ตัวอย่างความสำเร็จ:การประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

Page 1


°“√ª√–°«¥º≈ß“πµ“¡ª√—™≠“¢Õ߇»√…∞°‘®æÕ‡æ’¬ß §√—Èß∑’Ë Ú ™◊ËÕÀπ—ß ◊Õ

:

µ—«Õ¬ã“ߧ«“¡ Ì“‡√Á®°“√ª√–¬ÿ°µè„™åª√—™≠“¢Õ߇»√…∞°‘®æՇ撬ß

®—¥∑Ì“‚¥¬

:

§≥–Õπÿ°√√¡°“√§—¥‡≈◊Õ°°“√ª√–°«¥º≈ß“πµ“¡ª√—™≠“ ¢Õ߇»√…∞°‘®æՇ撬ß

æ‘¡æè§√—Èß·√°

:

¡‘∂ÿπ“¬π ÚııÛ

®Ì“π«π

:

ı, ‡≈ã¡

ºŸå®—¥æ‘¡æè

:

Ì“π—°ß“π§≥–°√√¡°“√摇»…‡æ◊ËÕª√– “πß“π‚§√ß°“√ Õ—π‡π◊ËÕß¡“®“°æ√–√“™¥Ì“√‘ ( Ì“π—°ß“π °ª√.)

ÕÕ°·∫∫ª°

:

𓬠ÿ∑—»πè ‚æ∏‘»‘√‘°ÿ≈

æ‘¡æè∑’Ë

:

Àå“ßÀÿåπ ã«π®Ì“°—¥ ‡∑æ‡æÁ≠«“π‘ ¬è Ò/Ú ¡.ÒÒ ·¢«ß∫“ߥå«π ‡¢µ¿“…’‡®√‘≠ °√ÿ߇∑æœ ÒÒˆ


คํานํา


คํานํา สํานักงาน กปร. ไดจดั การประกวดผลงานตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ครั้งแรกเมื่อป ๒๕๕๐ เนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๘๐ พรรษา เพื่อเผยแพรพระปรีชาสามารถแนวพระราชดําริเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง และคนหา ตัวอยางของภาคประชาชน ภาคเกษตร และภาคธุรกิจ ทีไ่ ดนาํ หลักเศรษฐกิจพอเพียง ไปประยุกตใชจนประสบผลสําเร็จ ในป๒๕๕๒ - ๒๕๕๓ มูลนิธชิ ยั พัฒนา สํานักงบประมาณ กระทรวงมหาดไทย กองทัพไทย สํานักงานคณะกรรมการพิเศษเพือ่ ประสานงานโครงการอันเนือ่ งมาจาก พระราชดําริ (สํานักงาน กปร.) และสถาบันวิจยั และพัฒนาประเทศตามปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง ไดรวมเปนเจาภาพจัดการประกวดผลงานตามปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง ครัง้ ที่ ๒ มีวตั ถุประสงคเพือ่ เผยแพรปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และสงเสริมใหภาคประชาชน ภาคเกษตร ภาครัฐ และภาคธุรกิจ ไดนอ มนําปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกตใชใน การทํางานและการดําเนินชีวติ สามารถเปน ตัวอยางในการพัฒนาตนเอง ชุมชน องคกรภาครัฐ และธุรกิจได การประกวดครั้งนี้ ไดแบงเปน ๑๐ ประเภท คือ ๑) ประชาชนในพื้นที่ หางไกลและกันดาร ๒) ประชาชนทัว่ ไป ๓) ชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง ๔) เกษตรกร ทฤษฎีใหม ๕) กลุมเกษตรทฤษฎีใหม ๖) หนวยงาน/องคกรภาครัฐในสวนภูมิภาค ๗) หนวยงาน/องคกรภาครัฐในสวนกลาง ๘) ธุรกิจขนาดใหญ ๙) ธุรกิจขนาดกลาง และ ๑๐) ธุรกิจขนาดยอม ซึง่ ผลการตัดสินการประกวดฯ ทําใหไดตวั อยางทีน่ อ มนํา ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกตใชในการทํางานและการดําเนินชีวิตจน ประสบความสําเร็จในแตละประเภท ดังนั้น สํานักงาน กปร.จึงไดถอดองคความรูจากผลงานที่ไดรับรางวัลถวย พระราชทานพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว มาเปนตัวอยางเพื่อเปนสื่อการเรียนรู สําหรับภาคประชาชน ภาคเกษตร ภาครัฐ และภาคธุรกิจในการนอมนําปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกตและปฏิบัติเพื่อพัฒนาตนเอง พัฒนาชุมชน ตลอดจน พัฒนาองคกรภาครัฐ และพัฒนาธุรกิจตอไป สํานักงานคณะกรรมการพิเศษ เพือ่ ประสานงานโครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชดําริ


เศรษฐกิ จ พอเพี ย ง “...การจะเปนเสือนั้นไมสําคัญ สําคัญอยูที่เรามีเศรษฐกิจแบบพอมีพอกิน แบบพอมีพอกินนัน้ หมายความวา อุม ชูตวั เองได ใหมพี อเพียงกับตัวเอง อันนีก้ เ็ คยบอก วาความพอเพียงนี้ไมไดหมายความวา ทุกครอบครัวจะตองผลิตอาหารของตัว จะตอง ทอผาใสเอง อยางนั้นมันเกินไป จะตองมีความพอเพียง พอสมควร บางสิ่งบางอยาง ทีผ่ ลิตไดมากกวา ความตองการ ก็ขายได แตขายในทีไ่ มหา งไกลเทาไหร ไมตอ งเสียคาขนสง มากนัก...”

พระราชดํารัสความตอนหนึง่ พระราชทานแกคณะบุคคลตางๆ ทีเ่ ขาเฝาฯ ถวายชัยมงคล เนือ่ งในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ณ ศาลาดุสดิ าลัย สวนจิตรลดา พระราชวังดุสติ วันพฤหัสบดีที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๔๐

เศรษฐกิจพอเพียง เปนปรัชญาชีถ้ งึ แนวทางการดํารงอยูแ ละปฏิบตั ขิ องประชาชน ในทุกระดับ ตัง้ แตครอบครัว ชุมชนจนถึงระดับรัฐ ทัง้ ในการพัฒนาและบริหารประเทศ ใหดําเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อใหกาวทันตอยุคโลกา ภิวตั นความพอเพียงหมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจําเปนทีจ่ ะ ตองมีระบบภูมคิ มุ กันในตัวทีด่ พี อสมควรตอการมีผลกระทบใดๆ อันเกิดจากการเปลีย่ น แปลงทัง้ ภายนอกและภายใน ทัง้ นีจ้ ะตองอาศัยความรอบรู ความรอบคอบและความระมัด ระวังยิง่ ในการนําวิชาการตางๆ มาใชในการวางแผนและการดําเนินการทุกขัน้ ตอน และ ขณะเดียวกันจะตองเสริมสรางพื้นฐานทางจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจาหนาที่รัฐ นักทฤษฎีและนักธุรกิจในทุกระดับ ใหมสี าํ นึกในคุณธรรมความซือ่ สัตยสจุ ริตและใหมคี วาม รอบรูที่เหมาะสม ดําเนินชีวิต ดวยความอดทน ความเพียร มีสติ มีปญญาและความ รอบคอบ เพื่อใหสมดุลและพรอมตอการรองรับการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วและ กวางขวางทัง้ ดานวัตถุ สังคม สิง่ แวดลอม และวัฒนธรรมจากโลก ภายนอกเปนอยางดี ประมวลและกลั่นกรองจากพระราชดํารัสของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว เรือ่ ง เศรษฐกิจพอเพียง ไดรับพระราชทานพระบรมราชานุญาตใหนําไปเผยแพรเมื่อ วันที่ ๒๙ พฤศจิกายน ๒๕๔๒


การประกวดผลงาน ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ครัง้ ที่ ๒

สารบั ญ

หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค ผลการตัดสินและการประกวด ตัวอยางความสําเร็จการประยุกตใชปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ประเภท ประชาชนในพืน้ ทีห่ า งไกลและกันดาร นางคอสหมะ แลแมแน ประเภทประชาชนทั่วไป นายสมพงษ พรผล ประเภทชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง ชุมชนบานดอกบัว ประเภทเกษตรกรทฤษฎีใหม นางเปรียวจันทร ตะตนยาง ประเภทกลุมเกษตรทฤษฎีใหม กลุมเกษตรกรทําสวนบานถ้ํา ประเภทหนวยงาน/องคกรภาครัฐ ในสวนภูมภิ าค สํานักงานเทศบาลตําบลปลายพระยา ประเภทหนวยงาน/องคกรภาครัฐ ในสวนกลาง ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร ประเภทธุรกิจขนาดใหญ บริษทั บางจากปโตเลียม จํากัด (มหาชน) ประเภทธุรกิจขนาดกลาง บริษทั บาธรูม ดีไซน จํากัด ประเภทธุรกิจขนาดยอม บริษทั พรทิพย (ภูเก็ต) จํากัด

๔ ๔ ๔ ๑๐ ๑๑ ๑๖ ๒๑ ๒๖ ๒๙ ๓๒ ๓๗ ๔๒ ๔๗ ๕๓


การประกวดผลงาน ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ครั้งที่ ๒

หลักการและเหตุผล

ในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๘๐ พรรษา ๕ ธันวาคม ๒๕๕๐ สํานักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อ ประสานงานโครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชดําริ(สํานักงาน กปร.)ไดกาํ หนดใหมกี ารจัดการประกวดผลงานตาม ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ครั้งแรก เพื่อเผยแพรพระปรีชาสามารถและพระมหากรุณาธิคุณในพระบาท สมเด็จพระเจาอยูห วั ทีไ่ ดพระราชทานความชวยเหลือและบรรเทาความทุกขยากของพสกนิกรชาวไทยมาตลอด ระยะเวลาแหงการครองสิรริ าชสมบัติ ซึง่ การดําเนินงานประสบ ความสําเร็จเปนอยางดี สามารถสรางความ ตืน่ ตัวใหประชาชน และภาคธุรกิจไดเกิดจิตสํานึกในการนอมนําเอาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต ใชในชีวติ ประจําวันและบริหารธุรกิจ ดังนัน้ มูลนิธชิ ยั พัฒนา สํานักงบประมาณ กระทรวงมหาดไทย กองทัพ ไทย สํานักงาน กปร. และสถาบันวิจยั และพัฒนาประเทศตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จึงจัดใหมกี าร ประกวดผลงานตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ครัง้ ที่ ๒ ขึน้ เพือ่ สรางจิตสํานึกในการนําหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกตใชในชีวติ ประจําวันทัง้ ในภาคประชาชน ภาคเกษตร ภาครัฐ และภาคธุรกิจ

วัตถุประสงค

๑. เพื่อเผยแพรปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๒. เพือ่ สงเสริมและยกยองภาคประชาชน ภาคเกษตร ภาครัฐและภาคธุรกิจ ทีไ่ ดนาํ ปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกตใชในการทํางานและการดําเนินชีวติ จนประสบผลสําเร็จ ๓. เพือ่ เปนตัวอยางสําหรับภาคประชาชน ภาคเกษตร ภาครัฐ และภาคธุรกิจ ในการนําปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกตและปฏิบตั ใิ นการดําเนินชีวติ พัฒนาชุมชน พัฒนาองคกรภาครัฐ และพัฒนา ภาคธุรกิจตอไป

ผลการตัดสินการประกวดฯ

การประกวดผลงานตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ครัง้ ที่ ๒ มีจาํ นวนผูส นใจรวมสงผลงานเขา ประกวดฯ ทัง้ สิน้ ๑,๖๔๔ ผลงาน ไดแก ประเภทประชาชนในพืน้ ทีห่ า งไกลและกันดาร ๖๕ ผลงาน ประเภท ประชาชนทัว่ ไป ๕๓๗ ผลงาน ประเภทชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง ๔๐๗ ผลงาน ประเภทเกษตรกรทฤษฎีใหม ๒๙๗ ผลงาน ประเภทกลุม เกษตรทฤษฎีใหม ๖๔ ผลงาน ประเภทหนวยงาน/องคกรภาครัฐในสวนภูมภิ าค ๑๕๒ ผลงาน ประเภทหนวยงาน/องคกรภาครัฐในสวนกลาง ๙ ผลงาน ประเภทธุรกิจขนาดใหญ ๑๙ ผลงาน ประเภทธุรกิจขนาดกลาง ๓๒ ผลงาน และประเภทธุรกิจขนาดยอม ๖๒ ผลงาน โดยเมือ่ วันที่ ๘ มีนาคม ๒๕๕๓ คณะกรรมการตัดสินการประกวดฯ ไดพจิ ารณาตัดสินผลงานทีไ่ ด รับรางวัลถวยพระราชทานพระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั รางวัลถวยพระราชทานสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ


สยามบรมราชกุมารี รางวัลโลเกียรติยศนายกรัฐมนตรี และเกียรติบตั ร สํานักงาน กปร. ซึง่ คณะกรรมการ อํานวยการจัดการประกวดฯ ไดพจิ ารณาเห็นชอบรับรองผลงานการประกวดฯ ทัง้ ๑๐ ประเภท เมือ่ วันที่ ๑๐ พฤษภาคม ๒๕๕๓ โดยมีผไู ดรบั รางวัลทัง้ สิน้ ๓๘๘ ผลงาน ดังนี้

๑. ประชาชนในพืน้ ทีห่ า งไกลและกันดาร

รางวัลถวยพระราชทานพระบาสมเด็จพระเจาอยูห วั ไดแก นางคอสหมะ แลแมแน อําเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส รางวัลถวยพระราชทานสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ไดแก ๑) นายผล มีศรี อําเภอภูซาง จังหวัดพะเยา ๒) นายทวี ประหา อําเภอดงหลวง จังหวัดมุกดาหาร ๓) นายประมาณ ประสงคสนั ติ อําเภอทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี รางวัลโลเกียรติยศนายกรัฐมนตรี ไดแก ๑) นายศิลา มวงงาม อําเภอหลมเกา จังหวัดเพชรบูรณ ๒) นายคําดี สายแวว อําเภอสิรนิ ธร จังหวัดอุบลราชธานี ๓) นายสอและ หมาดปนจอร อําเภอควนโดน จังหวัดสตูล ๔) นายเอีย่ มสูน โชติศรีลอื ชา อําเภอบอไร จังหวัดตราด

รางวัลเกียรติบตั รสํานักงาน กปร. จํานวนรวม ๒๑ ผลงาน

๒. ประชาชนทัว่ ไป

รางวัลถวยพระราชทานพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ไดแก นายสมพงษ พรผล อําเภอตะกั่วทุง จังหวัดพังงา รางวัลถวยพระราชทานสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ไดแก ๑) นายสุพจน โคมณี อําเภอชุมแสง จังหวัดนครสวรรค ๒) นายสุนนั เผาหอม อําเภอซําสูง จังหวัดขอนแกน ๓) นายบํารุง คําอยู อําเภอภาชี จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ๔) นายไพโรจน ตัณฑิกลุ เขตบางซือ่ กรุงเทพฯ รางวัลโลเกียรติยศนายกรัฐมนตรี ไดแก ๑) นายมนูญ วงศอินทร อําเภอเมือง จังหวัดแพร ๒) นายมาโนช โพธิ์เมือง อําเภอหนองสูง จังหวัดมุกดาหาร ๓) นายฉลองชาติ ยังปกษี อําเภอทาแซะ จังหวัดชุมพร


๔) นายณรงค วิมา อําเภออินทรบุรี จังหวัดสิงหบุรี ๕) นางสาวจารุภทั ร จุลสําลี เขตยานนาวา กรุงเทพฯ รางวัลเกียรติบตั รสํานักงาน กปร. จํานวน ๖๔ ผลงาน

๓. ชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง

รางวัลถวยพระราชทานพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ไดแก ชุมชนบานดอกบัว อําเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา รางวัลถวยพระราชทานสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ไดแก ๑) ชุมชนบานทาเรือ อําเภอนาหวา จังหวัดนครพนม ๒) ชุมชนบานบางโรง อําเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต ๓) ชุมชนบางรักนอย อําเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี ๔) ชุมชนเพชราวุธ พัน ๒ เขตบางเขน กรุงเทพฯ รางวัลโลเกียรติยศนายกรัฐมนตรี ไดแก ๑) ชุมชนบานนาปาแดง อําเภอพรานกระตาย จังหวัดกําแพงเพชร ๒) ชุมชนบานขาม อําเภอจตุรัส จังหวัดชัยภูมิ ๓) ชุมชนบานคลองเรือ อําเภอพะโตะ จังหวัดชุมพร ๔) ชุมชนบานคันนา อําเภอเมือง จังหวัดตราด ๕) ชุมชนเกตุไพเราะ ๓-๕ เขตพระโขนง กรุงเทพฯ รางวัลเกียรติบตั รสํานักงาน กปร. จํานวน ๖๗ ผลงาน

