ศํกยภาพชุมชนต่อการเป็นบ้านพักโฮมสเตย์ บ้านเหล่า หมู่ 5

Page 1

ปญหาพิเศษ

ศักยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย : กรณีศึกษาหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร POTENTIAL OF COMMUNITY FOR HOMESTAY A CASE STUDY : LAO VILLAGE, LAO PHON KHOR SUBDISTRICT, KHOK SI SUPHAN DISTRICT, SAKON NAKHON PROVINCE

นางสาวประภาพรรณ นายปรัชญา นางสาวภิรมยญา

สิทธิ เที่ยงงามดี คําออ


สาขาการจัดการโรงแรมและทองเที่ยว คณะศิลปศาสตรและวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร พ.ศ. 2554 ปญหาพิเศษ

เรื่อง

ศักยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย กรณีศึกษาหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร Potential of Community for Homestay A Case Study : Lao Village, Lao Phon Khor Subdistrict, Khok Si Suphan District, Sakon Nakhon Province

นางสาวประภาพรรณ นายปรัชญา นางสาวภิรมยญา

สิทธิ เที่ยงงามดี คําออ


สาขาการจัดการโรงแรมและทองเที่ยว คณะศิลปศาสตรและวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร พ.ศ. 2554


ใบรับรองปญหาพิเศษ คณะศิลปศาสตรและวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร บริหารธุรกิจบัณฑิต ปริญญา ศิลปศาสตรและวิทยาการจัดการ การจัดการโรงแรมและทองเที่ยว สาขาวิชา คณะ เรื่อง ศัก ยภาพของชุ มชนต อ การเป นโฮมสเตย กรณีศึ กษาหมูบา นเหลา ตํ าบลเหล าโพนค อ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร Potential of Community for Homestay A Case Study : Lao Village, Lao Phon Khor Subdistrict, Khok Si Suphan District, Sakon Nakhon Province. นางสาวประภาพรรณ สิทธิ นายปรัชญา เที่ยงงามดี นางสาวภิรมยญา คําออ ไดพิจารณาเห็นชอบโดย ประธานกรรมการ ( อาจารยชลธิชา พจนสุนทร, ศศ.ม. ) กรรมการ ( อาจารยโปรยชัย กลาขยัน, Pg. Cert, MA ) กรรมการ ( อาจารยพชรภรณ พิศุทธิสุวรรณ, MRDM ) กรรมการ ( อาจารยพิมพอมร นิยมคา, M. B. ) หัวหนาสาขาวิชาการจัดการโรงแรมและทองเที่ยว วันที่ เดือน นามผูศึกษา


ประภาพรรณ สิทธิ, ปรัชญา เที่ยงงามดี, ภิรมยญา คําออ 2554 : ศัก ยภาพของชุมชนตอ การเป นโฮมสเตย กรณีศึ ก ษาหมู บานเหล า ตํ าบลเหลาโพนคอ อํ า เภอโคกศรี สุพรรณ จังหวั ดสกลนคร ปริญ ญาบริ หารธุรกิ จบัณ ฑิ ต สาขาการจั ด การโรงแรมและท องเที่ ย ว มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร อาจารยที่ปรึกษา: อาจารยชลธิชา พจนสุนทร, ศศ.ม, จํานวน 83 หนา วั ตถุ ประสงค ในการทํ า ป ญ หาพิ เ ศษครั้ ง นี้ เพื่ อ ให ส มาชิ ก ในหมู บา นเหล า ตํ า บลเหลา โพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร มีศักยภาพในการให บริการอยางเปนมาตรฐาน กลุมตัวอยางที่ใชในการศึกษา คือ สมาชิกในหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร โดยใชแบบสอบถามจํานวน 250 ชุดซึ่งเปนลักษณะแบบสํารวจรายการและมาตรา สวน ประมาณคา 5 ระดับ โดยทําการแจกแบบสอบถาม 1 ชุดตอ 1 คน จากนั้นนําขอ มูลที่ไดมา ตรวจสอบความถูกตองและทําการวิเคราะหขอมูลตามวัตถุประสงคของการทําปญหาพิเ ศษ สถิติที่ ใชคือ คาความถี่ คารอยละ คาเฉลี่ย และคาเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษาพบวากลุมตัวอยางสวนใหญเปนเพศหญิง มีอายุระหวาง 51-60 ป สถานภาพ สมรส สวนใหญอาชีพเกษตรกร รายไดเฉลี่ยตอเดือ นนอยกวา 3,000 บาท ระดับการศึกษา อยูใน ระดับต่ํ ากวา มั ธ ยมศึ ก ษาตอนตน จากความคิดเห็น ของกลุ มตัวอย า งความคิด เห็ น ตอ ทรั พยากร การท องเที่ ยวและความพร อมของโฮมสเตยในปจจุบันอยา งเหมาะสมพบว ามี รูปแบบกิจกรรม ทองเที่ยวเชิงศาสนา มีความพรอมที่จะเปดโฮมสเตย สวนใหญมีสิ่งอํานวยความสะดวก คือ พัดลม มีความรูเกี่ยวกับโฮมสเตย มีการเดินทางมายังหมูบานเหลาโดยรถยนต มีมัค คุเทศกประจําทองถิ่น มีการอบรมเรื่องการปฐมพยาบาลเบื้องตน มีความรูเกี่ยวกับวัฒนธรรมประเพณีทองถิ่น มีผลิตภัณฑ จากชุมชนและรานจําหนายของที่ระลึกและมีการประชาสัมพันธการทองเที่ยวของชุมชน ศักยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย กรณีศึกษาหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอ โคกศรี สุพรรณ จังหวัดสกลนครนั้ น โดยภาพรวมของศักยภาพของชุมชนต อ การเปนโฮมสเตย ซึ่ง ระดั บความคิ ดเห็ น อยู ในระดั บ มาก ทั้ ง 10 ดานได แ ก ด า นที่ พัก ด า นอาหารและโภชนาการ ดานความปลอดภัย ดานอัธยาศัยไมตรีของเจาของบานและสมาชิกในครัวเรือน ดานรายการนําเที่ยว ด า นทรั พยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ง แวดลอ ม ด า นวั ฒนธรรม ด า นการสร า งคุ ณ ค า และมู ล ค า ของ ผลิตภัณฑ ดานการบริหารของกลุมโฮมสเตยและดานประชาสัมพันธ .................../.............../.................

.........................................

.......................................


ลายมือชื่อนิสิต

ลายมือชื่ออาจารยที่ปรึกษา

วัน/เดือน/ป

กิตติกรรมประกาศ ปญหาพิเศษฉบับนี้สําเร็จลงไดดวยความกรุณาอยางสูงยิ่งจากอาจารยช ลธิช า พจนสุน ทร อาจารยที่ปรึกษาปญหาพิเศษ ที่กรุณาใหคําแนะนํา ใหคําปรึกษา ตลอดจนใหความชวยเหลือ แกไข ขอบกพรองตางๆ เพื่อใหปญหาพิเศษฉบับนี้มีความสมบูรณ ผูศึกษาขอกราบพระคุ ณเปนอยางสูง ไว ณ โอกาสนี้ ผูศึกษาขอขอบพระคุณทานอาจารยส าขาการจัดการโรงแรมและทองเที่ยวทุกทาน ที่ให คําแนะนํา อันเปนประโยชนในชวงของการทําเคาโครงการศึกษาปญหาพิเ ศษ ใหมีค วามสมบูรณ ยิ่ งขึ้น ทั้ งให ค วามอนุ เ คราะห เ ป น ผู เ ชี่ ยวชาญ ตรวจเครื่ อ งมื อ ที่ ใช ในการทํ า ป ญ หาพิเ ศษ และ คําแนะนํา อันเปนประโยชนในการทําปญหาพิเศษ ใหมีความสมบูรณยิ่งขึ้น ผูศึกษาขอขอบพระคุณสมาชิกในหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ทุกทานที่ไดใหความชวยเหลือและใหขอมูลเพื่อใชในการประกอบการศึกษา ใหมี ความถูกตอง ขอขอบพระคุณผูตอบแบบสอบถามทุกทาน เพื่อใหปญหาพิเศษครั้งนี้สมบูรณ ไดรับ ความสําเร็จและขอขอบพระคุณ คุณเกียรติศักดิ์ ขันทีทาวและคณะ เปนอยางสูง ที่ใหความชวยเหลือ ในชวงของการศึก ษาและทํ าปญ หาพิเ ศษ อีกทั้ง อํานวยความสะดวกในดา นตางๆรวมทั้งการให ขอมูลและคําแนะนําเปนอยางดี ผูศึกษาขอขอบพระคุณคณาจารยทุก ทาน ที่ไดประสิทธิ์ประสาทวิชา รวมถึ งผูเขียนตํารา เอกสารตางๆ ที่ผูศึกษาไดทําการคนควาและนํามาอางอิงในงานปญหาพิเศษในครั้งนี้ คุ ณ ค า อั น พึ ง มี จากวิ ทยานิพนธ ฉ บั บนี้ ขอมอบเป น เครื่ อ งบู ช าพระคุ ณบิ ดา มารดา ครู อาจารยและผูมีพระคุณทุกทาน คณะผูจัดทํา กุมภาพันธ 2555


สารบัญ สารบัญตาราง

หนา (3)

สารบัญภาพ

(6)

บทที่ 1 บทนํา ความสําคัญของปญหา วัตถุประสงคของการศึกษา ขอบเขตการศึกษา ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ นิยามศัพท บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวของ แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการโฮมสเตย การจัดการโฮมสเตยเบื้องตน ตัวชี้วัดมาตรฐานโฮมสเตยไทย มาตรฐานโฮมสเตย แนวคิดที่เกี่ยวกับปจจัยดานการจัดการทองเที่ยว พฤติกรรมการทองเที่ยว ทฤษฎีเกี่ยวกับปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจ แนวคิดเกี่ยวกับการพัฒนาแหลงทองเที่ยว งานวิจัยที่เกี่ยวของ กรอบแนวความคิด บทที่ 3 วิธีดําเนินงานการวิจัย ประชากรและกลุมตัวอยาง เครื่องมือที่ใชในการวิจัย การเก็บรวบรวมขอมูล

1 2 2 3 4 5 7 8 14 20 22 26 30 34 39 40 41 42


การวิเคราะหขอมูล สถิติที่ใชในการวิจัย

42 43

สารบัญ (ตอ) หนา บทที่ 4 ผลการวิเคราะหขอมูล ผลการวิเคราะหขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบถาม ผลการวิเคราะหขอมูลความคิดเห็นตอทรัพยากรการทองเที่ยวและความพรอม ของโฮมสเตยในปจจุบันอยางเหมาะสม ผลการวิเคราะหขอมูลความคิดเห็นเกี่ยวกับศักยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย กรณีศึกษาหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ขอเสนอแนะของสมาชิกของหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร บทที่ 5 สรุปผลการศึกษาและขอเสนอแนะ ผลการศึกษาที่ได ขอเสนอแนะจากการศึกษา ขอเสนอแนะเพื่อการวิจัยครั้งตอไป เอกสารและอางอิง ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามที่ใชในการศึกษา ภาคผนวก ข ระดับคาความเชื่อมั่น ภาคผนวก ค ขอมูลทั่วไปของหมูบานเหลา ภาคผนวก ง ภาพการดําเนินงาน ภาคผนวก จ ประวัติการศึกษา

44 49 59 78 79 83 84 85 92 98 100 105 108


สารบัญตาราง ตารางที่ 1 จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยางจําแนกตามเพศ 2 จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยางจําแนกตามอายุ 3 จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยางจําแนกตามสถานภาพ 4 จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยางจําแนกตามอาชีพ 5 จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยางจําแนกตามรายไดโดยเฉลี่ยตอเดือน 6 จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยางจําแนกตามระดับการศึกษา 7 จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยางกิจกรรมการทองเที่ยวเชิงนิเวศ 8 จํานวนและรอยละ ของกลุมตัวอยางกิจกรรมการทองเที่ยวศาสนา 9 จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยางกิจกรรมการทองเที่ยวประวัติศาสตร 10 จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยางกิจกรรมการทองเที่ยวเชิงอนุรักษ 11 จํานวนและรอยละของกลุม ตัวอยางกิจกรรมการทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม 12 จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยางกิจกรรมการทองเที่ยวเชิงชุมชน 13 จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยางพรอมที่จะเปดโฮมสเตย 14 จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยางสิ่งอํานวยความสะดวกโทรทัศน 15 จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยางสิ่งอํานวยความสะดวกตูเย็น 16 จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยางสิ่งอํานวยความสะดวกเครื่องทําน้ําอุน 17 จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยางสิ่งอํานวยความสะดวกพัดลม 18 จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยางสิ่งอํานวยความสะดวกที่นอนพรอมมุง 19 จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยางสิ่งอํานวยความสะดวกอื่นๆ 20 จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยางความรูเกี่ยวกับโฮมสเตย 21 จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยางการเดินทางมายังหมูบานเหลาโดยใชพาหนะ

หนา 44 45 46 46 47 48 49 49 50 50 51 51 52 52 53 53 54 54 55 55 56


22 23 24 25 26

จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยางมัคคุเทศกประจําทองถิ่น จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยางการอบรมเรื่องการปฐมพยาบาลเบื้องตน จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยางความรูเกี่ยวกับวัฒนธรรมประเพณีทองถิ่น จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยางผลิตภัณฑจากชุมชนและรานจําหนายของที่ระลึก จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยางการประชาสัมพันธการทองเที่ยวของชุมชน

56 57 57 58 58

สารบัญตาราง (ตอ) ตารางที่ หนา 27 แสดงจํานวนและรอยละตามความคิดเห็นศักยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย กรณีศึกษาหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ดานที่พัก 59 28 แสดงจํานวนและรอยละตามความคิดเห็นศักยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย กรณีศึกษาหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ดานอาหารและโภชนาการ 61 29 แสดงจํานวนและรอยละตามความคิดเห็นศักยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย กรณีศึกษาหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ดานความปลอดภัย 63 30 แสดงจํานวนและรอยละตามความคิดเห็นศักยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย กรณีศึกษา หมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ดานอัธยาศัยไมตรีของเจาของบานและสมาชิกในครัวเรือน 65 31 แสดงจํานวนและรอยละตามความคิดเห็นศักยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย กรณีศึกษาหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ดานรายการนําเที่ยว 67 32 แสดงจํานวนและรอยละตามความคิดเห็นศักยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย กรณีศึกษาหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม 69 33 แสดงจํานวนและรอยละตามความคิดเห็นศักยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย กรณีศึกษาหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ดานวัฒนธรรม 71


34 แสดงจํานวนและรอยละตามความคิดเห็นศักยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย กรณีศึกษาหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ดานการสรางคุณคาและมูลคาของผลิตภัณฑ 35 แสดงจํานวนและรอยละตามความคิดเห็นศักยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย กรณีศึกษาหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ดานการบริหารของกลุมโฮมสเตย

73

75


สารบัญตาราง (ตอ) ตารางที่ 36 แสดงจํานวนและรอยละตามความคิดเห็นศักยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย กรณีศึกษาหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ดานประชาสัมพันธ

หนา

77


สารบัญภาพ ภาพที่ 1 กรอบแนวความคิด

หนา 39


บทที่ 1 บทนํา ความสําคัญของปญหา วิถีชุมชนของคนในทอ งถิ่นตางๆ ของประเทศไทยนั้น มีเสนหแ ละเอกลัก ษณเ ฉพาะตั ว ดวยความเรียบงายของชีวิตประจําวัน กับการประกอบอาชีพดั้งเดิมที่ผูกพัน เกื้อหนุนกับธรรมชาติ รอบตัว จนผูคนตางถิ่นตางแดนตางวัฒนธรรมอยากจะเขามาสัมผัส วิถีชีวิตความเปนอยูดูสัก ครั้ง กิจกรรมการท อ งเที่ ย วในรู ปแบบที่ เ รี ยกว า "โฮมสเตย " นั้ น สามารถสนองความต อ งการของ นักทองเที่ยวไดเปนอยางดี ซึ่งกิจกรรมดังกลาวนับเปนรูปแบบหนึ่งของการทองเที่ยวเชิงนิเวศ ที่ พยายามไมใหการทองเที่ยวสงผลกระทบตอสิ่งแวดลอมและวิถีชีวิตของชุมชนทองถิ่น ปจจุบันการ ทองเที่ยวแบบโฮมสเตย มีใหเลือกหลากหลายรูปแบบ ทั้งแบบเขาไปกินอยูในบานของชาวบานใน ชุมชน เสมือนเปนสมาชิกคนหนึ่งในครัวเรือน ใชชีวิตแบบเดียวกับชาวบานแทบทุกอยาง รวมทั้ง บางแหงก็มีการประยุกตเพิ่มความสะดวกสบายในการพัก อาศัยขึ้นอีก ระดับ แตก็ยังคงเอกลักษณ ของชุมชนไว อยา งครบถวน แหล งทอ งเที่ ยวโฮมสเตย ที่นา สนใจมีอ ยูหลายแหง กระจายไปใน ทุกภาค เชน บานบางแมหมาย อําเภอบางปลามา จังหวัดสุพรรณบุรี หมูบานสลักเพชร อําเภอเกาะ ชาง จังหวัดตราด ชุมชนโฮมสเตยลีเล็ด อําเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎรธ านี โฮมสเตยเกาะยาวนอ ย อําเภอเกาะยาว จังหวัดกระบี่ เปนตน จังหวัดสกลนครก็เปนอีก จังหวัดหนึ่ง ที่อยูในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ของประเทศไทย ซึ่งมีความเหมาะสมของสภาพแวดลอมรวมทั้งทรัพยากรธรรมชาติมากมายและเสน ทางคมนาคม ทัง้ ภายในและภายนอก เอื้ออํานวยตอการดํารงชีวิตทั้งยังมีความปลอดภัย ผูคนมีวิถีชีวิตที่เรียบงาย จนผูคนตางวัฒนธรรมอยากจะเขามาสัมผัสวิถีชีวิตความเปนอยูแบบโฮมสเตย โดยจังหวัดสกลนคร นั้นไดมีกลุมคนที่อยูรวมกันเปนชุมชนเล็กๆ อยูที่อําเภอโคกศรีสุพรรณ ตําบลเหลาโพนคอ ที่อยูอําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร เปนชุมชนเล็ก ๆที่ รวมตัว กั น ก อ ตั้ ง ขึ้ น เป น ตํ า บลโดยชาวบา นได มีก ารเป ด โฮมสเตยใ นหมู บ า นเหล า สํ า หรั บต อ นรั บ นัก ทอ งเที่ ยวที่เ ดิ น ทางมาจากตา งจัง หวัดต อ งการที่ จะมาพั กแรมด วย ถื อ วามีแ หล ง ท อ งเที่ ย วที่ สามารถดึง ดู ดใจนัก ท อ งเที่ ยวให เข า ไปสั มผัส ซึ่ งแหลง ท อ งเที่ ยวดั งกล า วมี ทั้งแหล งท อ งเที่ ย ว


ที่เ ปน ทรั พยากรธรรมชาติ แ ละแหลง ท อ งเที่ ย วที่เ ป น ศิ ล ปวั ฒ นธรรม ที่ มี คุ ณ ค า ทางโบราณคดี และศิลปะ รวมถึงวิถีชีวิตความเปนอยู ซึ่งมีบทบาทสําคัญยิ่งตอการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ดัง นั้ น เมื่อ มี ผู เดิ น ทางมาเที่ย วและพัก อาศั ย โฮมสเตยหมู บานเหลา ตํ าบลเหล าโพนค อ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนครบางเพียงเล็กนอ ย สวนใหญจะเปน ผูนําชุมชน อาสาสมัค ร และชาวบ าน ซึ่ งสภาพแวดล อ มสวนใหญ แล วก็ ยังไมไดรั บการพัฒนาอยา งเห็น ได ชัด ยั งไมไ ด มาตรฐานเทาที่ควร อีกทั้งประชาชนยังขาดทักษะและประสบการณในการใหบริการนัก ทองเที่ยว ไม ส ามารถทํ า ให นัก ท อ งเที่ ย วเกิ ด ความพึ ง พอใจและประทั บ ใจได โดยเฉพาะเรื่ อ งของการ ใหบริก ารด านการจั ดการบานพั ก โฮมสเตย ที่ ชุมชนเปดใหบริ การแกนัก ท องเที่ย ว ทางผูวิจัยจึง เล็งเห็นปญหานี้ที่จะนํามาซึ่งการวัดศักยภาพของคนในชุมชนตอการเปนโฮมสเตย มี การเชื่อมโยง และการสรางมูลคาเพิ่มของทรัพยากรทองเที่ยวที่โดดเดนของโฮมสเตย หมูบานเหลา ตําบลเหลา โพนค อ อํ าเภอโคกศรี สุ พรรณ จังหวั ดสกลนคร รวมถึ ง การมี ส วนร วมของประชาชน องค ก ร ทองถิ่น ในทองถิ่นที่เปนพื้นที่เปาหมาย ซึ่งเทากับเปนการเสริมสรางความเขมแข็งดานเศรษฐกิจ ใหกับชุมชน และในระดับประเทศตอไป ผูวิจัยจึงไดทําการวิจัยในหัวขอ ศักยภาพของชุมชนตอการ เปนโฮมสเตย กรณีศึกษาหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร วัตถุประสงคของการศึกษา 1.เพื่อศึกษาศักยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย กรณีศึกษาหมูบานเหลา ตําบลเหลา โพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ขอบเขตการศึกษา 1. ขอบเขตเนื้อหา ศึก ษามาตรฐานของโฮมสเตย เพื่ อศักยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย กรณีศึกษา หมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ซึ่งมีทั้งหมด 10 ดานดังนี้ 1.1 ดานที่พัก 1.2 ดานอาหารและโภชนาการ 1.3 ดานความปลอดภัย 1.4 ดานอัธยาศัยไมตรีของเจาของบานและสมาชิกในครัวเรือน 1.5 ดานรายการนําเที่ยว


1.6 ดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม 1.7 ดานวัฒนธรรม 1.8 ดานการสรางคุณคาและมูลคาของผลิตภัณฑ 1.9 ดานการบริหารของกลุมโฮมสเตย 1.10 ดานประชาสัมพันธ 2.ขอบเขตประชากร กลุมตัวอยางที่ผูศึกษาใชในการศึกษาครั้งนี้คือ ชาวบานหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร 3.ขอบเขตดานพื้นที่ เขตหมูบานเหลา หมูที่ 5 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร 4.ขอบเขตดานเวลา ระยะเวลาที่ผูศึกษาใชในการศึกษาครั้งนี้ระหวางเดือนพฤศจิกายน2554 – เดือนกุมภาพันธ 2555 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 1. ไดทราบศักยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย กรณีศึกษาหมูบานเหลา ตําบลเหลา โพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนครได นิยามศัพท ศักยภาพ หมายถึง สิ่งที่เปนอยูในปจจุบัน ศักยภาพของชุมชน หมายถึง การที่ชุมชนในหมูบานเหลา หมูที่ 5 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรี สุพรรณ จังหวั ดสกลนคร มี “คน ความรู ทรั พยากร” ไม ได “โง จน เจ็ บ” แต ขาดโอกาส ในการเรียนรูและพัฒนาศักยภาพของตนเอง ไมมีความรูในการจัดการทรัพยากรใหเกิดประโยชน แกชุมชนอยางยั่งยืน


โฮมสเตย หมายถึง บานพักที่อยูในหมูบานเหลา หมูที่ 5 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ที่มีประชาชนเปนเจาของบาน และประชาชน หรือสมาชิกในครัวเรือนอาศัยอยู ประจํา และบานนั้นเปนสมาชิกของกลุม ชมรม หรือ สหกรณที่รวมจัดกันเปนโฮมสเตยในชุมชน โดยนักทองเที่ยวสามารถเขาพักรวมกับเจาของบานได ซึ่งสมาชิก ในบานมีความยินดีและเต็มใจที่ จะรับนักทองเที่ยว พรอมทั้งถายทอดประเพณี วัฒนธรรมอันดีงามของทองถิ่นแกนักทองเที่ยวและ นําพานักทองเที่ยว เที่ยวชมแหลงทองเที่ยวและทํากิจกรรมตางๆเชน เลนน้ําตก ขี่จักรยาน นั่งเรือ เปนตน นักท องเที่ ยว หมายถึ ง กลุ มคนที่ เ ดิน ทางมาพั กอาศั ยในโฮมสเตย ที่อ ยูในหมูบานเหล า หมู ที่ 5 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร


บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวของ ในการศึกษาศักยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย กรณีศึกษาหมูบานเหลา ตําบลเหลา โพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร คณะผูวิจัยไดทําการศึกษาคนควา ขอมูล ทฤษฎีและ รวบรวมแนวคิดตางๆที่เ กี่ยวขอ ง เพื่อใชประโยชน และเปน แนวทางในการศึกษา ซึ่งแนวคิดและ ทฤษฎีที่เกี่ยวของมีดังตอไปนี้ 1. แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการโฮมสเตย 2. การจัดการโฮมสเตยเบื้องตน 3. ตัวชี้วัดมาตรฐานโฮมสเตยไทย 4. มาตรฐานโฮมสเตย 5. แนวคิดที่เกี่ยวกับปจจัยดานการจัดการทองเที่ยว 6. พฤติกรรมการทองเที่ยว 7. ทฤษฎีเกี่ยวกับปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจ 8. แนวคิดเกี่ยวกับการพัฒนาแหลงทองเที่ยว 9. งานวิจัยที่เกี่ยวของ 1. แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการโฮมสเตย ความหมายของโฮมสเตย การทองเที่ยวแหงประเทศไทย (2544) ไดนิยามวา “โฮมสเตยเปนที่พักที่สัมผัสวัฒนธรรม ชนบทซึ่งหมายถึงการจัดสรรพื้นที่บานพักเพื่อบริการนัก ทองเที่ยวโดยที่ยังคงเปนเอกลักษณและ วัฒนธรรมประจําถิ่นภายใตศักยภาพและการยอมรับของชุมชนเพื่อใหนักทองเที่ยวไดเรียนรูว ิถีชีวิต และวัฒนธรรมของชุมชนซึ่งก็เปนจุดขายวิถีธรรมชาติของไทย” ชูวิทย ศิ ริ เวช (2539) ได นิยามว า “โฮมสเตย เ ปน การทอ งเที่ ยวที่มี แ นวความคิ ดของ การทองเที่ยวเชิงนิเวศ (Ecotourism) โดยเปนการทองเที่ยวที่เนนคุณภาพมากกวาปริมาณ”


ชนะภัย เตชะวงศ (2542, หนา 30-11) ไดนิยามวา “เปนบริก ารที่พัก หนวยเล็กที่สุดแต ใหบริการ มากกวาการพักที่โรงแรมตรงที่เจาของกิจกรรม และนักทองเที่ยวตางเปดใจเรียนรูว ิถีชีวิต แลกเปลี่ยนความคิด และวัฒนธรรมซึ่งกันและกัน นักทองเที่ยวไดรับประสบการณแปลกใหมที่เปน มิตรภาพ โดยเจาของบานมีรายไดเพิ่มขึ้นจากงานประจําวัน” มธุ รส ปราบไพรี (2544) ได นิ ยามว า “โฮมสเตยเ ป น การทอ งเที่ย วที่ นั ก ท อ งเที่ ย วที่ นักทองเที่ยวสามารถที่จะสัมผัสกับวัฒนธรรมชนบทอยางแทจริง ดวยการเขาไปพักอาศัยกับเจาของ บานจะมีการใหบริการดานอาหาร การนําเที่ยวทางวัฒนธรรม การเกษตร การศึกษาวิถีชีวิตชุมชน ซึ่งเปนกิจกรรมที่เปนทางเลือกใหกับนักทองเที่ยวที่มีความสนใจการทองเที่ยวเพื่อศึกษาวิถีชีวิตและ วัฒนธรรมของผูคนในชนบท” เกรียง ฐิติจําเริญพร (2545, หนา 5) ไดนิยามวา “โฮมสเตยที่จัดขึ้นอยูในชุมชนหรืออาจจะ ตั้งอยูห ลังเดียวโดดๆ นอกชุมชนก็ได แตมักจะตั้งอยูแหลงทองเที่ยวหรือใกลๆ กับแหลงทองเที่ยว ซึ่งอาจจะเปนแหลงทองเที่ยวทางธรรมชาติก็ได โฮมสเตยเ กิดจากความรวมมือ ของคนในชุมชน และเปนคนในชุมชนที่สํานึกในการอนุรักษสิ่งแวดลอม” โฮมสเตย ถือเปนกิจกรรมทองเที่ยวที่นัก ทองเที่ยวพักรวมกับเจาของบานซึ่งใชบาน เปน ศูนยกลางโดยเชื่อมโยงกับแหลงทอ งเที่ยว วัฒนธรรมขนบธรรมเนียม ประเพณี และวิถีชีวิตของ ชุมชนเขาดวยกัน ทั้งนักทอ งเที่ยวและเจาของบานมีวัตถุประสงครวมกัน ที่จะแลกเปลี่ยนเรียนรู วัฒนธรรม และวิถีชีวิต ดวยความเต็มใจ พรอมทั้งจัดที่พักและอาหาร การนําเที่ยวในแหลงทองเที่ยว ใกลเคียง โดยไดรับคําตอบแทนตามความเหมาะสม การจัดกิจกรรมที่พักสัมผัสวิถีชีวิตชนบท หรือ โฮมสเตย จึงเปนกิจกรรมทางการทองเที่ยวที่สามารถนํามาพัฒนาชุมชน โดยประชาชนในชุมชนมี สวนรวม และไดรับผลประโยชนจากการทอ งเที่ยวทําใหประชาชนในชุมชนรวมคิด รวมทํางาน รวมกัน สรางความเขมแข็งของคนในชุมชนเปนหลัก โดยมีผลตอบแทนเปนเรื่องรอง หรือ เปน เพียงรายไดเสริม โฮมสเตยหรือที่พักสัมผัสวัฒนธรรมชนบท หมายถึง ที่พักสัมผัส หมายถึงบานพักที่อ ยูใน ชุมชนชนบทที่มีประชาชนเปนเจาของบาน และประชาชน หรือสมาชิกในครัวเรือนอาศัยอยูป ระจํา และเปนสมาชิกขอกลุม ชมรม หรือ สหกรณที่รวมจัดกันเปนโฮมสเตยในชุมชน โดยนัก ทองเที่ยว สามารถเขาพักรวมกับเจาของบานได ซึ่งสมาชิกในบานมีความยินดีและเต็มใจที่จะรับนักทองเที่ยว พรอมทั้งถายทอดประเพณี วัฒนธรรมอันดีงามของทองถิ่นแกนักทองเที่ยวและพานัก ทองเที่ยว เที่ย วชมแหล งทอ งเที่ยวและทํากิ จกรรมตางๆเช น เล นน้ําตก ขี่ จัก รยาน นั่ง เรือ เดิน ปาศึ กษา ธรรมชาติ


