเหลาโพนคอ ที่มีตอ การใช บริการของหนวยบริการการแพทยฉุกเฉิน ที่ผูวิจัยสรางขึ้นเองโดยไดดําเนินตามขั้นตอนดังนี้ 1. ศึกษาเอกสาร และสภาพทั่วไป ของหนวยบริการการแพทยฉุกเฉินองคการบริหารสวน ตําบลเหลาโพนคอ 2. ศึกษาทฤษฎีที่เกี่ยวของกับการพัฒนาระบบการใหบริการ ของการใหบริการ ตัวแปรที่ ตองการวิจัยจากเอกสารงานวิจัยรวมทั้งแหลงขอมูลอื่น ๆ 3. นําขอมูลที่ไดจากการศึกษา มาสรางคํานิยามเชิงปฏิบัติการ เพื่อรางขอคําถามของ แบบสอบถามโดยใหครอบคลุมตามกรอบงานที่ใหบริการประชาชน ทีต่ องการศึกษา 1.5.4 การวิเคราะหขอมูล หลังจากที่ไดรับแบบสอบถามกลับคืนมาแลว ผูวิจัยดําเนินการตามขั้นตอนดังตอไปนี้ 1. ตรวจสอบความสมบูรณของแบบสอบถามทุกฉบับและเลือกเลือกฉบับที่สมบูรณเทานั้น ปรากฏวาเปนฉบับสมบูรณ 99 ฉบับ คิดเปนรอยละ 100 2. นําคะแนนที่ไดไปดําเนินการวิเคราะห


10

3. วิเคราะหระดับการยอมรับในการใหบริการของหนวยแพทยฉุกเฉินองคการบริหารสวน ตําบลเหลาโพนคอ โดยใชคาเฉลี่ย (บุญชม ศรีสะอาด.2535:๑๐๐) คาเฉลี่ย 4.51- 5.00 หมายถึง ระดับการยอมรับในการใหบริการของประชาชนมากที่สุด คาเฉลี่ย 3.51- 4.50 หมายถึง ระดับการยอมรับในการใหบริการของประชาชนมาก คาเฉลี่ย 2.51- 3.50 หมายถึง ระดับการยอมรับในการใหบริการของประชาชนปานกลาง คาเฉลี่ย 1.50 - 2.50 หมายถึง ระดับการยอมรับในการใหบริการของประชาชนนอย คาเฉลี่ย 1.00 - 1.50 หมายถึง ระดับการยอมรับในการใหบริการของประชาชนนอยที่สุด 1.5.5 สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล ไดแก ความถี่ (Frequency) , คารอยละ (Percentage) , คาเฉลี่ย (  ) , สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) 1.5.6 การนําเสนอขอมูล นําเสนอขอมูล โดยอธิบายขอมูลที่ไดจากการสอบถามในเชิงพรรณนา

1.6 ผลที่คาดวาจะไดรับจากการศึกษาคนควา 1. ผลของการศึกษาขอเท็จจริงเกี่ยวกับระดับการยอมรับของผูรับบริการที่มีตอการใช บริการของหนวยแพทยฉุกเฉิน จะบงชี้ถึงความสามารถของการบริหารจัดการหนวยแพทยฉุกเฉิน องคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอในการสนองตอบตอปญหา และความตองการของประชาชน เพื่อเปนการประเมินผลการปฎิบัติงานของหนวยบริการการแพทยฉุกเฉิน 2. ผลของการทราบขอเท็จจริงของเหตุปจจัยที่เกี่ยวกับระดับการยอมรับจะนําไปสู แนวทางในการปรับปรุง ระบบ กระบวนการ และพฤติกรรมของบุคคลผูใหบริการไดตรงจุด เพื่อ ปรับปรุงหนวยบริการการแพทยฉุกเฉินใหมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากยิ่งขึ้น 3. เปนขอมูลเบื้องตนและขอมูลสารสนเทศ ในการศึกษาเกี่ยวกับระบบบริการการแพทย ฉุกเฉิน ขององคการบริหารสวนตําบล อันจะเปนประโยชนสําหรับผูสนใจที่จะศึกษา คนควา เพิ่มเติมในโอกาสตอไป


11

บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีและผลงานศึกษาวิจัยที่เกี่ยวของ เอกสารและรายงานการวิจัยที่เกี่ยวกับการพัฒนาระบบการใหบริการประชาชน ของ หนวยบริการการแพทยฉุกเฉินองคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัด สกลนคร ผูวิจัยมุงศึกษาการยอมรับของประชาชนที่มารับบริการงานหนวยแพทยฉุกเฉิน ผูวิจัยได ศึกษาตํารา เอกสารแนวคิด ทฤษฎี ตามลําดับหัวขอดังตอไปนี้ แนวคิด ทฤษฎีที่เกี่ยวของกับประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน แนวคิด ทฤษฎีทเี่ กี่ยวของกับความพึงพอใจของผูปฏิบัติงาน แนวคิด ทฤษฎีทเี่ กี่ยวของกับการใหบริการ แนวคิด ทฤษฎีที่เกี่ยวของกับการทํางานเปนทีม งานวิจัยที่เกี่ยวของ

1. แนวคิด ทฤษฎีที่เกี่ยวของกับประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน ในเรื่องการศึกษาที่เกี่ยวของกับประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานนั้น ไดมีนักวิชาการและ ผูทรงคุณวุฒิหลายทานไดใหความหมายของคําวา “ประสิทธิภาพ” ไวดังนี้ วรูม และเดชี (Vroom and Deci 1997, 10) ไดทําการศึกษาพบวา ในการปฏิบัติงานของ บุคคลที่จะกอใหเกิดผลดีมีประสิทธิภาพจะตองประกอบดวยองคประกอบ 2 ดาน คือ ความ ชํานาญ ความสามารถ ของผูปฏิบัติงาน และการจูงใจในการปฏิบัติงานที่จะนําไปสูการใช ความสามารถอยางเต็มที่ การปฏิบัติงานที่มีประสิทธิภาพนั้น จึงมีความจําเปนที่จะตองคํานึงถึง ความพึงพอใจและแรงจูงใจในการปฏิบัติงานใหเกิดขึ้นกับบุคคลเสียกอน ไซมอน (Simon 1960. 180-180) ไดทําการศึกษาพบวางานใดมีประสิทธิภาพสูงสุดนั้น ใหดูความสัมพันธระหวางปจจัยนําเขา (input) กับการผลิต (output) ที่ไดรับออกมา ซึ่งอาจกลาว ไดวาประสิทธิภาพจะเทากับการผลิต ลบดวยการนําเขา และถาเปนการบริหารราชการก็บวกดวย ความพึงพอใจของประชาชนที่รับบริการ สามารถเขียนสมการสูตรทางคณิตศาสตร ไดคือ


12

E = ( O –I ) + S E = EFFICIENCY O = OUTPUT I = INPUT S = SATISFACTION

คือ คือ คือ คือ

ประสิทธิภาพการทํางาน ผลที่ไดรับออกมา ปจจัยนําเขาหรือทรัพยากรการบริหารทั้งหลายที่ใชไป ความพึงพอใจในผลงานที่ออกมา

มิลเลท (Millet 1954, 4) ไดนิยามคําวา “ประสิทธิภาพ” หมายถึง ผลการปฏิบัติงานที่ กอใหเกิดความพึงพอใจแกมนุษย และไดรับผลกําไรจากการปฏิบัติงานนั้นดวย และความพึงพอใจ นั้น หมายถึง ความพึงพอใจในการบริการ (Satisfactory Service) ซึ่งพิจารณาจาก (1) การใหบริการอยางเทาเทียมกัน (Equitable Service) (2) การใหบริการอยางรวดเร็วทันเวลา (Timely Service) (3) การใหบริการอยางเพียงพอ (Ample Service) (4) การใหบริการอยางตอเนื่อง (Continuous Service) (5) การใหบริการอยางกาวหนา (Progressive Service) ไรอัน และสมิท (Ryan and Smith 1954, 276) ไดกลาวไววาประสิทธิภาพของบุคคล (Human Efficiency) เปนความสัมพันธระหวางผลลัพทในแงบวกและสิ่งที่ทุมเทใหกับงาน ประสิทธิภาพในการทํางานนั้น จะมองจากแงมุมในการทํางานของแตละบุคคล โดยพิจารณาจาก การเปรียบเทียบกับสิ่งที่ทําใหกับงาน เชน ความพยายาม กําลังงาน กับผลลัพทที่ไดจากงานนั้น ทิพาพร พิมพิสุทธิ์ (2531, 155) ไดกลาววา ประสิทธิภาพ คือ การคํานึงถึงอัตราสวน (Ratio) ของการลงทุนของโครงการในรูปของตนทุน (Cost) และใหกําไร (Benefit) ที่ไดรับหาก ผลออกมาวา กําไรมากกวาตนทุน ก็หมายความวามีประสิทธิภาพ ชุบ กาญจนประกร (2550, 40) ไดนิยามไววา “ประสิทธิภาพ” หมายถึง แนวความคิด หรือความมุงมาดปรารถนาในการบริหารงานในระบอบประชาธิปไตย ในอันที่จะทําใหการบริหาร ราชการไดผลสูงสุดคุมกับการที่ไดจายเงินภาษีอากรไปในการบริหารประเทศ และจะกอใหเกิด ความพึงพอใจแกประชาชน


13

กระมล ทองธรรมชาติ (2528, 69-72) ไดกลาวถึง ปญหาในเรื่องประสิทธิภาพของระบบ ราชการไทย มีดังนี้ 1) ความไมมีประสิทธิภาพ ไดแก การปฏิบัติงานที่ไมมีประสิทธิภาพ ใชทรัพยากรในการ ปฏิบัติงานมาก แตไดผลนอย และงานไมมีคุณภาพ 2) การดําเนินงานลาชา มีขั้นตอนมาก เพื่อการตรวจสอบ และปองกันการทุจริต 3) คุณภาพการบริการไมดี เพราะระบบราชการเปนระบบอํานาจนิยม ไมสนใจที่จะ ใหบริการแมมีหนาที่ตองใหบริการ แตในทางปฏิบัติไมสามารถใหบริการที่ดีได 4) สายการบังคับบัญชายาว เนื่องจากระบบราชการเปนระบบการรวมอํานาจขั้นตอนจาก การปฏิบัติงานถึงหนวยนโยบายยาวมาก 5) เทคโนโลยีเนนการใชแรงงานคนมาก ไมมีการนําเอาเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช จึงเกิด ปญหางานลาชาไมมีประสิทธิภาพ ชาญชัย อาจินสมาจาร (2526, 62) ไดกลาวถึง ปจจัยที่มีผลตอประสิทธิภาพการ บริหารงานก็คือ “บุคลากร” ที่เปรียบเสมือนเสาค้ําตึกขององคการและสินทรัพยที่มีคาที่สุดขององคการก็คือ “ทรัพยากรมนุษย” การพัฒนาคนจึงเปนหนึ่งในการปรับปรุงการทํางาน และเปนสวนสําคัญของ กระบวนการทั้งหมดที่จะชวยใหองคการไดมีการบริหารงานอยางมีประสิทธิภาพมากขึ้น จากคําจํากัดความวา “ประสิทธิภาพ” ดังกลาวขางตน อาจสรุปไดวาประสิทธิภาพในการ ปฏิบัติงาน หมายถึง การปฏิบัติงานที่ไดผลดี มีความรวดเร็ว มีความคลองแคลว มีคุณภาพ และ สามารถปฏิบัติงานไดเปนผลสําเร็จตามวัตถุประสงคที่ตั้งไว โดยใชทรัพยากรอยางประหยัด คุม ทุน ผูปฏิบัติงาน และผูรับบริการมีความพึงพอใจ

2. แนวคิด และทฤษฎีที่เกี่ยวของกับความพึงพอใจของผูปฏิบัติงาน ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานเปนปจจัยประการหนึ่ง ที่มีผลตอการปฏิบัติงานของบุคคล ในองคการ งานจะสําเร็จหรือไมขึ้นอยูกับองคประกอบหลายประการ ในสวนที่เกี่ยวกับความพึง พอใจในการปฏิบัติงานไดมีนักวิชาการและผูทรงคุณวุฒิหลายทานไดใหความหมายของคําวา ความ พึงพอใจในการปฏิบัติงาน ไวดังนี้


14

สมิท (Smith 1955, 115) ไดใหคํานิยามไววา ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานเปนผลทาง จิตวิทยา สรีระวิทยาและสิ่งแวดลอม ซึ่งจะทําใหผูปฏิบัติงานในหนวยงานนั้นมีความพึงพอใจใน การปฏิบัติงาน วรูม (Vroom 1964, 99) ไดใหคํานิยามไววา ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานเปนผลทาง จิตวิทยา กับทัศนคติในการปฏิบัติงาน มีความหมายที่คลายคลึงกัน เพราะวาความพึงพอใจหรือ ความไมพึงพอใจในการปฏิบัติงาน มีความหมายคลายคลึงเหมือนกับทัศนคติที่ดีและไมดีในการ ปฏิบัติงาน โวลแมน (Wolman 1973, 384) ไดนิยามไววา ความพึงพอใจ คือ ความรูสึก (Feeling) มีความสุขเมื่อไดรับผลสําเร็จตามความมุงหมาย ความตองการ หรือแรงจูงใจ กูด (Good 1973, 320) ไดใหนิยามไววา ความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน หมายถึง คุณภาพ สภาพ หรือ ระดับความพึงพอใจ ซึ่งเปนผลจากความสนใจ และทัศนของบุคคลที่มีตอ การปฏิบัติงาน โยเดอร (Yoder et.al 1968, 365) ไดนิยามไววา ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานและ ความเต็มใจที่จะปฏิบัติงานใหสําเร็จตามวัตถุประสงคขององคการ คนจะมีความพึงพอใจในงานที่ ทําเมื่องานนั้นไดผลประโยชนตอบแทน ทั้งดานวัตถุและจิตใจตลอดจนสามารถตอบสนองความ ตองการขั้นพื้นฐานของตนเองดวย บลัม และ ไนยเลอร (Blum and Nayer 1968, 365) ไดใหคํานิยามไววา ความพึงพอใจ ในการปฏิบัติงานเปนผลจากงานและปจจัยตาง ๆ เชน คาจาง การยอมรับในความสามารถ ความ เหมาะสมของปริมาณงาน และความรวมมือระหวางผูรวมงาน ความยุติธรรมของผูบังคับบัญชา ทัศนคติตองานและความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน มิใชคาทีท่ ดแทนกันได ทัศนคติเปนความ พรอมที่กระทําอยางใดอยางหนึ่ง ซึ่งแสดงใหเห็นความพึงพอใจ ปรียาพร วงศอนุโรจน (2535, 143) ไดกลาวไววา ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานเปน ความรูสึกรวมของบุคคลที่มีตอการปฏิบัติงานในทางบวก เปนความสุขของบุคคลที่เกิดจากการ


15

ปฏิบัติงานและไดรับผลตอบแทน เปนผลตอบแทน เปนผลที่ทําใหบุคคลเกิดความรูสึก กระตือรือรน มีความมุงมั่นที่จะปฏิบัติงาน มีขวัญและกําลังใจในการปฏิบัติงานดี ซึ่งจะมีผลตอ ประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน อีกทั้งจะสงผลสําเร็จและเปนไปตามเปาหมายขององคการ วิชัย โถสุวรรณจินดา (2535, 111) ไดกลาวไววา ความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน หมายถึง ภาวการณมีอารมณในทางบวกที่เกิดขึ้นจากการประเมินประสบการณงานของบุคคล ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานจะสงผลถึงขวัญและกําลังใจของบุคคลอันเปนผลผลักดันตอการ ปฏิบัติงานในอนาคต จากความหมายของความพึงพอใจในการปฏิบัติงานดังกลาวมาแลวขางตนสามารถสรุปได วา ความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน หมายถึง ความรูสึกนึกคิด ทัศนคติที่ดีของบุคคลที่ทําเกี่ยวกับ ปจจัยตาง ๆ ในการปฏิบัติงาน เชน สภาพแวดลอมในการปฏิบัติงาน รายได คาจาง การ ตรวจสอบ การบังคับบัญชา ความกาวหนาในการปฏิบัติงาน ความมั่นคง การไดรับการยกยองนับ ถือ ความเหมาะสมในปริมาณงาน ความสัมพันธกับเพื่อนรวมงาน เปนตน เมื่อความรูสึกที่เกิดขึ้น ของบุคลากรไดรับการตอบสนองความตองการทั้งรางกายและจิตใจ จะทําใหบุคลากรเกิดความพึง พอใจในการปฏิบัติงานจนบรรลุวัตถุประสงคขององคการ มีประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน

3. แนวคิด และทฤษฎีที่เกี่ยวของกับการใหบริการ การใหบริการที่จะนําเสนอในการศึกษานี้ ประกอบดวย การใหบริการสาธารณะและการ ใหบริการดานทะเบียน ดังรายละเอียดตอไปนี้ 1. การใหบริการสาธารณะ ปฐม มณีโรจน (อางใน พิทักษ ตรุษทิม, 2538 : 30) ไดให ความหมายของการใหบริการสาธารณะวา เปนการบริการในฐานะที่เปนหนาที่ของหนวยงานที่มี อํานาจกระทํา เพื่อตอบสนองตอความตองการเพื่อใหเกิดความพอใจ จากความหมายนี้จึงเปนการ พิจารณา การใหบริการวาประกอบดวย ผูใหบริการ (Providers) และผูรับบริการ(Recipients) โดย ฝายแรกถือปฏิบัติเปนหนาที่ที่ตองใหบริการเพื่อใหฝายหลังเกิดความพึงพอใจ เทพศักดิ์ บุญรัตพันธ (2536 อางใน พักษ ตรุษทิม, 2538 : 32) กลาววา การใหบริการ สาธารณะ คือการที่บุคคลกลุมบุคคล หรือ หนวยงานที่มีอํานาจหนาที่ที่เกี่ยวของกับการใหบริการ


16

สาธารณะ ซึ่งอาจจะเปนของรัฐหรือเอกชนมีหนาที่ในการสงตอการใหบริหารสาธารณะแก ประชาชน โดยมีจุดมุงหมาย เพื่อสนองตอความตองการของประชาชนโดยสวนรวม ชูวงศ ฉายะบุตร (2536 : 11 – 14) ไดเสนอหลักการใหบริการในการพัฒนาการ ใหบริการในเชิงรุกวา จะตองเปนตามหลักการ 1. ยึดการตอบสนองความตองการจําเปนของประชาชนเปนเปาหมาย การบริการของ รับในเชิงรับจะเนนการใหบริการตามระเบียบแบบแผน และมีลักษณะที่เปนอุปสรรคตอการ ใหบริการดังนี้คือ 1.1 ขาราชการมีทัศนคติวาการใหบริการจะเริ่มตนก็ตอเมื่อมีผูมาติดตอขอรับบริการ มากกวาที่จะมองวาตนมีหนาที่ที่จะตองจัดบริการใหแกราษฎรตามสิทธิประโยชนทเี่ ขาควรจะไดรับ 1.2 การกําหนดระเบียบปฏิบัติและการใหดุลพินิจของขาราชการ มักเปนไปเพื่อสงวน อํานาจในการใชดุลพนิจของหนวยงาน หรือปกปองตัวขาราชการเอง มีลักษณะที่เนนการควบคุม มากกวาการสงเสริม การติดตอราชการจึงตองใชเอกสารหลักฐานตาง ๆ เปนจํานวนมากและตอง ผานการตัดสินใจหลายขั้นตอน ซึ่งบางครั้งเกินกวาความจําเปน 1.3 จากการที่เขาราชการมองวาตนมีอํานาจในการใชดุลพินิจ และมีกฎระเบียบเปน เครื่องมือที่จะปกปองการใชดุลพินิจของตน ทําใหขาราชการจํานวนไมนอยมีทัศนคติในลักษณะ ของเจาขุนมูลนาย ในฐานะที่ตนมีอํานาจที่จะบันดาลผลไดผลเสียแกประชาชน การดําเนิน ความสัมพันธจึงเปนไปในลักษณะที่ไมเทาเทียมกัน และนําไปสูปญหาตาง ๆ เชน ความไมเต็มใจที่ จะใหบริการ รูสึกไมพอใจเมื่อราษฎรแสดงความเห็นโตแยง เปนตน ดังนั้นเปาหมายแรกของการจัดการจัดบริการแบบครบวงจรก็คือ การมุงประโยชนของ ประชาชนผูรับบริการทั้งผูที่มาติดตอขอรับบริการ และผูที่อยูในขายที่ควรจะไดรับบริการเปน สําคัญ ซึ่งมีลักษณะดังนี้คือ 1. ขาราชการจะตองถือวาการใหบริการเปนภาระหนาทีที่ตองดําเนินการอยางตอเนื่อง โดยจะตองพยายามจัดบริการให ครอบคลุมผูที่อยูในขายที่ควรจะไดรับบริการทุกคน


17

2. การกําหนดระเบียบ วิธีปฏิบัติและการใชดุลพินิจจะตองคํานึงถึงสิทธิ์ประโยชนของ ผูรับบริการเปนหลัก โดยพยายามใหผูบริการไดสิทธิประโยชนที่ควรจะไดรับอยางสะดวดและ รวดเร็ว 3. ขาราชการจะตองมองผูมารับบริการวามีฐานะและศักดิ์ศรี เทาเทียม กับตน มีสิทธิที่ จะรับรูใหความเห็นหรือโตแยงดวยเหตุผลไดอยางเต็มที่ 2. ความรวดเร็วในการใหบริการ สังคมปจจุบัน เปนสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงตาง ๆ อยางรวดเร็ว และมีการแขงขันกับสังคมอื่น ๆ อยูตลอดเวลาในขณะที่ปญหาพื้นฐานของระบบ ราชการคือ ความลาชา ซึง่ ในดานหนหนึ่งเปนความลาชาที่เกิดจากความจําเปนตามลักษณะของการ บริหารราชการเพื่อประโยชนสวนรวมแหงรัฐ แตในหลายสวนความลาชาของระบบราชการเปน เรื่องที่สามารถแกไขได เชน ความลาชาที่ที่เกิดจากการปดภาระในการตัดสินใจ ความลาชาที่เกิด จากการขาดการกระจายอํานาจ หรือเกิดจากการกําหนดขั้นตอนที่ไมจําเปน หรือความลาชาที่ เกิดขึ้น เพราะขาดการพัฒนางานหรือนําเทคโนโลยีที่เหมาะสมมาใช เปนตน ปญหาที่ตามมาก็ คือ ระบบราชการถูกมองวาเปนอุปสรรคสําคัญในการพัฒนาความเจริญกาวหนา และเปนตัวถวง ในระบบการแขงขันเสรี ดังนั้น ระบบราชการจําเปนที่จะตองตั้งเปาหมายในอันที่จะพัฒนาการ ใหบริการใหมีความรวดเร็วมากขึ้นซึ่งอาจกระทําไดใน 3 ลักษณะคือ งาน

1. การพัฒนาขาราชการ ใหมีทัศนคติ มีความรู ความสามารถ เพื่อใหเกิดความชํานาญ มีความกระตือรือรน และกลาตัดสินใจในเรื่องที่อยูในอํานาจของตน

2. การกระจายอํานาจ หรือ มอบอํานาจใหมากขึ้นและปรับปรุงระเบียบวิธีการทํางานให มีขั้นตอนและใชเวลาในการใหบริการใหเหลือนอยที่สุด 3. การพัฒนาเทคโนโลยีตาง ๆ ที่จะทําใหสามารถใหบริการไดเร็วขึ้น อนึ่ง การพัฒนาความรวดเร็วในการใหบริการเห็นเรื่องที่สามารถกระทําไดทั้งขั้นตอน กอนการใหบริการซึ่งไดแก การวางแผน การเตรียมการตาง ๆ ใหพรอมที่จะใหบริการ และการนํา บริการไปสูผูที่สมควรที่จะไดรับริการเปนการลวงหนา เพื่อปองกันปญหาหรือความ เสียหาย เชน การแจกจายน้ําสําหรับหมูบาที่ประสบภัยแลงนั้น หนวยราชการไมจําเปนที่จะตองรอ ใหมีการรองขอ แตอาจนําน้ําไปแจกจายใหแกหมูบานเปาหมายลวงหนาไดเลย การพัฒนาความ รวดเร็วในขั้นตอนใหบริการ เมื่อมีผูมาติดตอขอรับบริการ และการพัฒนาความรวดเร็วในขั้นตอน


18

ภายหลังการใหบริการ เชน การรายงาน การติดตามผล การจัดเก็บเอกสารตาง ๆ เปนตน เพื่อให วงจรขอบการใหบริการสามารถดําเนินการตอเนื่องไปไดอยางรวดเร็ว ตัวอยางเชน การใหบริการ ในการจัดทําบัตรประจําตัวประชาชน ซึ่งจะตองมีการจัดสงเอกสารหลักฐานใหสวนกลางเพื่อจัดทํา บัตรการแจงยายปลายทาง ซึ่งสํานักทะเบียนปลายทางจะตองรอการยืนยันหลักฐานทางการทะเบียน จากสํานักทะเบียนตนทาง เปนตน 3. การใหบริการจะตองเสร็จสมบูรณ เปาหมายของการใหบริการเชิงรุกแบบครบวงจร อีกประการหนึ่งก็คือ ความเสร็จสมบูรณของการใหบริการ ซึ่งหมายถึง การเสร็จสมบูรณตาม สิทธิประโยชนที่ผูรับบริการจะตองไดรับ โดยที่ผูรับบริการไมจําเปนตองมาติดตอบอยครั้งนักซึ่ง ลักษณะที่ดีของการใหบริการที่เสร็จสมบูรณก็คือ การบริการที่แลวเสร็จในการติดตอเพียงครั้ง เดียง หรือไมเกิน 2 ครั้ง ( คือมารับเรื่องที่แลวเสร็จอีกครั้งหนึ่ง) นอกจากนี้ การใหบริการทีเ่ สร็จสมบูรณ ยังหมายถึงความพยายามที่จะใหบริการใน เรื่องอื่น ๆ ที่ผูมาติดตอขอรับบริการสมควรจะไดรับดวย แมวาผูมาขอรับบริการ ก็ควรที่จะให คําแนะนําและพยายามใหบริการในเรื่องนั้น ๆ ดวย เชน มีผูมาขอคัดสําเนาทะเบียนบาน หาก เจาหนาที่ผูใหบริการพบวา บัตรประจําตัวประชาชนของผูนั้นหมดอายุแลว ก็ดําเนินการจัดทําบัตร ประจําตัวประชาชนใหใหม เปนตน 4. ความกระตือรือรนในการใหบริการ ความกระตือรือรนในการใหบริการ เปน เปาหมายที่สําคัญอีกประการหนึ่งในการพัฒนาการใหบริการในเชิงรุก ทัง้ นี้เนื่องจากประชาชน บางสวนยังมีความรูสึกวา การติดตอขอรับบริการจากทางราชการเปนเรื่องที่ยุงยาก และเจาหนาที่ ไมคอยเต็มใจที่จะใหบริการ ดังนั้น จึงมีทัศนคติที่ไมดีตอการบริการของรัฐและตอเจาหนาที่ผู ใหบริการ ซึ่งนําไปสูปญหาของการสื่อสารทําความเขาใจกัน ดังนั้น หากเจาหนาที่ผูใหบริการ พยายามใหบริการดวยความกระตือรือรนแลว ก็จะทําใหผูมารับบริการเกิดทัศนคติที่ดี ยอมรับฟง เหตุผล คําแนะนําตาง ๆ มากขึ้น และเต็มใจที่จะมารับบริการในเรื่องอื่น ๆ อีก นกจากนี้ความ กระตือรือรนในการใหบริการยังเปนปจจัย สําคัญที่ทําใหการบริการนั้นเปนไปอยางรวดเร็วและมี ความสมบูรณ ซึ่งจะนําไปสูความเชื่อถือศรัทธาของประชาชนในที่สุด 5. ความสุภาพออนนอม เปาหมายอีกประการหนึ่งของการพัฒนาการใหบริการแบบ ครบวงจรคือ เจาหนาที่ผูใหบริการจะตองปฏิบัติตอประชาชนผูมาติดตอขอรับริการดวยความสุภาพ ออนนอม ซึ่งจะทําใหผูมารับบริการมีทัศนคติที่ดีตอขาราชการและการติดตอกับทางราชการ อันจะ


19

สงผลใหการสื่อสารทําความเขาใจระหวางกันเปนไปไดงายยิ่งขึ้น ความสุภาพออนนอมในการ บริการนั้น จะเกิดขึ้นไดก็โดยการพัฒนาทัศนคติของขาราชการใหเขาใจวา ตนมีหนาที่ในการ ใหบริการและเปนหนาที่ที่มีความสําคัญ รวมทั้งมีความรูสึกเคารพในสิทธิและศักดิ์ศรีของผูที่มา ติดตอขอรับบริการ 6. ความเสมอภาค การใหบริการแบบครบวงจร จะตองถือวาขาราชการมีหนาทีท่ ี่ จะตองใหบริการแกประชาชนโดยเสมอภาคกัน ซึ่งจะตองเปนไปตามเงื่อนไข ดังนี้ 1. การใหบริการจะตองเปนไปภายใตระเบียบแบบแผนเดียวกัน และไดรับผลที่ สมบูรณภายใตมาตรฐานเดียวกัน ไมวาผูรับบริการจะเปนใครก็ตาม หรือเรียกวา ความเสมอภาค ในการใหบริการ 2. การใหบริการจะตองคํานึงถึงความเสมอภาคในโอกาสที่จะไดรับบริการดวย ทั้งนี้ เพราะประชาชนบางสวนของประเทศ เปนกลุมบุคคลที่มีขอจํากัดในเรื่องความสามารถในการที่จะ ติดตอขอรับบริการจากรัฐ เชน มีรายไดนอย ขาดความรูความเขาใจหรือขอมูลขาวสารที่ เพียงพอ อยูในพื้นที่หางไกลทุรกันดาร เปนตน ดังนั้นการจัดบริการของทางราชการจะตอง คํานึงถึงคนกลุมนี้ดวย โดยจะตองพยายามนําบริการไปใหรับบริการตามสิทธิประโยชนที่ควรจะ ไดรับ เชน การจัดหนวยบริการเคลื่อนที่ตาง ๆ เปนตน การลดเงื่อนไขในการรับบริการให เหมาะสมกับความสามารถของผูรับบริการ เชน การออกบัตรสงเคราะหในการรักษาพยาบาลใหแก ผูรายไดนอย การเรียกเก็บคาปรับในอัตราที่ต่ําที่สุดตามที่กฎหมายกําหนด เมื่อเห็นวาผูรับบริการ ไมมีเจตนาที่จะเลี่ยงการปฏิบัติตามกฎหมาย แตเปนเพราะขาดขอมูลขาวสาร เปนตน ซึ่งอาจเรียก ความเสมอภาคนี้วา ความเสมอภาคที่จะไดรับบริการที่จําเปนจากรัฐ กลาวโดยสรุป การพัฒนาการใหบริการเชิงรุกแบบครบวงจร หรือ Package Service เปนการพัฒนาการใหบริการที่มีเปาหมายที่จะใหประชาชนไดรับบริการที่ควรจะไดรับ อยางครบถวนสมบูรณ มีความสะดวกรวดเร็วในการใหบริการ มุงที่จะใหบริการในเชิงสงเสริม และสรางทัศนคติและความสัมพันธที่ดีระหวางผูใหบริการและผูรับบริการ ตลอดจนเปนการ ใหบริการที่มีความถูกตองชอบธรรมสามารถตรวจสอบได และสรางความเสมอภาคทั้งในการ ใหบริการและในการที่จะไดรับบริการจากรัฐ