๔. เกษตรกรทฤษฎีใหม

รางวัลถวยพระราชทานพระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั ไดแก นางเปรียวจันทร ตะตนยาง อําเภอเทิง จังหวัดเชียงราย รางวัลถวยพระราชทานสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ไดแก ๑) นายสํารอง แตงพลับ อําเภอชะอํา จังหวัดเพชรบุรี ๒) นายพินัย แกวจันทร อําเภอเมือง จังหวัดยะลา ๓) นายบุญแทน เหลาสุพะ อําเภอเมือง จังหวัดเลย ๔) นายปรีชา เหมกรณ เขตหนองจอก กรุงเทพฯ รางวัลโลเกียรติยศนายกรัฐมนตรี จํานวน ๑๓ ผลงาน ไดแก ๑) นายมานิตย์ แจงเขตต์การ อำเภอทัพทัน จังหวัดอุทัยธานี ๒) นายเฉลิม เรืองเพ็ง อําเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง


๓) นายไพรัตน ชืน่ ศรี อําเภอสตึก จังหวัดบุรรี มั ย ๔) นายไพรัส ศรีเริม่ สกุล อําเภอศรีสวัสดิ์ จังหวัดกาญจนบุรี ๕) นายเชาว แกวประสิทธิ์ อําเภอบางคลา จังหวัดฉะเชิงเทรา ๖) นายประพันธ ศรีสวุ รรณ อําเภอลอง จังหวัดแพร ๗) นางรัศภัศ ยิง่ สุขสันติสขุ อําเภอแมเมาะ จังหวัดลําปาง ๘) นางสาวประทุม สุรยิ า อําเภอแมแตง จังหวัดเชียงใหม ๙) นายคําสิงห มาลาหอม อําเภอโกสุมพิสยั จังหวัดมหาสารคาม ๑๐) นายธนา นามใหม อําเภอโนนไทย จังหวัดนครราชสีมา ๑๑) นายบุญชิต สมัตถะ อําเภอหนองบัวแดง จังหวัดชัยภูมิ ๑๒) นายสมนึก ทองปรุง อําเภอกันตัง จังหวัดตรัง ๑๓) นายสมปอง ฉิมดํา อําเภอระโนด จังหวัดสงขลา รางวัลเกียรติบตั รสํานักงาน กปร. จํานวน ๔๔ ผลงาน

๕. กลุม เกษตรทฤษฎีใหม

รางวัลถวยพระราชทานพระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั ไดแก กลุม เกษตรกรทําสวนบานถ้าํ อําเภอดอกคําใต จังหวัดพะเยา รางวัลถวยพระราชทานสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ไดแก ๑) กลุม สงเสริมและผลิตพันธุข า วชุมชนบานไทรใหญ อําเภอไทรนอย จังหวัดนนทบุรี ๒) กลุม เกษตรกรรมยัง่ ยืนอําเภอกันทรวิชยั อําเภอกันทรวิชยั จังหวัดมหาสารคาม ๓) กลุมศูนยเครือขายปราชญชาวบานเกษตรยั่งยืนตําบลศรีเมืองชุม อําเภอแมสาย จังหวัดเชียงราย ๔) กลุมขาวคุณคาชาวนาคุณธรรม อําเภอปาติ้ว จังหวัดยโสธร รางวัลโลเกียรติยศนายกรัฐมนตรี ไดแก ๑) กลุม ผูป ลูกผักปลอดสารพิษ อําเภอลาดบัวหลวง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ๒) กลุมชุมชนตนแบบเพื่อนพึ่ง (ภาฯ) ยามยาก อําเภอเมือง จังหวัดอางทอง ๓) กลุม เกษตรกรเลีย้ งสัตวกดุ ดินจี่ อําเภอนากลาง จังหวัดหนองบัวลําภู ๔) กลุมครอบครัวพอเพียง อําเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก ๕) กลุม ผลิตปลาสมสูตรโบราณบานปลักปรือ อําเภอแมลาน จังหวัดปตตานี รางวัลเกียรติบตั รสํานักงาน กปร. จํานวน ๑ ผลงาน


๖. หนวยงาน / องคกรภาครัฐ ในสวนภูมภิ าค

รางวัลถวยพระราชทานพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ไดแก สํานักงานเทศบาลตําบลปลายพระยา อําเภอปลายพระยา จังหวัดกระบี่ รางวัลถวยพระราชทานสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ไดแก ๑) โรงพยาบาลหนองมวงไข อําเภอหนองมวงไข จังหวัดแพร ๒) เรือนจําชัว่ คราวเขากลิง้ อําเภอแกงกระจาน จังหวัดเพชรบุรี ๓) โรงเรียนศึกษาสงเคราะหนางรอง อําเภอนางรอง จังหวัดบุรรี มั ย รางวัลโลเกียรติยศนายกรัฐมนตรี ไดแก ๑) สถานีตาํ รวจภูธรบานหลวง อําเภอบานหลวง จังหวัดนาน ๒) โรงเรียนบานคลองธรรมชาติ อําเภอเขาฉกรรจ จังหวัดสระแกว ๓) สํานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาเขต ๑ อําเภอเมือง จังหวัดศรีสะเกษ ๔) เรือนจําชั่วคราวเหรียงหอง อําเภอเมือง จังหวัดตรัง รางวัลเกียรติบตั รสํานักงาน กปร. จํานวน ๕๕ ผลงาน

๗. หนวยงาน/องคกรภาครัฐ ในสวนกลาง

รางวัลถวยพระราชทานพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ไดแก ธนาคารเพือ่ การเกษตรและสหกรณการเกษตร เขตดุสติ กรุงเทพฯ

รางวัลถวยพระราชทานสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ไดแก กรมราชทัณฑ อําเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี รางวัลโลเกียรติยศนายกรัฐมนตรี ไดแก ๑) กรมการพัฒนาชุมชน เขตแจงวัฒนะ กรุงเทพฯ ๒) กรมทรัพยากรน้าํ เขตพญาไท กรุงเทพฯ รางวัลเกียรติบตั รสํานักงาน กปร. จํานวน ๔ ผลงาน

๘. ธุรกิจขนาดใหญ

รางวัลถวยพระราชทานพระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั ไดแก บริษัท บางจากปโตรเลี่ยม จํากัด (มหาชน) รางวัลถวยพระราชทานสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ไดแก ๑) ธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) ๒) บริษัท โทเทิ่ลแอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชั่น จํากัด (มหาชน)


๓) บริษทั ทรูคอรเปอรเลชัน่ จํากัด (มหาชน) ๔) บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จํากัด (มหาชน) รางวัลโลเกียรติยศนายกรัฐมนตรี ๑) มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ อําเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ ๒) บริษทั รวมเกษตรกรอุตสาหกรรม จํากัด อําเภอภูเขียว จังหวัดชัยภูมิ ๓) บริษทั แปงมันเอีย่ มเฮงอุตสาหกรรม จํากัด (มหาชน) อําเภอเสิงสาง จังหวัดนครราชสีมา รางวัลเกียรติบตั รสํานักงาน กปร. จํานวน ๓ ผลงาน

๙. ธุรกิจขนาดกลาง

รางวัลถวยพระราชทานพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ไดแก บริษทั บาธรูม ดีไซน จํากัด เขตยานนาวา กรุงเทพฯ รางวัลถวยพระราชทานสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ไดแก ๑) บริษทั เอส พี เอ็ม อาหารสัตว จํากัด อําเภอปากทอ จังหวัดราชบุรี ๒) บริษทั แปลนครีเอชัน่ ส จํากัด อําเภอยานตาขาว จังหวัดตรัง รางวัลโลเกียรติยศนายกรัฐมนตรี ไดแก ๑) บริษทั ตรังน้าํ มันปาลม จํากัด อําเภอสิเกา จังหวัดตรัง ๒) บริษัท คัดแยกขยะเพื่อรีไซเคิล วงษพาณิชย จํากัด อําเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก ๓) บริษทั กุลวงศ จํากัด และบริษทั ชัยบูรณบราเดอรส จํากัด อําเภอลําลูกกา จังหวัดปทุมธานี ๔) โรงแรมบานทะเลดาว อําเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ ๕) โรงแรมดุสติ ปริน๊ เซสโคราช อําเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา รางวัลเกียรติบตั รสํานักงาน กปร. จํานวน ๑๒ ผลงาน

๑๐. ธุรกิจขนาดยอม

รางวัลถวยพระราชทานพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ไดแก บริษัท พรทิพย (ภูเก็ต) จํากัด อําเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต รางวัลถวยพระราชทานสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ไดแก ๑) บริษทั แคลร อินเตอรเนชัน่ แนลโปรดักส จํากัด เขตวัฒนา กรุงเทพฯ ๒) บริษัท ซองเดอรไทยออแกนิคฟูด จํากัด อําเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี ๓) กลุม สตรีผลิตภัณฑของใชในครัวเรือน (หุบกะพง) อําเภอชะอํา จังหวัดเพชรบุรี ๔) วิสาหกิจชุมชนไขเค็ม (อสม.) ไชยา อําเภอไชยา จังหวัดสุราษฎรธานี รางวัลโลเกียรติยศนายกรัฐมนตรี ไดแก ๑) บริษัท จันทบุรีผลิตผลเครื่องดื่ม จํากัด อําเภอแหลมสิงห จังหวัดจันทบุรี ๒) กลุม แมบา นเกษตรกรบานกะไหลรวมใจ อําเภอตะกัว่ ทุง จังหวัดพังงา ๓) สหกรณการเกษตรศุภนิมติ หนองยายดา อําเภอทัพทัน จังหวัดอุทยั ธานี ๔) บริษทั สยามบานานา จํากัด อําเภอพนมทวน จังหวัดกาญจนบุรี ๕) บริษัท เฟรมเลส คอรปอเรชั่น จํากัด เขตประเวศ กรุงเทพฯ ๖) บริษัท ชวลิตกิจเกษตรเชียงราย จํากัด อําเภอเมือง จังหวัดเชียงราย ๗) สถาบันการเงินชุมชนตําบลหนองโสน อําเภอสามงาม จังหวัดพิจติ ร ๘) รานคาสหกรณสิงหบุรี อําเภอเมือง จังหวัดสิงหบุรี

๙) บริษทั ดีเอสไอ คอรปอเรชัน่ จํากัด อําเภอลําลูกกา จังหวัดปทุมธานี ๑๐) วิสาหกิจชุมชนภูฝอยลมยางพารา อําเภอบุณฑริก จังหวัดอุบลราชธานี รางวัลเกียรติบตั รสํานักงาน กปร. จํานวน ๑๘ ผลงาน


ตัวอยางความสําเร็จการประยุกตใช ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ประเภทประชาชนในพืน้ ทีห่ า งไกลและกันดาร ประเภทประชาชนทัว่ ไป ประเภทชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง ประเภทเกษตรกรทฤษฎีใหม ประเภทกลุม เกษตรทฤษฎีใหม ประเภทหนวยงาน/องคกรภาครัฐในสวนภูมภิ าค ประเภทหนวยงาน/องคกรภาครัฐในสวนกลาง ประเภทธุรกิจขนาดใหญ ประเภทธุรกิจขนาดกลาง ประเภทธุรกิจขนาดยอม


ประเภท : ประชาชนในพืน้ ทีห่ า งไกลและกันดาร ชื่อ: นางคอสหมะ แลแมแน อายุ : ๔๔ ป การศึกษา : ปริญญาตรี บริหารธุรกิจบัณฑิตการจัดการบัญชี ทีอ่ ยู : ๑๒๕ หมู ๑ บานยะออ ตําบลจะแนะ อําเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส ๙๖๒๒๐ โทรศัพท ๐๘-๙๒๙๕-๑๑๙๘

ประวัติ / ความเปนมา นางคอสหมะ แลแมแน เปนคนที่มีฐานะความเปนอยูที่ดี ครอบครัวมีความอบอุน และมัน่ คง โดยเปนภรรยาของรองนายก อบต. และเปนผูท มี่ กี ารศึกษาสูงแตกลับประกอบอาชีพเกษตรกรรม เนือ่ งจาก มีใจรัก และแมอยูใ นพืน้ ทีเ่ สีย่ งภัยสูง มีอนั ตรายตอการกอความไม สงบใน ๓ จังหวัดชายแดนใต ยังมีจิตสาธารณะใหความเอื้อเฟอ เผือ่ แผ หวงใยเพือ่ นบานในชุมชน โดยมีความกลาหาญใหความรวมมือ กับทางราชการในการปฏิบตั งิ านทีเ่ ปนประโยชนกบั ชุมชน เปนแบบอยางที่ดีในการดําเนินชีวิตตามปรัชญาของ เศรษฐกิ จ พอเพี ย ง มาตั้ ง แต ป ๒๕๔๗ โดยยึ ด หลั ก ความพอดี (พออยู พอกิน พอใช) ไมเบียดเบียนตนเองและผูอ นื่ มีการวางแผน การประกอบอาชีพและการใชจา ยอยางรอบคอบ เปนผูม คี วามคิดริเริม่ สรางสรรค และพัฒนางานอยาง ตอเนือ่ งโดยใชภมู ปิ ญ  ญาในทองถิน่ ใหเกิดประโยชน ดวยการเขาไป เรียนรูจากผูสูงอายุในการปกจักรผาโพกศีรษะและฝกหัดจนทําไดดี พรอมขยายเผยแพรใหกลุม แมบา นไดรวมตัวกันทําเพือ่ เปนอาชีพเสริม และคอย ๆ พัฒนาพัฒนาลายผาแบบดัง้ เดิมมาเพิม่ ลายดอกไมและ วิธกี ารปกเลือ่ มลายตาง ๆ ใหตรงกับความตองการของตลาดทัง้ ในและ ตางประเทศ รวมทั้งพัฒนาทําขนมพื้นบานใหเปนรายไดเสริมของ ชุมชนอีกทางหนึง่ เปนอาสาสมัครของหมูบ า น และคณะกรรมการตางๆ รวม ทัง้ เขารับการอบรมในโครงการ/กิจกรรมจากทางราชการตลอดมา อีก ทัง้ เปนตัวกลางในการประสานกับหนวยงานทีเ่ กีย่ วของเพือ่ ชวยเหลือ ชุมชน เปนทีร่ กั และไววางใจของชาวบาน

๑๑


ชวยเหลือแบงปนสังคมโดยเปรียบเสมือนญาติพนี่ อ ง ของตนเอง ซึง่ ไดรบั การประกาศเกียรติคณ ุ ในระดับตางๆ เชน ไดรบั การคัดเลือกเปนกลุม แมบา นเกษตรกรดีเดนระดับจังหวัด ประจําป ๒๕๔๘ ไดรบั รางวัลคนดีศรีนรา อําเภอจะแนะ ประจําป ๒๕๕๒

การประยุกตใชปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

ความพอประมาณ มีการทําบัญชีครัวเรือน และถายทอดความรูด า นบัญชีใหกลุม สมาชิกปกจักรผาโพกศีรษะ และกลุม แมบา นทําขนมในการทําบัญชีรายรับรายจายของกลุม ใหมคี วามโปรงใส ยุตธิ รรมโดยใช ความรูท เี่ รียนมาปรับใชใหเขาการดําเนินชีวติ ความมีเหตุผล เปนผูนําใชทรัพยากรใหเกิดความคุมคา เชน เอาเศษผาที่เหลือใชมาทําผลิตภัณฑ ผาเช็ดเทา ใชชีวิตตามปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงทั้งในดานความเปนอยูในชีวิตประจําวัน และการประกอบธุรกิจ เชนดานการลงทุนจะมี การศึกษาความตองการตลาด แลวนํามาวิเคราะห และวางแผนการผลิตใหเหมาะสมกับตลาดและ ลูกคาแตละประเภท มีการพัฒนางานอยางตอ เนื่องโดยนําภูมิปญญาชาวบานมาพัฒนาลายผา โพกศีรษะแบบดัง้ เดิมมาเพิม่ ลายดอกไมและวิธกี าร ปกเลือ่ มลายตาง ๆ ใหตรงกับความตองการของ ตลาด และเปนสินคา OTOP ระดับ ๔ ดาว เปน คนทีม่ คี วามคิด ริเริม่ และสรางสรรคผลงานใหเปน ประโยชน กั บ ตนเองและผู อื่ น อยู เ สมอ เช น ออกแบบผลิตภัณฑใสขนมของกลุมแมบานได สวยงาม นาซือ้ แทนการใชผลิตภัณฑของกรมการ พัฒนาชุมชนทีอ่ อกแบบให

