แนวทาง
การพัฒนาทุนชุมชน
คำ�นำ� “การพัฒนาทุนชุมชน” เป็นกลไกสำ�คัญในกระบวนการสร้างชุมชนให้เข้มแข็ง ทำ�ให้เกิดการ พั ฒ นาชุ ม ชนครอบคลุ ม ในหลายมิ ติ ทั้ ง ด้ า นเศรษฐกิ จ ด้ า นสั ง คม ด้ า นประชาธิ ป ไตย ด้ า น ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ตลอดจนด้านวัฒนธรรมวิถีการดำ�รงชีวิตของคนในชุมชน ซึ่ง เป็นรากฐานในการพัฒนาชุมชนให้เข้มแข็งอย่างยั่งยืน กรมการพัฒนาชุมชน เป็นหน่วยงานของรัฐ ที่มีบทบาทสำ�คัญในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนในชนบทให้สามารถช่วยเหลือตนเองได้ มุ่งเน้นการสร้างและพัฒนา “ คน ” ในชุมชนผ่านกระบวนการและกิจกรรมต่าง ๆ ให้เกิดการ เรียนรู้และมีส่วนร่วมในการทำ�งานพัฒนาชุมชนท้องถิ่นของตนเอง กรมการพัฒนาชุมชน มีภารกิจหลักสำ�คัญในการส่งเสริมการพัฒนาทุนชุมชน เพื่อสร้าง ความเข้มแข็งให้กับชุมชน สอดคล้องกับยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชนด้าน “การพัฒนาทุน ชุมชน” เพือ่ เสริมสร้างความเข้มแข็งในการบริหารจัดการทุนชุมชนให้มปี ระสิทธิภาพ โดยใช้ศกั ยภาพ ของทุนที่มีอยู่ในชุมชนในการพัฒนาทุนชุมชน ดังนั้น เจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชน จึงมีบทบาทสำ�คัญ ในการส่งเสริมการบริหารจัดการทุนชุมชนให้ชุมชนตระหนักและรักษาสมดุลของทุนในชุมชนและ ชุมชนร่วมรับผิดชอบ เอกสารแนวทางการพัฒนาทุนชุมชนสำ�หรับเจ้าหน้าทีพ่ ฒ ั นาชุมชนฉบับนี้ จัดทำ�ขึน้ เพือ่ ให้ เจ้าหน้าทีพ่ ฒ ั นาชุมชนได้ทำ�ความเข้าใจอันจะทำ�ให้สามารถกำ�หนดแนวทางส่งเสริมการพัฒนาทุน ชุมชนได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ ก่อให้เกิดความเข้มแข็งและยั่งยืนของชุมชนต่อไป สำ�นักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน สิงหาคม 2553
สารบัญ ส่วนที่ 1 บทนำ� : การพัฒนาทุนคืออะไร 7-18 แนวคิดการพัฒนาทุนชุมชน ความหมายและประเภท “ทุนชุมชน” ส่วนที่ 2 กรมการพัฒนาชุมชนกับภารกิจ “การพัฒนาทุนชุมชน” 19-25 กรมการพัฒนาชุมชนกับภารกิจ “การพัฒนาทุนชุมชน” ส่วนที่ 3 รูปแบบและแนวทางการพัฒนาทุนชุมชน 26-45 รูปแบบ (Model) การพัฒนาทุนชุมชน ขั้นตอนการพัฒนาทุนชุมชน ขั้นตอนที่ 1 : การจัดเก็บข้อมูลทุนชุมชน ขั้นตอนที่ 2 : การวิเคราะห์ข้อมูลทุนชุมชน ขั้นตอนที่ 3 : การพัฒนาทุนชุมชน ขั้นตอนที่ 4 : การประเมินผลการพัฒนาทุนชุมชน ส่วนที่ 4 ภารกิจ บทบาทหน้าที่ ของหน่วยงานและภาคี ในการพัฒนาทุนชุมชน 46-56 ขั้นตอนที่ 1 : การจัดเก็บข้อมูลทุนชุมชน ขั้นตอนที่ 2 : การวิเคราะห์ข้อมูลทุนชุมชน ขั้นตอนที่ 3 : การพัฒนาทุนชุมชน แนวทางที่ 1 : การจัดทำ�แผนชุมชน แนวทางที่ 2: หน่วยงาน/ภาคีจัดทำ�แผนปฏิบัติงานประจำ�ปี ขั้นตอนที่ 4 : การประเมินผลการพัฒนาทุนชุมชน ภารกิจการพัฒนาทุนชุมชนในส่วนความรับผิดชอบของ กรมการพัฒนาชุมชน ภาคผนวก ถอดบทเรียน “การพัฒนาทุนการเงินสู่ทุนสังคม” 58-78 ประมวลภาพทุนชุมชน 79-80
[ ส่วนที่ 1 ]
บทนำ� : การพัฒนาทุนชุมชน คืออะไร?
แนวคิดการพัฒนาทุนชุมชน
“ทุนชุมชน” คนทั่วไปมักจะเข้าใจว่าหมายถึง “กองทุนชุมชน” นั่นคือเป็นเรื่อง ของเม็ดเงินล้วน ๆ ที่มีเป้าประสงค์ต่าง ๆ กัน เช่น กองทุน กข.คจ. ซึ่งหมายถึงโครงการแก้ไข ปั ญ หาความยากจนของรั ฐ บาล จั ด ตั้ ง ขึ้ น มาเมื่ อ ปี พ.ศ. 2536 โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค์ เพื่อให้ครัวเรือนยากจน (ที่มีรายได้ต่ำ�กว่า 5,000 บาท/คน/ปี ตามเกณฑ์ จปฐ. ปี 2535) ได้ยืมเงิน จากกองทุนไปลงทุนประกอบอาชีพให้มรี ายได้พ้ น้ เส้นความยากจนดังกล่าวโดยไม่เสียดอกเบีย้ หรือ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง ที่เรารู้จักกันโดยทั่วไปว่า กทบ. ที่รัฐได้จัดตั้งขึ้นในปี พ. ศ. 2544 โดยสนับสนุนเงินกองทุนให้หมู่บ้านละ 1,000,000 บาท เพื่อเป็นแหล่งทุนหมุนเวียนสำ�หรับการ ลงทุน การสร้างงานและอาชีพ ฯลฯ โดยเสียดอกเบี้ยในอัตราที่เป็นธรรม หรือรวมทั้งกลุ่มออม ทรัพย์เพือ่ การผลิต ทีจ่ ดั ตัง้ มาตัง้ แต่ปี พ. ศ. 2517 โดยการรวมตัวกันของประชาชนเพือ่ ช่วยเหลือ ตนเองและคนในชุมชนด้วยวิธีการประหยัดทรัพย์สะสมเงินทีละเล็กทีละน้อยเป็นประจำ�สม่ำ�เสมอ ทุก ๆ เดือน เรียกว่า “เงินสัจจะสะสม” เพื่อใช้เป็นทุนให้สมาชิกที่มีความจำ�เป็นเดือดร้อนได้กู้ยืม ไปใช้ในการประกอบอาชีพหรือเพื่อสวัสดิการของตนเอง ครอบครัว และชุมชน
แต่แท้จริงแล้ว “ทุนชุมชน” ยังมีความหมายที่กว้างไกลไปกว่าเรื่องของเงินตรา กล่าวคือ หมายถึง สรรพสิ่งใด ๆ ก็ตามที่มีอยู่ในชุมชน ทั้งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติและเกิดขึ้น จากฝีมือหรือมันสมองภูมิปัญญาที่มีมูลค่าหรือคุณค่าของมนุษย์ ได้แก่ ทรัพยากรธรรมชาติ/ สิ่งแวดล้อม คน วัฒนธรรมประเพณี หรือปัจจัยบริการด้านโครงสร้างพื้นฐานต่าง ๆ รวมถึง “เงิน” ที่เป็นปัจจัยทางเศรษฐศาสตร์ที่มีมูลค่าต่อการดำ�เนินวิถีชีวิตของคนในสังคมปัจจุบันด้วย สำ�นักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน
แนวทางการพัฒนาทุนชุมชน
7
จากกรอบความหมายดังกล่าว จึงอาจสรุปได้ว่า “ทุนชุมชน” มีผลต่อวิถีชีวิต ของประชาชนและความเข้มแข็งของชุมชน ไม่ว่าจะเป็นปัญหาที่เกิดขึ้นอย่างฉับพลันหรือปัญหาที่ ยังไม่เกิดก็ตาม ประชาชน/ชุมชนจะรู้เท่าทันและสามารถจัดการ “ทุนชุมชน” ได้ หากชุมชนนั้น มี “ทุนชุมชน” ที่สมบูรณ์ สมดุลและเข้มแข็ง ภายใต้การปรับบทบาทของ “นักพัฒนาชุมชน” (Development Worker) มาเป็น “นักจัดการการพัฒนา” (Development Manager) ให้ควบคู่ เคียงขนานกันไปอย่างลงตัว โดยมีประชาชนในชุมชนเป็นศูนย์กลาง “การพัฒนาชุมชน” *Kretzmznn, Jhon P. and Jhon L McKnight. 1993. (Building Community from the Inside Out: a Path toward Finding and Mobilization a Community’s Assets. Chicago,IL: ACTA Publications.) ได้ให้แนวคิดในการสร้างความเข้มแข็งชุมชนด้วย “ทุนชุมชน” โดยการเปรียบเทียบแนวคิดแบบดั้งเดิมกับแนวคิดใหม่ในการพัฒนาชุมชนไว้ดังนี้ ที่
ประเด็นความคิด
1 แนวคิดพื้นฐาน 2 3 4 5
แบบดั้งเดิม
เริ่มต้นจากการศึกษาหาความ จำ�เป็นทั้งหลาย การกำ�หนดเป้าหมาย เพื่อเปลี่ยนแปลงสถาบัน การสนทนาแลกเปลี่ยน เพื่อพิจารณาปัญหา/ความกังวล ผู้นำ�การเปลี่ยนแปลง คืออำ�นาจ การมองประชาชน คือผู้บริโภค/ลูกค้า
แบบใหม่ เริ่มต้นจากการศึกษาหาความ จำ�เป็นทั้งหลาย เพื่อสร้างชุมชนเข้มแข็ง เพื่อพิจารณาทักษะความใฝ่ฝัน คือความสัมพันธ์ ผู้นำ�การเปลี่ยนแปลง/เจ้าของ ปัญหาและเป็นเจ้าของชุมชน
ในเวลาเดียวกัน Kretzmznn, Jhon P. and Jhon L McKnight ก็ให้ความสำ�คัญ กับการวิเคราะห์และการประเมิน “ปัญหา/ความจำ�เป็น” โดยการใช้เครื่องมือ “จัดลำ�ดับความ สำ�คัญ” (Piority) เพื่อใช้ในการ “ตัดสินใจ” (Make Decision) ว่ามีความจำ�เป็น/ ปัญหาในลำ�ดับ ใดบ้าง ที่จะต้องมีการบริหารจัดการ (Management) และระดมสรรพทรัพยากรอย่างจริงจังของ ชุมชน ฉะนั้น จึงมีคำ�ถามว่า..การเริ่มต้น “พัฒนาชุมชน” เราควรจะเลือกเส้นทางใดก่อน หรือ หลัง ระหว่าง “การศึกษาค้นหาปัญหา/ความต้องการ” กับ “การศึกษาค้นหาทุนชุมชน” ด้วยการ ใช้ตารางเปรียบเทียบ ดังต่อไปนี้
8
แนวทางการพัฒนาทุนชุมชน
สำ�นักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน
ปัญหา/ความจำ�เป็น
ทุนสังคม
- มุ่งเน้นที่ “ความขาดแคลน” (Lack) - ส่งผลให้ต่างคนต่างอยู่ “แก้ปัญหาชุมชนไม่ได้” - ส่งผลให้ประชาชน “เป็นผู้พึ่งพาคอยแต่รับบริการ” -ประชาชนมี ส่ ว นร่ ว มน้ อ ยต่ อ การแก้ ไ ขปั ญ หา ชุมชน
- มุ่งเน้นที่ “ประสิทธิผล” (Effectiveness) - เกิดปฏิสัมพันธ์กันและพัฒนาสู่ “ชุมชนเข้มแข็ง” -ชุมชนสามารถค้นหาทางออกของปัญหา ด้วยทุน “ ปัญญา” ของประชาชน - ประชาชนสามารถแก้ไขปัญหาชุมชน ได้ด้วยตนเอง
จากตารางข้างต้น สามารถสรุปเป็นกรอบความคิดแบบดั้งเดิมและแบบใหม่ได้ ดังนี้
Think Tank
ประชาชน/ชุมชน ล้วนขาดแคลนและมี ความจำ�เป็น
Think Tank
ประชาชน/ชุมชน ต่างมีความสามารถ/ มีภูมิปัญญา
