บทบาท อปท.ในการกำหนดมาตรการรองรับภาวะโลกร้อน

Page 1

บทบาทขององคกรปกครองสวนทองถิ่นในการกําหนดมาตรการรองรับผลกระทบจาก การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ กรณีศึกษา องคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร Roles of Local Government on Climate Change Action Plan Case Study : Laophonkhow Tambon Administration Organization Khoksrisuphan District Sakon Nakhon Province รัตนะ คําโสมศรี1 พรรณา ไวคกุล2 บทคัดยอ การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาความรูความเขาใจ ความตระหนักของประชาชน เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ เพื่อใชในการวางมาตรการรองรับผลกระทบจากการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ การศึกษานี้ดําเนินการในพื้นที่ขององคการบริหารสวนตําบลเหลา โพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ผลการศึกษาพบวา กลุมบุคคลทั่วไปยังขาดความรูความเขาใจที่ถูกตองเกี่ยวกับผลกระทบที่ เกิดจากการเปลี่ยนสภาพภูมิอากาศและยังขาดความตระหนักในผลกระทบที่จะเกิดขึ้นในอนาคต เนื่อ งจากยัง มองวา การดําเนิน ชีวิต ของชุมชนแมมีบ างกิ จ กรรมที่ทํา ใหเ กิด ผลกระทบตอ การ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศแตก็ยังเปนเรือ่ งเล็กเมื่อเทียบกับกิจกรรมอื่นๆในเมืองใหญและยังมอง วาการกําหนดมาตรการในการรองรับผลกระทบที่เกิดจากเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศเปนเรื่องของ หนวยงานภาครัฐที่เปนหนวยงานหลักในการบังคับใชกฎหมาย Abstract ……………………………………………………………………………………………………… คําสําคัญ : ผลกระทบทีเ่ กิดจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ Keywords : Climate Change Action Plan 1

นักศึกษาหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการปกครองทองถิ่น วิทยาลัยการปกครองทองถิ่น มหาวิทยาลัยขอนแกน 2 อาจารยที่ปรึกษาอิสระรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการปกครองทองถิ่น วิทยาลัยการปกครอง ทองถิ่น มหาวิทยาลัยขอนแกน


2

ความเปนมาและความสําคัญของปญหา ประเทศไทยเปนประเทศที่มีพื้นฐานทางเศรษฐกิจ ที่จําเปนตองพึ่งพาทรัพยากรธรรมชาติ และวัตถุดิบทางการเกษตร เปนปจจัยในการผลิต จึงทําใหประเทศไทยเริ่มสงผลกระทบจากการ ปลอยกาซเรือนกระจก ขึ้นสูชั้นบรรยากาศ ไดแก กาซคารบอนไดออกไซด กาซมีเทน กาซไนเต รดออกไซด เปนตน ซึ่งกาซเหลานี้เปนสาเหตุหลักที่ทําใหเกิดปญหาภาวะโลกรอน นอกจากนี้การ ตัดตนไมทําลายปา ทําใหเกิดการผันแปรของสภาพภูมิอากาศสงผงใหระบบนิเวศเปลี่ยนแปลงอยาง ถาวร ปาไมเริ่มเสียสมดุล ทั้งที่ปาซึ่งเคยเปนปาที่อุดมสมบูรณเริ่มแหงแลงสภาวะการณเชนนี้เริ่ม สงผลกระทบทั้งทางตรงและทางออมอยางหลีกเลี่ยงไมไดกับมนุษยโลก จนอาจถึงขั้นวิกฤตหากเรา ไมเปลี่ยนพฤติกรรมที่กอใหเกิดปญหาดังกลาว และจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศดังกลาวจึง เริ่มสงผลกระทบตอประเทศขึ้นเรื่อยๆ ไดแก ปริมาณน้ําฝนตอปลดลง พื้นที่มีความแหงแลงเพิ่ม มากขึ้น พื้นที่ที่เปนน้ําแข็งลดลงทําใหระดับน้ําทะเลเพิ่มสูงขึ้น ดังนั้น ประเทศไทยจึงมีแนวโนมที่ จะไดรับผลกระทบอยางรุนแรงจากการเปลี่ยนแปลงทางสภาพภูมิอากาศ หลายหนวยงานทั้งจาก ภาครัฐ และเอกชนจึงเล็งเห็นความสําคัญในการกําหนดมาตรการในการแกไขปญหาการเกิดภาวะ โลกรอนโดยเฉพาะหนวยงานที่รับผิดชอบดานสิ่งแวดลอมโดยตรงและกระทรวงมหาดไทยซึ่งดูแล รับผิดชอบพื้นที่คลอบคลุมเกือบทุกพื้นที่ของประเทศไทย องคการบริหารสวนตําบลเปนรูปแบบหนึ่งของการบริหารสวนทองถิ่นในระดับต่ําสุดและ อยูใกลชิดประชาชนมากที่สุด ตามพระราชบัญญัติสภาตําบลและองคการบริหารสวนตําบล พ.ศ. 2537 และรวมที่แกไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 5 พ.ศ.2546 มาตรา 67 กําหนดใหองคการบริหารสวนตําบล มีหนาทีต่ องทํา เชน การจัดใหมีและบํารุงรักษาทางน้ําและทางบก รักษาความสะอาดของถนน ทาง น้ํา ทางเดิน และพื้น ที่สาธารณะรวมทั้งการกําจัด ขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล ปองกัน และระงับ โรคติดตอ ปองกันและบรรเทาสาธารณะภัย สงเสริมการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม คุมครอง ดูแลและบํารุงรั ก ษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม บํารุงรัก ษาศิลปะ จารีต ประเพณีภูมิ ปญญาทองถิ่นและวัฒนธรรมอัน ดีงามของทองถิ่น ฯลฯ ดังนั้น จะเห็นวาอํานาจหนาที่สวนหนึ่ง ขององค ก รปกครองส ว นท อ งถิ่ น ต อ งทํ า คื อ เรื่ อ งการคุ ม ครองดู แ ลและบํ า รุ ง รั ก ษา ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในพื้นที่ของตนเอง ซึ่งถาทุกหนวยงานขององคกรปกครอง สวนทองถิ่นสามารถทําไดจะชวยแกไขปญหาการเกิดภาวะโลกรอนได องคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ เปนหนวยงานขนาดเล็ก ที่เริ่มไดรับผลกระทบ จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศเนื่องจากประชาชนมีอาชีพหลักคือการทําการเกษตรมีการใช ปุยเคมีเพื่อเพิ่มผลผลิตกันมากขึ้นและมีประชาชนบางสวนยังลักลอบตัดไมเพื่อแปรรูปจําหนายและ บางสวนใชเผาถาน ทําใหเริ่มมีผลกระทบตอสภาพแวดลอมมากขึ้น ดังนั้นองคก ารบริหารสว น