๑๒


ภูมคิ มุ กัน ใชจายอยางประหยัด ไมฟุมเฟอย โดยครัวเรือนมีการออม และทําบัญชีรายรับ รายจายของครัวเรือน พรอมถายทอดและสงเสริม ใหเพือ่ นบานรูจ กั การทําบัญชีครัวเรือน เปนผูมีความคิดริเริ่ม สรางสรรค และพัฒนางานอยางตอเนือ่ งในการใชภมู ปิ ญ  ญา ชาวบานในทองถิ่นใหเกิดประโยชน โดยเขาไป เรียนรูจ ากผูส งู อายุในการปกจักรผาโพกศีรษะและ ฝกหัดทําจนทําไดดี พรอมขยายเผยแพรใหกลุม แม บ า นได ร วมตั ว กั น ทํ า เพื่ อ เป น อาชี พ เสริ ม และคอยๆ พัฒนาพัฒนาลายผาโพกศีรษะแบบ ดัง้ เดิมมาเพิม่ ลายดอกไมและวิธกี ารปกเลือ่ มลาย ตาง ๆ ใหตรงกับความตองการของตลาดทัง้ ในและตางประเทศ รวมทัง้ พัฒนาทําขนมพืน้ บานให เปนรายไดเสริมของชุมชนอีกทางหนึง่ ดวย ความรู เปนผูใฝหาความรูอยูเสมอโดยการ เขารับการฝกอบรมในหลักสูตรตางๆ ที่สวน ราชการจัดขึ้นเชน หลักสูตรการมีสวนรวมของ ประชาชนในการปองกันการทุจริต หลักสูตรการ จั ด ทํ า แผนธุ ร กิ จ ชุ ม ชน โครงการเสริ ม สร า ง ผูป ระกอบการจังหวัดชายแดนภาคใต โครงการ พั ฒ นาศั ก ยภาพผู ป ระกอบการ OTOP เป น การพั ฒ นาตนเองและนํ า ความรู ใ นหลั ก สู ต ร ตาง ๆ มาประยุกตใชในการขยายผลใหกบั เพือ่ น บานเพือ่ พัฒนาผลิตภัณฑของกลุม ใหมคี ณ ุ ภาพ คุณธรรม เปนคนมีเมตตา และคุณธรรม เชน เปน อสม.ดูแลคนปวย และผูส งู อายุ โดยหมัน่ ไป เยี่ยมเยียนพูดคุยใหกําลังใจ และใชเงินสวนตัว ชวยเหลือในรายทีป่ ระสบความลําบาก ยากแคน

๑๓


ใหการแบงปนและขยายผลสูช มุ ชนอืน่ ๆ และผูส นใจทัว่ ไป โดยรับเปนสถานทีด่ งู าน และเปนวิทยากรบรรยาย และถายทอดความรูใ นการทําอาชีพเสริมโดยไมไดรบั ผลตอบแทนใด ๆ พัฒนาตนเองจนเปนคนที่มีบุคลิกดี แตงกายสวยงามเปนการอนุรักษการแตงกาย ตามประเพณีของชาวมุสลิม มีผสู บื ทอดอาชีพของตนในอนาคต โดยมีลกู สาว ๒ คน กําลังศึกษาอยูท มี่ หาวิทยาลัย สถาบันราชภัฏบานสมเด็จ ปที่ ๔ กรุงเทพฯ และโรงเรียนบางนรา จังหวัดนราธิวาส พรอมสราง ผูน าํ สตรีรนุ ตอไปเพือ่ ชวยกันดูแลกิจการ

ผลสําเร็จจากการประยุกตใชปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีครอบครัวทีอ่ บอุน มีความสุข และมีฐานะมัน่ คง เปนทีร่ กั และไววางใจของคนในชุมชน รวมทั้งสวนราชการใหความไววางใจ และพรอมใหความชวยเหลือในทุกเรื่องที่คุณคอสหมะ แลแมแน ประสานไป

๑๔


จุดเดน ครอบครัวมีความสุข และมีฐานะมัน่ คง เปนทีร่ กั และไววางใจของคนในชุมชน อยูใ นพืน้ ทีห่ า งไกล มีความเสีย่ งภัยสูง และกลาเสียสละทํางานชวยเหลือชาวบานในชุมชน เปนคนมีความรูด ี และประยุกตใชความรูใ หเกิดประโยชนกบั ครอบครัวในการวางแผนการ ใชจา ยของครอบครัว และแบงปนใหชมุ ชน โดยสอนใหแมบา นรูจ กั อดออม ทําบัญชีครัวเรือน และ นําไปใชในการบริหารจัดการกลุม แมบา นปกจักรผาโพกศีรษะ กลุม แมบา นทําขนม โดยการศึกษา ความตองการของตลาดทัง้ ในและตางประเทศ และพัฒนาสินคาใหมคี ณ ุ ภาพดี พรอมจัดทําบัญชีรายรับ รายจาย ของกลุม เพือ่ ใหเกิดความโปรงใส และชวยใหกลุม แมบา นมีรายได ฐานะมัน่ คง เปนคนมีเมตตา และคุณธรรม เชนเปน อสม.ดูแลคนปวย และผูส งู อายุ โดยหมัน่ ไป เยีย่ มเยียนพูดคุยใหกาํ ลังใจ และใชเงินสวนตัวชวยเหลือในรายทีป่ ระสบความลําบาก ยากจน เปนคนทีม่ คี วามคิดริเริม่ สรางสรรคผลงานใหเปนประโยชนกบั ตนเอง และ ผูอ นื่ อยูเ สมอ โดยนําภูมปิ ญ  ญาชาวบานมาพัฒนาลายผาโพกศีรษะแบบดัง้ เดิมมาเพิม่ ลายดอกไมและวิธกี ารปกเลือ่ ม ลายตาง ๆ ใหตรงกับความตองการของตลาดทั้งในและตางประเทศ และเปนสินคา OTOP ระดับ ๔ ดาว และออกแบบผลิตภัณฑใสขนมของกลุม แมบา นไดสวยงาม นาซือ้ แทนการใชผลิตภัณฑ ของกรมการพัฒนาชุมชนทีอ่ อกแบบให

๑๕


ประเภท : ประชาชนทัว่ ไป ประเภท : ประชาชนทัว่ ไป ชือ่ : นายสมพงษ พรผล อายุ : ๗๒ ป การศึกษา : ประถมศึกษาปที่ ๔ ทีอ่ ยู : ๕๕/๑ หมู ๒ บานทาอยู ตําบลทาอยู อําเภอตะกัว่ ทุง จังหวัดพังงา ๘๒๑๓๐ โทรศัพท ๐๘ - ๙๕๙๓ - ๘๑๙๓

ประวัติ / ความเปนมา

๑๖

นายสมพงษ พรผล ไดกอ รางสรางตัวโดยยึดอาชีพทํานา สวนยางพารา ไมผลและพืชหมุนเวียน พืชผักสวนครัว เลีย้ งปลา เปด เปนอาหารลดรายจายในครัวเรือน และนําผลผลิตทีเ่ หลือไปขายใน ตลาดชุมชน มุง มัน่ สงลูกทุกคนไดเรียนหนังสือจนจบปริญญา (ตรี โท) และมีงานทีด่ ใี นสังคมถึง ๕ คน ปจจุบนั มีฐานะมัน่ คง เปนครอบครัวที่ อบอุน เปนแบบอยางทีด่ แี กครอบครัวอืน่ ในชุมชน และเปนทีเ่ คารพ ศรัทธาของญาติพนี่ อ งและชาวบานในละแวกนัน้ โดยในอดีตเคยบวช เรียนมาตัง้ แตเด็กจนกระทัง่ ไดรบั การบรรพชาเปนพระ เมือ่ ลาสิกขาบท และแตงงานแลวจึงนําธรรมมาปรับใชในการดําเนินชีวติ ตลอดมา เปนผูที่เขาใจและนําหลักธรรมมาปรับใชในการดําเนิน ชีวติ และครอบครัวไดอยางลึกซึง้ โดยยึดหลักทางสายกลาง เปนผูท ปี่ ระพฤติปฏิบตั ติ นตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงอยางตอเนือ่ งตัง้ แตหนุม จนถึงปจจุบนั และเปนแบบอยางของ คนในครอบครัว และผูอ นื่ ในชุมชน เปนผูนําทางปญญาที่สรางแรงบันดาลใจใหชุมชนลุก ขึน้ มาเรียนรูแ ละคนหาทางออกเพือ่ ใหพงึ่ พาตนเองจนสรางความเขม แข็งใหชมุ ชน โดยใชทรัพยากรทีม่ อี ยูใ นชุมชนรวมกลุม เกษตรกรทําสวน ยางทาอยูข นึ้ จนปจจุบนั สามารถผลิตยางแผนทีม่ คี ณ ุ ภาพดีชนั้ ๑ เปน ทีต่ อ งการของตลาด จนชุมชนสามารถกําหนดราคายางแผนไดเอง เปนผูเ สียสละดวยจิตสาธารณะ เสียสละพืน้ ทีใ่ นแปลงทํา กินใหจดั ตัง้ โรงงานของกลุม เกษตรกรเพือ่ ผลิตยางแผนคุณภาพดี ชัน้ ๑ และจัดตัง้ ศูนยเรียนรูข องชุมชนเพือ่ ถายทอดเทคโนโลยีการเกษตร


เปนผูนําการจัดตั้งธนาคารหมูบาน และการรวมกลุมทําผลิตภัณฑจากเศษยางพารา และใบยางจนสามารถสรางมูลคาเพิม่ โดยใชทรัพยากรในชุมชน เชน ตุก ตา เตา อุปกรณทางการแพทย เปนทีน่ ยิ มจนเปนสินคา OTOP ของจังหวัด ทําใหกลุม เกษตรกรเปนองคกรทีเ่ ขมแข็ง

การประยุกตใชปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

ความพอประมาณ สรางฐานะในครอบครัวจนมีความมัน่ คง โดยใชหลักในการทํางานวาจะตองขยันหมัน่ เพียร อดทน ทํางานใหมรี ายไดอยางนอยก็พอเลีย้ งตัวเองและครอบครัวได มีการทําบัญชีครัวเรือนและ เมือ่ ตัวเองพอมีกนิ ในระดับหนึง่ ก็คาํ นึงถึงความพอประมาณในการบริโภค สวนทีเ่ กินพอ ก็เอือ้ เฟอ แบงปนใหกบั สังคม และผูท ยี่ งั ขาดแคลนในดานตางๆ หรือดอยโอกาส และเปนทีย่ อมรับวาเปน ผูน าํ ทางปญญาทีส่ รางแรงบันดาลใจใหชมุ ชนลุกขึน้ มาเรียนรูแ ละคนหาทางออกเพือ่ ใหพงึ่ พาตนเอง จนสรางความเขมแข็งได ทําใหชุมชนมีการรวม กลุมเกษตรกรทําสวนยางทาอยูขึ้น จนปจจุบัน สามารถผลิตยางแผนทีม่ คี ณ ุ ภาพดี เปนทีต่ อ งการ ของตลาด สามารถกําหนดราคายางแผนไดดี ความมีเหตุผล เป น ผู ที่ มี ค วามคิ ด อย า งเป น ระบบ และมีการวางแผนในทุกเรือ่ ง เชน ดานลงทุนใน การประกอบอาชีพ โดยจะจัดสรรเงินไวลว งหนาใน ดานรายจายในการลงทุน และเงินรายรับทีห่ กั คา ใชจายแลวคงเหลือเปนเงินออมตอป โดยมีการ หารือกับบุคลในครอบครัวในการที่จะนําเงินราบ รับไปใชจา ยในสิง่ ใด ตอไป ภูมคิ มุ กัน รู จั ก ออมและใช จ า ยโดยทํ า บั ญ ชี ครัวเรือน มีการวางแผนการลงทุนแตละปและ รวมปรึกษาหารือกับคนในครัวเรือน

๑๗


เปนผูน าํ ชุมชนรวม กลุม เกษตรกรทํา สวนยางทาอยู ขึ้นจนปจจุบันสามารถผลิตยาง แผนคุณภาพดี ชัน้ ๑ เปนทีต่ อ งการของตลาด เปนผูนําในการจัดตั้ง ธนาคารหมู บาน เพื่อระดมเงินทุน เปนการอํานวยความ สะดวกใหเกษตรกรฝากเงินภายหลังจากขาย ยางพารา เปนการฝกการออมเงินใหคนในชุมชน เป น ผู นํ า ทางความคิ ด ในการทํ า ผลิตภัณฑจากเศษยางพารา ใบยางพารา เชน ตุก ตา เตา อุปกรณทางการแพทยเพือ่ สรางมูลคา เพิม่ ใหกบั ทรัพยากรในชุมชนเปนการสรางอาชีพ เสริมในชุมชนและเปนผลิตภัณฑสินคา OTOP ทีไ่ ดความนิยม ความรู มี ก ารพั ฒ นาแสวงหาความรู เข า ร ว มประชุ ม อบรม สั ม นาต า งๆ อ า นหนั ง สื อ ดูวดี ทิ ศั น เมือ่ ไดแนวทางและศึกษาวิธกี ารจน เขาใจ มีการเก็บขอมูลเปนแฟมเอกสาร เปนคนทีม่ คี วามรอบรู และชางสังเกตในการทําสวนยาง เชน การใหปยุ โดย ขุดหลุมใส ปุย ไวระหวางตนยาง ๔ ตน เพือ่ ใหรากของตนยางสามารถดึงปุย ไปใชได โดยไมตอ งเสียเวลาใหที ละตน เปนการประหยัดแรงงาน และเวลา และมีการนับน้าํ ยางตอตนทํา ใหสามารถคํานวณผลผลิต ตอตนของยางพาราไดถกู ตอง สามารถขยายผลถายทอดความรู ใหผอู นื่ ไดดโี ดยรับเปนวิทยากรบรรยายใหแก นักเรียน/ นักศึกษา/ผูท สี่ นใจศึกษา

๑๘


คุณธรรม เปนผูนําทางความคิดในการนําปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใชในการประกอบ อาชีพ และเปนตัวอยางทีด่ แี กเพือ่ นบาน พรอมใหขอ เสนอแนะพระใหเทศนาเรือ่ งปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงดวยเพือ่ ใหคนในชุมชนรูจ กั การใชจา ยของตนเองอยางมีสติ และรอบคอบ เปดรานคาสวัสดิการใหสมาชิกเกษตรกร ในการจําหนายวัสดุอปุ กรณการเกษตรในราคา ทีถ่ กู กวาทองตลาด และมีการทําบัญชีเพือ่ ความโปรงใส ยุตธิ รรม รูจ กั แบงปนและชวยเหลือสังคม เชนใหทนุ การศึกษาแกเด็กทุกป อุทศิ ตนชวยเหลืองาน ดานตาง ๆ ทัง้ ของหนวยงานภาครัฐ และสมาคมตาง ๆ ทีเ่ ปนประโยชนตอ ชุมชน โดยไมรบั ผลตอบ แทนใด ๆ มีความเสียสละใหจดั ตัง้ โรงงานผลิต ยางแผนคุณภาพดี ชัน้ ๑ ของชุมชน ในพืน้ ทีท่ าํ กินของตนเอง เพื่อใหสมาชิกกลุมเกษตรกรทํา สวนยางทาอยูน าํ น้าํ ยางมาทํารวมกัน ตัง้ แตการ ผสมน้าํ ยาง การรีดยางแผน และตากยางใหแหง ทําใหสามารถกําหนดคุณภาพเกรดของยางไดดี พรอมเปดตลาดประมูลยางพารา ทําใหเกษตรกร ไดราคาสูง ใหจัดตั้ง ศูนยเรียนรูของชุมชนใน พื้นที่ทํากินของตนเองเพื่อ เปนแหลงถายทอด เทคโนโลยีทางการเกษตรของชุมชนและรับเปน วิทยากรบรรยาย ใหการอบรมสําหรับผูที่สนใจ ดวยความ ทุม เท มีผูสืบทอดอาชีพของตนในอนาคต โดยลู ก ทุ ก คนมี ก ารศึ ก ษาดี (ปริ ญ ญาตรี ปริญญาโท) และประกอบอาชีพทีดีในสังคมแต ยังคงทําอาชีพการเกษตรและชวยเหลือกิจกรรม ดานสังคมของบิดาควบคูไ ปดวย