ดังนั้น สิ่งที่ตกผลึกสำ�หรับ “ปัญหา/ ความจำ�เป็น” และ “ทุนทางสังคม” คือสิ่งที่เรา ควรเริ่มต้นพัฒนาชุมชนด้วยการค้นหา “ทุนชุมชน” * การค้นหา “ทุนชุมชน” คือการค้นหาทุนประเภทต่าง ๆ ได้แก่ ความรู้ภูมิปัญญา/ ทักษะของคน ทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อมที่มีอยู่ภายในชุมชน แล้วนำ�มาจัดหมวดหมู่และ บันทึกเป็น “แผนที่ทุนชุมชน” เพื่อการนำ�ไปใช้ประโยชน์ให้เป็นไปอย่างองค์รวม สร้างสรรค์พัฒนา ชุมชนให้เข้มแข็งสืบไป *สมชาติ เอี่ยมอนุพงษ์” ผู้เชี่ยวชาญพิเศษด้านการแก้ไขฟื้นฟูและกิจกรรมชุมชน กรมคุมประพฤติ กระทรวงยุติธรรม, เอกสารงานวิจัย สำ�นักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน
แนวทางการพัฒนาทุนชุมชน
9
จากแนวคิดผสานกับบทบาทภารกิจของกรมการพัฒนาชุมชน จึงสามารถสรุปเป็น ความเห็นว่า ...หากเรามี “ทุนการเงิน” อย่างมากมายมหาศาล ...แต่เราต้องประสบกับปัญหาใน การดำ�เนินชีวิตอย่างแสนสาหัสเพราะสิ่งแวดล้อมเป็นพิษ ...ทุนสังคมล่มสลาย ...มนุษย์เรียนรู้แค่ เพียงใช้ ...แต่ไม่รู้จักบำ�รุงรักษา ...จึงทำ�ให้ “ทุนชุมชน” ขาดความสมดุล... และ“ทุนชุมชน” จะมี ความสมบูรณ์ ...ดำ�เนินไปอย่างสมดุล ...คงอยู่ได้อย่างยั่งยืนนั้น “ทุนมนุษย์” เป็นทุนที่ต้องให้ค วามสำ�คัญเป็นลำ�ดับแรกเพราะมนุษย์เป็นทั้งผู้สร้าง..ผู้ใช้..ผู้รักษา.. และผู้ทำ�ลาย การสำ�รวจ ค้นหา “ทุนชุมชน” ด้านต่าง ๆ ที่ได้มาในรูปลักษณ์ของข้อมูล กชช. 2 ค (ข้อมูลพื้นฐานระดับหมู่บ้าน) หรือข้อมูล จปฐ. (ข้อมูลความจำ�เป็นพื้นฐาน) เราจะต้องนำ�มา ประเมินค่าหาศักยภาพให้รู้ว่ามี “ทุนชุมชน” ในด้านใดสมบูรณ์หรือบกพร่อง สมดุลหรือขาดดุล ฯลฯ แล้วจึงนำ�เข้าสู่ “กระบวนการพัฒนาชุมชน” ต่อไป ซึ่ง “การประเมินศักยภาพทุนชุมชน” นี้ ได้นำ�เสนอไว้ในส่วนที่ 3
10
แนวทางการพัฒนาทุนชุมชน
สำ�นักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน
ความหมายและประเภทของ “ทุนชุมชน” จากการศึกษาค้นคว้าเรื่อง “ทุนชุมชน” จากเอกสารผลงานทางวิชาการ สถาบัน ทางการศึกษาและผู้ทรงคุณวุฒิต่าง ๆ สรุปความหมายของ “ทุนชุมชน” (Community Capital) คือ สิ่งที่เป็นมูลค่าหรือมีคุณค่าที่มิใช่เงินตราเพียงอย่างเดียว แต่หมายถึงสิ่งอื่น ๆ ที่มี ความสำ�คัญต่อชีวิตความเป็นอยู่ของคน เช่น ทุนทรัพยากรที่ก่อให้เกิดผลผลิต รวมถึงเงินและ สินทรัพย์อื่น ๆ ที่เป็นความรู้ ภูมิปัญญา ประสบการณ์ ของคน ทุนทางสังคม วัฒนธรรมประเพณี ปัจจัยบริการทางโครงสร้างพื้นฐาน เป็นต้น และได้จัดหมวดหมู่/ จำ�แนกประเภทของ “ทุน” ออกเป็น 2 ส่วน เพื่อให้เหมาะสมกับบทบาทภารกิจของกรมการพัฒนาชุมชน คือ 1 ทุนการเงิน โดยดำ�เนินการ ส่งเสริมและพัฒนาองค์กรการเงิน พัฒนา กิจกรรมทางการเงินให้กบั องค์กรการเงิน รวม ทั้งการพัฒนาศักยภาพขององค์กรการเงินให้ สามารถพัฒนาทุนชุมชนให้เข้มแข็งเพื่อการ จัดการแก้ไขปัญหาของชุมชน 2 ทุนชุมชน ด้านอืน่ ๆ ซึง่ เป็นกิจกรรมการพัฒนาทีอ่ ยูใ่ น ความรับผิดชอบของหน่วยงานทั้งในและนอก กรมการพัฒนาชุมชน ที่ยังขาดความสมดุล และยังไม่ได้ด�ำ เนินการตามแนวคิดใหม่ในการ “พั ฒ นาทุ น ชุ ม ชน” ดังนั้น จึงได้จำ�แนก ประเภทของทุนชุมชนไว้ 5 ประเภท ดังนี้ 1. ทุนมนุษย์ (Human Capital) หมายถึง คุณสมบัติด้านต่าง ๆ ของคนทุก เพศทุกวัยในชุมชน ที่มีคุณสมบัติในด้าน สุขภาพอนามัย อายุขัย/ ด้านการศึกษา ภูมปิ ญ ั ญา ขดี ความสามารถ/ ดา้ นฐานะทาง เศรษฐกิจ ความยากจน ร�่ำ รวยของคนในครัว เรือน ตัวอย่างได้แก่ ปราชญ์ชาวบ้าน ผู้นำ� ชุมชนทัง้ ทีเ่ ป็นทางการและไม่เป็นทางการ ครู พระสงฆ์ กลุ่มองค์กรต่าง ๆ เด็ก สตรี เยาวชน ผู้สูงอายุ ผู้ด้อยโอกาส คนพิการ เด็กกำ�พร้า เป็นต้น สำ�นักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน
แนวทางการพัฒนาทุนชุมชน
11
ดร.สุวทิ ย์ เมษินทรีย ์ ผอู้ �ำ นวยการ ศู น ย์ วิ จั ย และให้ คำ � ปรึ ก ษาสถาบั น บั ณ ฑิ ต บริหารธุรกิจศศินทร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระบุวา่ ความจำ�เป็นของการ “พัฒนาทุนมนุษย์” นั้นไม่ใช่เรื่องใหม่ ประเทศต่าง ๆ ทั่วโลกได้ ตระหนักกันนานแล้ว ซึ่ง “เทรนด์หรือยี่ห้อการ พัฒนามนุษย์” ก็เป็นไปในทิศทางเดียวกันหมด คือ หันกลับมาสู่การ “พัฒนาในเรื่องจิตใจ” มนุษย์เราจะอยูใ่ นโลกอย่างสมดุลได้จ�ำ เป็นต้อง มีการพึง่ พาอาศัยซึง่ กันและกัน ซงึ่ ค่านิยมในยุค ใหม่จะต้องมีความ “ใส่ใจและแบ่งปัน” ปัจจัย ของความสำ�เร็จจะประกอบไปด้วย “ความเชื่อมั่น ใส่ใจ แบ่งปัน และทำ�งานร่วมกับผู้อื่น” สำ�หรับ สังคมไทย ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์ ให้ความเห็นเพิ่มเติมอีกว่า “แต่เดิมคนไทยเป็นผู้บริโภคความรู้ ต่อไปนี้เราต้องนำ�เอาความรู้นั้นออกมาแบ่งปันกัน ������������������������������������������������ ����������������������������������������������� ทำ�ให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ��������������� �������������� นำ�ความรู้ใหม่ ทีไ่ ด้ไปต่อยอดความรูเ้ ดิม��������������������������������������������������������������������� �������������������������������������������������������������������� เกิดเป็นนวัตกรรมขึน้ มา��������������������������������������������� ������������������������������������������� ซึง่ ทัง้ หมดนีเ้ ราสามารถนำ�เอาปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียงที่เป็นปรัชญาสากล มาปรับใช้กับคนได้ทุกระดับ เพราะแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงนั้น สอดคล้องกับทิศทางของโลกในอนาคต” “เศรษฐกิจพอเพียง” เป็นปรัชญามหามงคลของปวงไทย “พัฒนาทุนมนุษย์” ของประเทศไทย...ก็นำ�มาปรับใช้ได้ !! การพัฒนาทุนมนุษย์ในประเทศไทย ����������������������� ���������������������� ก็เป็นเรือ่ งสำ�คัญ ที่ สอดคล้องกับทฤษฎีบริหารจัดการทรัพยากรมนุษย์ ที่ มองว่า “คนเป็นศูนย์กลางของการพัฒนา” ซึ่งแผน พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 เน้นที่ การเตรี ย มความพร้ อ มของคนไทยเพื่ อ รองรั บ ความ เปลีย่ นแปลงในอนาคต ขณะทีส่ �ำ นักงาน ก.พ. ��������� �������� ก็ขานรับ ความจำ�เป็นเร่งด่วนนี้ ������������������������������ ����������������������������� เพราะทั้งระดับองค์กร �������� ������� สังคม � และประเทศชาติ จะสามารถอยูร่ อด เติบโต และประสบ ความสำ�เร็จในโลกยุคปัจจุบัน ���������������������������������������������������������������� ������������������������������������������������������������������� ที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วได้นั้น ������������������������� �������������������������� “มนุษย์” หรือคนในประเทศ จะต้องมี “ทุน” ที่เหมาะสม ในที่นี้หมายถึงมี “ความรู้ ทักษะ ความสามารถ ประสบการณ์ ค่า นิยม” ที่เหมาะสมเพื่อใช้ในการทำ�งานให้บรรลุผล���������������������������������������������� ��������������������������������������������� เรียกสั้นๆ����������������������������������� ���������������������������������� ว่า ������������������������������ ������������������������������� “ทุนมนุษย์”หรือ“Human capital” 12
แนวทางการพัฒนาทุนชุมชน
สำ�นักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน
2. ทุนสังคม (Social Capital) หมายถึง ทรัพยากรทางสังคมที่ประชาชนใช้เพื่อการดำ�รงชีพ รวมทั้งความไว้เนื้อเชื่อใจ การยอมรับซึ่งกันและกันในชุมชน กลุ่มองค์กร เครือข่ายภาคประชาชน/ ประชาสังคม ความเชื่อถือศรัทธา ตลอดจนวัฒนธรรมที่สืบทอดมายาวนาน
รูปแบบของทุนสังคมตามแนวคิดของสังคมไทย