2. การจัดการโฮมสเตยเบื้องตน หลัก การของโฮมสเตย เปนเรื่องที่สําคัญที่ทุก ฝายทั้งรัฐบาลและชุมชน จําเปนที่จะตอ ง เขาใจไปในทิศ ทางเดียวกั น เพื่ อให การสง เสริ มและพั ฒนาเกี่ยวกั บโฮมสเตยเ ปน ไปในทิศ ทาง เดียวกัน และไมกอ ใหเกิดปญหาตามมาภายหลัง ประการแรก ตองไมถือเปนนโยบายวาจะตองมี โฮมสเตยเกิดขึ้น ในทุก ๆ หมูบาน แตตอ งคํานึงถึงความพรอม ความรูแ ละความเขาใจของชุมชน เปนสําคัญ และชุมชนตองมีสวนรวมในการบริหารจัดการ โดยเนนจุดขายอยูที่วิถีชีวิตดั้งเดิมของ ชุมชน ภูมิปญญาทอ งถิ่นที่นําสนใจ และสรางความเขาใจแตเ ริ่มแรกวา การทองเที่ยวนั้นจะเปน เพียงรายไดเสริมมิใชรายไดหลักของชุมชน โดยชุมชนจะตองมีความเขมแข็งมีความรูเทาทัน ในสิ่ง ที่จะนํา ไปสูค วามเปลี่ยนแปลง และเข าใจวั ตถุประสงคข องสิ่งที่ตนกํ าลังดํ าเนิน การ เนื่ องจาก โฮมสเตย หรือที่พักสัมผัสวัฒนธรรมชนบท มีจุดศูนยกลาอยูท บี่ านพักในชุมชน ดังนั้น การจัดการ เกี่ยวกับที่พัก จึงเปนสิ่งที่สําคัญ ที่ชุมชนหรือ เจาของบานตองมีหลักและแนวทางในการปฏิบัติ เกี่ยวกับการจัดการบานพักและสภาพแวดลอมที่เปนสิ่งดึงดูดใจของนัก ทองเที่ยว ซึ่งอาจเรียกวา บัญญัติ10 ประการ ดังนี้ 1.กกเตียงนอนที่สะอาด สะดวก ปลอดภัยและถูกสุขลักษณะในราคาที่สมเหตุสมผล 2.กกหองอาบน้ําและสุขาที่สะอาด 3.กกอาหารพื้นบานงายๆที่ไดรับการปรุงอยางดี 4.กกทิวทัศนและธรรมชาติที่สวยงามของชนบท 5.กกประวัตศิ าสตรและวัฒนธรรมทองถิ่น 6.กกกิจกรรมการทองเที่ยวในพื้นที่ เชน เดินปา ตกปลา ขี่มา ปนเขา ขี่จักรยาน 7.กกรานคาสินคาทั่วไปและรานจําหนายสินคาที่ระลึก 8.กกความบันเทิงและการแสดงพื้นบาน เชน การเลนดนตรี การเตนรํา 9.กกความปลอดภัยของนักทองเที่ยว 10.กความเปนมิตรและรอยยิ้มของชาวทองถิ่น


3. ตัวชี้วัดมาตรฐานคุณภาพโฮมสเตยไทย ตัวชี้วัดดานที่พัก 1. โครงสรางบานพักตองมีความมั่นคง หมายถึง ลักษณะสําคัญ คือ ตัวบานจะตองมีค วาม มั่นคงและแข็งแรง ไมอยูในสภาพชํารุดและเสี่ยงอันตรายจากการใชสอย วัสดุที่ใชในการกอสราง ตองมีความแข็งแรง ไมควรใชไมไผ ฝาขัดแตะหรือใบไมเปนวัสดุ เวนแตเปนเอกลักษณเฉพาะของ ทองถิ่นนั้นๆ ซึ่งจะตองอยูใ นสภาพที่แข็งแรง 2. บานพักมีอากาศถายเทไดสะดวกและไมมีกลิ่นอับ โดยหองตางๆของบานถูก ออกแบบ ใหลมผานไดทุกจุด เชน หอ งนอน หองรับแขก หอ งครัวและหองน้ํา วัสดุที่ใชมุงหลังคาตองกัน น้ําฝนได ควรเปนกระเบื้องหรือสังกะสี หากเปนวัสดุอื่นจะตองไมมีรอยรั่วซึมลงตัวบานเมื่อฝนตก หรือหากตรวจพบวามีรูรั่ว ควรซอมแซมใหคงอยูในสภาพเดิม 3. มีที่นอนที่สบายตามสภาพชุมชนและเครื่อ งนอนที่ สะอาด คือ ที่นอนที่ จัดเตรียมไว สําหรับนักทองเที่ยวอาจเปนฟูกหรือเตียง โดยทําจากวัตถุดิบที่ดี และอุปกรณตางๆที่ใชในการนอน เชน ผาหม ผาปูที่นอน หมอน ปลอกหมอนตองสะอาด นอกจากนี้ควรมีพัดลม โตะเครื่องแปง และ มานหนาตางทุกบาน 4. มีหอ งอาบน้ําและสุขาที่สะอาด ประตูหองน้ํามีตัวล็อคเปดปดอยูในสภาพดีปลอดภัย ไม มีรูและรอยรั่ว หรือชองที่มองเห็นไดจากภายนอก มีสวิตชไฟฟาหรือที่จุดไฟใหความสวาง มีสบู ยา สีฟน แปรงสีฟนและผาเช็ดตัวสํารองไวในหองน้ําในกรณีที่นักทองเที่ยวไมไดนําติดตัวมา และควร มีที่แขวนหรือราวในหองน้ําดวย 5. มีการเปลี่ยนผาปูที่นอนและอุปกรณสํา หรับการนอนทุกครั้ง เมื่อมีนักทองเที่ยวใหมเขา มาพัก ถาผาหมเปนผานวมควรซักปลอกผานวมดวย 6. มีการกําจัดแมลงที่เปนอันตรายตอ สุขภาพอยูเสมอ เชน แมลงสาป หนู ยุง มด เปนตน การกําจัดไมควรใชสารเคมีที่อาจมีผลกระทบตอสุข ภาพของเจาของบานและแขกที่มาพัก แตควร จะหาวัสดุและอุปกรณที่เปนสิ่งที่มีอ ยูในทองถิ่นและเปนภูมิปญญา เชน สมุนไพร เครื่องดักสัตว เปนตน 7. มีการดูแลสภาพแวดลอมบริเวณบาน เชน สวนหยอม สวนครัว ตนไม รองน้ําควรมีก าร ปลูกตนไม เชนไมดอก ไมประดับ ไมผลเพิ่มหากมีที่พอ มีที่นั่งเลนบริเวณลานบานนอกจากนี้ควร ทําความสะอาดสิ่งที่อยูบริเวณบานอยูเสมอ ไมควรมีที่น้ําขังที่เปนแหลงเพาะยุงหากมีตุมน้ําฝนควร มีฝาปดกก


ตัวชี้วัดดานอาหารและโภชนาการ 1. มีอาหารที่ปรุงมาอยางดี หมายถึง ชนิดของอาหาร เครื่องปรุง รสชาติของอาหารที่ทําและ ขั้นตอนการปรุงอาหารตองพิถีพิถัน สะอาดและถูกหลักโภชนาการ ชนิดของอาหารควรเปนอาหาร พื้ น บ า นซึ่ งเป น เอกลั ก ษณ ข องแต ล ะท อ งถิ่ น เช น แกงเหลื อ งของภาคใต แกงอ อ มของ ภาคอีสาน แกงฮังเลของภาคเหนือ เปนตน เครื่องปรุงควรเปนสิ่งที่หาไดในพื้นที่เปนหลักและใช พืชผักสวนครัวหรือของในชุมชน โดยเนนความสด สะอาด และควรเปนพืชผักปลอดสารพิ ษ รสชาติของอาหารควรเปนรสชาติที่ไมจัดเกินไป หรือหากเปนนักทองเที่ยวชาวไทยอาจสอบถาม เกี่ยวกับความชอบกอนปรุง ทั้งนี้ในการปรุงทุกขั้นตอนตองเนนความสะอาด 2. ภาชนะที่ใชสะอาดและปลอดภัย ภาชนะที่เกี่ยวกับการปรุงอาหารทุกชนิดและจาน ถวย ชาม ตองสะอาด และตองมีชอนกลางสําหรับตักอาหารทุกครั้งภาชนะตางๆที่ใชปรุงอาหารและใช รับประทานอาหารจะตอ งทําความสะอาดและลางดวยน้ําสะอาด โดยใชน้ํายาลางจานโดยเฉพาะ หามใชผงซักฟอกลางโดยเด็ดขาด และหลังจากลางควรคว่ําไวใหแ หงกอนเก็บสําหรับแกวดื่มน้ํา จะตองใส สะอาด ไมมีกลิ่นเหม็นคาวและควรแยกลางตางหาก 3. ครัวอยูในสภาพที่สะอาดไมมีกลิ่น หองครัวอาจอยูใ นตัวบาน หรือ แยกจากตัวบานก็ได แตควรหมั่นทําความสะอาดอยูเสมอ โดยเฉพาะหลังจากการปรุงอาหารทุกครั้ง 4. อุปกรณที่ใชในครัวสะอาดถูก สุขลักษณะ ตูกับขาวในหองครัวและอุปกรณเครื่องปรุง เชน พริกกระเทียม กะป น้ําปลา ปลารา เกลือ ฯลฯตองเก็บใหมิดชิดมีฝาปดและกันแมลงไดดวย สวนอุปกรณตางๆในครัวควรมีลักษณะดังนี้ 1. เตา อาจเปนเตาแก็ส หรือ เตาถานก็ไดซึ่งตอ งอยูใน สภาพที่สะอาดและปลอดภัย หมั่นตรวจดูอุปกรณของเตาที่อาจชํารุดเพื่อมิใหเ กิดอัน ตรายในขณะ ปรุงอาหาร 2. ตูกับขาว ควรมีฝ าปดเปดไดสะดวกและสะอาด กันแมลงได และมีรูระบายอากาศ ถายเทได 3. อุปกรณและเครื่องปรุงตางๆ ในครัว เชน พริก กระเทียม หอม กะปน้ําปลา ปลารา ควร เก็บไวในภาชนะที่สะอาดและมีฝ าปด 4. หากมีตูเย็นจะตอ งดูแลความสะอาดอยูเ สมอและใชเ ก็บ อาหารและเครื่องดื่มอยางเหมาะสม โดยอาหารที่มีกลิ่นใหใชถุงพลาสติก หรือกลองปดมิดชิด สวน อุณหภูมิควรอยูที่ 5 องศาเซลเซียส หรือ นอ ยกวานั้น เมื่อสังเกตดูวามีน้ําแข็งเกาะมาก ควรกดปุม ละลายน้ําแข็งนั้นทันที 5. มีน้ําดื่มและน้ําใชที่สะอาด น้ําดื่ม หมายถึง น้ําที่จะนํามาใชดื่มตลอดเวลาที่บานตองเปน น้ําที่สะอาด หากเปนน้ําประปา ถาไมแนใจควรตมในภาชนะที่ส ะอาดกอนบรรจุขวดหรือภาชนะ อื่นๆ และหากเปนน้ําฝนที่รองไวในตุม ตองแนใจวาหลังคาบานสะอาดจริง สังกะสีไมเ ปนสนิม ไมมีฝุนละอองเกาะและเก็บไวในตุม ที่สะอาดมีฝาปดมิดชิดน้ําใช หมายถึง น้ําที่ใชอ าบและซักลาง


หากมิใชน้ําประปาจะตองผานการทําน้ําใหส ะอาด เชน ใชสารสม หรือ กรองโดยดูแลภาชนะ ทุกชนิดที่บรรจุตองสะอาด ไมมีลูกน้ําหรือสัตวน้ําตลอดจนตะไครน้ําเกาะติดภาชนะนั้น 6. มีรานอาหารในชุมชน มีการบริการอาหารของเจาของบานสําหรับนัก ทองเที่ยวอาจมี เพียงอาหารเชา หรือ บางมื้อเทานั้น ดังนั้นจึงควรมีรานอาหารในชุมชนคอยใหบริก ารนัก ทองเที่ยว เชน รานอาหารตามสั่งหรือรานขาวแกง และรานอาหาร ดังกลาวควรเปนเครือ ขายในชุมชนที่ รวมมือกันตอนรับนักทองเที่ยว โดยเฉพาะอยางยิ่งตองรวมมือในเรื่องของความสะอาดของอาหาร รานและอุปกรณตางๆ ที่สําคัญราคาปกติไมแพงจนเกินไปนอกจากนี้ควรมีบริก ารที่ยิ้มแยมแจมใส และนําประทับใจ ตัวชี้วัดดานความปลอดภัย 1. มีการจัดเวรยามดูแลความปลอดภัยใหนักทองเที่ยวโดยมีตารางเวรยามที่ชัดเจน และอาจ มีหัวหนาซึ่งเปนผูนําในชุมชนเพื่อรับผิดชอบ มีการอบรมและฝกปฏิบัติใหกับเวรยามเมื่อมีเหตุราย และขอความรวมมือใหทุกคนในชุมชนชวยกันสอดสองดูแลคนแปลกหนาและรีบแจงผูเ ปนเวรยาม ทันทีเมื่อมีเหตุราย 2. มี เครื่อ งมือ และวิ ธี การสื่ อ สารกั บเจ าหนา ที่ เมื่ อเกิ ดเหตุ ร ายหรื อกรณีที่นัก ท องเที่ ย ว เจ็บปวย เครื่องมือ หมายถึง อุปกรณหรือสิ่งที่ใชเปนสื่อเพื่อ ติดตอ เจาหนาที่ ตํารวจทหาร พยาบาล สาธารณสุข พนักงานดับเพลิงในกรณีที่เ กิดเหตุราย เชน นักทองเที่ยวเจ็บปวยประสบอุบัติเหตุ จี้ ปลน และอื่นๆ เครื่องมือดังกลาว ไดแ ก โทรศัพท โทรสาร วิทยุ เปนตน ซึ่งควรจะมีอยางใด อยางหนึ่ง หรือหลายอยางก็ได โดยสามารถใชอุปกรณสื่อ สารตางๆ ดังกลาวไดอ ยางถูกตอง และ ควรมีการฝกอบรมโดยใชสถานการณจําลองเพื่อความคลองตัวในการปฏิบัติงานเมื่อเกิดเหตุการณ จริง 3. มีก ารเตรียมความพรอมเกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต น การปฐมพยาบาลเบื้องตน หมายถึง เมื่อเกิดเหตุการณที่นักทองเที่ยวเจ็บปวย ถูกแมลงสัตวกัดตอยและอุบัติเหตุตางๆควรมีการ ปฐมพยาบาลเบื้องตนได กอนนําสงสถานพยาบาล เชน การหามเลือด การปมหัวใจ การประคบ การทําแผล นอกจากนี้ควรมียาสามัญประจําบานและที่เก็บยา ดังกลาวอยางเหมาะสมและหางาย อาจมีตูยาเฉพาะติดตั้งไวในจุดที่มองเห็นในบานพักกก 4. การตักเตือนนักทองเที่ยวเกี่ยวกับการเก็บรักษาทรัพยสินและเตรียมความพรอมเกี่ยวกับ ยา ในกรณีที่นักทองเที่ยวมีโรคประจําตัว วิธีการเตือนนักทองเที่ยวเกี่ยวกับรักษาทรัพยสิน ควรแจง ใหระวังทรัพยสินมีคาตางๆ เชน กระเปาสตางค แหวน สรอยและเครื่องประดับอื่นๆ ควรสอบถาม เกี่ยวกับโรคประจําตัวนักทองเที่ยวและควรเตือนใหเตรียมยาไวลวงหนา ทั้งนี้ควรระบุเรื่องดังกลาว ไวในเอกสารการลงทะเบียนดวย เพื่อมิใหนักทองเที่ยวหลงลืม


5. มีการดูแลและซอมแซมล็อคตางๆในที่พัก เพื่อความปลอดภัยอยูเสมอเจาของบานตอง หมั่นดูแลล็อคตางๆในบาน เชน ประตูหนาตาง ตู ใหอยูในสภาพที่ แข็งแรง และใชงานไดอ ยู ตลอดเวลา และหากชํารุดใหรีบดําเนินการซอมแซมทันที ตัวชี้วัดดานการจัดการ 1. มีก ารรวมกลุมของชาวบาน จัดการในรูปแบบของชมรม หรือสหกรณ การจัด การ โฮมสเตย ควรจะเปนการรวมกลุมของชุมชนในรูปแบบของกลุม ชมรม หรือ สหกรณ เพื่อใหชุมชน มีสว นรวมมากที่สุด และจะตองมีค วามพรอมดวยในทุกๆดาน สําหรับการดําเนินการโดยองคก ร หรือ บุคคลอื่นจากนอกพื้นที่ อาจเขามาสนับสนุนใหชุมชนรวมกลุมกันทําได แตไมควรดําเนินการ ในเชิงธุรกิจซึ่งจะกอใหเกิดปญหาตามมาภายหลัง 2. มีคณะกรรมการบริหารโครงการ เมื่อ ชุมชนรวมกลุมทําโฮมสเตยไดแ ลว ควรจัดใหมี คณะกรรมการบริหารโครงการโดยยึดหลัก การมีสวนรวมของประชาชน และหลักประชาธิปไตย เปนสําคัญ กรรมการดังกลาวจะมีบทบาทและหนาที่ชัดเจนในการดําเนินการโฮมสเตยของชุมชน 3. มีการกําหนดขอปฏิบัติ สําหรับนักทองเที่ยวเพื่อมิใหเกิดปญหาที่ขัดตอ ขนบธรรมเนียม วัฒนธรรม จารีตประเพณี ความเชื่อของชุมชน กรรมการบริหารโฮมสเตยของชุมชนตอ งรวมกัน กําหนดขอปฏิบัติตางๆใหนักทอ งเที่ยวทราบลวงหนา โดยกําหนดสิ่งที่นัก ทองเที่ยวทําไดและทํา ไมได เชน การแตงกายไมสุภาพ การแสดงออกของชายและหญิงในลักษณะชู สาว การใชสาร เสพติด เปนตน เพื่อใหนักทองเที่ยวยอมรับ และเขาใจกอนเดินทาง ทั้งนี้เ พื่อไมใหเกิดปญหาที่ขัด ตอวัฒนธรรมของชุมชน 4. มีระบบการจองลวงหนา และลงทะเบียนเพื่อทราบขอมูลเกี่ยวกับนักทองเที่ยว ระบบจอง ลวงหน า หมายถึง เมื่ อนัก ทอ งเที่ย วตอ งการมาเที่ ยวจะต อง สามารถจองลวงหน าไดโ ดยควร จัดเตรียมดังนี้ 1. ใชโทรศัพท หรือ เครือขายอินเทอรเน็ต หรือไปรษณียจองโดยตรงกับกรรมการ ของโฮมสเตย 2. จองผานบริษัทนําเที่ยว การจองลวงหนาดังกลาว ตองมีการตอบรับและตองแจงให นักทองเที่ยวทราบขอปฏิบัติลวงหนาดวย 5. มีรายละเอี ยดเกี่ ยวกับคําธรรมเนี ยมและบริ การต างๆแจง ให นัก ทอ งเที่ย วทราบอยาง ชัดเจน คาธรรมเนียม และคําบริการตางๆ ควรระบุไวในขอมูล การประชาสัมพันธ เชน คาที่พัก ตอคนตอคืน คาอาหารตอคนตอมื้อ คานําเที่ยวตอคน หรือตอกลุม ฯลฯ 6. มี ข อ มู ล เกี่ ยวกั บกิ จกรรมท องเที่ ยวอย างละเอี ย ดเพื่ อ ใหนั ก ทอ งเที่ ยวเลื อ กเนื่ อ งจาก กิจกรรมที่จัดใหนักทองเที่ยวในแตละชุมชนมีลักษณะหลากหลาย และแตกตางกันตามสภาพของ แตละชุมชน ดังนั้นจึงควรระบุกิจกรรมที่ชุมชนสามารถจัดไวใหครบถวน และใหนักทอ งเที่ยวเปน ผูเลือกตามความตองการ


7. ชุมชนไม หวัง ที่จะสรางรายไดจากการทํา โฮมสเตยเ พียงอยางเดี ยวและตอ งไมส งผล กระทบตออาชีพดั้งเดิมของคนในชุมชน สมาชิกในชุมชนที่จัดโฮมสเตยจะตองตระหนักเสมอวา โฮมสเตยเปนเพียงอาชีพเสริมมิใชอาชีพหลักทั้งนี้สมาชิกของชุมชนหนวยงานภายนอกทีส่ นับสนุน และบริษัททัวรจะตองมีความเขาใจตรงกัน ตัวชี้วัดดานกิจกรรมทองเที่ยว 1. มีกิจกรรมทอ งเที่ยว เชน การเดินปา ตกปลา ขี่มา ปนเขา ขี่จัก รยาน ฯลฯ ซึ่งเป น ภูมิปญญาทองถิ่นของคนในชุมชน เนื่องจากกิจกรรมทองเที่ยวในแตละชุมชน มีความหลากหลาย ขึ้นอยูกับสภาพพื้นที่และภูมิประเทศ ซึ่งกิจกรรมตางๆ ชุมชนจะรวมกันจัดขึ้น และกําหนดไวอยาง ชัดเจน มีผูนําเที่ยว มีความปลอดภัย และเตรี ยมอุปกรณไวใหพรอ ม เชน การตกปลา จะตอ ง เตรียมพรอมวา ใครเปนผูนําเที่ยว อุปกรณตกปลาคืออะไรและสถานที่ตกปลาอยูที่ไหน เปนตน 2. มีกิจกรรมฝกหัดศิลปหัตถกรรมพื้นบาน เชน การทอผา จักสาน ฯลฯโดยทั่วไปชาวบาน จะมี ค วามรู ค วามสามารถในด า นศิ ล ปหั ตถกรรมพื้ น บ า นอยู แ ล ว จึ งควรจั ดให มีกิ จกรรมนี้ใ ห นักทองเที่ยวเลือกดวย เชน ฝกหัดการทอผา การจักสานเปนตน 3. มีกิจกรรมตอนรับตามประเพณีของทองถิ่น เชน การบายศรีสูขวัญ ฯลฯ เมื่อนักทองเที่ยว เดินทางมาถึงชุมชน ควรจัด กิจกรรมตอนรับโดยอาศัยวัฒนธรรมประเพณีทองถิ่น ที่เคยปฏิบัติกัน มาเปนเวลาชานานอยูแลว เชน การบายศรี สูขวัญ หรือการตอนรับดวยความยิ้มแยม แจมใสและ อบอุน เปนตน โดยกิจกรรม ดังกลาวไมควรมีการปรุงแตงจนขัดแยงกับประเพณีดั้งเดิมของชุมชน 4. มีกิจกรรมบันเทิง เชน การแสดงดนตรี การเตนรํา การแสดงพื้นบาน ฯลฯกิจกรรมดาน บันเทิง หรือ นันทนาการในยามวาง หรือ เวลาเย็น หรือตามเวลาที่เหมาะสม ควรจัดใหนักทองเที่ยว เลือกดวย เชน ดนตรีพื้นเมือง การเตน/รํา และการแสดงพื้นบาน โดยการแสดงตางๆ ควรเปนของ ชุมชน 5. มีกิจกรรมการทองเที่ยวที่ไมทําลายสภาพแวดลอม กิจกรรมทุกชนิดทุกประเภทที่จัด ใหกับนักทองเที่ยวจะตองยึดหลักการเดียวกัน คือ ไมทําลายสิ่งแวดลอม เชน ไมทิ้งขยะ ไมขีดเขียน บนแผนหิน ไมสงเสียงดัง เปนตน 6. มีกิจกรรมในการแลกเปลี่ยนเรียนรูซึ่งกันและกันระหวางนักทอ งเที่ยวกับเจาของบาน เชน กิจกรรมเกี่ยวกับการประกอบอาชีพของชุมชน และการถายทอดตํานานหรือประวัติศาสตรของ ทองถิ่น ในระหวางนักทองเที่ยวอยูใ นชุมชนจะตองตระหนักเสมอวาเปนการแลกเปลี่ยนเรียนรูซึ่ง กันและกัน ดานนักทองเที่ยวควรตอ งเรียนรูวิถีชีวิตของชุมชน ในขณะเดียวกันชุมชนก็ไดเรียนรู วั ฒ นธรรมบางอย า งของนั ก ท อ งเที่ ย วด วยโดยเฉพาะอย า งยิ่ งนั ก ท อ งเที่ ย วที่ เ ดิ น ทางมาจาก ตางประเทศ


ตัวชี้วัดดานสภาพแวดลอม 1. มีแหลงทองเที่ยวประเภทใดประเภทหนึ่งหรือ หลายประเภท เชน แหลงโบราณสถาน โบราณคดี แหลงทองเที่ยวทางการเกษตรเปนตน ในบริเวณใกลที่พัก ควรมีแหลงทอ งเที่ยวซึ่งเปน สิ่งดึงดูดใจใหแกนักทองเที่ยวอยางนอย 1 ประเภท ไดแก 1. แหลงทองเที่ยวทางธรรมชาติ ไดแ ก ภูเ ขา ทะเล น้ําตก น้ําพุ ฯลฯ 2. แหลงโบราณสถานโบราณวัตถุ และประวัติศ าสตรเชน วัด เจดีย วัตถุ โบราณ ฯลฯ 3. แหล ง ทอ งเที่ ยวที่ ชุ มชนมี อยู แ ลว และเปน อาชี พของคนในชุ มชนเช น สวนผลไม แปลงผัก บอปลา รวมถึงการทํานา ปลูกขาว ฯลฯ 2. มีการดูแลรักษาสภาพแวดลอมทั้งที่เปนแหลงทองเที่ยว และชุมชนอยูเ สมอชุมชนจะตอง มี ส ว นร วมในการดู แ ลรั ก ษาสภาพแวดล อ มในแหล งท อ งเที่ ย วโดยร ว มมื อ กั บหนว ยราชการ ที่มีหนาที่ดูแลรักษาโดยตรง 3. มีสถานพยาบาล ไปรษณีย และธนาคารอยูไม ไกลเกินไป โฮมสเตยควรอยูไ มไกล จากสถานพยาบาล เพื่อ ความสะดวกในการเคลื่อนยายนั กทอ งเที่ยวเมื่อ เจ็บปวย หรือหากไม มี สถานพยาบาล ควรรูส ถานพยาบาลที่อยูใกลที่สุด สวนไปรษณีย และธนาคารก็เชนกัน หากไมอ ยู ใกลชุมชนควรจะรูสถานที่ที่อยูใกลมากที่สุด เพื่อแนะนํานักทองเที่ยวได ตัวชี้วัดดานมูลคาเพิ่ม 1. มีรา นขายของที่ระลึกและสินคาหัตถกรรม อุตสาหกรรมพื้นบานภายในชุมชนควรจัดให มีรานคา หรือมุมเล็กๆ ของชุมชนเปนจุดจําหนายสินคาของที่ระลึก หากไมมี ชุมชนควรจัดการใหมี รานคาของชุมชนเกิดขึ้น 2. มีผลิตภัณฑโดยชาวบานและใช วัตถุดิบในทองถิ่นผลิต ชุมชนควรใชโอกาสนี้ในการใช ภู มิป ญ ญาที่ ชุ มชนสั่ ง สมมาหรื อ สิ่ ง ที่ ชุ มชนริ เ ริ่ มขึ้ น ใหม ทํ า ของที่ ร ะลึ ก เพื่ อ จํ า หน า ยให กั บ นักทองเที่ยว ซึ่งของที่ระลึกดังกลาว อาจเปนสิ่งของเครื่อ งใช เครื่องประดับ เสื้อ ผา ตลอดจนของ ตกแตง หรืออาหาร ขนม โดยควรใชวัสดุหรือวัตถุดิบที่มีในชุมชนนั้นเปนหลัก 3. มีโอกาสไดเผยแพรวัฒนธรรมของชุมชน ชุมชนไดใชโอกาสที่นักทอ งเที่ยวเขามาใน ชุมชนไดเผยแพรวัฒนธรรมของชุมชนทุกๆดาน ใหนักทองเที่ยวไดสัมผัสและชื่นชม ซึ่งถือวาเปน การทํานุบํารุงวัฒนธรรมของตนอีกดวย 4. มีโอกาสพัฒนาศักยภาพของ บุคลากรในชุมชนในดานการใหบริก ารที่ประทับใจ การที่ ชุมชนมีโอกาสตอนรับนักทองเที่ยวในแตละครั้ง คนในชุมชนไดมีโอกาสแสดงความสามารถของ ตนเอง ตามที่ตนถนัด เชน การตอนรับ มัคคุเทศก การปรุงอาหาร การทอผาจักสาน เปนตน


ตัวชี้วัดดานการสงเสริมการตลาด 1. มีคูมือหรือเอกสารที่เผยแพรก ารทองเที่ยวเปนของตนเอง และเปนขอมูลจริงโดยคูมือ หรือเอกสารดังกลาวมีรายละเอียดตางๆครบถ วน เชน รายการกิจกรรม แหลงทองเที่ยวแผนที่ การเดิ น ทางโฮมสเตย แ ต ล ะแห ง ควรมี คู มื อ หรื อ แผ น พั บ หรื อ เอกสารที่ ร วบรวมข อ มู ล ให นักทองเที่ยวรับทราบ โดยคูม ือดังกลาวควรระบุรายละเอียดทุกประเภทใหนักทองเที่ยวทราบโดย ชัดเจนดวย อยางนอยควรมีกิจกรรมการทองเที่ยว รายละเอียดคาใชจายและการติดตอเพื่อ เป น ประโยชนแกนักทองเที่ยว เปนตน 2. มีการเผยแพรขอมูล ประชาสัมพันธ เนื่อ งจากในปจจุบัน การติดตอ สื่อสารผานระบบ เครือขายอินเตอรเน็ต ทําไดคอ นขางงาย โดยคนในทองถิ่นสามารถทําไดเอง ดังนั้นโฮมสเตยจึงควร สรางโฮมเพจของตนเอง ซึ่งเปนทั้งภาษาไทย และภาษาอังกฤษ (หากมีปญหาในการดําเนินการ ควร ขอความชวยเหลือจากฝายสนับสนุน) 3. มีรายชื่ออยูในคูมือการทองเที่ยวโฮมสเตยของกระทรวงการทองเที่ยวและกีฬา ปจจุบัน สํ า นั ก งานพั ฒ นาการท อ งเที่ ย ว กระทรวงการท อ งเที่ ย วและกี ฬ าได จัด ทํา คู มื อ และทํ าเนี ย บ การทองเที่ยวแบบโฮมสเตย ของประเทศไทย ดังนั้นโฮมสเตยตางๆจึงควรติดตอเพื่อใหอยูในระบบ ดังกลาวและในขณะเดียวกันอาจมีการเชื่อมโยงขอมูลทางอินเตอรเ น็ตของกระทรวง ซึ่งมีโฮมเพจ ดานนี้โดยเฉพาะ www.homestaythailand.org 4. มาตรฐานโฮมสเตย เปนมาตรฐานที่สํานักงานพัฒนาการทองเที่ยว กระทรวงการทองเที่ยวและกีฬา จัดทําขึ้น เพื่อเปนแนวทางในการประเมินศักยภาพโฮมสเตยในประเทศไทย เมื่อป พ.ศ. 2547 และใชเปนคูมือ ของผูประกอบการในการพัฒนาโฮมสเตย ใหไดคุณภาพมาตรฐาน และไดประกาศใชอ ย างเป น ทางการแลว มาตรฐานที่ 1 ดานที่พัก ลักษณะบานพักที่เปนสัดสวน - เปนบานของเจาของที่แบงปนที่นอน หรือหองนอน อยางเปนสัดสวน หรืออาจปรับปรุง ตอเติมที่พัก ที่ติดกับบานเดิมเพื่อใชเปนที่นอนหรือหองนอนเปนสัดสวน ที่พักที่นอนสะอาด และสบาย - มีที่นอนสําหรับนักทองเที่ยวอาจเปนเตียง ฟูก หรือเสื่อ และมีมุง หรือมุงลวดเพื่อ ปองกัน ยุงและแมลง