3

ตําบลเหลาโพนคอเปนองคกรปกครองสวนทองถิ่นที่อยูใกลชิดประชาชนและเขาถึงปญหาไดมาก ที่สุด จึงไดเล็งเห็นความสําคัญของปญหาดังกลาว ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต ขาพเจาซึ่งเปนสวนหนึ่ง ของหนวยงานและมีสวนที่จะกําหนดมาตรการในการลดการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในชุมชน จึงไดดําเนินการศึกษาเพื่อใหทราบวาประชาชนมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับปญหาภาวะโลกรอน มากนอยเพียงใดและมีความตระหนักที่จะแกปญหาเพียงไร เพื่อเปนประโยชนในการวางมาตรการ ลดการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศใหเหมาะสมกับสภาพพื้นที่ตอไป วัตถุประสงคของการศึกษา 1. เพื่อศึกษาความรูความเขาใจ ความตระหนัก ของประชาชนเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศ 2.เพื่อศึกษาปญหาและอุปสรรคในการวางมาตรการรองรับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศ 3.เพื่อทราบแนวทางในการวางมาตรการรองรับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศ ขององคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ขอบเขตของการศึกษา ในการศึกษาครั้งนี้ทําการศึกษาเฉพาะพื้นที่องคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ อําเภอ โคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร โดยกําหนดขอบเขตประชากรที่ศึกษาเฉพาะผูบริหารทองถิ่น สมาชิกสภาองคการบริหารสวนตําบลและพนักงานสวนตําบล จํานวน 40 คน ประชาชนทั่วไป จํานวน 43 คน รวม 83 คน แนวคิดและวรรณกรรมที่เกี่ยวของ ในการศึกษาครั้งนี้ ผูศึกษาไดทบทวนวรรณกรรมและงานที่เกี่ยวของเกี่ยวกับผลกระทบที่ เกิดจากภาวะโลกรอน ซึ่งในปจจุบันทั่วโลกตางเผชิญกับภัยพิบัติทางธรรมชาติ ซึ่งสาเหตุหนึ่งมา จากการดําเนินกิจกรรมของมนุษยซึ่งเปนเหตุใหอุณหภูมิของโลกสูงขึ้น เมื่อเกิดเหตุการณเชนนี้ขึ้น แลวทําใหหลายองคกรทั้งภาครัฐและเอกชน ตางหันมาใหความสนใจกันมากขึ้น สวนผลกระทบ จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศนั้น มีหลายดานและจากที่ไดทําการคนควา สํารวจงานวิจัยที่ เกี่ยวของพบวามีผูศึก ษาเกี่ยวกับเรื่องผลกระทบและมาตรการในการลดการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศ ทําใหเห็นถึงอันตรายอันเนื่องมาจากอุณหภูมิของโลกสูงขึ้น เชน อุณหภูมิของผิวน้ําใน มหาสมุทรกับความเร็วลมของหยอมบริเวณความกดอากาศต่ํา ในป พ.ศ.2475 เปนตนมา ปรากฎวา


4

มีความแรงของลมและคลื่นไดทวีขึ้นอยางรุนแรง ความคงทนของพายุเฮอริเคนนับตั้งแต พ.ศ.2492 ไดนานขึ้นอีกราว 60% และความแรงของลมที่จุดศูนยกลางของพายุทวีขึ้นอีก 50% นับแตป พ.ศ. 2513 เปนตนมา นอกจากนี้เขายังกลาววาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศไดทําใหพายุเฮอริเคนได ทวีความรุนแรงขึ้นถึง 2 เทาในรอบระยะเวลา 30 ปมานี้ เพียงแคอุณหภูมิที่พื้นผิวมหาสมุทรเพิ่มขึ้น 0.5 °C เทานั้น ในส ว นของประเทศไทย ธนวัฒ น จารุ พงษสกุ ล (2553) กล าวว า ภาวะโลกรอ นที่ มี ผลกระทบตอประเทศไทยคือ การแปรปรวนของสภาพอากาศเปนผลใหปริมาณฝนตกเยอะแตทิ้ง ชวง ซึ่งเปนสาเหตุของภัยแลงและน้ําทวม และจากการศึกษาของธรณีวิทยาพบวาขณะนี้ชายฝงของ ไทยหายไป สวนหนึ่งเปนผลมาจากโลกรอน หากไมทําอะไรเลยอีก 20 ปขางหนาพื้นที่ชายฝงจะถูก กลืนหายไป 10.5 กิโลเมตร นอกจากนี้ ผลกระทบที่เกิดจากปรากฏการณเรือนกระจกและลานินญา จะสงผลตอสภาพแวดลอมทั่วโลก และประเทศไทยเองก็ไดรับผลกระทบคอนขางรุนแรงเชนกัน นอกจากนี้ยังไดศึกษาแนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับความรู ความเขาใจ ความตระหนัก คําวา ความรู (Knowledge) นั้น ประภาเพ็ญ สุวรรณ (2520) ไดใหคําอธิบายวา ความรูเปน พฤติกรรม ขั้นตนที่ผูเรียนรูเพียงแตเกิดความจําได โดยอาจจะเปนการนึกไดหรือโดยการมองเห็น ไดยิน จําได ความรูในชั้นนี้ไดแก ความรูเกี่ยวกับคําจํากัดความ ความหมาย ขอเท็จจริง กฎเกณฑ โครงสรางและ วิธีแกไขปญหา จักรกริช ใจดี (2542) ไดใหความหมายความรูความเขาใจ หมายถึง ความทรงจํา ในเรื่องราว ขอเท็จจริง รายละเอียดตาง ๆ และความสามารถในการนําความรูที่เก็บรวบรวมมาใช ดัดแปลง อธิบาย เปรียบเทียบในเรื่องนั้นๆ ไดอยางมีเหตุผลและ เปนสิ่งที่เกี่ยวของโดยตรงและ รวมถึ ง การนํ า ความรู  ค วามเข า ใจไปใช ใ นสถานการณ จ ริ ง ไดต ามขั้ น ตอน ทั้ งนี้ ขึ้ น อยู กั บ ประสบการณและความสวามารถของแตละบุคคลเปนสําคัญ สําหรับการศึกษาในครั้งนี้ ความรู ความเขาใจในระบบใหมๆที่จะนํามาใช หมายถึง ความเขาใจรายละเอียดในเรื่องของภาวะโลกรอน ที่กําลังเปน ปญหาของทองถิ่น ในตําบลเหลาโพนคออยูใ นขณะนี้ แลวสามารถนําไปใชไ ดอยาง ถูกตอง ดังนั้น ความตระหนักหมายถึงสภาวะของจิตสํานึกที่มีการรับรู การลงความคิดเห็น การ ยอมรับหรือความโนมเอียงที่จะเลือกแสดงพฤติกรรมตอปญหาหรือเหตุการณหนึ่งที่ไดพบ การ เห็นคุณคาหรือความสําคัญของปญหาที่เกิด ซึ่งการศึกษาความรู ความเขาใจ ความตระหนักของ บุคคลที่เกี่ยวกับการเกิดภาวะโลกรอน คือประชาชนไดรับการสัมผัสหรือผลกระทบจากการเกิด ภาวะโลกรอนแลวจะเกิดการเรียนรูนําไปสูความคิดรวบยอด ดวยการเรียนรูจากสิ่งที่ตัวเองสัมผัส อาจเรียนรูไดหลายทาง เชน การศึกษาสิ่งแวดลอมตางๆ หรือการสัมผัสดวยตัว เอง แลวจะเกิด ความตระหนักขึ้นใจแลวไปสูการเปลีย่ นแปลงพฤติกรรม อันจะนําไปสูการมีสวนรวมในดานการ