ด้ ว ยการใช้ คำ � เรี ย ก “ทุ น สั ง คม” (Social Capital) ที่ มี แ ตกต่ า งกั น ออกไป ������� ������ อาทิ “ทุนบ้านนอก” / “ทุนของชุมชน” / “ทุนท้องถิ่น” ฯลฯ ดังนั้น รูปแบบทุนทางสังคมในบริบทของ สังคมไทย * จึงมีหลากหลาย ดังนี้ 1. ศิลปวัฒนธรรมทีม่ อี ยูใ่ นชุมชน ซงึ่ เป็น ฐานชี วิ ต ในการทำ � มาหากิ น ของคนไทย ยก ตัวอย่างเช่น ความคิด ความเชื่อ ความศรัทธา ทางศาสนา ศิลปะ การทอผ้า ทอเสื่อ 2. จารีต ประเพณี เป็นลักษณะเฉพาะ ของท้องถิน่ ทีห่ ล่อหลอมจากประสบการณ์จากคน รุน่ หนึง่ สูร่ นุ่ หนึง่ เป็นสำ�นึกร่วมของคนในชุมชนที่ มุ่งสร้างระบบขึ้นมา เพื่อดูแลควบคุมชุมชน ให้ ดำ�รงชีวิตไปตามระบบคุณค่าและระบบคิดของ ชุมชนนั้น 3. ความมีน้ำ�ใจเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่����������� ���������� เอื้ออาทร ได้แก่ การแบ่งปันช่วยเหลือซึ่งกันและกันผ่าน กิจกรรมต่าง ๆ ทั้งในระดับสมาชิก/ กลุ่ม หรือ ระหว่างชาวบ้านซึ่งอาจจะขยายออกไปถึงชุมชน ใกล้เคียงและขยายความมีน้ำ�ใจ�������������� ������������� เอื้ออาทรออก ไปถึงคนยากจน ผูด้ อ้ ยโอกาส รวมถึงแรงงานคืน ถิ่นในชุมชนอีกด้วย 4.ระบบความสัมพันธ์ของคนในชุมชน ไทย มีลักษณะของระบบครอบครัวเครือญาติ มี ความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่กัน ช่วยเหลือเกื้อกูลกันในยามตกทุกข์ได้ยาก เช่น ระบบเอามื้อเอาแรงกัน การลงแขกเกี่ยวข้าว�������������������������������������������������������������������������� ������������������������������������������������������������������������� ความสัมพันธ์อันอบอุ่นนี้ ����������������������������������������������� ���������������������������������������������� จะเป็นโครงสร้างอันสำ�คัญที่จะยึดโยงชุมชนไว้ให้ เข้มแข็งไม่แตกสลายโดยง่าย *�������������������������������������������������������������������������������� จัดทำ�โดย :: ฝ่ายข้อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศ สำ�นักวิชาการและการเผยแพร่ สันนิบาต สหกรณ์แห่งประเทศไทย เลขที่ 4 ถนนพิชัย เขตดุสิต กรุงเทพฯ 10300 สำ�นักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน
แนวทางการพัฒนาทุนชุมชน
13
5. ความสามัคคี รวมพลัง รวมใจและรวม ความคิดของสมาชิกในกลุ่มหรือของกลุ่มต่าง ๆ ในชุมชนและชุมชนใกล้เคียงหรืออาจจะขยาย เชื่อมโยงกับหน่วยงานราชการและหน่วยงาน สนับสนุนอื่น ๆ เพื่อให้เกิดการระดมทุนทาง สังคมและภูมิปัญญาท้องถิ่น จนเกิดความต่อ เนื่องยั่งยืนของกิจกรรมในระยะยาว 6. ทักษะในการจัดการร่วมกัน ������������������������������������������������� ������������������������������������������������ ซึ่งจะเกิดการเพิ่มความสามารถ ทักษะ������������� ������������ ความชำ�นาญ ในการจัดการเรื่องต่าง���������������������������������������������������������������������� ��������������������������������������������������������������������� ๆ�������������������������������������������������������������������� ������������������������������������������������������������������ ของกลุ่ม/��������������������������������������������������������� �������������������������������������������������������� องค์กร/������������������������������������������������� ������������������������������������������������ เครือข่ายองค์กร ร่วมกับองค์การบริหารส่วนตำ�บล � โรงเรียน หรือวัด เพื่อร่วมกันแก้ไขปัญหาความทุกข์ยากของชุมชนให้เกิดการพออยู่พอกินและมี ความพอเพียงร่วมกัน 7. ภูมิปัญญาท้องถิ่น ������������������������������������������������������������������ �������������������������������������������������������������������� กระบวนการเรียนรู้ที่ชุมชนสร้างสรรค์และสั่งสมขึ้นมาเพื่อการดำ�รงชีพ ยกตัวอย่าง เช่น ���������������������������������������������������������������� ��������������������������������������������������������������� ภูมิปัญญาของชาวบ้านในการทำ�เกษตรรกรรม การแพทย์พื้นบ้าน �������� ������� เป็นต้น ดังนั้น ทุนทางสังคมที่เป็นรูปธรรมรวมทั้งปัจจัยที่เอื้อให้เกิดทุนทางสังคมจากภายในและ ภายนอกชุมชน จากนักคิด/ นักวิชาการ/ และหน่วยงานผู้รับผิดชอบ ชัดเจนในตัวเองว่า “ทุนทาง สังคม” เป็นคุณค่าเดิมที่สังคมไทยมีอยู่แล้ว ไม่ว่าจะเป็นการ มีน้ำ�ใจต่อกัน การแบ่งปันซึ่งกันและ กัน ความเอื้ออาทรที่มีต่อกัน การเกาะเกี่ยวกันทางสังคม การรวมกลุ่มเป็นองค์กร หรือการจัดตั้ง เป็นเครือข่ายต่าง ๆ เช่น กลุ่มเกษตรผสมผสาน เครือข่ายโรงสีชุมชน กลุ่มเยาวชนสำ�นึกรักษ์ บ้านเกิด เป็นต้น รวมทั้งภูมิปัญญาท้องถิ่นและกระบวนการเรียนรู้ที่ชุมชนสร้างสรรค์และสั่งสม ขึ้นมาเพื่อการดำ�รงชีพ ฉะนั้น ทุนทางสังคมดังกล่าวนี้คือพลังสำ�คัญที่จะขับเคลื่อนให้ชุมชนต่าง ๆ มีความสามารถในการเพิ่มทุนทางสังคมให้กับชุมชนตนเองมากขึ้น มีความเท่าทันต่อปัญหาและมี ความสามารถในการจัดการกับปัญหาได้มากขึ้น และท้ายที่สุดสามารถพึ่งพาตนเองได้จริงใน ระยะยาว กล่าวโดยสรุปคือ การพัฒนาทุนทางสังคมของไทย ควรมุ่งเน้นไปที่รากฐานดั้งเดิม หรือ แหล่งที่มาของทุนทางสังคม เช่น ศาสนา ขนบธรรมเนียมปฏิบัติ และประวัติศาสตร์ ท้องถิ่น โดยไม่ควรที่จะพยายามปรับเปลี่ยนรากฐาน แต่ควรกระตุ้น สนับสนุนและส่งเสริม รากฐานดั้งเดิมให้มีความเข้มแข็งมากขึ้น
14
แนวทางการพัฒนาทุนชุมชน
สำ�นักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน
3. ทุนกายภาพ (Physical Capital) หมายถึง สิ่งที่มนุษย์ได้สร้างขึ้นเพื่ออำ�นวยความสะดวก ต่อการดำ�เนินชีวิต หรือเป็นปัจจัยพื้นฐานในการการผลิตที่สนับสนุนการดำ�รงชีพของประชาชน ได้แก่ การคมนาคมขนส่ง ระบบไฟฟ้า ประปา ระบบพลังงาน การสื่อสาร โทรคมนาคม โบราณ วัตถุ โบราณสถาน หรือสิ่งปลูกสร้างต่างๆ 4. ทุนธรรมชาติ (Natural Capital) หมายถึง ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมต่าง ๆ ที่เป็นตัวกำ�หนด ศักยภาพในการดำ�รงชีวิตและ การประกอบอาชีพของประชาชน ในชุมชน ได้แก่ แหล่งน้ำ�ธรรมชาติ ป่าไม้ ดิน น้ำ� ภูเขา ทะเล เกาะ สัตว์ป่า แร่ธาตุ พลังงาน น้ำ�พุ พืชพันธุ์ธัญญาหารธรรมชาติ เป็นต้น สำ�นักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน
แนวทางการพัฒนาทุนชุมชน
15
ปั จ จุ บั น การพั ฒ นาด้ า นวั ต ถุ อั น ไม่ ห ยุ ด หย่ อ นของมนุ ษ ย์ จ ะส่ ง ผลกระทบต่ อ สิง่ แวดล้อมในระดับทีค่ นทัง้ โลกสามารถรูส้ กึ ได้ในชีวติ ประจำ�วัน เช่น เกิดฝนตกผิดฤดู อากาศร้อน ขึ้นทุกปี ดินฟ้าอากาศแปรปรวน ล้วนเป็นผลทางตรงและทางอ้อมของปัญหา “โลกร้อน” ดังนั้น คนส่วนใหญ่จึงเพิ่งมาตระหนักว่า สิ่งแวดล้อมเป็นหนึ่งใน “ต้นทุน” ของการพัฒนาที่มองไม่เห็นแต่ หลีกเลี่ยงไม่ได้ที่จะ “ใช้” ในการดำ�รงชีพในภาคเกษตร ��������������������������������� �������������������������������� หลักการ biomimicry (การเลียนแบบ ธรรมชาติ) ��������������������������������������������������������������������������������� �������������������������������������������������������������������������������� ถูกนำ�มาใช้ในการทำ�การเกษตรแบบธรรมชาติ ����������������������������������������� ���������������������������������������� (ที่เมืองไทยเรียกว่า ������������������ “����������������� เกษตรอินทรีย”��� ์����) � โดยใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ช่วย เทคนิคนี้ได้รับการพิสูจน์แล้วว่าช่วยลดการเสื่อมสภาพของหน้าดิน ลดมลพิษอันตรายต่อสุขภาพ (เช่น แก๊สมีเธน) ที่เกิดจากการใช้สารเคมีโดยให้ผลผลิตไม่น้อยกว่า เดิม ตัวอย่างการลอกเลียนแบบธรรมชาติในภาคเกษตรทีม่ ชี อื่ เสียงทีส่ ดุ น่าจะหนีไม่พน้ ระบบเกษตร อินทรีย์ของ “มาซาโนบุ ฟูกุโอกะ” ชาวญี่ปุ่นเรียกวิธีการปลูกข้าวของเขาว่า “ระบบเลี้ยงตัวเอง” ที่ สามารถให้ผลผลิตเพียงพอสำ�หรับเลี้ยงคน 5 คน ����������������������������������������������� ���������������������������������������������� ในเนื้อที่เพียง 50 ตารางวาเท่านั้น ��������� �������� ปัจจุบัน ระบบของฟูกุโอกะแพร่หลายไปทั่วประเทศญี่ปุ่น และใช้ในการทำ�นากว่า 400,000 ����������������� ���������������� ไร่ ในประเทศจีน*
เมืองไทยเรามีตวั อย่างการลอกเลียนแบบระบบนิเวศในภาคเกษตรมากมายในระดับชุมชน ยกตัวอย่างของผู้ใหญ่วิบูลย์ เข็มเจริญ ปราชญ์ชาวบ้านของจังหวัดฉะเชิงเทรา ที่สร้างสรรค์ชุมชน ด้วยการสร้างองค์ความรู้ในการรักษาฐานทรัพยากรธรรมชาติ เปลี่ยนทิศทางเกษตรกรรมแผนใหม่ จากที่เน้นการ ปลูกพืชเชิงเดี่ยว มาเป็นการแสวงหาความหลากหลาย ในการประกอบอาชีพ โดย วิธีการเพาะปลูกแบบ ���������������������������������������������������������������������� “��������������������������������������������������������������������� วนเกษตร�������������������������������������������������������������� ”������������������������������������������������������������� ซึ่งเป็นการทำ�กิจกรรมการเกษตรหลาย�������������������������� ������������������������� ๆ อย่างผสมผสาน ในพืน้ ทีเ่ ดียวกัน พฒ ั นาขึน้ มาเลียนแบบป่าธรรมชาติ เพือ่ สนองความจำ�เป็นขัน้ พืน้ ฐานของเกษตรกร�� คือ ปัจจัย 4 อันได้แก่ ปลูกต้นไม้ พืชผักที่กินได้ ไม้ผล ไม้ยืนต้น ที่มีคุณค่าทางเศรษฐกิจ * Paul Hawken: หนึ่งในผู้บุกเบิกกระบวนทัศน์ทุนนิยมธรรมชาติ สฤณี อาชวานันทกุล : เขียน นักวิชาการอิสระ ผู้สนใจประเด็นนักคิดและนักกิจกรรมทางสังคม 16