20

Milet (อางใน พิทักษ ตรุษทิม, 2538 : 33) กลาววา เปาหมายสําคัญของการบริการคือ การสรางความพึงพอใจในการใหบริการแกประชาชน โดยมีหลักหรือแนวทาง คือ 1. การใหบริการอยางเสมอภาค (Equitable Service) หมายถึง ความยุติธรรมในการ บริหารงานภาครัฐที่มีฐานที่มีฐานคติที่วาคนทุกคนเทาเทียมกัน ดังนั้นประชาชนทุกคนจะไดรับการ ปฏิบัติอยางเทาเทียมกัน ในแงมุมของกฎหมาย ไมมีการแบงแยกกีดกันในการใหบริการ ประชาชนจะได รับการปฏิบัติในฐานที่เปนปจเจกบุคคลที่ใชมาตรฐานการใหบริการเดียวกัน 2. การใหบริการที่ตรงเวลา (Tirneiy Service) หมายถึง ในการบริการจะตองมองวา การใหบริการสาธารณะจะตองตรงเวลา การปฏิบัติงานของหนวยงานภาครัฐจะถือวาไมมีประสิทธิ ผลเลยถาไมมีการตรงเวลาซึ่งจะสรางความไมพึงพอใจใหแกประชาชน 3. การใหบริการอยางเพียงพอ (Ampie Service) หมายถึง การใหบริการสาธารณะตอง มีลักษณะ มีจํานวนการใหบริการและสถานที่ใหบริการอยางเหมาะสม (The right quantity at the right geographical location) มิลเลทเห็นวา ความเสมอภาคหรือการ ตรงเวลา จะไมมีความหมายเลยถามีจํานวนการใหบริการที่ไมเพียงพอ และสถานที่ตั้งที่ใหบริการ สรางความไมยุติธรรมใหเกิดขึ้นแกผูรับบริการ 4. การใหบริการอยางตอเนื่อง (Continous Service) หมายถึง การใหบริการสาธารณะ ที่เปนไปอยางสม่ําเสมอ โดยยึดประโยชนของสาธารณะเปนหลัก ไมใชยึดความพอใจของ หนวยงานที่ใหบริการวาจะใหหรือหยุดบริการเมื่อใดก็ได 5. การใหบริการอยางกาวหนา (Progressive Service) หมายถึง การใหบริการ สาธารณะที่มีการปรับปรุงคุณภาพ และผลการปฏิบัติงาน กลาวอีกนัยหนึ่งคือ การเพิ่ม ประสิทธิภาพหรือความสามารถที่จะทําหนาที่ไดมากขึ้นโดยใชทรัพยากรเทาเดิม Verma (อางใน พิทักษ ตรุษทิม, 2538 : 33) การใหบริการที่ดีสวนหนึ่งขึ้นกับการ เขาถึงบริการ และไดเสนอแนวคิดเกี่ยวกับการเขาถึงการบริการดังนี้ 1. ความพอเพียงของริการที่มีอยู คือ ความพอเพียงระหวาบริการที่มีอยูกับความตอง ขอรับบริการ


21

2. การเขาถึงแหลงบริการไดอยางสะดวก โดยคํานึงถึงลักษณะที่ตั้งการเดินทาง 3. ความสะดวก และสิ่งอํานวยความสะดวกของแหลงบริการไดแก แหลง บริการที่ผูยอมรับวา ใหความสะดวกและมีสิ่งอํานวยความสะดวก 4. ความสามารถของผูรับบริการ ในการที่จะเสียคาใชจายสําหรับบริการ 5. การยอมรับคุณภาพของบริการซึ่งในที่นี้รวมถึงการยอมรับลักษณะของผูให บริการดวย

4. แนวคิด และทฤษฎีที่เกี่ยวของกับการทํางานเปนทีม การทํางานเปนทีม หมายถึง การที่คนตั้งแต 2 คนขึ้นไป ทํางานรวมกันโดยมีเปาหมายเดียวกัน ทั้งนี้สิ่งที่ตองคํานึงถึง คือการสรางบรรยากาศแหงความรวมไมรวมมือ ฝกไววางใจและยอมรับซึ่งกันและ กัน รวมวางแผน คิดรูปแบบวิธีการทํางานดวยกัน รวมทั้งกําหนดบทบาทและมอบหมายหนาที่ให ชัดเจน ตรวจสอบและประเมินผลงานเปนระยะๆ ที่สําคัญที่สุด การสื่อสารในทีมงานตองมีประสิทธิภาพ ทั่วถึง โดยทีมที่ดี ตองมีความหลากหลาย ทั้งนักคิด นักจัดการ นักปฏิบัติการ นักตรวจสอบ และนักประเมินผล 1.ปญหาเกี่ยวกับคน มนุษยเปนทรัพยากรที่สําคัญที่สุดของประเทศ เปนสวนสําคัญที่จะทําใหประเทศชาติ เจริญรุงเรืองในทุกดาน(วารสารรามคําแหง. 2549. หนา 171 ) และในบรรดาทรัพยากรการบริหาร คือ คน (Man) เงิน (Money) วัสดุอุปกรณ(Materials) และการจัดการ(Management) ในการบริหาร “คน” นั้นเปนสิ่งที่บริหารยากที่สุด เพราะคนมีความรูสึกนึกคิด มีความตองการ (บูรชัย ศิริมหา สาคร. 2542. หนา 108-109) การสรางแรงจูงใจ(Motivation) มนุษยในองคการมีความสําคัญมาก มนุษยมีความแตกตางที่หลากหลาย เนนความสัมพันธดานพฤติกรรมของมนุษย ที่เปนปจจัยหลัก คือ แรงจูงใจที่จะทํางานใหกับองคการสําเร็จตามวัตถุประสงค อับราฮัม มาสโลว นักจิตวิทยา อเมริกาไดเสนอทฤษฎีลําดับขั้นความตองการของมนุษยเริ่มจากชั้นต่ําไปหาชั้นสูงสุด มี 5 ขั้น 1. ความตองการทางกายภาพ (Physiological) 2. ความตองการความปลอดภัย (Safety) 3. ความตองการทางสังคม (Social)


22

4. ความตองการดานการเคารพ – นับถือ มีชื่อเสียง (Esteem) 5. ความตองการบรรลุศักยภาพแหงตน (Self actualization) ความตองการเหลานี้ ตองไดรับการตอบสนองตามลําดับขั้น หากขั้นแรกยังไมบรรลุผล ก็ไมมีความตองการในขั้นตอไป ผูบริหารโรงเรียนมักนําไปใชเมื่อตองการแกไขปญหาแรงจูงใจใน โรงเรียนจากหลักการและทฤษฎีดังกลาวสามารถนํามาประยุกตใชในการแกปญหาเกี่ยวกับคน 1. การแบงกลุม 2. คนมีอคติตอกัน และ3. ขาดความรวมมือ จาก 3 ปญหาดังกลาวผูบริหารหรือ บุคลากรสามารถแกปญหาไดดังตอไปนี้ 1. สรางกลุมอยางไมเปนทางการใหเกิดขึ้นในหนวยงาน เพื่อใหเกิดความใกลชิด เชน จัดใหมีการสังสรรคพบปะระหวางบุคคลและกลุมอยูเปนประจํา 2. จัดสวัสดิการตาง ๆ ใหบริการแกสมาชิก เชน รานคาสวัสดิการ กองทุนกูยืม เปนตน 3. ใหบุคลากรในหนวยงานมีความอบอุนใจ มีบรรยากาศแบบมิตรภาพ มีความไววางใจ มีความสนิทสนม รักใครกลมเกลียว มีความสามัคคีในหมูคณะ ปราศจากความวาดระแวง 4. ยกยองชมเชยแกบุคคลที่ประสบความสําเร็จ ใหและมอบเกียรติบัตร ตลอดจนมีการ ประชาสัมพันธ เผยแพรผลงานที่หนาเสาธง ในวารสาร เว็บไซด สถานีวิทยุ รวมทั้งมอบหมายงานที่ สําคัญใหทํา 5. สนับสนุนใหเขาไปถึงจุดหมายปลายทางหรือบรรลุศักยภาพแหงตนมอบความ ไววางใจ เชน การเลื่อนตําแหนงครูมีวิทยฐานะสูงขึ้น จากการดําเนินการที่อาศัยหลักการ ทฤษฎี และวิธีการจัดการดังที่กลาวมานั้นบุคลากร จะมีความรูสึกรักองคการ รักเพื่อนรวมงาน มีเจตคติที่ดีตอองคการ เพราะสามารถบรรลุความ ตองการแหงตนภายใตการจัดการและสนับสนุนที่ดีและจริงใจจากผูบริหาร เพื่อนรวมงาน ปญหา ดังกลาวก็จะลดระดับ หรือไมมีในองคการ เมื่อไมมีปญหาเกี่ยวกับคนในองคการทุกคนจะรวมมือ กันในการผลักดันภารกิจขององคการใหบรรลุเปาหมายตอไป สรุปไดวา มนุษยเปนทรัพยากรที่มีคุณคาของประเทศ ขององคการเพราะคนเปนผูสรางงาน ดังนั้น เมื่อเกิดปญหาเกี่ยวกับคนจากความแตกตางของคน ผูบริหาร เพื่อนรวมงานควรมีการสราง แรงจูงใจ (Motivation) ตามแนวทางทฤษฎีของอับราฮัม มาสโลว หรือ ทฤษฎี ลําดับขั้นความตองการของมาส โลว (Maslow) มี 5 ลําดับ เพื่อใหคนเกิดความพอใจความรักในองคการ เมื่อคนเกิดพอใจ ความรักใน องคการ คนก็จะทํางานใหกับองคอยางมีประสิทธิภาพ เกิดประสิทธิผล มีความรักใครความสามัคคี เกิดความรวมใจ รวมมือไปสูพลังรวมกัน จนสามารถผลักดันภารกิจขององคการใหไปสูเปาหมาย ในที่สุด


23

2.ปญหาเกี่ยวกับงาน การจัดการองคการ เปนการจัดความสัมพันธระหวาง คน งาน วิธีการ โดยอาศัย ทรัพยากรทางการศึกษา มีการกําหนดภารกิจ อํานาจหนาที่และความรับผิดชอบใหชัดเจนเพื่อใหงาน บรรลุวัตถุประสงค เปาหมายอยางมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ถาหากงานดังกลาวขาดการจัดการ องคการที่ดีพอปญหาของงานจึงเกิดขึ้น คือ งานไมมีประสิทธิภาพ ไมมีประสิทธิผล เกิดความลาชา ดังนั้นจึงควรจัดระบบการบริหารจัดการในองคการเพื่อใหเกิดและไดงานตามวัตถุประสงคตาม แนวคิด หลักการ ทฤษฎีดังตอไปนี้ คือ 1. ทฤษฎีหมุดเชื่อมโยงของเรนซิส ไลเคิรต (Linking Pin Function Theory) มีแนวคิด คือประสิทธิภาพของการทํางาน การทํางานเปนกลุม การประสานงานกัน 2. ทฤษฎีองคการของ Chester I Barnard ไดเสนอแนวคิดทางการบริหาร - ความรวมมือรวมใจในการทํางาน - เปาหมายขององคการ กับความตองการของคนตองสมดุลกัน - ใหความสําคัญกับกลุมไมเปนทางการ(Informal Group) ที่เกิดขึ้นในองคการ จากทฤษฎีทั้ง 2 ที่ระบุมานั้น เนนเรื่องการทํางานเปนทีม เปนกลุม เกิดจากความพอใจ ความรวมมือ การประสานงานที่ดี และนํามาซึ่งความสําเร็จในงานตามภารกิจที่ตั้งไวโดยเฉพาะการ นํามาประยุกตในการแกปญหาเกี่ยวงานในสถานศึกษาไดดังนี้ 1. ใหสรางกลุมปฏิบัติงานเอง 2. ทุกคนมีสวนรวมในการวางแผน การแกปญหา และตัดสินใจ 3. ผูบริหารตองเปนผูเชื่อมประสานที่ดีกับทุกๆคน ทุกๆ กลุม และทุกๆ หนวยงานที่ เกี่ยวของ 4. มีความศรัทธาในสิ่งที่ทํา 5. มีความศรัทธาในเพื่อนรวมงานถือคติในการบริหารที่วา รวมกลุมปรึกษาแกปญหา ได , 10 คน โง เทากับ 1 ขงเบง , มีเงินไมเทามีพวก 6. จัดใหมีการพบปะ ประชุมอยางไมเปนทางการใหมาก จากการดําเนินงานตามหลักการและทฤษฎีดังกลาวยอมกอใหเกิดงานไดอยางมีประสิทธิภาพ เกิด ประสิทธิผล โดยทุกฝายมีสวนรวม ปญหาดังกลาวก็จะลดลง สถานศึกษาหรือองคการ มีความนาดู นาอยู นาเรียน บรรลุภารกิจขององคการในที่สุด สรุปไดวา งานสําเร็จลงได ก็ดวยคนทํางาน หากงานนั้นเกิดจากการการประสานความ รวมมือที่เปนทีม เปนกลุม มีการประสานงานที่ดีจากผูบริหาร ตามแนวทาง ทฤษฎีหมุดเชื่อมโยง


24

ของเรนซิส ไลเคิรต และทฤษฎีองคการของ Chester I Barnard งานในองคการนั้นจะมีประสิทธิภาพ เกิดประสิทธิผล บรรลุภารกิจ เปาหมายขององคการอยางแนนอน 3.ปญหาเกี่ยวกับวิธีการทํางาน ดังที่กลาวมาแลวในสวนของ คน งาน และงานจะสําเร็จหรือไม อยางไร ซึ่งวิธีการ ทํางานคือหนทางไปสูการบรรลุเปาหมาย หากมีวิธีการทํางานที่ดีและเหมาะสมองคการก็เติบโต อยางรวดเร็วแตถาหากวิธีการทํางานไมเหมาะสมกับงานองคการก็กอผลกระทบยิ่งถาหากองคการ ใดที่ ผูบริหารขาดภาวะผูนํา ขาดมนุษยสัมพันธ ขาดความเขาใจในศาสตรและศิลปในการบริหาร จากปญหาดังกลาวจะทําใหงานไมเปนไปตามเปาหมาย ดังนั้นจําเปนที่จะตองบริหารคน บริหารงาน โดยเฉพาะการบริหารวิธีการทํางานก็คือศาสตรและศิลปในการบริหารทั้งจากหลักการ แนวคิด ทฤษฎีตลอดจนประสบการณมาประยุกตใชใหเหมาะสมกับบริบทขององคการใหถูกวิธี ในการบริหารองคการจําเปนอยางยิ่งที่ผูบริหารเพื่อนรวมงานมีความรูเรื่องตอไปนี้ 1.ภาวะผูนําคือนําคนนําการเปลี่ยนแปลงนําการแกปญหา 2.หลักการและทฤษฎีในการบริหารการศึกษาคือบริหารคนบริหารงานและบริหาร วิธีการ 3.หลักมนุษยสัมพันธในการบริหารความขัดแยงการจูงใจคน 4.วิธีการทํางานตามหลักของQ.C.หรือวงจรคุณภาพ ขอยกตัวอยาง วิธีการทําตามวงจรคุณภาพ หรือวงจรเดมิ่ง มี 4 ขั้นตอน(บูรชัย ศิริมหาสาคร, : 147-149) 1. การวางแผน (Planning) คือ การวางแผนเพื่อทํางานนั้นใหสําเร็จ โดยเปดโอกาสให ทุกคนในกลุมมีสวนรับรูในปญหาที่เกิดขึ้น และชวยกันกําหนดแนวทางในการแกปญหารวมกัน ดังนั้น ทุกคนจะมีความพอใจในสิ่งที่จะทํา ตระหนักถึงความจําเปนหรือคุณคาของสิ่งที่จะทํา 2. การทําตามแผน(Doing) คือ การลงมือปฏิบัติตามแผนที่วางไว โดยมีความเพียร พยายามที่จะทําสิ่งนั้น ใหสําเร็จ 3. การตรวจสอบผลงาน(Checking) คือ การตรวจสอบผลงานวา มีคุณภาพเปนไปตาม แผนงานหรือไม โดยเอาใจใสไมทอดทิ้งกลางคัน 4. การปรับปรุงงาน(Acting) คือ การปรับปรุงคุณภาพของผลงานใหเปนไปตามแผน เมื่อพบวามีขอบกพรองตองแกไขใหดีขึ้น โดยการใครครวญหมั่นตรวจสอบปรับปรุงพัฒนางานให ดีขึ้น


