อาเซียน และ
“ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน”
AEC กรมเจรจาการคาระหวางประเทศ เวทีสาธารณะ “การเปดเสรีการลงทุนในอาเซียนภายใตความตกลง ACIA” , 12 มิถุนายน. 2552, กรุงเทพฯ
หัวขอการนําเสนอ 1. แนะนําอาเซียน 2. มุงสูประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 3. AEC Blueprint เปาหมายและพันธกรณี 4. ประโยชนที่ไทยจะไดรับภายใต AEC 5. การใชประโยชนจาก AEC
แนะนําอาเซียน
AEC One Vision, One Identity, One Community
ASEAN : Association of South East Asian Nations
อาเซียน : สมาคมประชาชาติแหงเอเชียตะวันออกเฉียงใต
• กอตั้งเมื่อป 2510 (1967) จะครบรอบ 42 ป ในสิงหาคม 2552 • จุดประสงคเริ่มแรก – สรางความมั่นคง เพื่อตานภัยคุกคามคอมมิวนิสต สมาชิก และปที่เขาเปนสมาชิก ป 2540
อาเซียน 6 สมาชิกใหม CLMV
ป 2540
ป 2510
ป 2510 ป 2538 ป 2510
ป 2542
ป 2527
ป 2510 ป 2510
ความรวมมือทางเศรษฐกิจของอาเซียนที่ผานมา กรอบความรวมมือดานเศรษฐกิจที่สําคัญของอาเซียน เขตการคาเสรีอาเซียน (AFTA) ลงนามป 2535 เริ่มป 2536 กรอบความตกลงดานการคาบริการ (AFAS) เริ่มป 2538 เขตการลงทุนอาเซียน (AIA) เริ่มป 2538
มุงสูประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
AEC One Vision, One Identity, One Community
มุงสูการเปนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) Øป 2546
ผูนําอาเซียน ลงนามในปฏิญญาบาหลี (Bali Concord II) แสดงเจตนารมณการนําอาเซียนไปสู “ประชาคมอาเซียน” (ASEAN Community) ในป 2020 (2563)
Ø
ป 2550 ผูนําอาเซียนลงนามใน ปฏิญญาเซบู เรงรัดการเปน “ประชาคมอาเซียน”ใหเร็วขึ้น เปนป 2015 (2558)
Ø ป 2550 รัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียนลงนามรับรอง AEC Blueprint
“ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน” (ASEAN
แผนงานการจัดตั้ง
Economic Community : AEC)
Ø เมื่อ พฤศจิกายน 2550 ผูนําอาเซียนลงนามใน “ASEAN Charter” และ
“ปฏิญญาวาดวยแผนงานการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน” เพื่อยืนยันเจตนารมณรวมกันดําเนินการใหสําเร็จตามกําหนดในป 2558
มุงสูการเปนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) Øป 2546
ผูนําอาเซียน ลงนามในปฏิญญาบาหลี (Bali Concord II) ASEAN Community) Community แสดงเจตนารมณการนําอาเซียนไปสู “ประชาคมอาเซียน” (ASEAN ในป 2020 (2563)
Ø
ป 2550 ผูนําอาเซียนลงนามใน ปฏิญญาเซบู น” เร็วขึ้น เปนป 2015 (2558) เรงรัดการเปน “ประชาคมอาเซียน”ให
Ø ป 2550 รัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียนลงนามรับรอง AEC Blueprint
“ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน” (ASEAN ASEAN
แผนงานการจัดตั้ง
Economic Community : AEC
Ø เมื่อ พฤศจิกายน 2550 ผูนําอาเซียนลงนามใน “ASEAN Charter” และ
“ปฏิญญาวาดวยแผนงานการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน” เพื่อยืนยันเจตนารมณรวมกันดําเนินการใหสําเร็จตามกําหนดในป 2558
ประชาคม เศรษฐกิจ อาเซียน (AEC)
ประชาคม ความมั่นคง อาเซียน (ASC) ประชาคม สังคม-วัฒนธรรม อาเซียน (ASCC)
•พิมพเขียว AEC •AEC Blueprint ตารางดําเนินการ Strategic Schedule
AEC Blueprint
เปาหมายและพันธกรณี
AEC
แผนงานสําคัญภายใต AEC Blueprint
เปาหมาย AEC 1. เปนตลาดและฐานการผลิตรวม 2. สรางเสริมขีดความสามารถแขงขัน
AEC 3. การพัฒนาเศรษฐกิจอยางเสมอภาค 4. การบูรณาการเขากับเศรษฐกิจโลก
แผนงานสําคัญภายใต AEC Blueprint
1. เปนตลาดและฐานการผลิตรวม มุงดําเนินการใหเกิด…….