แนวทางการพัฒนาทุนชุมชน
สำ�นักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน
เลี้ยงสัตว์ และมีสมุนไพรมากกว่า �������������������������������������������������������������������������������� 400 ��������������������������������������������������������������������������� ชนิด���������������������������������������������������������������������� �������������������������������������������������������������������� ทำ�เพื่อกินเอง ����������������������������������������������������� ���������������������������������������������������� ใช้เอง���������������������������������������������� ��������������������������������������������� ไม่ใช่ทำ�เพื่อขาย ��������������������������� �������������������������� ไม่ใช้ ยาฆ่าแมลง ไม่ใช้ปุ๋ย ดังนั้น จึงมีรายจ่ายน้อย ไม่มีหนี้สินเพิ่ม เน้นพึ่งพาตนเอง ฟื้นฟูสภาพ แวดล้ อ มในชุ ม ชนเป็ น หลั ก ถื อ เป็ น แบบอย่ า งที่ ชั ด เจนของคำ � ว่ า “เศรษฐกิ จ พอเพี ย ง” อันเป็นพระราชดำ�ริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ���������������������������������������� ��������������������������������������� ข้อแนะนำ�ก็คือ เกษตรกรไม่ต้องเลิกปลูก พืชเชิงเดี่ยวทั้งหมด เพียงแค่แบ่งพื้นที่ส่วนหนึ่งประมาณ 25 % หันมาปลูกผักสวนครัว สร้างสวน สมุนไพร �������������������������������������������������������������������������������������� ������������������������������������������������������������������������������������� และทำ�วนเกษตร ����������������������������������������������������������������������� ���������������������������������������������������������������������� ปลูกทุกอย่างที่กิน กินทุกอย่างที่ปลูก ������������������������������� �������������������������������� สิ่งเหล่านี้จะเป็นหลักประกันใน ชีวิตว่ามีกิน ถึงไม่มีเงินก็ไม่เดือดร้อน ถ้ามีเหลือเกินกว่าที่กินก็จะเป็นรายได้ ประโยชน์ของวน เกษตรนอกจากจะทำ�ให้มนั่ ใจในการพึง่ พาตนเองแล้ว ���������������������������������������� ��������������������������������������� ส่วนหนึง่ จะช่วยฟืน้ ฟูสภาพแวดล้อม ������ ���� สภาพ ป่า ให้สตั ว์นานาชนิดได้พงึ่ พาอาศัย โดยสามารถรักษาความอุดมสมบูรณ์ของสิง่ แวดล้อมเอาไว้ได้ ความรู้อย่างลึกซึ้งในหลักการ biomimicry ของ “ปราชญ์ชาวบ้าน” อย่างผู้ใหญ่วิบูลย์ เข็มเฉลิม ควรได้รับการพัฒนาต่อยอดให้เป็นระบบที่ใช้ได้แพร่หลายทั่วประเทศ เพราะวิถีการเกษตรที่เลียน แบบธรรมชาติหรือเกษตรผสมผสานน่าจะเป็นทางออกที่ดีสำ�หรับเกษตรกรผู้ยากไร้หลายล้านคน
5.ทุนการเงิน (Financial Capital) หมายถึง ทรัพยากรที่เป็นตัวเงินตรา รวมถึงโอกาสทางการเงินที่ประชาชนใช้เพื่อการดำ�รงชีพ ได้แก่ ทุนทางการเงินที่มาจากการออม (Available Stocks) ที่เป็นเงินสด/ เงินฝาก สัตว์เลี้ยง อัญมณี และทุนที่มาจากรายได้อื่น ได้แก่ เงินบำ�นาญ/ ค่าตอบแทนที่ได้จากรัฐ และเงินกองทุนต่าง ๆ สำ�นักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน
แนวทางการพัฒนาทุนชุมชน
17
ดังนั้น “ทุนชุมชน” ทั้ง 5 ประเภทนี้ จะต้องใช้เป็นปัจจัยนำ�เข้า (Inputl) ในกระบวนการสร้างความเข้มแข็งของชุมชน โดยการแปลงค่าทุนต่าง ๆ ให้ออกมาเป็นผลผลิต/ ผลลัพธ์ (Output/Outcome) ให้ได้ ทั้งนี้เราจะต้องคำ�นึงถึงทุนบางประเภทที่จะต้องสงวนรักษา หรือพัฒนายกระดับไปพร้อม ๆ กันอย่างสมดุลโดยไม่ทำ�ลายซึ่งกันและกันเอง
18
แนวทางการพัฒนาทุนชุมชน
สำ�นักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน
[ ส่วนที่ 2 ]
กรมการพัฒนาชุมชนกับภารกิจ “การพัฒนาทุนชุมชน”
ยุทธศาสตร์การพัฒนา “ทุนชุมชน” (Community Capital) ถือเป็นวาระสำ�คัญ ของการพัฒนาชุมชน วิธีการแปลง “ทุนชุมชน” ให้มีมูลค่าและคุณค่าแล้วนำ�มาใช้เป็นปัจจัยนำ�เข้า (Input) ในกระบวนการสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชน ดังนั้น “นักพัฒนาชุมชน” (Development Worker) จึงต้องปรับตัวให้เป็น “นักจัดการการพัฒนา” (Development Manager) กล่าวคือ ต้องเป็นนักจัดการ “ทุนชุมชน” ที่มีอยู่ในทุกชุมชนอันได้แก่ ทุนมนุษย์ (Human Capital) ทุน สังคม (Social Capital) ทุนกายภาพ (Physical/Capital) ทุนธรรมชาติ (Natural Capital) และ ทุนการเงิน (Financial Capital) ให้เป็นไปอย่างสมดุลและมีเสถียรภาพไม่พร่องในด้านใดด้านหนึ่ง และไม่เจริญเติบโตจนขาดความมั่นคงหรือทำ�ให้สังคมล่มสลาย เดือดร้อน
* “การพัฒนาชุมชน” สามารถจำ�แนก “ชุมชน” ได้เป็น 3 ระดับ คือ
Commune Commune Commune
3. Sustian 2. Survive 1. Suffer
ระดับที่ 1 ชุมชนที่ยากจนทุกข์ร้อน (Suffer) ระดับที่ 2 ชุมชนพึ่งพาตนเองได้บ้าง (Survive) ระดับที่ 3 ชุมชนแบบยั่งยืนอยู่ได้ (Sustainable) *ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์ ผู้อำ�นวยการศูนย์วิจัย/ให้คำ�ปรึกษา NIDA, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ที่ปรึกษา อธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน(นายปรีชา บุตรศรี),13 สค.51 ห้องประชุม 1 กรมการพัฒนาชุมชน สำ�นักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน
แนวทางการพัฒนาทุนชุมชน
19
ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์ ให้แนวคิดว่า “การพัฒนาชุมชน” จะต้องดูแนวโน้มของชุมชนว่าเขาอยากอยู่ ที่ตรงไหนในความสัมพันธ์ของโลก ถ้าชุมชนเขาอยากอยู่เงียบ ๆ ยุ่งแต่เรื่องของตัวเองหรืออยาก ออกมาเชื่อมต่อกับโลกข้างนอก หรือแม้นว่าชุมชนอยากจะอยู่แต่ภายในท้องถิ่นก็ไม่ได้หมายความ ว่าชุมชนจะเจ็บปวด (suffer) หรือออกมาข้างนอกแล้วจะมั่นคงมั่งคั่ง (sustain) ดังนั้น การตัดสิน ใจอย่างไร ชุมชนย่อมมีสิทธิที่จะเลือก ถ้าเลือกแล้วผลจะเป็นอย่างไรก็น่าจะเป็นหน้าที่ของกรม การพัฒนาชุมชน ที่จะต้องช่วยชุมชนให้พ้นจาก suffer มาเป็น sustain หรือจะให้ชุมชนขึ้นบันใด 3 ขั้น เหมือนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง นั่นคือภารกิจของกรมการพัฒนาชุมชนที่จะช่วยชุมชน ใน 3 เรื่อง ได้ดังต่อไปนี้ 1. วิสัยทัศน์ (Envision) คือจะช่วยชุมชนมีวิสัยทัศน์ได้อย่างไร พวกเราต้องยอมรับ กันอย่างหนึ่งว่าชุมชนหลายแห่งไม่มีศักยภาพพอที่จะมองอะไรออกไปให้ไกล ๆ การที่จะเลือกเป็น แบบไหน จึงตัดสินใจไม่ได้ หรือตัดสินใจแล้วไม่ดี เรื่องนี้จึงเป็นหน้าที่ของกรมการพัฒนาชุมชน ที่จะช่วยให้ชุมชนมีวิสัยทัศน์ออกไปไกล ๆ จนนำ�มาสู่การจัดทำ�แผนชุมชนที่มีคุณภาพ สามารถ กำ�หนดทิศทางของชุมชนได้อย่างเหมาะสม 2. รูปธรรม (Enable) คือจะช่วยทำ�ให้สิ่งต่าง ๆ ที่ชุมชนคาดหวังสามารถบังเกิด ผลที่เป็นจริงจังต้องได้ ถ้าชุมชนจะไปเชื่อมกับท้องถิ่น/ ประเทศและโลก ก็ทำ�ให้ชุมชนสามารถ เชื่อมต่อได้อย่างราบรื่น การเป็น enable เราไม่ควรทำ�อะไรให้ชุมชนในทุกเรื่อง แต่ควรทำ� เฉพาะเรื่องที่เขาขาดแคลนจริง ๆ ซึ่งได้แก่ 20
แนวทางการพัฒนาทุนชุมชน
สำ�นักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน
2.1 การส่งเสริม/พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานระดับชุมชน (Community-basedinfrastructure) 2.2 การพัฒนาขีดความสามารถ (Capacity building) แม้นว่ากรมการพัฒนา ชุมชนต้องการพัฒนาให้ชุมชนเป็น Autonomous มีความเป็นอิสระ สามารถบริหารจัดการอะไร ของชุมชนด้วยตนเองได้ สิ่งสำ�คัญที่ต้องทำ�นั่นคือ การพัฒนาขีดความสามารถของชุมชนนั่นเอง 2.3 การสร้างเครือข่าย (Network) ชุมชนไม่สามารถทำ�ได้ดี ถ้าเราไม่ช่วยเชื่อมโยง ชุมชนเข้ากับส่วนอื่น ๆ ด้านบนในสังคมไม่ว่าจะเป็น Local to Local หรือ Local to global ถ้าไม่มีภาครัฐเข้าช่วย เขาก็ต้องใช้เวลานานมาก 2.4 การกำ�หนด/ส่งเสริมเกณฑ์มาตรฐาน (Set standard or benchmark) แล้ ว ช่ ว ยให้ ชุ ม ชนเดิ น ไปตามเกณฑ์ ม าตรฐานอย่ า งถู ก ต้ อ งแล้ ว พั ฒ นาตั ว เองขึ้ น ไปเรื่ อ ยๆ กรมการพัฒนาชุมชนต้องคอยตรวจสอบว่าชุมชนเป็นอย่างไรในแต่ละช่วงเวลา และจะเป็นต้น แบบของหมู่บ้านอื่นได้อย่างไร เกณฑ์ที่กำ�หนดอาจเป็น KPI ในเรื่องความกินดีอยู่ดี ทุนมนุษย์ (Human Capital) หรือทุนตัวอื่น ๆ เอาเรื่องทุนมาแตกเป็น KPI ทุนทางสังคมแบบไหน จึงจะ เรียกว่าตกเกณฑ์มาตรฐาน หรือทุนธรรมชาติแบบไหนจึงจะเรียกว่ามีมาตรฐาน 3. พลังภาคประชาชน (Empowering the people sector) หน้าที่ของกรมการ พัฒนาชุมชนและกระทรวงมหาดไทย คือ การสร้างพลังของภาคประชาชน (Empowering-The people sector) การเสริมพลัง (Empowerment) ให้ชุมชนเติบโตเองได้ แม้ว่าเรื่องต่าง ๆ จะมีห้วง เวลาและการขับเคลื่อนที่ต้องใช้เวลา เมื่อทุกอย่างต้องใช้เวลา กรมการพัฒนาชุมชนจะช่วยให้ ชุมชนเห็นภาพย่อ/ขยาย (Zoom in – Zoom out) ทั้งระดับมหภาคและจุลภาค ระดับท้องถิ่นและ ระดับโลกได้อย่างไร เรื่องนี้ต้องทำ�โดยผ่านผู้นำ�อย่างที่กรมการพัฒนาชุมชนทำ�ให้เป็นคุ้ม หัวหน้า คุ้ม ต้องเป็น Cell หนึ่งที่ไม่ใช่ทุกอย่างเป็นมุมมองระดับท้องถิ่น (Local perspective) มองเห็น ภาพย่อ/ขยาย (Zoom in – Zoom out) ทั้งในระดับมหภาคและจุลภาค ระดับท้องถิ่นและระดับ โลก การเสริมสร้างพลังในช่วงเปลี่ยนผ่าน กรมการพัฒนาชุมชน ต้องทำ�งานใน 2 ลักษณะ คือ 3.1 Community-based catalyst (การเป็น catalyst หมายถึงตัวที่ทำ�ให้เกิด การเปลี่ยนแปลงปฏิกริยาทางเคมี เมื่อสารต่าง ๆ เกิดปฏิกริยาทางเคมีแล้ว catalyst ก็จะหลุด ออกมา) ไม่ต้องไปจมอยู่กับชุมชนตลอดเวลา กรมการพัฒนาชุมชนจะเป็น Community-based catalyst ได้ดีเพียงใด เป็นเรื่องที่จะต้องพูดกันต่อไป 3.2 Co-creator การร่วมรังสรรค์ สิ่งที่สำ�นักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน จะทำ�ยังเป็น Top- Down อยู่มาก การกำ�หนดจากข้างบนมีความจำ�เป็นในบางเรื่อง แต่อยากให้ เป็นลักษณะ Co-creator มากกว่า สำ�นักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน
แนวทางการพัฒนาทุนชุมชน
21
MODEL การพัฒนา Community Development Model Community Management Model
Community Collaborative Model
หน้าที่ของกรมการพัฒนาชุมชน จะถูกฝังอยู่ใน 3 วงสำ�คัญ ได้แก่ วงที่ 1 คือเราจะช่วยชุมชนพัฒนารูปแบบการพัฒนาชุมชนได้อย่างไร วงที่ 2 คือเราจะช่วยชุมชนบริหารจัดการชุมชนได้อย่างไร บางทีมีแต่แผนยุทธศาสตร์ แต่ขับเคลื่อนออกไปไม่ได้ จึงเป็นเรื่องของผู้นำ�ที่จะต้องสร้าง ซึ่งสอดคล้องกับเรื่องนี้ หากจะใช้ การพัฒนาผู้นำ�ชุมชนเป็นกลไกในการผลักแผนยุทธศาสตร์ วงที่ 3 เราจะช่วยชุมชนไม่ให้แตกออกจากระบบได้อย่างไร คือต้องผูกชุมชนไว้กับระบบ ซึ่งจะทำ�ให้เกิด Collaborative Model ซึ่งจะไปสอดคล้องกับแนวคิดรัฐเดี่ยว ดังนั้น การดำ�เนิน งานของกรมการพัฒนาชุมชน คือ จะทำ�อย่างไรให้เกิด Community development model, Community management model และ Collaborative Model ตั้งแต่ในระดับส่วนกลาง ผู้ว่า ราชการจังหวัดมาถึงระดับชุมชน จะทำ�งานกันอย่างไร/ จะแบ่งงานกันว่าทำ�อย่างไร นอกจากนี้ยัง ต้องมองในแง่มิติต่าง ๆ เช่น มิติเศรษฐกิจ สังคม ฯลฯ ต้องช่วยกันดู loop นี้เป็นอย่างไร จะทำ�ให้ หลุดไปถึงความยั่งยืนได้อย่างไร จำ�เป็นต้องมีทั้ง 3 ส่วนนี้หรือเปล่า ถ้าจำ�เป็นต้องมีระดับใด? “การพัฒนาชุมชน” จึงต้องดูแนวโน้มว่า เขาอยากอยู่ที่ตรงไหน ถ้าเขาอยากอยู่ เงียบ ๆ ยุ่งแต่เฉพาะเรื่องของตนเอง หรืออยากออกมาสู่โลกสังคมข้างนอก ดังนั้น จึงอาจกล่าวสรุปได้ว่า “นักจัดการการพัฒนา” จะต้องค้นหา “ชุมชน” ทั้ง 3 ประเภทนี้ว่ามีอยู่ที่ไหน มีจำ�นวนเท่าใด จะพัฒนาไปสู่ความยั่งยืนให้ได้อย่างไร และจะยก ระดับได้ด้วยวิธีการใดบ้าง หรือ... * ในอีกมุมมองหนึ่งของการพัฒนา “ทุนชุมชน” รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน (นายพิสันติ์ ประทานชวโน) ได้ให้แนวคิดว่า เจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชนจะต้องปรับทัศนคติให้มีความ เชื่อมั่นศรัทธาตามหลัก ปรัชญาพัฒนาชุมชนที่ว่า “มนุษย์ทุกชีวิตมีคุณค่าและมีความหมาย 22
แนวทางการพัฒนาทุนชุมชน
สำ�นักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน
มีศักดิ์ศรี มีศักยภาพและสามารถพัฒนาได้ หากได้รับโอกาส” รวมทั้งต้องใช้ “หลักการ พัฒนาชุมชน” เป็นกลไกกำ�กับพฤติกรรมในการทำ�กับประชาชน ได้แก่ 1. เริ่มต้นที่ประชาชน : ให้มองโลก มองชีวิต มองปัญหาจากทัศนคติของประชาชน เพื่อความเข้าใจในปัญหาความต้องการ (Need) ที่แท้จริงของประชาชน 2. ทำ�งานร่วมกับประชาชน : ไม่ใช่ทำ�งานให้ประชาชน แต่หมายถึงการเป็นผู้คอย เอื้ออำ�นวย (Facilitator) ให้ประชาชนทำ�งานพัฒนาได้อย่างสะดวกรวดเร็วในส่วนที่เกินขีดความ สามารถของเขาเท่านั้น 3. ยึดประชาชนเป็นพระเอก : ประชาชนต้องเป็นผู้คิด ตัดสินใจ และวางแผนปฏิบัติ งานด้วยมวลหมู่ประชาชนกันเอง เพราะผลประโยชน์ของการพัฒนานั้น จะตกอยู่กับประชาชน โดยตรง เมื่อปรับกระบวนทัศน์ (Paradigm Shift) และมีหลักการพัฒนาชุมชนที่หมาะสมแล้ว เราจึงเริ่มต้นทำ�งานตาม “กระบวนการพัฒนาชุมชน” ทั้ง 5 ขั้นตอน ดังภาพที่ปรากฎนี้
กรอบความคิดกระบวนการพัฒนาชุมชน ศึกษาชุมชน ติดตาม ประเมินผล
กระบวนการ พัฒนาชุมชน
ดำ�เนินการ
วิเคราะห์ ข้อมูล/ปัญหา
ตัดสินใจ วางแผน
* พิสันติ์ ประทานชวโน รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย “การพัฒนาชุมชน” บรรยายหลักสูตรสถาบันวิชาการทหารบกชั้นสูง ชุดที่ 54 ปีการศึกษา 2553,16 ก.พ. 53 วิทยาลัย กองทัพบก เขตดุสิต กทม. สำ�นักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน
แนวทางการพัฒนาทุนชุมชน
23
สอดคล้องกับแนวคิดของรองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน (นายนิสิต จันทร์สมวงศ์) ได้กล่าวว่า การพั ฒ นา “ทุ น ชุ ม ชน” ในยุ ค ปั จ จุ บั น ควรให้ ค วามสำ � คั ญ กั บ ทุ น ที่ ไ ม่ ใ ช่ เ งิ น (ทุนกายภาพ ทนุ มนุษย์ ทนุ ทางสังคม ทนุ ธรรมชาติ) ให้เท่า ๆ กบั ทุนการเงิน เหตุผลเพราะกองทุน ชุมชน (เงิน) มเี จตนาเพือ่ ให้ประชาชนมีแหล่งเงินกูย้ มื ไปประกอบอาชีพให้มรี ายได้สงู ขึน้ ซงึ่ จะเห็น ได้จากผลการสำ�รวจข้อมูลความจำ�เป็นพืน้ ฐาน (จปฐ.) ทผี่ า่ นมาในแต่ละช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ จะมีเกณฑ์วัดรายได้ครัวเรือนที่สูงขึ้น ๆ (รายได้จาก 5,000 บาท/คน/ปี เป็น 15,000 บาท/คน/ปี และเพิ่มเป็น 23,000 บาท/คน/ปี) กล่าวคือ คนมีทุนการเงินสูงขึ้น แต่ทุน ด้านอื่นกำ�ลังล่มสลายลงไปเรื่อยๆ *ผลกระทบต่อประเทศไทย จากการพัฒนาประเทศที่ผ่านมา (1) ด้านสังคม : มีความซับซ้อนมากขึ้น ได้แก่ - สังคมไทยก้าวสู่สังคมผู้สูงอายุ - การเปลี่ยนแปลงจากสังคมชนบทเป็นสังคมเมืองมากขึ้น - ความอบอุ่นปฏิสัมพันธ์ในครอบครัวลดลง - เด็ก/เยาวชนมีพฤติกรรมไม่เหมาะสมมากขึ้น - ภัยจากการก่อการร้ายต่าง ๆ - ปัญหาภาวะสุขภาพที่เกิดจากสาเหตุใหม่ ๆ หรือโรคระบาด - เด็กไทยอายุต่ำ�กว่า 25 ปี พยายามฆ่าตัวตายวันละ 20 คน - เด็กไทยขาดเรียนเพิ่มขึ้น 2 เท่าทุกระดับชั้น - มีการล่วงละเมิดทางเพศเด็กต่ำ�กว่า 18 ปี จาก 5,800 ราย เป็น 6,400 ราย - เด็กผู้หญิงอายุต่ำ�กว่า 19 ปี ทำ�คลอดเฉลี่ยวันละ 190 ราย (สถาบันรามจิตติ) (2) ด้านเศรษฐกิจ : มีความผันผวนมากขึ้น อาทิเช่น - เศรษฐกิจเติบโตมากขึ้นโดยเฉพาะทางด้านอุตสาหกรรมและการบริการ - ฐานการผลิตหลากหลาย - พึ่งพิงการนำ�เข้าสูง - ภาวะการเงินเกิดความผันผวน - การเคลื่อนย้ายอย่างเสรีของสินค้าและเงินทุน - การรวมตัวทางเศรษฐกิจทั้งระดับภูมิภาค/ อนุภาค * นิสิต จันทร์สมวงศ์ รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย “การพัฒนาชนบทของ ประเทศไทย : นโยบายและการดำ�เนินงานของกรมการพัฒนาชุมชน” 24
แนวทางการพัฒนาทุนชุมชน
สำ�นักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน
(3) ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม : เกิดการเปลี่ยนแปลงมากขึ้น เช่น - ภาวะโลกร้อน (Global Warmming) - แม่น้ำ�ลำ�คลองตื้นเขิน เก็บน้ำ�ได้น้อยลง น้ำ�เสีย - สภาพอากาศไม่เป็นไปตามฤดูกาล - ระบบนิเวศเริ่มเสียความสมดุล - ความหลากหลายทางชีวภาพถูกคุกคาม - คุณภาพสิ่งแวดล้อมเสื่อมโทรม (4) ด้านเทคโนโลยีและพลังงาน : ก้าวกระโดด ก้าวเร็วเกินไป - ใช้เทคโนโลยีติดต่อสื่อสาร/ บันเทิงมากขึ้น - การใช้โทรศัพท์มือถือเพิ่มมากขึ้นทั้งในระดับบุคคลและครอบครัว - การใช้นาโนเทคโนโลยีและเทคโนโลยีชีวภาพ - ปัญหาด้านพลังงาน (5) ด้านการบริโภค : คนในประเทศไทยมีการบริโภคมากเกินไป เช่น - การบริโภคเปลี่ยนเป็นการซื้อทุกอย่าง - เลียนแบบการบริโภค (ทุนนิยม) - วิถีชีวิตแบบคนเมืองมากขึ้น - การใช้จ่ายฟุ่มเฟือย (หนี้สินครัวเรือน) มีแนวโน้มมากขึ้นเรื่อย ๆ
เพื่อเป็นการแก้ไขปัญหาและลดผลกระทบจากการพัฒนาประเทศที่ผ่านมา กรมการพัฒนาชุมชน จึงได้กำ�หนดยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน ปี พ. ศ. 2551 – 2554 ในการพัฒนาชนบทไว้ใน 5 ด้าน ดังนี้ 1. การพัฒนาทุนชุมชน 2. การพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน 3. การเพิ่มขีดความสามารถของผู้นำ�ชุมชน 4. การขับเคลื่อนแผนชุมชน 5. การส่งเสริมการจัดการความรู้ ดังนัน้ การพัฒนาทุนชุมชน จึงถือเป็นภารกิจหลักทีส่ �ำ คัญของกรมการพัฒนาชุมชน ซึง่ นอกจากจะดำ�เนินกิจกรรมกลุม่ ออมทรัพย์เพือ่ การผลิต โครงการแก้ไขปัญหาความยากจน (กข.คจ.) และการจัดตั้งสถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน เพื่อยกระดับรายได้ในชุมชนต่าง ๆ แล้ว ยังต้อง ทำ�งานพัฒนาทุนชุมชนในด้านอื่น ๆ ด้วย อันได้แก่ การพัฒนาคน สังคม ทรัพยากรธรรมชาติ และปัจจัยทางกายภาพให้เป็นไปตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ฯ สำ�นักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน
แนวทางการพัฒนาทุนชุมชน
25
[ ส่วนที่ 3 ] รูปแบบและแนวทางการพัฒนาทุนชุมชน กฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการกรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย พ.ศ. 2552 กำ�หนดให้ กรมการพัฒนาชุมชน โดยสำ�นักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน มีหน้าทีใ่ นการศึกษา วเิ คราะห์ และวิจัยด้านการพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน เพื่อกำ�หนดนโยบาย ยุทธศาสตร์ แผนแม่บท รูปแบบและแนวทางในการเสริมสร้างและพัฒนาระบบทุนชุมชนและการบริหารจัดการทุนชุมชน ดำ�เนินการเกีย่ วกับการแสวงหาแหล่งทุนและความร่วมมือในการพัฒนารูปแบบและวิธกี ารด้านการ ขยายกิจกรรมของชุมชน เพือ่ พัฒนาระบบทุนชุมชน ตลอดจนการประสานงานกับผูม้ สี ว่ นเกีย่ วข้อง ด้านการพัฒนาทุนชุมชน
การพัฒนาทุนชุมชนโดยเฉพาะทุนที่ไม่ใช่เงิน จึงเป็นเรื่องใหม่ที่กรมการพัฒนาชุมชน จะต้องให้การส่งเสริมสนับสนุนให้ชุมชนได้รู้และเห็นคุณค่าของทุนที่มีอยู่ในชุมชน สามารถนำ�มา ใช้ให้เกิดประโยชน์แก่คนในชุมชนได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ โดยมีเจ้าหน้าทีพ่ ฒ ั นาชุมชน ทุกระดับให้การสนับสนุนและสร้างความรู้ความเข้าใจให้กับผู้นำ� กลุ่ม องค์กร ชุมชน และผู้มีส่วน เกี่ยวข้อง โดยมีรูปแบบการพัฒนาทุนชุมชน ดังแผนภูมิต่อไปนี้ 26
แนวทางการพัฒนาทุนชุมชน
สำ�นักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน
รูปแบบ (Model) การพัฒนาทุนชุมชน
ขั้นตอนการพัฒนาทุนชุมชน
จากรูปแบบการพัฒนาทุนชุมชนดังกล่าวข้างต้น สามารถกำ�หนดแนวทางการ ดำ�เนินงานพัฒนาทุนชุมชนออกเป็น 4 ขั้นตอน คือ ขั้นตอนที่ 1 การจัดเก็บข้อมูลทุนชุมชน ขั้นตอนที่ 2 การวิเคราะห์ข้อมูลทุนชุมชน ขั้นตอนที่ 3 การพัฒนาทุนชุมชน ขั้นตอนที่ 4 การประเมินผลการพัฒนาทุนชุมชน ขั้นตอนที่ 1 การจัดเก็บข้อมูลทุนชุมชน ชุมชนแต่ละแห่งจะมี “ทุนชุมชน” แตกต่างกันทั้งด้านปริมาณและคุณภาพ อีกทั้งทุนชุมชน แต่ละด้านที่มีอยู่ในแต่ละชุมชน ก็อาจจะมีจุดเด่นจุดด้อยแตกต่างกัน ซึ่งเป็นเรื่อง ขององค์ความรู้ที่เจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชนต้องมี ดังนั้นก่อนที่จะรู้ว่าจะทำ�อะไรก่อน – หลัง จะต้องมี การศึกษาชุมชนโดยมีการสำ�รวจ/ ค้นหาว่าสภาพของทุนชุมชนที่มีอยู่เป็นอย่างไร อะไรเป็นจุดแข็งหรือ สำ�นักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน
แนวทางการพัฒนาทุนชุมชน
27
จุดอ่อน เพราะทุนชุมชนถือเป็นปัจจัยนำ�เข้า (Input) ในกระบวนการเสริมสร้างความเข้มแข็งของ ชุมชน การจัดเก็บข้อมูลทุนชุมชน มีองค์ประกอบ ดังนี้ 1. เครื่องมือจัดเก็บข้อมูลทุนชุมชน กรมการพัฒนาชุมชนได้ใช้แบบสำ�รวจ ข้อมูลที่มีอยู่แล้ว ได้แก่ ข้อมูลพื้นฐานระดับหมู่บ้าน (กชช. 2 ค) และข้อมูลความจำ�เป็นพื้นฐาน (จปฐ.) เป็นเครื่องมือในการจัดเก็บข้อมูลทุนชุมชน โดยที่ไม่ได้สร้างเครื่องมือขึ้นมาใหม่เนื่องจาก แบบสำ�รวจข้อมูลดังกล่าวมีความครอบคลุมข้อมูลทุนชุมชนทั้ง 5 ประเภท จึงไม่ได้เป็นการสร้างภาระ เพิ่มขึ้นแก่เจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชนผู้ปฏิบัติงานในพื้นที่ โดยมีรายละเอียดการจำ�แนกทุนชุมชนประเภท ต่าง ๆ ดังนี้
28
แนวทางการพัฒนาทุนชุมชน
สำ�นักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน
1.1 ข้อมูลพืน้ ฐานระดับหมูบ่ า้ น (กชช. 2 ค) มขี อ้ มูลทีบ่ ง่ ชีท้ นุ ชุมชน จ�ำ แนก เป็นประเภทได้ ดังนี้ 1. ทุนมนุษย์ จำ�นวน 12 ข้อ ได้แก่ (1) ข้อมูลในส่วนที่ 1 ข้อ 1.4 จำ�นวนประชาชนแยกตามช่วงอายุ (2) ข้อมูลในส่วนที่ 3 ข้อ 29 จำ�นวนผู้ป่วยหรือตายด้วยโรคต่อไปนี้ (3) ข้อมูลในส่วนที่ 3 ข้อ 31.1 จำ�นวนคนได้รับบาดเจ็บหรือเจ็บป่วยจากการ ทำ�งาน (4) ข้อมูลในส่วนที่ 3 ข้อ 31.2 จำ�นวนคนเจ็บป่วยเนื่องจาการใช้สารเคมี (5) ข้อมูลในส่วนที่ 3 ข้อ 32 จำ�นวนคนพิการแต่ละประเภท (6) ข้อมูลในส่วนที่ 4 ข้อ 34 การได้รับการศึกษา (7) ข้อมูลในส่วนที่ 4 ข้อ 34.2 จำ�นวนคนที่กำ�ลังศึกษาอู่ในระบบ โรงเรียนในระดับต่าง ๆ (8) ข้อมูลในส่วนที่ 4 ข้อ 34.3 จำ�นวนคนอายุระหว่าง 6-15 ปี ที่ไม่ได้ เรียนการศึกษาภาคบังคับหรือไม่จบภาคบังคับ (9) ข้อมูลในส่วนที่ 4 ข้อ 34.4 จำ�นวนคนอายุระหว่าง 15-60 ปี ที่ไม่รู้ หนังสือเขียนชื่อตัวเองและอ่านภาษาไทยไม่ได้ (10) ข้อมูลในส่วนที่ 4 ข้อ 34.5 จำ�นวนคนพลาดโอกาสจบการศึกษา ภาคบังคับหรือในระบบโรงเรียนได้รับการบริการตามหลักสูตรของการศึกษานอกโรงเรียน (กศน.) (11) ข้อมูลในส่วนที่ 5 ข้อ 37.2 จำ�นวนผู้รู้ ผู้ชำ�นาญการ ผู้นำ� บุคคล ตัวอย่างในด้านต่าง ๆ ของหมู่บ้าน/ชุมชน (12) ข้อมูลในส่วนที่ 7 ข้อ 46 จำ�นวนผู้ใช้ยาเสพติด
สำ�นักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน
แนวทางการพัฒนาทุนชุมชน
29
2. ทุนสังคม จำ�นวน 11 ข้อ ได้แก่ (1) ข้อมูลในส่วนที่ 5 ข้อ 36.1 การมีส่วนร่วมของชุมชน (2) ข้อมูลในส่วนที่ 5 ข้อ 36.2 จำ�นวนครัวเรือนที่เป็นสมาชิกกลุ่มต่าง ๆ (3) ข้อมูลในส่วนที่ 5 ข้อ 37.4 จำ�นวนคนในครัวเรือนได้รับการเรียนรู้จาก ปราชญ์ชาวบ้านหรือศูนย์การเรียนรู้ (แหล่งเรียนรู้ทั้งในและนอกหมู่บ้าน) (4) ข้อมูลในส่วนที่ 5 ข้อ 38.1 จำ�นวนครัวเรือนในการแข่งขันกีฬาภายใน หมู่บ้าน/ชุมชน / หรือระหว่างหมู่บ้าน/ชุมชน การกีฬา (5) ข้อมูลในส่วนที่ 5 ข้อ 38.2 จำ�นวนครัวเรือนในการฝึกสอนกีฬาให้กับ ประชาชนในหมู่บ้าน/ชุมชน (6) ข้อมูลในส่วนที่ 5 ข้อ 39 จำ�นวนคนอายุมากกว่า 60 ปีขึ้นไป คนพิการ เด็กกำ�พร้า เด็กถูกทอดทิ้ง เด็กเร่ร่อน ที่ไม่ได้รับการดูแล (7) ข้อมูลในส่วนที่ 5 ข้อ 40 จำ�นวนเด็กกำ�พร้า เด็กถูกทอดทิ้ง เด็กเร่ร่อน เด็กที่ไม่ได้ลงทะเบียนเกิดหรือเด็กที่ได้รับผลกระทบจากโรคเอดส์ (8) ข้อมูลในส่วนที่ 5 ข้อ 41 จำ�นวนคนอายุ 15 – 60 ปีเต็ม ที่ไม่มีที่อยู่อาศัยถาวร ไม่มีผู้เลี้ยงดูและมีรายได้ไม่เพียงพอต่อการเลี้ยงชีพ (9) ข้อมูลในส่วนที่ 5 ข้อ 49.2 มีกิจกรรมที่ดำ�เนินการป้องกันและแก้ไขปัญหายา เสพติดในหมู่บ้าน/ชุมชน 30
แนวทางการพัฒนาทุนชุมชน
สำ�นักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน
(10) ข้อมูลในภาคผนวก ข้อ 9.1 การเชื่อมโยงเครือข่ายระหว่างผู้นำ� / กลุ่ม / องค์กรชุมชน/ชุมชน ของหมู่บ้านอื่น ๆ ได้แก่ ศอช. และเครือข่ายประเภทต่าง ๆ (11) ข้อมูลในภาคผนวก ข้อ 9.2 3. ทุนกายภาพ จำ�นวน 10 ข้อ ได้แก่ (1) ข้อมูลในส่วนที่ 1 ข้อ 2.1 จำ�นวนแหล่งน้ำ�ดื่ม-น้ำ�ใช้แต่ละประเภทและจำ�นวน ที่ใช้การได้ (2) ข้อมูลในส่วนที่ 1 ข้อ 2.2.1 จำ�นวนครัวเรือนที่มีน้ำ�สะอาดดื่มและบริโภคเพียง พอตลอดปี (3) ข้อมูลในส่วนที่ 1 ข้อ 2.3 จำ�นวนครัวเรือนมีน้ำ�ใช้เพียงพอตลอดปี (4) ข้อมูลในส่วนที่ 1 ข้อ 2.4.1 น้ำ�จากแหล่งน้ำ�ในหมู่บ้าน/ชุมชนใช้สำ�หรับการ เพาะปลูกเพียงพอหรือไม่ (5) ข้อมูลในส่วนที่ 1 ข้อ 3 บริการสาธารณะในหมู่บ้าน/ชุมชน (6) ข้อมูลในส่วนที่ 1 ข้อ 4 บริการสาธารณะในตำ�บล (7) ข้อมูลในส่วนที่ 1 ข้อ 5 ระบบไฟฟ้า (8) ข้อมูลในส่วนที่ 1 ข้อ 6.1 ถนนเส้นทางหลักและสะพานของหมู่บ้าน/ชุมชน เป็นลักษณะอะไร ระยะทางเท่าใด