- มีเครื่องนอน อุปกรณที่ใชนอน ผาปู หมอน ปลอกหมอน ผาหม และไดรับการทําความ สะอาดทุก ครั้ง ที่มีก ารเปลี่ย นนั กทอ งเที่ยวและเปลี่ ยนเครื่องนอนตามความเหมาะสมในกรณี ที่ นักทองเที่ยวพักหลายวัน - มีราวตากผาหรือที่เก็บเสื้อผา หองอาบน้ําและหองสวมที่สะอาดมิดชิด - มีความปลอดภัย มีที่ล็อคประตูอยูในสภาพใชงานไดดี มีความมิดชิด - มีขนาดของหองน้ําที่เหมาะสม มีอากาศถายเทไดสะดวก - มีการแยกขันสําหรับตักอาบน้ํา- น้ําที่ใชมีความสะอาด อาจเปนประปาหมูบาน ประปา ภูเขา หรือน้ําดิบที่ปลอยไวระยะหนึ่งและแกวงสารสม - มีถังขยะในหองน้ํา มุมพักผอนภายในบานหรือในชุมชน - มี มุมพั ก ผ อ น ที่ ส งบ สบายภายในบ า นหรื อ บริ เ วณโดยรอบที่ ส ามารถนั่ ง นอนและ มีบรรยากาศผอนคลาย เชน ลานบาน ใตตนไม ศาลาหนาบาน - มีการดูแลบริเวณรอบบาน เชน สวนครัว ตนไม ไมดอกไมประดับ รองน้ํา มาตรฐานที่ 2 ดานอาหารและโภชนาการ ชนิดของอาหารและวัตถุดิบที่ใชประกอบอาหาร - มีปริมาณ และประเภทอาหารที่เหมาะสม - ผลิตโดยใชวัตถุดิบในทองถิ่น ไมซื้ออาหารหรือกับขาวถุง - มีการปรุงอาหารอยางถูกสุขอนามัย น้ําดื่มที่สะอาด - มีที่เก็บน้ํา / ภาชนะเก็บน้ําที่สะอาดไมมีตะกอน มีฝาปดมิดชิด - มีน้ําดื่มที่สะอาด ผานกระบวนการทําความสะอาด 2.3 ภาชนะทีบรรจุอาหารที่สะอาด - มีภาชนะที่เกี่ยวของกับอาหาร เชน ถวย ชาม จาน ชอน ชอนกลาง ทัพพี โถขาวที่สะอาด ไมมีคราบ และกลิ่นคาว กลิ่นอับ หองครัวและอุปกรณที่ใชในครัวมีความสะอาด - ครัวอาจอยูในบาน หรือแยกจากตัวบานก็ได และมีการดูแลความสะอาดอยูเสมอ - มีอุปกรณการเก็บ เครื่อ งปรุง วัตถุดิบ ที่สะอาดสามารถปองกันเชื้อโรคและสิ่งสกปรก เชน มีที่เก็บมิดชิด ที่แขวน หรือมีฝาชีครอบ หรือคลุมผาสะอาด - มีการจัดการขยะที่ถูกสุขอนามัย


มาตรฐานที่ 3 ดานความปลอดภัย การเตรียมความพรอมเกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องตน - มีแนวทางปฏิบัติเ พื่อการชวยเหลือ เบื้องต น เมื่อ นัก ทอ งเที่ยวเกิดเจ็บปวย หรื อ ไดรับ อุบัติเหตุ - มียาสามัญประจําบาน ที่อยูในสภาพใชไดทันที (ยังไมหมดอายุ) - เจ า ของบ านควรซั ก ถามถึ ง โรคประจํา ตัวหรือ บุ ค คลที่ ติดตอ ได ทัน ที ในกรณี เ กิด เหตุ ฉุกเฉินกับนักทองเที่ยว การจัดระบบดูแลความปลอดภัย - มีการแจงให ผูใหญบานหรือ กํานันรับทราบ ขณะมีนักท อ งเที่ยวในบาน เพื่อ ขอความ รวมมือในการดูแลรักษาความสงบความปลอดภัย - มีการจัดเวรยามดูแลรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน เชน รถยนต - เมื่อมีเหตุรายตองมีเครื่องมือสื่อสารติดตอกับหนวยงานที่รับผิดชอบโดยตรงได มาตรฐานที่ 4 ดานอัธยาศัยไมตรีของเจาของบานและสมาชิกในครัวเรือน การตอนรับและการสรางความคุนเคย - มีการแนะนํานัก ทองเที่ยวกับสมาชิกในครัวเรือ นทุกคนที่อยูในขณะนั้น เพื่อ รูจักและ เรี ยนรู วิถีชี วิตของเจ า ของบ า นผ า นกิ จกรรมต า ง ๆ ภายในบา น เช น เก็ บ ผั ก สวนครั วร วมกั น ทํากับขาวรวมกัน รับประทานอาหารรวมกัน เปนตน การสรางกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรูในวิถีชีวิตของชุมชน - เจาของบานมีการแลกเปลี่ยนใหขอมูล อาจเปนเอกสารภาพถาย หรือ การพูดคุยในเรื่อง เกี่ยวกับวิถีชีวิต สังคม และวัฒนธรรมในชุมชนอยางเหมาะสม - เจาของบานเปดโอกาสใหนักทองเที่ยวเรียนรูวิถีชีวิตของตนเอง เชน ไปดูไรนา ออกทะเล เก็บใบชา ทอผา จักสาน เปนตน ซึ่งจะเปนโอกาสของการแลกเปลี่ยนเรียนรูวิถีชีวิต มาตรฐานที่ 5 ดานรายการนําเที่ยว มีรายการนําเที่ยวที่ชัดเจนสําหรับนักทองเที่ยวซึ่งตองผานการยอมรับจากชุมชน - มี ก ารวางแผนโปรแกรมการทอ งเที่ ย วร วมกั น ของชุมชนและกลุ มโฮมสเตย เพื่ อ การ กระจายรายไดใหเกิดขึ้นในแตละหมูบานหรือแตละกลุมกิจกรรม - มีโปรแกรมการทองเที่ยวที่เผยแพรสูสาธารณะและนัก ทองเที่ยวที่ชัดเจน สอดคลองกับ สภาพความเปนจริงของชุมชน


ขอมูลกิจกรรมทองเที่ยว - มี ขอ มูล รายละเอี ยดกิจกรรมในโปรแกรมการทอ งเที่ ยวที่หลากหลายแตกตา งกั นตาม ภูมิศาสตร สังคม วัฒนธรรม เพื่อใหนักทองเที่ยวตัดสินใจเลือกได เจาของบานเปนมัคคุเทศกทองถิ่นหรือประสานงานใหมัคคุเทศกทองถิ่นนําเที่ยว - กลุ ม หรื อ เจ า ของบ า นเป น ผู นํ า เที่ ย วเพื่ อ ให ค วามรู ค วามเข า ใจเกี่ ย วกั บ ทรั พ ยากร สิ่ ง แวดล อ มวั ฒ นธรรม ศิ ล ปะ สถาป ตยกรรม การแสดง ความเชื่ อ คา นิ ย มภายในชุ มชนแก นักทองเที่ยว - มีการจัดทําสื่อ เชน สิ่งพิมพ รูปถาย ภาพวาด เพื่อการเรียนรูของนักทองเที่ยว มาตรฐานที่ 6 ดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ชุมชนมีแหลงทองเที่ยวภายในชุมชนหรือแหลงทองเที่ยวใกลเคียง - มีแหลงดึงดูดความสนใจของนัก ทองเที่ยวซึ่งอาจเปนแหลงธรรมชาติ เชน แมน้ํา ภูเขา หรือแหลงทองเที่ยวที่มนุษยสรางขึ้น เชน วัดเจดีย เปนตน หรือใชแหลงทองเที่ยวใกลเคียงเปนสวน หนึ่งของโปรแกรมการทองเที่ยว การดูแลรักษาแหลงทองเที่ยว - ชุมชนมีกฎ กติกา การใชทรัพยากรการทองเที่ยวที่ชัดเจน เพื่อใหการใชประโยชนเปนไป อยางยั่งยืน เชน ปริมาณนักทองเที่ยวที่ชุมชนรองรับได การไมเก็บพันธุพืชออกจากปา เปนตน - มีกิจกรรมที่สัมพันธกับงานการฟนฟูอนุรักษแหลงทอ งเที่ยวในหลากหลายรูปแบบ เชน การปลูกปา การจัดคายอนุรักษสิ่งแวดลอมสําหรับเยาวชน แผนงานหรือมาตรการลดผลกระทบจากการทองเที่ยวและลดสภาวะโลกรอน - องคกรปกครองสวนทองถิ่น ชุมชนและกลุมโฮมสเตยมีแผนงาน มาตรการ และแนวทาง ปฏิบัติในการจัดการขยะอยางถูกวิธี เชน การแยกขยะ ไมเผาขยะ มีกิจกรรมในการลดผลกระทบจากการทองเที่ยวเพื่อการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอมและลดสภาวะโลกรอน - เนนใชทรัพยากรธรรมชาติในทองถิ่น เชน หอขาวดวยวัสดุที่มาจากธรรมชาติ - มีกิจกรรมที่ลดการใชทรัพยากรอยางสิ้นเปลือง เชน ใชจักรยานแทนการใชรถ ใชเรือพาย แทนการใชเครื่องยนต หรือการใชหลอดประหยัดไฟในครัวเรือน มาตรฐานที่ 7 ดานวัฒนธรรม การดํารงรักษาไวซึ่งวัฒนธรรมประเพณีทองถิ่น - มีบานเกา หรือบานที่แสดงถึงวัฒนธรรมดั้งเดิม เพื่อสรางความสนใจแกนักทองเที่ยว


- มีก ารรวบรวมองค ความรู ดานวั ฒนธรรมท อ งถิ่ น เพื่ อนํ า สูก ารเผยแพร ที่ถูก ต องแก นักทองเที่ยว - ชุ ม ชนและโรงเรี ย นมี แ ผนงานฟ น ฟู อนุ รั ก ษ แ ละถ า ยทอดวั ฒ นธรรม ศิ ล ปะและ การละเลนพื้นบาน - ผูแสดงทางวัฒนธรรมและผูที่เกี่ยวของมีสวนรวมในการวางแผนเนื้อ หา รูปแบบและ การนําเสนออยางภาคภูมิใจ การรักษาวิถีชีวิตชุมชนคงไวเปนกิจวัตรปกติ - มีการดําเนินวิถีชีวิตที่เปนปกติ เชน การตักบาตร การทําบุญที่วัด การไหวศาลปูตา เปนตน ไมควรเปลี่ยนหรือจัดทําใหม เพื่อตอบสนองความตองการของนักทองเที่ยว มาตรฐานที่ 8 ดานการสรางคุณคาและมูลคาของผลิตภัณฑ ผลิตภัณฑจากชุมชนเพื่อเปนของที่ระลึก/ของฝากหรือจําหนายแกนักทองเที่ยว - มีผลผลิตหรือ ผลิตภัณฑชุมชนหรือชุมชนสามารถนํามาจําหนายแกนักทองเที่ยวไดทั้ง เปนของบริโภค สิ่งประดิษฐ เสื้อผา สิ่งทอ ของที่ระลึก โดยใชวัสดุและวัตถุดิบทองถิ่นเปนหลัก ผลิตภัณฑที่สรางคุณคาและมูลคาที่เปนเอกลักษณของชุมชน - มีการนําเอาความรู/ ภูมิปญญาทองถิ่นมาจัดกิจกรรมการเรียนรู เพื่อใหค นในชุมชนเกิด ความภาคภูมิใจในทองถิ่นของตน พรอมกันนั้นก็ส ามารถจัดทําเปน กิจกรรมการทองเที่ยวได เชน การสอนทอผา การจักสาน การละเลนตาง ๆ และการแสดงพื้นบาน มาตรฐานที่ 9 ดานการบริหารของกลุมโฮมสเตย การรวมกลุมของชาวบาน - การบริหารจัดการตองเปนการรวมกลุมโดยการมีสวนรวมของชุมชน สมาชิกกลุม และ ชุมชน ตองมีความรู ความเขาใจ แนวคิด หลักการ วัตถุประสงค และวิธีการของโฮมสเตย คณะกรรมการกลุมโฮมสเตย - มีการเลือกตั้งคณะกรรมการบริ หารงาน ไดแ ก ประธาน รองประธาน เหรัญญิก และ กรรมการฝายตาง ๆ ตามความเหมาะสมของแตละชุมชน - คณะกรรมการทุกคนตองมีความรูความเขาใจในปรัชญาหลักการ ขั้นตอน วิธีการทํางาน ของโฮมสเตย ตามบทบาทหนาที่ที่แตละคนไดรับมอบหมาย กฎ กติกา การทํางานของคณะกรรมการ - มีกฎ กติก า วาระการทํางาน การทํางานรวมกันของคณะกรรมการ เชน การจัดประชุม อยางตอเนื่อง กอนจะรับนักทองเที่ยว และหลังรับนักทองเที่ยวหรือจัดประชุมประจําเดือน - มีการจัดสรรเงินรายไดเขาสวนกลางของชุมชนเพื่อสาธารณะประโยชนของชุมชน


- มีแนวทางในการทํางานของคณะกรรมการตามหลักเกณฑตอไปนี้ 1. มีหลักเกณฑการเปดรับสมาชิกโฮมสเตย 2. มีการกําหนดขีดความสามารถในการรองรับนักทองเที่ยว 3. มีรายละเอียดกิจกรรมการทองเที่ยว การใหบริการ และราคา 4. มีแนวปฏิบัติในการจองบานพัก และการชําระเงินลวงหนา -มี แ นวปฏิ บัติ ข องกลุ ม เช น การต อ นรั บร ว มกั น การใหข อ มู ล การจัด ลํ า ดั บกิ จกรรม การดูแลความปลอดภัย การติดตาม และประเมินผล เปนตน มีการจายผลประโยชนอยางเปนธรรม - มีแนวปฏิบัติหมุนเวียนการใหบริการ เชน บาน รถ เรือ มัคคุเทศก เปนตน - มีระบบการคิดราคาที่เปนที่ยอมรับของกลุม - มีการจัดสรรรายไดเขากองทุนชุมชน ระบบการจองการลงทะเบียนและการมัดจําลวงหนา - มีระบบการจองลวงหนา - มี ก ารลงทะเบี ย นนั ก ท อ งเที่ ย วเพื่ อ เป น ข อ มู ล ในการเตรี ย มการและให บ ริ ก ารแก นักทองเที่ยว - มีการชําระเงินลวงหนา ในอัตราสวนที่ทางกลุมเปนผูกําหนด รายละเอียดของคาธรรมเนียมและบริการตาง ๆ ที่ชัดเจน และเปนปจจุบัน - มี ก ารระบุ คา ธรรมเนี ยมและค าบริ ก ารต า ง ๆ ที่ ชัดเจนและเป น ป จจุ บัน ไวในขอ มู ล การประชาสัมพันธ เชน คาที่พัก คาอาหาร คานําเที่ยว ซึ่งอาจจะคิดเปนรายคนหรือ คิดในลัก ษณะ เหมาจาย เปนตน มาตรฐานที่ 10 ดานประชาสัมพันธ เอกสาร สื่อสิ่งพิมพ ประชาสัมพันธการทองเที่ยวของชุมชน - มีคูมือ แผนพับ แผนที่การเดินทาง โปรแกรมการทองเที่ยว กิจกรรมการทองเที่ยว ราคา และสถานที่ติดตอ แผนการเผยแพรประชาสัมพันธ - มีเปาหมาย แผนงาน การเผยแพร ประชาสัมพันธกับกลุมเปาหมายที่ชัดเจน


5. แนวคิดที่เกี่ยวกับปจจัยดานการจัดการทองเที่ยว ชิดจันทร หังสสูต (2532, หนา 1-2) ไดอ ธิบายความหมายของ 2 คํานี้ คือ “นันทนาการ (Recreation) คือ งานบันเทิงหรือการพักผอนหยอนใจทั่วไป จะทําขึ้นโดยเฉพาะในยามวางเปน ความสนุกสนานเฉพาะตัวที่สามารถเลือกได จึงเปนกิจกรรมโดยเฉพาะอยางที่เปนความพอใจหรือ เกิดความสุขใจแกบางคน บางกลุม บางเหลาเทานั้น” การเดินทาง (Travel) หมายถึง การเดินทางผาน หรือการวางแผนเดิน ทางจากสถานที่หนึ่ง ไปยังอีกสถานที่หนึ่ง โดยใชยานพาหนะไปเปนระยะทางใกลๆ หรือสถานที่ตางประเทศรวมทั้งการ เครื่องไหวทุกชนิดโดยไมสนใจในจุดมุง หมายแตอยางใด จะเห็นวา คนเดินทาง หลายแบบหลายวิธีและดวยเหตุผลตางๆ กัน เพื่อที่จะใหการเดิน ทาง มีค วามหมายเปน การท อ งเที่ยว (Tourism) การเดินทางจะต องมี เงื่อ นไขอยา งนอ ย 3ประการ ครบถวนคือ 1. ตองเปนการชั่วคราว 2. ตองเปนไปตามความจงใจของผูเ ดินทาง 3. ต อ งมิ ใช เพื่ อรั บสิ น จางในการนั้น และนําจะเห็ นไดวา ผูเ ดิน ทางจะเปนนัก ท องเที่ ย ว หรือ ไม ขึ้น อยู แกจิตใจหรือ ทาทีค วามรู สึก (Attitude) ของผู เดิ นทางนั้ นด วย ซึ่ง สอดคลอ งกั บ (ฉลองศรี พิ มลสมพงศ , 2542, หนา 4) ให ค วามหมายของการท องเที่ยว (Tourism)หมายถึง “การเดินทางเพื่อความเพลิดเพลิน และพักผอนหยอนใจและเปนการเดินทางที่มีเงื่อนไข 3 ประการ” คือ 1. เดินทางจากที่อยูอาศัยปกติไปยังที่อื่นเปนการชั่วคราว 2. เดินทางดวยความสมัครใจ 3. เดินทางดวยวัตถุประสงคใดๆ ก็ได แตไมใชเพื่อประกอบอาชีพหรือหารายได (วินิจ วีรยางกูร, 2532, หนา 6-7) ไดใหความหมายของนักทองเที่ยวไว 3 ประเภท ดังนี้ 1. นักทองเที่ยว (Tourists) คือ ผูมาเยือนชั่วคราว ซึ่งมักจะมาพักอาศัยอยูในประเทศที่มา เยือนตั้งแต 24ชั่วโมงขึ้นไป และการมาเยือนมีวัตตุประสงคเพื่อ - เพื่ อพัก ผอ น เชน การบั นเทิ ง พัก ผ อนในวั นหยุด เพื่ อ สุข ภาพ เพื่อ การศึก ษา เพื่ อ ประกอบการศาสนกิจ และการกีฬา - เพื่อธุรกิจ - เพื่อเยี่ยมครอบครัว


- เพื่อราชการ - เพื่อเขาประชุม 2. นักทัศนาจร (Excursionist) คือ ผูที่เดินทางเยือ นเปนการชั่วคราวและพัก อยูในประเทศ ที่มาเยือนไมเกิน 24 ชั่วโมง 3. นัก ทองเที่ยวภายในประเทศ (Domestic Tourists) คือ นัก ทองเที่ยวที่เดินทางไปไหน ก็ตามโดยใชเสนทางที่มิไดใชอยูเปนปกติประจําวัน และมีระยะทางไมต่ํากวา 60 กิโลเมตร หรือ ออกไปนอกเขตจังหวัดที่เปนภูมิลําเนาของตน วัตถุประสงคของการเดินทางทองเที่ยว (ฉลองศรี พิมลสมพงศ, 2542, หนา 6-7) ผูประกอบธุรกิจทองเที่ยว (Tourism Suppliers) นิยมแบงวัตถุประสงคในการเดินทางของนักทองเที่ยว ออกเปน 2 ประเภทใหญ ๆ คือ 1. การพักผอนเมื่อมีเวลาวาง (Leisure) ไดแ ก กิจกรรมนันทนาการ (Recreation)วันหยุด (Holiday) เพื่อสุขภาพ (Health) การศึกษา (Study) ศาสนา (Religion) และการกีฬา(Sport) 2. การติดต อธุ รกิ จ (Business) ไดแ ก การประชุ ม (Meeting) การปฏิบัติง านที่ ได รับ มอบหมาย (Mission) รสนิยมและความตอ งการสวนตัวของนักทอ งเที่ยว เชน การเดินทาง การ พักแรม การรับประทานอาหาร การเที่ยวดูชม การซื้อของที่ระลึก และอื่นๆ ขึ้นอยูกับการมีอํานาจ ในการซื้อของนักทองเที่ยว มีความพรอมและเต็มใจที่จายตามราคาของสินคาในขณะนั้น (ชิดจันทร หังสสูต, 2532, หนา 8-9) แบงความมุงหวังของการเดินทางทองเที่ยวออกเปน 4 อยาง คือ 1. มุงหวังในทางกาย คือ มุงเดิน ทางเพื่อ การพัก ผอนทางรางกาย การแสดงกี ฬา การ สนุกสนานชายหาด การพักผอนใจในไนตคลับ และดานรักษาสุขภาพโดยตรง อาจเปนคําสั่งของ แพทย หรือคําแนะนํา และประโยชนของการรักษาตัว เชน การอาบน้ําแรเพื่อรักษา เปนตน 2. มุงหวังในทางศิลปวัฒนธรรม ผูเดินทางตองการหาความรูเกี่ยวกับประเทศนั้นๆเกี่ยวกับ ดนตรีศิลปะ นิทานพื้นบาน การเตนรํา การเขียนภาพ ศาสนา และกิจกรรมวัฒนธรรมประเพณีตางๆ 3. มุงหวังในมิตรภาพ ผูเดินทางประสงคที่จะเยี่ยมเพื่อนหรือญาติ เพื่อหนีความจําเจ หนีไป จากครอบครัว และเพื่อนบานที่ยุงเหยิง หรือเพื่อคบเพื่อนใหมๆ 4. มุงหวังทางฐานะและชื่อเสียงเกียรติยศ ตองการพัฒนาบุคลิกสวนตัว เชน การไปประชุม ไปธุรกิจ ไปศึก ษาตอ ไปเพื่อทําอะไรในยามวาง ไปเพื่อศึกษาที่ไดรับปริญญาบัตร และสนใจใน ดานอาชีพหรือวิชาชีพอื่นๆเปนเรื่องที่ตองการจะเรียนรู


6. พฤติกรรมการทองเที่ยว พฤติ ก รรมของนั ก ท อ งเที่ ยวในการตัด สิ น ในการท องเที่ ยว การศึ ก ษาเรื่ อ งพฤติ ก รรม นักทอ งเที่ยวในการตัดสินใจทองเที่ยว ก็เ พื่อให อุตสาหกรรมการทองเที่ยวสามารถตอบสนอง ความตองการของนักทองเที่ยวใหไดรับความพอใจ ซึ่งพฤติกรรมของนักทองเที่ยวในการตัดสินใจ ทองเที่ยว หมายถึงปฏิกิริยาของนัก ทองเที่ยวที่เ กี่ยวขอ งโดยตรงกับการไดรับหรือการใชบริก าร ทางการทอ งเที่ยว รวมทั้ งขบวนการต างๆ ในการตัด สิน ใจเดิน ทางท องเที่ ย วซึ่งพอจะสรุปถึง พฤติกรรมของนักทองเที่ยวในการตัดสินใจทองเที่ยววามีขั้นตอนสําคัญอยู 9 ขั้นตอนดังตอไปนี้คือ ขั้นตอนที่ 1 การสงเสริมตลาดทางการทองเที่ยว (Tourism Promotion)เปนการอํานวย ขาวสารขอมูลการทอ งเที่ยวใหแกนัก ทองเที่ยวกลุมเปาหมายโดยผานสื่อตางๆ และหนวยงานที่ เกี่ยวของ ทําใหนักทอ งเที่ยวไดรับขาวสารทางการทองเที่ยวเหลํานั้น เชนจากหนังสือพิมพ จาก นิตยสาร จากองคการสงเสริมการทองเที่ยว จากบริษัทนําเที่ยว จากบริษัทการบิน จากญาติมิตร เปนตน ขอมูลทางการทองเที่ยวอาจเปนขอมูลเกี่ยวกับแหลงทองเที่ยว วัฒนธรรม ประวัติศาสตร ที่พัก การคมนาคม ความปลอดภัย ฯ ล ฯ ซึ่งการสงเสริมตลาดทางการทองเที่ยวไปยังนัก ทองเที่ยว สามารถกระทําไดทั้งภาครัฐและเอกชนซึ่งไดกลาวไปแลว ขั้นตอนที่ 2 ความตองการทองเที่ยวของนักทองเที่ยวแตละคน (Need) เมื่อนัก ทองเที่ยว กลุมเปาหมายไดรับทราบขอ มูลทางการทองเที่ยวแลว ก็จะกอ ใหเ กิดความตอ งการทอ งเที่ยวขึ้น ภายในจิตใจของนักทองเที่ยวแตละคน ทั้งนี้นักทองเที่ยวตองการเสริมสิ่งที่ขาดไปหรือ เพิ่มรสชาติ ใหกับชีวิต เชนเกิดความเบื่อหนาย อยากเปลี่ยนบรรยากาศตองการเดินทางทองเที่ยวใหไดเห็น สิ่งใหมๆ เพื่อเพิ่มประสบการณ เปนตน โดยปกติแ ลวนักทองเที่ยวสวนมากตองการไปยังแหลง ทองเที่ยวที่นําสนใจ คําครองชีพถูก การบริการไดมาตรฐาน มีความสะดวกสบายและปลอดภัย ในการทองเที่ยว ขั้นตอนที่ 3 สิ่งจูงใจสําหรับนักทองเที่ยว (Motivation) เปนแรงกระตุนใหอยากทองเที่ยว ซึ่งเกิดจากปจจัย 2 ประการ คือ ปจจัยที่เปนแรงผลักดัน (Push Factor) เปนสภาพเงื่อนไขมากระตุน ผลักดันใหเกิดความตองการหลีกหนีความจําเจซ้ําซากในชีวิตประจําวันเพื่อไปทองเที่ยวและปจจัยที่ เปนแรงดึงดูด (Pull Factor) เปนเงื่อนไขที่ดึงดูดใจใหไปชมแหลงทองเที่ยวหรือกิจกรรมทางการ ทองเที่ยว ซึ่งอาจแบงสิ่งจูงใจออกไดเปน 4 ประเภทคือ 1. สิ่งจูงใจทางกายภาพ (Psychical Motivation) เปนแรงกระตุน ที่เกิดจากความตอ งการ พักผอนทางรางกายและจิตใจใหสดชื่น รักษาบํารุงสุขภาพ เชน การรับอากาศบริสุทธิ์ การรวม กิจกรรมตางๆ เปนตน


2. สิ่งจูงใจดานวัฒนธรรม (Culture Motivation) เปนแรงกระตุน ที่เกิดจากความตอ งการ อยากรูจักวั ฒนธรรมของประเทศที่ไมเ คยรูจัก มากอน รวมทั้งการดําเนิน ชีวิต ศิลปะ สถานที่ ประวัติศาสตรเทศกาลตางๆ ฯ ล ฯ 3. สิ่งจู งใจด านสวนตัว (Personal Motivation) เปนแรงกระตุนที่ เกิดจากความตอ งการ สวนตัว เชน เดินทางไปเยี่ยมญาติมิตร การไปจาริกแสวงบุญ เปนตน 4. สิ่งจูงใจดานสถานภาพและชื่อเสียง (Prestige and Status Motivation) เปนแรงกระตุนที่ เกิดจากการตองการพัฒนายกระดับตัวเองใหสูงขึ้นและสรางชื่อขึ้น เชน การเขารวมประชุม การเขา รวมการแขงขันกีฬา เปนตน ขั้นตอนที่ 4 การตัด สินใจของนักทองเที่ยว (Decision Making) นับวาเปนองคประกอบ ที่ ส ง ผลกระทบต อ การท อ งเที่ ยวมากเมื่ อ ผู ป ระสงคจะเดิ น ทางท อ งเที่ ย วได รับ ข อ มู ล ทางการ ทองเที่ยวแลวเกิดความตองการอยากทอ งเที่ยวขึ้น อีกทั้งเกิดแรงกระตุนจากสิ่งจูงใจ จะทําใหเ กิด ภาพลัก ษณทางการทองเที่ยว (Tourist Image) ของแตละทองถิ่นขึ้น เพื่อประกอบการพิจารณา ตัดสินใจวาจะไปทองเที่ยวที่ไหนดีที่สุด โดยคํานึงถึงการประหยัดปลอดภัย สะดวกสบายและความ อภิรมยมากที่สุดเปนเกณฑ ภาพลักษณการทองเที่ยวของสถานที่ทองเที่ยวอาจปรากฏทั้งในลักษณะ บวกหรือลบก็ได เชน ประเทศยุโรปมีความปลอดภัยสูง แตคา ใชจา ยสูงตามดวยประเทศสังคมนิยม มีเงื่อนไขการเขาประเทศยุงยาก เปนตน จากการสํารวจปจจัยในการตัดสินใจของนักทอ งเที่ยวมี 8 ประการตามลําดับความสําคัญตอไปนี้ 1. จะไปทองเที่ยวที่ไหน 2. จะไปทองเที่ยวเมื่อไหร 3. จะไปทองเที่ยวโดยทางใด 4. จะไปทองเที่ยวกับใคร 5. จะไปทองเที่ยวนานเทาไหร 6. จะไปทองเที่ยวเพื่อชมอะไร 7. จะไปพักแรมในสถานที่ประเภทไหน 8. จะไปทองเที่ยวแตละสถานที่กี่วัน ขั้นตอนที่ 5 การวางแผนคาใชจายการทองเที่ยว (Planning for Expenditure) โดยปกติเมื่อ ตัดสิ นใจจะไปสถานที่ท อ งเที่ยวใดก็จะตอ งศึก ษาค าใชจา ยในการทอ งเที่ยว ยิ่ง ถาไปท องเที่ย ว ตางประเทศจะตองเสียคาใชจา ยเปนจํานวนมาก ก็ตอ งเตรียมเก็บเงินไวจึงตองมีการวางแผนกอน 1-2 ป ในการวางแผนคาใชจายการทองเที่ยว จะตองวางแผนคาใชจายทั้งหมดที่จะเกิดขึ้นในการ ทองเที่ยวสถานที่นั้นๆ เชนคําพาหนะเดินทาง คําอาหาร คําที่พัก คํารักษาพยาบาลคาใชจายซื้อของ