25

การสรางทีมงาน (Team – Building) ความนํา (Introduction) การนํางานเปนทีมมักจะพบเห็นกันอยูทั่วไปที่เริ่มตั้งแตในครอบครัวหรือหนวยงาน ของเอกชน รัฐบาล รัฐวิสาหกิจ ทีมงานที่มีประสิทธิภาพจะชวยใหการดําเนินงานบรรลุเปาหมายที่ วางไว ดังนั้นการสรางทีม จึงจําเปนสิ่งที่สมาชิกในทีมจะตองเรียนรูถึงวา ทําอยางไรจะทํางาน รวมกันไดอยางดีนั้น รวมทั้งนักบริการสามารถสรางความพรอมของการทํางานเปนทีใหเกิดขึ้น หนวยงานไดอยางไร ซึ่งยอมจะทําใหเพิ่มประสิทธิภาพในการทํางานมากขึ้น ความหมายและความสําคัญในการสรางทีม ทีมงาน หมายถึง กลุมคนที่ชวยเหลือซึง่ กันและกัน เพื่อใหบรรลุวัตถุประสงครวมกัน A team may be simply definde as any group of people who mast significant by relte with each other the order to accomplish shared ofjectives ในเรื่องทีม Hall ใหขอคิดเกี่ยวกับเรื่องกลุมวา กลุม นั้นมีสวนประกอบ 2 ทาง 1. กลุมไดชวยเหลือสมาชิกกันเองในการแกปญหาตาง ๆ 2. สมาชิกเองก็ชวยเหลือกันและกัน ในการสรางและรักษาไวซึ่งโครงสรางขององคการ Edgar Schrin ใหความหมายของกลุมหรือกลุมไววา จํานวนใด ๆ ของคนที่  เกี่ยวของกับบุคคลอื่น  มีความตระหนักทางดานจิตใจถึงบุคคลอื่น  รับรูเกี่ยวกับพวกเขาวาเปนกลุม ๆ หนึ่ง อาจกลาวโดยสรุป ทีม คือ กลุมของบุคคลทีมีการเกี่ยวของซึ่งกันและกัน เพื่อใหบรรลุเปาหมายที่ แนนอน การสรางทีมงานในหนวยงาน หมายถึง การปรับความสัมพันธตาง ๆ ในการทํางานใหดีขึ้น ซึ่งความสัมพันธเหลานี้จะมีผลโดยตรงตอการทํางานใหสําเร็จตามเปาหมาย ความสําคัญในการ สรางทีมมีดังนี้ 1. มีวัตถุประสงคเพื่อสรางความไววางใจในหมูสมาชิกของทีม 2. คนเราจะทํางานรวมกันไดดีขึ้นเมื่อมีการเปดเผยและจริงใจตอการกันโดยเฉพาะอยางยิ่งเมื่อ มีปญหาหรืออุปสรรคที่จะตอง แกไขรวมกัน


26

3. การทํางานเปนทีมมีประสิทธิภาพมากขึ้นเมื่อสมาชิกไดชวยกันเสริมสรางทักษะความ เชี่ยวชาญใหเพิ่มพูนมากขึ้น ซึ่งเปนการใชทรัพยากรบุคคลใชทรัพยากรบุคคลที่มีอยูในทีม อยางเต็มที่ 4. ประสิทธิภาพของการทํางานจะลดต่ําลง และความตึงเครียดจะเพิ่มสูงขึ้น หากหลีกเลี่ยงการ ปอนขอมูลยอนกลับ และวิพากษวิจารณซึ่งกันและกันอยางสรางสรรค ดังนั้นการแสดง ความคิดเห็นในลักษณะขอมูลปอนกลับจึงเปนสิ่งจําเปนและเปนประโยชนอยางยิ่งในการ พัฒนาทีมงาน 5. สนับสนุนการเรียนรู ที่จะรับฟงความคิดเห็นและขอมูลขาวสารของผูอื่นอยางตั้งใจ และให เกียรติซึ่งกันและกัน 6. เปนการพัฒนาทักษะในการแกปญหารวมกัน 7. เปนการลดความขัดแยงระหวางบุคคล เนื่องจากสมาชิกทีมไดเรียนรูถึงทักษะความสัมพันธ ระหวางบุคคลมากขึ้นมีความพรอมที่จะปฏิบัติงานรวมกันมากขึ้น 8. สงเสริมความคิดริเริ่มสรางสรรคในหมูสมาชิกทีม แนวความคิดและทักษะในการสรางทีม (Skills and approach of the competent teambuilding) ทีมงานที่มีประสิทธิภาพนั้นขึ้นอยูกับความสามารถของบุคคลในหนวยงานดังนั้นการ เตรียมบุคคล จึงเปนสิ่งที่จะชวยใหเกิดความพรอมในการสรางทีม ซึ่งประกอบดวยความรู ทักษะ และแสดงออกถึงความสามารถของทีม 1. ความรูทักษะในการสรางทีม (The Knowledge and skills of the team building) o ความรูเกี่ยวกับทฤษฎีการสรางทีม (Background reading ingteam buildint theory) จึงมีประโยชนในเรื่องเทคนิคการสรางทีม การเรียนรูเกี่ยวกับทฤษฎีจะทําใหเกิด ความเชื่อมั่นและเขาใจถึงกระบวนการสรางทีมมากขึ้น o ความรูเกี่ยวกับการเจริญเติบโต (Theory of team )จะเปนขั้นการพัฒนาทีมงาน ให สามารถเตรียมการและการวางแผนการสรางทีมไดดีขึ้น o การอธิบายหรือสรุปสั้น ๆ (Repertorie of lecturettes ) เปนวิถีทางหนึ่งที่จะชวยใน การสรางทีมไดดวยการพูดคุยหรืออธิบายจุดที่สําคัญในการสรางทีมจะชวย แกปญหาที่อาจเกิดขึ้นไดดวยการพูดคุยหรืออธิบายจุดที่สําคัญในการสรางทีมจะ ชวยทําใหแกปญหาที่เกิดขึ้นได


27

ประสบการณที่มีความหมาย (Availabilitu of structured experiences) การทําให ฝกฝนทําโครงการ กิจกรรมอยูบอย ๆ ทําใหเกิดการเรียนรู สมาชิกในทีมที่ผาน ประสบการณมาแลวจะมีบทบาทมาก ในการชวยเหลือกลุมเมื่อมีปญหาเกิดขึ้น+ o ทักษะการปอนขอมูลยอนกลับ (Skill in process feedback) เปรียบเสมือนกับ กระจกที่คอยสะทอนถึงพฤติกรรมที่เกิดขึน้ การสังเกตและเก็บขอมูลอยาง ระมัดระวังจะชวยทําใหการเสนอขอมูลตอเมื่อมีปญหาเกิดขึ้นมา o การยอมรับสภาพของบุคคล (Personal acceptability ) จะชวยทําใหการสรางทีม สําเร็จ เปนการนับถือความสามารถและยอมรับซึ่งกันและกันจะกอใหเกิดการ ไววางใจในกลุมทํางานขึ้น o การใหความชวยเหลือ (Co - facilitating experience) ทักษะที่เกิดขึ้นไดเมื่อมีการ ฝกฝน ทํางานรวมกับผูอื่นอยูเสมอ ทีมที่มีความสามารถจะนําเอาสิ่งที่แปลกใหม เขาไปแนะนําในทีม จะทําใหเกิดทักษะการทํางาน เพื่อเปนการพัฒนาบุคคลใหมี คุณภาพมากขึ้น o การเปดเผย (Persona Opennes) เปนสิ่งสําคัญในการสรางทีมในบางครั้งสมาชิกใน ทีมจะตองยอมรับขอมูลยอนกลับที่ ทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมตองมีการ เผชิญหนากันระหวางกันในสมาชิกทีมงาน เพื่อเปนการพัฒนากลุมใหมีคุณภาพ มากขึ้น 2. การแสดงออกถึงความสามารถของทีม (The Approach of the Competent teambuilding) ลักษณะของทีมจะดูไดจาก o การยอมรับของหนวยงาน (Organizational acceptance)ซึ่งจะดูจากหนวยงานให การสนับสนุนทรัพยากรตาง ๆ ในการทํางานของทีม o การยืดหยุนและการยอมรับอยางเปดเผย (Adopt a flexible and opem approach ) ยอมรับขาวสารตาง ๆ ที่เกี่ยวกับทีม o เปาหมายชัดเจน (Clarify goals carefully ) o มีเหตุผลความเปนจริง (Be realistic) ยอมรับความชวยเหลือจากภายนอก o ไดรับอนุญาตใหทํางาน (Get permission to work )ในการทํางานของผูผูกพันมา จากความเขาใจ สมาชิกไมถูกบังคับใหเปลี่ยนแปลงทัศนคติ ไมถูกบังคับใหตอง ซื่อสัตยสมาชิกยินดีทําดวยความเต็มใจ o มองเห็นความสําคัญของงานประจําวัน (Make ralevant to everyday work) ตรวจสอบการแบงงานและการตัดสินใจ o


28

o o

การสรางความสัมพันธที่ดีใหกับกลุมอื่น (Build good conduct with other teams) ทบทวนความสามารถของกลุม ( Regi;ar review you comptence) ดวยวิธีการตาง ๆ เชน ยอมรับเมื่อทําผิด

ทักษะความสามารถของการสรางทีมจะถูกนํามาเชื่อมโยงกันในแผนภูมิสรุปไดดังนี้ ลักษณะของทีมที่มีประสิทธิภาพ ลักษณะของการทํางานเปนทีมที่มีประสิทธิภาพตามทัศนะของ เสนอแนวความคิดวา การทํางานเปนทีมที่มีประสิทธิภาพนั้น จะตองประกอบคุณลักษณะดังตอไปนี้ 1. ความกระจางชัดในวัตถุประสงค และเห็นดวยกับเปาหมาย (Clear Objectives and agreed goals) สมาชิกทุกคนของทีมจะตองมีความเขาใจในเปาหมายอยางเดนชัด และ เต็มใจที่จะผูกพัน เพื่อใหเกิดความสําเร็จในเปาหมายที่ตั้งไว 2. การเปดเผยและการเผชิญหนากัน (Openess and confrontation) สมาชิกในทีมงานมี ความสัมพันธกันอยางเปดเผย ซื่อสัตย ตรงไปตรงมา กลาเผชิญหนาเพื่อแกปญหาการ ทํางานรวมกัน 3. การสนับสนุนและการจริงใจตอกัน (Support and trust) สมาชิกในทีมชวยเหลือซึ่งกัน และกัน เขาใจความสัมพันธระหวางงานของตนกับเองของผูอื่น และพรอมที่จะรับและ ใหความชวยเหลือดวยความจริงใจ 4. ความรวมมือและความขัดแยง (Co-operation and conflict) สมาชิกในทีมงานอุทิศตน ในการปฏิบัติงานใหเสร็จไปดวยดี จะมีการประสานประโยชนในเรื่องของความรู ความสามารถ ตลอดจนความแตกตางของแตละบุคคลใหไดผลรวมกันอยางสูงสุด และ เปนลักษณะที่เปดโอกาสใหสมาชิกไดมีสวนรวมอยางเต็มที่ในการทํางาน ซึ่งอาจมีการ ขัดแยงเกิดขึ้นภายในทีม ก็จะเปนในทางสรางสรรค 5. การปฏิบัติงานที่ชัดเจน (Sound procedure) สมาชิกในทีมจะอาศัยขอเท็จจริงเปนหลัก และการตัดสินใจจากขอมูลที่สมบูรณที่สุด ซึ่งมาจาการติดตอสื่อสารที่ชัดเจน มีการพูด การเขียน และการทํางานในสิ่งที่ถูกตองในการแกปญหาจะทําใหทีมงานมี ประสิทธิภาพได


29

6. ภาวะที่เหมาะสม (Appropriate leadership) หัวหนาทีมจะตองมีบทบาทผูนําที่ดี เปน มาตรฐานในการปฏิบัติทุกอยาง ไมผูกขาดเปนผูนําคนเดียวของกลุม แตภาวะผูนําจะ กระจายไปทั่วกลุม ตามสถานการณที่เหมาะสม 7. ทบทวนการทํางานอยางสม่ําเสมอ (Regular review) ทีมงานจะตองใชเวลาในการ ประเมินพฤติกรรม และเรียนรูถึงการผิดพลาดในการทํางาน ของกลุมซึ่งจะทบทวน อยางสม่ําเสมอ เพื่อจะไดแกไขขอบกพรองในการทํางาน อาจทบทวนระหวางการ ทํางานหรือหลังจากทํางานเสร็จแลว 8. การพัฒนาบุคคล (Individual development) สมาชิกในกลุมจะไดรับการพัฒนาอยางที่ แผนตามความชํานาญของแตละบุคคล ซึ่งจะใหการทํางานเปนทีมมีประสิทธิภาพมาก ขึ้น 9. สัมพันธระหวางกลุมที่ดี (Sound intergroup ralations) นอกเหนือจากความสัมพันธอัน ดีระหวางกลุมแลวจะตองใหกลุมอื่นเขาใจและยอมรับ ตลอดจนยื่นมือเขาชวยเหลือเมื่อ จําเปน ดวยความเขาใจ และปราศจาการแขงขัน ลักษณะทีมงานที่มีประสิทธิภาพยังอาจจะมองเห็นไดจากลักษณะดังตอไปนี้    

ไดผลงานสําเร็จตามเปาหมาย สามารถบริหารและจัดการเองไดภายในทีม มีการพัฒนาประสิทธิภาพของกลุมอยูเสมอ ทุกคนในกลุมมีสวนรวม

ขั้นตอนการพัฒนาทีม (Stages of team development) การพัฒนาทีม คือ ความพยายามอยางมีแผน เพือ่ เปลี่ยนแปลงทีมงานใหเปนทีมที่มีประสิทธิภาพ ซึ่ง จะตองดําเนินการอยางมีระบบ แบงออกเปน 5 ระยะ ดังนี้ ระยะปรับตัว (Ritual sniffing)  

สมาชิกไมไววางใจตัวใครตัวมัน การสื่อสารไมทั่วถึง


30

    

จุดประสงคในการทํางานไมเดนชัด การบริหารอยูที่สวนกลาง การปฏิบตั ิงานมีขั้นตอนมากมายยุงยาก สมาชิกไมมีโอกาสเเรียนความผิดพลาดและปรับปรุงใหดีขึ้น ปฏิเสธหรือไมสนใจความชวยเหลือและวิทยาการใหม ๆ จากภายนอก

ระยะประลองกําลัง (Infighting)      

หัวหนาทีมรูจักประเมินและหาทางพัฒนา ทบทวนการทํางานของทีมและปรับปรุงพัฒนา สนใจบรรยากาศในการทํางาน เห็นความสําคัญซึ่งกันและกัน มีการประชุมมากขึ้น คิดมากขึ้น พูดนอยลง ระยะนี้เกิดความไมสบายขึ้นในหมูสมาชิก

ระยะทดลอง     

กฏเกณฑตาง ๆ จะถูกทบทวน เขาใจวัตถุประสงคของงานอยางกระจาง ภาคภูมิใจในความเปนทีม หวงใยความเปนอยูของสมาชิก การทํางานคํานึงถึงทรัพยากรที่มีอยู

ระยะแสดงผลงาน     

กฏเกณฑตาง ๆ จะถูกทบทวน เขาใจวัตถุประสงคของงานอยางกระจาง ภาคภูมิใจในความเปนทีม หวงใยความเปนอยูของสมาชิก การทํางานคํานึงถึงทรัพยากรที่มีอยู


31

ระยะสมบูรณ (Maturity)         

ความสัมพันธในหมูสมาชิกดีเยีย่ ม เปดเผยจริงใจซึ่งกันและกัน รูปแบบของกลุมเปนรูปแบบไมเปนทางการ แตสมาชิกนับถือความสามารถของกลุม ใหขวัญและกําลังใจ มีความสัมพันธที่ในกลุม และระหวางกลุม มีความยืดหยุนเปนกันเอง ภาวะผูนําเปนไปตามสถานการณ ภูมิใจและพึงพอใจในการทํางาน