5

วางมาตรการรองรับผลกระทบที่เกิดจากภาวะโลกรอน กระบวนการดังกลาวคือการสรางชุมชน แหงการเรียนรูโดยอาศัยการบริหารจัดการความรูของชุมชนเปนเครื่องมือ ระเบียบวิธีวิจัย การศึกษาครั้งนี้เปนการศึกษาขอมูลเชิงคุณภาพโดยมุงศึกษาถึงบทบาทขององคกรปกครอง สว นทองถิ่น ในการวางมาตรการรองรับผลกระทบที่เกิด จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ กรณีศึกษา องคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร สําหรับ กลุมตัวอย างไดแก กลุมบุค คลากรและเจาหนาที่ที่เกี่ยวของ จํานวน 40 คน กลุมบุคคลทั่วไป ทั่วไป จํานวน 43 คน รวม 83 คน เครื่องมือที่ใชในการศึกษาครั้งนี้ใชแบบสอบถาม แบบ สัมภาษณ การประชุมกลุม (Focus Group) เปนเครื่องมือในการศึกษา โดยแบงเนื้อหาออกเปน 3 สวน ดังนี้ แบบสัมภาษณโดยจะทําการสัมภาษณเชิงลึกกลุมผูบริหาร แบบสอบถามกลุมตัวอยาง ซึ่งไดแก กลุมประชาชนทั่วไป ผูศึกษาเริ่มเก็บขอมูลตั้งแตวันที่ 14 - 24 มิถุนายน 2553 โดยแจง วัตถุประสงคในการศึกษาใหกลุมตัวอยางทราบและขอความรวมมือในการกรอกแบบสอบถามและ การสัมภาษณเพื่อประโยชนในการศึกษารวบรวมขอมูลพรอมทําการตรวจสอบความสมบูรณและ ความถูกตองของขอมูลที่ไดจากแบบสัมภาษณ แบบสอบถาม และการประชุมกลุม (Focus Group) ผลการศึกษา ดานความรูความเขาใจเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศอยูในเกณฑพอใช เชน รู วา ผลกระทบจากการเปลี่ ยนแปลงสภาพภู มิ อากาศทํ าให อุ ณ หภูมิ ค วามรอ นเพิ่ ม สูง ขึ้ น การ เปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศลวนแลวแตเกิดจากการกระทําของมนุษยทั้งนั้น ทําใหสภาพลมฟา อากาศผิดแปลกไปจากเดิม ภัยธรรมชาติที่รุนแรงมากขึ้น ทําใหเกิด น้ําทวม แผน ดินไหว พายุที่ รุนแรง อากาศที่รอนผิดปกติจนมีคนเสียชีวิต โรคระบาดที่เคยหายไปจากโลกนี้แลวกลับมาระบาด ใหมอีกครั้ง แตถึงแมประชาชนจะมีค วามรูค วามเขาใจถึงผลกระทบที่จะเกิดขึ้น แตก็ยังไมเพียง พอที่จะทําใหเกิดความกลัวที่จะปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได จึงถือวายังไมมีความรูความเขาใจพอที่จะ ไปปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได ดานความตระหนักเกี่ยวกับ การเปลี่ย นแปลงสภาพภูมิอ ากาศกลุมบุค คลทั่ว ไปมีความ ตระหนักและเกรงกลัวมากในเรื่องของการคัดแยกขยะและการทิ้งขยะไมเปนที่ของประชาชนจะทํา ใหเกิดผลกระทบตอการเปลี่ยนแปลงภาวะโลกรอนได เนื่องจากปจจุบันประชาชนกําจัดขยะดวย ตนเอง เชน การกลบฝง หรื อการเผา จึ งไมรู วา สิ่ง ที่ป ระชาชนจั ด การเองนั้น ถูก ตอ งตามหลั ก สุขาภิบาลหรือไม ดังนั้น องคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ ซึ่งเปนหนวยงานที่มีอํานาจในการ


6

ออกขอบัญญัติในการบังคับใชกับประชาชนไดควรมีการออกขอบั ญญัติและจัดหาถังขยะและรถ เก็บขยะเพื่อแกไขปญหาเกี่ยวกับขยะได และการประชาสัมพัน ธค วรใหทั่ว ถึงและแรงเพื่อให ประชาชนเกิดความกลัวและเห็นความสําคัญของการประหยัดพลังงานมากขึ้น ดานมาตรการรองรับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ควรมีการจัดทําแผน ปองกันและแกไขผลกระทบที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และกําหนดเปนยุทธศาสตร ที่สําคัญขององคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอเพื่อลดปญหาที่จะเกิดขึ้นในอนาคต รณรงคใหมี การไถกลบตอซังแทนการเผาและใหมีการคัดแยกขยะอยางถูกวิธี จัดหารถเก็บขยะ และถังขยะเพื่อ บริการประชาชน ดานการดํารงชีวิตของชุมชนที่ทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ -ดานการเกษตร ไดแก การใชปุยเคมี การเผาตอซัง สัตวเลี้ยง เชน วัว ควาย -ดานสภาพแวดลอม ไดแก การจัดการขยะมูลฝอย การปลอยของเสียลงสูแมน้ํา ลําคลอง -ดานการใชพลังงาน ไดแก การใชน้ํามันเชื้อเพลิง การไมประหยัดพลังงานไฟฟา -ดานการสงวนทรัพยากรธรรมชาติ ไดแก การตัดไมทําลายปา สิ่งเหลานี้ กลุม ตัวอยางทั้งสองกลุมมีความเห็นวาเปนสาเหตุทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศทั้งสิ้น ดานปญหาอุป สรรคในการวางมาตรการรองรับ ผลกระทบจากการเปลี่ย นแปลงสภาพ ภูมิ อ ากาศ ผูนํ า และประชาชนไม มีค วามรูค วามเข า ใจที่ ถู ก ต องเกี่ ย วกั บ ผลกระทบจากการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ เนื่องจากยังขาดเอกสาร และการประชาสัมพันธที่ทั่วถึงจากหนวยงาน ที่เกี่ยวของ ทําใหไมไดรับความรวมมือเทาที่ควรในเรื่องการวางมาตรการรองรับผลกระทบที่เกิด จากภาวะโลกรอน สรุปและอภิปรายผล จากการศึก ษา บทบาทขององคก รปกครองสว นท อ งถิ่ น ในการวางมาตรการรองรั บ ผลกระทบที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ กรณีศึกษา องคการบริหารสวนตําบลเหลา โพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ผูศึกษาไดพบประเด็นสําคัญตามผลการศึกษาและ เห็นควรนํามาอภิปรายผล ดังนี้ ดานความรูความเขาใจเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ จากการศึกษา กลุมบุคคลากรและเจาหนาที่ที่เกี่ยวของ สวนมากมีความรูความเขาใจ เกี่ยวกับผลกระทบที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโดยเฉพาะเรื่องการคัดแยกขยะ และ การกําจัด ขยะอยางถูก วิธีสามารถลดผลกระทบที่เกิด จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศได


7

เนื่ องจากกลุม นี้ เป น กลุม ผูบ ริห ารที่ จ ะตอ งกํ า หนดมาตรการรองรับ ผลกระทบที่เ กิด จากการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและยังมีพนักงานเจาหนาที่ที่มีความรูจากการศึกษาขอมูลตางๆ เพื่อนํา นโยบายไปปฏิบัติ เพื่อใหเกิด ความสําเร็จตอบสนองชุมชน ปญหาเรื่องการกําจัดขยะมูลฝอยใน ปจจุบันถือวาเปนเรื่องใหญ เนื่องจากจํานวนขยะเริ่มมีมากขึ้น โดยเฉพาะขยะจากถุงพลาสติก ขวด แกว ซึ่งเปนขยะที่กําจัดไดยาก การกําจัดสวนมากประชาชนจะเนนไปในเรื่องการเผา กลบฝง ซึ่ง ไมถูกวิธี กรมสงเสริมการปกครองสวนทองถิ่น (2549) กลาววา การกําจัดขยะไมไดขึ้นอยูกับการ จัดการเมื่อมีขยะมูลฝอยเกิดขึ้นแลวและตองนําไปกําจัดเทานั้น หากแตการแกไขควรมุงเนนไปที่ การลดปริมาณขยะมูลฝอย เพราะการลดปริมาณขยะมูลฝอยจากแหลงผลิตจะชวยใหปริมาณของ ขยะมูลฝอยรวมที่เกิดขึ้นในชุมชนแตละแหงลดลง สงผลใหเกิดผลดีหลายประการ เชน สามารถลด ปริมาณสารพิษหรือสารอันตรายที่ปนเปอนในขยะมูลฝอยได ชวยประหยัดทรัพยากรธรรมชาติ ลด คาใชจายในการกําจัดขยะมูลฝอยและลดปญหาสิ่งแวดลอมไดในที่สุด การแกไขปญหาขยะมูลฝอย นั้น ไมไ ด เ ปน หน าที่ ข องคนใดคนหนึ่ ง ในชุ ม ชนหากแต เป น หนา ที่ ข องทุ ก ภาคสว น ทั้ง ภาค ประชาชนและองคก ารบริหารสว นตําบลเหลาโพนคอ ที่มีพัน ธกิจ ในการพัฒ นาตําบลทั้งทาง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม รวมไปถึงการรักษาความสะอาดของถนน ทางน้ํา ทางเดิน และที่ สาธารณะ รวมทั้งการกําจัด ขยะมูลฝอยและสิ่ งปฏิกูล โดยที่ ประชาชนในทอ งถิ่น จะตองเป น ฟนเฟองเพื่อใหพันธกิจ ดังกลาวลุลวงไปดวยดีอันจะกอใหเกิดการพัฒนาและเจริญกาวหนาของ ประชาชนในอนาคตตอไป ดังจะเห็นไดจ ากงานวิจัยเรื่อง “การมีสวนรวมของประชาชนตอการ จัดการขยะมูลฝอย:กรณีศึกษาองคการบริหารสวนตําบลธาตุทอง อําเภอบอทอง จังหวัดชลบุรี ของ สมสมาน อาษารัฐ (2548) พบวา ประชาชนที่มีอาชีพแตกตางกันมีสวนรวมตอการกําจัดขยะมูล ฝอยแตกตางกัน และประชาชนที่รับรูขอมูลขาวสารมากจะมีสว นรวมในการจัด การขยะมูลฝอย มากกวาประชาชนที่ไดรับรูข าวสารนอย นั่นแสดงวาองคกรปกครองสวนทองถิ่นที่ผานมาไมคอย ใหความสนใจกับการจัดการความรูของชุมชนและมักจะใชวิธีการประชาสัมพันธหรือจัดประชุม ชี้แจงแบบสื่อสารทางเดียว ดังนั้น เพื่อใหประชาชนรูและเขาใจวิธีการคัดแยกขยะ และการกําจัด ขยะอยางถูกวิธี องคการบริหารสวนตําบล จึงตองมีการประชาสัมพันธและฝกอบรมและเผยแพร ความรูที่มีใ หประชาชนไดรับรูและเขาใจ ซึ่ง ประภาเพ็ญ สุวรรณ (2520) กลาววา ความรูเปน พฤติกรรมที่ผูเรียนรูเกิดความจําได ดวยการมองเห็น และการไดยิน เมื่อประชาชนมีความรูความ เขาใจดีแลวการทํางานขององคการบริหารสวนตําบลในการวางมาตรการรองรับผลกระทบที่เกิด จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศก็จะงายขึ้น นอกจากนี้ยังพบวา กลุมบุคคลทั่วไป มีความรูความเขาใจในเรื่อง การบริหารจัดการน้ําใน ครัวเรือนและภาคเกษตรกรรมอยางมีประสิทธิภาพและสงเสริมการอนุรักษน้ําไวใชในฤดูแลงเปน