AEC
เคลื่อนยายสินคาเสรี เคลื่อนยายแรงงานมีฝมืออยางเสรี
เคลื่อนยายบริการอยางเสรี เคลื่อนยายการลงทุนอยางเสรี
เคลื่อนยายเงินทุนอยางเสรีมากขึ้น
แผนงานใน AEC Blueprint
เคลื่อนยายสินคาเสรี
1. เปดเสรีการคาสินคา ยืนยันการลดภาษีนําเขาตาม CEPT (AFTA) สินคาในรายการลดภาษี
อาเซียน - 6
ป 2553
ป 2558
ภาษี 0%
เวียดนาม ลาว พมา กัมพูชา
ภาษี 0%
ยกเวน สินคาใน Sensitive List ภาษีไมตองเปน 0% แตตอง < 5% ไทยมี 4 รายการ (กาแฟ มันฝรั่ง ไมตัดดอก มะพราวแหง สินคาใน Highly Sensitive List ไมตองลดภาษี
มีสินคาขาว ของอินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟลิปปนส, น้ําตาลของอินโดนีเซีย CEPT : Common Effective Preferential Tariff
แผนงานใน AEC Blueprint
เคลื่อนยายสินคาเสรี
ขจัดมาตรการที่มิใชภาษี NTBs
ยกเลิกเปนระยะ NTBs ชุดที่ 1
NTBs ชุดที่ 2
NTBs ชุดที่ 3
ยกเลิกภายใน 1มค.2551(2008)
ยกเลิกภายใน 1มค.2552(2009)
อาเซียน5 ภายใน 1มค.2553(2010) ฟลิปปนส ภายใน 1มค.2555(2012) CLMV ภายใน 1มค.2558(2015)
NTBs : Non-Tariff Barriers
แผนงานใน AEC Blueprint
เคลื่อนยายบริการเสรี
2. เปดเสรีการคาบริการ
เพิ่มสัดสวนการถือหุนใหกับนักลงทุนสัญชาติอาเซียน ป 2549 (2006)
ป 2551 (2008)
ป 2553 (2010)
ป 2556 (2013)
สาขา PIS 49% 51% 70% :เทคโนโลยีสารสนเทศ สุขภาพ ทองเที่ยว การบิน ลอจิสติกส
ป 2558 (2015)
70% สาขาอื่น
30%
49%
PIS: Priority Integration Sectors
51% (สาขาเรงรัดการรวมกลุม)
70%
แผนงานใน AEC Blueprint
เคลื่อนยายลงทุนเสรี/เงินทุนเสรียิ่งขึ้น
3. เปดเสรีลงทุน Ø
ปฏิบัติกับนักลงทุนอาเซียนเชนเดียวกับนักลงทุนตนเอง
ทบทวนความตกลง AIA ใหเปนขอตกลงการลงทุนเต็มรูปแบบ - (เปดเสรี คุมครอง สงเสริม/อํานวยความสะดวก)
Ø
ACIA : ASEAN Comprehensive Investment Agreement
4. เคลื่อนยายเงินทุนเสรีมากขึ้น Ø
ดําเนินการตามแผนงานที่เห็นชอบโดยรัฐมนตรีคลังอาเซียน
แผนงานสําคัญภายใต AEC Blueprint
1. เปนตลาดและฐานการผลิตรวม 2. สรางเสริมขีดความสามารถแขงขัน