สรุป กระบวนการที่จําเปนของการทํางานเปนทีม คือ การเปดโอกาสใหสมาชิกทุกคนมีสวนรวมในการ แกปญหา การปอนขอมูลยอนกลับ ตลอดจนสื่อสารที่ชัดเจน เพื่อใหไดขอมูลในการตัดสินใจรวมกันเปน ผลดีในการสรางความสามัคคี และการทํางานเปนกลุม ทําใหผูปฏิบัติงานเกิดความผูกพันและอนาคตของ หนวยงาน ซึ่งผลที่ไดรับจะเปนผลสําเร็จและความภูมิใจของแตละคน ซึ่งจะนําไปถึงการบรรลุผลสําเร็จตาม เปาหมายที่ตั้งไว ซึ่งก็หมายถึง ความเจริญของหนวยงานนั่นเอง ผลงานวิจัยที่เกี่ยวของ 1. การใหบริการในภาคเอกชน ธีระศักดิ์ วระสุข (2537) ศึกษาเรื่องความพึงพอใจ ของผูใชบริการธนาคารกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) สาขาอํานาจเจริญ พบวา ผูมาใชบริการ 92% มีความพึงพอใจ และควรปรับปรุงบริการดาน การสรางความรูสึกที่ดีกับลูกคา การ พัฒนาบุคลกรใหมีความรูความชํานาญ ใหตอบสนองความตองการของลูกคา เครื่องมือเครื่องใช ตองมีสภาพใชงานดี และดานอาคารสถานที่ นอกจากนี้ตัวแปรที่มีความสัมพันธกับความพึงพอใจ ไดแก ความตั้งใจที่จะใชบริการในอนาคตโดย พบวา ผูมีความพึงพอใจสูง มีความตั้งใจที่จะใช บริการกับธนาคารตลอดไปสวนผูมีความพึงพอใจต่ํา มักเปนผูที่ไมแนวแนวาจะใชบริการกับ ธนาคารตลอดไป พิทักษ ตรุษทิม (2538) ศึกษาเรื่องความพึงพอใจของประชาชนตอระบบและ กระบวนการการใหบริการของกรุงเทพมหานคร ศึกษากรณีสํานักงานเขตยาน


32

นาวา พบวา กิจกรรมดานสาธารณูปโภคโดยภาพรวม ประชาชนมีความพึงพอใจระดับปานกลาง (รอยละ 64.4) เรียงลําดับจากมากไปนอยคือ งานรักษาความสะอาด (66.1) งานโยธา (56.9) งาน ปกครอง (37.1) และอนามัย (31.9) และเสนอแนะใหปรับปรุง (1) ดานระบบการใหบริการในเรื่อง ความมีคณ ุ คาใชสอย ความเพียงพอทั่วถึงและความพัฒนากาวหนา (2) ดานกระบวนการใหบริการ ในเรื่อง ความสะดวกในการขอรับบริการ ความรวดเร็วของขั้นตอนและความสม่ําเสมอตอเนื่อง (3) ดานเจาหนาที่ผูใหบริการในเรื่อง ความเอาใจใสหนาที่และความเสมอภาค เสมอหนา ในสวน ฝายทะเบียน ซึ่งเปนดานบริการเฉพาะดาน ในเชิงปฏิบัติผูวิจัยเห็นวาสามารถนําเทคโนโลยี สมัยใหมมาชวยไดประมาณ 90 % ทั้งนี้เพราะเอกสารและขั้นตอนตาง ๆ ในการจัดเก็บ คนเอกสาร และการบริการประชาชนจะไดรับความสะดวกและรวดเร็วมาก อัญชลี เหลาธิตพิ งศ (2524 อางใน พิทักษ ตรุษทิม, 2538 : 35) ศึกษาความคิดเห็นของ ผูใ ชบริการของศูนยบริการสารณสุขในเขตกรุงเทพมหานคร พบวา ผูใชบริการความพอใจในการ บริการของศูนยบริการสาธารณสุข ผูใชบริการสวนใหญรูจักศูนยบริการสาธารณสุข เนื่องจาก ศูนยฯ อยูใ กลบานจึงสะดวกประหยัดเวลา สวนความคิดเห็นตอการปฏิบัติงานของ แพทย พยาบาล และเจาหนาที่นั้น ผูใชบริการสวนใหญเห็นวา แพทย พยาบาล และเจาหนาที่มี มนุษยสัมพันธ ใหคําแนะนําและอธิบายขอสงสัยใหทราบเสมอ นิพนธ คําพา (2518 อางใน พิทักษ ตรุษทิม, 2538 : 35) ไดศึกษาวิจัยเรื่องปญหาใน การบริการราชการสวนภูมิภาค ศึกษาเฉพาะกรณีประสิทธิภาพในการใหบริการแกประชาชนระดับ อําเภอพบวา ปญหาอุปสรรคที่ทําใหการบริการแกประชาชนในระดับอําเภอไมมี ประสิทธิภาพ ไดแก อัตรากําลังเจาหนาที่ไมเพียงพอ ทาทีทัศนคติที่ไมดีในการทํางานของ ขาราชการวัสดุ อุปกรณ เครื่องมือเครื่องใช ไมเพียงพอ จํานวนประชากรในเขตการปกครองมี มากเกินไปและการปฏิบัติงานของนายอําเภอที่ไมสนใจในเรื่องการใหบริการแกประชาชน เพื่อ แกปญหาดังกลาวผูวิจัยเสนอแนะใหมีการเพิ่มจํานวนเจาหนาที่ เปลี่ยนแปลงทัศนคติในการทํางาน ของขาราชการ เพิ่มวัสดุอุปกรณเครื่องมือเครื่องใช และใหนายอําเภอใหความสนใจเกี่ยวกับบริการ ในระดับอําเภอมากขึ้น


33

บทที่ 3 บริบทขององคกรปกครองสวนทองถิ่นที่ศึกษา ในการวิจัยครั้งนี้ ผูวิจัยไดคัดเลือกองคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรี สุพรรณ จังหวัดสกลนคร โดยมีบริบทขององคการบริหารสวนตําบล ดังนี้

1. สภาพทั่วไป ที่ตั้ง ตําบลเหลาโพนคอ ตั้งอยูทางทิศตะวันออกของอําเภอโคกศรีสุพรรณ มีระยะทาง หางจาก อําเภอฯประมาณ 9 กิโลเมตร และหางจากจังหวัดสกลนครประมาณ 33 กิโลเมตร เนื้อที่ ตําบลเหลาโพนคอ มีเนื้อที่ทั้งหมด 36 ตารางกิโลเมตร หรือ 14,636 ไร เปนพื้นที่ ทําการเกษตร 9,787 ไร ภูมิประเทศ ตําบลเหลาโพนคอมีสภาพทางกายภาพเปนที่ราบเชิงเขา มีพื้นที่เปนสภาพ ปาที่ไมสมบูรณขนาด 100 ไร และมีอางเก็บน้ํา 2 แหง คือ อางเก็บน้ําหวยโท-หวยยาง และอางเก็บ น้ําหวยนอยเปนแหลงตนน้ําลําหวย 1 สาย และมีอาณาเขต ดังนี้ ทิศเหนือ ทิศใต ทิศตะวันออก ทิศตะวันตก

จดพื้นที่ตําบลแมดนาทม อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร จดเทือกเขาภูพาน อ.เตางอย จ.สกลนคร และ อ.ดงหลวง จ.มุกดาหาร จดพื้นที่ตําบลหนองบอ อําเภอนาแก จังหวัดนครพนม จดพื้นที่ตําบลตองโขบ อําโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร

จํานวนหมูบาน จํานวนหมูบาน ในเขตองคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ มี 11 หมูบาน ไดแก


34

ตารางที่ 2 หมูที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11

ชื่อหมูบาน โพนคอ โพนไฮ ดง หนองเหียน เหลา หวยยาง เหลาเหนือ ดงนอย หวยยางเหนือ โพนสูง นอยหนองไผสวน รวม

จํานวน ครัวเรือน

จํานวน ประชากร

ชาย

หญิง

168 55 83 144 130 185 79 121 159 166 35 1.325

767 263 289 675 545 897 414 342 804 649 164 5.809

375 136 155 324 257 456 196 164 419 325 85 2,892

392 127 134 351 288 441 218 178 388 324 79 2,917

ประชากร มีครัวเรือนทั้งหมด ประชากรทั้งสิ้น แยกเปน ชาย หญิง

1,325 5,809 2,892 2,917

ครัวเรือน คน คน คน

2. สภาพทางเศรษฐกิจ อาชีพ สวนใหญประกอบอาชีพเกษตรกรรม เชน การทํานา ทําสวน ทําไร เลี้ยงสัตว และ อาชีพเสริม คือ รับจางทั่วไป

3. สภาพทางสังคม การศึกษา -โรงเรียนประถมศึกษา -โรงเรียนมัธยมศึกษา

3 -

แหง แหง


35

- ที่อานหนังสือประจําหมูบาน - หองสมุดประชาชน -โรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา - ศูนยพัฒนาเด็กเล็ก - ศูนยวัยเตาะแตะ สถาบันและองคการทางศาสนา - วัด/สํานักสงฆ - มัสยิด - ศาลเจา สาธารณสุข -โรงพยาบาล - สถานีอนามัยประจําตําบล/หมูบาน - สถานพยาบาลเอกชน - รานขายยาแผนปจจุบัน - อัตราการมีและการใชสว มราดน้ํา ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน - ศูนย อปพร.ประจําตําบล - ทีมกูภัยประจําตําบล - ทีมหนวยแพทยฉุกเฉิน

7 2 2 1

แหง แหง แหง แหง แหง

8/1 -

แหง แหง แหง

1 2 100%

แหง แหง แหง แหง

1 1 1

แหง ทีม ทีม

4. การบริการขั้นพื้นฐาน การคมนาคม ตําบลเหลาโพนคอ มีระยะทางหางจากอําเภอโคกศรีสุพรรณ ประมาณ 9 กม.และหางจากจังหวัดสกลนคร 33 กม. ตําบลเหลาโพนคอมีถนนลาดยางระยะทาง 11.1 กม. (ลาดยางสายโพนคอ-โพนงาม 5.1 กม./โพนคอ-โพนไฮ 6 กม.)


36

การโทรคมนาคม - ที่ทําการไปรษณียโทรเลข - สถานีโทรคมนาคม - โทรศัพทสาธารณะ

11

แหง แหง แหง

การไฟฟา ตําบลเหลาโพนคอ มีหมูบานที่ใชไฟฟา 11 หมูบาน มีจํานวนที่ใชไฟฟาทั้งหมด 1,325 ครัวเรือน

5. ศักยภาพในตําบล ศักยภาพขององคการบริหารสวนตําบล บุคลากรในองคการบริหารสวนตําบล ตําแหนงในสํานักปลัดองคการบริหารสวนตําบล ตําแหนงในสวนการคลัง ตําแหนงในสวนโยธา ตําแหนงในสวนการศึกษา ตําแหนงในสวนการเกษตร ตําแหนงในสวนสวัสดิการสังคม ระดับการศึกษา ประถมศึกษา มัธยมศึกษา/อาชีวศึกษา ปริญญาตรี สูงกวาปริญญาตรี คณะผูบริหารองคการบริหารสวนตําบล นายกองคการบริหารสวนตําบล รองนายกองคการบริหารสวนตําบล เลขานุการคณะผูบริหาร

จํานวน 5 จํานวน 5 จํานวน 2 จํานวน 12 จํานวน 1 จํานวน 1

ราย ราย ราย ราย ราย ราย

จํานวน จํานวน จํานวน จํานวน

ราย ราย ราย ราย

7 17 2

จํานวน 1 ราย จํานวน 2 ราย จํานวน 1 ราย


37

ระดับการศึกษา ประถมศึกษา มัธยมศึกษา/อาชีวศึกษา ปริญญาตรี สูงกวาปริญญาตรี สภาองคการบริหารสวนตําบล สมาชิกสภาองคการบริหารสวนตําบล เลขานุการสภาองคการบริหารสวนตําบล ระดับการศึกษา ประถมศึกษา มัธยมศึกษา/อาชีวศึกษา ปริญญาตรี สูงกวาปริญญาตรี

จํานวน จํานวน จํานวน จํานวน

3 1 -

ราย ราย ราย ราย

จํานวน 22 ราย จํานวน 1 ราย จํานวน จํานวน จํานวน จํานวน

21 1 1

ราย ราย ราย ราย

รายไดขององคการบริหารสวนตําบล ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2551 รวมเปนเงิน 20,295,235 บาท แยกเปน รายไดที่ อบต. เก็บเอง รวมเปนเงิน 536,228 บาท รายไดที่สวนราชการตาง ๆ เก็บให รวมเปนเงิน 7,689,636 บาท เงินอุดหนุนจากรัฐบาล (เลือกทํา) รวมเปนเงิน 11,198,571 บาท เงินอุดหนุนที่ระบุตามวัตถุประสงค รวมเปนเงิน 970,800 บาท องคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ นอกเหนือจากภารกิจหลัก เชน ดานการ ควบคุมและปองกันโรคติดตอแลว เราไดพบเห็นปญหาของประชาชนในพื้นที่ เวลาที่ประสบ อุบัติเหตุหรือเจ็บปวยฉุกเฉิน เกิดความลําบากในการที่จะตองไปโรงพยาบาล เมื่อกระทรวง สาธารณสุขมีระบบบริการการแพทยฉุกเฉิน ประกอบกับมี MOU (บันทึกความรวมมือ 7 ฝาย) จึง สงคนเขารับการอบรมเปนอาสาสมัครกูชีพ ใหการบริการการแพทยฉุกเฉิน ใหบริการกับชุมชนได อยางรวดเร็ว ปลอดภัย และทั่วถึง ตลอด 24 ชั่วโมง


38

การดําเนินงาน ไดจัดตั้งหนวยบริการการแพทยฉุกเฉินFR เมื่อวันที่ 25 ธันวาคม 2549 ภายใตการ บังคับบัญชาของผูอํานวยการศูนย อปพร. ตําบลเหลาโพนคอ 1. มีอาสาสมัครกูชีพและกูภัย อยูเวร ยาม คอยประสานงานและใหบริการตลอด 24 ชั่วโมง 2. มีรถใหบริการที่ไดมาตรฐาน ขึ้นทะเบียนถูกตอง พรอมอุปกรณลําเลียงพื้นฐาน และ วิทยุสื่อสาร 3. มีการประชาสัมพันธการใหบริการระบบ 1669 อยางครอบคลุม


39

บทที่ 4 ผลการศึกษาวิเคราะห ในการศึกษาวิจัยเรื่อง การพัฒนาระบบการใหบริการประชาชน กรณีศึกษาหนวยบริการ การแพทยฉุกเฉิน องคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร มีกลุมตัวอยางที่ใชในการวิเคราะหขอมูล ซึ่งเปนประชาชนที่ใชบริการของหนวยบริการการแพทย ฉุกเฉิน จํานวน 11 หมูบาน ประชาชนจํานวนทั้งสิ้น 99 คน ซึ่งคณะผูวิจัยไดสรางแบบสอบถาม เปนเครื่องมือในการเก็บรวบรวมขอมูล กลุมเปาหมาย / กลุมตัวอยาง ตารางที่ 3 กลุมเปาหมายและจํานวนกลุมตัวอยาง งานบริการประชาชน 1. งานบริการหนวยแพทยฉุกเฉิน

กลุมเปาหมาย 1. ประชากรบานโพนคอ 2. ประชากรบานโพนไฮ 3. ประชากรบานดง 4. ประชากรบานหนองเหียน 5. ประชากรบานเหลา 6. ประชากรบานหวยยาง 7. ประชากรบานเหลาเหนือ 8. ประชากรบานดงนอย 9. ประชากรบานหวยยางเหนือ 10. ประชากรบานโพนสูง 11. ประชากรบานนอยหนองไผ สวน รวม