สำ�นักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน
แนวทางการพัฒนาทุนชุมชน
31
หรือไม่
(9) ข้อมูลในส่วนที่ 1 ข้อ 6.2 ถนนเส้นทางหลักภายในหมูบ้าน/ชุมชน ใช้การได้ (10) ข้อมูลใน่วนที่ 1 ข้อ 6.3 หมู่บ้าน/ชุมชน มีครัวเรือนทีี่มีการสื่อสารโดยวิธีใดบ้าง
4. ทุนธรรมชาติ จำ�นวน 5 ข้อ ได้แก่ (1) ข้อมูลในส่วนที่ 8 ข้อ 50 คุณภาพของดินและการใช้ประโยชน์ (2) ข้อมูลในส่วนที่ 8 ข้อ 51 คุณภาพแหล่งน้ำ�ผิวดิน (3) ข้อมูลในส่วนที่ 8 ข้อ 52 การปลูกป่าหรือไม้ยืนต้น (4) ข้อมูลในส่วนที่ 8 ข้อ 53 การใช้ประโยชน์ที่ดิน (5) ข้อมูลในส่วนที่ 8 ข้อ 54 การจัดการสภาพสิ่งแวดล้อม
32
แนวทางการพัฒนาทุนชุมชน
สำ�นักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน
5. ทุนการเงิน จำ�นวน 22 ข้อ ได้แก่ (1) ข้อมูลในส่วนที่ 1 ข้อ 9.1 การมีทด่ี นิ ทำ�กิน (2) ข้อมูลในส่วนที ่ 2 ข้อ 10 การทำ�นา (3) ข้อมูลในส่วนที่ 2 ข้อ 11 การทำ�ไร่ (4) ข้อมูลในส่วนที่ 2 ข้อ 12 การทำ�สวนผลไม้ (5) ข้อมูลในส่วนที่ 2 ข้อ 13 การทำ�สวนผัก (6) ข้อมูลในส่วนที่ 2 ข้อ 14 การทำ�สวนไม้ดอกไม้ประดับหรือ เพาะพันธุไ์ ม้เพื่อขาย (7) ข้อมูลในส่วนที่ 2 ข้อ 15 การทำ�สวนยาง (8) ข้อมูลในส่วนที่ 2 ข้อ 16 การปลูกไม้ยืนต้นอื่น ๆ (9) ข้อมูลในส่วนที่ 2 ข้อ 17 การทำ�กิจการเกษตรอื่น ๆ (10) ข้อมูลในส่วนที่ 2 ข้อ 18 การทำ�การเกษตรฤดูแล้ง (11) ข้อมูลในส่วนที่ 2 ข้อ 19 การเลี้ยงสัตว์ (12) ข้อมูลในส่วนที่ 2 ข้อ 20 การทำ�การประมง (13) ข้อมูลในส่วนที่ 2 ข้อ 21 การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ� (14) ข้อมูลในส่วนที่ 2 ข้อ 22 สัตว์ใช้งานและเครื่องจักรในการเกษตร (15) ข้อมูลในส่วนที่ 2 ข้อ 23 การรับจ้าง (16) ข้อมูลในส่วนที่ 2 ข้อ 24 การประกอบอุตสาหกรรมในครัวเรือน (17) ข้อมูลในส่วนที่ 2 ข้อ 25 สถานประกอบการและอุตสาหกรรม ภายในท้องถิน่ (18) ข้อมูลในส่วนที่ 2 ข้อ 26 การได้รับประโยชน์จากสถานที่ท่องเที่ยว (19) ข้อมูลในส่วนที่ 5 ข้อ 36.2.4 ครัวเรือนที่เป็นสมาชิกกลุ่มต่่าง ๆ ได้รับเงินทุนหรือเงินกู้เพื่อใช้ในการประกอบอาชีพหรือการศึกษา (20) ข้อมูลในส่วนที่ 5 ข้อ 36.2.5 จำ�นวนครัวเรือนที่ใช้แหล่งสินเชื่อต่าง ๆ (21) ข้อมูลในส่วนที่ 6 ข้อ 44.1 จำ�นวนคนอายุ 15-60 ปีเต็ม มีการ ประกอบอาชีพและมีรายได้ (22) ข้อมูลในส่วนที่ 6 ข้อ 44.2 จำ�นวนคนอายุ 15-60 ปี เต็ม ไม่มี การประกอบอาชีพและมีรายได้
สำ�นักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน
แนวทางการพัฒนาทุนชุมชน
33
1.2 ข้อมูลความจำ�เป็นพื้นฐาน (จปฐ.) มีข้อมูลที่บ่งชี้ทุนชุมชน จำ�แนกเป็นประเภท ได้ ดังนี้ 1. ทุนมนุษย์ จำ�นวน 21 ข้อ ได้แก่ (1) ข้อมูลในหมวดที่ 1 ข้อ 1 หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลก่อนคลอด และฉีดวัคซีนครบตามเกณฑ์ (2) ข้อมูลในหมวดที่ 1 ข้อ 2 แม่ที่คลอดลูกได้รับการทำ�คลอด และดูแลหลังคลอด (3) ข้อมูลในหมวดที่ 1 ข้อ 3 เด็กแรกเกิดมีน้ำ�หนักไม่ต่ำ�กว่า 2,500 กรัม (4) ข้อมูลในหมวดที่ 1 ข้อ 4 เด็กแรกเกิดถึง 1 ปีเต็ม ได้รับการฉีด วัคซีนป้องกันโรคครบตามตารางสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค (5) ข้อมูลในหมวดที่ 1 ข้อ 5 เด็กแรกเกิดได้กินนมแม่อย่างเดียว อย่างน้อย 4 เดือนแรกติดต่อกัน (6) ข้อมูลในหมวดที่ 1 ข้อ 6 เด็กแรกเกิดถึง 5 ปี เจริญเติบโต ตามเกณฑ์มาตรฐาน (7) ข้อมูลในหมวดที่ 1 ข้อ 7 เด็กอายุ 6 - 15 ปี เจริญเติบโต ตามเกณฑ์มาตรฐาน (8) ข้อมูลในหมวดที่ 1 ข้อ 8 เด็กอายุ 6 – 12 ปี ได้รับการฉีด วัคซีนป้องกันโรคครบตามตารางสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค (9) ข้อมูลในหมวดที่ 1 ข้อ 9 ทุกคนในครัวเรือนกินอาหารถูก สุขลักษณะปลอดภัยได้มาตรฐาน (10) ข้อมูลในหมวดที่ 1 ข้อ 10 ทุกคนในครัวเรือนมีความรู้ในการ ใช้ยาที่ถูกต้องเหมาะสม 34
แนวทางการพัฒนาทุนชุมชน
สำ�นักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน
(11) ข้อมูลในหมวดที่ 1 ข้อ 11 คนอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการ ตรวจสุขภาพประจำ�ปี (12) ข้อมูลในหมวดที่ 1 ข้อ 2 คนอายุ 6 ปีขึ้นไป ออกกำ�ลังกาย อย่างน้อย สัปดาห์ละ 3 วัน ๆ ละ 30 นาที (13) ข้อมูลในหมวดที่ 1 ข้อ 13 คนที่มีสิทธิในระบบประกัน สุขภาพถ้วนหน้า มีหลักประกันสุขภาพ (ได้รับบัตรทอง) (14) ข้อมูลในหมวดที่ 2 ข้อ 21 ครอบครัวมีความอบอุ่น (15) ข้อมูลในหมวดที่ 3 ข้อ 22 เด็กอายุต่ำ�กว่า 3 ปีเต็ม ได้รับการ ส่งเสริมการเรียนรู้จากการทำ�กิจกรรมร่วมกับผู้ใหญ่ในบ้าน (16) ข้อมูลในหมวดที่ 3 ข้อ 23 เด็กอายุ 3 - 5 ปีเต็ม ได้รับบริการเลี้ยงดูเตรียมความพร้อมก่อนวัยเรียน (17) ข้อมูลในหมวดที่ 3 ข้อ 24 เด็กอายุ 6 – 15 ปี ได้รับ การศึกษาภาคบังคับ 9 ปี (18) ข้อมูลในหมวดที่ 3 ข้อ 25 เด็กที่จบการศึกษาภาคบังคับ 9 ปี ได้เรียนต่อมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า (19) ข้อมูลในหมวดที่ 3 ข้อ 26 เด็กที่จบการศึกษาภาคบังคับ 9 ปี แต่ไม่ได้เรียนต่อมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่าและยังไม่มีงานทำ� ได้รับการฝึกอบรมอาชีพ
สำ�นักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน
แนวทางการพัฒนาทุนชุมชน
35
(20) ข้อมูลในหมวดที่ 3 ข้อ 27 คนอายุ 15 - 60 ปีเต็ม อ่าน เขียนภาษาไทยและคิดเลขอย่างง่ายได้ (21) ข้อมูลในหมวดที่ 3 ข้อ 28 คนในครัวเรือนได้รับรู้ข่าวสาร ที่เป็นประโยชน์อย่างน้อยสัปดาห์ละ 5 ครั้ง 2. ทุนสังคม จำ�นวน 8 ข้อ ได้แก่ (1) ข้อมูลในหมวดที่ 5 ข้อ 34 คนในครัวเรือนได้ปฏิบัติตน ตามขนบธรรมเนียมและมารยาทไทย (2) ข้อมูลในหมวดที่ 5 ข้อ 35 คนอายุ 6 ปีขึ้นไปทุกคนปฏิบัติ กิจกรรมทางศาสนาอย่างน้อยสัปดาห์ละ 1 ครั้ง (3) ข้อมูลในหมวดที่ 5 ข้อ 36 คนสูงอายุได้รับการดูแลเอาใจใส่ จากคนในครัวเรือน (4) ข้อมูลในหมวดที่ 5 ข้อ 37 คนพิการได้รับการดูแลเอาใจใส่ จากคนในครัวเรือน (5) ข้อมูลในหมวดที่ 6 ข้อ 38 คนในครัวเรือนเป็นสมาชิกกลุ่ม ที่ตั้งขึ้นในหมู่บ้าน/ชุมชน ตำ�บล (6) ข้อมูลในหมวดที่ 6 ข้อ 39 คนในครัวเรือนมีส่วนร่วมแสดง ความคิดเห็นเพื่อประโยชน์ของชุมชนหรือท้องถิ่น (7) ข้อมูลในหมวดที่ 6 ข้อ 41 คนในครัวเรือนมีส่วนร่วมทำ� กิจกรรมสาธารณะของหมู่บ้าน/ชุมชน (8) ข้อมูลในหมวดที่ 6 ข้อ 42 คนอายุ 18 ปีขึ้นไป ที่มีสิทธิ์ เลือกตั้งไปใช้สิทธิ์เลือกตั้งในชุมชนของตน
36
แนวทางการพัฒนาทุนชุมชน
สำ�นักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน
3. ทุนกายภาพ จำ�นวน 3 ข้อ ได้แก่ (1) ข้อมูลในหมวดที่ 2 ข้อ 14 ครัวเรือนมีความมั่นคงในที่อยู่อาศัย และบ้านมีสภาพคงทนถาวร (2) ข้อมูลในหมวดที่ 2 ข้อ 15 ครัวเรือนมีน้ำ�สะอาดสำ�หรับดื่มและ บริโภคเพียงพอตลอดปี (3) ข้อมูลในหมวดที่ 2 ข้อ 16 ครัวเรือนมีน้ำ�ใช้เพียงพอตลอดปี
4. ทุนธรรมชาติ จำ�นวน 1 ข้อ ได้แก่ (1) ข้อมูลในหมวดที่ 6 ข้อ 40 ครัวเรือนมีส่วนร่วมในการทำ� กิจกรรมเกี่ยวกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติเพื่อประโยชน์ของชุมชนหรือท้องถิ่น
5. ทุนการเงิน จำ�นวน 3 ข้อ ได้แก่ (1) ข้อมูลในหมวดที่ 4 ข้อ 29 คนอายุ 15 – 60 ปีเต็ม มีการประกอบอาชีพและมีรายได้ (2) ข้อมูลในหมวดที่ 4 ข้อ 30 คนในครัวเรือนมีรายได้เฉลี่ย ไม่ต่ำ�กว่าคนละ 23,000 บาทต่อปี (3) ข้อมูลในหมวดที่ 4 ข้อ 31 ครัวเรือนมีการเก็บออมเงิน
สำ�นักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน
แนวทางการพัฒนาทุนชุมชน
37