AEC 3. การพัฒนาเศรษฐกิจอยางเสมอภาค 4. การบูรณาการเขากับเศรษฐกิจโลก
แผนงานสําคัญภายใต AEC Blueprint
2. สรางเสริมขีดความสามารถแขงขัน ความรวมมือในดานตางๆ
e-ASEAN
AEC
นโยบายการแขงขัน พัฒนาโครงสรางพื้นฐาน
นโยบายภาษี สิทธิทรัพยสินทางปญญา การคุมครองผูบริโภค
แผนงานสําคัญภายใต AEC Blueprint
1. เปนตลาดและฐานการผลิตรวม 2. สรางเสริมขีดความสามารถแขงขัน
AEC 3. การพัฒนาเศรษฐกิจอยางเสมอภาค 4. การบูรณาการเขากับเศรษฐกิจโลก
แผนงานสําคัญภายใต AEC Blueprint
3. การพัฒนาเศรษฐกิจอยางเสมอภาค
AEC ลดชองวางการพัฒนาระหวางสมาชิกเกาและใหม สนับสนุนการพัฒนา SMEs
แผนงานสําคัญภายใต AEC Blueprint
1. เปนตลาดและฐานการผลิตรวม 2. สรางเสริมขีดความสามารถแขงขัน
AEC 3. การพัฒนาเศรษฐกิจอยางเสมอภาค 4. การบูรณาการเขากับเศรษฐกิจโลก
แผนงานสําคัญภายใต AEC Blueprint
4. การบูรณาการเขากับเศรษฐกิจโลก จัดทํา FTA กับประเทศนอกภูมิภาค
ปรับประสานนโยบายเศรษฐกิจ
AEC สรางเครือขายการผลิต จําหนาย
ASEAN - China ASEAN - Korea ASEAN- Japan ASEAN- India ASEANAustralia/NewZealand ASEAN- EU ASEAN- US (TIFA)
“+3” “+6”
FTA ระหวางอาเซียนกับประเทศคูเจรจา -- ปจจุบัน China
สินคา : มีผล 2549 ~ บริการ : มีผล 2550 ~ ลงทุน : จะลงนาม สค 52
ASEA N-Chi na FTA
AJFTA Japan A KF สินคา/บริการ/ลงทุน : ลงนาม 2551 คาดวา (ไทย) มีผล มิย 52
AIFTA สินคา : ใกลสรุปผล คาดวาจะลงนาม สค. 52
AEC TA
N A A
India
จากนั้นจะเริ่มเจรจา บริการ/ลงทุน
A T ZF
Korea
สินคา/บริการ : มีผลปลายป 2552 (อาเซียนอื่นมีผล50 ~) ลงทุน : ลงนาม มิย.52
Australia
New Zealand
สินคา/บริการ/ลงทุน : ลงนาม กพ 2552 คาดวามีผล กลางป/ปลายป 52
การขยาย FTA ของอาเซียน – อนาคต… CEPEA (Comprehensive Economic Partnership in East Asia) (ASEAN +6)
EAFTA (East Asia FTA) (ASEAN +3) China
Japan
AEC
Australia
New Zealand
Korea India
FTA ของอาเซียนกับประเทศคูเจรจา – อนาคต….