8

การลดผลกระทบที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศได อาจเปนเพราะกลุมมีผูนํากลุมอาชีพ ตางๆ กํานัน ผูใ หญบานรวมอยูดว ยโดยอาชีพหลัก คือการประกอบอาชีพเกษตรกรรมจึงเห็น ความสําคัญดานนี้มากวา ถึงแมจะมีกลุมอาชีพอื่นรวมอยูดวยแตก็นอยกวา กลุมประชาชนจึงเล็งเห็น วา การประกอบอาชีพ เกษตรกรรมเป น อีก สาเหตุห นึ่งของการเปลี่ย นแปลงสภาพภูมิ อากาศ โดยเฉพาะปญหาน้ําขังในนาขาวทําใหเกิดการหมักเศษซากพืชมูลสัตวและกลายเปน แหลงผลิต กาซมีเทนขึ้น หากคิดแคผิวเผินก็อาจจะใช แตถามวามีกิจกรรมอันใดบางที่เกิดขึ้นในสังคมโลก แลวไมไดสงผลตอการเกิดกาซคารบอนในชั้นบรรยากาศ อันเปนบอเกิดภาวะเรือนกระจก ที่ทําให เกิดการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศซึ่งทุก ๆ กิจกรรม ลวนแตสรางปญหาดวยกันทั้งสิ้น อีกทั้ง กิจกรรมบางประเภทของอุตสาหกรรมขนาดใหญยังปลดปลอยสารพิษขึ้นไปในชั้นบรรยากาศ ใน กระบวนการและขั้นตอนการผลิตซึ่งมากมายหลายเทา ขณะที่หากประชาชนไมทําการเกษตร ไม ผลิตอาหาร แลว มนุษยจ ะกินอะไร จะอยูไดอยางไร มนุษ ยอาศัยอยูไดโ ดยไมมีรถยนต ไมมี คอมพิวเตอร ฯลฯ แตมนุษยจะอยูไมได หากไมมีขาว ขนมปง น้ํา และยารักษาโรค ดังนั้น ระบบ การผลิต จากภาคเกษตรกรรมอาจเปนสาเหตุหนึ่งของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ แต เมื่อ สภาพอากาศเปลี่ยนแปลง มนุษยกลุมแรกที่จะไดรับผลกระทบ คือกลุมผูผลิตภาคการเกษตรนั่นเอง ซึ่งผลกระทบที่ตามมาไดแก ฝนไมตกตองตามฤดูกาล หรือเมื่อมีฝนตกจะทําใหตกหนักจนน้ําทวม ขังนานกวาปกติ มีแมลงเขามาทําลายพืชผลทางการเกษตร ซึ่ง สมิทธ ธรรมสาโรจน (2553) กลาว วาในอนาคต ผลผลิตจากไรนาจะลดลง การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศจะทําใหเกษตรกรตอง ปรับตัวเขากับสภาพภูมิอากาศ เชน การเปลี่ยนเมล็ดพันธุพืชใหม หาพันธุสัตวเลี้ยงที่เหมาะสม ระบบการเพาะปลูกจะเปลี่ยนตามสถานการณของสภาวะอากาศที่เปลี่ยนแปลงในแตละป และอาจ สูญเสียผลผลิตที่ไดลงทุนไปเนื่องจากอากาศเปลี่ยนแปลงอยางฉับพลัน ดานความตระหนักเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ จากการศึกษาพบวา กลุมบุค ลากรและเจาหนาที่ที่เกี่ยวของสวนมากมีความตระหนักใน เรื่องการปดเครื่องใชไฟฟาเมื่อไมใ ชงานแลว จะชว ยลดผลกระทบจากการเกิด การเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศได เนื่องจากเปนกลุมที่จะตองกําหนดนโยบายจึงมีความรอบคอบ ตองรูจักศึกษา การสังเกตและการรับรูขาวสาร ดวยจิตสํานึกของตัวเองมากกวากลุมอื่น ชวาล แพรัตกุล (2526) กลาววา ความตระหนักเปนพฤติกรรมที่รับรูจากความรูสึก สํานึก และการที่มนุษยมีประสบการณ หรือการเรียนรูมากขึ้น ความเปน ตัว ตนก็จะคอยๆ เปลี่ยนไปซึ่งแตละคนมีค วามตระหนักที่ไม เหมือนกัน ดังนั้นเรื่องการประหยัด พลังงานในชีวิตประจําวัน อาจมองดูจะเปน เรื่องเล็ก แตดว ย ความเป น ผูบริหารและผูกํ าหนดนโยบาย จึ งไมค วรมองขา ม การสรางความตระหนั ก ในการ ประหยัดพลังงานมีหลายวิธี เชน การลดการใชพลังงานในบานดวยการปดทีวี คอมพิวเตอร เครื่อง