๑๙


ผลสําเร็จจากการประยุกตใชปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีครอบครัวทีอ่ บอุน มีฐานะมัน่ คง เปนทีร่ กั และเคารพศรัทธาของคนในชุมชนตําบลทาอยู เปนผูน าํ ในการจัดตัง้ กลุม เกษตรกรทําสวนยางทาอยู ทําใหสามารถผลิตยางแผนคุณภาพดี ชัน้ ๑ ทําใหชมุ ชนสามารถกําหนดราคายางแผนไดเอง จึงมีรายไดดี และมีการตัง้ กลุม ออมทรัพยทเี่ ขมแข็ง ชวยใหคนในชุมชนมีการใชจา ยเงินอยางมีระเบียบแบบแผน โดยทําตัวเปนตนแบบทีด่ ตี ลอดมา จุดเดน มีครอบครัวทีอ่ บอุน สรางฐานะจากความยากจน ปจจุบนั มีฐานะมัน่ คง และประสบความ สําเร็จในการเลีย้ งดูลกู จนจบปริญญาตรี โท และประกอบอาชีพทีด่ ใี นสังคม และชวยเหลือสังคมตาม แนวทางการประพฤติปฏิบตั ติ นของบิดา เปนคนดี บุคคลตนแบบของชุมชนในการประพฤติปฏิบัติตัวตามแนวของปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงโดยนําหลักธรรมของมัชฌิมาปฏิปทา(ทางสายกลาง)มาปรับใชในการดําเนินชีวติ และครอบครัวไดอยางลึกซึง้ เปนผูเ สียสละ รักคนในชุมชน ดวยจิตใจแหงการใหอยางแทจริง เชน เสียสละใหพนื้ ที่ ทํากินจัดตัง้ โรงงานผลิตยางแผนคุณภาพดี ชัน้ ๑ พรอมกับเปนสถานทีป่ ระมูลราคายางแผนของ ชุมชน และศูนยเรียนรูข องชุมชน ในพืน้ ทีข่ องตนเอง พรอมทัง้ รับเปนวิทยากรบรรยาย ใหการอบรม สําหรับผูท สี่ นใจดวยความทุม เท เปนผูนําทางปญญาที่สรางแรงบันดาลใจใหชุมชนลุกขึ้นมาเรียนรูและคนหาทางออก เพือ่ ใหพงึ่ พาตนเองจนสรางความเขมแข็งใหชมุ ชนรวมกลุม เกษตรกรทําสวนยางทาอยู ขึน้ จนปจจุบนั สามารถผลิตยางแผนคุณภาพดีเปนทีต่ อ งการของตลาด เปนผูน าํ ในการจัดตัง้ ธนาคารหมูบ า น เพือ่ ระดมเงินทุน และเปนการอํานวยความสะดวก ใหเกษตรกรฝากเงินภายหลังจากขายยางพารา เปนการฝกการออมเงินใหคนในชุมชน เปนผูน าํ ภูมปิ ญ  ญาทองถิน่ มาใชใหเกิดประโยชนแกชมุ ชน ในการจัดตัง้ กลุม ทําผลิตภัณฑ จากเศษยางพาราใหเกิดมูลคาเพิม่ เชน ตุก ตายาง อุปกรณทางการแพทย ฯลฯ เปนสินคา OTOP ของจังหวัดพังงา

๒๐


ประเภท : ชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง ชือ่ : ชุมชนบานดอกบัว ทีอ่ ยู : เลขที่ ๙๒๐ หมูท ี่ ๔ บานบัว ตําบลบานตุน อําเภอเมือง จังหวัดพะเยา ๕๖๐๐๐ ผูต ดิ ตอประสานงาน : นายบาล บุญก้าํ ผูใ หญบา นหมู ๔ โทรศัพท ๐-๕๔๔๒-๓๐๔๐, ๐๘-๙๕๖๐-๐๔๒๕ โทรสาร ๐-๕๔๔๘-๑๒๗๓

ความเปนมา บานดอกบัว (บานบัว) แตเดิมเปนปา มีปตู บิ๊ กับยาสมนา สองผัวเมีย และมีบา นปูอ กี คนไมทราบชือ่ โดยเริม่ แรกมีบา นอยูส อง หลังเทานัน้ ปูต บิ๊ กับยาสมนา เปนคนบานตุน กลางประกอบอาชีพทํา ไรทําสวนเลี้ยงสัตว เห็นพื้นที่ปาแหงนี้มีความอุดมสมบูรณเหมาะ กับการประกอบอาชีพจึงยายเขามาอยูเ ปนคนแรก ปูบ วั ก็ไดตดิ ตามมา อยูด ว ย จนตอนเชาของวันหนึง่ ปูบ วั ซึง่ เปนคนเคีย้ วหมากไดลงไปเก็บ ใบพลู อยู ๆ ก็มเี สือมาตะครุบและกัดปูบ วั จนตาย ณ ทีน่ นั้ ชาวบาน จึงตัง้ ชือ่ วา บานบัว (ดอกบัว) มาจนทุกวันนี้ ปจจุบนั บานดอกบัวมีประชากร ๗๖๓ คน จํานวน ๒๑๕ ครัวเรือน แยกเปนชาย ๓๗๙ คน หญิง ๓๘๗ คน สวนใหญประกอบ อาชีพดานการเกษตรกรรม เชน ทํานา ทําสวน ปลูกหญา เลีย้ งสัตว และอาชีพหัตกรรมจักสานเขงไมไผเปนอาชีพทีท่ าํ ใหประชากรในหมู บานมีรายไดมาก มีผลิตภัณฑเดนของหมูบ า น ไดแก ขาว หญาแพง โกลา ผลิตภัณฑจากไมไผ(เขง) ผลิตภัณฑจากผักตบชวา เปนตน อาชีพหลักของชาวบาน คือ การทํานา สําหรับนอก ฤดูกาลทํานา ชาวบานบัวไดใชเวลาวางประกอบอาชีพเสริมซึ่ง สอดคลองกับวิถชี วี ติ และทรัพยากรในทองถิน่ โดยใชตน ไผทเี่ กิดขึน้ เอง ตามธรรมชาติมาทําสุม ไก เขง ออกจําหนาย ตอมาชาวบานนิยมสาน เขง สุม ไกกนั มากขึน้ ทําใหขายไดไมมากเทาทีค่ วร จึงไดมแี นวคิดใน การรวมกลุม กันเปนกลุม จักสานเขงขึน้ ซึง่ ชวยสรางรายไดเสริมใหกบั ชาวบานบัวเปนอยางดี มาประมาณ ๒๐ กวาปแลว โดยมีตลาด รองรับที่แนนอน ออกจําหนายแพรหลายทั้งภายในจังหวัดและ ตางจังหวัด ๒๑


การประยุกตใชปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ความพอประมาณ ไดมกี ารวิเคราะหถงึ ศักยภาพชุมชมและประชาชน อีกทัง้ ทรัพยากรทีม่ อี ยูใ นชุมชนทีไ่ ดนาํ มาใชพฒ ั นาชุมชนและไดมกี ารทดแทนกลับคืนใหกบั ชุมชน โดยยึดหลักความพอดี ไมมากไมนอ ยเกิน ไป ไมเบียดเบียนตัวเองและผูอ นื่ ในชุมชน ความมีเหตุผล รวมกันศึกษาวิเคราะหสภาพเศรษฐกิจสังคมและทรัพยากรของชุมชนดวยเหตุผลและ ความรู ความเขาใจ แลวจึงตัดสินใจนําไปใชในการทําแผนพัฒนาชุมชน สมาชิกในชุมชนมีการลงทุน ในการดําเนินกิจกรรมรวมกันดวยความมีเหตุผล โดยพิจารณาจากปจจัยทีเ่ กีย่ วของ มีการวางแผน รูจ กั แยกแยะปญหา อุปสรรค ตลอดจนคํานึงถึงผลทีค่ าดวาจะเกิดขึน้ จากการกระทําเหลานัน้ ภูมคิ มุ กัน มี ก ารเตรี ย มความพร อ มรั บ ผล กระทบจากความเปลีย่ นแปลงตาง ๆ ทีจ่ ะเกิดขึน้ โดยทุกครัวเรือนมีการวางแผนการใชจา ย จัดทํา บัญชีครัวเรือน ประหยัดและเก็บออม โดยเฉพาะ ชุมชนสามารถพึ่งตนเองไดโดยการรวมกลุมและ มี ก ารจั ด ตั้ ง องค ก รช ว ยเหลื อ คนในชุ ม ชนยาม เดือดรอน เชนกองทุนหมูบาน โครงการแกไข ปญหาความยากจน เปนตน มีการจัดการทรัพยากร และสิง่ แวดลอมอยางฉลาดและรอบคอบทีส่ ามารถ จะชวยลดภาวะโลกรอน ไดแก การผลิตแกส ชีวภาพใชเอง การปลูกปาชุมชน การจัดการขยะ โดยการแยกขยะ รณรงคลดการใชถุงพลาสติก และมี ก ารออกกํ า ลั ง กายเพื่ อ สร า งภู มิ คุ ม กั น ใหรา งกาย

๒๒


ความรู มีการนําหลักวิชาการตาง ๆ มาใชในการวางแผนประกอบอาชีพ ดําเนินกิจกรรมของ ชุมชน โดยผูน าํ ชุมชนเขารวมฝกอบรมพัฒนาความรูต า ง ๆ ทีม่ ปี ระโยชนสาํ หรับการประกอบอาชีพ จากหนวยงานราชการเพือ่ เปนแนวทางในการดําเนินชีวติ และนําความรูท ไี่ ดมาถายทอดใหกบั สมาชิก ทุกคน โดยมีศนู ยเรียนรูช มุ ชนเปนแหลงศึกษาดูงานของทุกคนและบุคคลทัว่ ไป ไดแก การทําจุลนิ ทรีย จากหนอกลวย และผูน าํ ในหมูบ า นรณรงคใหครัวเรือนมีการผลิตและใชปยุ หมัก ปุย ชีวภาพ เนือ่ งจาก บานบัวมีการเลีย้ งสัตว(โค) มาก เพือ่ ลดตนทุนการผลิตและชวยในการรักษาคุณภาพดิน ทําใหลด รายจายจากการซือ้ ปุย เคมีไดปล ะ ๕,๐๐๐ บาท คุณธรรม มีการใหความรวมมือและชวยเหลือ กันภายในชุมชน ไดแก มีเครือขายรวมมือชวย เหลือแบงปนกัน จัดกิจกรรมเสริมสรางความ อบอุน ในครอบครัว เชน กิจกรรมวันสําคัญทาง ศาสนา กิจกรรมแขงขันกีฬาในหมูบ า นทุกป มี การสงเสริมและพัฒนาวัดหรือศาสนสถานหรือ แหลงเรียนรูท างคุณธรรมจริยธรรม โดยใชแนว ทางการสงเสริมความรูค คู ณ ุ ธรรม มีอาสาสมัคร ที่ทํางานชวยเหลือสวนรวมดวยจิตอาสาโดยไม หวังคาตอบแทน เชน กลุม สตรี แมบา น กลุม อสม. ชรบ. สตบ. อปพร. กลุม ผูส งู อายุ ฯลฯ เพือ่ ใหโครงการนีเ้ ปนตนแบบในการขยายผลใน การดําเนินงานตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอ เพี ย งได อ ย า งเป น รู ป ธรรม และที่ แ สดงถึ ง คุณธรรมชัดเจนก็คอื การงดเหลางานศพ ซึง่ ถือ เปนกฎเครงครัดภายในชุมชน

๒๓


ผลสําเร็จจากการประยุกตใชปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ชุมชนไดรบั การคัดเลือกจากหนวยราชการทัง้ รับเงินรางวัลและโลเกียรติยศ ดังนี้ พัฒนากร ผูป ระสานตําบลไดคดั เลือกบานบัวเปนหมูบ า นหลักนักพัฒนา หมูบ า นพึง่ ตนเอง และยังอยูภ ายในการ ปกครองของกํานันดีเดนป ๒๕๕๑ เปนหมูบ า นทีผ่ า นระบบ มชช. ป ๒๕๕๑ โดยมีนายบาล บุญก้าํ เปนผูใ หญบา น และมีผลงานเดน คือ บานดอกบัว เปนหมูบ า นทีช่ นะเลิศตามโครงการเชิดชูเกียรติ ผูนําเครือขายพัฒนาชุมชนดีเดน เปนหมูบานเศรษฐกิจพอเพียง "อยูเย็น เปนสุข" และชนะเลิศ หมูบ า นพึง่ ตนเอง ระดับจังหวัดพะเยา ในป ๒๕๕๑ และผูใ หญบา นไดรบั คัดเลือกเปนผูใ หญบา น ดีเดนประจําป ๒๕๕๑ อีกทั้งกลุมจักสานเขง ไดรับรางวัลรองชนะเลิศประเภทกลุมอาชีพดีเดน ตามโครงการเชิดชูเกียรติผนู าํ เครือขายพัฒนาชุมชนดีเดน เปนหมูบ า นเศรษฐกิจพอเพียง "อยูเ ย็น เปนสุข" ประจําป ๒๕๕๑ และในป ๒๕๕๒ บานบัวเปนหมูบ า นทีไ่ ดรบั การคัดเลือกเปนหมูบ า นเศรษฐกิจ พอเพียงตนแบบ ระดับ "มัง่ มี ศรีสขุ " ตัวอยางจังหวัดพะเยา

๒๔


จุดเดน มีคณะผูน าํ ชุมชนทีม่ คี วามรูค วามสามารถและมีความพยายามสรางผูน าํ รุน ใหมมาทดแทน สงเสริมพัฒนาเยาวชน กิจกรรมวัฒนธรรม ดนตรีพนื้ เมือง คนในชุมชนมีสว นรวมสูง มีประชาคมสม่าํ เสมอ ทําโครงการบานนาอยู ถนนนามองทุก สิน้ เดือน โดยไมตอ งนัดหมาย มีอาสาสมัครหลายกลุม อาทิ ชรบ. สตบ. อปพร. อสม. ผูส งู อายุ อาสาพัฒนาชุมชน และหมอดิน เปนตน นําทรัพยากรทีม่ อี ยูใ นทองถิน่ มาใชประโยชนเปนอาชีพเสริม ไดแก การจักสานจากไมไผ ทําใหเกือบทุกครัวเรือนมีรายไดเพิม่ ขึน้ ชุมชนรักษากฎกติกาเครงครัด มีการผลิตไบโอแกส (Biogas) เพือ่ ใชเปนเชือ้ เพลิงในครัวเรือนเกือบทุกบาน มีกจิ กรรมเรียนรูส รางอาชีพใหม สงเสริมการใชแรงงานวัวแทนเครือ่ งจักร กลุม ปุย หมัก เลีย้ งไกพนื้ เมือง อนุรกั ษทรัพยากรและสิง่ แวดลอม สรางฝาย ปลูกไผเลีย้ ง หามจับลูกอ็อด แยกขยะ คุณธรรมชุมชน งดเหลางานศพ ชุมชนเขมแข็ง หนีย้ งั ไมลด แตมคี วามสามารถใชหนีต้ รงเวลา ไมมคี นในชุมชนออกไป หางานทํานอกชุมชน

๒๕


ประเภท : เกษตรทฤษฏีใหม่ ชือ่ : นางเปรียวจันทร ตะตนยาง ทีอ่ ยู : ๑๑๙ หมู ๙ บานสันทราย ตําบลเชียงเคีย่ น อําเภอเทิง จังหวัดเชียงราย ๕๗๒๓๐ โทรศัพท ๐๘-๑๗๐๖-๙๖๘๗ โทรสาร ๐-๕๓๗๑-๘๙๗๐

ประวัติ/ความเปนมา นางเปรียวจันทร ตะตนยาง อายุ ๔๓ ป สมาชิกใน ครอบครัวมี ๕ คน สมรสกับนายกุศล ตะตนยาง อายุ ๕๗ ป ขาราชการบํานาญ(ครู) ขณะนีก้ าํ ลังศึกษาอยูท ี่ ม.สุโขทัยธรรม มาธิราช ดานสงเสริมการเกษตร นางเปรียวจันทร ตะตนยาง เริม่ ทําเกษตรทฤษฎีใหม เมือ่ ป ๒๕๔๒ ดวยแรงงานของคนใน ครอบครัว ๕ คนและจางคนงานอีก ๕ คน บนพืน้ ที่ ๒๓ ไร แบง เปนทีพ่ กั อาศัยและโรงเรือน ๓ ไร นาขาว ๑ ไร สระน้าํ ๓ ไร ปลูกไมผล ๖ ไร ปลูก พืชผัก ๗ ไร และปาไมใชสอย ๓ ไร เนื่องจากเคยทําการเกษตรเชิงเดี่ยวมาแลวหลายอยางแตไม ประสบผลสําเร็จซื้อทั้งเมล็ดพันธุ สารเคมี และสุขภาพแยลง เนื่องจากใชสารเคมีจํานวนมากจึงเปลี่ยนมาทําการเกษตรแบบ ผสมผสาน เลิกใชสารเคมี ทําเกษตรทฤษฎีใหมและนอมนําแนว พระราชดําริของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั มาปรับใชในการ ทํางานใชภมู ปิ ญ  ญาทองถิน่ ทรัพยากรธรรมชาติ และเทคนิคทาง การเกษตรในแบบตาง ๆ มาผสมผสานกันอยางลงตัว มีความรูความสามารถและพัฒนาตนเองและผูอื่น ใหสามารถ ดําเนินกิจกรรมไดอยางถูกตองและเหมาะสม สามารถดํ า เนิ น ชี วิ ต ตนเองและครอบครั ว ให มี ความพอเพียง อยูในศีลธรรมอันดีงาม และสามารถดํารง ชีวติ อยูไ ดอยางมีความสุข