ที่ระลึก เปนตน ซึ่งการวางแผนคาใชจา ยการทองเที่ยวนี้เราอาจขอความชวยเหลือจากธุรกิจนําเที่ยว มาใชเปนแหลงขอมูลในการวางแผนคาใชจา ยการทองเที่ยว นอกจากนั้นยังตองมีการเตรียมวางแผน เรื่องลางานและฝากคนดูแลบานดวย ขั้นตอนที่ 6 การเตรียมการเดิ นทาง (Travel Preparation) เมื่ อ ตัดสินใจเลื อกสถานที่ ทองเที่ยวที่แนนอน และมีการวางแผนคาใชจายเสร็จหมดแลว ในขั้นนี้ผูเดินทางทองเที่ยวก็ตอง เตรียมตัวในเรื่อ งการจองตั๋วพาหนะที่จะเดินทาง การจองรายการทอ งเที่ยวและที่พัก การยืน ยัน การเดินทาง เปนตน นอกจากนั้นยังตองเตรียมเสื้อผาและของใชจําเปนในระหวางเดินทาง ตลอดจน การเตรียมการเรื่องสุขภาพและภารกิจสวนตัว ขั้นตอนที่ 7 การเดินทางทองเที่ยว (Travel) เปนการเดินทางออกจากบานเพื่อ ทองเที่ยว จนกระทั่ง ทอ งเที่ ยวเสร็ จแล วกลั บถึงบ า น โดยมีก ารประเมิน ผลการท องเที่ย วเป นระยะๆตาม ประสบการณที่ ไ ด รั บ เริ่ม ตั้ ง แต พาหนะที่ นํ า เข า ไปสู จุด หมายปลายทางหรื อ แหล ง ท อ งเที่ ย ว สภาพแวดลอมตางๆ ตลอดจนที่พัก อาหารการกิน และอื่นๆ เพื่อประเมินผลการเดินทางทองเที่ยว ครั้งนี้วาเปนที่นําพอใจหรือไม ซึ่งจะสงผลกระทบตอ การตัดสินใจ ในการเดินทางในครั้งตอไป หรืออาจบอกตอใหบุคคลอื่นเดินทางมาทองเที่ยวในสถานที่แหงนี้ หรือ บอกตอบุคคลอื่นไมใหมา ทองเที่ยวสถานที่แหงนี้ ขั้นตอนที่ 8 ประสบการณท องเที่ยว เมื่อ นัก ทอ งเที่ ยวไดมี การประเมินผลการเดิน ทาง ทองเที่ยว อาจเปนสถานที่ สภาพแวดลอม ผูคน การบริการ สิ่งอํานวยความสะดวก ก็จะไดผ ลของ ประสบการณทองเที่ยว ซึ่งอาจแบงไดเปน 2 ลักษณะคือ 1. มีความพึงพอใจเปนประสบการณทางบวก (Positive) ที่นักทองเที่ยวไดรับหรือสัมผัสสิ่ง ตางๆ ในขณะที่เดินทางทองเที่ยวไมวา จะเปนสถานที่ คน สภาพแวดลอม การบริการ และสิ่งอํานวย ความสะดวกทางการทองเที่ยว ปรากฏผลการประเมินวานักทองเที่ยวมีความพึงพอใจ 2. ไมมีความพึงพอใจ เปนประสบการณทางลบ (Negative) ที่นักทองเที่ยวไดรับหรือสัมผัส สิ่งตางๆ ในขณะที่เดินทางทองเที่ยว ไมวาจะเปนสถานที่ คน สภาพแวดลอม การบริการ และสิ่ง อํานวยความสะดวกทางการทองเที่ยว ปรากฏผลการประเมินวานักทอ งเที่ยวไมมีความพึงพอใจ ขั้น ตอนที่ 9 ทั ศนคติของการท องเที่ ยว เมื่อ นั ก ทอ งเที่ ย วได รั บประสบการณ จากการ ทองเที่ยวแลว ก็จะเกิดทัศนคติตอการทองเที่ยวครั้งนี้ ถาหากวานัก ทองเที่ยวไดรับความพึงพอใจ ก็จะมีทัศนคติที่ดีตอ การทองเที่ยวครั้ งนี้ อาจทําใหเขากลั บมาทองเที่ยวอีก ครั้ง หรือบอกเลาให บุ ค คลอื่ น มาท อ งเที่ ยว ถ า หากนัก ท อ งเที่ ย วได รั บ ความไม พึง พอใจ ก็ จะมี ทั ศ นคติ ไม ดี ต อ การทองเที่ยวครั้งนี้ อาจทําใหไมอยากเดินทางมาทองเที่ยวอีก หรือบอกเลาใหบุคคลอื่นไมอยาก เดินทางเขามาทองเที่ยวดวย (บุญเลิศ จิตตั้งวัฒนา, 2548, หนา 142-145)


ประเภทของการทองเที่ยว (ชิดจันทร หังสูตร, 2532, หนา 9-13) ไดจัดประเภทตางๆ ของการทองเที่ยวตามหนังสือ หลักวิชาทางทองเที่ยว โดย มล. ตุย ชุมสาย มีดังตอไปนี้ 1. การทองเที่ยวเพื่อความสนุก นักทองเที่ยวจะใชเวลาหยุดงานเพื่อเปลี่ยนบรรยากาศเพื่อ สนองความอยากรูอยากเห็นเพื่อพบเห็นสิ่งและอุบัติการณใหมๆเพื่อชมทิวทัศนอันสวยงามเพื่อพบ เห็นขนบธรรมเนียมประเพณีทองถิ่น เพื่อสงบอารมณกับความสงบของชนบท เพื่อสนุก สนานกับ ความอึ ก ทึ ก ครึ ก โครมและตึ ก รามใหญ โตของเมื อ งใหญ และเมื อ งศู น ย ก ลางการท อ งเที่ ย ว 2. การทองเที่ยวเพื่อพักผอน นักทองเที่ยวจะใชวันหยุดเพื่อพักผอนโดยไมทําอะไรเพื่อขจัด ความเมื่อ ยลาทั้งกายและทางจิตที่เกิ ดขึ้นในเวลาทํางานใหหมดสิ้นไป และเรียกพลังกลับคืนมา สําหรับเริ่มตนทํางานในคาบใหม 3. การทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม นักทองเที่ยวที่ปรารถนาจะเรียนรูศิลปวิทยาการที่เกี่ยวกับ วัฒนธรรมของชาติตางๆ ในสถาบันหรือสถานศึกษาที่มีชื่อเสียงหรือในประเทศที่มีวัฒนธรรมที่นํา สนใจของเขา เพื่อชมโบราณสถานที่เกี่ยวของกับขอ เท็จจริงทางประวัติศาสตร เพื่อติดตามความ เจริญทางวัตถุเทคโนโลยีปจจุบันและงานฉลอง 4. การทองเที่ยวเพื่อกีฬา เปนการทองเที่ยวเพื่อ ชมการแขงขันกีฬาตางๆของทอ งถิ่นนั้นๆ เชน การแขงเรือ แขงเลนวาวไทย เปนตน 5. การทองเที่ยวเพื่อธุรกิจ มีขอเท็จจริงอยูวา นักทองเที่ยวเพื่อธุรกิจมักจะจัดเวลาที่วางจาก การปฏิบัติธุรกิจไวสําหรับการทองเที่ยว ซึ่งอาจจะเปนเวลาที่วางจากการปฏิบัติธุรกิจประจําวันหรือ ถือโอกาสอยูทอ งเที่ยวเมื่อสิ้นการปฏิบัติธุรกิจ ปจจัยที่ทําใหเกิดการทองเที่ยว การเดินทางของแตละบุคคลมีความแตกตางกันในหลาย ๆ ประการตามที่ (ฉลองศรี พิมล สมพงศ, 2531, หนา 88-99) กลาววา ปจจัยที่ทําใหบุคคลตัดสินใจเดิน ทางทอ งเที่ยวประกอบดวย 1. เงินหรือคาใชจา ย ซึ่งเปนสิ่งแรกที่ผูเดินทางทองเที่ยวจะตองคิดทันที เพราะการเดิน ทาง ทองเที่ยวไมวา จะใกลหรือ ไกลจําเปนตองมีเงิน หรืองบประมาณเพื่อใชจายในดานตางๆ เชน คา พาหนะ คาที่พัก คาอาหาร คาบริการสําหรับสิ่งอํานวยความสะดวก และการใชจายซื้อของเปนตน 2. เวลาเปนสิ่งที่มีความหมายสําคัญสําหรับผูเดินทางทองเที่ยว เพราะแตล ะบุคคลยอมอยู ในสถานภาพทางการประกอบอาชีพที่แตกตางกัน บางคนอาจใชเวลาสุดสัปดาหเพื่อการทองเที่ยว


แตบางคนอาจตองรอถึงปดภาคเรียน หรือบางคนอาจใชเวลาหลังชวงชีวิตทํางานเพื่อการทองเที่ยว เปนตน 3. ความตั้งใจที่จะไป ปจจัยนี้เกิดจากเหตุผ ลและความรูสึกนึก คิดสวนตัวอยางแทจริงการ มีเงินและมีเวลา คงไมสามารถกระตุนใหเกิดการทองเที่ยวไดถาไมตั้งใจที่จะไป นักทองเที่ยวแตล ะ คนมีความตั้งใจในการทองเที่ยวแตละครั้งไมเหมือนกัน ทั้งนี้ความตั้งใจในการเดินทางทองเที่ยว อาจถูกกระตุนไดจากสิ่งตางๆ เชน ความตอ งการที่จะเดินทางทองเที่ยว การเก็บรวบรวมขอ มูล การทองเที่ยว ปจจัยทางสังคม เศรษฐกิจ เสถียรภาพทางการเมือง ฤดูกาล สิ่งอํานวยความสะดวก ความปลอดภัย และภาพพจนทางการทอ งเที่ยว เปนตน สิ่งเหลํานี้ทําใหค วามตั้งใจที่จะเดิน ทาง ทองเที่ยวของนักทองเที่ยวเปลี่ยนแปลงไดอยูตลอดเวลา 7. ทฤษฎีเกี่ยวกับปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจ (มนัส สา จิ นตจันทรวงศ, 2549) กล าววา ปจจัยที่ใช ในการตั ดสินใจซื้อโปรแกรมการ ทองเที่ยวเชิงนิเวศ คือ 1. ปจจัยภายนอก ไดแก ราคา ชื่อเสียงบริษัท การสื่อสารการตลาด คําแนะนําจากคนรูจัก มั ค คุ เ ทศก กระแสนิ ย ม ฤดู ก าล ความแปลกใหม โปรแกรมการท อ งเที่ ยวและวิ ทยากร 2. ปจจัยภายใน ไดแก การจูงใจ การรับรู บุคลิกภาพ และทัศนคติสุดาดวง เรืองรุจิระ (2543, หนา 84) กลาววา “ปจจัยที่มีอิทธิพลในการกําหนดพฤติกรรมการซื้อที่แตกตางกันของผูบริโภคแต ละคน มีทั้งปจจัยที่เกิดจากตัวผูบ ริโภคเอง และปจจัยที่มาจากความสัมพันธระหวางบุคคล” เสรี วงษมณฑา (2542, หนา 38) กลาววา ปจจัยที่มีอิทธิพลตอ การตัดสินใจของผูบริโภคมี 2 ประการ คือ 1. ปจจัยภายใน หรือเรียกวา ตัวกําหนดพื้นฐาน ประกอบดวย - แรงจูงใจ (Motive) หมายถึง ปญหาที่ถึงจุดวิกฤติทที่ ําใหผูบริโภคเกิดความไมสบายใจ แรงจูงใจ จึงเปนความตองการที่เกิดขึ้นรุนแรง บังคับใหบุคคลคนหาวิธีตอบสนองความพึงพอใจ - บุคลิกภาพ (Personality) คือ ลักษณะนิสัยโดยรวมของบุคคลที่พัฒนาขึ้นมาในระยะยาว ซึ่งมี ผลกระทบตอการกําหนดรูปแบบในการโตตอบหรือตอบสนอง (Reaction) ที่ไมเหมือนกัน - การเรียนรู (Learning) เปนการเปลี่ยนแปลงในพฤติก รรมของบุคคลที่เกิดจากประสบการณ ดังนั้นการเรียนรูจึงเปนประสบการณที่บุคคลสะสมไว - การรับรู (Perception) เปนกระบวนการซึ่ งบุค คลเลือกจัดองค กรและตีความข อ มู ล เพื่อกําหนดภาพที่มีความหมาย การรับรูเปนสิ่งสําคัญมากในแงการตลาดจนมีคํากลาววา“สงคราม


การตลาดความจริงไมใชสงครามสินคาแตเปนสงครามการสรางการรับรู” ซึ่งหมายถึงการแขงขัน ทางการตลาดไมไดแขงขันกันเพียงทําใหสินคาดีเทานั้น แตจะแขงขันกันในดานการสรางภาพพจน ดวย - ทัศ นคติ (Attitude) คื อ การประเมินความพอใจหรื อไม พอใจความรู สึกและทํา ที ความรูสึกที่ คนเรามีต อ ความคิดหรือ สิ่ง ใดสิ่ งหนึ่ง ทัศ นคติเป นสิ่ งที่ จะนํ ามาซึ่ง การปฏิ บัติของ ผูบริโภค - ความจําเปน (Needs) ความตองการ (Wants) และความปรารถนา (Desire) ความ จําเปนที่ใชสําหรับสิ่งที่จําเปนตอการครองชีพ ความตอ งการใชสําหรับความตองการทางจิตวิทยา ทีส่ ูงกวาความจําเปน สวนความปรารถนาเปนความตองการดานจิตวิทยาที่สูงที่สุด 2. ปจจัยภายนอก ที่มีอิทธิพลตอการตัดสินใจของผูบริโภค มีดังนี้ - สภาพเศรษฐกิจ (Economic) เปนสิ่งที่กําหนดอํานาจซื้อของผูบริโภค - ครอบครัว (Family) ทํา ใหเกิ ดการตอบสนองต อความตองการ การตอบสนองความ ตองการของรางกายจะไดรับอิทธิพลจากสมาชิกในครอบครัว - สังคม (Social Group) ลักษณะดานสังคมประกอบดวยรูปแบบการดํารงชีวิต (Lifestyles) คานิยม (Social Values) และความเชื่อถือ (Belief) - วัฒนธรรม (Culture) เปนกลุมของคานิยมพื้นฐาน การรับรู ความตองการ และพฤติกรรม ซึ่งเรียนรูจากการเปนสมาชิก ของสังคมในครอบครัว วัฒนธรรมจึงเปนรูปแบบที่คนสวนใหญใน สังคมใหการยอมรับ - การติดตอธุรกิจ (Business Contacts) หมายถึง โอกาสที่ผูบริโภคจะไดพบเห็นสินคานั้นๆ สินคาใดที่ผูบริโภคไดรจู ัก พบเห็นบอยๆ จะทําใหผูบริโภคเกิดความรูสึกไววางใจและมีค วามยินดี ที่จะใชสินคานั้น การทองเที่ยวแบบตางๆ จากปจจัยที่ทําใหเกิดการทองเที่ยว ทําใหนักทองเที่ยวมีแ บบตางๆ ของการทอ งเที่ยว ซึ่งมี ลักษณะของการทองเที่ยวที่แตกตางกันไปดังนี้ 1. การทองเที่ยวสวนบุคคล ไดแก การทอ งเที่ยวที่นักทอ งเที่ยวจัดขึ้นสําหรับตัวเองและ ครอบครั ว หรือสํ าหรับตั วเองกั บกลุ มเพื่ อน โดยใช รถส วนตั ว หรือเชา รถบั สไปกัน เอง โดย จะกําหนดเอาวาจะไปไหนบาง ไปเมื่อใดหยุดทองเที่ยวที่ไหนบาง หรือจะเปลี่ยนแปลงอยางไรก็ทํา ตามปรารถนา บริการตางๆ ระหวางทาง ปลายทางจัดหาเอง


2. การทองเที่ยวแบบทัวรหรือนําเที่ยว ไดแก การทองเที่ยวของคนหนึ่งคน หรือ กี่คนก็ตาม ซึ่งมิไดนัดกันไปเสียเงินจํานวนหนึ่งแกผูจัดบริษัทนําเที่ยว ผูจัดนําเที่ยวจะจัดการเรื่องยานพาหนะ ที่พัก และบริการอื่นๆ โดยกําหนดรายการแนนอน นักทองเที่ยวไมตอ งจัดอะไร การทองเที่ยวแบบ นี้นักทองเที่ยวมักเสียเงินนอยกวาแตก็ขาดเสรีไปบาง ในเรื่องสถานที่อ ยากจะไปเที่ยวและตอ งทํา การตางๆ ตามกําหนดเวลา 3. การทองเที่ยวตามคาบเวลาการทองเที่ยว แบงเปน 3 อยาง คือ 3.1 การทองเที่ยวคาบเวลายาว ถาเปนการทองเที่ยวเพื่อวัฒนธรรมหรือ การศึกษาจะหมายถึงการพักอยู ณ ที่หนึ่งที่ใดเปนคาบเวลายาวนับเปนสัปดาหหรือเปนเดือน ถาเปน การท อ งเที่ ย วเพื่ อ ความสนุ ก คาบเวลาอาจยาวนานเหมื อ นกั น แต ส ถานที่ อ าจเปลี่ ย นไป 3.2 การทองเที่ยวคาบเวลาสั้น เปนการทองเที่ยวที่จะกินเวลา 2-3 วัน ถึง 10-12วัน เปน ระยะเวลาทองเที่ยวของผูที่ทํางานไมมีโอกาสจะไปพักผอนไดนานๆ 3.3 การทอ งเที่ยวแบบทัศ นาจร ซึ่ง IUOTO ไดกําหนดวา เปนการทองเที่ยวที่ใชเ วลา ไมเกิน 24 ชั่วโมง และไมมีการพักคางคืน การทัศนาจรมีความสําคัญพิเศษสําหรับผูที่มีถิ่นที่อยูใกล ๆ พรมแดนจะมีทัศนาจรขามพรมแดนเพื่อซื้อสินคาสําหรับใชสวนตัว 3.4 การทอ งเที่ยวจัดจําพวกตามพาหนะที่ใชทองเที่ยว หมายถึง การทองเที่ยวแบบใช อากาศยาน เรือ รถไฟ เรือเพลินทาง (Cruise) รถนั่งสวนบุค คล และรถยนตโดยสารสาธารณะ ในประเทศยุโรป การเดินทางทองเที่ยวขามประเทศที่ใกลๆ กับประเทศของนักทองเที่ยวก็กระทํา กันไมนอย 3.5 การท อ งเที่ ยวแบบบวกกั บ แบบลบ (Receptive and Passion Tourism) ถ า นัก ทอ งเที่ ยวต า งประเทศเข า มาท อ งเที่ ย วในประเทศหนึ่ งและนํา เงิ น ตราต างประเทศมาใชใน ประเทศนั้นถือวาการทองเที่ยวของเขาเปนการทองเที่ยวแบบลบสําหรับประเทศนั้นประเภทของ ทรัพยากรทางการทองเที่ยว (ตุย ชุมสาย, 2527, หนา 81-83) ไดใหค วามหมาย สินมรดก (Heritage) เชิงการทองเที่ยว ไดแก “สิ่งแปลกๆ นําดูนําชม นําสัมผัส ของประเทศใดประเทศหนึ่งหรือ ถิ่นใดถิ่น หนึ่งที่ชักจูงให นักทองเที่ยวอยากมาดูมาชม” โดยแบงออกไดดังนี้ 1. สินมรดกตามธรรมชาติ เปนสิ่งที่มีอยูแลวตามธรรมชาติ ไดแก ภูมิประเทศตามชนบท ที่ มีโครงสรางแปลกๆของสิ่งธรรมชาติ ภูเขาและเชิงเขา ลมฟาอากาศ พงไพร (ชนิดและโครงสราง ของปา) น้ํา (นานน้ําสงบ น้ําพุ ทะเลสาบ น้ําตก หาดทรายทะเล) พันธุไมแ ละพันธุสัตว(สวนรุกข ชาติ สวนสัตว ตนไมแปลกๆ) ซึ่งสินมรดกตามธรรมชาติเหลํานี้ เปรียบเสมือนมีบอทองเปนหนาที่


ของรั ฐ บาลที่ จะตอ งพั ฒ นาขึ้ น ให เ ป น แหล งทอ งเที่ ยว และอนุ รัก ษ ไว ใหเ ป น แหล ง ท อ งเที่ ย ว ตลอดไป 2. สินมรดกที่คนสรางขึ้นไว โดยมิไดตั้งใจที่จะใหเปนสินอุปทานเชิงการทองเที่ยว หากที่ ใดมี สิ น มรดกทั้ ง ที่ เ ป น อยู โ ดยธรรมชาติ แ ละที่ ค นสร า งไว ที่ นั้ น ก็ เ ป น แหล ง อุ ป ทานเชิ ง การทองเที่ยวอยางดีเยี่ยม โดยแบงออกไดดังนี้ - อนุสาวรียเ ชิ งประวัติศาสตร ปราสาท ป อมปราการ เจดียอนุสรณส งคราม วัด ฯลฯ - โบราณสถานและสถานที่บงชี้วัฒนธรรม แหลงขุดคนโบราณวัตถุ พิพิธภัณฑหอสมุด อนุสรณ ของที่ระลึก - ศิลปะพึงนิยม แบบบานในชนบท แหลงประดิษฐสิ่งศิลปะพื้นเมือง (เชน การทําน้ําตาล) - สถานที่เชิ งเทคนิค และเชิง อุตสาหกรรม เขื่อนใหญๆ โรงงานผลิตสินค าเฉพาะถิ่ น ไรสม ฟารม ฯ ล ฯ - สถานที่ที่สรางหรือแตงเสริมขึ้นสําหรับเลนกีฬา 3. โครงสร างของการทอ งเที่ยว กระทําการต างๆที่ คนทํ าขึ้นเพื่อมาเสริ มสิน มรดกทาง ธรรมชาติและสินมรดก ที่คนสรางขึ้นเพื่อใหเกิดคุณคําทางการทองเที่ยว และชักจูงใหคนเกิดความ ตองการมาเที่ยว ซึ่งการจัดโครงสรางของการทองเที่ยวเปนหนาที่ของประชากร และวิสาหกิจการ ทองเที่ยวทั้งของเอกชนและของรัฐบาล ที่จะทํากิจกรรมตางๆ โดยมีวัตถุประสงค ดังนี้ - ตอนรับนักทองเที่ยวดวยน้ําใจและอัธยาศัยไมตรี - ตอนรับนักทองเที่ยวโดยจัดใหมีที่พัก อาหาร และบริการอื่นที่นักทองเที่ยวปรารถนา - ตอนรับนักทอ งเที่ยวใหเกิดความสนุกเพลิดเพลินในกิจกรรมท อ งเที่ยวของเขา โดยใช สิ น คา เชิ ง การท อ งเที่ ยวประเภทต า งๆ ใหเ กิ ดผลทางการผ อ นคลายอารมณ ทางวั ฒ นธรรม ทางการศึกษา ทางความสงบสุข ฯ ล ฯ การทองเที่ยวแหงประเทศไทย (2540, หนา 18) ไดใหความหมาย “ทรัพยากรการทองเที่ยว หมายถึง สถานทีท่ อ งเที่ยวที่มีลักษณะเดน ดึงดูดความสนใจของนักทองเที่ยวได โดยแบงประเภท ทรัพยากรการทองเที่ยวตามลักษณะ” และความตองการของนักทองเที่ยวได 3 ประเภท คือ 1. ประเภทธรรมชาติ ไดแกสภาพภูมิศาสตร เปนแหลงทองเที่ยวที่สวยงามเกิดขึ้นเองตาม ธรรมชาติ เชน ภูเขา น้ําตก ทะเล เปนตน 2. ประเภทประวั ติศ าสตร โบราณวั ตถุ ส ถาน และศาสนา เป น แหล ง ท อ งเที่ ยวที่ มี ความสํ า คั ญ ในประวั ติศ าสตร และบอกให ทราบถึ งวั ฒ นธรรมที่ เ ก าแก ข องชาติ ได แ ก วั ด โบราณสถาน อุทยานประวัติศาสตร พิพิธภัณฑ ศาสนสถาน กําแพงเมือง อนุสาวรีย เปนตน


3. ประเภทศิลปวัฒนธรรม ประเพณี และกิจกรรมเปนทรัพยากรการท องเที่ยวอีกรูปแบบ หนึ่งในลักษณะของวัฒนธรรมความเปนอยู วิถีชีวิต เชน หมูบ า นชาวเขา ตลาดน้ําอัมพวาสภาพชีวิต ในชนบท สอดคลอ งกับ (ฉลองศรี พิมลสมพงษ, 2531, หนา 63) ไดแบงทรัพยากรการทองเที่ยว ออกเปน 3 ประเภท คือ 3.1 น้ํา หมายถึง แหลงธรรมชาติทุกชนิดที่เปนน้ํา และใกลน้ํา เชน ทะเล คลองแมน้ํา น้ําตก แหลม อาว หิมะ เปนตน ทรัพยากรประเภทนี้มีความสําคัญตอ การดํารงชีวิตเปนอยางยิ่งนอกจาก ประโยชนโดยตรงแลว ยังกอใหเกิดกิจกรรมการทองเที่ยวอีกหลายอยาง เชน - แหลงทองเที่ยวเพื่อชมธรรมชาติและพักผอนหยอนใจ เชน เขื่อนกันน้ํา ทําเทียบเรือขนาด ใหญ แนวหินปะการัง ถ้ําหินงอกหินยอย น้ําพุรอน เปนตน - แหลงทองเที่ยวเพื่อการศึกษา เชน พิพิธภัณฑสัตวน้ํา นาเกลือ กังหันลม - แหลงทองเที่ยวเพื่อรักษาสุขภาพ เชน แหลงน้ําแรธรรมชาติ 3.2 พื้น ดิน หมายถึ ง แหล งธรรมชาติ ทุก ชนิ ดที่ เปน ดิน เชน ปา ไม ไร นา สวนปา สวนสาธารณะ ภูเขา อุทยานแหงชาติ พื้นที่สีเขียว และพื้นดินทุก ประเภทที่ไดรับการเพาะปลูก ปรับปรุงตกแตงเพื่อผลทางเศรษฐกิจ ตลอดจนฝูงสัตว นก พืช พันธุไม ดอกไม เปนตน กิจกรรม ทองเที่ยวที่จัดขึ้นประเภทนี้ ใหทั้งความเพลิดเพลิน และเพื่อการศึกษา 3.3 อารยธรรม ศิลปกรรม วัฒนธรรม ประเพณี ประวัติศ าสตร วิถีชีวิตความเปนอยูของ ประชาชนจะเปนที่สนใจของนักทองเที่ยวที่เขาไปเยือนถิ่นตางๆ ประเทศที่พัฒนาแลวอารยธรรม เทคโนโลยี และความสมัยใหมเปนที่ส นใจของนัก ทองเที่ยวที่มาจากประเทศที่กําลังพัฒนา สวน นักทองเที่ยวจากประเทศที่พัฒนาแลว มักจะนิยมเดินทางไปดูอะไรเกาๆ ในประเทศที่กําลังพัฒนา หรือพัฒนาเชนกัน สรุปไดวา ทรัพยากรทางการทองเที่ยว หรือสินมรดกทางการทองเที่ยว มีทั้งเกิดขึ้นเองทาง ธรรมชาติ และมนุษย สรา งขึ้น รวมทั้งการสร างความพรอมทางการบริก ารทองเที่ยวเพื่อ เสริ ม ทรัพยากรทางการทองเที่ยวใหเกิดสิ่งดึงดูดใจหรือจูงใจใหนักทองเที่ยวมาเยือน 8. แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการพัฒนาแหลงทองเที่ยว ความหมายของการพัฒนาแหลงทองเที่ยวนั้น ไดมีนักวิชาการทางดานการทองเที่ยวไดให ทัศนะไวหลากหลายดังนี้ มนัส สุวรรณ (2538:128) กลาวไววา การพัฒนาแหลงทองเที่ยว เพื่อใหประสบผลสําเร็จ มีสิ่ ง สํา คั ญ ที่ตอ งนํ า มาประเมิน ประกอบการตั ดสิน ใจในการพั ฒนาไดแ ก ความปรารถนาของ


ผูทอ งเที่ยว ความสามารถในการใชบริการของผูทอ งเที่ยว ความสะดวกในการเดินทางและการ เขาถึง และความสามารถที่จะรับไดข องพื้นที่ ประกอบดวยความสามารถที่จะรับไดเชิงกายภาพ ความสามารถที่จะรับไดเชิงสังคม และความสามารถที่จะรับไดเชิงนิเวศวิทยา นิคม จารุมณี (2536:68) กลาวถึงการพัฒนาแหลงทอ งเที่ยววา การที่จะสรางหรือพัฒนา แหลงทองเที่ยวที่เปนพื้นที่ที่ไมนาสนใจใหเปนแหลงทองเที่ยวที่สําคัญสามารถดึงดูดนัก ทองเที่ยว ไดนั้น จะตองคํานึงถึงจุดสําคัญในดานสภาพแวดลอ มทางธรรมชาติทั้งในแงก ายภาพหรือภูมิภาค ตําแหนงที่ตั้ง หรือชื่อเสียงของสถานที่ที่กระจายไปสูโลกภายนอก สรุปไดวา การพัฒนาการทองเที่ยวเพื่อใหประสบผลสําเร็จตองประกอบดวยความสามารถ ในการใชบริการของผูทองเที่ยว ความสะดวกในการเดินทางและการเขาถึง และความสามารถที่จะ รับไดของพื้นที่ ชื่อเสียงของสถานที่ที่กระจายไปสูโลกภายนอก การวางแผนพัฒนาการทองเที่ยวตามหลักทางวิชาการนั้น ไมใชเพียงการพัฒนาทรัพยากร ทองเที่ยวที่เสื่อมโทรมใหดีขึ้นเทานั้น แตยังเปนการพัฒนาทรัพยากรทองเที่ยวที่มีสภาพดีอยูแลวให ดีขึ้ น กวา เดิมด วย จึ ง ต องมี ขั้ นตอนการพัฒ นาทรั พยากรท องเที่ย ว ดังนี้ (บุ ญ เลิ ศ จิตตั้ ง วัฒ นา, 2548:28) (1) ขั้นการจัดแบงเขตพื้นที่ในทรัพยากรทองเที่ยว (2) ขั้นการกําหนดสิ่งอํานวยความสะดวกทางการทองเที่ยวในแตล ะเขตของทรัพยากร ทองเที่ยว (3) ขั้นการจัดกิจกรรมทองเที่ยวทางธรรมชาติและวัฒนธรรมเสริมในทรัพยากรทองเที่ยว (4) ขั้น การประเมิ นขี ดความสามารถรองรั บนั กทอ งเที่ ยวแตล ะเขตพื้น ที่ข องทรั พยากร ทองเที่ยว (5) ขั้น การให ก ารศึ ก ษาถึ ง ผลกระทบของการพั ฒนาการท อ งเที่ ยวต อ สิ่ ง แวดล อ มแก เจาหนาที่รัฐ เจาหนาที่ทรัพยากรทองเที่ยวและผูประกอบธุรกิจทองเที่ยวในทรัพยากรทองเที่ยว (6) ขั้นการจัดใหมีขอมูลเกี่ยวกับทรัพยากรทองเที่ยวที่นักทองเที่ยวตองการรู (7) ขั้นการจัดหางบประมาณในการพัฒนาทรัพยากรทองเที่ยวใหเพียงพอ กระบวนการวางแผนพัฒนาการทองเที่ยวสวนใหญจะมีกระบวนการไมแตกตางจากทฤษฎี การวางแผนทั่วไปนั้น ในที่นี้จะแบงกระบวนการวางแผนพัฒนาการทองเที่ยวออกเปน 5 ขั้นตอน ไดแก (1) การรวบรวมข อ มู ล ที่ เ กี่ ยวข อ งและการสํ า รวจภาคสนาม สามารถแบ ง ออกเป น 4 ประเด็นใหญ ๆ คือ ประเด็นที่หนึ่ง สภาพกายภาพและขอมูลทั่วไปของพื้นที่ ไดแก ที่ตั้ง และเขต การปกครอง สภาพภูมิประเทศ ภูมิอ ากาศ ทรัพยากรธรรมชาติ ลักษณะการใชที่ดิน ขอมูลดาน