9

เสียง และเครื่องใชไฟฟาตางๆ เมื่อไมไดใชงาน จะชวยลดคารบอนไดออกไซดไดนับ 1 พันปอนด ตอป ลดการสูญเสียพลังงานในโหมดสแตนดบาย เครื่องเสียงระบบไฮไฟ โทรทัศน เครื่องบันทึก วิดีโอ คอมพิวเตอรตั้งโตะและอุปกรณพวงตางๆที่ติดมาดวยการดึงปลั๊กออกหรือใชปลั๊กเสียบพวง ที่ตัด ไฟดว ยตัว เอง นอกจากนี้ก ารเปลี่ยนไปใชไฟแบบหลอด LED จะได ไฟที่สวางกวาและ ประหยัดกวาหลอดปกติ 40% ขับรถยนตสวนตัวใหนอยลง ดวยการปนจักรยาน ใชรถโดยสาร ประจําทาง หรือใชการเดินแทนเมื่อตองไปทํากิจกรรมหรือธุระใกลๆ บาน เพราะการขับรถยนต นอยลง หมายถึงการใชน้ํามันลดลง และลดการปลอยคารบอนไดออกไซดดวย เพราะน้ํามัน ทุกๆ แกลลอนที่ประหยัดได จะลดคารบอนไดออกไซดได 20 ปอนดไปรวมกันประหยัดน้ํามันแบบ Car Pool นัดเพื่อนรวมงานที่มีบานอาศัยใกลๆ นั่งรถยนตไปทํางานดวยกัน ชวยประหยัดน้ํามัน เปลี่ยน มาใชพลังงานชีวภาพ เชน ไบโอดีเซล เอทานอล ใหมากขึ้น ใชแสงแดดใหเปนประโยชน ในการ ตากเสื้อผาที่ซักแลวใหแหง ไมควรใชเครื่องปนผาแหงหากไมจําเปน เพื่อประหยัดการใชไฟฟา สรางนโยบาย 3Rs- Reduce, Reuse, Recycle ทั้งในบานและอาคารสํานักงาน เพื่อใหเกิดการใช ประโยชนทรัพยากรอยางเต็มที่ เปนการลดพลังงานในการกําจัดขยะ ลดมลพิษและลดปริมาณการ ปลอยกาซเรือนกระจกในกระบวนการกําจัด ปองกันการปลอยกาซมีเทนสูบรรยากาศ ดวยการแยก ขยะอินทรีย เชน เศษผัก เศษอาหาร ออกจากขยะอื่น ๆ ที่สามารถนําไปรีไซเคิลไดมาใชใหเกิด ประโยชน ปลูกตนไมในสวนหนาบาน ตนไม 1 ตน จะดูดซับคารบอนไดออกไซดได 1 ตัน ตลอด อายุ ข องมั น ปลู ก ไผ แ ทนรั้ ว ต น ไผ เ ติ บ โตเร็ ว เป น รั้ ว ธรรมชาติ ที่ ส วยงาม และยั ง ดู ด ซั บ คารบอนไดออกไซดไดดี สวนกลุมบุคคลทั่วไปกลับมีความตระหนักในเรื่องการไถกลบตอซังแทนการเผานอย อาจ เปนเพราะกลุมนี้มี กํานันผูใหญบาน และผูนํากลุมอาชีพตางๆ ซึ่งเปนความเคยชินหรือเคยทํามาใน อดีต จึงไมมีความตระหนักดานนี้เทาที่ควร อักษร สวัสดี (2542) กลาวไววา ปจจัยที่มีผลตอความ ตระหนักคือความเคยชินตอสภาพแวดลอมถาบุคคลใดที่มีความเคยชินตอสภาพแวดลอม จะทําให บุค คลนั้นไมต ระหนัก ตอสิ่งที่เกิด ขึ้น กิจกรรมหลัก ที่ชวยลดการเกิ ด ผลกระทบที่เกิดจากการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ คือลดการเผาปาหญา ไมริมทุง และตนไมชายปา เพื่อกําจัดวัชพืชและ เปด พื้นที่ทําการเกษตร เพราะเปนการปลอยคารบอนไดออกไซดออกสูบรรยากาศจํานวนมาก นอกจากนั้น การตัดและเผาทําลายปายังเปนการทําลายแหลงกักเก็บกาซคารบ อนไดออกไซดที่ สําคัญปลูกพืชผักใหหลากหลายและปลูกตามฤดูกาลในทองถิ่น เปนการลดการปลูกพืชผักนอก ฤดูกาลที่ตองใชพลังงานเพื่อถนอมอาหาร และผานกระบวนการบรรจุเปนอาหารกระปองรวมกลุม สรางตลาดผูบริโภค-ผูผลิตโดยตรงในทองถิ่น เพื่อลดกระบวนการขนสงผานพอคาคนกลาง ที่ตอง ใชพลังงานและน้ํามันในการคมนาคมขนสงพืชผักผลไมไปยังตลาดลดการใชสารเคมีในการเกษตร


10

นอกจากจะเปนการลดปญหาการปลดปลอยไนตรัสออกไซดสูบรรยากาศโลกแลว ในระยะยาวยัง เปนการลดตนทุนการผลิต และทําใหคุณภาพชีวิตของเกษตรกรดีขึ้น ดานการดํารงชีวิตของชุมชนทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ จากการศึกษา กลุมบุคลากรและเจาหนาที่ที่เกี่ยวของพบวา การดํารงชีวิตของชุมชนทําให เกิดผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ในเรื่อง การตัดไมทําลายปา เนื่องจากชุมชนอยู ใกลปาซึ่งเปนแหลงตนน้ําทําใหประชาชนเกิดความอยากเพราะมีตนไมใหญมาก อีกทั้งมีนายทุน คอยหนุนอยูเบื้องหลังเพื่อนําไมมาแปรรูปจําหนาย นอกจากนี้ชุมชนยังมีการเผาตอซังแทนการไถ กลบ การใชปุยเคมีในภาคการเกษตร ซึ่งกิจกรรมเกือบทุกอยางลวนเกิดจากชุมชน สอดคลองกับ แนวความคิดของ เพ็ญพิสุทธิ์ ไมตระรัตน (2551) กลาววา มนุษยเปนตัวการที่สําคัญที่ทําใหเกิด การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศแทบทุกทาง ดังนั้น กลุมผูบริหารควรหามาตรการในการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของกลุมประชาชน เพราะ เมื่อมนุษยมีมากขึ้นความตองการอาหารมากขึ้น แตพื้นที่การผลิตอาหารเทาเดิมหรือนอยลง การเพิม่ ผลผลิตเกษตรกรรมแบบงาย ๆ ที่นิยมทํากัน คือ การบุกรุกปาธรรมชาติ หักรางถางพงเผาไหมปา เพื่อใชเปน แหลงเพาะปลูก ขณะเดียวกันการ เปลี่ยนแปลงที่ดิน ไปทําอุต สาหกรรมอื่น เชน โรงงานอุตสาหกรรม ศูน ยการคา บานจัด สรร โรงแรม ก็ไดทําลายความหลากหลายทางชีวภาพและลดพื้นทีส่ ีเขียวขนาดใหญ ที่จะชวยดูดซับกาซ คารบอนจากอากาศ และชวยลดการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศไดมากกวานั้นระบบการผลิตที่ เปนอุตสาหกรรมขนาดใหญ จะมีการขนสงอาหารภายในประเทศและสงออกระหวางประเทศ ทั้งที่ เปนอาหารสดและบรรจุหีบหอ ดังนั้นกาซคารบอนที่ขึ้นสูชั้นบรรยากาศ จึงมาจากทั้งการผลิต บรรจุภั ณ ฑ และการขนส ง และเป น สาเหตุ ข องการเปลี่ ยนแปลงสภาพภู มิอ ากาศอี ก ทางหนึ่ ง ทางออกที่สําคัญในการลดการปลอยกาซเรือนกระจกจากภาคเกษตรกรรม สามารถทําไดหลายทาง เชน การจัดการพื้นที่เพาะปลูกใหมีประสิทธิภาพมากขึ้น หลีกเลี่ยงการปลอยหนาดินใหวางเปลา และปลูกพืชยืนตน และพืชคลุมดินหลีกเลี่ยงการใชปุยเกินความจําเปนเบื้องตนของพืช โดยใชใน เวลาที่เหมาะสมและใสตําแหนงที่ถูกตอง และปลูกพืชหมุนเวียนโดนพืชตระกูลถั่วไมเผาเศษพืชใน ไรนาใชการไถกลบตอซังแทนลดการไถพรวน เพื่อเพิ่มปริมาณคารบอนในดินในชวงฤดูวางเวน จากการปลูกขาว ควรหลีกเลี่ยงการเกิดน้ําทวมขัง นอกจากนี้ควรสงเสริมใหมีการทําการเกษตร แบบยั่งยืน เพราะ นอกจากจะชวยในเรื่องของการพึ่งตนเอง ลดคาใชจายที่เปนปจจัยภายนอกแลว เกษตรกรรมจากเกษตรกรรายยอยยังชวยในเรื่องของการรักษาระบบนิเวศสิ่งแวดลอม และเพิ่มพื้นที่ สีเขียวทําใหโลกเย็นลงไดอีกดวย เพราะพืชจะชวยดูดซับกาซคารบอนเพื่อนําไปใชการเจริญเติบโต และการ สังเคราะหแสง และผลิตกาซออกซิเจนออกมาสูบรรยากาศ อีกสวนหนึ่งก็จะกักเก็บกาซ คารบอนไดออกไซดไวที่อินทรียว ัตถุในดินดวย