๒๖


การดําเนินชีวิตตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ความพอประมาณ ทําเกษตรทฤษฎีใหมบนพืน้ ที่ ๒๓ ไร ทีเ่ ปนมรดกจากบิดา ใชแรงงานจากครอบครัว ๕ คน ลดการใชจา ยทีไ่ มจาํ เปน เพิม่ รายไดจากการขายผักพึง่ ตนเองใหไดมากทีส่ ดุ ใชเวลาใหเปนประโยชน ความมีเหตุผล ตระหนั ก ว า เกษตรกรหากเดิ น ทางวิ ถี แ ห ง ความ พอเพียงแลวจะอยูรอดได เรียนรูจากประสบการณของ ตัวเองแลวรูส กึ ไดวา ตอนนีพ้ ออยู พอกิน จะสามารถอยูไ ด อยางยัง่ ยืน สามารถนําไปสอนใหผอู นื่ ตอไป ภูมิคุมกัน ลดคาใชจา ยจากปจจัยภายนอก ปลูกไมยนื ตนทีใ่ ชประโยชนในระยะยาว มีการออม เพือ่ ไวใชยามแก เลือกปลูกผักพืน้ บานทีส่ ามารถรับ ประทานเองและขายไดในทองถิน่ มีแหลงน้าํ สํารองตลอดเวลา ศึกษาหาความรูอ ยูต ลอดเวลา

๒๗


ความรูค คู ณ ุ ธรรม มีการศึกษาหาความรูจ ากภายนอก รวมแกไขปญหาและอุปสรรครวมกัน ยึดหลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั ครองตนและครอบครัวอยูใ นศีลธรรมอันดีงาม มีศนู ยเรียนรูเ พือ่ สนับสนุนชุมชน ครอบครัวอบอุน / เขมแข็ง สมาชิกครอบครัวมี ๕ คน ลูกคนโตเรียนจบ ป.ตรี ดานโรคพืช จาก มช. เพือ่ มารองรับการทํางานของครอบครัว สมาชิกในครอบครัวทุกคนเอือ้ อาทรตอกันและชวยกันทํางานเปนอยางดี

๒๘


ประเภท : กลุม เกษตรทฤษฎีใหม ชื่อ : กลุม เกษตรกรทําสวนบานถ้าํ ประธานกลุม : นายอินทวน เครือบุญ ทีอ่ ยู : เลขที่ ๒๖๒ หมูท ี่ ๕ ตําบลบานถ้าํ อําเภอดอกคําใต จังหวัดพะเยา โทร. ๐๘-๑๐๒๓-๘๓๕๐

ความเปนมา กลุม เกษตรกรทําสวนบานถ้าํ จัดตัง้ เมือ่ วันที่ ๑๑ มี น าคม ๒๕๔๒ และได จ ดทะเบี ย นเป น นิ ติ บุ ค คล เมือ่ ป ๒๕๔๗ปจจุบนั มีสมาชิก ๑๓๙ ราย ทําเกษตรทฤษฎี ใหม จํานวน ๖๐ ราย ทีเ่ หลืออีก ๗๙ ราย ทําการเกษตร แบบผสมผสานมีอาคารสํานักงานและที่ดินเปนของกลุม รวมกลุม ผลิตปุย อินทรีย ขาวกลองอินทรีย ปลอยสิน เชื่อใหสมาชิกกูยืม คิดอัตราดอกเบี้ยต่ํา เพื่อชวยเหลือ สมาชิ ก ให มี ค วามเป น อยู ที่ ดี ขึ้ น และพึ่ ง ตนเองได สําหรับการบริหารกลุม ครบถวนทัง้ ๕ ก ไดแก กรรมการ กิ จ กรรม กองทุ น กติ ก า การจั ด การและได น อ มนํ า ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใชบริหารจัดการไดเปนอยางดี นอกจากนั้น ยังไดรับรางวัลกลุมเกษตรกรดีเดนระดับ ประเทศในโครงการขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง จังหวัดพะเยา ป ๒๕๕๑

การดําเนินชีวิตตามปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง ความพอประมาณ การดําเนินธุรกิจตามศักยภาพของกลุม มีการตรวจสอบการใชเงินกู และความตองการ ของสมาชิก ควบคุมคาใชจา ยในการดําเนินงานของกลุม

๒๙


ความมีเหตุผล มี ก ารวางแผนการดํ า เนิ น งานที่ ดี ประมาณการรายรั บ รายจ า ย อย า งสมเหตุ สมผลแบงหนาที่ความรับผิดชอบ ของคณะกรรมการเพื่อกระจายอํานาจ เพื่อความโปรงใส ตรวจสอบได

๓๐


ภูมิคุมกัน การถือหุน เพิม่ รายปของสมาชิก เพือ่ เพิม่ ทุน การระดมเงินฝากทุกฝาก (สัจจะออมทรัพย) การจัดสรรกําไรสุทธิเปนเงินสํารองไมนอ ยกวารอยละ ๔๐ ของกําไรสุทธิ ความรูค คู ณ ุ ธรรม มีการอบรมแกสมาชิกเปนประจําทุกเดือน มีการฝกอบรมดานพัฒนาอาชีพการเกษตรเปนครัง้ คราว จากหนวยงานราชการตาง ๆ มีกองทุนสงเคราะหชว ยเหลือสมาชิกและครอบครัวกรณีเสียชีวติ มีกองทุนชวยเหลือ สนับสนุนกิจกรรมของชุมชน เชน วัด โรงเรียน และอืน่ ๆ ในชุมชน

๓๑


ประเภท : หนวยงาน/องคกรภาครัฐ ในสวนภูมภิ าค ชือ่ : สํานักงานเทศบาลตําบลปลายพระยา ทีอ่ ยู : ๑๒๒/๓ ถนนอาวสัก-พระแสง ตําบลปลายพระยา อําเภอปลายพระยา จังหวัดกระบี่ ๘๑๑๖๐ ผูต ดิ ตอประสานงาน : นายอํานวย สงบุตร ปลัดเทศบาลตําบลปลายพระยา โทรศัพท ๐-๗๕๖๘-๗๑๔๑ ตอ ๑๑๒ โทรสาร ๐-๗๕๖๘-๗๑๔๑ ตอ ๑๑๑ จุดเดน

๓๒

เทศบาลตําบลปลายพระยา มีประกาศเทศบาลนอมนํา หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมา กําหนดเปนนโยบายและ ยุทธศาสตรในการบริหารงานภายในองคกรครอบคลุมทุกระบบงาน และขับเคลือ่ นการพัฒนาชุมชนทุกชุมชน โดยนําหลักการทรงงาน มาใชเปนแนวทางปฏิบตั อิ ยางเปนขัน้ ตอน และเปนกระบวนการที่ เนนการมีสว นรวมจากทุกภาคสวนไมวา จะเปนภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ ภาคธุรกิจ และภาคกลุม ประชาชน โดยรวมคิด รวมวางแผน และ รวมดําเนินการอยางมีเหตุมผี ล อีกทัง้ นําหลักธรรมาภิบาลมาใชเปน เครื่องมือทางการบริหารที่เปนภูมิคุมกันที่ดีจนเกิดความเปนธรรม โปร ง ใส สุ จ ริ ต และใช ท รั พ ยากรอย า งพอประมาณ ประหยั ด คุมคาในรูปแบบภาคีรวมพัฒนาพรอมทั้งสรางความรูแกเจาหนาที่ ประชาชนและปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตอยางพอเพียง จนเปนเทศบาล ธรรมาภิบาลดีเดน อันดับหนึง่ ของกลุม จังหวัดภาคใต และสามารถ เปนองคกรตนแบบแหงความพอเพียงที่ยั่งยืน ซึ่งจะขยายผลไป สูองคกรสวนทองถิ่นและขยายผลการพัฒนาตามแนวพระราชดําริ ไปสูป ระชาชนไดอยางกวางขวาง ดานนโยบายและการจัดการองคกร เทศบาลได อ อกประกาศเทศบาลในป พ.ศ. ๒๕๕๐ นอมนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมากําหนดเปนนโยบายและ ยุทธศาสตรในการบริหารงานภายในองคกรและการพัฒนาชุมชน ใหเขมแข็ง เปนแผนระยะ ๕ ป พ.ศ. ๒๕๕๑ - ๒๕๕๕ อยางเปน กระบวนการ และเปนขัน้ ตอน


ไดนาํ หลักการทรงงาน แนวพระราชดําริ และพระราชดํารัสมาใชในการบริหารและ การพัฒนาชุมชนอยางเปนระบบ ตลอดจนนําหลักธรรมาภิบาล และการบริหารความเสีย่ งและ ระบบคุณธรรมมาใชเปนภูมคิ มุ กันองคกรไดครอบคลุมทุกระบบงานจนไดรบั รางวัลองคกรธรรมาภิบาล ดีเดนของกลุม เทศบาลจังหวัดในภาคใต สรางระบบการมีสว นรวมทัง้ ภายในองคกร และกลุม ของชุมชน ตลอดจนหนวยงาน ตาง ๆ เพือ่ รวมคิด รวมวางแผน และรวมดําเนินการอยางมีเหตุมผี ล โดยปราศจากขอขัดแยง มีการบริหารและใชทรัพยากรในองคกรอยางพอประมาณ ประหยัด และคุม คาเปน ระเบียบและสวยงาม โดยเฉพาะการปรับปรุงอาคารเกาขึน้ ใชงานและมาตรการประหยัดพลังงาน มีการจัดบริการสาธารณะแกประชาชนจากสวนบริการของภาครัฐ และรัฐวิสาหกิจใน แบบจุดเดียวเบ็ดเสร็จ และมีการใหขอ มูลขาวสารแกประชาชนอยางกวางขวางหลายชองทางโดย ศูนยขอ มูลขาวสาร มีระบบและวิธกี ารประเมินผลการปฏิบตั งิ าน และการพัฒนาชุมชนเพือ่ การทบทวนและ ปรับปรุงนโยบายการบริหารองคกรและการพัฒนาชุมชนใหเหมาะสมยิง่ ขึน้

๓๓


ดานงบประมาณและการบริหารการเงิน มีการจัดทําแผนงบประมาณแบบมีสว นรวมกับกลุม ชุมชนทุกชุมชน โดยการจัดลําดับ ตามความเดือดรอนจําเปนของชุมชนเปนหลัก ใหทกุ ชุมชนเขามีสว นรวมในการใชงบประมาณและ ดําเนินงานโครงการรวมกัน และมีการใชงบประมาณในรูปแบบภาคีรว มพัฒนาเพือ่ ลดตนทุนในการ บริหารจัดการงบประมาณ การบริหารงบประมาณเปนไปอยางถูกตองตามระเบียบราชการ และหลักธรรมาภิบาล ทีป่ ระหยัด สุจริต และโปรงใส โดยมีระบบการควบคุมและการตรวจสอบทีด่ ี มีการจัดสรรงบประมาณเพือ่ การพัฒนาคุณภาพชีวติ ของชุมชนมากกวารอยละ ๗๐ เพือ่ สรางชุมชนเขมแข็งตามหลักการทรงงาน "ระเบิดจากขางใน" โดยมีลกั ษณะการใชงบประมาณ แบบเงินทุนหมุนเวียน และการเพิม่ ทุนจากรายไดแกกลุม ชุมชนทีก่ อ ตัง้ มีการบริหารเงินนอกงบประมาณ เชน เงินรางวัลใหเกิดประโยชนตอ ชุมชน และบริหาร เงินรายไดที่เทศบาลจัดหาเองเปน เงินกองทุนสวัสดิการคนดีปลายพระยา โดยมีระเบียบบริหาร กองทุนอยางชัดเจน

๓๔


ดานพัฒนาบุคลากร มีการจัดทําแผนอัตรากําลัง ๓ ป ของเจาหนาทีใ่ หสอดคลองกับภารกิจของเทศบาล มีแผนการสรางความรูแ กเจาหนาที่ และประชาชนทีข่ าดโอกาสทัง้ ในระบบการศึกษา และนอกระบบการศึกษาโดยความรวมมือกับสถาบันการศึกษา เพือ่ ใหเจาหนาทีแ่ ละประชาชนมี ความรูเ พียงพอตอการประกอบอาชีพ ซึง่ ไดจดั ใหมศี นู ยการเรียนรูข นึ้ ในเทศบาลฯ และศูนยเรียน รูห ลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาตามแนวพระราชดําริ มีโครงการปรับเปลีย่ นวิถชี วี ติ พอเพียงแกเจาหนาที่ ทัง้ ดานสุขภาพ จิตใจตามหลัก ศาสนาการสรางความสามัคคี การลด ละ เลิกอบายมุข การประหยัดและออมทรัพยรว มกับกลุม ชุมชน และการสรางอาชีพเสริมรายได มีการประกาศกําหนดมาตรฐานทางคุณธรรมและจริยธรรมของเจาหนาที่และผูดํารง ตําแหนงทางการเมืองขึน้ ใชในเทศบาลฯ มี ก ารจั ด โครงการให เ จ า หน า ที่ แ ละชุ ม ชนร ว มกั น ทํ า ประโยชน ส าธารณะที่ ดู แ ล การจัดระเบียบทางสังคมความสะอาด และอนุรักษสิ่งแวดลอมตามโครงการ “ปลายพระยา เมืองนาอยู” มีการสรางผูนําและเจาหนาที่ตนแบบวิถีชีวิตพอเพียง พรอมทั้งมีการเชิดชูเกียรติ ทุกป

๓๕


ดานผลสัมฤทธิ์ มีนโยบายและแผนทิศทางทั้งในปจจุบัน และอนาคตในการนําหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงมาพัฒนาองคกร และพัฒนาชุมชน แบบมีสว นรวมอยางมีเหตุมผี ลตามสภาพ ปญหา ความตองการและภูมสิ งั คมของแตละชุมชนจนเกิดเปนวิถหี รือวัฒนธรรมขององคกรและ ชุมชนรวมกันในการพัฒนาทีย่ งั่ ยืน มีผลการปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตพอเพียงของเจาหนาที่และประชาชนทั้งในเชิงอาชีพ และเชิงทักษะการใชชวี ติ รวมกันเปนอยางดีในลักษณะพึง่ พาอาศัยซึง่ กันและกันจนเกิดความสมดุล สามารถเปนองคกรปกครองสวนทองถิน่ ทีเ่ ปนตนแบบแหงองคกรพอเพียงได ทัง้ ใน เชิงการบริหารงาน การบริหารงบประมาณ การพัฒนาบุคลากร ตลอดจนการพัฒนาชุมชนจน เกิดผลดี และประชาชนมีความพึงพอใจสูง อีกทัง้ มีประชาชนและองคกรตาง ๆ เขาศึกษา ดูงาน ซึง่ จะสามารถขยายผลไปสูอ งคกรทองถิน่ อืน่ ๆ ไดอยางกวางขวางทัว่ ประเทศ และขยายผลการ พัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและการพัฒนาตามแนวพระราชดําริอื่นๆ ไปสู ประชาชนไดทวั่ ประเทศ

๓๖


ประเภท : หนวยงาน/องคกรภาครัฐ ในสวนกลาง ชือ่ : ธนาคารเพือ่ การเกษตรและสหกรณการเกษตร(ธ.ก.ส) ทีอ่ ยู : ๔๖๙ ถนนนครสวรรค แขวงสวนจิตรลดา เขตดุสติ กรุงเทพฯ ๑๐๓๐๐ โทรศัพท ๐-๒๒๘๐-๐๑๘๐ โทรสาร ๐-๒๒๘๑-๖๓๗๔ จุดเดน