ประชากร การจางงาน ประการที่สอง ทรัพยากรทอ งเที่ยวประกอบดวย ดานธรรมชาติ ดา น ประวัติศาสตร และดานวัฒนธรรม ประการที่สาม ตลาดการทองเที่ยวควรประกอบดวย ผูมาเยือน ที่มาของผูมาเยือน พาหนะที่ใชเดินทาง แหลงทองเที่ยวและกิจกรรมที่นักทองเที่ยวชอบ โครงสราง ผูเ ยี่ยมเยือน การกระจายตัวของผูเยี่ยมเยือนในแตละชวงเวลา แตละสถานที่ ประการที่สี่ ความ พร อ มทางการท อ งเที่ย วควรประกอบด วย ระบบโครงข า ยการคมนาคมในพื้ นที่ และพื้ น ที่ ที่ เกี่ยวของ ระบบขนสงระบบสาธารณะ โครงสรางพื้นฐาน เชน ระบบไฟฟา ประปา โทรศัพท ระบบ กําจัดขยะ และความพรอ มของเมืองดานตางๆ เชน รานคา รานอาหาร โรงพยาบาล เปนตน ซึ่ง ขอมูลทั้ง 4 ประเด็นที่กลาวมาขางตนอาจมีวิธีการรวบรวมที่แ ตกตางกันออกไปได นอกจากนี้ยังมี วิธีรวบรวมขอมูลโดยการสํารวจ การสังเกตการณ และการออกแบบสอบถาม เชนการสํารวจแหลง ทอ งเที่ ย วการใช แ บบสอบถามด า นตลาดการท อ งเที่ ย ว การสั มภาษณ หรื อ การสั งเกตการณ พฤติกรรมนักทองเที่ยว เปนตน (2) การวิเคราะหขอมูล เปนขั้นตอนการนําเอาขอมูลตางๆ ที่รวบรวมไดจากขั้นตอนแรกมา จัดทําเปนคําบรรยาย แผนภูมิ แผนที่ ตาราง เปนการศึกษาเพื่อใหทราบถึงสภาพพื้นที่ในแงมุมตางๆ และเนื่ อ งจากการวางแผนพั ฒนาการท อ งเที่ ยวเกี่ ย วข อ งกั บการวางแผนด า นกายภาพ ดัง นั้ น การวิเคราะหโดยใชแผนที่ จึงเปนวิธีการหนึ่งที่จําเปน เนื่องจากขอมูลดิบที่ถายทอดลงแผนที่นั้น นอกจากจะบงบอกถึงความสัมพันธกันในแงของขนาดและจํานวนแลว ยังบอกถึงความสัมพันธใน แงของทิศทาง ที่ตั้ง การกระจายตัวอีกดวย ซึ่งเทคนิคการวิเคราะหอื่น ๆ ไมสามารถทําไดสําหรับ ขั้นตอนการวิเคราะหขอมูลนี้จะนําไปสูคําตอบหรือภาพรวมของพื้นที่ในแตละหมวดวาเปนอยางไร ไดแก หมวดสภาพกายภาพและขอมูลทั่วไปของพื้นที่ หมวดทรัพยากรทอ งเที่ยวซึ่งพิจารณาในแง คุณคา และความพรอมในการรองรับกิจกรรมการทองเที่ยวของแหลงทองเที่ยวนั้น ๆหมวดตลาด การทองเที่ยว และหมวดความพรอมทางการทองเที่ยว เปนตน (3) การกําหนดประเด็น ปญหา เปนขั้นตอนต อเนื่อ งจากการเก็บรวบรวมและวิเคราะห ขอ มูล ซึ่ งจะทําใหผูวางแผนมองเห็นภาพรวมในดานต าง ๆ อันจะนําไปสูการกําหนดประเด็ น ปญหาดานการทองเที่ยวที่มีอยู หรืออาจจะเกิดขึ้นไดในอนาคต เชน ปญหาความไมพรอมของพื้นที่ ในการรองรับกิจกรรมการทองเที่ยว ปญหาดานการคมนาคมขนสง ปญหาดานสิ่งแวดลอมที่เ กิด จากการขาดระบบกําจัดขยะหรือน้ําเสีย โดยในการกําหนดประเด็นปญหาอาจมีเกณฑการพิจารณา อยางกวางๆ 5 ประการ คือ ขนาดของปญหา ความรายแรงของปญหา ความเรงดวนของปญหาขนาด ของกลุมพื้นที่ หรือกลุมคนที่มีปญหา รวมถึงการยอมรับประเด็นนั้นๆ วาเปนปญหา ทั้งนี้ในการ วางแผนในเรื่องใดๆ ก็ตามยอมมีปญหามากมายสิ่งสําคัญประการหนึ่งคือ การมองหาความเชื่อมโยง ของปญหาแตละประเด็นวามีความสัมพันธกันอยางไร ปญหาที่ 1 กอใหเกิดปญหาที่ 2 หรือสงผลถึง


ปญหาที่ 3 อยางไร เปนตน ซึ่งวิธีการดังกลาวจะชวยใหผูวางแผน สามารถจัดลําดับความสําคัญของ ปญ หาต า ง ๆ ได เมื่อ ทราบถึงประเด็ น ปญ หาแล ว สิ่ งที่ค วรวิเ คราะห ตอ ไปคื อ การพิ จารณา ความได เปรียบเสีย เปรียบทางการท องเที่ ยวในพื้น ที่เ ปน การนํ าเอา จุ ดเดน จุ ดด อยของตนไป เปรียบเทียบกับผูอื่น โดยพิจารณาในภาพรวมวาจะมีความสามารถในการแขงขันกับแหลงทองเที่ยว ในที่อื่นๆ อยางไร ซึ่งจะเปนประโยชนตอการวางแผนแนวทางกลยุทธในการสงเสริมดานการตลาด ตอไป (4) การกําหนดนโยบาย วัตถุประสงค เปาหมาย ในที่นี้นโยบาย คือแนวทางในการพัฒนา อยางกวางๆเปนกรอบการดําเนินการที่จะ ไมระบุในรายละเอียด การกําหนดนโยบายคือ การตอบ คําถามวา "จะทําอะไรในการพัฒนา การทอ งเที่ยว" เชน กําหนดนโยบายวา "มุงเนนการรักษา สภาพแวดลอมของแหลงทอ งเที่ยวและ รักษาเอกลักษณชุมชน" สวนวัตถุประสงค คือความมุง หมายที่ตอ งการหรื อ ผลที่ ตอ งการใหเ กิ ดขึ้ น อั น เนื่ อ งมาจากนโยบายที่กํ า หนดไว ก ารกํ า หนด วัตถุประสงคคือการตอบคําถามวาตั้งนโยบายนั้นไว "เพื่ออะไร" เชน กําหนดนโยบายพัฒนาการ ทองเที่ยววา"มุงเนนการรักษาสภาพแวดลอมของแหลงทองเที่ยว และรักษาเอกลักษณชุมชน" โดยมี วัตถุประสงคเพื่อ"ดึงดูดใจใหเกิดการเดินทางมาทองเที่ยวในพื้นที่" และเปาหมาย เปน การถอด วัตถุประสงคซึ่งมีลักษณะคอนขางเปนนามธรรมใหออกมาเปนรูปธรรมที่วัดได ซึ่งสามารถกําหนด ไดในหลายลักษณะ ไดแกก ารกําหนดเปาหมาย ในเชิงปริมาณเปน การตอบคําถามวา "เทาไหร" การกํ าหนดเป าหมายที่ เป นพื้ นที่หรื อบริเ วณ เปน การตอบคํ าถามวา "ทํ าที่ ไหน" การกํ าหนด เปาหมายที่เปนกลุมคนเปนการตอบคําถามวา "ทําใหใคร" การกําหนดเปาหมายเปนเวลา เปนการ ตอบคําถามวา "ทําเมื่อไหร" (5) การกํ า หนดแผนงาน หรือ โครงการพั ฒนาการท องเที่ ยวเป นขั้ น ตอนสุ ด ทายของ การวางแผนเปนขั้นตอนที่จะตองกําหนดกิจกรรมตางๆ เพื่อใหเกิดการดําเนินการพัฒนาตามกรอบ นโยบาย วัตถุประสงค และเป าหมายที่ ไดวางไว โดยใช ขอ มู ลต างๆ ที่ไดร วบรวมไว ให เป น ประโยชนซึ่งจะเปนการพิจารณาในรายละเอียดของโครงการพัฒนาแหลงทองเที่ยวตางๆ กลาวโดย สรุปประการแรกคือ ควรมีการกําหนดโครงการระยะสั้น ระยะยาว โครงการระยะสั้นเปนโครงการ ในแหลงทองเที่ยวที่มีศักยภาพสูง การลงทุนต่ํา และไดผลเร็ว หรือ เปนโครงการที่มีค วามจําเปน เรงดวนสําหรับโครงการะยะยาวจะเปนโครงการที่มีการลงทุนสูงใหผลระยะยาว ประการที่สอง ควรมีการกําหนดแผนงานหรือโครงการพัฒนาการทองเที่ยว ควรพิจารณา ใหครอบคลุมทั้งดานตัว แหลงทองเที่ยวการพัฒนาบริก ารทางการทอ งเที่ยวซึ่ง มีประเด็นสําคัญคือ การพัฒนาบุคลากรที่ เกี่ยวของกับการทองเที่ยว ระบบการสื่อความหมายในแหลงและการพัฒนากิจกรรมการทองเที่ยว รวมถึงแผนงานหรือโครงการดานการพัฒนาการตลาด ประการที่สามควรมีการกําหนดแผนงาน


หรื อโครงการเพื่ อพั ฒนาสาธารณู ปโภค สาธารณู ปการตางๆ ควรพิ จารณาถึ งความเหมาะสม สอดคลองกับสภาพแวดลอม ดั้งเดิมของพื้นที่ไดมาตรฐานและมีความเพียงพอตอความตองการใน ปจจุบันและอนาคต และประการสุดทาย ควรมีการกําหนดแผนงานหรือโครงการตางๆ ตองเปนการ เพิ่มพูนคุณภาพของแหลงทองเที่ยวในดานอนุรักษและปรับปรุงใหดีขึ้น รวมทั้งไดรับการยอมรับ เห็นของจากประชาชนทุก ๆ ระดับ 9. งานวิจัยที่เกี่ยวของ จากการศึกษางานวิจัยที่เกี่ยวของพบวา การพัฒนาแหลงทอ งเที่ยวนั้นประชาชนในชุมชน ยิ น ดี ให ใ ช ท รัพ ยากรทางการท อ งเที่ ย ว ด วยเหตุ ผ ลคื อ ต อ งการให ชุ มชนมี เ ศรษฐกิ จดี ขึ้ น นักทองเที่ยวชาวตางประเทศตองการไดมีโอกาสมาสัมผัสกับธรรมชาติ ความอุดมสมบูรณของพืช หายาก ได มีโอกาสเห็น สั ตวป า ได เห็น สภาพพื้ น ที่ ที่แ ปลกๆ ได ชื่ น ชมกั บภู มิ ทัศ น ที่งดงาม มีสิ่งอํานวยความสะดวก และสะอาด มีค วามปลอดภัย และการเดิน ทางสะดวก และพบวาการ ท อ งเที่ ย วเชิง ศิ ล ปวั ฒ นธรรม และภู มิป ญ ญาท อ งถิ่ น กํ า ลั ง ได รั บความนิ ยมจากชาวไทยและ ชาวตา งชาติ โดยเฉพาะในกลุ มที่ ตอ งการศึ ก ษาหาความรูเ กี่ ยวกั บวิถี ชี วิตและความงดงามใน ศิลปวัฒนธรรมไทย สําหรับปญหาของการดําเนินการทองเที่ยวที่ผานมามักพบปญหาในดานความ เสื่อมโทรม ของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ดานโครงสรางพื้นฐานดานความปลอดภัยของ นักทองเที่ยว ดานการขาดแคลนงบประมาณ ดานบุคลากรในอุตสาหกรรมการบริการ ดานการ บริหารจัดการในชุ มชน ด านการเปลี่ยนแปลงในวิถีชี วิต วัฒ นธรรมประเพณีในสวนของแนว ทางการพัฒนานั้น ไดเสนอแนะแนวทาง คือ ประการแรก การพัฒนาโครงสรางดานวิช าการและ บริการ ประการที่สอง การพัฒนาบุคคลากร ประการที่สาม การพัฒนาตลาด ประการที่สี่ การพัฒนา และปรับปรุงพื้นที่ และประการที่หา การพัฒนาโครงสรางระบบพื้นฐานและจากการศึกษาศักยภาพ และปจจัยใน จังหวัดสุรินทรเพื่อสงเสริม โครงการโลกใหมของชางอยางยั่งยืนพบวา นโยบายของ จังหวัดสุรินทร ตองการบูรณาการหมูบานชาง ใหเปนแหลงทองเที่ยวแตเฉพาะหมูบานชางเพียง อยางเดียวนั้นไมสามารถพัฒนาขึ้นมาเปน แหลงทองเที่ยวแบบยั่งยืนไดเพราะวาไมมีศักยภาพและ ปจจัยเพียงพอในการชักจูงใจนักทองเที่ยว เขามาทองเที่ยวอยางถาวรไดดังนั้นตองศึกษาบริบทของ ชุมชนเพื่อที่จะเชื่อมโยงตอยอดในปจจัยเกื้อหนุนที่จะโนมนาวใหนักทองเที่ยวตัดสินใจมาทองเที่ยว ไดมากขึ้นกวาที่เปนอยู


(นพรัตน ปานอุทัย, ศรีวิไล สุขศรีการ, ศุภนุช ตวงรัตนสิริกุล, ออยใจ จีบฝก, 2547) ศึกษา เรื่องการจัดการธุรกิจทองเที่ยวแบบยั่งยืน กรณีศึกษาหมูบานปลายโพงพาง อําเภออัมพวา จังหวัด สมุทรสงคราม โดยมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาความเปนไปไดทางดานการพัฒนาการทองเที่ยวแบบ ยั่งยืนของหมูบา นปลายโพงพาง ในเขตพื้นที่อําเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงครามโดยกลุมตัวอยางที่ ใชในการศึกษา ประกอบดวย ผูประกอบการที่เ ขารวมโครงการหมูบานทอ งเที่ยวทรงไทยแบบ โฮมสเตยของกํานันธวัช บุญพัดมี จํานวน 17 คน ชาวบานในหมูบานปลายโพงพางจํานวน 82 คน นักทองเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวตางชาติที่เ ขามารับบริการในชวงเดือนธันวาคม2546 ถึงมีนาคม 2547 จํานวน 118 คน รวมกลุม ตัวอย างทั้งสิ้น 217 ตั วอยา ง เครื่อ งมื อที่ ใช ในการวิ จัย คื อ แบบสอบถาม ผลการศึ ก ษาพบว า ธุ รกิ จท อ งเที่ ย วบา นทรงไทยแบบโฮมสเตย ข องหมู บา น ปลายโพงพางแหงนี้ยังไมถือวาเปนธุรกิจทองเที่ยวแบบยั่งยืน หากจะจัดการธุรกิจทองเที่ยวบานทรง ไทยแบบโฮมสเตยของหมูบานปลายโพงพางนี้ใหเปนธุรกิจทองเที่ยวแบบยั่งยืน ตองไดรับการ สนับสนุนจากทางภาครัฐ คนในชุมชนทองถิ่น ตลอดจนนักทองเที่ยวผูมาเยือน (ขวัญขาว พูล เพิ่ม, ศศิธร เจตานนท, เอื้อ งบุญ อุนะรัตน, 2550) ไดทําการศึกษาเรื่อ ง การวางแผนการตลาดเพื่ อ ส งเสริ มการท อ งเที่ ยวตลาดน้ํ าอั มพวา จั งหวัดสมุ ทรสงคราม ใน ป พ.ศ.2551 โดยมีจัดมุง หมายเพื่อเพิ่มยอดจํานวนนักทองเที่ยวที่มาเที่ยวตลาดน้ําอัมพวาจากป 2549 จํานวน 900,000 คนตอป ใหตรงตามเปาหมายที่ตั้งไว คือ 1,000,0000 คนตอป ในป 2551 เพื่อสราง รายไดในแตละครัวเรือนจากปที่ผานมาใหเพิ่มขึ้น ในป 2551 เปน 90,000 บาทตอป คิดเปนรอ ยละ 25 เพื่อ เพิ่มผลิตภัณ ฑทางการทอ งเที่ย วที่มีอยู แลวใหมากขึ้น เพื่อ เป นชอ งทางเลื อ กใหมใหกั บ นักทองเที่ยวในการตัดสินใจเลือกแหลงทองเที่ยวเพื่อสัมผัสกับอดีตและความเปนชุมชนอันเกาแก อีกแหงหนึ่งที่มีระยะทางไมไกลจากกรุงเทพมหานคร แลวเพื่อตอ งการพัฒนาตลาดน้ําอัมพวาให เป น ตลาดน้ํ า ที่ได มาตรฐาน เป น ตลาดน้ํ า ดีเ ด นของจั ง หวั ด สมุ ทรสงครามในป 2551 จากผล การศึกษาพบวาตลาดน้ําอัมพวาเปนตลาดทองเที่ยวสําหรับชาวไทยมากกวาชาวตางประเทศและ ปญหาที่พบคือ การขาดการประชาสัมพันธเกี่ยวกับแหลงทองเที่ยว สุขอนามัยดานสุขา และเมื่อมา ทองเที่ยวเกิดการเบียดเสียด เนื่องจากพื้นที่แคบและมีนักทองเที่ยวจํานวนมากเกินพื้นที่จะรับได (จาตุรนต ภักดีวานิช, นุชเนตร กาฬสมุทร, วีรญา บริบูรณ, 2551) ศึกษาเรื่องการศึกษา ความคิดเห็นของนัก ทองเที่ยวชาวไทยที่มีตอการพัฒนา การทองเที่ยวเชิงอนุรักษ อําเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม มีจุด มุงหมายเพื่อ ศึก ษาความคิ ดเห็นของนักท อ งเที่ยวชาวไทยที่มีตอ การ ทองเที่ยวเชิงอนุรักษ อําเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม กลุมตัวอยาง คือนักทองเที่ยวชาวไทย ซึ่ง ไดรับการเลือกแบบชั้นภูมิ (Stratified Sampling) ที่เ ดินทางมาทองเที่ยว ณ อําเภออัมพวา จํานวน 400 คน นักทอ งเที่ยวไดตอบแบบสอบถามความคิดเห็นตอ การทองเที่ยวในดานแหลงทองเที่ยว


ดานบริหารจัดการ ดานการมีสวนรวม และดานกิจกรรมและกระบวนการใหการศึกษา จํานวน 44 ขอ ผูวิจยั เปรียบเทียบความคิดเห็นของนักทองเที่ยวจําแนกตามเพศ อายุ รายไดตอ เดือน อาชีพและ ความถี่ในการเดินทางมาทองเที่ยว (จันทิมา อภิวิสุทธิรักษ, ปรียาพร ดิส สะมาน, 2552) ศึก ษาเรื่องพฤติก รรมและปจจัยดาน การท อ งเที่ ย ว ที่ มี ผ ลต อ การตั ด สิ น ใจใช บ ริ ก ารบ า นพั ก โฮมสเตย ตลาดน้ํ า อั ม พวา จั ง หวั ด สมุทรสงคราม ของนักทองเที่ยวชาวไทย มีจุดมุงหมายเพื่อศึกษาพฤติกรรมและปจจัย ที่มีผลตอการ ตัด สิน ใจใชบ ริก ารบ านพัก โฮมสเตย ตลาดน้ํ าอั มพวา จัง หวั ดสมุ ทรสงคราม ของนัก ท องเที่ ย ว ชาวไทย กลุ มตัวอยางที่ ใชในการสํา รวจคือ นัก ทองเที่ยวชาวไทยที่เดิน ทางมาใชบ ริการบานพั ก โฮมสเตย ตลาดน้ําอัมพวาในระหวางเดือน ตุลาคม – ธันวาคม 2551 เครื่อ งมือที่ใชในการเก็ บ รวบรวมขอมูลคือแบบสอบถามที่เก็บขอมูลโดยวิธีการสุมแบบเฉพาะเจาะจง (ประทีป นวลเจริญ 2548) ไดทําวิจัยเรื่อง “การศึกษาศักยภาพของทรัพยากรการทองเที่ยว เชิงธรรมชาติทางบกของ จ.ภูเก็ต พังงา และกระบี่” พบวา ศักยภาพของทรัพยากรการทองเที่ยวทาง ธรรมชาติ ทางบกของ จ.ภู เ ก็ต พั ง งา และกระบี่ ใน จ.ภู เ ก็ ต มี ศั ก ยภาพสู ง 8 ตํ า บล ใน จ.พั ง งา มีศั ก ยภาพ สู ง 17 ตํ า บล ใน จ.กระบี่ มี ศั ก ยภาพสู ง 22 ตํ า บล จ.กระบี่ มีศั ก ยภาพในทรั พยากร การท องเที่ ยวธรรมชาติทางบกสู งที่สุด ประชาชนในชุม ชนมีค วามตอ งการให ใชทรั พยากรทาง ธรรมชาติ ทางบกเปนแหลงทองเที่ยวรอยละ 100 ดวยเหตุผลคือ ตองการใหชุมชนมีเศรษฐกิจดีขึ้น สวนนักทองเที่ยวชาวไทยตองการทองเที่ยวแหลงธรรมชาติทางบก รอยละ 91.33 นักทองเที่ยวชาว ตางประเทศตองการทองเที่ยวแหลงธรรมชาติทางบกรอยละ 62.25 โดยมีเหตุผ ลในการทองเที่ยว ที่เหมือนกันดังนี้ ไดมีโอกาสมาสัมผัสกับธรรมชาติที่คนสวนใหญไมเคยพบเห็นความอุดมสมบูรณ มีสิ่งอํานวยความสะดวก และสะอาด มีความปลอดภัยและการเดินทางสะดวกตามลําดับ (รสิ กา อัง กู รและคณะ 2549) ได ทํา การวิ จัยเรื่อ งการพัฒนาศัก ยภาพการท อ งเที่ ยวเชิง ศิลปวัฒนธรรมและภูมิปญญาทองถิ่น พบวาการทองเที่ยวเชิงศิลปวัฒนธรรมและภูมิปญญาทองถิ่น กําลังไดรับความนิยมจากชาวไทยและชาวตางชาติ โดยเฉพาะในกลุมที่ตองการศึกษาหาความรู เกี่ย วกั บวิ ถี ชี วิต และความงดงามในศิ ล ปวั ฒ นธรรมไทย สํ า หรั บรู ป แบบที่ เ ป น ที่ นิ ย มในกลุ ม นักทอ งเที่ ยว สวนใหญเ ปนการเที่ยวชมสถานที่สําคั ญทางประวิติศ าสตร แ ละโบราณสถานการ เที่ย วชมศิล ปวัฒนธรรมประเพณีทอ งถิ่น และการเที่ยวชมความงดงามของศิ ล ปหั ตถกรรมไทย ที่เ ปนเอกลัก ษณข องทอ งถิ่น แตก ารดํ า เนิน การด านการทอ งเที่ ย วที่ผ านมาแตล ะจัง หวัดได แ ก ปญหาความเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ปญหาโครงสรางพื้นฐาน ปญหา ความปลอดภัยของนักทองเที่ยว ปญหาการขาดแคลนงบประมาณในการปรับปรุงและการทองเที่ยว ของจังหวัด


(ศรีไพร พริ้งเพราะ 2547) ทําวิจัยเรื่องการพัฒนาการทองเที่ยวกับการเปลี่ยนแปลงทางดาน สังคม เศรษฐกิจ และวัฒนธรรมของชุมชน: บูรณาการการจัดการแสดงของชางในบานตากลาง ต.กระโพ อ.ทาตูม จ.สุรินทร พบวาพัฒนาการทองเที่ยวในหมูบานตากลางแบงออกเปน 2 ชวงเวลา ช วงแรกก อ นป พ.ศ.2538 และช วงที่ส องป พ.ศ.2538-ปจจุบั น เป น การพั ฒนาเพื่ อ ตอบรั บกั บ นโยบายของรัฐที่ตองการขยายแหลงทอ งเที่ยวและกระจายรายไดไปสูทองถิ่น อีกทั้งยังสามารถ ฟนฟูวัฒนธรรมใหค งความเปนเอกลัก ษณ ไว โดยผูที่เ กี่ยวของในการผลักดั นให มีก ารจัด แสดง ของชางในหมูบานมีทั้ งหนวยงานภาครัฐ หนวยงานภาคเอกชนและประชาชนทองถิ่ น ที่เ ห็นว า หมูบานมี ศักยภาพในการจั ดแสดงชางได แบบการจัดการทอ งเที่ยวมี 2 แบบคือ 1) การแสดง ของชา งเพื่ อ ตอบสนองนัก ท อ งเที่ ย วชาวไทยและชาวเอเชี ย 2) การท อ งเที่ ย วเชิ งวั ฒ นธรรม ดวยการชมวิถีชี วิตของคนในชุมชนสําหรับนั ก ท องเที่ยวชาวตะวันตก การพัฒนาการท องเที่ย ว ทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงทางดานสังคม เชน การเปลี่ยนแปลงความสัมพันธทางสังคมโดยเฉพาะ ระหวางคนในชุมชนและระหวางนักทองเที่ยวกับคนในชุมชน (รุ งรั ตน หัต ถกรรม 2545) วิจัยเรื่อ ง แนวทางการพั ฒนาหมูบานทอผ าไหม ต.นาโพธิ์ อ.นาโพธิ์.บุรีรัมย เปนแหลงทองเที่ยวทางวัฒนธรรม มีแนวทางการพัฒนาหมูบานทอผาไหมใหเปน แหลงทองเที่ยวทางวัฒนธรรมอยู 4 แนวทาง คือ 1) การพัฒนาดานสิ่งอํานวยความสะดวก 2) การจัด องคกรทางดานการทองเที่ยวของชุมชน 3) การพัฒนาความพรอมดานบุคลากร 4) การจัดรายการนํา เที่ยวของชุมชน (ทองยุน บุตรโสภา 2547) ไดทําการศึกษาเรื่อง การจัดการการทองเที่ยวเชิงนิเวศโดยชุมชน อยางยั่งยืน: กรณีศึกษาทาดานโฮมสเตย ตําบลหินตั้ง อําเภอเมืองจังหวัดนครนายก พบวา ชุมชนมี การจัดการการท องเที่ยวเชิงนิเ วศและมีปจจัย ภายในของการจั ดการการทอ งเที่ ยวเชิงนิเ วศ โดย ชุมชน ไดแก การสรางบรรยากาศใหเกิดความอบอุนแกนักทองเที่ยว การบริก าร และโปรแกรม การทองเที่ยวที่มีอิทธิพลตอ ความพึงพอใจของนัก ทองเที่ยว ในการจัดการการทอ งเที่ยวเชิงนิเวศ โดยชุมชน เนื่องจากวาการสรางบรรยากาศใหเกิดความอบอุนทําใหนักทอ งเที่ยวรูสึกถึงความเปน กันเองของเจาของบานไมไดรูสึกวาตนเปนคนแปลกหนา กอใหเกิดความพึงพอใจ นัก ทองเที่ยว มีค วามพึง พอใจที่ไดรับการบริก ารในดานการใหค วามรู แกนัก ทองเที่ย ว การบริ การขั้นพื้ นฐาน ตลอดจนการอํานวยความสะดวกเปนอยางมาก และโปรแกรมการทองเที่ยวที่มีความนาสนใจและ เหมาะสมในเรื่ อ งราคา และสิ่ ง อํ า นวยความสะดวก ซึ่ ง ป จจั ยทั้ ง สามส ง ผลต อ ความพึ ง พอใจ ของนักทองเที่ยว และนําไปสูการจัดการการทองเที่ยวเชิงนิเวศโดยชุมชนอยางยั่งยืน


เนื่องดวยคณะผูจัดทําไดนําแนวคิดและทฤษฎีข อง ชิดจันทร หังสสูตและฉลองศรี พิมล สมพงศ เป น แนวคิ ดที่ เ กี่ย วกั บป จจั ยด านการจัด การท อ งเที่ ย ว พฤติ ก รรมการท อ งเที่ ย วและ วัตถุประสงคของการเดินทางทองเที่ยว ซึ่งเกี่ยวขอ งกับงานวิจัย คณะผูจัดทําจึงไดนําทฤษฎีของ ทั้ง 2 ทาน นํามาอางอิงเพื่อใชในงานวิจัย จึงเกิดเปนตัวแปรตนคือทรัพยากรการทองเที่ยว ซึ่งไดแ ก บุคคล การทองเที่ยวและที่พัก นํามาสูตัวแปรตามคือ มาตรฐานโฮมสเตยทั้ง 10 ดาน ซึ่งไดแก ดานที่ พัก ดานอาหารและโภชนาการ ดานความปลอดภัย ดานอัธยาศัยไมตรีของเจาของบานและสมาชิก ในครัวเรือน ดานรายการนําเที่ยว ดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ ม ดานวัฒนธรรม ดาน การสรางคุณคาและมูลคาของผลิตภัณฑ ดานการบริหารของกลุมโฮมสเตยและดานประชาสัมพันธ จึงไดเกิดเปนกรอบแนวความคิด