11

สวนกลุมบุคคลทั่วไป กลับพบวาการดําเนินชีวิตของคนในชุมชนที่ทําใหเกิดผลกระทบตอ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศมากที่สุด คือการไมมีการคัดแยกขยะ และการกําจัดขยะอยางถูกวิธี แตที่เปน เชน นั้น เพราะองคก รปกครองสว นทองถิ่น ซึ่ง มีงบประมาณเปน ของตนเองไมมีก าร สงเสริมหรือสนับสนุนในเรื่องของถังขยะ หรือรถเก็บขยะ ทําใหชุมชนตองดําเนินการกําจัดขยะใน ครัวเรือนเองซึ่งไมแนใจวาถูก ตองตามหลัก สุขาภิบาลหรือไม ดังนั้น องคก ารบริหารสว นตําบล เหลาโพนคอตองสงเสริมและสนับสนุนวัสดุ อุปกรณและใหความรูเรื่องการกําจัดขยะที่ถูกวิธีดวย ซึง่ ตองดําเนินการที่เกี่ยวของกับขยะตั้งแตการผลิตขยะการเก็บรวบรวม การขนสง และการกําจัด ขั้นสุดทาย รวมถึงการลดปริมาณขยะและการนํากลับมาใชประโยชนดวย โดยกระบวนการจัดการ เหลานี้จะตองมีค วามสัมพัน ธกัน และมีการดําเนินการอยางครบวงจรเพื่อใหเกิดประสิทธิภาพ สูงสุดและกอใหเกิดผลเสียหายนอยที่สุดซึ่ง อดิศักดิ์ ทองไขมุก และคณะ(2541) ไดจําแนกขยะ เปน 3 ประเภท คือขยะชุมชน ขยะจากเกษตรกรรมและขยะจากอุตสาหกรรมและใหความหมาย ขยะชุมชนวา ของเหลือทิ้งจากการใชสอยที่เกิดจากกิจกรรมตาง ๆ ในชุมชน สวนกรมควบคุม มลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม(2546) ไดแบงประเภทขยะตามลักษณะหรือ ชนิดของขยะเปน 4 ประเภท คือขยะยอยสลาย หมายถึงขยะที่ยอยสลายไดเองตามธรรมชาติและ สามารถนํ ามาทํ าเปน ปุยได ขยะรีไ ซเคิล หมายถึ งขยะที่ส ามารถนํ ากลั บมาใชใ หม ได เช น กระดาษ แกว โลหะพลาสติก ขยะทั่วไป หมายถึงขยะที่ยอยสลายไมไดไมเปนพิษและไมคุมคา กับการรีไซเคิล เชน พลาสติก ซองบะหมี่สําเร็จรูป โฟม ขยะพิษ หมายถึงขยะที่มีอันตรายตอ สิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอม เชน หลอดไฟ ถานไฟฉาย กระปองยาฆาแมลง หนาที่ของการจัดการ ขยะถือเปนภาระหนาที่ของทุกคนที่ทําใหเกิดขยะ ดังนั้นควรมีการสงเสริมใหประชาชนมีสวนรวม ในการจัดการและลดปริมาณขยะโดยวิธีการที่เหมาะกับชุมชน ดานมาตรการรองรับผลกระทบการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ จากการศึกษา พบวา เนื่องจากพื้นที่ของตําบลเหลาโพนคอสวนหนึ่งอยูติดเทือกเขาภูพาน ซึ่งเปนแหลงตนน้ําของภาคการเกษตรของคนในตําบลเหลาโพนคอ ถาระบบนิเวศของแหลงตนน้ํา ถูกทําลายจะมีผลกระทบหลายดาน เชน ขาดน้ําเพื่อการเกษตร และปศุสัตว ดังนั้น กลุมผูบริหารจึง มีมาตรการหลักในเรื่องการสงเสริมปลูกตนไมในชุมชน สรางฝายชะลอน้ําเพื่ออนุรั กษปาตนน้ํา ปลูกหญาแฝกเพื่อรักษาหนาดิน ดําเนินโครงการพิธีบวชปา เพื่อเปนกุศโลบายไมใหคนในชุมชนตัด ตนไมโดยใชสิ่งที่คนในชุมชนเคารพนับถือ มาประยุกตเขากับโครงการนั่นคือการนําสิ่งศักดิ์สิทธิ เชน ผี สาง เทวดา ที่คนในชุมชนนับถือ โดยการอัญเชิญมาปกปกรักษาตนไมใหญ และการผูก ผาเหลืองมัดกับตนไม ที่ยังมีเหลืออยูในปา เพื่อรักษาไวใหคงอยูกับปาตอไปโดยใหประชาชนมี สวนรวมในการบวชปาและปลูกปาใหมากที่สุดเทาที่จะทําได หลังจากดําเนินโครงการเสร็จแลวก็