จํานวนกลุม 9 9 9 9 9 9 9 9 9 9 9 99


40

เครื่องมือที่ใชในการวิจัย เครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูลเปนแบบสอบถามเกี่ยวกับการวัดระดับสภาพการ ยอมรับของประชาชนที่มีตอหนวยแพทยฉุกเฉินองคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ ซึ่ง ประกอบไปดวย 3 ตอน ตอนที่ 1 เปนแบบสํารวจรายการเกี่ยวกับสภาพของผูตอบแบบสอบถาม ตอนที่ 2 เปนแบบสอบถามเกี่ยวกับระดับสภาพการยอมรับของประชาชน ตอนที่ 3 เปนแบบสอบถามความตองการเพิ่มเติมของประชาชน การวิเคราะหขอมูล 1. วิเคราะหขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบถามโดยใชความถี่ (Frequency) 2. วิเคราะหเปนรายขอ และในภาพรวม หนวยแพทยฉุกเฉิน โดยใชสถิติพื้นฐาน ไดแก คารอยละ (Percentage) , คาเฉลี่ย (  ) , สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) 3. การแปลผล “ระดับการยอมรับ” โดยการเปรียบเทียบคาเฉลี่ยกับเกณฑ ดังตารางที่ 4 ตารางที่ 4 เกณฑการประเมินการยอมรับตอการใหบริการ ระดับการยอมรับ มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย นอยที่สุด ชวงเวลาในการสํารวจ เมษายน -กันยายน 2551

คาเฉลี่ย 4.50 – 5.00 3.50 – 4.49 2.50 – 3.49 1.50 – 2.49 1.00 – 1.49


41

การวิเคราะหการยอมรับตอการใหบริการ 1. ความคิดเห็นตอการใหบริการงานบริการหนวยแพทยฉุกเฉินและหนวยกูชีพของ องคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ ตารางที่ 5 ขอมูลทั่วไปของกลุมตัวอยาง สถานภาพของผูตอบแบบสอบถาม

จํานวน

รอยละ

- ชาย - หญิง

29 70 99.00

29.29 40.71 100.00

11 25 31 32

11.11 25.25 31.31 32.32

99.00

100.00

1 49 16 21 12 0 99.00

1.01 49.49 16.16 21.21 12.12 0.00 100.00

1. เพศ

รวม 2. อายุ - ชวง 20 - 30 ป - ชวง 31 - 40 ป - ชวง 41 - 50 ป - ชวง 51 - ปขึ้นไป อายุเฉลี่ย 44 ป สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 16 รวม 3. ระดับการศึกษา - ไมไดรับการศึกษา - ประถมศึกษา - มัธยมศึกษา - ปวส. / อนุปริญญาตรี - ปริญญาตรี - สูงกวาปริญญาตรี รวม


42

สถานภาพของผูตอบแบบสอบถาม 4. งานที่ประชาชนยอมรับมากที่สุด - การติดตอประสานงาน - การประชาสัมพันธ - ความมีมนุษยสัมพันธของเจาหนาที่ - ความรวดเร็วของการปฏิบัติงาน - ความเสมอภาคของการใหบริการ รวม

จํานวน

รอยละ

21 12 6 15 45 99.00

21.21 12.12 6.06 15.15 45.45 100.00

จากตารางที่ 5 แสดงใหเห็นวา 1. เพศ ประชาชนผูใชบริการของหนวยบริการการแพทยฉุกเฉินองคการบริหารสวนตําบลเหลา โพนคอ ที่เปนกลุมตัวอยางจํานวนทั้งสิ้น 99 คนสวนใหญเปนเพศหญิง จํานวน 70 คน คิดเปน รอยละ 70.71 มากกวาเพศชาย ซึ่งมีจํานวน 29 คน คิดเปนรอยละ 29.29 2. อายุ ประชาชนผูใชบริการของหนวยบริการการแพทยฉุกเฉินองคการบริหารสวนตําบลเหลา โพนคอ ที่เปนกลุมตัวอยางจํานวนทั้งสิ้น 99 คนสวนใหญมีอายุระหวาง 51 ปขึ้นไป จํานวน 32 คน คิดเปนรอยละ 332.32 รองลงมามีอายุชวง 41-50 ป จํานวน 31 คน คิดเปนรอยละ 31.31 อายุชวง 31-40 ป จํานวน 25 คน คิดเปนรอยละ 225.25 และมีอายุ 20-30 ป จํานวน 11 คน คิดเปนรอยละ 11.11 3. ระดับการศึกษา ประชาชนผูใชบริการของหนวยบริการการแพทยฉุกเฉินองคการบริหารสวนตําบลเหลา โพนคอ ที่เปนกลุมตัวอยางจํานวนทั้งสิ้น 99 คนสวนใหญจบการศึกษาระดับประถมศึกษา จํานวน 49 คน คิดเปนรอยละ 49.49 รองลงมาจบการศึกษาระดับ ปวส./อนุปริญญาตรี จํานวน 21 คน คิดเปนรอยละ 21.21 จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษา จํานวน 16 คน คิดเปนรอยละ


43

16.16 จบการศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวน 12 คน คิดเปนรอยละ 12.12 และไมไดรับ การศึกษา จํานวน 1 คน คิดเปนรอยละ 1.01 4. งานที่ประชาชนยอมรับมากที่สุด ประชาชนผูใชบริการของหนวยบริการการแพทยฉุกเฉินองคการบริหารสวนตําบล เหลาโพนคอ ที่เปนกลุมตัวอยางจํานวนทั้งสิ้น 99 คนงานที่ประชาชนยอมรับมากที่สุด เปนอันดับ หนึ่ง คือ ความเสมอภาคของการใหบริการ จํานวน 45 คน คิดเปนรอยละ 45.45 อันดับสอง คือ การติดตอประสานงาน จํานวน 21 คน คิดเปนรอยละ 21.21 อันดับสามคือความรวดเร็วของการ ปฏิบัติงาน จํานวน 15 คน คิดเปนรอยละ 15.15 อันดับสี่คือ การประชาสัมพันธ จํานวน 12 คน คิดเปนรอยละ 12.12 และอันดับสุดทายของงานที่ประชาชนยอมรับมากที่สุดคือ ความมีมนุษย สัมพันธของเจาหนาที่ จํานวน 6 คน คิดเปนรอยละ 6.6


44

ตารางที่ 6 ผลการวิเคราะหการยอมรับตอการใหบริการงานบริการหนวยแพทยฉุกเฉิน จําแนกตามรายขอ คาเฉลี่ย รอยละ แปลผลระดับ ประเด็นวัดระดับการยอมรับ (  ) การยอมรับ การยอมรับ 1. ดานกระบวนการขั้นตอนการใหบริการ 4.02 80.40 มาก 1.1 ขั้นตอนการขอรับความชวยเหลือจาก อบต. ไมยุงยาก 4.51 90.20 มากที่สุด 1.2 มีลําดับขั้นตอนในการใหบริการอยางชัดเจน 4.25 85.00 มาก 1.3 แตละขั้นตอนเขาใจงาย สามารถปฏิบัติตามได 4.23 84.60 มาก 1.4 ติดตอประสานงานงาย รวดเร็ว สะดวก 2. ดานเจาหนาที่ผูใหบริการ 3.98 79.60 มาก 2.1 ยอมรับในการใหบริการดานตาง ๆ ของ อบต. 3.87 77.40 มาก 2.2 มีเจาหนาที่ใหการตอนรับและแนะนํา 4.05 81.00 มาก 2.3 เจาหนาทีม่ ีความรูและทักษะดานการปฐม พยาบาลเบื้องตน 4.17 83.40 มาก 2.4 เจาหนาที่พูดคุย ซักถามดวยความสุภาพ เปนกันเอง 4.28 85.60 มาก 2.5 เจาหนาที่มีพฤติกรรมการบริการที่ดี 3. ดานการอํานวยความสะดวก 80.20 มาก 3.1 ไดรับความสะดวกในการติดตอประสานงานกับ อบต. 4.01 4.29 85.80 มาก 3.2 มีเจาหนาที่อํานวยความสะดวกในขณะรับบริการ 3.86 77.20 มาก 3.3 ใหบริการที่รวดเร็ว และถูกตอง 4. ดานผลการใหบริการและอื่น ๆ 4.11 82.20 มาก 4.1 มีเจาหนาที่ใหคําแนะนํา ชวยเหลือหรือออกพื้นที่ ใหบริการ 86.60 มาก 4.2 ไดรับการบริการงานดานตาง ๆ ดวยความกระตือรือรน 4.33 3.97 79.40 มาก และสนใจจากเจาหนาที่ 4.01 80.20 มาก 4.3 สิ่งที่ไดรับการชวยเหลือมีความเหมาะสมและเพียงพอ 4.3 สิ่งที่ทานไดรับการชวยเหลือทานยอมรับ รวมระดับการยอมรับ 4.12 82.4 มาก


45

จากตารางที่ 6 แสดงใหเห็นวา 1. ดานกระบวนการขั้นตอนการใหบริการ ประชาชนผูใชบริการของหนวยบริการการแพทยฉุกเฉินองคการบริหารสวนตําบลเหลา โพนคอ ที่เปนกลุมตัวอยางจํานวนทั้งสิ้น 99 คนสวนใหญยอมรับขั้นตอนการใหบริการมีลําดับ ขั้นตอนการใหบริการอยางชัดเจน คิดเปนรอยละ 90.20 อันดับสอง คือ แตละขั้นตอนเขาใจงาย สามารถปฏิบัติตามได คิดเปนรอยละ 85.00 อันดับสาม คือติดตอประสานงานงาย รวดเร็ว สะดวก คิดเปนรอยละ 84.60 อันดับสุดทาย คือ ขั้นตอนขอรับการชวยเหลือจาก อบต. ไมยุงยาก คิดเปน รอยละ 80.40 2. ดานเจาหนาที่ผูใหบริการ ประชาชนผูใชบริการของหนวยบริการการแพทยฉุกเฉินองคการบริหารสวนตําบลเหลา โพนคอ ที่เปนกลุมตัวอยางจํานวนทั้งสิ้น 99 คนสวนใหญยอมรับขั้นตอนการใหบริการ ดาน เจาหนาที่ พบวาดานทีป่ ระชาชนยอมรับมากที่สุด เปนอันดับหนึ่ง คือ เจาหนาที่มีพฤติกรรมการ บริการที่ดี คิดเปนรอยละ 85.60 อันดับสอง เจาหนาที่พูดคุย ซักถามดวยความสุภาพ เปน กันเอง คิดเปนรอยละ 83.40 อันดับสาม เจาหนาที่มีความรูและทักษะดานการปฐมพยาบาลเบื้องตน คิดเปนรอยละ 81.00 อันดับสีย่ อมรับในการใหบริการดานตาง ๆ ของ อบต. คิดเปนรอยละ 79.60 อันดับสุดทายมีเจาหนาที่ใหการตอนรับและแนะนํา คิดเปนรอยละ 77.40 3. ดานการอํานวยความสะดวก ประชาชนผูใชบริการของหนวยบริการการแพทยฉุกเฉินองคการบริหารสวนตําบลเหลา โพนคอ ที่เปนกลุมตัวอยางจํานวนทั้งสิ้น 99 คนสวนใหญยอมรับขั้นตอนการใหบริการดานการ อํานวยความสะดวก พบวาดานที่ประชาชนยอมรับมากที่สุดเปนอันดับหนึ่งคือ มีเจาหนาที่อํานวย ความสะดวกในขณะรับบริการ คิดเปนรอยละ 85.80 อันดับสองไดรับความสะดวกในการติดตอ ประสานงานกับ อบต. คิดเปนรอยละ 80.20 อันดับสาม ใหบริการรวดเร็ว และถูกตอง คิดเปนรอย ละ 77.20


46

4. ดานผลการใหบริการและอื่น ๆ ประชาชนผูใชบริการของหนวยบริการการแพทยฉุกเฉินองคการบริหารสวนตําบลเหลา โพนคอ ที่เปนกลุมตัวอยางจํานวนทั้งสิ้น 99 คนสวนใหญยอมรับขั้นตอนการใหบริการดานผล การใหบริการอื่น ๆ พบวาดานที่ประชาชนยอมรับมากที่สุดเปนอันดับหนึ่งคือ ไดรับการบริการงาน ดานตาง ๆ ดวยความกระตือรือรน และสนใจจากเจาหนาที่ คิดเปนรอยละ 86.60 อันดับสอง มี เจาหนาที่ใหคําแนะนํา ชวยเหลือหรือออกพื้นที่ใหบริการ คิดเปนรอยละ 82.20 อันดับสาม สิ่งที่ ทานไดรับการชวยเหลือทานยอมรับ คิดเปนรอยละ 80.20 อันดับสุดทาย สิ่งที่ไดรับการชวยเหลือ มีความเหมาะสมและเพียงพอ คิดเปนรอยละ 79.40 ตารางที่ 7 ผลสํารวจการยอมรับตอการใหบริการหนวยแพทยฉุกเฉินขององคการบริหารสวน ตําบลเหลาโพนคอ คาเฉลี่ย รอยละ แปลผลระดับ งานบริการ n () การยอมรับ การยอมรับ งานบริการหนวยแพทยฉุกเฉิน รวม

99 99

4.12 4.12

82.4 82.4

มาก มาก

จากตารางที่ 7 ผลการสํารวจการยอมรับของประชาชนตอการใหบริการขององคการ บริหารสวนตําบล เหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร พบวารอยละการยอมรับ ของประชาชนตอการใหบริการขององคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ ในงานบริการหนวย แพทยฉุกเฉิน มีคารอยละการยอมรับเทากับ 82.40 แสดงวาประชาชนมีการยอมรับตอการ ใหบริการ ในระดับมาก


47

บทที่ 5 สรุปผลการศึกษา อภิปรายผล และขอเสนอแนะ สรุปผลการศึกษา ในการศึกษาเรื่อง การพัฒนาระบบการใหบริการประชาชน : กรณีศึกษาหนวยบริการ การแพทยฉุกเฉิน องคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร มีวัตถุประสงคในการศึกษาวิจัย ดังนี้ 1. เพื่อนําผลการศึกษาไปสูการปรับปรุงการปฏิบัติงานและการใหบริการของหนวย บริการการแพทยฉุกเฉิน องคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัด สกลนคร 2. เพื่อศึกษาระดับการยอมรับของประชาชนที่มตี อการใชบริการของหนวยบริการ การแพทยฉุกเฉิน องคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร การดําเนินการศึกษาวิจัย คณะผูวิจัยไดกําหนดกลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัยครั้งนี้เปน ประชาชนที่ใชบริการของหนวยบริการการแพทยฉุกเฉิน จํานวน 11 หมูบาน ประชาชนจํานวน ทั้งสิ้น 99 คน ซึ่งไดมาโดยวิธีการสุมตัวอยางแบบงาย ตัวแปรที่ใชในการศึกษา ตัวแปรตน ไดแก เพศ อายุ ระดับการศึกษา ตัวแปรตาม ไดแก การใหบริการของหนวยบริการการแพทยฉุกเฉิน และการยอมรับ หรือไมยอมรับของประชาชนที่มีตอการใชบริการของหนวยบริการการแพทยฉุกเฉิน


48

เครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูลเปนแบบสอบถามเกี่ยวกับการใหบริการของ หนวย แพทยฉุกเฉิน และการวัดระดับสภาพการยอมรับของประชาชน ขององคการบริหารสวน ตําบลเหลาโพนคอ ซึ่งประกอบไปดวย 3 ตอน ตอนที่ 1 เปนแบบสํารวจรายการเกี่ยวกับสถานภาพของผูตอบแบบสอบถาม ตอนที่ 2 เปนแบบสอบถามเกี่ยวกับระดับสภาพการยอมรับของประชาชน ตอนที่ 3 เปนแบบสอบถามเกี่ยวกับการเสนอแนะขอคิดเห็น และปญหา อุปสรรคขอขัดของในการปฏิบัติงาน ลักษณะของแบบสอบถามเปนแบบมาตราสวนประมาณคา แบงออกเปน 5 ระดับ คือ ระดับที่ 1 มีสภาพการยอมรับในการใหบริการของประชาชนนอยที่สุด ระดับที่ 2 มีสภาพการยอมรับในการใหบริการของประชาชนนอย ระดับที่ 3 มีสภาพการยอมรับในการใหบริการของประชาชนปานกลาง ระดับที่ 4 มีสภาพการยอมรับในการใหบริการของประชาชนมาก ระดับที่ 5 มีสภาพการยอมรับในการใหบริการของประชาชนมากที่สุด ในแบบสอบถามจะมีคําถามจํานวนทั้งสิ้น 24 ขอ การวิเคราะหขอมูล วิเคราะหขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบถามโดยใชความถี่ (Frequency) และวิเคราะหเปนรายขอ และในภาพรวม หนวยแพทยฉุกเฉิน โดยใชสถิติพื้นฐาน ไดแก คารอยละ (Percentage) , คาเฉลี่ย (  ) , สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) สวน การแปลผล “ระดับการยอมรับ” โดยการเปรียบเทียบ คาเฉลี่ยกับเกณฑ แลวนําเสนอผลการวิเคราะหขอมูลในรูปตารางประกอบการอธิบายปรากฏผล การศึกษา ดังนี้ 1. ขอมูลทั่วไปของกลุมตัวอยาง ไดแก เพศ อายุ ระดับการศึกษา พบวาผูตอบแบบสอบถามทั้งหมด จํานวน 99 คน สวนใหญเปนเพศหญิง มีจํานวน 70 คน คิดเปนรอยละ 70.70 ชวงกลุมอายุระหวาง 51 ปขึ้นไป มีจํานวน 32 คน คิดเปนรอยละ 32.32 รองลงมาไดแกกลุมอายุ 41- 50 ป มีจํานวน 31 คน คิด เปนรอยละ 31.31 ระดับการศึกษาสวนใหญจบการศึกษาระดับประถมศึกษา มีจํานวน 49 คน คิด เปนรอยละ 49.49 รองลงมาระดับ ปวส./อนุปริญญาตรี มีจํานวน 21 คน คิดเปนรอยละ 21.21