กรอบแนวความคิด จากการได ศึ ก ษา ไดส รุ ปกรอบแนวความคิ ด ศั ก ยภาพของชุมชนตอ การเป น โฮมสเตย กรณีศึกษาหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ดังนี้ ตัวแปรตน

ตัวแปรตาม

ทรัพยากรการทองเที่ยว 1. บุคคล 2. การทองเที่ยว 3. ที่พัก

ศักยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย กรณีศึกษาหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร 1. ดานที่พัก 2. ดานอาหารและโภชนาการ 3. ดานความปลอดภัย 4. ดานอัธยาศัยไมตรีของเจาของบานและ สมาชิกในครัวเรือน 5. ดานรายการนําเที่ยว 6. ดานทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอม 7. ดานวัฒนธรรม 8. ดานการสรางคุณคาและมูลคาของ ผลิตภัณฑ 9. ดานการบริหารของกลุมโฮมสเตย 10.ดานประชาสัมพันธ

ภาพที่ 1 กรอบแนวความคิด


บทที่ 3 วิธีดําเนินงานการวิจัย 1. ประชากรและกลุมตัวอยาง 1.1 ประชากร ประชากรที่ใชในการศึกษาครั้งนี้ คือ มุงศึกษาถึงศักยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย หมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร มีจํานวนประชากรทั้งหมด 545 คน ชาย257 คน หญิง 288 คน 1.2 กลุมตัวอยาง เนื่ อ งจากจํา นวนประชากรมี จํา นวนประชากรที่ แ นน อน ผู วิจัย จึ ง ใช วิธี กํ า หนดขนาด ตัวอยางจากการประมาณคารอยละ กรณีทราบจํานวนประชากร ดังสูตรตอไปนี้ สูตรของ Yamane n=

N 1 + Ne2 โดย n = ขนาดตัวอยางที่คํานวณได N = จํานวนประชากรที่ทราบคา e = คาความคลาดเคลื่อนที่จะยอมรับได (allowable error) แทนคา n = 545 1+545(0.05)2 กลุมตัวอยางที่คํานวณได เทากับ 231คน เพื่อลดความคลาดเคลื่อน และเพื่อความเหมาะสม ผูวิจัยจะใชขนาดของกลุมตัวอยาง เทากับ 250 คน

2. เครื่องมือที่ใชในการวิจัย เครื่ อ งมื อ ที่ ใช ป ระกอบการทํ า วิ จั ย ในครั้ ง คื อ แบบสอบถาม ซึ่ ง เป น แบบสอบถาม (Questionnaire) โดยใชแบบสอบถามแบบปลายปด (Close ended Question) และแบบสอบถาม แบบปลายเปด (Open ended Question) ทําการเก็บขอมูลจากกลุมตัวอยาง แบงออกเปน 4 สวนดังนี้ ที่สรางจากขั้นตอนตางๆ ดังนี้คือ


สวนที่ 1 ขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบถาม สวนที่ 2 ความคิดเห็นตอทรัพยากรการทองเที่ยวและความพรอ มของโฮมสเตยในปจจุบัน อยางเหมาะสม สวนที่ 3 ศักยภาพของชุมชนตอการเปน โฮมสเตย กรณีศีกษาหมูบา นเหล า ตําบลเหล า โพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร วิเคราะหดวยคาสถิติ รอยละ และสวนเบี่ยงเบน มาตรฐาน โดยคณะผูศึก ษาไดเ ลือกใชวิธีตามแนวของเบสท (Best 1987 :174 อางอิงใน บุญชม ศรีสะอาด)ดังนี้ สวนที่ 4 ขอเสนอแนะเพิ่มเติม ชั้นของคะแนนเฉลี่ย = (คะแนนสูงสุด – คะแนนต่ําสุด) 5 = ( 4–1 ) 5 จํานวนอันตรภาคชั้น = 0.6 1.00-1.80 1.81-2.60 2.61-3.40 3.41-4.20 4.21-5.00

หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง

ระดับความคิดเห็นนอยที่สุด ระดับความคิดเห็นนอย ระดับความคิดเห็นปานกลาง ระดับความคิดเห็นมาก ระดับความคิดเห็นมากที่สุด

3. การเก็บรวบรวมขอมูล 1. ขอมูลทุติยภูมิ รวบรวมมาจากเอกสาร ตําราเรียน งานวิจัยตางๆ ที่เกี่ยวของและขอ มูล จากอินเตอรเ น็ ต เพื่อทํา ความเขาใจถึง แนวคิด ทฤษฎีที่เกี่ยวขอ งเพื่อที่ จะสามารถนํามาอธิบาย วิ เ คราะห ป ระเด็ น ที่ ผู วิ จั ย สนใจวิ ธี ก ารเก็ บ รวบรวมข อ มู ล กระทํ า โดยการถ า ยเอกสาร การคัดลอกสรุปเนื้อหา เพื่อนํามาใชในการวิจัย 2. ขอมูลปฐมภูมิ เปนขอมูลจากการเก็บรวบรวมขอมูลเพื่อ นํามาวิเคราะห ซึ่งผูวิจัยได ดําเนินการรวบรวมขอมูลจากแบบสอบถาม ที่ไดจากการสอบถามกลุมตัวอยางจํานวน 250 ชุด จาก


จํานวนประชากรในหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร โดย ทําการแจกแบบสอบถามในชวงระหวาง เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2554 – กุมภาพันธ พ.ศ. 2555 ดวย ตนเอง

4. การวิเคราะหขอมูล ในการวิจัยครั้งนี้เปนการวิจัยแบบสํารวจ โดยมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาศักยภาพของชุมชน ตอ การเปนโฮมสเตย กรณีศึกษาหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัด สกลนคร ทั้งนี้ในการวิเคราะหและการประมวลผลการวิจัยนี้ โดยการนําแบบสอบถามที่รวบรวม ไดมาดําเนินการดังนี้ 1. การตรวจสอบแบบสอบถามนําขอมูลที่มีความสมบูรณมาใชและคัดแยกแบบสอบถามที่ ไมสมบูรณออกจากแบบสอบถามทั้งหมด 2. การใชวิธีการเขียนรหัสบนแบบสอบถามเพื่อสามารถตรวจสอบขอมูลได จากการกรอก ขอมูลลงในโปรแกรมสําเร็จรูป 3. การนํ าข อมู ลที่ก รอกรหัสแลวมาบันทึ ก จากนั้น นํา ไปประมวลผลโดยใชโปรแกรม สําเร็จรูปทางสถิติ และเปรียบเทียบขอมูลดานตางๆ จากแบบสอบถาม 4. การวิเคราะหขอมูลที่ไดจากโปรแกรมสําเร็จรูปทางสถิติ สามารถอธิบายดังนี้ การวิ เคราะห ข อ มู ลสถิ ติเชิง พรรณนา (Descriptive Statistic) ในดา นตา งๆ ที่ เ กี่ ยวกั บ จํานวนประชากรในหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร

5. สถิติที่ใชในการวิจัย สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล ผูศึกษาดําเนินการวิเคราะหขอ มูลที่มีความสอดคลองกับความมุงหมายในการศึกษา คือ การใชสถิติพรรณนา (Descriptive Statistics) เปนสถิติเกี่ยวกับการนําเสนอขอมูล (Presentation) ใน รูปของตาราง ซึ่งได คาเฉลี่ย (Mean) สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard deviation; S.D) รอ ยละ (Percentage) และความถี่ (Frequency)


บทที่ 4 ผลการวิเคราะหขอมูล การวิ จัย เรื่ อ งนี้ เ ป น การศึ ก ษาในเรื่ อ งของศั ก ยภาพของชุ ม ชนต อ การเป น โฮมสเตย กรณีศึกษาหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ผูวิจัยไดเ สนอ ขอมูลในการวิเคราะหเพื่ออธิบายผลและการแปลผลมาจากมาตรฐานโฮมสเตยทั้งหมด 10 ดาน โดย แบงผลนํามาวิเคราะหออกเปน 4 สวน 1. ผลการวิเคราะหขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบถาม 2. ผลการวิ เคราะหข อมู ล ความคิดเห็น ตอ ทรั พยากรการทอ งเที่ยวและความพร อ มของ โฮมสเตยในปจจุบันอยางเหมาะสม 3. ผลการวิเคราะหขอมูลในสวนที่เปน แบบถามความคิดเห็น เกี่ยวกับศักยภาพของชุมชน ตอ การเปนโฮมสเตย กรณีศึกษาหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัด สกลนคร 4. ขอเสนอแนะของสมาชิกของหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร 1. ผลการวิเคราะหขอมูลของผูตอบแบบสอบถามสมาชิกของหมูบานเหลา ตําบลเหลา โพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร (ขอมูลพื้นฐานเกี่ยวกับสมาชิก เพศ อายุ สถานภาพ อาชีพ รายไดเฉลี่ยตอเดือน ระดับการศึกษา) ตารางที่ 1 จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยางจําแนกตามเพศ (n=250) เพศ ชาย หญิง รวม

จํานวน(คน) 114 136 250

รอยละ 45.6 54.4 100.0


จากตารางที่ 1 ผลของการศึก ษาพบวากลุมตัวอยางแสดงใหเห็ นวา สมาชิกของหมูบาน เหล า ตํา บลเหลาโพนคอ อํ าเภอโคกศรี สุพรรณ จัง หวัดสกลนคร จํ าแนกเปน เพศชาย 114 คน คิดเปนรอยละ 45.6 เปนเพศหญิง 136 คน คิดเปนรอยละ 54.4 ตารางที่ 2 จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยางจําแนกตามอายุ (n=250) อายุ นอยกวา 20 ป 20-30 ป 31-40 41-50 51-60 มากกวา 60 ป รวม

จํานวน (คน)

รอยละ

0 1 4 65 109 71

0 0.4 1.6 26.0 43.6 28.4

250

100.0

จากตารางที่ 2 ผลของการศึกษาพบว ากลุม ตัวอยา งแสดงใหเ ห็นวา สมาชิ ก ของหมูบา น เหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร เมื่อจําแนกตามอายุแลวพบวา อายุ 51-60 ป มีมากที่สุด จํานวน 109 คน คิดเปนรอยละ 43.6 รองลงมาคือ อายุมากกวา 60 ป จํานวน71 คน คิดเปนรอ ยละ 28.4 นอกจากนี้กลุมอายุ 41-50 ป จํานวน 65 คน คิดเปนรอ ยละ 26 กลุมอายุ 31-40 ป จํานวน 4 คน คิดเปนรอ ยละ 1.6 และกลุมอายุ 20-30 ป จํานวน 1 คน คิดเปนรอยละ 0.4 ตามลําดับ


ตารางที่ 3 จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยางจําแนกตามสถานภาพ (n=250) สถานภาพ โสด

จํานวน(คน)

รอยละ

1

0.4

สมรส 248 99.2 หยา 0 0 แยกกันอยู 1 0.4 รวม 250 100.0 จากตารางที่ 3 ผลของการศึกษาพบว ากลุม ตัวอยา งแสดงใหเ ห็นวา สมาชิ ก ของหมูบา น เหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จั งหวัดสกลนคร เมื่อจําแนกตามสถานภาพแลว พบวา กลุมตัวอยางสถานภาพสมรส มีมากที่สุด จํานวน 248 คน คิดเปนรอ ยละ 99.2 รองลงมาคือ สถานภาพโสดและสถานภาพแยกกันอยู จํานวน 1 คน คิดเปนรอยละ 0.4 ตามลําดับ ตารางที่ 4 จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยางจําแนกตามอาชีพ (n=250) อาชีพ พอบาน/แมบาน รับจางทั่วไป คาขาย/ธุรกิจสวนตัว ขาราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ เกษตรกร นักเรียน/นักศึกษา อื่นๆ รวม

จํานวน(คน) 4 19 15 13 198 1 0 250

รอยละ 1.6 7.6 6.0 5.2 79.2 0.4 0 100.0


จากตารางที่ 4 ผลของการศึกษาพบว ากลุม ตัวอยา งแสดงใหเ ห็นวา สมาชิ ก ของหมูบา น เหล า ตํา บลเหลา โพนคอ อํ าเภอโคกศรี สุ พรรณ จั งหวั ดสกลนคร เมื่อ จํ า แนกตามอาชี พพบว า กลุมตัวอยางอาชีพ เกษตรกร เปน กลุมที่มีจํานวนมากที่สุด จํานวน 198 คน คิดเปนรอ ยละ 79.2 กลุมที่มีจํานวนรองลงมาคือกลุมตัวอยางที่ทําอาชีพรับจางทั่วไป มีจํานวน 19 คน คิดเปนรอยละ7.6 และอาชีพคาขาย/ธุรกิจสวนตัว มีจํานวน 15 คน คิดเปนรอยละ 6 นอกจากนี้ไดแ กกลุมตัวอยาง อาชีพขาราชการ/พนัก งานรัฐวิสาหกิจ จํานวน 13 คน คิดเปนรอยละ 5.2 อาชีพพอบาน/แมบาน จํานวน 4 คน คิดเปนรอยละ 1.6 และนักเรียน/นักศึกษา จํานวน 1 คน คิดเปนรอยละ 1.6 ตามลําดับ ตารางที่ 5 จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยางจําแนกตามรายไดโดยเฉลี่ยตอเดือน (n=250) รายไดโดยเฉลี่ยตอเดือน นอยกวา 3,000 บาท 3,001-8,000 บาท 8,001-13,000 บาท 13,001-18,000 บาท 18,001-23,000 บาท มากกวา 28,000 บาทขึ้นไป รวม

จํานวน(คน) 127 107 13 1 1 1 250

รอยละ 50.8 42.8 5.2 0.4 0.4 0.4 100.0

จากตารางที่ 5 ผลของการศึกษาพบว ากลุม ตัวอยา งแสดงใหเ ห็นวา สมาชิ ก ของหมูบา น เหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร เมื่อจําแนกตามรายไดโดยเฉลี่ย ตอเดือน พบวากลุมตัวอยางสวนใหญมีระดับรายไดโดยเฉลี่ยตอเดือน นอยกวา 3,000 บาท จํานวน 127 คน คิด เปน รอยละ 50.8 และระดับรายได โดยเฉลี่ยตอ เดื อ นรองลงมา ไดแ ก ระดั บรายได 3,001-8,000 บาท จํ านวน 107 คน คิดเป นรอ ยละ 42.8 ระดับรายได 8,001-13,000 บาท จํา นวน 13 คน คิ ดเป น ร อ ยละ 5.2 และระดั บรายได 13,001-18,000 บาท 18,001-23,000 บาทและ มากกวา 28,000 บาทขึ้นไป จํานวน 1 คน คิดเปนรอยละ 0.4 ตามลําดับ


ตารางที่ 6 จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยางจําแนกตามระดับการศึกษา (n=250) ระดับการศึกษา

จํานวน(คน)

รอยละ

ต่ํากวาระดับมัธยมศึกษาตอนตน

132

52.8

ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย/ปวช.

115

46.0

ระดับอนุปริญญา/ปวส.

1

0.4

ระดับปริญญาตรีหรือเทียบเทา

2

0.8

สูงกวาระดับปริญญาตรี

0

0

อื่นๆ

0

0

รวม

250

100.0

จากตารางที่ 6 ผลของการศึกษาพบว ากลุม ตัวอยา งแสดงใหเ ห็นวา สมาชิ ก ของหมูบา น เหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร เมื่อจําแนกตามระดับการศึกษา พบวา กลุมตัวอยางต่ํากวาระดับมัธยมศึกษาตอนตน เปนกลุมที่มีจํานวนมากที่สุด จํานวน 132 คน คิดเปนรอยละ 52.8 กลุมที่มีจํานวนรองลงมาคือ กลุมตัวอยางระดับ มัธ ยมศึกษาตอนปลาย/ปวช. จํานวน 115 คน คิดเปนรอ ยละ 46 และกลุมตัวอยางระดับปริญญาตรีหรือเทียบเทา จํานวน 2 คน คิดเปนรอยละ 0.8 และนอกจากนี้ไดแก กลุมตัวอยางระดับอนุปริญญา/ปวส. จํานวน 1 คน คิดเปน รอยละ 0.4 ตามลําดับ


2. ผลการวิเคราะห ขอมูลความคิด เห็นต อทรัพยากรการทอ งเที่ยวและความพร อมของ โฮมสเตยในปจจุบันอยางเหมาะสม ตารางที่ 7 จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยางกิจกรรมการทองเที่ยว (ตอบไดมากกวา 1 ขอ) (n=250) ทองเที่ยวเชิงนิเวศ

จํานวน(คน)

รอยละ

มี

139

55.6

ไมมี

111

44.4

รวม

250

100.0

จากตารางที่ 7 ผลของการศึกษาพบว ากลุม ตัวอยา งแสดงใหเ ห็นวา สมาชิ ก ของหมูบา น เหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร สวนใหญคิดวามีรูปแบบกิจกรรม การทองเที่ยวเชิงนิเวศ จํานวน 139 คน คิดเปนรอยละ 55.6 และไมมีรูปแบบกิจกรรมการทองเที่ยว เชิงนิเวศ จํานวน 111 คน คิดเปนรอยละ 44.4 ตารางที่ 8 จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยางกิจกรรมการทองเที่ยว (ตอบไดมากกวา 1 ขอ) (n=250) ทองเที่ยวเชิงศาสนา

จํานวน(คน)

รอยละ

186

74.4

ไมมี

64

25.6

รวม

250

100.0

มี

จากตารางที่ 8 ผลของการศึกษาพบว ากลุม ตัวอยา งแสดงใหเ ห็นวา สมาชิ ก ของหมูบา น เหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร สวนใหญคิดวามีรูปแบบกิจกรรม การทองเที่ยวเชิงศาสนา จํานวน 186 คน คิดเปนรอยละ 74.4และไมมีรูปแบบกิจกรรมการทองเที่ยว เชิงศาสนา จํานวน 64 คน คิดเปนรอยละ 25.6


ตารางที่ 9 จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยางกิจกรรมการทองเที่ยว (ตอบไดมากกวา 1 ขอ) (n=250) ทองเที่ยวเชิงประวัติศาสตร

จํานวน(คน)

รอยละ

52

20.8

ไมมี

198

79.2

รวม

250

100.0

มี

จากตารางที่ 9 ผลของการศึกษาพบว ากลุม ตัวอยา งแสดงใหเ ห็นวา สมาชิ ก ของหมูบา น เหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร สวนใหญคิดวามีรูปแบบกิจกรรม การท อ งเที่ ยวเชิ ง ประวั ติศ าสตร จํ า นวน 52 คน คิ ดเปน ร อ ยละ 20.8และไม มีรูปแบบกิ จกรรม การทองเที่ยวเชิงประวัติศาสตร จํานวน 198 คน คิดเปนรอยละ 79.2 ตารางที่ 10 จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยางกิจกรรมการทองเที่ยว (ตอบไดมากกวา 1 ขอ) (n=250) ทองเที่ยวเชิงอนุรักษ

จํานวน(คน)

รอยละ

มี

114

45.6

ไมมี

136

54.4

รวม

250

100.0

จากตารางที่ 10 ผลของการศึก ษาพบวากลุมตัวอยางแสดงใหเห็นวา สมาชิก ของหมูบาน เหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร สวนใหญคิดวามีรูปแบบกิจกรรม การท อ งเที่ ย วเชิ ง อนุ รั ก ษ จํ า นวน 114 คน คิ ด เป น ร อ ยละ 45.6และไม มี รู ป แบบกิ จ กรรม การทองเที่ยวเชิงอนุรักษ จํานวน 136 คน คิดเปนรอยละ 54.4


ตารางที่ 11 จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยางกิจกรรมการทองเที่ยว (ตอบไดมากกวา 1 ขอ) (n=250) ทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม

จํานวน(คน)

รอยละ

158

63.2

ไมมี

92

36.8

รวม

250

100.0

มี

จากตารางที่ 11 ผลของการศึก ษาพบวากลุมตัวอยางแสดงใหเห็นวา สมาชิก ของหมูบาน เหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร สวนใหญคิดวามีรูปแบบกิจกรรม การท อ งเที่ ย วเชิ ง วั ฒ นธรรม จํ า นวน 158 คน คิ ดเป น ร อ ยละ 63.2และไม มี รู ป แบบกิ จ กรรม การทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม จํานวน 92 คน คิดเปนรอยละ 36.8 ตารางที่ 12 จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยางกิจกรรมการทองเที่ยว (ตอบไดมากกวา 1 ขอ) (n=250) ทองเที่ยวเชิงชุมชน

จํานวน(คน)

รอยละ

88

35.2

ไมมี

162

64.8

รวม

250

100.0

มี

จากตารางที่ 12 ผลของการศึก ษาพบวากลุมตัวอยางแสดงใหเห็นวา สมาชิก ของหมูบาน เหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร สวนใหญคิดวามีรูปแบบกิจกรรม การทองเที่ยวเชิงชุมชน จํานวน 88 คน คิดเปนรอยละ 35.2 และไมมีรูปแบบกิจกรรมการทองเที่ยว เชิงชุมชน จํานวน 162 คน คิดเปนรอยละ 64.8


ตารางที่ 13 จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยางพรอมที่จะเปดโฮมสเตย (n=250) พรอมที่จะเปดโฮมสเตย

จํานวน(คน)

รอยละ

พรอม ไมพรอม อื่นๆโปรดระบุ

167 83 0

66.8 33.2 0

รวม

250

100.0

จากตารางที่ 13 ผลของการศึก ษาพบวากลุมตัวอยางแสดงใหเห็นวา สมาชิก ของหมูบาน เหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร สวนใหญคิดวาพรอมที่จะเป ด โฮมสเตย จํ า นวน 167 คน คิด เป น ร อ ยละ 66.8และไม พร อ มที่จะเป ดโฮมสเตย จํ า นวน 83 คน คิดเปนรอยละ 33.2 ตารางที่ 14 จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยางสิ่งอํานวยความสะดวก (ตอบไดมากกวา 1 ขอ) (n=250) โทรทัศน

จํานวน(คน)

รอยละ

มี ไมมี

235 15

94.0 6.0

รวม

250

100.0

จากตารางที่ 14 ผลของการศึก ษาพบวากลุมตัวอยางแสดงใหเห็นวา สมาชิก ของหมูบาน เหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร สวนใหญคิดวามีโทรทัศน จํานวน 235 คน คิดเปนรอยละ 94 และไมมโี ทรทัศน จํานวน 15 คน คิดเปนรอยละ 6


ตารางที่ 15 จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยางสิ่งอํานวยความสะดวก (ตอบไดมากกวา 1 ขอ) (n=250) ตูเย็น

จํานวน(คน)

รอยละ

มี ไมมี

196 54

78.4 21.6

รวม

250

100.0

จากตารางที่ 15 ผลของการศึก ษาพบวากลุมตัวอยางแสดงใหเห็นวา สมาชิก ของหมูบาน เหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร สวนใหญคิดวามี ตูเย็น จํานวน 196 คน คิดเปนรอยละ 78.4 และไมมตี ูเย็น จํานวน 54 คน คิดเปนรอยละ 21.6 ตารางที่ 16 จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยางสิ่งอํานวยความสะดวก (ตอบไดมากกวา 1 ขอ) (n=250) เครื่องทําน้ําอุน

จํานวน(คน)

รอยละ

13

5.2

ไมมี

237

94.8

รวม

250

100.0

มี

จากตารางที่ 16 ผลของการศึก ษาพบวากลุมตัวอยางแสดงใหเห็นวา สมาชิก ของหมูบาน เหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร สวนใหญคิดวามี เครื่องทําน้ําอุน จํานวน 13 คน คิดเปนรอยละ 5.2 และไมมเี ครื่องทําน้ําอุน จํานวน 237 คน คิดเปนรอยละ 94.8


ตารางที่ 17 จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยางสิ่งอํานวยความสะดวก (ตอบไดมากกวา 1 ขอ) (n=250) พัดลม

จํานวน(คน)

รอยละ

245

98.0

ไมมี

5

2.0

รวม

250

100.0

มี

จากตารางที่ 17 ผลของการศึก ษาพบวากลุมตัวอยางแสดงใหเห็นวา สมาชิก ของหมูบาน เหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร สวนใหญคิดวามี พัดลม จํานวน 245 คน คิดเปนรอยละ 98 และไมมพี ัดลม จํานวน 5 คน คิดเปนรอยละ 2 ตารางที่ 18 จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยางสิ่งอํานวยความสะดวก (ตอบไดมากกวา 1 ขอ) (n=250) ที่นอนพรอมมุง

จํานวน(คน)

รอยละ

241

96.4

ไมมี

9

3.6

รวม

250

100.0

มี

จากตารางที่ 18 ผลของการศึก ษาพบวากลุมตัวอยางแสดงใหเห็นวา สมาชิก ของหมูบาน เหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร สวนใหญคิดวามีที่นอนพรอมมุง จํานวน 241 คน คิดเปนรอยละ 96.4 และไมมีที่นอนพรอมมุง จํานวน 9 คน คิดเปนรอยละ 3.6


ตารางที่ 19 จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยางสิ่งอํานวยความสะดวก (ตอบไดมากกวา 1 ขอ) (n=250) อื่นๆโปรดระบุ มี

จํานวน(คน)

รอยละ

0

0

ไมมี

250

100.0

รวม

250

100.0

จากตารางที่ 19 ผลของการศึก ษาพบวากลุมตัวอยางแสดงใหเห็นวา สมาชิก ของหมูบาน เหล า ตํ าบลเหล า โพนค อ อํ าเภอโคกศรี สุ พรรณ จั ง หวัด สกลนคร สวนใหญคิ ดวา มี สิ่ง อํ า นวย ความสะดวกอื่นๆนอกจากที่ไดเกลาวมา จํานวน 0 คน คิดเปนรอยละ 0 และไมมีสิ่งอํานวยความ สะดวกอื่นๆนอกจากที่ไดเกลาวมา จํานวน 250 คน คิดเปนรอยละ 100 ตารางที่ 20 จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยางความรูเกี่ยวกับโฮมสเตย (n=250) ความรูเกี่ยวกับโฮมสเตย

จํานวน(คน)

รอยละ

167

66.8

ไมมี

83

33.2

รวม

250

100.0

มี

จากตารางที่ 20 ผลของการศึก ษาพบวากลุมตัวอยางแสดงใหเห็นวา สมาชิก ของหมูบาน เหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร สวนใหญคิดวามี ความรูเกี่ยวกับ โฮมสเตย จํานวน 167 คน คิดเปนรอยละ 66.8 และไมมีความรูเกี่ยวกับโฮมสเตย จํานวน 83 คน คิดเปนรอยละ 33.2


ตารางที่ 21 จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยางการเดินทางมายังหมูบานเหลาโดยใชพาหนะ (n=250) การเดินทางมายังหมูบานเหลาโดยใชพาหนะ จํานวน(คน)

รอยละ

รถยนต รถจักรยานยนต รถโดยสารประจําทาง อื่นๆโปรดระบุ

78.0 14.0 8.0 0

รวม

195 35 20 0 250

100.0

จากตารางที่ 21 ผลของการศึก ษาพบวากลุมตัวอยางแสดงใหเห็นวา สมาชิก ของหมูบาน เหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร สวนใหญคิดวา การเดินทางมายัง หมู บ า นเหล า โดยใช ร ถยนต จํ า นวน 195 คน มากที่ สุ ด คิ ด เป น ร อ ยละ 78รองลงมาคื อ รถจัก รยานยนต จํานวน 35 คน คิดเปนรอยละ 14 และใชรถโดยสารประจําทาง จํานวน 20 คน คิดเปนรอยละ 8 ตารางที่ 22 จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยางมัคคุเทศกประจําทองถิ่น (n=250) มัคคุเทศกประจําทองถิ่น

จํานวน(คน)

รอยละ

มี ไมมี อื่นๆโปรดระบุ

209 41 0

83.6 16.4 0

รวม

250

100.0

จากตารางที่ 22 ผลของการศึก ษาพบวากลุมตัวอยางแสดงใหเห็นวา สมาชิก ของหมูบาน เหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร สวนใหญคิดวามีมัคคุเทศกประจํา ทอ งถิ่ น จํา นวน 209 คน คิ ดเปน ร อ ยละ 83.6และไม มีมัค คุ เ ทศกป ระจํ า ทอ งถิ่ น จํ านวน 41 คน คิดเปนรอยละ 16.4


ตารางที่ 23 จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยางการอบรมเรื่องการปฐมพยาบาลเบื้องตน (n=250) การอบรมเรื่องการปฐมพยาบาลเบื้องตน

จํานวน(คน)

รอยละ

มี ไมมี อื่นๆโปรดระบุ

244 6 0

97.6 2.4 0

รวม

250

100.0

จากตารางที่ 23 ผลของการศึก ษาพบวากลุมตัวอยางแสดงใหเห็นวา สมาชิก ของหมูบาน เหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร สวนใหญคิดวามีก ารอบรมเรื่อ ง การปฐมพยาบาลเบื้ อ งต น จํ า นวน 244 คน คิ ด เป น ร อ ยละ 97.6และไม มี ก ารอบรมเรื่ อ ง การปฐมพยาบาลเบื้องตน จํานวน 6 คน คิดเปนรอยละ 2.4 ตารางที่ 24 จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยางความรูเกี่ยวกับวัฒนธรรมประเพณีทองถิ่น (n=250) ความรูเกี่ยวกับวัฒนธรรมประเพณีทองถิ่น

จํานวน(คน)

รอยละ

มี ไมมี อื่นๆโปรดระบุ

248 2 0

99.2 0.8 0

รวม

250

100.0

จากตารางที่ 24 ผลของการศึก ษาพบวากลุมตัวอยางแสดงใหเห็นวา สมาชิก ของหมูบาน เหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร สวนใหญคิดวามี ความรูเกี่ยวกับ วัฒนธรรมประเพณีทองถิ่น จํานวน 248 คน คิดเปนรอยละ 99.2 และไมมีความรูเกี่ยวกับวัฒนธรรม ประเพณีทองถิ่น จํานวน 2 คน คิดเปนรอยละ 0.8


ตารางที่ 25 จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยางผลิตภัณฑจากชุมชนและรานจําหนายของที่ระลึก (n=250) ผลิตภัณฑจากชุมชนและรานจําหนาย จํานวน(คน) รอยละ ของที่ระลึก มี ไมมี อื่นๆโปรดระบุ

235 15 0

94.0 6.0 0

รวม

250

100.0

จากตารางที่ 10 ผลของการศึก ษาพบวากลุมตัวอยางแสดงใหเห็ นวา สมาชิก ของหมูบาน เหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร สวนใหญคิดวามี ผลิตภัณฑจาก ชุ ม ชนและร า นจํ า หน า ยของที่ ร ะลึ ก จํ า นวน 235 คน คิ ด เป น ร อ ยละ 94และไม มี ผ ลิ ต ภั ณ ฑ จากชุมชนและรานจําหนายของที่ระลึก จํานวน 15 คน คิดเปนรอยละ 6 ตารางที่ 26 จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยางการประชาสัมพันธการทองเที่ยวของชุมชน (n=250) การประชาสัมพันธการทองเที่ยวของชุมชน จํานวน(คน) รอยละ มี ไมมี อื่นๆโปรดระบุ