เป น รั ฐ วิ ส าหกิ จ ที่ ค ณะกรรมการบริ ห ารได น อ ม นําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปขับเคลือ่ นทางนโยบาย ภายในองคกรและขับเคลือ่ นทางธุรกิจทีไ่ มมงุ หวังผลกําไรสูงสุด โดย ธ.ก.ส. มีการสะสมประสบการณทางการบริหารที่ดี ๙ ประการและสามารถบริหารเงินทุนภายใตความเชื่อมั่นของ ลูกคาไดอยางมัน่ คง สุจริตและโปรงใส ตลอดจนมีการพัฒนา กําลังคนใหมคี วามรูแ ละวิถชี วี ติ พอเพียงเปนแบบอยางทีด่ ี โดย เฉพาะหนวยงานสาขาทัว่ ประเทศทีเ่ ปนกําลังขับเคลือ่ นความ พอเพียงสูเ กษตรกรและชุมชนตนแบบโดยการสนับสนุนปจจัย และขยายความรู ใ ห ชุ ม ชนเข ม แข็ ง พึ่ ง ตนเองได ธ.ก.ส. จึงเปนองคกรตนแบบพอเพียงที่ยั่งยืนเคียงคูเกษตรกรที่เปน กระดูกสันหลังของชาติไดอยางมั่นคงภายใตภาวะวิกฤตและ จะสามารถขยายผลปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปสูช มุ ชนได อยางกวางขวาง การพิจารณาผลงานตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอ เพียงจากตัวชีว้ ดั ทีก่ าํ หนดไว มีดงั นี้ ดานนโยบายและการจัดการองคกร การพึง่ พาตนเอง ธ.ก.ส. ไดกอ ตัง้ เมือ่ พ.ศ. ๒๔๙๐ และมีแนวคิดการนอมนําปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช ตัง้ แตป ๒๕๓๐ ดวยการระดมเงินฝากจากลูกคา (เกษตรกร และประชาชนทัว่ ไป)เพือ่ ลดภาระเงินงบประมาณแผนดินและ

๓๗


การใชเงินกูจากตางประเทศ จนกระทั่งในป ๒๕๔๐ ซึ่งเกิด วิกฤตเศรษฐกิจ ธ.ก.ส. สามารถมี เงินทุนในการใหบริการสินเชือ่ อยางเพียงพอโดยไมไดมงุ ผลกําไรสูงสุด การดําเนินงานอยูภายใตกรอบการบริหารและการกํากับดูแลองคกรที่ดี มีหลัก๙ ประการ ประกอบด้วย การสร้างสรรค์คณ ุ ภาพ ประหยัดคุม้ ค่า รักษาสิง่ แวดล้อม ร่วมคิดร่วมทำ เปดเผยโปรงใส ซือ่ สัตยสจุ ริต เสมอภาคเปนธรรม สํานึกรับผิดชอบ และสนับสนุนการเรียนรู มีการกําหนดจรรยาบรรณและแนวทางการปฏิบตั ใิ นทุกระดับของกรรมการ ผูบ ริหารและผูป ฏิบตั งิ าน รวมทั้งแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับความขัดแยงทางผลประโยชนของธนาคารกับผลประโยชนสวนตน อีกดวย โดยการเผยแพรเปนเอกสารไดอยางชัดเจน นอกจากนี้ยังมีบทบัญญัติขอหามตั้งแตป ๒๕๑๒ เพื่อเปนรากฐานการดําเนินงานดวยความซื่อสัตย สุจริต โปรงใส ของอาจารยจําเนียร สาระนาค ผูจ ดั การคนแรกของ ธ.ก.ส. อีกดวย การพัฒนาบุคลากร ไดแก การทําตนเองใหสขุ กายสุขใจ พึง่ ตนเองได มุง ประโยชน สวนรวม มีจติ ใจเอือ้ อาทร แบงปนชวยเหลือผูอ นื่ ชวยลูกคา ชวยสังคม ชวยเพือ่ น ชวยองคกร โดยสรุปคือ สุขภาพดี เศรษฐกิจดี ความรูค วามสามารถดี การพัฒนาเกษตรกรลูกคา ธ.ก.ส. การพัฒนาใหบริการทีจ่ ะสงเสริมใหเกษตรกรมีคณ ุ ภาพ ชี วิ ต ที่ ดี ขึ้ น โดยมิ ไ ด มุ ง ผลกํ า ไรจากการให สิ น เชื่ อ แต เ พี ย ง อยางเดียว โดยดําเนินการ ดังนี้ ขัน้ ที่ ๑ พึง่ ตนเอง ลดคาใชจา ย เพิม่ รายไดและมี เงินออม ขัน้ ที่ ๒ พึง่ พาซึง่ กันและกัน รวมกลุม กิจกรรม ทําแผนชุมชน ขัน้ ที่ ๓ สร า งเครื อ ข า ยชุ ม ชน ธุ ร กิ จ ชุ ม ชน วิสาหกิจชุมชน ระบบสหกรณ

๓๘

การดําเนินงานโครงการตาง ๆ เชน โครงการครูเกษตรกร เพือ่ เปนสือ่ กลางการนําความรูแ ละภูมปิ ญ  ญาทองถิน่ ชวยเหลือ สังคมในชนบทอยางยัง่ ยืน โดยคัดเลือกเกษตรกรทีป่ ระสบความ สําเร็จเพื่อเผยแพรภูมิปญญา แลกเปลี่ยนความรู การบริหาร จัดการและเทคนิคในการประกอบอาชีพ มีการจัดตัง้ ศูนยเรียนรู


ชุมชนดําเนินกิจกรรมชุมชนตนแบบ เศรษฐกิจพอเพียง อบรมผูน าํ ชุมชนตนแบบเศรษฐกิจพอเพียง เปนตน ดานงบประมาณและการบริหารการเงิน การบริหารงบประมาณ ดําเนินการตามกฎ ระเบียบอยางเครงครัดในทุกสวนงานอยาง สุ จ ริ ต โปร ง ใส ตรวจสอบได มี เ หตุ ผ ลและพอประมาณเนื่ อ งจากเป น สถาบั น การเงิ น สําหรับเงินนอกเหนือจากประมาณจะมีการสงเสริมเรือ่ งการออมของพนักงาน มีสหกรณออมทรัพย มีการจัดตัง้ มูลนิธอิ าจารยจาํ เนียรสาระนาค เพือ่ ชวยเหลือสนับสนุนการศึกษาแกบตุ รพนักงานและ พนักงาน ดานการพัฒนาบุคลากร การฝกอบรมพนักงาน ใหมีความรูดานการนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มาใชและนําไปถายทอดใหแกเกษตรกรลูกคา การจัดสือ่ หลายรูปแบบทีเ่ ห็นเปนรูปธรรม อาทิเชน การจัดทําเอกสารเปนเลมในเรือ่ ง จรรยาบรรณของพนักงาน ผูบ ริหาร เพือ่ เปนแนวปฏิบตั ใิ นการรักษาชือ่ เสียงเกียรติคณ ุ ของ ธ.ก.ส. ความรูเ รือ่ งเศรษฐกิจพอเพียง มีการปฏิบตั ใิ นเนือ้ งานในหลายภาคสวน โดยมิไดถอื เปนโครงการ พิเศษและเปนเรือ่ งบังคับทีต่ อ งดําเนินการ การนํากระบวนการจัดการความรูมาใชในการพัฒนาพนักงานเพื่อสรางมูลคาเพิ่ม ใหแกองคกร รวบรวมภูมปิ ญ  ญาขององคกรในรูปแบบของตัวอยางความสําเร็จ (Best Practice) ขยายโอกาสการเรียนรูด ว ยระบบ e-learning ดานผลสัมฤทธิ์ คณะกรรมการธนาคารมีมติกาํ หนดใหปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เปนนโยบายใน การดําเนินงานของธนาคาร ในป ๒๕๔๙ โดยประกาศปณิธาน “ธ.ก.ส. มุง มัน่ ดําเนินงานตาม หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงดวยการบริหารจัดการองคกรทีด่ ี มีความรับผิดชอบตอสังคม และสิง่ แวดลอม สรางสรรคบริการทีม่ คี ณ ุ คาและหลากหลาย เพือ่ ใหเกษตรกรรายยอยมีคณ ุ ภาพ ทีด่ ขี นึ้ ”

๓๙


ในป ๒๕๕๐ ประกาศ วัฒนธรรม ธ.ก.ส. “ซือ่ สัตยสจุ ริต มีสาํ นึกรับผิดชอบ ตอบสนอง เปนทีม ยิม้ บริการดวยใจ ใชชวี ติ พอเพียง” การดําเนินงานไดรบั ผลสําเร็จ โดยองคกรสามารถอยูร อดแขงขันไดในภาวะเศรษฐกิจ ตกต่าํ เมือ่ ป ๒๕๔๐ และไดรบั รางวัลตาง ๆ ดังนี้ - ผลการดําเนินงานดีเดน ป ๒๕๔๘ - ๒๕๕๑ - เกียรติยศคณะกรรมการรัฐวิสาหกิจดีเดน ป ๒๕๕๑ - การดําเนินงานดานสังคมและสิง่ แวดลอมดีเดน ป ๒๕๕๐ - ๒๕๕๒ ธ.ก.ส. เปนสถาบันการเงินชนบททีร่ งุ เรืองทีส่ ดุ แหงหนึง่ ใน ๔ แหงของทวีปเอเชียและ มีหนวยงานทัง้ ภายในและตางประเทศเขามาศึกษาดูงานในเรือ่ งตาง ๆ เชน - “บทบาทของ ธ.ก.ส.ในการพัฒนาภาคเกษตร/เกษตรกรไทย”(คณะวิจยั : พมา) - “ธนาคารชนบทเพือ่ การพัฒนาอยางยัง่ ยืน” และ “การพัฒนาทรัพยากรมนุษย” (ภูฎาน) - “สินเชือ่ SME/การบริหารความเสีย่ ง”(Bank Pertanian Malaysia : มาเลเซีย) - “Human Resources Management”และ “Financial Management Auditing and Accounting” (Nepal Rastra Bank : เนปาล) ฯลฯ ความยัง่ ยืนของธนาคารในการขับเคลือ่ นปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง - การกําหนดนโยบายของคณะกรรมการธนาคาร เพื่อใชปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงในการดําเนินงานตามภารกิจขององคกร พนักงาน และลูกคา (เกษตรกร)

๔๐


โดยมีคณะกรรมการ คณะทํางานในการขับเคลือ่ น ตลอดจนแผนงานและแนวทาง การดําเนินงานทัง้ ระยะสัน้ และระยะยาวอยางชัดเจน - การเปนองคกรของรัฐ ทีต่ อ งดําเนินการตามนโยบายของรัฐและในขณะเดียวกันตอง รักษาผลประโยชนของลูกคา (เจาของเงินฝาก ทัง้ ทีเ่ ปนเกษตรกร ประชาชนทัว่ ไป และธนาคารพาณิชย) ซึง่ ตองพบกับปญหาอุปสรรคมากมายหลายดาน แตกส็ ามารถ นําพาองคกรใหผา นพนวิกฤตไดโดยการพึง่ พาตนเอง และความมีเหตุผลในการปฏิบตั ิ งานของคณะกรรมการธนาคาร - การดําเนินงานมิไดมุงการใหสินเชื่อเพื่อใหไดผลกําไรสูงสุดจากลูกคา (เกษตรกร) ซึง่ ถือเปนกระดูกสันหลังของชาติ แตดแู ลถึงดานการประกอบอาชีพ (การพัฒนาอาชีพเพือ่ สรางตนเอง ครอบครัว และชุมชน) สวัสดิการ (การจัดตั้งกองทุน เพื่อมีหลัก ประกันชีวติ และลดภาระผูอ นื่ ) และมรดกความดี (สมาคมฌาปนกิจสงเคราะห เพือ่ ใหสงิ่ ทีด่ แี กคนขางหลัง) - เปาหมายการทํางานของ ธ.ก.ส. กลมกลืนเปนอันหนึ่งอันเดียวกับความมุงหวังของ เกษตรลูกคา นั่นคือ ใหครัวเรือนเกษตรกรมีความเขมแข็ง พึ่งพาตนเองได และ เปนผูส นับสนุนปจจัยอืน่ ๆ ทีช่ มุ ชนตองการ เพือ่ สรางใหเปนศูนยแลกเปลีย่ นเรียนรู ขยายผลการดําเนินการตามแบบเศรษฐกิจพอเพียงใหกวางขวางออกไปอยางตอเนือ่ ง สิ่งนี้ยอมเปนตัวชี้วัดใหเห็นถึงความยั่งยืนของการดําเนินงานเศรษฐกิจพอเพียง ในองคกร

๔๑


ประเภท : ธุรกิจขนาดใหญ่ ชือ่ : บริษทั บางจากปโตเลียม จํากัด (มหาชน) ทีอ่ ยู : ๒๑๐ ถนนสุขมุ วิท ๖๔ แขวงบางจาก เขตพระโขนง กรุงเทพฯ ๑๐๒๖๐ โทรศัพท ๐-๒๓๓๕-๔๖๓๔, ๐-๒๓๓๕-๔๕๕๑ โทรสาร ๐-๒๓๓๕-๔๖๓๑

๔๒

บริษทั บางจากปโตเลียม จํากัด (มหาชน) เริม่ ดําเนิน กิจการเมือ่ ป ๒๕๒๘ ดําเนินธุรกิจในภาคการผลิตและบริการ ปจจุบันประกอบธุรกิจปโตเลียมครบวงจร ตั้งแตการจัดหา น้าํ มันดิบ ผลิต และจําหนายน้าํ มันสําเร็จรูปใหผบู ริโภคผาน ตัวแทนจําหนาย เครือขายสถานีบริการมาตรฐาน ๕๑๕ แหง และสถานีบริการชุมชน ๕๕๐ แหง และจําหนายใหผใู ชโดยตรง ผลการดําเนินงาน ดานธุรกิจ ความพอประมาณ : การตลาดเหมาะสม มูลคา การลงทุนพอดีกบั ภารกิจของบริษทั ๓ ปทผี่ า นมาอัตราผล กํ า ไรสนองความต อ งการของผู มี ส ว นได ส ว นเสี ย (Stakeholder) อยูในเกณฑดี มีแผนการลงทุนทั้ง ROA (Return On Assets) , ROE (Return On Equity) อยูใ น เกณฑดี ดานสังคม ความพอประมาณ : พัฒนาธุรกิจอยางยั่งยืนไปกับสิ่งแวดลอมและ สังคม วัฒนธรรมพนักงาน “เปนคนดี มีความรู และ เปนประโยชนตอผูอื่น” เชน เงินเดือนแบงสวนหนึ่งสบทบ กองทุนสํารองเลีย้ งชีพเพือ่ ความมัน่ คงในอนาคต และสบทบ กองทุนโครงการอาหารกลางวันสําหรับโรงเรียนรอบโรงกลัน่ น้าํ มันบางจาก การรณรงคตอกย้าํ ปลุกจิตสํานึกดานประหยัด พลังงานแกพนักงาน


ดานสิง่ แวดลอม “พัฒนาธุรกิจอยางยัง่ ยืนไปกับสิง่ แวดลอมและสังคม” การวัดผลประสิทธิภาพดาน “มูลคา” บางจากถือวาการดูแลสิ่งแวดลอมและรับผิดชอบสังคมตามวัฒนธรรมธุรกิจที่บริษัทฯยึดถือมา หนาที่ที่พนักงานตองใหความสําคัญกับการมีสวนรวมสรางสรรคสิ่งแวดลอมและสังคมที่ดีงาม บริษทั มุง มัน่ ในการดูแลรักษาสิง่ แวดลอม มีการพัฒนาประสิทธิภาพการดําเนินการดานสิง่ แวดลอม ไปพรอมๆ กับความพยายามทีล่ ดผลกระทบตอสิง่ แวดลอมในทุกกระบวนการทํางาน ลักษณะธุรกิจ ดานธุรกิจ การมีภมู คิ มุ กันทีด่ ี : มีคณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง ผูต รวจสอบบัญชี แผนฉุกเฉิน และ มีการสรางตราสินคาทุกกรณี มีการทํา SWOT การจัดการ ความเสีย่ งในระดับทีด่ ี มีเครือขายของ ผูม สี ว นไดสว นเสีย (Stakeholders) ทีด่ ี เชน ชุมชน การพัฒนากําลังคน การดํารงชีวติ ของผูเ กีย่ ว ของทรัพยากรและสิง่ แวดลอม ความรู : สรางวัฒนธรรมองคกรทีม่ งุ สรางคนดี มีการเผยแพรการทํา CSR (Corporate Social Responsibility) ของบริษัท ชักชวนผูอื่นมารวมกิจกรรมสังคม มีการวิจัยและพัฒนา ใช IT เพิม่ ประสิทธิภาพการดําเนินงานอยูใ นเกณฑดี มีการพัฒนาความรูค วามชํานาญ ทัง้ ภายใน และภายนอกดี มีแผนปรับปรุงพัฒนาผลิตภัณฑ (Product) และกระบวนการ (Process) ใหสอด คลองกับความตองการของตลาด มีการพัฒนาเชือ้ เพลิงชีวภาพดีพอควร มีการประยุกตภมู ปิ ญ  ญา ไทยแทรกลงในแผนการดําเนินงานในระดับตาง ๆ คุณธรรม : ระบบตรวจสอบภายในดีปรับใหเขาสถานการณอยูเสมอ กําหนดและใช การกํากับดูแลกิจการทีด่ ี (CG : Corporate Governance) ไดผลในระดับดีมคี วามชัดเจนและนําไป ปฏิบตั ไิ ดดี มีการเปดเผยขอมูลและยอมรับได