49

งานที่ประชาชนยอมรับมากที่สุด เปนอันดับหนึ่ง คือ ความเสมอภาคของการใหบริการ จํานวน 45 คน คิดเปนรอยละ 45.45 อันดับสอง คือการติดตอประสานงาน จํานวน 21 คน คิดเปนรอยละ 21.21 อันดับสามคือความรวดเร็วของการปฏิบัตงิ าน จํานวน 15 คน คิดเปนรอยละ 15.15 อันดับสี่ คือ การประชาสัมพันธ จํานวน 12 คน คิดเปนรอยละ 12.12 และอันดับสุดทายของงานที่ ประชาชนยอมรับมากที่สุดคือ ความมีมนุษยสัมพันธของเจาหนาที่ จํานวน 6 คน คิดเปนรอยละ 6.6 2. ผลการวิเคราะหความคิดเห็นตอการใหบริการหนวยแพทยฉุกเฉิน 1. ดานกระบวนการขั้นตอนการใหบริการสามารถสรุปได ดังนี้ 1.1 ขั้นตอนการขอรับความชวยเหลือ จาก อบต.ไมยุงยาก ปรากฏวาประชาชนยอมรับ ขั้นตอนการขอรับความชวยเหลือ จาก อบต.ไมยุงยาก ในระดับมาก 1.2 มีลําดับขั้นตอนในการใหบริการอยางชัดเจน ปรากฏวาประชาชนยอมรับการมีลําดับ ขั้นตอนในการใหบริการอยางชัดเจน ในระดับมากที่สุด 1.3 แตละขั้นตอนเขาใจงาย สามารถปฏิบัติตามได ปรากฎวาประชาชนยอมรับในการมี ลําดับขั้นตอนในแตละขั้นตอนเขาใจงาย สามารถปฏิบัติตามได ในระดับมาก 1.4 ติดตอประสานงานงาย รวดเร็ว สะดวก ปรากฏวาประชาชนยอมรับในการ ติดตอ ประสานงานงาย รวดเร็ว สะดวก ในระดับมาก 2. ดานเจาหนาที่ผูใหบริการสามารถสรุปได ดังนี้ 2.1 ยอมรับในการใหบริการดานตาง ๆ ของ อบต. ปรากฏวาประชาชนยอมรับในการ ใหบริการดานตาง ๆ ของ อบต. ในระดับมาก 2.2 มีเจาหนาที่ใหการตอนรับและแนะนํา ปรากฏวาประชาชนยอมรับในการที่มีเจาหนาที่ ใหการตอนรับและแนะนํา ในระดับมาก


50

2.3 เจาหนาที่มีความรูและทักษะดานการปฐมพยาบาลเบื้องตน ปรากฏวาประชาชน ยอมรับเจาหนาที่มีความรูและทักษะดานการปฐมพยาบาลเบื้องตน ในระดับมาก 2.4 เจาหนาที่พูดคุย ซักถามดวยความสุภาพ เปนกันเอง ปรากฏวาประชาชนยอมรับใน การที่เจาหนาที่พูดคุย ซักถามดวยความสุภาพ เปนกันเอง ในระดับมาก 2.5 เจาหนาที่มีพฤติกรรมการบริการที่ดี ปรากฏวาประชาชนยอมรับในพฤติกรรมการ บริการที่ดีของเจาหนาที่ ในระดับมาก 3. ดานการอํานวยความสะดวกสามารถสรุปได ดังนี้ 3.1 ไดรับความสะดวกในการติดตอประสานงานกับ อบต. ปรากฏวาประชาชนยอมรับใน การไดรับความสะดวกในการติดตอประสานงานกับ อบต. ในระดับมาก 3.2 มีเจาหนาที่อํานวยความสะดวกในขณะรับบริการ ปรากฏวาประชาชนยอมรับในการ อํานวยความสะดวกของเจาหนาที่ในขณะรับบริการ ในระดับมาก 3.3 ใหบริการที่รวดเร็ว และถูกตอง ปรากฏวาประชาชนยอมรับในการใหบริการที่ รวดเร็ว และถูกตอง ในระดับมาก 4. ดานผลการใหบริการและอื่น ๆสามารถสรุปได ดังนี้ 4.1 มีเจาหนาที่ใหคําแนะนํา ชวยเหลือหรืออกพื้นที่ใหบริการ ปรากฏวาประชาชนยอมรับ ที่มีเจาหนาที่ใหคําแนะนํา ชวยเหลือหรืออกพื้นที่ใหบริการ ในระดับมาก 4.2 ไดรับการบริการงานดานตาง ๆ ดวยความกระตือรือรน และดวยความสนใจจาก เจาหนาที่ ปรากฏวาประชาชนยอมรับในการไดรับการบริการงานดานตาง ๆ ดวยความ กระตือรือรน และดวยความสนใจจากเจาหนาที่ ในระดับมาก


51

4.3 สิ่งที่ไดรับการชวยเหลือมีความเหมาะสมและเพียงพอ ปรากฏวาประชาชนยอมรับใน สิ่งที่ไดรับการชวยเหลือมีความเหมาะสมและเพียงพอ ในระดับมาก 4.4 สิ่งที่ทานไดรับความชวยเหลือทานยอมรับ ปรากฏวาประชาชนยอมรับในสิ่งที่ไดรับ ความชวยเหลือ อยูใ นระดับมาก ผลการวิเคราะหการยอมรับของประชาชนตอการใหบริการขององคการบริหารสวนตําบล เหลาโพนคอ ในงานบริการการแพทยฉุกเฉิน จําแนกตามรายขอ พบวา ประชาชนมีการยอมรับใน ระดับมากทุกดาน ดานที่มีการยอมรับมากที่สุด คือ มีลําดับขั้นตอนในการใหบริการอยางชัดเจน ดานที่มีการยอมรับนอยที่สุด คือ การใหบริการที่รวดเร็วและถูกตอง แสดงใหเห็นวาประชาชนมี การยอมรับในการใหบริการของเจาหนาที่ แตการบริการยังลาชาอยู

ผลที่ไดจากการศึกษา จากผลการศึกษาการพัฒนาระบบการใหบริการประชาชน : กรณีศึกษาหนวยบริการ การแพทยฉุกเฉิน องคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ปรากฎวามีคาเฉลี่ยการยอมรับของประชาชนในระดับสูง

อภิปรายผลการศึกษา จากผลการวิเคราะหขอมูลและสรุปผลการวิเคราะหขอมูลเกี่ยวกับการใหบริการหนวย บริการการแพทยฉุกเฉิน ตามความคิดเห็นของประชาชนผูใชบริการของหนวยแพทยฉุกเฉิน องคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร สามารถอภิปราย ผลการวิจัยได ดังนี้ การดําเนินงานของหนวยบริการการแพทยฉุกเฉิน ในเขตพื้นที่ตําบลเหลาโพนคอ ทําให ประชาชนมีโอกาสไดรับบริการการแพทยฉุกเฉินไดอยางทั่วถึง ตลอด 24 ชั่วโมง ลดอัตราการ เสียชีวิต ความทรมาน ความพิการและภาวะแทรกซอนของผูเจ็บปวยฉุกเฉินลงได อีกทั้งองคการ บริหารสวนตําบลเหลาโพนคอก็มีสวนรวมในการจัดระบบดังกลาว อาสาสมัครกูชีพ กูภัย อปพร. สมาชิกสภา อบต. และเจาหนาที่ ที่ผานการฝกอบรมไดมีความรูในเรื่องระบบการแพทยฉุกเฉิน


52

และที่สําคัญอาสาสมัครมีความรู ทักษะการดูแลผูปวย สามารถปฏิบัติงานไดอยางมีมาตรฐาน เกีย่ วกับการดูแลผูปวยอุบัติเหตุ ฉุกเฉิน กอนถึงโรงพยาบาล เปนการปฏิบัติงานแบบบูรณาการทั้ง ภายในองคกรและหนวยงานที่เกี่ยวของ เพื่อพัฒนากลไกบริหารจัดการใหมีประสิทธิภาพและยั่งยืน ทําใหเกิดประโยชนตอองคการบริหารสวนตําบลและประชาชนในพื้นที่ ดังนี้ 1. สามารถพัฒนาการบริการการแพทยฉุกเฉินขององคการบริหารสวนตําบล ใหบริการผู เจ็บปวย ฉุกเฉินไดอยางทั่วถึงและมีประสิทธิภาพ 2. ประชาชนสามารถเขาถึงบริการการแพทยฉุกเฉินไดตลอด 24 ชั่วโมง ลดการเสียชีวิต ความพิการ และภาวะแทรกซอนของผูเจ็บปวยฉุกเฉิน 3. การยอมรับในการรับบริการระบบการแพทยฉุกเฉิน ของประชาชนตําบลเหลาโพนคอ

เสนอแนวทางปรับปรุงแกไข เนื่องจากหนวยบริการการแพทยฉุกเฉินขององคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ เปน หนวยบริการสาธารณะที่เพิ่งจะเกิดขึ้นไดไมนาน และเกิดขึ้นทามกลางของปญหาความไมชัดเจน เกี่ยวกับตัวบทกฎหมาย ระเบียบและแนวทางปฏิบัติ จึงเปนภาระหนาทีข่ องทุกฝายจะตองรวมมือ รวมแรง รวมใจชวยกัน เพื่อใหประชาชนมีโอกาสไดรับบริการการแพทยฉุกเฉินไดอยางทั่วถึง ตลอด 24 ชั่วโมง ลดอัตราการเสียชีวิต ความทรมาน ความพิการ ภาวะแทรกซอนของผูเจ็บปวย ฉุกเฉินลง และใหเกิดประโยชนสูงสุดกับประชาชนในพื้นที่อยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล จากผลการวิจัยเรื่อง การพัฒนาระบบการใหบริการประชาชน : กรณีศึกษาหนวยบริการ การแพทยฉุกเฉินขององคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัด สกลนคร มีขอเสนอแนวทางปรับปรุงแกไข ดังนี้ 1. ในการศึกษาครั้งตอไป ควรศึกษากลุมตัวอยางที่มีขนาดใหญขึ้นรวมทั้งประชาชนผูที่ ไมไดใชบริการของหนวยแพทยฉุกเฉิน ซึ่งจะสามารถอภิปรายผลไดครอบคลุมและถูกตองมาก ยิ่งขึ้น เนื่องจากการศึกษาครั้งนี้คณะผูวิจัยมีขอจํากัดในเรื่องระยะเวลา และงบประมาณ จึง ทําการศึกษาเฉพาะกลุมตัวอยางที่ใชบริการของหนวยบริการการแพทยฉุกเฉิน เทานั้น 2. เพื่อใหไดผลการวิจัยที่มีคุณภาพมากยิ่งขึ้น ควรศึกษาวิจัยในเชิงคุณภาพควบคูไปกับการ วิจัยในเชิงปริมาณ การเก็บรวบรวมขอมูล ควรใชหลาย ๆ วิธีประกอบกัน เชน ใชวิธีสัมภาษณ


53

แบบเจาะลึก การสังเกตแบบมีสวนรวม เปนตน เพื่อใหทราบถึงความคิดเห็นของประชาชน ผูใชบริการของหนวยบริการการแพทยฉุกเฉิน ไดอยางครอบคลุมครบถวนสมบูรณและถูกตองตาม หลักวิชาทางสถิติ 3. ควรมีการศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของหนวยบริการการแพทย ฉุกเฉิน ระหวางองคการบริหารสวนตําบลที่มีหนวยบริการการแพทยฉุกเฉิน ดวยกันแลวอภิปราย ผลการศึกษาวิจัย


54

บรรณานุกรม กระมล ทองธรรมชาติ. 2528. ระบบราชการไทย: สภาพปญหาและขอเสนอแนะจากฝาย การเมือง ขาราชการ นักวิชาการ และธุรกิจเอกชน. กรุงเทพฯ: สถาบันบัณฑิตพัฒนา บริหารศาสตร ชายชัย จิณสมาจาร. 2535 พฤติกรรมในองคการ. กรุงเทพฯ : ศูนยสื่อเสริมกรุงเทพฯ. ชิต นิลพานิช. 2527. องคการบริหารสวนตําบลกับการมีสวนรวมของประชาชน : นโยบายและ กลวิธีในการมีสวนรวมของประชาชนในการพัฒนา, 5. กรุงเทพ ฯ : ศักดิ์โสภาการพิมพ ชุบ กาญจนประกร.2520. รัฐประศาสนศาสตร. กรุงเทพฯ : มงคลการพิมพ ทิพาพร พิมพิสุทธิ.์ 2531. การวิเคราะหนโยบายสาธารณะ. กรุงเทพฯ : โรงพิมพมหาวิทยาลัย รามคําแหง ประมวล รุจนเสรี.2541. การดําเนินงานขององคการบริหารสวนตําบล. เอกสารประกอบการ บรรยายในการนิเทศการปฏิบัติงานของ อบต. จังหวัดสุพรรณบุรี ป 2541. ม.ป.ท. : กรมการปกครอง ปรียาพร วงศอนุตรโรจน. 2535. จิตวิทยาการบริหารงานบุคคล. กรุงเทพฯ : ศูนยสื่อเสริม กรุงเทพฯ. พงศสัณห ศรีสมทรัพย และชลิดา ศรมณี.2528. หลักการจัดการองคการและการจัดการ. กรุงเทพฯ. : คณะรัฐศาสตร, มหาวิทยาลัยรามคําแหง วิชัย โถสุวรรณจินดา.2535. ความลับขององคการ. กรุงเทพฯ. : ธรรมนิติ Blum, M.L.,and J.C. Naylor. 1968 Industrial psychology. New York : Harper & Row. Good, Carter V. 1973. Dictionary of education. New York : McGraw – Hill. Roger, Everelt M. 1988. Social change and introduction to rural sociology Smith, Henry Clay. 1955. Psychology of industrial behavior. New York : McGraw – Hill. Vroom, victor H. 1964. Work and motivation. New York : wiley and sons


55

Vroom, victor H., and Edward L. Deci. 1970. Management and motivation. New York : Kingsport Press Wolnan, Benjamin B. 1973. Dictonary of behavior science. New York : Vannostrand Reinhold Company Yoder, D., et.al. 1958. Handbook of personnel management and labour relation. New York : McGraw - Hill


56

ภาคผนวก ก แบบสอบถามการวิจัย


57

แบบสอบถามการวิจัย แบบสอบถามนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาวิจัยเรื่อง การพัฒนาระบบการใหบริการ ประชาชน : กรณีศึกษาหนวยบริการการแพทยฉุกเฉิน องคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ตามหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต สาขาการ ปกครองทองถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร คณะผูศึกษาวิจัยขอขอบพระคุณทานเปนอยางสูงที่ ไดกรุณาเสียสละเวลาในการตอบแบบสอบถามครั้งนี้ คําชี้แจง โปรดกรอกขอมูล หรือเขียนเครื่องหมาย  ลงใน ( ) หัวขอที่ทานเห็นวาถูกตองและ ตรงกับความคิดเห็นของทานมากที่สุดเพียงขอเดียว ตอนที่ 1 ขอมูลทั่วไปเกี่ยวกับผูต อบแบบสอบถาม 1. เพศ

( ) ชาย

( ) หญิง

2. อายุ........................ป 3. ระดับการศึกษาสูงสุด ( ) ไมไดรับการศึกษา ( ) ประถมศึกษา ( ) มัธยมศึกษา / ปวช. ( ) ปวส. หรืออนุปริญญา ( ) ปริญญาตรี ( ) สูงกวาปริญญาตรี ( ) อื่น ๆ (โปรดระบุ).......................................................................... 4. สถานภาพ ( ) โสด ( ) สมรสแลวและอาศัยอยูด วยกัน ( ) สมรสแลวแตไมไดอาศัยอยูดวยกัน ( ) หมาย / หยา


58

5. สถานภาพในครอบครัว ( ) หัวหนาครอบครัว

( ) ผูอาศัย

6. ทานยอมรับในการใหบริการหนวยแพทยฉุกเฉินของ อบต. ดานใดมากทีส่ ุด ( ) การติดตอประสานงาน ( ) การประชาสัมพันธ ( ) ความมีมนุษยสัมพันธของเจาหนาที่ ( ) ความรวดเร็วของการปฏิบัติงาน ( ) ความเสมอภาคของการใหบริการ ( ) อื่น ๆ (โปรดระบุ)............................................................................