200 50 0

80.0 20.0 0

รวม

250

100.0

จากตารางที่ 26 ผลของการศึก ษาพบวากลุมตัวอยางแสดงใหเห็นวา สมาชิก ของหมูบาน เหล า ตํ า บลเหล า โพนค อ อํ า เภอโคกศรี สุ พ รรณ จั ง หวั ด สกลนคร ส วนใหญ คิ ด ว า มี การ ประชาสั ม พั น ธ ก ารท อ งเที่ ย วของชุ ม ชนจํ า นวน 200 คน คิ ด เป น ร อ ยละ 80และไม มี ก าร ประชาสัมพันธการทองเที่ยวของชุมชน จํานวน 50 คน คิดเปนรอยละ 20


3. ผลการวิเคราะหความคิดเห็นศักยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย กรณีศึกษาหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัด สกลนคร มีทั้งหมด 10 ดานดังนี้ ตารางที่ 27 แสดงจํานวนและรอยละตามความคิด เห็นศักยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย กรณีศึกษาหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอ โคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ดานที่พัก (n=250) ระดับคะแนน(รอยละ) ศักยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย กรณีศึกษา หมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย นอยที่สุด X S.D. ระดับความคิดเห็น อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร 1. ดานที่พัก 1. ลักษณะของบานพักที่แบงเปนสัดสวน

10

52

36.4

0.8

0.8

3.70

0.691

มาก

2. มีที่พักสําหรับนักทองเที่ยวที่สะอาดและสบาย

6.4

59.6

32.4

1.6

0

3.71

0.607

มาก

3. หองอาบน้ําและหองสวมที่สะอาดมิดชิด

7.2

49.6

42

1.2

0

3.63

0.635

มาก

3.68

0.644

มาก

รวม


จากตารางที่ 27 พบวาศัก ยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย กรณีศึกษาหมูบ านเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ดานที่พัก กลุมตัวอยางมีความคิดเห็นวา อันดับที่ 1 คือ มีที่พักสําหรับนักทองเที่ยวที่สะอาดและสบาย ( = 3.71) อันดับที่ 2 คือ ลักษณะของ บานพักที่แบงเปนสัดสวน ( = 3.70) และอันดับที่ 3 คือ หอ งอาบน้ําและหองสวมที่สะอาดมิดชิด ( = 3.63) ตามลําดับ


ตารางที่ 28 แสดงจํานวนและรอยละตามความคิด เห็นศักยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย กรณีศึกษาหมูบานเหลา ตําบลเหลา โพนคอ อําเภอ โคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ดานอาหารและโภชนาการ (n=250) ศักยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย ระดับคะแนน(รอยละ) กรณีศึกษา หมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย นอยที่สุด X S.D. ระดับความคิดเห็น อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร 2. ดานอาหารและโภชนาการ 1. ชนิดของอาหารและวัตถุดิบที่ใชประกอบอาหาร 13.6 53.6 32 0.8 0 3.80 0.671 มาก 2. มีภาชนะที่บรรจุอาหารที่สะอาด ถูกสุขอนามัย

18

50

30.4

1.6

0

3.84

0.725

มาก

3. หองครัวและอุปกรณที่ใชในครัว มีความสะอาด

17.2

48.4

32

2

0.4

3.80

0.755

มาก

3.81

0.717

มาก

รวม


จากตารางที่ 28 พบวาศัก ยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย กรณีศึกษาหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ดานอาหารและโภชนาการ กลุมตัวอยาง มีค วามคิด เห็ น ว า อั น ดั บที่ 1 คื อ มี ภ าชนะที่ บรรจุอ าหารที่ ส ะอาด ถู ก สุข อนามั ย ( = 3.84) อันดับที่ 2 คือ ชนิดของอาหารและวัตถุดิบที่ใชประกอบอาหาร รวมทั้งหอ งครัวและอุปกรณที่ใช ในครัว มีความสะอาด ( = 3.80) ตามลําดับ


ตารางที่ 29 แสดงจํานวนและรอยละตามความคิด เห็นศักยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย กรณีศึกษาหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอ โคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ดานความปลอดภัย (n=250) ศักยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย ระดับคะแนน(รอยละ) กรณีศึกษา หมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย นอยที่สุด X S.D. ระดับความคิดเห็น อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร 3. ดานความปลอดภัย 1. การเตรียมความพรอมเกี่ยวกับการปฐมพยาบาล เบื้องตน 22.4 49.6 26.8 1.2 0 3.93 0.733 มาก 2. การจัดระบบดูแลความปลอดภัย รวม

32.4

47.6

19.2

0.8

0

4.12

0.733

มาก

4.03

0.733

มาก


จากตารางที่ 29 พบวาศัก ยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย กรณีศึกษาหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ดานความปลอดภัย กลุมตัวอยางมีความ คิดเห็นวา อันดับที่ 1 คือ การจัดระบบดูแลความปลอดภัย ( = 4.12) อันดับที่ 2 คือการเตรียมความ พรอมเกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องตน( = 3.93) ตามลําดับ


ตารางที่ 30 แสดงจํานวนและรอยละตามความคิด เห็นศักยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย กรณีศึกษาหมูบานเหลา ตําบลเหลา โพนคอ อําเภอ โคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ดานอัธยาศัยไมตรีของเจาของบานและสมาชิกในครัวเรือน (n=250) ศักยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย ระดับคะแนน(รอยละ) กรณีศึกษา หมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ นอยที่สุด X อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย S.D. ระดับความคิดเห็น 4. ดานอัธยาศัยไมตรีของเจาของบานและสมาชิก ในครัวเรือน 1. การตอนรับและการสรางความคุนเคย 26.8 56 17.2 0 0 4.10 0.658 มาก 2. การสรางกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรูในวิถีชีวิต ของชุมชน 29.6 54.4 15.6 0.4 0 4.13 0.673 มาก 3. ความเปนมิตรและรอยยิ้มของเจาของบาน 25.6 63.2 10.8 0.4 0 4.14 0.602 มาก 4. การสรางความประทับใจใหกับนักทองเที่ยว 25.2 52.8 21.2 0.8 0 4.02 0.705 มาก รวม

4.10

0.660

มาก


จากตารางที่ 30 พบวาศัก ยภาพของชุมชนตอการเปน โฮมสเตย กรณีศึกษาหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ดานอัธยาศัยไมตรีของเจาของบานและ สมาชิกในครัวเรือน กลุมตัวอยางมีความคิดเห็นวา อันดับที่ 1 คือ ความเปนมิตรและรอยยิ้มของ เจาของบาน( = 4.14) อันดับที่ 2 คือ การสรางกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรูในวิถีชีวิตของชุมชน ( = 4.13) อันดับที่ 3 คือ การตอนรับและการสรางความคุนเคย ( = 4.10) และการสรางความ ประทับใจใหกับนักทองเที่ยว ( = 4.02) ตามลําดับ


ตารางที่ 31 แสดงจํานวนและรอยละตามความคิด เห็นศักยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย กรณีศึกษาหมูบานเหลา ตําบลเหลา โพนคอ อําเภอ โคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ดานรายการนําเที่ยว (n=250) ระดับคะแนน(รอยละ) ศักยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย กรณีศึกษา หมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย นอยที่สุด X S.D. ระดับความคิดเห็น อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร 5. ดานรายการนําเที่ยว 1. มีรายการนําเที่ยวที่ชัดเจน สําหรับนักทองเที่ยว ซึ่งตองผานการยอมรับจากชุมชน 2. มีขอมูลกิจกรรมทองเที่ยวที่หลากหลาย 3. มีการประสานงานใหมัคคุเทศกทองถิ่นนําเที่ยว 4. การใหความรูดานการนําเที่ยวในหมูบาน รวม

5.6 8.8 8.4 12.8

44.4 51.2 50 58.4

48 36.8 38 26

2 3.2 3.2 2.4

0 0 0.4 0

3.54 3.66 3.63 3.82

0.634 0.684 0.701 0.675

ปานกลาง มาก มาก มาก

3.66

0.674

มาก


จากตารางที่ 31 พบวาศัก ยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย กรณีศึกษาหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ดานรายการนําเที่ยว กลุมตัวอยางมีความ คิดเห็นวา อันดับที่ 1 คือ การใหความรูดานการนําเที่ยวในหมูบาน ( = 3.82) อันดับที่ 2 คือ มี ขอ มูลกิ จกรรมทองเที่ยวที่หลากหลาย ( = 3.66) อัน ดับที่ 3 มีก ารประสานงานใหมัค คุเทศก ทอ งถิ่น นําเที่ย ว ( = 3.63) และมี รายการนํา เที่ ยวที่ชัดเจน สํ าหรั บนั ก ทอ งเที่ย วซึ่ง ต องผ า น การยอมรับจากชุมชน ( = 3.54) ตามลําดับ


ตารางที่ 32 แสดงจํานวนและรอยละตามความคิด เห็นศักยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย กรณีศึกษาหมูบานเหลา ตําบลเหลา โพนคอ อําเภอ โคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม (n=250) ระดับคะแนน(รอยละ) ศักยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย กรณีศึกษา หมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย นอยที่สุด X S.D. ระดับความคิดเห็น อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร 6. ดานทรัพยากรรรมชาติและสิ่งแวดลอม 1. ชุมชนมีแหลงทองเที่ยวภายในชุมชนหรือแหลง ทองเที่ยวใกลเคียง 2. มีการดูแลรักษาแหลงทองเที่ยวและภาวะโลกรอน รวม

9.6 16.4

57.2 54

32.4 27.6

0.8 2

0 0

3.76 3.85

0.628 0.706

มาก มาก

3.81

0.667

มาก


จากตารางที่ 32 พบวาศัก ยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย กรณีศึกษาหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม กลุมตัวอยางมีค วามคิดเห็นวา อันดับที่ 1 คือ มีการดูแลรัก ษาแหลงทองเที่ยวและภาวะโลกรอน ( = 3.85) อันดับที่ 2 คือ ชุม ชนมีแ หลงทอ งเที่ยวภายในชุมชนหรือ แหลง ทองเที่ ยวใกลเ คียง ( = 3.73) ตามลําดับ


ตารางที่ 33 แสดงจํานวนและรอยละตามความคิด เห็นศักยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย กรณีศึกษาหมูบานเหลา ตําบลเหลา โพนคอ อําเภอ โคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ดานวัฒนธรรม (n=250) ระดับคะแนน(รอยละ) ศักยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย กรณีศึกษา หมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย นอยที่สุด X S.D. ระดับความคิดเห็น อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร 7. ดานวัฒนธรรม 1. การดํารงรักษาวัฒนธรรมประเพณีทองถิ่น 2. การรักษาวิถีชีวิตชุมชนคงไวเปนกิจวัตรประจําวัน 3. มีการรวบรวมองคความรูดานวัฒนธรรมทองถิ่น รวม

24.4 23.2 21.6

45.6 54.4 60.8

28.4 21.6 17.2

1.2 0.8 0.4

0 0 0

3.93 4.00 4.04

0.760 0.694 0.636

มาก มาก มาก

3.99

0.697

มาก


จากตารางที่ 33 พบวาศัก ยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย กรณีศึกษาหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ดานวัฒนธรรม กลุมตัวอยางมีค วาม คิดเห็นวา อันดับที่ 1 คือ มีการรวบรวมองคความรูดานวัฒนธรรมทองถิ่น ( = 4.04) อันดับที่ 2 คือ การรัก ษาวิถี ชีวิตชุมชนคงไวเ ปนกิ จวั ตรประจํ าวัน ( = 4.00) อัน ดับที่ 3 คือ การดํารงรั กษา วัฒนธรรมประเพณีทองถิ่น ( = 3.93) ตามลําดับ


ตารางที่ 34 แสดงจํานวนและรอยละตามความคิด เห็นศักยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย กรณีศึกษาหมูบานเหลา ตําบลเหลา โพนคอ อําเภอ โคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ดานการสรางคุณคาและมูลคาของผลิตภัณฑ (n=250) ศักยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย ระดับคะแนน(รอยละ) กรณีศึกษา หมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ นอยที่สุด X อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย S.D. ระดับความคิดเห็น 8. ดานการสรางคุณคาและมูลคาของผลิตภัณฑ 1. มีผลิตภัณฑจากชุมชนเพื่อเปนของที่ระลึก/ของฝาก 22.8 56.4 20.4 0.4 0 4.02 0.670 มาก หรือจําหนายแกนักทองเที่ยว 2. มีผลิตภัณฑที่สรางคุณคาและมูลคาที่เปนเอกลักษณ 27.2 51.6 20.8 0.4 0 4.06 0.703 มาก ของชุมชน รวม

4.04

0.687

มาก


จากตารางที่ 34 พบวาศัก ยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย กรณีศึกษาหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ดานการสรางคุณคาและมูลคาผลิตภัณฑ กลุมตัวอยางมีความคิดเห็นวา อันดับที่ 1 คือ มีผลิตภัณฑที่สรางคุณคาและมูลคาที่เปนเอกลักษณ ของชุมชน ( = 4.06) อันดับที่ 2 คือ มีผลิตภัณฑจากชุมชนเพื่อ เปนของที่ระลึก /ของฝากหรือ จําหนายแกนักทองเที่ยว ( = 4.02) ตามลําดับ


ตารางที่ 35 แสดงจํานวนและรอยละตามความคิด เห็นศักยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย กรณีศึกษาหมูบานเหลา ตําบลเหลา โพนคอ อําเภอ โคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ดานการบริหารของกลุมโฮมสเตย (n=250) ศักยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย ระดับคะแนน(รอยละ) กรณีศึกษา หมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ นอยที่สุด X อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย S.D. ระดับความคิดเห็น 9. ดานการบริหารของกลุมโฮมสเตย 1. ชุมชนมีการใหความรูดานโฮมสเตย 2. มีการจัดตั้งคณะกรรมการกลุมโฮมสเตย 3. มีการตั้งกฎ กติกาในการทํางานของคณะกรรมการ รวม

23.6 28.8 19.6

61.6 53.2 63.6

12.4 16.4 15.6

2.4 1.6 1.2

0 0 0

4.06 4.09 4.02

0.674 0.714 0.634

มาก มาก มาก

4.06

0.674

มาก


จากตารางที่ 35 พบวาศัก ยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย กรณีศึกษาหมูบานเหลา ตํา บลเหลา โพนค อ อําเภอโคกศรี สุพรรณ จังหวั ดสกลนคร ดา นการบริ หารของกลุ มโฮมสเตย กลุมตัวอยางมีความคิดเห็นวา อันดับที่ 1 คือ มีการจัดตั้งคณะกรรมการกลุมโฮมสเตย ( = 4.09) อันดับที่ 2 คือ ชุมชนมีการใหความรูดานโฮมสเตย ( = 4.06) อันดับที่ 3 คือ มีการตั้งกฎ กติกาใน การทํางานของคณะกรรมการ ( = 4.02) ตามลําดับ


ตารางที่ 36 แสดงจํานวนและรอยละตามความคิด เห็นศักยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย กรณีศึกษาหมูบานเหลา ตําบลเหลา โพนคอ อําเภอ โคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ดานประชาสัมพันธ (n=250) ศักยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย ระดับคะแนน(รอยละ) กรณีศึกษา หมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ นอยที่สุด X อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย S.D. ระดับความคิดเห็น 10. ดานประชาสัมพันธ 1. มีเอกสาร สื่อสิ่งพิมพ ประชาสัมพันธการทองเที่ยว 6.4 47.6 42.8 3.2 0 3.57 0.662 มาก ของชุมชน 5.6 56.4 35.2 2.4 0.4 3.64 0.644 มาก 2. มีการเผยแพรประชาสัมพันธ 6.4 69.6 22.8 1.2 0 3.81 0.553 มาก 3. มีหนวยงานภาครัฐบาล ชวยในการประชาสัมพันธ รวม

3.67

0.620

มาก


จากตารางที่ 36 พบวาศัก ยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย กรณีศึก ษาหมูบานเหลา ตํา บลเหลา โพนค อ อําเภอโคกศรีสุ พรรณ จั งหวัดสกลนคร ดา นประชาสัม พัน ธ กลุมตัวอย า ง มีค วามคิดเห็นวา อันดับที่ 1 คือ มีหนวยงานภาครัฐบาล ชวยในการประชาสัมพันธ ( = 3.81) อันดับที่ 2 คือ มีการเผยแพร ประชาสัมพันธ ( = 3.64) อันดับที่ 3 คือ มีเอกสาร สื่อ สิ่งพิมพ ประชาสัมพันธการทองเที่ยวของชุมชน ( = 3.57) ตามลําดับ 4. ขอเสนอแนะของสมาชิกหมูบานเหลาเกี่ยวกับศักยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย กรณีศึกษาหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร สมาชิกของหมูบานเหลามีขอเสนอแนะเกี่ยวกับศักยภาพของชุมชนตอ การเปนโฮมสเตย กรณีศึกษาหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ซึ่งสรุปได ดังนี้ ขอเสนอแนะจากผูตอบแบบสอบถาม 1. อยากใหมีนักทองเที่ยวเขามาพักโฮมสเตยใหมากขึ้น 2. อยากใหมีนักทองเที่ยวเขามาเที่ยวในหมูบานมากขึ้น 3. อยากใหผูที่มีความรูเกี่ยวกับโฮมสเตยเขามาอบรมใหชาวบานบอยๆ 4. อยากใหภาครัฐเขามาใหความรูแกคนในชุมชนบาง


บทที่ 5 สรุปผลการศึกษาและขอเสนอแนะ การศึกษาเรื่องของศักยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย กรณีศึกษาหมูบานเหลา ตําบล เหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ผูศึกษามีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาศักยภาพของ ชุมชนตอ การเปน โฮมสเตย กรณี ศึกษาหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนค อ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร มีกลุมตัวอยางที่ใชในการศึกษาครั้งนี้ คือ สมาชิกของหมูบานเหลา ตําบลเหลา โพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ซึ่งประกอบดวยสมาชิกจํานวน 545 คน ในการเก็บ รวบรวมข อ มู ล ผูศึ ก ษาไดทํา การสุ มตั ว อย า งแบบสอบถามจํ า นวน 250 ชุ ดตั วอย า ง ในเดื อ น กุมภาพันธ 2555 ผลการศึกษาที่ได จากการวิ เคราะหข อมูล ความคิดเห็นของสมาชิก หมูบ านเหลา ที่มีต อเรื่ องศัก ยภาพของ ชุมชนตอ การเปน โฮมสเตย กรณี ศึกษาหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนค อ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร สรุปผลไดดังนี้ 1. ขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบถาม จากการศึกษาพบวา สมาชิกในหมูบานเหลาที่ตอบแบบสอบถามสวนใหญเปนเพศหญิง จํานวน 136 คน (รอยละ 54.4) เพศชาย จํานวน 114 คน (รอ ยละ 45.6) สวนใหญมีอายุระหวาง 5160 ป จํ า น ว น 109 ค น ( ร อ ย ล ะ 43.6) ส ถ า น ภ า พ ส ว น ใ ห ญ ส ม ร ส จํ า น ว น 248 ค น (รอยละ 99.2) อาชีพสวนใหญ คือ เกษตรกร จํานวน 198 คน (รอยละ 79.2) รายไดเฉลี่ยตอเดือน สวนใหญนอยกวา 3,000 บาท จํานวน 127 คน (รอ ยละ 42.8) ระดับการศึกษา อยูในระดับต่ํากวา มัธยมศึกษาตอนตน จํานวน 132 คน (รอยละ 52.8)

2. ความคิดเห็นตอทรัพยากรการทองเที่ยวและความพรอมของโฮมสเตยในปจจุบันอยาง เหมาะสม


กลุมตัวอยางสวนใหญคิดเห็นวา รูปแบบกิจกรรมการทองเที่ยว อันดับที่ 1 คือ ทองเที่ยว เชิงศาสนา จํานวน 186 คน คิดเปน รอ ยละ 74.4 อันดับที่ 2 คือ ทองเที่ยวเชิงวั ฒนธรรม จํานวน 158 คน คิ ดเป น ร อ ยละ 63.2 และอั น ดั บที่ 3 คื อ ทอ งเที่ ยวเชิ ง นิ เ วศ จํ า นวน 139 คน คิ ดเป น รอยละ 55.6 มีความพรอมที่จะเปดโฮมสเตย จํานวน 167 คน คิดเปนรอยละ 66.8 มีสิ่งอํานวยความ สะดวก อัน ดับที่ 1 คือ พัดลม จํานวน 245 คน คิดเปนรอยละ 98 อันดับที่ 2 คือ ที่นอนพรอมมุง จํานวน 241 คน คิดเปนรอยละ 96.4 และอันดับที่ 3 คือ โทรทัศน จํานวน 235 คน คิดเปนรอยละ 94 มีค วามรู เกี่ย วกั บโฮมสเตย จํา นวน 167 คน คิดเปนร อยละ 66.8 การเดิ นทางมายัง หมูบานเหล า โดยรถยนต จํานวน 195 คน คิดเปนรอยละ 78 มีมัคคุเ ทศกประจําทองถิ่น จํานวน 209 คน คิดเปน รอ ยละ 83.6 มี ก ารอบรมเรื่ อ งการปฐมพยาบาลเบื้ อ งต น จํ านวน 244 คน คิ ดเป น ร อ ยละ 97.6 มีค วามรู เกี่ ยวกับ วัฒ นธรรมประเพณี ทอ งถิ่น จํ านวน 248 คน คิ ดเป นร อยละ 99.2 มี ผลิ ตภั ณฑ จากชุมชนและรานจําหนายของที่ระลึก จํานวน 235 คน คิดเปนรอยละ 94 และมีการประชาสัมพันธ การทองเที่ยวของชุมชน จํานวน 200 คน คิดเปนรอยละ 80 3. ความคิ ด เห็ น ศั ก ยภาพของชุ ม ชนต อ การเป น โฮมสเตย กรณี ศึ ก ษาหมู บ า นเหล า ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร มีทั้งหมด 10 ดานดังนี้ 1. ดานที่พัก กลุ มตั วอย า งส วนใหญคิ ดเห็ น ว า ศั ก ยภาพของชุ มชนต อ การเป นโฮมสเตย กรณี ศึ ก ษา หมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ดานที่พัก อันดับที่ 1 คือ มีที่พัก สํ า หรั บนัก ท องเที่ยวที่ส ะอาดและสบาย อั นดั บที่ 2 คือ ลัก ษณะของบ านพัก ที่ แ บง เป น สัดสวนและอันดับที่ 3 คือ หองอาบน้ําและหองสวมที่สะอาดมิดชิด ตามลําดับ โดยรวมระดับความ คิดเห็นอยูในระดับมาก


2. ดานอาหารและโภชนาการ กลุ มตั วอยา งส วนใหญ คิดเห็ นว าศั ก ยภาพของชุ มชนตอ การเปน โฮมสเตย กรณี ศึก ษา หมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ดานอาหารและโภชนาการ อันดับที่ 1 คือ มีภาชนะที่บรรจุอาหารที่สะอาด ถูก สุขอนามัย อันดับที่ 2 คือ ชนิดของอาหารและ วัตถุดิบที่ ใชประกอบอาหาร รวมทั้งหองครัวและอุปกรณที่ใชในครัว มี ความสะอาด ตามลําดั บ โดยรวมระดับความคิดเห็นอยูในระดับมาก 3. ดานความปลอดภัย กลุ มตั วอยา งส วนใหญ คิดเห็ นว าศั ก ยภาพของชุ มชนตอ การเปน โฮมสเตย กรณี ศึก ษา หมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ดานความปลอดภัย อันดับ ที่ 1 คือ การจัดระบบดูแ ลความปลอดภัย อันดับที่ 2 คือ การเตรียมความพรอมเกี่ยวกับการปฐม พยาบาลเบื้องตน ตามลําดับ โดยรวมระดับความคิดเห็นอยูในระดับมาก 4. ดานอัธยาศัยไมตรีของเจาของบานและสมาชิกในครัวเรือน กลุมตัวอยางสวนใหญ คิดเห็น วา ศั กยภาพของชุ มชนตอการเปน โฮมสเตย กรณีศึ กษา หมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ดานอัธยาศัยไมตรีของ เจาของบา นและสมาชิก ในครัวเรือน อัน ดับที่ 1 คือ ความเปนมิ ตรและรอยยิ้มของเจาของบา น อันดับที่ 2 คือ การสรางกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรูในวิถีชีวิตของชุมชน อันดับที่ 3 คือ การตอนรับ และการสรางความคุนเคยและการสรางความประทับใจใหกับนักทองเที่ยว ตามลําดับ โดยรวม ระดับความคิดเห็นอยูในระดับมาก 5. ดานรายการนําเที่ยว กลุ มตัวอย างส วนใหญ คิดเห็ นว า ศัก ยภาพของชุ มชนต อ การเปน โฮมสเตย กรณีศึ ก ษา หมู บา นเหลา ตํ า บลเหล าโพนค อ อํา เภอโคกศรี สุพรรณ จั งหวัดสกลนคร ด านรายการนํา เที่ ย ว อันดับที่ 1 คือ การใหความรูดานการนําเที่ยวในหมูบาน อันดับที่ 2 คือ มีขอมูลกิจกรรมทองเที่ยวที่ หลากหลาย อันดับที่ 3 คือ มีการประสานงานใหมัค คุเทศกทองถิ่นนําเที่ยวและมีรายการนําเที่ยว


ที่ ชั ด เจน สํ า หรั บ นั ก ท อ งเที่ ย วซึ่ ง ต อ งผ า นการยอมรั บ จากชุ มชน ตามลํ า ดั บ โดยรวมระดั บ ความคิดเห็นอยูในระดับมาก 6. ดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม กลุ มตัวอย างส วนใหญ คิดเห็ นว าศัก ยภาพของชุ มชนต อ การเปน โฮมสเตย กรณีศึ ก ษา หมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ดานทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม อันดับที่ 1 คือ มีการดูแลรักษาแหลงทองเที่ยวและภาวะโลกรอน อันดับที่ 2 คือ ชุมชนมีแหลงทองเที่ยวภายในชุมชนหรือแหลงทองเที่ยวใกลเคียง ตามลําดับ โดยรวมระดับความ คิดเห็นอยูในระดับมาก 7. ดานวัฒนธรรม กลุ มตัวอย างส วนใหญ คิดเห็ นว า ศัก ยภาพของชุ มชนต อ การเปน โฮมสเตย กรณีศึ ก ษา หมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ดานวัฒนธรรม อันดับที่ 1 คือ มีการรวบรวมองคความรูดานวัฒนธรรมทองถิ่น อันดับที่ 2 คือการรักษาวิถีชีวิตชุมชนคงไวเปน กิจวัตรประจําวัน อันดับที่ 3 คือการดํารงรักษาวัฒนธรรมประเพณีทองถิ่น ตามลําดับ โดยรวมระดับ ความคิดเห็นอยูในระดับมาก 8. ดานการสรางคุณคาและมูลคาของผลิตภัณฑ กลุ มตัวอย างส วนใหญ คิดเห็ นว า ศัก ยภาพของชุ มชนต อ การเปน โฮมสเตย กรณีศึ ก ษา หมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ดานการสรางคุณคาและ มู ล ค า ผลิ ต ภั ณ ฑ อั น ดั บ ที่ 1 คื อ มี ผ ลิ ต ภั ณ ฑ ที่ ส ร า งคุ ณ ค า และมู ล ค า ที่ เ ป น เอกลั ก ษณ ของชุ ม ชน อั น ดั บที่ 2 คื อ มี ผ ลิ ตภั ณฑ จากชุ มชนเพื่ อ เป น ของที่ ระลึ ก /ของฝากหรือ จํ า หน า ย แกนักทองเที่ยว ตามลําดับ โดยรวมระดับความคิดเห็นอยูในระดับมาก


9. ดานการบริหารของกลุมโฮมสเตย กลุ มตั วอย า งส วนใหญคิ ดเห็ น ว า ศั ก ยภาพของชุ มชนต อ การเป นโฮมสเตย กรณี ศึ ก ษา หมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ดานการบริหารของกลุม โฮมสเตย อั น ดั บ ที่ 1 คื อ มี ก ารจั ด ตั้ ง คณะกรรมการกลุ มโฮมสเตย อั น ดั บ ที่ 2 คื อ ชุ ม ชน มีก ารใหความรูดานโฮมสเตย อันดับที่ 3 คือมีการตั้งกฎ กติกาในการทํางานของคณะกรรมการ ตามลําดับ โดยรวมระดับความคิดเห็นอยูในระดับมาก 10. ดานประชาสัมพันธ กลุ มตั วอย า งส วนใหญคิ ดเห็ น ว า ศั ก ยภาพของชุ มชนต อ การเป นโฮมสเตย กรณี ศึ ก ษา หมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ดานประชาสัมพันธ อันดับ ที่ 1 คื อ มี หน วยงานภาครั ฐ บาล ชว ยในการประชาสัม พั น ธ อั น ดั บที่ 2 คื อ มี ก ารเผยแพร ประชาสั มพั นธ อัน ดั บที่ 3 คื อมี เ อกสาร สื่อ สิ่ง พิมพ ประชาสั มพัน ธก ารทอ งเที่ย วของชุมชน ตามลําดับ โดยรวมระดับความคิดเห็นอยูในระดับมาก ขอเสนอแนะจากการศึกษา จากการศึก ษาพบว า ศัก ยภาพของชุม ชนต อ การเป น โฮมสเตย กรณี ศึ กษาหมู บา นเหลา ตํา บลเหล า โพนค อ อํา เภอโคกศรี สุพรรณ จั ง หวั ดสกลนคร ซึ่ งผู ทํา การศึ ก ษามี ขอ เสนอแนะ แกสมาชิกในหมูบานเหลา ดังนี้ 1. ควรมีก ารประชาสัมพันธ เรื่ อ งโฮมสเตย และการจัดกิ จกรรมอยางตอ เนื่อ ง เพื่อ ดึ งดู ด นักทองเที่ยวใหกลับมาเที่ยวซ้ํา 2. ควรมีการฝกอบรมเรื่องการใหบริการดานที่พักโฮมสเตยแกนักทองเที่ยวอยางสม่ําเสมอ 3. ควรมีปายทีบ่ อกทางไปยังสถานที่ทองเที่ยวตางๆในหมูบานที่ชัดเจนและมากกวานี้ 4. อยากให สมาชิ ก ในหมูบ านเหลา ตํ า บลเหล าโพนค อ อํ า เภอโคกศรี สุ พรรณ จั งหวั ด สกลนคร รักษาความสะอาดในหมูบานอยางนี้ตอไปเรื่อยๆและพัฒนาใหดียิ่งขึ้น 5. จากการศึ ก ษาพบว า สมาชิ ก ในชุ มชน มีค วามตอ งการที่ จะเพิ่ มศั ก ยภาพของชุ มชน ตอการเปนโฮมสเตยไปพรอมๆกับหนวยงานและพรอมที่จะใหความรวมมือเปนอยางมาก


6. ควรมี ก ารเผยแพร ผ ลงานวิ จัย และนํ า ผลการวิ จั ยไปปฏิ บัติ จริ ง เพื่ อ เพิ่ ม ศั ก ยภาพ ของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย กรณีศึกษาหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ใหมีมาตรฐานและสรางความพึงพอใจแกนักทองเที่ยวมากขึ้น 7. ควรมีการใหความรูเรื่องโฮมสเตยแกสมาชิกในหมูบานใหมากขึ้นและสรางความเขาใจ ในการใหบริการแกนักทองเที่ยว อีกทั้งสามารถนําไปปฏิบัติไดจริง ขอเสนอแนะเพื่อการวิจัยครั้งตอไป 1. ศึกษาและวิเคราะหจุดแข็ง จุดออน โอกาสและอุปสรรค (SWOT) ของตัวหมูบานเพื่อนํา ขอมูลที่ไดจากการศึกษา มาวิเคราะหใหนําไปสูแนวทางการพัฒนาที่พักโฮมสเตยของหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ตอไป


เอกสารและอางอิง


เอกสารและอางอิง การทองเที่ยวแหงประเทศไทย. 2529. อุตสาหกรรมทองเที่ยว. กรุงเทพมหานคร. เกรียง ฐิติจําเริญพร. 2545. บานพักแรม: Homestay: Chambre D’ Hote. จุลสารการทองเที่ยว. 21(3), หนา 5. ขวัญขาว พูลเพิ่ม, ศศิธร เจตานนท, เอื้องบุญ อุนะรัตน. 2550. การวางแผนการตลาดเพื่อสงเสริม การทองเที่ยวตลาดน้ําอัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม ในป พ.ศ. 2551.การศึกษาคนควาดวย ตนเอง ศศ.ม., มหาวิทยาลัยนเรศวร, พิษณุโลก. จาตุรนต ภักดีวานิช, นุชเนตร กาฬสมุทร, วีรญา บริบูรณ. 2551. การศึกษาความคิดเห็นของ นักทองเที่ยวชาวไทยที่ มีตอการพัฒนาการท องเที่ ยวเชิ งอนุรั กษ อํ าเภออัมพวาจั งหวั ด สมุทรสงคราม. การศึกษาคนควาดวยตนเอง ศศ.ม., มหาวิทยาลัยนเรศวร,พิษณุโลก. จันทิมา อภิวิสุทธิรักษ, ปรียาพร ดิสสะมาน. 2552. พฤติกรรมและปจจัยดานการทองเที่ยวที่มีผลตอ การตัดสินใจใชบริการบานพักโฮมสเตยตลาดน้ําอัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม ของ นักทองเที่ยวชาวไทย. การศึกษาคนควาดวยตนเอง ศศ.ม.,มหาวิทยาลัยนเรศวร, พิษณุโลก. ฉลองศรี พิมลสมพงษ. 2542. การวางแผนและพัฒนาตลาดการทองเที่ยว. กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. อางถึงใน พิทยาวรรณ วอนเพียร. 2545. “กลยุทธการโฆษณาโครงการเที่ยวทั่วไทยไปไดทุกเดือนของการทองเที่ยวแหง ประเทศไทย (ททท.).” วิทยานิพนธปริญญานิเทศศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา นิเทศศาสตรการตลาด บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยหอการคาไทย. ชิดจันทร หังสสูต.2532.หลักและการจัดการอุตสาหกรรมการทองเที่ยว.พิมครั้งที7่ : หนา 1-2. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยรามคําแหง. ชูวิทย ศิริเวชกุล. 2539. การจัดโฮมสเตย. จุลสารการทองเที่ยว. 20(3): 43-49.