๔๓


ดานสังคม ความมีเหตุผล : การออกผลิตภัณฑใหม ๆ ทีม่ คี ณ ุ ภาพ ราคาสมเหตุสมผล สรางความ พึงพอใจใหลกู คามาใชซา้ํ ขยายกลุม ลูกคาใหม ๆ มีภมู คิ มุ กัน : ปรับปรุงคูม อื นโยบายการกํากับดูแลกิจการทีด่ ี เพือ่ เปนแนวทางในการปฏิบตั ิ หนาทีข่ องกรรมการ ผูบ ริหาร พนักงาน ใหชดั เจนและเปนปจจุบนั และเสริมสรางความเทาเทียม ของผูถ อื หุน และผูม สี ว นไดเสียอืน่ โครงการเพื่อสังคม เชน โรงเรียน ของหนู ทุนการศึกษาเยาวชน ดูนกบางจาก จัดสรางศูนยเรียนรูใ นชุมชน แวนแกว คณะกรรมการเครือขายธุรกิจเพือ่ สังคม และสิง่ แวดลอม (Social Venture Network Asia (Thailand)-SVN) โครงการรับซือ้ น้าํ มันใชแลว เพือ่ นําไปผลิตเปนไบโอดีเชลรวมกับหนวยงานภาครัฐ เอกชน

๔๔


ความรู: กิจกรรม “CG Day” ภายใตแนวคิด "ทําดีตามรอยพระยุคลบาท” ผานรายการวิทยุ และจัดบอรดนิทรรศการ จัดพิมพพระราชดํารัสเปนคูม อื เผยแพรเปนแนวทางในการดําเนินชีวติ ๘๐๐,๐๐๐ เลม คุณธรรม : จรรยาบรรณของพนักงาน “เปน คนดี มีความรู เปนประโยชนตอ ผูอ นื่ ” เว็บไซตบางจาก www.bangchak.co.th และดานความสัมพันธ เชน เยี่ยมบาน ชุมชน เยีย่ มบานบางจาก ประมาณ ๒,๐๐๐ คน/ ป เปนตน สงเสริมกิจกรรมคายเยาวชนบางจาก จิตอาสา ดานสิง่ แวดลอม มีระบบการจัดการดานสิง่ แวดลอม ISO 14001 ตัง้ แตป ๒๕๔๐ และมีระบบการจัดการ ดานอาชีวอนามัยและความปลอดภัยตามมาตรฐาน OHSAS/TIS 18001 ทัง้ โรงกลัน่ และคลังน้าํ มัน บางจากและบางประอิน มีการประเมินความเสีย่ งดานสิง่ แวดลอม ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย การอบรม ใหความรูพ นักงาน การสือ่ สารขอมูลดานสิง่ แวดลอม การเตรียมพรอมรับสถานการณฉกุ เฉิน มีระบบ ปองกันและควบคุมมลพิษ การจัดการสิ่งปฏิกูลและวัสดุเหลือใช และการติดตามและประเมินผล ดานสิง่ แวดลอมอยางสม่าํ เสมอ

๔๕


การเลือกใชเทคโนโลยีสะอาดสําหรับกระบวนการผลิต ปรับปรุงวิธีการทํางานและมีการลงทุนเพื่อลดการใชทรัพยากรหรือทําใหการใช ทรัพยากรธรรมชาติมปี ระสิทธิภาพมากขึน้ มีการเปลีย่ นระบบการบําบัดน้าํ ดิบมาเปนระบบ Reverse Osmosis ทําใหมกี ารใชนา้ํ และสารเคมีลดลง การลดมลภาวะ : มลพิษทางน้าํ ติดตัง้ ระบบบําบัดน้าํ เสีย มีทงั้ ระบบบําบัดทางกายภาพ และระบบบําบัดทางชีวภาพ มีการตรวจวิเคราะหคณ ุ ภาพน้าํ ทิง้ กอนปลอยลงสูส งิ่ แวดลอม มลพิษทางอากาศ ติดตามตรวจสอบและเฝาระวังใหกบั ชุมชน มีการคัดแยกวัสดุหลังกระบวนการผลิต การเพิม่ พืน้ ทีส่ เี ขียวบริเวณโรงกลัน่ ศูนยฝกอบรมสิ่งแวดลอมและความปลอดภัย การสื่อสารและกิจกรรมสงเสริม สิง่ แวดลอม

๔๖


ประเภท : ธุรกิจขนาดกลาง ชือ่ : บริษทั บาธรูม ดีไซน จํากัด ทีอ่ ยู : ๗๒๙/๑๕๐-๑๕๒ ถนนรัชดาภิเษก แขวงบางโพงพาง เขตยานนาวา กรุงเทพฯ ๑๐๑๒๐ โทร. ๐-๒๖๘๓-๗๓๒๒

ประวัติ/ความเปนมา บริษทั บาธรูม ดีไซน จํากัด กอตัง้ เมือ่ ป ๒๕๓๘ เปนบริษทั ขนาดเล็กทีด่ าํ เนินธุรกิจโดยเริม่ ตนจากการนําเขาสินคาตางประเทศ เขามาจําหนาย ตอมาป ๒๕๔๐ เกิดภาวะวิกฤตเศรษฐกิจของประเทศ ไทย บริษทั ฯ ประสบปญหาหนีส้ นิ เพิม่ ขึน้ ๑ เทาตัว ในระยะเวลาอัน สัน้ รวมถึงกําลังซือ้ ในประเทศชะลอตัวลง ทําใหยอดขายของบริษทั ฯ ลดลงอยางตอเนือ่ ง บริษทั ฯ จึงไดนาํ หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มาประยุ ก ต ใ ช ใ นกิ จ การของตนเอง จึ ง ทํ า ให บ ริ ษั ท บาธรู ม ดีไซน จํากัด สามารถผานวิกฤตการณมาไดและประสบความสําเร็จ ในปจจุบนั

การประยุกตใชปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ความพอประมาณ มุง ดําเนินธุรกิจทีช่ าํ นาญ ไมดาํ เนินธุรกิจดานทีต่ นเองไม มีความเชีย่ วชาญ หรือไมมปี ระสบการณ ขยายกิจการอยางระมัดระวัง โดยใชเงินกําไรสะสมและ เงินกูใ นประเทศบางสวน บริหารสัดสวนหนีส้ นิ ของบริษทั ฯ ไมเกินเงินทุน บริหารกระแสเงินสดรับ (Cash Flow) ใหมากกวาจาย บริหารสินคาคงคลัง (Stock) ใหนอ ยทีส่ ดุ และหมุนเวียน เร็วทีส่ ดุ

๔๗


ความมีเหตุผล คํานึงถึงผูม สี ว นเกีย่ วของ และผูม สี ว นไดสว นเสีย (Stakeholders) ทุกสวนอยางเปนธรรม พิจารณาดําเนินงานดวยความถีถ่ ว นรอบคอบ ไมยอ ทอ ไรอคติ คํานึงถึงเหตุผลและ ปจจัยแวดลอมทั้งหมด เพื่อใหการดําเนินงานเปนไปอยางถูกตอง อันจะกอใหเกิดประโยชนและ ความสุขตามมา ความใสใจทีม่ ตี อ ผูม สี ว นไดเสีย ดานการผลิต : บริษทั ฯ มีมาตรฐานรับรองในดานคุณภาพ ไดแก มาตรฐานอุตสาหกรรม (มอก.) ISO 9001 : 2000 (With Design) จํานวน ๒ ครัง้ /ป มาตรฐานรับรองยุโรป (CE) ดานการควบคุมคุณภาพสินคา : ใชมาตรฐานการรับรองคุณภาพสินคาทั้งในและ ตางประเทศเขามาควบคุมกระบวนการผลิตอยางเปนระบบและมีมาตรฐาน เชน

๔๘

การควบคุ ม คุ ณ ภาพวั ต ถุ ดิ บ (Raw Material Quality Control) การควบคุ ม คุ ณ ภาพในกระบวนการตรวจสอบ (In-Process Quality Control) การทดสอบและตรวจสอบคุณภาพชัน้ สุดทาย (Final Goods Quality Control) ดานการจําหนาย : มีการบริการกอนการขายและหลังการ ขายทีม่ ปี ระสิทธิภาพ เชนวางระบบไฟฟาและประปาใหกบั ลูกคากอน การติดตัง้ ใหบริการตรวจเช็คทุก ๖ เดือนในระยะเวลา ๓ ปโดย ไมคดิ คาใชจา ย ดานพนักงาน : มีการจัดการทางทรัพยากรมนุษยอยางเปน ธรรม มีนโยบายการจายอัตราคาจางสูงกวามาตรฐาน โดยบริษทั ฯ ไดเขารวมกับสมาคมการจัดการงานบุคคลแหงประเทศไทย รวมถึง มีการจายโบนัสทุกป นอกจากนั้นยังมีผลตอบแทนอื่นๆ เชน


ทุนการศึกษาตอของพนักงาน สวัสดิการพิเศษ เชน ทุนการศึกษาบุตรของพนักงาน ตัง้ แตระดับ อนุบาล-ปริญญาตรี หรือมีกจิ กรรมลดคาใชจา ย พนักงาน เชน สนับสนุนใหพนักงานทําบัญชีราย รับ-รายจายครัวเรือน ใหรบั ประทานอาหารกลาง วันฟรี ทํานาขาวชีวภาพ ปลูกผักปลอดสารพิษ ฯลฯ ดานคูค า (Supplier) : มีการเอือ้ เฟอ ให ความชวยเหลือซึง่ กันและกันอยางดี เชน รวมกัน พัฒนาผลิตภัณฑใหมๆ มีความซื่อสัตย ไมเอา เปรียบ ไมเห็นแกประโยชนตนฝายเดียว ฯลฯ ดานรานคาตัวแทนจําหนาย : มีความสัมพันธกบั รานคาตัวแทนจําหนายอยางใกลชดิ เชน ชวยออกแบบพื้นที่ขายและโชวสินคาให รวมจัดทําปายโฆษณากับรานคา จัดกิจกรรมสงเสริม การขายรวมกับรานคาอยางตอเนือ่ งฯลฯ ดานสังคม และสิง่ แวดลอม : ทํากิจกรรมเพือ่ สังคมในหลายรูปแบบ ดานชุมชน เชน โครงการ สรางสายใยรักบานเด็กออนรังสิต โครงการปนน้ําใจแด ผูสูงวัยบานพักคนชรา (รังสิต) ฯลฯ ดานการศึกษา เชน เปนวิทยากรเผยแพรหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการดําเนินธุรกิจ โครงการ ปนขาวสารแดนกั เรียนชาวเขาฯลฯ ดานอาชีพ เชน โครงการสานฝนเด็กดอยโอกาสใหไดรว มงาน กับบริษทั ฯ ดานศาสนา เชน เผยแผธรรม และทํานุบาํ รุงศาสนาอยางเปนรูปธรรม ดานสิง่ แวดลอม เชน เขารวมเปนคณะทํางานของมูลนิธิ สืบ นาคะเสถียร ดานสังคม จัดกิจกรรมชวยเหลือสังคม ตางๆ เชนโครงการรณรงคใหพนักงานบริจาคโลหิตและบริจาคอวัยวะ ฯลฯ มีภมู คิ มุ กันในตัวทีด่ ี มีการดําเนินงานตางๆ อยางบูรณาการจนเกิดเปนภูมคิ มุ กันทีส่ ามารถปองกันผลกระทบ จากภายนอกในหลายๆ ดาน ทัง้ ในดานวัตถุ สังคม สิง่ แวดลอม และวัฒนธรรม มีระบบการตรวจสอบการทํางานทั้งภายในและภายนอก โดยหนวยงานตรวจสอบ ภายในจะทําหนาทีใ่ นการหาวิธปี อ งกันการรัว่ ไหลทีเ่ กิดจากการปฏิบตั งิ านในหนาที่ รวมทัง้ กระตุน และ สงเสริมใหการปฏิบตั งิ านเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผลและประหยัด ตลอดจนทําการประเมิน ระบบการควบคุ ม ภายในองค ก ร การบริ ห ารงาน การวั ด ผล ข อ เสนอแนะ และรายงาน ผลการปรับปรุงแกไข สวนระบบการตรวจสอบภายนอกองคกร จะไดแก การตรวจสอบมาตรฐาน การรับรองคุณภาพ ISO 9001:2000 With Design จํานวน ๒ ครัง้ /ป และการตรวจสอบจาก ผูต รวจสอบบัญชี จํานวน ๑ ครัง้ /ป

๔๙


มีระบบการจัดการดานความเสีย่ ง โดยจัดตัง้ หนวยงานเพือ่ จัดการดานความเสีย่ งโดยเฉพาะ ทําหนาทีใ่ นการบริหารความเสีย่ งในดานตางๆ เชน ขยายตลาดสงออกมากขึน้ เพือ่ กระจายความเสีย่ ง ของตลาดในประเทศ Forward อัตราแลกเปลีย่ นทางการเงิน โดยใชสกุลเงินตามภูมภิ าคของประเทศ นัน้ ๆ ซือ้ ประกันทางดานตางๆ เชน ประกันอัคคีภยั ประกันชีวติ มีการจดทะเบียนทรัพยสนิ ทางปญญา เปนตน วางแผนงานดานการตลาดเพือ่ สราง Global Brand ในอนาคต จะไดยกระดับตราสินคา ในตลาดโลก โดยจัดทําแผนงานและงบประมาณในการสราง Brand ในตางประเทศเพิม่ ขึน้ จากปทผี่ า น มา เชน จดทะเบียนเครื่องหมายการคาตางประเทศในประเทศใหมๆ ที่มีแนวโนมการสงออก ทีด่ ี และสงสินคาเขาประกวดในเวทีโลกเพือ่ ยกระดับสินคาทีผ่ ลิตและออกแบบโดยคนไทยใหเปนทีร่ จู กั ในวงกวาง ซึง่ การไดรบั การรับรองจากสถาบันทีม่ ชี อื่ เสียงระดับโลกนี้ จะสงผลใหผลิตภัณฑของบริษทั ฯ ไดรบั การยอมรับจากทัว่ โลก ทําใหเปนทีน่ า เชือ่ ถือมากยิง่ ขึน้ จึงเปนการสรางภาพลักษณและมูลคาเพิม่ ใหกบั ตราสินคาจากประเทศไทย มีการวิจยั และพัฒนาอยางตอเนือ่ ง เพือ่ คิดคนนวัต กรรมใหมๆ จะไดออกแบบผลิตภัณฑที่ทันสมัยและสอดคลอง ความตองการของผูบ ริโภค จะไดสรางความพึงพอใจใหแกลกู คา สูงสุด มีการเลือกตลาดเปาหมาย (Targeting) โดยกําหนด ตลาดเปาหมายเปนระดับกลางถึงระดับบน รวมถึงตลาดเฉพาะ กลุม (Niche Market) ทีม่ คี วามตองการเฉพาะตัว เชน ตอง การสินคาประเภทดูแลสุขภาพ หรือประเภทสะทอนความเปน เอกลักษณของตัวเองรวมทั้งมีฟงกชั่นการใชงานที่ตอบสนอง ลักษณะการใชชวี ติ ในปจจุบนั (Life Style) เชน รีสอรทริมทะเล ใน Maldives, Bali, Hawaii และ Cyprus เปนตน ความรู มี ก ารพั ฒ นาศั ก ยภาพบุ ค ลากรภายในองค ก ร อยางตอเนือ่ ง โดยเฉพาะอยางยิง่ การสงเสริมความรู และทักษะ