12

ทําการณรงคประชาสัมพันธใหประชาชนทราบ นอกจากนี้ยังไดมีการกําหนดเปนยุทธศาสตรหลักที่ ตองดําเนินการใหมีความชัดเจนมากขึ้น เพื่อกระตุนใหประชาชนไดเห็นความสําคัญซึ่งสอดคลอง กับแนวความคิดของ สมศักดิ์ สุริยเจริญ (2533) กลาววา การสงเสริมและรักษาสิ่งแวดลอม โดย การปลูกฝงและพัฒนาความรูสึกใหซาบซึ้งตอสิ่งแวดลอมในทางที่ถูกตองแลวการทําลายทรัพยากร ทางธรรมชาติจะนอยลง ซึ่งการทําลายธรรมชาติและระบบนิเวศในชุมชนลวนแลวแตเปนฝมือของ คนในชุมชนทั้งนั้น สวนกลุมบุค คลทั่วไป เห็นวาการกําหนดมาตรการหลักๆนั้นเปนหนาที่ของ องคการบริหารสวนตําบล ซึ่งมีอํานาจหนาที่โดยตรงในการบังคับใชกฏหมาย ในทองถิ่น เนื่องจาก สวนใหญมาจาก กํานัน ผูใหญบาน และตัวแทนกลุมอาชีพ และรับราชการเสียเปนสวนนอย ดังนั้น มาตรการสวนมากจะเปนการนําเสนอใหผูบริหารนําไปใชในการวางมาตรการรองรับผลกระทบที่ เกิดจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ เทานั้น เชน การสงเสริมใหมีการคัดแยกขยะอยางถูกวิธี สงเสริมการปลูกตนไมและรณรงคประชาสัมพัน ธการประหยัดพลังงาน เปนตน ดังนั้น การวาง นโยบายหรือมาตรการตางๆ ของหนว ยงานตองดูความตองการของประชาชนเปนหลัก แลวนํา ปญหาหรือความตองการเหลานั้นมาวางมาตรการหรือกําหนดนโยบาย ซึง่ ตรงกับแนวความคิดของ วิยุทธ จํารัสพันธุ (2548) กลาววา การวางมาตรการเพื่อนําไปสูการปฏิบัติตองสอดคลองกับความ ตอ งการ ของประชาชนและกลุ มเป า หมายซึ่ งมี ผ ลกระทบโดยตรงต อ ชีวิ ต ความเป น อยู ข อง ประชาชนดวย ดังนั้น ในการวางมาตรการหรือการกําหนดนโยบายตางๆ ของกลุม ผูบริหารคง ปฏิเสธไมไดที่จะตองฟงเสียงประชาชนโดยเฉพาะปญหา ความตองการ เพื่อนําไปสูเปาหมายของ ความสําเร็จในการบริหาร ดานปญหาอุปสรรคในการวางมาตรการรองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ จากการศึกษา กลุมบุคลากรและเจาหนาที่ที่เกี่ยวของ พบวา องคการบริหารสวนตําบลเหลา โพนคอยังเห็นวาการดําเนินการดานการลดการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศตองใชงบประมาณ อยางมากในการดําเนินการทั้งที่จริงไมจําเปนตองใชงบประมาณมากมายก็ดําเนินการได เชน การ ประชาสัมพันธผานหอกระจายขาวในชุมชน การประชาสัมพัน ธโดยรถยนตเคลื่อนที่ หรื อการ ออกประชาคมตามหมูบานเพื่อใหความรูแกประชาชนก็สามารถทําไดซึ่งสอดคลองกับแนวความคิด ของ ประภาเพ็ญ สุวรรณ (2520) กลาววา ความรูเปนพฤติกรรมขั้นตนที่ผูเรียนเพียงแตเกิดจําได โดยการนึกได มองเห็น ไดยินแลวนําไปสูการปฏิบัติ ดังนั้น การแกไขปญหาเบื้องตนงายๆ โดยไม ตอ งใชง บประมาณคือ การประชาสั มพั น ธ ใ ห ค วามรู โ ดยการทํ าบ อยๆ และทํา ทุ ก วั น เพื่อ ให ประชาชนไดยินจนคุนหูและจะนําไปสูการปฏิบัติไดในที่สุด สวนกลุมบุคคลทั่วไป กลับพบวา ที่ชุมชนยังมีการตัดตนไมอยูเนื่องจากประชาชนยังขาด ความรูความเขาใจเกีย่ วกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศอยางถองแท และขาดอาชีพที่แนนอนจึง


13

จํ า เป น อย า งยิ่ ง ที่ จ ะต อ งส ง เสริ ม ด า นอาชี พ และให ค วามรู ใ นเรื่ อ งผลกระทบที่ เ กิ ด จากการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ เมื่อประชาชนมีความรูความเขาใจที่ถูกตองแลว ปญหาและอุปสรรค ในการวางมาตรการรองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศก็งายขึ้น


14

เอกสารอางอิง กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น. 2549. มาตรฐานการจัดการขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล. กรุงเทพฯ: ชุมชนสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย. กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม. 2546. การจัดการขยะมูลฝอย. พิมพครั้งที่ 4 .กรุงเทพฯ:โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว. ชวาล แพรัตกุล.2526. เทคนิคการวัดผล. กรุงเทพ:ไทยวัฒนาพานิช. ธนวัฒน จารุพงษสกุล. 2549. การศึกษาผลกระทบตอภาวะโลกรอนที่มีตอประเทศไทย. ภาควิชาธรณีวิทยา คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. ประภาเพ็ญ สุวรรณ. 2520. ทัศนคติ: การวัดการเปลี่ยนแปลงและพฤติกรรมอนามัย. กรุงเทพมหานคร: ไทยวัฒนาพานิช พัชรี หอวิจิตร.2538.การจัดการขยะมูลฝอย.พิมพครั้งที่ 4 . พิมพที่หนวยงานสารบรรณ งานบริหาร ภาควิชาวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน. เพ็ญพิสุทธิ์ ไมตระรัตน.2551.ความรอบรูเกี่ยวกับวิกฤตการณภาวะโลกรอน [วิทยานิพนธปริญญา ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาสังคมศึกษา].ขอนแกน : มหาวิทยาลัยขอนแกน. วิยุทธ จํารัสพันธุ. 2548. นโยบายสาธารณและการวางแผน.เอกสารประกอบการสอน,ขอนแกน: คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตรมหาวิทยาลัยขอนแกน ศุภกนิตย พลไพรินทร. 2540. เทคนิคการประมวลผล. กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพแพรพิทยา สมสมาน อาษารัฐ.2548. การมีสวนรวมของประชาชนตอการจัดการขยะมูลฝอย: กรณีศึกษา องคการบริหารสวนตําบลธาตุทอง อําเภอบอทอง จังหวัดชลบุร.ี การศึกษาอิสระศิลปะ ศาสตรมหาบัณฑิต(สาขายุทธศาสตรการพัฒนา)มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร. ศุภชัย ยาวะประภาษ.2540. การบริหารงานทั่วไปขององคการบริหารสวนตําบล. กรุงเทพฯ: กราฟฟคฟอรแมท(ไทยแลนด) สมศักดิ์ สุริยเจริญ.2533.ความตระหนักของปลัดอําเภอเกี่ยวกับการอนุรักษทรัพยากรปาไม [วิทยานิพนธปริญญาทางสังคมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาสิ่งแวดลอม].กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยมหิดล. อดิศักดิ์ ทองไขมุก และคณะ.2541. การจัดการขยะมูลฝอยและสิ่งปฎิกูล.กรุงเทพฯ:โรงพิมพบริษัท เอ็นไวร จํากัด


15

อักษร สวัสดี .2542. ความรูความเขาใจ และความตระหนักในการอนุรักษสิ่งแวดลอมของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย : กรณีศึกษาในเขตบางกะป กรุงเทพมหานคร


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.