59

ตอนที่ 2 ความคิดเห็นตอการใหบริการหนวยแพทยฉุกเฉินขององคการบริหารสวน ตําบลเหลาโพนคอ ระดับความคิดเห็น ขอที่ รายการ มาก ปาน นอย มาก นอย ที่สุด กลาง ที่สุด 1.

2.

3.

4.

ดานกระบวนการขั้นตอนการใหบริการ 1.1 ขั้นตอนการขอรับความชวยเหลือจาก อบต. ไมยุงยาก 1.2 มีลําดับขั้นตอนในการใหบริการอยางชัดเจน 1.3 แตละขั้นตอนเขาใจงาย สามารถปฏิบัติตามได 1.4 ติดตอประสานงานงาย รวดเร็ว สะดวก ดานเจาหนาที่ผูใหบริการ 2.1 ยอมรับในการใหบริการดานตาง ๆ ของ อบต. 2.2 มีเจาหนาที่ใหการตอนรับและแนะนํา 2.3 เจาหนาที่มีความรูและทักษะดานการปฐม พยาบาลเบื้องตน 2.4 เจาหนาที่พดู คุย ซักถามดวยความสุภาพ เปนกันเอง 2.5 เจาหนาที่มีพฤติกรรมการบริการที่ดี ดานการอํานวยความสะดวก 3.1 ไดรับความสะดวกในการติดตอประสานงานกับ อบต. 3.2 มีเจาหนาที่อํานวยความสะดวกในขณะรับบริการ 3.3 ใหบริการที่รวดเร็ว และถูกตอง ดานผลการใหบริการและอื่น ๆ 4.1 มีเจาหนาที่ใหคําแนะนํา ชวยเหลือหรือออกพื้นที่ ใหบริการ 4.2 ไดรับการบริการงานดานตาง ๆ ดวยความกระตือรือรน และสนใจจากเจาหนาที่ 4.3 สิ่งที่ไดรับการชวยเหลือมีความเหมาะสมและเพียงพอ 4.4 สิ่งที่ทานไดรับการชวยเหลือทานยอมรับ


60

ตอนที่ 3 ขอมูลเกี่ยวกับการเสนอแนะขอคิดเห็น และปญหาอุปสรรคขอขัดของในการ ปฏิบัติงาน (1) ขอเสนอแนะในการปรับปรุงระบบการใหบริการหนวยแพทยฉุกเฉิน ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. ........................................................................................................................................................ (2) ปญหา อุปสรรค ขอขัดของในการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ผูใหบริการหนวยแพทยฉุกเฉิน ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. .........................................................................................................................................


61

ภาคผนวก ข ผลการวิเคราะหการยอมรับตอการใหบริการหนวยแพทยฉุกเฉิน


62

ผลการวิเคราะหการยอมรับตอการใหบริการหนวยแพทยฉุกเฉิน องคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร คน/ ขอ

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

11

12

13

14

15

16

X

S.D

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27

1 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 5 4 4 4 4 4 4 5 5 5 5 4

4 5 5 5 4 4 4 4 4 4 4 4 4 4 4 4 4 4 4 4 3 4 5 5 4 5 5

5 5 5 4 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 4 4 4 4 3 4 45 4 4 4 4

5 5 5 5 5 5 4 5 4 5 5 5 5 4 5 5 4 5 4 4 4 4 5 5 4 4 5

4 5 5 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 4 4 4 4 4 4 5 5 4

5 4 4 4 5 4 4 4 4 4 4 4 4 5 4 5 4 4 4 4 4 4 4 4 5 4 5

5 5 4 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 4 4 4 4 5 5 5 4 5

5 5 5 4 4 5 4 5 5 4 5 5 5 5 5 4 4 4 4 4 4 4 5 5 4 4 4

4 5 5 5 5 4 5 4 4 5 4 5 4 4 4 5 4 4 4 4 4 4 5 4 4 5 4

5 4 4 5 4 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 4 4 4 4 4 4 5 5 4 4 5

4 5 5 4 5 5 5 5 4 4 4 4 4 4 4 4 4 4 4 4 4 4 5 4 5 4 5

5 5 5 3 3 3 .3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 4 5 4 4 4 4 4 5 5

5 5 4 4 5 5 5 5 4 5 5 5 5 4 5 5 4 4 4 5 4 4 5 5 5 5 5

4 4 4 5 4 5 4 5 5 5 4 4 4 5 4 5 4 4 4 4 4 4 4 5 4 5 5

5 5 4 5 4 4 5 4 4 4 5 5 5 4 4 5 4 4 4 4 4 4 4 4 4 4 4

4 4 5 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 4 4 4 4 5 5 5 4 4

4.50 4.63 4.50 4.06 4.06 4.13 4.06 4.13 3.94 4.06 4.06 4.13 4.06 4.00 4.00 4.31 3.75 3.81 4.00 4.13 3.88 4.00 4.63 4.63 4.44 4.44 4.56

0.63 0.62 0.63 0.85 0.85 0.89 0.85 0.89 0.77 0.85 0.85 0.89 0.85 0.82 0.82 0.87 0.45 0.54 0.00 0.34 0.34 0.00 0.50 0.50 0.51 0.51 0.51


63

28 29 30 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40 41 42 43 44 45 46 47 48 49 50 51 52 53 54 55 56 57 58 59

4 4 4 4 5 5 5 4 4 5 5 4 5 4 4 4 5 4 5 4 5 5 4 5 5 4 4 4 4 5 4 4

4 4 3 4 4 4 4 5 4 4 4 4 5 4 4 5 4 4 5 5 5 4 5 4 4 5 4 5 5 4 5 5

4 4 4 4 5 5 3 4 3 4 3 4 5 3 4 5 5 4 5 5 4 5 5 5 4 5 4 4 5 5 4 4

4 4 4 4 5 5 3 4 4 4 3 3 4 3 4 4 5 4 5 5 5 5 5 5 5 3 3 3 3 3 3 3

4 4 4 4 5 4 3 3 5 5 3 4 3 4 3 5 4 5 5 4 4 5 4 4 4 5 4 5 5 5 5 5

4 4 4 4 4 5 3 4 4 3 3 4 3 4 3 5 4 5 5 4 5 4 5 5 5 3 3 3 3 3 3 3

4 4 4 4 5 5 4 4 3 3 3 5 4 4 5 4 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 4 5 4

4 4 4 4 4 4 4 4 4 4 3 5 4 3 5 5 4 5 5 4 4 5 5 4 4 3 3 3 3 3 3 3

4 3 4 4 4 5 3 4 3 3 4 4 4 4 4 5 5 5 4 5 5 4 4 5 5 5 5 5 5 5 5 5

4 4 4 4 5 5 3 3 4 4 4 4 4 4 4 5 4 4 4 4 4 5 5 4 4 3 3 3 3 3 3 3

4 4 4 4 5 5 3 4 3 3 5 4 5 5 4 5 4 4 4 5 5 5 5 5 5 4 5 4 5 4 4 4

4 4 4 4 4 4 3 5 4 3 5 3 4 3 5 4 5 5 5 5 5 5 4 5 5 5 4 5 4 4 4 5

4 4 4 3 5 5 4 4 4 4 5 5 5 5 4 5 5 5 5 4 5 5 5 5 4 3 3 3 3 3 3 3

4 4 4 4 4 4 4 3 3 5 3 4 4 4 5 4 5 5 5 5 5 4 5 5 5 5 5 5 4 4 5 5

4 4 4 4 5 5 3 3 4 4 4 4 5 3 5 5 5 5 5 5 4 5 5 4 5 3 3 3 3 3 3 3

4 4 4 4 4 4 4 4 5 3 5 3 3 4 4 4 5 5 5 5 5 4 5 5 4 3 3 3 3 3 3 3

4.00 3.94 3.94 3.94 4.56 4.63 3.50 3.88 3.81 3.81 3.88 4.00 4.19 3.81 4.19 4.63 4.63 4.63 4.81 4.63 4.69 4.69 4.75 4.69 4.56 4.00 3.81 3.94 3.94 3.81 3.88 3.88

0.00 0.25 0.25 0.25 0.51 0.50 0.63 0.62 0.66 0.75 0.89 0.63 0.75 0.66 0.66 0.50 0.50 0.50 0.40 0.50 0.48 0.48 0.45 0.48 0.51 0.97 0.83 0.93 0.93 0.83 0.89 0.89


64

60 61 62 63 64 65 66 67 68 69 70 71 72 73 74 75 76 77 78 79 80 81 82 83 84 85 86 87 88 89 90 91

4 5 4 5 4 4 4 5 5 4 4 4 5 4 4 5 5 5 5 5 5 5 4 5 3 3 3 3 3 3 3 3

5 5 5 5 5 5 5 4 4 5 5 5 4 5 5 4 5 5 5 5 5 5 4 5 5 5 4 5 5 4 5 5

4 4 4 4 4 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 4 4 4 5 5 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3

3 3 3 3 3 3 3 3 4 4 4 4 5 5 4 5 4 4 5 5 4 5 5 5 4 4 5 4 4 4 4 4

5 4 4 4 5 4 5 5 4 5 5 5 5 4 4 5 5 5 5 5 5 4 5 4 3 3 3 3 3 3 3 3

3 3 3 3 3 3 3 3 5 4 5 4 4 5 5 5 5 5 4 4 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3

5 5 4 4 5 5 4 4 5 5 4 5 5 4 5 4 4 4 5 5 4 4 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3

3 3 3 3 3 3 3 3 5 5 5 5 5 4 5 5 4 5 4 4 5 5 4 4 4 5 5 4 5 4 5 3

4 4 5 5 4 4 4 4 4 4 5 5 5 4 5 5 4 5 5 5 4 5 5 5 5 4 4 4 5 5 4 3

3 3 3 3 3 3 3 3 5 5 4 4 5 5 4 5 5 4 5 5 5 4 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3

4 5 5 5 4 5 4 4 5 4 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 4 4 4 5 4 4 5 4 5 4 4 3

5 4 4 4 5 4 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 4 3 3 3 3 3 5 5

3 3 3 3 3 3 3 3 5 5 4 5 4 5 5 5 5 4 4 5 5 5 4 5 3 3 3 3 3 3 3 3

4 5 4 4 5 5 4 4 4 5 5 5 5 4 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 4 4 4 5 4 3

3 3 3 3 3 3 3 3 5 5 4 4 5 5 4 4 5 5 4 5 5 4 5 5 4 3 3 3 3 3 3 3

3 3 3 3 3 3 3 3 5 4 5 5 4 4 5 4 5 5 4 5 5 4 5 5 5 5 5 4 5 5 4 4

3.81 3.88 3.75 3.81 3.88 3.88 3.69 3.69 4.56 4.50 4.50 4.56 4.63 4.44 4.56 4.63 4.63 4.56 4.50 4.69 4.50 4.38 4.06 4.25 3.81 3.69 3.69 3.50 3.75 3.63 3.69 3.38

0.83 0.89 0.77 0.83 0.89 0.89 0.79 0.79 0.63 0.63 0.63 0.63 0.62 0.63 0.63 0.62 0.62 0.63 0.63 0.60 0.73 0.72 0.85 0.93 0.83 0.87 0.87 0.63 0.93 0.81 0.79 0.72


65

92 93 94 95 96 97 98 99 x s.d.

3 5 3 5 3 3 3 3 3 3 3 4 3 3 3 4 3 5 3 4 3 3 3 3 3 3 3 4 3 3 3 4 3 5 3 4 3 3 3 3 3 3 3 5 3 3 3 5 3 5 3 5 3 4 3 5 3 3 3 4 3 3 3 5 3 5 3 5 3 4 3 5 3 3 3 5 3 3 3 5 3 5 5 5 3 4 5 5 3 5 3 5 3 3 3 5 3 5 4 5 3 4 5 4 3 5 3 4 3 3 3 5 5 5 5 5 5 5 5 5 3 5 3 5 3 3 3 5 4.02 4.51 4.25 4.23 3.98 3.87 4.05 4.17 4.28 4.01 4.29 3.86 4.11 4.33 3.97 4.01 0.80 0.54 0.77 0.75 0.83 0.75 0.85 0.76 0.69 0.81 0.67 0.83 0.87 0.69 0.80 0.83

3.38 3.31 3.44 3.63 3.69 4.06 3.88 4.38 4.12

0.72 0.60 0.81 0.89 0.95 1.00 0.89 0.96 0.18


66

ประวัติยอของผูศึกษา นางจีระนันท โครวงษ 28 สิงหาคม 2509 53 หมูที่ 3 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร องคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ตําแหนงปจจุบัน ผูชว ยเจาหนาที่บันทึกขอมูล ประวัติการศึกษา ประถมศึกษา โรงเรียนบานหนองบึงทวาย อําเภอเตางอย จังหวัดสกลนคร มัธยมศึกษา โรงเรียนรมเกลา อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ประกาศนียบัตรวิชาชีพ วิทยาลัยเทคนิคสกลนคร อําเภอเมือง จังหวัดสกลนคร ปริญญาตรี รัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา การปกครองทองถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร ชื่อ – สกุล วัน เดือน ป เกิด ที่อยูปจจุบัน ที่ทํางานปจจุบัน

นายเทพพิชัย เพียสา 9 มกราคม 2506 20 หมูที่ 8 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสพุ รรณ จังหวัดสกลนคร สภาองคการบริหารสวนตําบล.เหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ตําแหนงปจจุบัน สมาชิกสภาองคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ ประวัติการศึกษา ประถมศึกษา โรงเรียนบานดงหนองเหียน ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร มัธยมศึกษา โรงเรียนรมเกลา อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ประกาศนียบัตรวิชาชีพ วิทยาลัยเทคโนโลยีสกลนคร ปริญญาตรี รัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา การปกครองทองถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร ชื่อ – สกุล วัน เดือน ป เกิด ที่อยูปจจุบัน ที่ทํางานปจจุบัน


67

ชื่อ – สกุล วัน เดือน ป เกิด ที่อยูปจจุบัน ที่ทํางานปจจุบัน ตําแหนงปจจุบัน ประวัติการศึกษา

นางสุธาวัลย เวชกามา 4 กรกฎาคม 2507 99 หมูท ี่ 14 ตําบลตองโขบ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร สํานักงานทองถิ่นจังหวัดสกลนคร อําเภอเมือง จังหวัดสกลนคร เจาพนักงานการเงินและบัญชี 5 ประถมศึกษา โรงเรียนบานเหลาโพนคอเหลาราษฎรวิทยา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร มัธยมศึกษา โรงเรียนหนองบอวิทยานุกูล ตําบลหนองบอ อําเภอนาแก จังหวัดนครพนม ประกาศนียบัตรวิชาชีพ วิทยาลัยเทคนิคนครพนม อําเภอเมือง จังหวัดนครพนม ปริญญาตรี รัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา การปกครองทองถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.