๕๐


ตางๆ ของพนักงาน เชน สงเสริมการศึกษาโดยใหทนุ การศึกษาแกพนักงาน สงเสริมพนักงานใน ดานการฝกอบรมทัง้ ภายในและภายนอกองคกร มีการปรับเปลีย่ นตําแหนงหนาทีเ่ พือ่ ใหเรียนรูง านใน หนาทีใ่ หม ๆ วาจางทีป่ รึกษา/ผูเ ชีย่ วชาญจากภายนอกมาใหคาํ แนะนําในดานตาง ๆ สรางหนวยงานวิจยั และพัฒนาของตนเอง โดยทีมงานเปนคนไทยทัง้ หมด คิดคนนวัตกรรมใหม ๆ ทําใหในปจจุบนั บริษทั เปนผูน าํ ดาน Form, Design, Function เปดโอกาสใหบคุ คลภายนอกไดเขามาเรียนรู เชน ผูเ ขารวมอบรมในโครงการเสริมสราง ผูป ระกอบการใหมของสถาบันพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม (SMEs) คณาจารยจาก มหาวิทยาลัยศรีปทุม นักศึกษาตางประเทศในโครงการ Asian Management ของมหาวิทยาลัยมหิดล เปนศูนยการเรียนรูเ ศรษฐกิจพอเพียงของกรุงเทพมหานคร และภาคกลาง คุณธรรม จัดทําคูม อื จรรยาบรรณของบริษทั บาธรูม ดีไซน จํากัด โดยมีหวั ขอดังตอไปนี้ - การรักษากฎหมาย และบรรทัดฐานของสังคม - ความรับผิดชอบตอแตละบุคคล ตอชือ่ เสียงของบริษทั ฯ - การใหความเคารพตอผูอ นื่ - ความปลอดภัย สุขภาพ สภาพแวดลอม - ความขัดแยงในเรือ่ งผลประโยชน - การเปนพลเมืองทีด่ ขี องสังคม และการบริจาคเพือ่ การกุศล - การปฏิบตั ติ อ คูค า ทางธุรกิจ สาธารณชน และตัวแทนองคกรอืน่ ๆ - การปฏิบตั ใิ นเรือ่ งของการตลาดและการแขงขัน - การปกปองทรัพยสนิ และปองกันการรัว่ ไหลของขอมูลสําคัญในองคกร - การหลีกเลีย่ งความเสีย่ งในการทําสัญญา - ความซือ่ สัตยเรือ่ งการเงิน - การละเมิดกฎ การบังคับใชกฎ และบทลงโทษ

๕๑


จั ด ทํ า โ ค ร ง ก า ร ส ง เ ส ริ ม ใ ห พนักงานเปนคนดีมกี ารบริหารงานดวยหลัก ธรรมาภิบาล คือ ใหความรักผูอื่น โดย เปาหมายทีแ่ ทจริงขององคกร คือ ตองการ ใหสงิ่ ทีด่ ที สี่ ดุ กับลูกคา พนักงาน คนในสังคม และสิง่ แวดลอม

ผลสํ า เร็ จ จากการประยุ ก ต ใ ช ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง บริษัทไดนําหลักการของปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกตใช โดยให ความสําคัญกับการสรางความสมดุลของ ผูม สี ว นเกีย่ วของหรือผูท มี่ สี ว นไดเสียทัง้ หมด ไมวา จะเปนผูถ อื หุน ลูกคา คูค า พนักงาน สังคม สิง่ แวดลอม และในขณะเดียวกันเพือ่ ใหบริษทั พรอมรับความเปลีย่ นแปลงในดานตางๆทีอ่ าจจะเกิดขึน้ บริษทั ไดมกี ารเตรียมความพรอมโดย ทําการขยายตลาดดานการสงออก จดทะเบียนทรัพยสนิ ทางปญญา จัดตัง้ หนวยงานตรวจสอบภาย ใน จัดตัง้ หนวยงานดานความเสีย่ ง จัดซือ้ ประกันภัยดานตางๆ รวมถึงประกันความเสีย่ งดานอัตรา แลกเปลีย่ นเพือ่ ใหองคกรมีความเขมแข็ง จะไดเปนผูน าํ ดานนวัตกรรมสินคาในหองน้าํ ๑ ใน ๕ ของโลก ตามเปาหมายทีไ่ ดตงั้ ไว จุดเดน สามารถผลิตและสรางแบรนด จนสารถ แขงขันไดในระดับโลก ผูบ ริหารมีความเขาใจในปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียงเปนอยางดี โดยสามารถผสมผสานกับหลัก ศาสนาไดอยางลงตัว และถายทอดหลักการของปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงใหพนักงาน / บุคคลทัว่ ไปดวยความเต็มใจ เนนการพัฒนาบุคลากรในดานจิตใจและคุณธรรมอยางตอเนือ่ ง มีกจิ กรรมเพือ่ สังคมและใหพนักงานไดมสี ว นรวมอยางสม่าํ เสมอ

๕๒


ประเภท : ธุรกิจขนาดยอม ชือ่ : บริษทั พรทิพย (ภูเก็ต) จํากัด ทีอ่ ยู : ๑๐๘/๑ หมู๕ ถนนเฉลิมพระเกียรติ ต.รัษฎา อําเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต ๖๓๔๐๐ โทรศัพท ๐๘-๙๘๗๑-๑๔๑๗

ความเปนมา เปนบริษัทแปรรูปอาหารทะเล ผลิตภัณฑที่มีชื่อ ไดแก น้ําพริกกุงเสียบ ไตปลา โดยใชปลาซึ่งเปนวัตถุดิบในทองถิ่น มีพนักงาน ๔๙ คน ในป ๒๕๔๐ ประสบวิกฤตเศรษฐกิจ จึงไปขาย เฉากวยทีห่ าดใหญ ดวยความเหนือ่ ยยากมาก แตไดเห็นพระบาท สมเด็จพระเจาอยูหัวทรงมุงมั่นทํางานเพื่อประชาชน จึงเปนแรง บันดาลใจใหสชู วี ติ ปลายป ๒๕๔๐ เศรษฐกิจทีภ่ เู ก็ตเริม่ ดี จึงกลับ มาอยูท ภี่ เู ก็ต ตอมาในป ๒๕๔๔ เกิดโรคซารและไขหวัดนกระบาด จึงเกิดแนวคิดวาภูเก็ตเมืองทองเที่ยว (นักทองเที่ยวปละ ๑.๕ ลานคน) นักทองเทีย่ วจะแสวงหาของฝาก แตของฝากเดิมคุณภาพ ต่าํ ไมมมี าตรฐานพอ จึงเริม่ ศึกษาหาตัวสินคาพืน้ เมืองของจังหวัด ภูเก็ตและพังงา ไดแก แกงไตปลา ซึง่ แมภรรยาจะมีภมู ปิ ญ  ญามีฝม อื ในเรือ่ งการทําไตปลาใหมรี สชาติดี ทําใหลดคาใชจา ย ในป ๒๕๔๕ ไดกอ ตัง้ "บริษทั พรทิพย (ซีสโตร) และตัง้ โรงงานผลิตแปรรูปสินคา ของฝาก และในป ๒๕๔๖ ได รั บ รางวั ล มาตรฐาน GMP (Good Manufacturing Practice) มาถึงป๒๕๔๗ เกิด “สึนามิ” นักทองเที่ยวนอยเศรษฐกิจทรุด หนารานมีการกอสรางถนนใหม (ประมาณหนึง่ ปครึง่ ) จึงเรงปรับถนนหนารานโดยใชทนุ ทรัพยของ ตนเองเพือ่ อํานวยความสะดวกนักทองเทีย่ ว ขณะเดียวกันก็ชะลอ คนงานไวไมเกิน ๕๐ คน จึงหาชองทางการขายใหม โดยการ แปรรูปผลิตภัณฑสนิ คาใหม คือ แปรรูปกุง เสียบ ออกบูธสินคาตาม งานตางๆ) ติดตอรานคาในกรุงเทพฯ และจังหวัดตางๆ และเริม่ หา ชองทางตลาดสงออก/เปนราน OTOP ๕ ดาว และมีการขยาย ตลาดสูส ากลมากขึน้ โดยสงไปจําหนายทีฮ่ อ งกง

๕๓


การประยุกตใชปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ความพอประมาณ มีขนาดการลงทุนเหมาะสม ไมเนนการทําธุรกิจเพือ่ กําไรอยางเดียว ไมเนนกําไรมาก ใชกาํ ลัง แรงงานภายในทองถิน่ ไมเกิน ๕๐ คน เนนพนักงานมีคณ ุ ภาพ ความรูค วามสามารถ ดําเนินธุรกิจ อยางเปนขัน้ เปนตอน ขยายการลงทุนและกิจการจากเงินภายใน ออกแบบผลิตภัณฑและการใหบริการ ดวยตนเอง เปนการลดคาใชจา ย ความมีเหตุผล มีวสิ ยั ทัศนการดําเนินธุรกิจ เนนนโยบายคุณภาพทัง้ การผลิตและการใหบริการ มีทรัพยากร การผลิต เนนในเรือ่ งทองถิน่ เปนการลดคาใชจา ยการทํางานระบบเปด มีการสํารวจความพึงพอใจ ลูกคา พนักงานเปนการสือ่ สารแบบสองทาง-คิดคนพัฒนาปรับปรุงเทคโนโลยีการผลิต ใชเครือ่ งจักร การผลิตงายๆ ไมซา้ํ ซอนควบคูก บั มีระบบควบคุมคุณภาพ ความมีภมู คิ มุ กันทีด่ ี กระจายความเสีย่ งโดยมีผลิตภัณฑหลากหลาย รักษาฐานกลุม ลูกคา ไดผลิตภัณฑและ บริการมีคณ ุ ภาพสูง มีชอ งทางจําหนายหลายทางและมัน่ คง เนนการพึง่ ตนเอง ทัง้ วัตถุดบิ การผลิต การจําหนาย การใหบริการ มีการ ทําบัญชีตามระเบียบทางราชการ มีบคุ ลากรเหมาะสมกับ งานมีความรูความสามารถประกอบกับสงเสริมคนดี คนเก ง ในการทํ า งาน ส ง เสริ ม พั ฒ นาความรู ใ หม ๆ ใหทนั ตอสถานการณ และปรับปรุงวัสดุอปุ กรณพรอมใช งานอยูเ สมอ ความรู แสวงหาความรูก ารทําธุรกิจ รอบรู รูล กึ รูจ ริง รวบรวมขอมูลขาวสาร สถานการณตา งๆทุกระยะ มีการ วิเคราะหตลาด (ชองทางจําหนาย) ประเมินผูแขงขัน สํารวจความพึงพอใจของลูกคาแตละกลุมทั้งชาวไทย และชาวตางประเทศ มีการเพิม่ ประสิทธิภาพการบริหาร จัดการ โดยมีโครงการฝกอบรมแกพนักงานมีโครงสราง การบริหารจัดการฝายตางๆ ชัดเจน ทั้งดานโรงงาน

๕๔


ดานการตลาดทองเทีย่ ว รูจ กั นําความรูม าใชในการดําเนินธุรกิจพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ ปรับปรุง ใหนา สนใจมีประโยชนบริโภคไดนาน คุณธรรม ทําธุรกิจดวยความอดทนมุง มัน่ ขยันหมัน่ เพียร อยางตอเนือ่ ง มีนโยบายเนนความซือ่ สัตย สุจริตตอลูกคาและคูคา ใหความสําคัญตอสิ่งแวดลอม สถานที่สะอาดเหมาะสม สนับสนุนชุมชน ทองถิน่ และการจางงานในทองถิน่ เนนรับสินคาพืน้ เมืองในทองถิน่ และนํามาพัฒนาผลิตภัณฑ การ จางงานคนในทองถิ่น การจัดสวัสดิการเพิ่มเติมแกพนักงาน กิจกรรมสรางความสัมพันธ การทํา ประโยชนแกสงั คม สนับสนุนกิจกรรมเยาวชน แหลงศึกษาดูงานของกลุม ตางๆ ในประเทศ ตาง ประเทศ ชวยเหลืองานการกุศลตางๆ มีกฎเกณฑขอ บังคับเพือ่ สรางความปลอดภัยในการทํางาน

ผลสําเร็จจากการประยุกตใชปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สามารถผานวิกฤตเศรษฐกิจมาไดถงึ ๓ ครัง้ เริม่ จากทําเล็กๆ รายไดนอ ย จนปจจุบนั มี Brand ของตนเองทีช่ ดั เจน มีรายไดทมี่ นั่ คง มีกาํ ไร และสามารถดํารงธุรกิจไดอยางตอเนือ่ ง จุดเดน มีความรอบรู รอบคอบ ในการจัดการการผลิตและใหบริการ ไมเนนทําธุรกิจเพื่อกําไร อยางเดียว เนนแนวเศรษฐกิจพอเพียงในการพัฒนาตนเอง และชวยชุมชน พัฒนาธุรกิจคอยเปน คอยไปใหยงั่ ยืน เลือกวัตถุดบิ ทีด่ ที สี่ ดุ ในทองถิน่ แปลกและนาสนใจมาผลิตสินคาหลากหลาย เชน ขนมเกีย๊ มโกย ดวยกระบวนการผลิตทีส่ ะอาด ถูกหลักอนามัย มีมาตรฐาน GMP, HACCP (Hazzard Analysis Critical Control Point) คุณภาพรองรับ โดยในการผลิตจะผลิตเอง เชน อาหารทะเล แปรรูปปรุงสมุนไพร กุง เสียบ / น้าํ พริก / ปลาขาวสาร / ปลาฉิง้ ฉางมะมวงหิมพานต / ขนมพืน้ เมือง / สินคาพืน้ เมืองภูเก็ต นําเทคโนโลยีใหมมาปรับใชกบั ภูมปิ ญ  ญาทองถิน่ ใชความรูด า นน้าํ พริก แกงไตปลาของแมภรรยามาปรับคุณภาพน้ําพริกตางๆ และแกงไตปลา มีการพัฒนาและแปรรูป ผลิ ต ภั ณ ฑ กุ ง เสี ย บสมุ น ไพรทั้ ง ความหลากหลายของอาหารเพื่อ ลดคาใชจา ย เนนการใหบริการดวย ความเปนกันเอง มีหลายภาษา สิง่ อํานวยความสะดวกศึกษาตลาด และความพึงพอใจของลูกคา

๕๕


คณะกรรมการดําเนินการประกวดผลงานตามปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง ครัง้ ที่ 2 ๑. คณะทีป่ รึกษา นายอําพล เสนาณรงค องคมนตรี นายเกษม วัฒนชัย องคมนตรี นายพลากร สุวรรณรัฐ องคมนตรี นายสวัสดิ์ วัฒนายากร องคมนตรี นายสุเมธ ตันติเวชกุล เลขาธิการมูลนิธชิ ยั พัฒนา นายมนูญ มุกขประดิษฐ รองเลขาธิการมูลนิธชิ ยั พัฒนา นายพิมลศักดิ์ สุวรรณทัต เหรัญญิกมูลนิธชิ ยั พัฒนา นายปานเทพ กลาณรงคราญ ประธานกรรมการ ป.ป.ช. นายสมพล พันธุม ณี ทีป่ รึกษาสํานักงาน กปร. ผูอ าํ นวยการสํานักงานทรัพยสนิ สวนพระมหากษัตริย เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ผูบ ญ ั ชาการทหารสูงสุด ๒. คณะกรรมการอํานวยการจัดการประกวดผลงานตามปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง ประธานกรรมการ นายเฉลิมเกียรติ แสนวิเศษ เลขาธิการ กปร. ๓. คณะกรรมการตัดสินการประกวดผลงานตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ประธานกรรมการ นายสุเมธ ตันติเวชกุล เลขาธิการมูลนิธชิ ยั พัฒนา กรรมการและเลขานุการ หมอมหลวงจิรพันธุ ทวีวงศ รองเลขาธิการ กปร.

๕๖


คณะอนุกรรมการคัดเลือกการประกวดผลงานตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๑. ประธานอนุกรรมการฯ ประเภทประชาชนและชุมชน นางสาวศรีนติ ย บุญทอง ทีป่ รึกษาสํานักงาน กปร. ๒. ประธานอนุกรรมการฯ ประเภทเกษตรทฤษฎีใหม นายปกรณ สัตยวณิช ทีป่ รึกษาสํานักงาน กปร. ๓. ประธานอนุกรรมการฯ ประเภทหนวยงาน/องคกรภาครัฐ นายสีมา สีมานันท กรรมการขาราชการพลเรือน(ก.พ.) ๔. ประธานอนุกรรมการฯ ประเภทธุรกิจขนาดใหญ รองศาสตราจารยเกศินี วิฑรู ชาติ คณบดีคณะพาณิชยศาสตรและการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ๕. ประธานอนุกรรมการฯ ประเภทธุรกิจขนาดกลาง นายดุสติ นนทะนาคร ประธานกรรมการหอการคาไทย ๖. ประธานอนุกรรมการฯ ประเภทธุรกิจขนาดยอม นายเอ็นนู ซือ่ สุวรรณรองผูจ ดั การธนาคารเพือ่ การเกษตรและสหกรณการเกษตร ๗. ประธานอนุกรรมการประชาสัมพันธ นายสุวฒ ั น เทพอารักษ รองเลขาธิการ กปร.

๕๗



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.