เอกสารและอางอิง (ตอ) ชูวิทย ศิริเวชกุล. 2539. การทองเที่ยวเชิงชุมชนและการจัด Homestay. จุลสารการทองเที่ยว. 20(2): 52-56. ตุย ชุมสาย, ม.ล. (2518). หลักวิชาการทองเที่ยว. กรุงเทพมหานคร: แพรพิทยา. ทองยุน บุตรโสภา. (2547). การจัดการการทองเที่ยวเชิงนิเวศโดยชุมชนอยางยั่งยืน: กรณีศึกษาทา ดานโฮมสเตย ตําบลหินตั้ง อําเภอเมือง จังหวัดนครนายก. วิทยานิพนธวิทยาศาสตร มหาบัณฑิต, สถาบันบัณฑิตพัฒนาบริหารศาสตร. นิคม จารุมณี. (2536). การทองเที่ยวและการจัดการอุตสาหกรรมทองเที่ยว. กรุงเทพฯ:โรงพิมพ โอ. เอส. พริ้นติ้ง. เฮาส. นพรัตร ปานอุทัย, ศรีวิไล สุขศรีการ, ศุภนุช ตวงรัตนสิริกุล, ออยใจ จีบฝก. 2547. การจัดการธุรกิจ ท อ งเที่ ยวแบบยั่ งยื น กรณี ศึ ก ษา หมู บ า นปลายโพงพาง อํ า เภออั ม พวาจั ง หวั ด สมุทรสงคราม. การศึกษาคนควาดวยตนเอง บธ.ม., มหาวิทยาลัยนเรศวร,พิษณุโลก. ประทีป ชุมพลและคณะ. (2549). รายงานผลการวิจัยเรื่องศักยภาพและปจจัยในจังสุรินทรเพื่อ สงเสริมโครงการโลกใหมของชางอยางยั่งยืน. กรุงเทพฯ:มหาวิทยาลัยศิลปากร. ประทีป นวลเจริญ. (2548). รายงานผลการวิจัยเรื่องการศึกษาศักยภาพของทรัพยากรการ ทองเที่ยวเชิงธรรมชาติทางบกของจังหวัดภูเก็ต พังงา และกระบี.่ ภูเก็ต: มหาวิทยาลัย ราชภัฏภูเก็ต. มนัส สุวรรณ. (2538). นิเวศวิทยากับการพัฒนาเศรษฐกิจ. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ:สํานักพิมพ โอเดียนสโตร.


เอกสารและอางอิง (ตอ) มธุรส ปราบไพรี.2544.โฮมสเตยกับการจัดการทองเที่ยวเชิงนิเวศ.จุลสารการทองเที่ยว. 20(4): 49-54. รุงรัตน หัตถกรรม. (2545). แนวทางการพัฒนาหมูบานทอผาไหม ต.นาโพธิ์ อ.นาโพธิ์ จ.บุรีรัมย เปนแหลงทองเที่ยวทางวัฒนธรรม. ศิลปะศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการจัดการ อุตสาหกรรมการทองเที่ยว มหาวิทยาลัยเชียงใหม. วินิจ วีรยางกูร.2532.การจัดการอุตสาหกรรมการทองเที่ยว.พิมครั้งที1่ .กรุงเทพมหานคร. ศิริวรรณ เสรีรัตน. 2538. พฤติกรรมผูบริโภค. กรุงเทพฯ : พัฒนาศึกษา.ศุภร เสรีรัตน. 2544. พฤติกรรมผูบริโภค. กรุงเทพฯ : เอ อารบิตรีเพสเบรส.ปยรัตน ยุทธวิสุทธิ์, มัส ยามาศ วอง สุรี ย, อติรัตน สุ รัตนจัน ทร กุล . 2551. การศึก ษาพฤติ กรรมผู บริโภคในการเลื อ กซื้ อ คอมพิ วเตอร โ น ต บุ ค เพื่ อ ใช ง านส วนบุ ค คล. การศึ ก ษาค น คว า ด วยตนเอง บธ.ม., มหาวิทยาลัยนเรศวร, พิษณุโลก. ศรีไพร พริ้งเพราะ. (2547). การพัฒนาการทองเที่ยวกับการเปลี่ยนแปลงทางดาน สังคม เศรษฐกิจ และวัฒนธรรมของชุมชน:บูรณาการการจัดการแสดงของชางใน บานตากลาง ต.กระโพ อ.ทาตูม จ.สุรินทร. วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชา ภูมิศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม. อุไรวรรณ จอมซื่อตรง, เสาวลักษณ เลิศเจริญบัณฑิต. 2550. การจัดการทางการตลาดของ ผูประกอบการโฮมสเตยในภาคกลาง. การศึก ษาคนควาด วยตนเอง ศศ.ม.,มหาวิทยาลั ย นเรศวร, พิษณุโลก. การประเมินมาตราฐานโฮมสเตยไทย. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก: http://tourism.go.th/2010/th/news/view.php?ItemID=39. (สืบคน: 24 ธันวาคม 2554)


เอกสารและอางอิง (ตอ) การสงเสริมโฮมสเตย. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก: http://phetchabun.mots.go.th/. (สืบคน: 8 ธันวาคม 2554) การทองเที่ยวโดยชุมชน. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก: http://www.cbt-i.org/travel.php. (สืบคน: 23 ธันวาคม 2554). การทองเที่ยวแหงประเทศไทย (ททท.) สํานักงานสมุทรสงคราม. ขาวประชาสัมพันธ. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก: http://www.maeklongtoday.com/tat/tat-1.php. (สืบคน: 21 ธันวาคม 2552). โครงการสํารวจคาตอบแทน. ทฤษฎีความคาดหวัง (Expertancy Theory). [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก: http://salary.siamhrm.com. (สืบคน: 11ตุลาคม 2552). ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร. ประวัติความเปนมาของโฮมสเตย.[ออนไลน].เขาถึง ไดจาก: http://www.tourvtthai.com/home/index.php. (สืบคน: 12ตุลาคม 2552). นุจรินทร.2552. อัมพวามนตเสนหแหงเมืองเล็กที่ไมเคยหลับไหล. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก: http://www.moopeak.com/voyager/totravel.php?article_id=129. (สื บ ค น : 12 ตุ ล าคม 2552). บุญนิวัฒน.2552. ประวัติศาสตรอัมพวา. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก: http://amphawa.sadoodta.com/travel.php?subaction=showfull&id=1251149109&archive =&start_from=&ucat=9. (สืบคน: 12 ตุลาคม2552). ผูจัดการออนไลน.2551. อัมพวา บทความเคลื่อนไหว.[ออนไลน]. เขาถึงไดจาก: http://www.manager.co.th/Travel?ViewNews.aspx?MewsID=9510000139166. (สื บ ค น : 12 ตุลาคม2552).


เอกสารและอางอิง (ตอ) มาตรฐานโฮมสเตยไทย.[ออนไลน] เขาถึงไดจาก: http://www.chanforchan.com/ (สืบคน: 24 ธันวาคม 2554). มูลนิธิชัยพัฒนา. ความเปนมาโครงการอัมพวา ชัยพัฒนานุรักษ. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก: http://www.amphawanurak.com/index.php. (สืบคน: 21 ธันวาคม2552). แมกลองทูเดยดอทคอม. ชุมชนริมคลองอัมพวาไดรับรางวัลอนุรักษทางวัฒนธรรมป2008จาก องคกรยูเนสโก (UNESCO). [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก: http://www.maeklongtoday.com/articlecomment/amphawa.php. (สืบคน: 21 ธันวาคม 2552). สํานักงานพัฒนาการทองเที่ยว กระทรวงการทองเที่ยวและกีฬา. กําเนิดโฮมสเตย. [ออนไลน].เขาถึง ไดจาก: http://homestaythai.tourism.go.th/page_history.php. (สืบคน: 12ตุลาคม 2552). สํานักงานพัฒนาการทองเที่ยว กระทรวงการทองเที่ยวและกีฬา. มาตรฐานโฮมสเตยไทย[ออนไลน]. เขาถึงไดจาก: http://www.tripsthailand.com/th/thai_homestay_standard.96 (สืบคน: 12 ตุลาคม 2552). รสิกา อังกูรและคณะ. (2549). รายงานผลการวิจัยเรื่องการพัฒนาศักยภาพการทองเที่ยวเชิง ศิลปวัฒนธรรมและภูมิปญญาทองถิ่น. [ออนไลน] แหลงที่มา : http://www2.tat.or.th/ tat/e-journal. 2 กันยายน 2549. เหลาโพนคอ. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก: http://www.laophonkhor.go.th/ . (สืบคน: 5 ธันวาคม 2554). MGR Online. มารูจักกับตลาดน้ําและชุมชนอัมพวาแบบละเอียด. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก: http://www.wannapong.com/amphawa-floating-market/ (สืบคน: 12 ตุลาคม2


ภาคผนวก


ภาคผนวก ก แบบสอบถามที่ใชในการศึกษา

ชุดที.่ ..................

แบบสอบถาม เรื่อง ศักยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย กรณีศึกษาหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร แบบสอบถามฉบับนี้ คณะผูศึกษามีค วามประสงคที่จะศึกษาศักยภาพของชุมชนตอ การ เปนโฮมสเตย กรณีศึกษาหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร เพื่อจะทราบเหตุผ ลที่จะพัฒนาโฮมสเตยหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร คํา ชี้แจง ขอความกรุ ณ าท า นในการตอบแบบสอบถามตามความเป น จริ ง และตรงความคิ ดเห็ น ของทานมากที่สุด ซึ่งแบบสอบถามแบงออกเปน 4 สวน ดังนี้ สวนที่ 1 ขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบถาม 1. เพศ ชาย หญิง 2. อายุ นอยกวา 20 ป 20 – 30 ป 31 – 40 ป 41 - 50 ป 51 – 60 ป มากกวา 60 ป 3. สถานภาพ โสด สมรส หยา แยกกันอยู 4. อาชีพ พอบาน/แมบาน รับจางทั่วไป คาขาย/ธุรกิจสวนตัว ขาราชการ/พนักงานรัฐ วิสาหกิจ


เกษตรกร นักเรียน/นักศึกษา อื่นๆ โปรดระบุ...................... 5. รายไดเฉลี่ยตอเดือน นอยกวา 3,000 บาท 3,001-8,000 บาท 8,001-13,000 บาท 13,001-18,000 บาท 18,001-23,000 บาท มากกวา 28,000 บาทขึ้นไป 6. ระดับการศึกษา ต่ํากวาระดับมัธยมศึกษาตอนตน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย/ปวช. ระดับอนุปริญญา/ปวส ระดับปริญญาตรีหรือเทียบเทา สูงกวาระดับปริญญาตรี อื่นๆ โปรดระบุ..................... สวนที่ 2 ความคิดเห็นตอทรัพยากรการท องเที่ยวและความพรอมของโฮมสเตยในปจจุบันอยาง เหมาะสม 1.หมูบานของทานมีกิจกรรมการทองเที่ยวรูปแบบใดบาง (ตอบมากกวา 1 ขอ) ทองเที่ยวเชิงนิเวศ ทองเที่ยวเชิงศาสนา ทองเที่ยวเชิงประวัติศาสตร ทองเที่ยวเชิงอนุรักษ ทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ทองเที่ยวเชิงชุมชน 2. คุณพรอมที่จะเปดโฮมสเตยหรือไม พรอม ไมพรอม อื่นๆ โปรดระบุ......................................... 3. บานของทานมีสิ่งอํานวยความสะดวกอะไรบาง (ตอบไดมากกวา 1 ขอ) โทรทัศน ตูเย็น เครื่องทําน้ําอุน พัดลม ที่นอนพรอมมุง อื่นๆ โปรดระบุ..................................... 4. ทานมีความรูเกี่ยวกับโฮมสเตยหรือไม มี ไมมี อื่นๆ โปรดระบุ..................................... 5. การเดินทางมายังหมูบานเหลา โดยใชพาหนะประเภทใด รถยนต รถจักรยานยนต รถโดยสารประจําทาง อื่นๆโปรดระบุ......... 6. ทานมีมัคคุเทศกประจําทองถิ่นหรือไม มี ไมมี อื่นๆ โปรดระบุ..................................... 7. ทานมีการอบรมเรื่องการปฐมพยาบาลเบื้องตนหรือไม มี ไมมี อื่นๆ โปรดระบุ..................................... 8. ทานมีความรูเกี่ยวกับวัฒนธรรมประเพณีทองถิ่นหรือไม มี ไมมี อื่นๆ โปรดระบุ.....................................


9. ทานมีผลิตภัณฑจากชุมชนและรานจําหนายของที่ระลึกหรือไม มี ไมมี อื่นๆ โปรดระบุ..................................... 10. ทานไดมีการประชาสัมพันธการทองเที่ยวของชุมชนหรือไม มี

ไมมี

อื่นๆ โปรดระบุ.....................................

สวนที่ 3 ศักยภาพของชุ มชนตอการเป นโฮมสเตย กรณีศึ กษาหมู บานเหลา ตํา บลเหล าโพนค อ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ศักยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย ระดับความคิดเห็น กรณีศึกษา หมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร

มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย

1.ดานที่พัก 1.ลักษณะของบานพักที่แบงเปนสัดสวน 2.มีที่พักสําหรับนักทองเที่ยวที่สะอาด และสบาย 3.หองอาบน้ําและหองสวมที่สะอาดมิดชิด 2.ดานอาหารและโภชนาการ 1.ชนิดของอาหาร และวัตถุดิบที่ใชประกอบ อาหาร 2.มีภาชนะที่บรรจุอาหารที่สะอาด ถูกสุขอนามัย 3.หองครัว และอุปกรณที่ใชในครัว มีความสะอาด 3.ดานความปลอดภัย 1.การเตรียมความพรอมเกี่ยวกับการปฐม พยาบาลเบื้องตน 2.การจัดระบบดูแลความปลอดภัย 4.ดานอัธยาศัยไมตรีของเจาของบานและสมาชิกในครัวเรือน 1.การตอนรับและการสรางความคุนเคย 2.การสรางกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรูในวิถีชีวิต

นอยที่สุด


ของชุมชน 3.ความเปนมิตรและรอยยิ้มของเจาของบาน ศักยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย กรณีศึกษา หมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร

4.การสรางความประทับใจใหกับนักทองเที่ยว 5.ดานรายการนําเที่ยว 1.มีรายการนําเที่ยวที่ชัดเจนสําหรับ นักทองเที่ยวซึ่งตองผานการยอมรับจากชุมชน 2.มีขอมูลกิจกรรมทองเที่ยวที่หลากหลาย 3.มีการประสานงานใหมัคคุเทศกทองถิ่น นําเที่ยว 4.การใหความรูดานการนําเที่ยวในหมูบาน 6.ดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม 1.ชุมชนมีแหลงทองเที่ยวภายในชุมชน หรือแหลงทองเที่ยวใกลเคียง 2.มีการดูแลรักษาแหลงทองเที่ยวและ ภาวะโลกรอน 7.ดานวัฒนธรรม 1.การดํารงรักษาวัฒนธรรมประเพณีทองถิ่น 2.การรักษาวิถีชีวิตชุมชนคงไวเปนกิจวัตรปกติ 3.มีการรวบรวมองคความรูดานวัฒนธรรม ทองถิ่น 8.ดานการสรางคุณคาและมูลคาของผลิตภัณฑ 1.มีผลิตภัณฑจากชุมชนเพื่อเปนของที่ระลึก/ ของฝากหรือจําหนายแกนักทองเที่ยว 2.มีผลิตภัณฑที่สรางคุณคาและมูลคาที่เปน เอกลักษณของชุมชน 9.ดานการบริหารของกลุมโฮมสเตย 1.ชุมชนมีการใหความรูดานโฮมสเตย 2.มีการจัดตั้งคณะกรรมการกลุมโฮมสเตย

ระดับความคิดเห็น มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย

นอยที่สุด


3.มีการตั้งกฎ กติกาในการทํางานของ คณะกรรมการ ศักยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย กรณีศึกษา หมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร

ระดับความคิดเห็น มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย

นอยที่สุด

10.ดานประชาสัมพันธ 1.มีเอกสาร สื่อสิ่งพิมพ ประชาสัมพันธ การทองเที่ยวของชุมชน 2.มีการเผยแพรประชาสัมพันธ 3.มีหนวยงานภาครัฐบาลชวย ในการประชาสัมพันธ

สวนที่ 4 ขอเสนอแนะ ขอเสนอแนะเกี่ยวกับ ศักยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย กรณีศึกษาหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… *ขอขอบพระคุณทุกทานที่เสียสละเวลาอันมีคาในการกรอกแบบสอบถามฉบับนี*้


ภาคผนวก ข ระดับคาความเชื่อมั่น


ระดับคาความเชื่อมั่นศักยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย กรณีศึกษาหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร Reliability RELIABILITY ANALYSIS - SCALE (ALPHA) Scale Statistics

Mean

Variance

112.40 Cronbach's Alpha .879 Reliability Coefficients N of Cases = 250.0

N of Items = 29

Std. Deviation

87.871

9.374

N of Items 29

Alpha = 0.879

คาความเชื่อมั่นที่สามารถเชื่อถือไดอยูที่ 0.88

N of Items 29


ภาคผนวก ค ขอมูลทั่วไปของหมูบานเหลา


ลักษณะที่ตั้ง สภาพทั่วไป ที่ตั้ง ตําบลเหลาโพนคอ ตั้งอยูทางทิศตะวันออกของอําเภอโคกศรีสุพรรณ มีระยะทางหางจาก อําเภอฯประมาณ 9 กิโลเมตร และหางจากจังหวัดสกลนครประมาณ 33 กิโลเมตร เนื้อที่ ตําบลเหลาโพนคอมีเนื้อที่ทั้งหมด 36 ตารางกิโลเมตรหรือ14,636ไรเปนพื้นที่ทําการเกษตร 9,787 ไร ภูมิประเทศ ตําบลเหลาโพนคอมีสภาพทางกายภาพเปนที่ราบเชิงเขา มีพื้นที่เปนสภาพปาที่ไมสมบูรณ ขนาด 100 ไร และมีอางเก็บน้ํา 2 แหง คือ อางเก็บน้ําหวยโท-หวยยางและอางเก็บน้ําหวยนอ ย เปนแหลงตนน้ําลําหวย 1 สาย และมีอาณาเขต ดังนี้ ทิศเหนือ จดพื้นที่ตําบลแมดนาทม อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ทิศใต จดเทือกเขาภูพาน อ.เตางอย จ.สกลนคร และ อ.ดงหลวง จ.มุกดาหาร ทิศตะวันออก จดพื้นที่ตําบลหนองบอ อําเภอนาแก จังหวัดนครพนม ทิศตะวันตก จดพื้นที่ตําบลตองโขบ อําโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่ ตําบลเหลาโพนคอมีทรัพยากรปาไม ประมาณ 3,500 ไร ซึ่งอยูในเขตอุทยานแหงชาติ ภูพาน


ขอมูลหมูบาน จํานวนหมูบาน จํานวนหมูบาน ในเขตองคการบริหารสวยตําบลเหลาโพนคอ มี 11 หมูบาน ไดแก หมู ที่

ชื่อหมูบาน

จํานวน ครัวเรือน

จํานวน ประชากร

ชาย

หญิง

1

โพนคอ

168

767

375

392

2

โพนไฮ

55

263

136

127

3

ดง

83

289

155

134

4

หนองเหียน

144

675

324

351

5

เหลา

130

545

257

288

6

หวยยาง

185

897

456

441

7

เหลาเหนือ

79

414

196

218

8

ดงนอย

121

342

164

178

9

หวยยางเหนือ

159

804

419

388

10 โพนสูง

166

649

325

324

11 นอยหนองไผสวน

35

164

85

79

1.325

5.809

2,892

2,917

รวม


ประชากร มีครัวเรือนทั้งหมด 1,325 ครัวเรือน ประชากรทั้งสิ้น 5,809 คน แยกเปน ชาย 2,892 คน หญิง 2,917 คน ประวัติความเปนมา บานเหลา หมูที่ 5 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร เริ่มแรกเดิมทียังมีพระธุดงครูปหนึ่ง (ไมปรากฏชื่อ) เปนชาวบานดงกึม แขวงเมืองสุวรรณ เขตประเทศลาว ไดเดินธุดงคไปตามวิสัยของสมณะบรรพชิต ทั้งในปาและในบาน วัน หนึ่งขณะที่ เดินธุดงคไปถึงบึงแหงหนึ่ง (นาบึงในปจจุบันนี)้ อยูใกลบานหนองเหียนอุปหาด (คําวา “อุปหาด” เปน ชื่อของผูมาตั้งบานหนองเหียนเปนคนแรก) ไปทางทิศตะวัน ตก เห็นวาเปนที่อุดมสมบูรณ พอที่จะตั้งถิ่นฐานบานเรือนได พอพระธุดงครูปนั้นกลับถึงบานเกิดก็เลาเรื่องราวตาง ๆ ที่ไดไปพบ เห็นใหญาติพี่นองและชาวบานฟงวาไดไป พบเห็นที่อุดมสมบูรณแหงหนึ่งในเมืองไทย ขาวนี้ได แพรไปถึงบุคคลที่มีชื่อวา อาญาพระพลและอาญาพระเทพ ทานทั้งสองไดสอบถามถึงรายละเอียด ตาง ๆ จากผูที่ไดพบเห็นมานั้น เห็นวาเปนความจริง จึงไดรวบรวมสมัครพรรคพวกไดประมาณ 8 ครัวเรือน นําโดย อาญาพระพลและอาญาพระเทพ เปนหัวหนาขามลําน้ําโขงเดินทางรอนแรมมา จนถึงบานหนองเหียนอุปหาด ในระยะนั้นไดพากันหยุดอยูที่นั่นเพื่อจะไดคนหาทําเลอันเหมาะสม พอที่จะตั้งบานเรือนไดแลว ก็ไดพบลําน้ําแหงหนึ่งชื่อ ลําน้ําหวยทรายในปจจุบัน อาญาทั้งสองจึง แยกกันออกเปน 2 พวก คือพวกอาญาพระเทพไดพากันไปตั้งบานเรือนอยูที่ดอนตากราริมหวยทราย (ปจจุบันเปนทุงนา) สวนอาญาพระพลนั้นไดพาสมัครพรรคพวกไปตั้งบานเรือนอยูที่ริมหวยทราย ตอนบน (ดงมุน) เปนสายลําธารเดียวกันเรียกชื่อบานวา “บานอุมไผนาทาม” (ปจจุบันเปนทุงนา) แตหมูบานทั้งสองนี้ไดรับความลําบากมากเพราะเกิดอุทกภัย พอถึงฤดูฝน น้ําก็จะทวมแทบทุกป ทําใหการทํามาหากิน การอยูอาศัย การสัญจรไปมาลําบากมาก จึงพรอมใจกันเลือกหาทําเลแหงใหม ใหเหมาะสมกวาเดิม แลวก็ไดพบโนนแหงหนึ่งซึ่งมีตนคอ มากและเห็น วาเปนทําเลที่เหมาะสม ที่จะตั้งบานเรือนได จึงพากันอพยพไปตั้งบานเรือนอยูที่โนนคอนั้น เรียกชื่อวา “บานโพนคออุมไผ” ขึ้นกับอําเภอมุกดาหาร (จังหวัดมุกดาหารในปจจุบัน) จังหวัดนครพนมอาชีพของชาวบานในเวลา นั้นสวนใหญไดแก การทําไร ตอ มาประชากรเพิ่มขึ้นการทําไรก็ขยายกวางออกไปเรื่อย ๆ จนมี อาณาเขตกวางขวางและหางไกลจากบานเดิม เปนเหตุใหลําบากตอการดูแ ลรักษาพืชไรข องตน


เมื่อเปนดังนี้ ตางคนก็ตางพากันไปปลูกบานเรือนไปอยูตามไรตามสวนของตนเอง ซึ่งยังเปนปา เปนดงอยู ตอ มาก็กลายเปนหมูบานเล็ก ๆ หมูบานหนึ่ง เรียกชื่อ วา “บานเหลา” เพราะสถานที่ตั้ง บานเรือ นยังเปน เหลาเป นดงนั่น เอง เมื่ อกาลตอ มาจึงได เอาชื่อ บานทั้งสองนี้รวมกันเขา เรียกวา “บานเหลาโพนคอหรือตําบลเหลาโพนคอ” ใน ปจจุบันเมื่อ หมูบานมีค วามเจริญ สมควรมีวัดเพื่อ จะไดประกอบพิธีทางพระพุทธศาสนาและบําเพ็ญกุศ ล จึงไดพรอมใจกันสรางวัดขึ้น มีเจาอธิการ โสมเปนผูริเริ่มพรอมกับชาวบานใหชื่อ วัดวา “วัดบานโพนคอ” จึง นับวา อาญาพระพลและอาญา พระเทพ ทั้งสองทานนี้เปนคนสําคัญที่มาตั้งบานโพนคอ ตอมาเมื่อสมัยนายสมัง ขันทีทาว เปน ผูใหญบาน จึงไดขออนุญาตแยกบานเหลาเหนือ หมูที่ 7 ออกจากบานเหลา เนื่องจากมีประชากร และจํานวนครัวเรือนเพิ่มขึ้น


ภาคผนวก ง ภาพการดําเนินงาน


ตัวอยางโฮมสเตย หมูบานเหลา

บานตนแบบสะอาดนาอยู

สิ่งอํานวยความสะดวกภายในบาน


ภายในหองครัว

คุณเกียรติศักดิ์ ขันทีทาว นักวิชาการเกษตร


ภาคผนวก จ ประวัติการศึกษา


ประวัติ 1. ชื่อ – นามสกุล

นางสาวประภาพรรณ สิทธิ

วัน เดือน ปที่เกิด

14 กุมภาพันธ 2532

สถานที่เกิด

จังหวัดเลย

ประวัติการศึกษา ปริญญาตรี คณะศิลปศาสตรและวิทยาการจัดการ สาขา การจัดการโรงแรมและทองเที่ยว มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร มัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนเลยพิทยาคม ที่อยูปจจุบัน

342/265 หมู 7 ตําบลเมือง อําเภอเมือง จังหวัดเลย 42000

E-mail

bell_prapa@hotmail.com


ประวัติ 2. ชื่อ – นามสกุล

นายปรัชญา เที่ยงงามดี

วัน เดือน ปที่เกิด

16 ตุลาคม 2531

สถานที่เกิด

จังหวัดสมุทรปราการ

ประวัติการศึกษา ปริญญาตรี คณะศิลปศาสตรและวิทยาการจัดการ สาขา การจัดการโรงแรมและทองเที่ยว มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร มัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนยอแซฟอุปถัมป สามพราน นครปฐม ที่อยูปจจุบัน

ฆ139 ถนนธรรมสิ ทธิ เสนา ตํ า บลเสนา อําเภอเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 13110

E-mail

pepsi_20805@hotmail.com


ประวัติ 3. ชื่อ – นามสกุล

นางสาวภิรมยญา คําออ

วัน เดือน ปที่เกิด

21 พฤศจิกายน 2532

สถานที่เกิด

จังหวัดขอนแกน

ประวัติการศึกษา ปริญญาตรี คณะศิลปศาสตรและวิทยาการจัดการ สาขา การจัดการโรงแรมและทองเที่ยว มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร มัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนน้ําพองพัฒนศึกษา รัชมังคลาภิเษก ที่อยูปจจุบัน

194 หมู 8 ตําบลกุดน้ําใส อําเภอน้ําพอง จังหวัดขอนแกน 40310

E-mail

optionlife_numnim@hotmail.com


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.