AEC ?? EU
Russia GCC
MERCOSUR
Gulf Cooperation Mercado Comun del Sur Councils ตลาดรวมอเมริกาใตตอนลาง
ประโยชนที่ไทยจะไดรับภายใต AEC
AEC
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ป 2558 ผลประโยชนจากการเปดเสรีการคาสินคาและลงทุน
ตลาดขนาดใหญ Ø
ประชากรกวา 570 ลานคน
Ø
Economy of Scale (ผลิตยิ่งมาก ตนทุนยิ่งลดลง)
Ø
ดึงดูดการลงทุนจากประเทศนอกอาเซียน
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ป 2558 ผลประโยชนจากการเปดเสรีการคาสินคาและลงทุน
สงเสริมแหลงวัตถุดิบ Ø
ไดประโยชนจากทรัพยากรในภูมิภาคอาเซียน
Ø
วัตถุดิบถูกลง ตนทุนต่ําลง ขีดความสามารถแขงขันสูงขึ้น
Ø
เลือกหาวัตถุดิบ แรงงาน เทคโนโลยี และสถานที่ผลิตที่ไดเปรียบที่สุด กลุมที่มีวัตถุดิบและ แรงงาน เวียดนาม กัมพูชา พมา ลาว
กลุมที่มีความถนัด ดานเทคโนโลยี
กลุมที่เปนฐานการผลิต
สิงคโปร มาเลเซีย ไทย
ไทย มาเลเซีย อินโดนีเซีย เวียดนาม
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ป 2558 ผลประโยชนจากการรวมกลุมของอาเซียน
เพิ่มกําลังการตอรอง Ø 10 เสียง ดังกวาเสียงเดียว Ø แนวรวมในการเจรจาตอรอง ในเวทีการคาโลก เชน WTO Ø เปนที่สนใจของประเทศอื่น ที่จะมาทําขอตกลงการคาเสรี (FTA)
ประโยชนของการทําขอตกลงการคาเสรี(FTA)รวมกันของอาเซียน กรณีใชความตกลงทวิภาคี ไทย-คูคา กระดุมเวียดนาม โรงงานตัดเย็บในกัมพูชา ผลิตขั้นตอนสุดทายในไทย
JTEPA TAFTA / TNZCEP
ญี่ปุน
ออสเตรเลีย นิวซีแลนด
ลูกไมถักฟลิปปนส สงไปปกในลาว ผาผืนของไทย
ประโยชนของการทําขอตกลงการคาเสรี(FTA)รวมกันของอาเซียน กรณีใชความตกลง อาเซียน-คูคา
การใชประโยชนการสะสมถิ่นกําเนิดสินคา ลูกไมถักฟลิปปนส
กระดุมเวียดนาม โรงงานตัดเย็บในกัมพูชา
สงไปปกในลาว
ผลิตขั้นตอนสุดทายในไทย
ผาผืนของไทย
อาเซียน
AJCEP
ญี่ปุน
AANZFTA
ออสเตรเลีย นิวซีแลนด
สหภาพยุโรป AIFTA
AKFTA
เกาหลี
ฐานการ ผลิตรวม
A-CHN FTA
จีน
EU
อินเดีย
การใชประโยชนจาก AEC
AEC
เสาะหาลูทางและโอกาส Ø
จะเลือกหาวัตถุดิบ ชิ้นสวน ฯลฯ จากที่ใด “ในอาเซียน”
จากการผลิตเบ็ดเสร็จในประเทศ ไปสูการเลือก “ฐานการ ผลิต” ที่เหมาะสมที่สุด “ในอาเซียน” Ø
Ø
ธุรกิจบริการใหมๆที่ไทยมีศักยภาพและมีความไดเปรียบ
มีทุน มีเทคโนโลยี มีความเชี่ยวชาญการตลาด หรือมีจุดแข็งใน การบริการ ไมวาตั้งอยูที่ไหนในอาเซียน ก็ไมใชปญหา
Ø
Ø
ตลาดไมใชแค ASEAN 10 แตเปน ASEAN 10 +3, +6, + XX
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ป 2558
แหลงขอมูลเพิ่มเติม
ขอมูลอาเซียนโดยรวม / ขอมูลการคา / กฏระเบียบการคา / การลงทุน และเขาไปที่ “ASEAN Conner” (เวปไซตของสํานักเลขาธิการอาเซียน)
Ø www.thaifta.com Ø www.asean.org
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ป 2558
www.dtn.go.th www.thaifta.com
DTN call center 02 507 7555