2. วิธีจัดเก็บข้อมูล 2.1 ข้อมูลพื้นฐานระดับหมู่บ้าน (กชช. 2 ค) ดำ�เนินการจัดเก็บ 2 ปีต่อครั้ง เป็นการจัดเก็บข้อมูลของแต่ละหมู่บ้าน โดยมีคณะทำ�งานบริหารการจัดเก็บข้อมูลระดับตำ�บล ซึ่ง มีนายกองค์การบริหารส่วนตำ�บลเป็นหัวหน้าคณะทำ�งาน เป็นกลไกในการจัดเก็บข้อมูล ทำ�การ กรอกข้อมูลในส่วนที่มีอยู่ และสัมภาษณ์ซ้ำ�จากคณะกรรมการหมู่บ้านหรือผู้นำ�หมู่บ้าน/ชุมชน 2.2 ข้อมูลความจำ�เป็นขั้นพื้นฐาน (จปฐ.) ดำ�เนินการจัดเก็บทุกปี เป็นการ จัดเก็บข้อมูลรายครัวเรือน จัดเก็บโดยคณะกรรมการหมู่บ้าน/ชุมชน ผู้นำ�ชุมชน หัวหน้าคุ้ม อาสา พัฒนาชุมชน (อช.) หรืออาสาสมัครอื่น ๆ ทำ�การสัมภาษณ์หัวหน้าครัวเรือนหรือสมาชิกในครัวเรือน 3. ผลผลิตที่ได้รับ 3.1 ข้อมูลทุนชุมชนที่รวบรวมจากแบบสำ�รวจข้อมูล กชช. 2 ค และข้อมูล จปฐ. 3.2 นำ�ทุนชุมชนที่ได้มาจัดเป็นหมวดหมู่ โดยแบ่งเป็น 5 ประเภท ได้แก่ ทุนมนุษย์ ทุนสังคม ทุนกายภาพ ทุนธรรมชาติ และทุนการเงิน
38
แนวทางการพัฒนาทุนชุมชน
สำ�นักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน
ดังตารางที่ 1 : การจัดเก็บข้อมูลทุนชุมชน ขั้นตอน 1. การจัดเก็บ ข้อมูลทุนชุมชน
วิธีการ/ รายละเอียด ผลผลิต 1.1 การจัดเก็บและรวบรวม จัดเก็บข้อมูลทุนชุมชนของหมู่บ้าน/ ๏ ข้อมูลทุนชุมชน ชุมชน โดยดำ�เนินการ ดังนี้ ๏ ทุนชุมชนแต่ละประเภท » จัดเก็บ » รวบรวม » จัดประเภท 1.2 เครื่องมือที่ใช้ » แบบสำ�รวจข้อมูล กชช. 2 ค » แบบสำ�รวจข้อมูล จปฐ. » ทะเบียนข้อมูลทุนชุมชน 1.3 กลไกการจัดเก็บ » คณะกรรมการหมู่บ้าน » ผู้นำ�และอาสาสมัคร 1.4 สถานที่เก็บรักษาข้อมูล » หมู่บ้าน/ ชุมชน » อำ�เภอ » จังหวัด » กรมฯ
สำ�นักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน
แนวทางการพัฒนาทุนชุมชน
39
ขั้นตอนที่ 2 การวิเคราะห์ข้อมูลทุนชุมชน หลังจากขั้นตอนการจัดเก็บรวบรวมและจัดประเภททุนชุมชนแล้ว นำ�ข้อมูลทุน ชุมชนจากขั้นตอนที่ 1 มาดำ�เนินการวิเคราะห์ทุนชุมชน เพื่อ 1. ศึกษาทุนชุมชนที่มีอยู่ในหมู่บ้าน/ชุมชน ในแต่ละประเภท ว่ามีขนาดหรือ ปริมาณเท่าไร 2. สามารถบ่งชี้สถานะของทุนชุมชนแต่ละประเภทที่มีอยู่ในหมู่บ้าน/ชุมชนว่ามี สถานะเป็น อย่างไร อยู่ในสภาพดี/ พอใช้/ หรือต้องมีการแก้ไข/ ปรับปรุง 3. ประเมินค่าหาศักยภาพของทุนชุมชนที่มีอยู่ในหมู่บ้าน/ชุมชน เพื่อเป็นปัจจัย ในการพัฒนาและบริหารจัดการทุนชุมชน 4. จัดลำ�ดับความสำ�คัญเร่งด่วนในการแก้ไขปัญหาทุนชุมชน เพื่อให้ทราบว่า อะไรควรดำ�เนินการก่อน -หลัง วิธีการวิเคราะห์ทุนชุมชน การวิเคราะห์ทุนชุมชนสามารถทำ�ได้โดยการจัดเวที ประชาคม หรือประชุมเชิงปฏิบัติการซึ่งกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมเวที/ ประชุม ประกอบด้วย กลุ่มเป้าหมายหลัก ได้แก่ คณะกรรมการหมู่บ้าน (กม.) สมาชิก อบต. ผู้นำ� กลุ่ม องค์กร ต่าง ๆ และประชาชนในหมู่บ้าน/ ชุมชน ผู้เข้าร่วมเวที ได้แก่ เจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชน อบต. และภาคีการพัฒนา ผลผลิตที่ได้รับ 3.1 ลำ�ดับสถานภาพ (ดี/ พอใช้/ ปรับปรุง/ แก้ไข) ของทุนชุมชนในแต่ละประเภท 3.2 ลำ�ดับความสำ�คัญเร่งด่วนในการพัฒนาและแก้ไขปัญหาทุนชุมชน
40
แนวทางการพัฒนาทุนชุมชน
สำ�นักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน
ดังตารางที่ 2 : การวิเคราะห์ข้อมูลทุนชุมชน ขั้นตอน
วิธีการ/ รายละเอียด
ผลผลิต
2. การวิเคราะห์ 2.1 การวิเคราะห์ทุนชุมชน ข้อมูลทุนชุมชน โดยการนำ�ข้อมูลจากขั้นตอนที่ 1 มาดำ�เนินการ เพื่อให้เกิด ดังนี้ . ศึกษาทุนชุมชนที่มีอยู่ในทุนแต่ละประเภท ของหมู่บ้าน/ ชุมชน เพื่อทราบขนาดหรือปริมาณ . บ่งชี้สถานะของทุนชุมชนในแต่ละประเภท (ดี/ พอใช้/ แก้ไข/ ปรับปรุง) . ค้นหาศักยภาพของทุนชุมชนในการพัฒนา . จัดลำ�ดับความสำ�คัญเร่งด่วนในการแก้ไข และพัฒนา
³ ลำ�ดับ สถานภาพ ของทุนชุมชน ในแต่ละประเภท ³ ลำ�ดับความ สำ�คัญเร่งด่วน ในการพัฒนา และแก้ไขปัญหา ของทุนชุมชน
2.2 วิธีการดำ�เนินงาน . จัดเวทีประชาคม หรือประชุมเชิงปฏิบัติการ 2.3 กลุ่มบุคคลเป้าหมาย . กลุ่มเป้าหมายหลัก ได้แก่ คณะกรรมการ หมู่บ้าน/สมาชิก/ อบต./ ผู้นำ� กลุ่ม องค์กรและ ประชาชน . ผู้เข้าร่วมดำ�เนินการ ได้แก่ เจ้าหน้าที่พัฒนา ชุมชน/ อบต./ ภาคีการพัฒนา
สำ�นักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน
แนวทางการพัฒนาทุนชุมชน
41
ขั้นตอนที่ 3 การพัฒนาทุนชุมชน เป็นการนำ�ข้อมูลที่ได้จากการวิเคราะห์ทุนชุมชนในขั้นตอนที่ 2 ไปขับเคลื่อนให้ เกิดการพัฒนาเพื่อเพ่ิมมูลค่าหรือคุณค่าของทุนชุมชน หรือแก้ไขปัญหาของหมู่บ้าน/ ชุมชน โดยมี กลไกผู้รับผิดชอบหรือหน่วยงานภาคีเป็นผู้ขับเคลื่อน โครงการ/ กิจกรรม ซึ่งสามารถดำ�เนินการได้ 2 แนวทาง ดังนี้ แนวทางที่ 1 การจัดทำ�แผนชุมชนของหมู่บ้าน/ชุมชน โดยการนำ�เอาข้อมูล ที่ได้จากขั้นตอนที่ 2 มาใช้ในการกำ�หนดโครงการ/กิจกรรมในการพัฒนาทุนชุมชน ซึ่งโครงการ/ กิจกรรมจะถูกจำ�แนกเป็น 3 ประเภท คือ
1) ประเภทที่ 1 : โครงการ/กิจกรรม ที่หมู่บ้าน/ชุมชน สามารถดำ�เนินการ ได้ด้วยตนเอง 2) ประเภทที่ 2 : โครงการ/กิจกรรม ที่หมู่บ้าน/ชุมชน ดำ�เนินการร่วมกับ หน่วยงานภาคี การพัฒนา โดยขอรับการช่วยเหลือสนับสนุนด้านวัสดุ อุปกรณ์ วิชาการ และงบประมาณ ซึ่งเกินขีดความสามารถของหมู่บ้าน/ชุมชน 3) ประเภทที่ 3 : โครงการ/ กิจกรรม ที่หน่วยงานหรือภาคีการพัฒนา เป็นผู้ ดำ�เนินการให้ทั้งหมด แนวทางที่ 2 การจัดทำ�แผนปฏิบัติงานประจำ�ปีของหน่วยงานหรือภาคี การพัฒนา นำ�ข้อมูลที่ได้จากการวิเคราะห์หรือนำ�โครงการ/ กิจกรรมจากแผนชุมชน ประเภทที่ 2 และประเภทที่ 3 ไปจัดทำ�แผนงาน/ โครงการ/ กิจกรรม/ และงบประมาณ ของแต่ละหน่วยงานที่ เกี่ยวข้องเพื่อดำ�เนินการขับเคลื่อนกิจกรรมการพัฒนาทุนชุมชนในหมู่บ้าน/ ชุมชน
42
แนวทางการพัฒนาทุนชุมชน
สำ�นักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน
ผลผลิตทีไ่ ด้รับ 1. แผนชุมชนของหมู่บ้านที่มีโครงการ/ กิจกรรมการพัฒนาทุนชุมชน ทั้ง 3 ประเภท 2. แผนปฏิบัติการประจำ�ปีของหน่วยงานภาคี ที่มีโครงการ/ กิจกรรมการพัฒนาทุนชุมชน ดังตารางที่ 3 : การพัฒนาทุนชุมชน ขั้นตอน
วิธีการ/ รายละเอียด
ผลผลิต
3. การพัฒนา 3.1 แนวทางการพัฒนาทุนชุมชน ทุนชุมชน การพัฒนาทุนชุมชน เป็นการนำ�ข้อมูลที่ได้จากการวิเคราะห์ ทุนชุมชน ในขั้นตอนที่ 2 ไปขับเคลื่อนให้เกิดการพัฒนาหรือแก้ไข ปัญหา โดยผ่านไปยังกลไก หรือผู้รับผิดชอบ หรือหน่วยงานภาคี เป็นผู้ขับเคลื่อน ใน 2 แนวทาง ดังนี้ แนวทางที่ 1 การจัดทำ�แผนชุมชนของหมู่บ้าน/ ชุมชน ซึ่งโครงการ/ กิจกรรม จะถูกจำ�แนกเป็น 3 ประเภท ได้แก่ ประเภทที่ 1 : หมู่บ้าน/ ชุมชน ทำ�ได้เอง ประเภทที่ 2 : หมู่บ้าน/ ชุมชน ร่วมทำ�กับหน่วยงานภาคี ประเภทที่ 3 : หน่วยงานภาคีทำ�ให้ แนวทางที่ 2 หน่วยงานหรือภาคีการพัฒนานำ�ข้อมูลที่ได้จาก การวิเคราะห์ หรือโครงการ/ กิจกรรมจากแผนชุมชนประเภทที่ 2 และ ประเภทที่ 3 ไปจัดทำ�แผนงาน/ งบประมาณของแต่ละหน่วยงานหรือ ของตัวเอง ไปขับเคลื่อนการพัฒนาทุนชุมชน โดยออกมาในรูปแบบ การจัดทำ�โครงการ/ กิจกรรมเพื่อส่งเสริมหรือสนับสนุนหมู่บ้าน/ ชุมชน
๏แผนชุมชน (โครงการ/ กิจกรรม การพัฒนาทุน ชุมชน) ๏แผนปฏิบัติ งานประจำ�ปี
3.2 โครงการ/ กิจกรรมในการแก้ไขและพัฒนาทุนชุมชน ประกอบด้วย 1. โครงการ/ กิจกรรมที่หมู่บ้าน/ ชุมชน มีขีดความสามารถทำ�ได้ 2. โครงการ/ กิจกรรมที่หน่วยงานหรือภาคีการพัฒนาให้การช่วย เหลือสนับสนุนในรูปวัสดุอุปกรณ์/ วิชาการ/ งบประมาณ ดังนี้ - หน่วยงานหรือภาคี เป็นผู้ดำ�เนินการ - หน่วยงานหรือภาคี ทำ�ร่วมกับหมู่บ้าน/ ชุมชน 3.3 ผลที่ได้
1. แผนชุมชน 2. โครงการ/ กิจกรรม เพื่อพัฒนาหรือแก้ไขปัญหาทุนชุมชน
สำ�นักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน
แนวทางการพัฒนาทุนชุมชน
43
ขั้นตอนที่ 4 การประเมินผลการพัฒนาทุนชุมชน
หลังจากได้มีการนำ�ข้อมูลจากการวิเคราะห์ข้อมูลทุนชุมชน ไปขับเคลื่อนให้เกิด การพัฒนาหรือแก้ไขปัญหา ทั้งแนวทางที่ 1 และแนวทางที่ 2 แล้ว จะต้องมีการประเมินผลการ พัฒนาทุนชุมชนดังกล่าว โดยมีกลไกในการประเมินผล ได้แก่ คณะกรรมการหมู่บ้าน ผู้นำ� กลุ่ม องค์กรและเครือข่ายต่าง ๆ ซึ่งเครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน ประกอบด้วย 1) แบบสำ�รวจข้อมูลความจำ�เป็นขั้นพื้นฐาน (จปฐ.) เป็นข้อมูลรายครัวเรือน ดำ�เนินการจัดเก็บเป็นประจำ�ทุกปีี 2) แบบสำ�รวจข้อมูลพื้นฐานระดับหมู่บ้าน (กชช. ๒ ค) เป็นข้อมูลรายหมู่บ้าน ดำ�เนินการจัดเก็บเป็นประจำ�ทุก 2 ปี 3) แบบจัดระดับหรือดัชนีชี้วัดการพัฒนาทุนชุมชน จะแสดงให้เห็นถึงทุนชุมชน แต่ละด้านมีค่าอยู่ในระดับใด 4) แบบมาตรฐานทุนชุมชน ใช้เป็นเกณฑ์ในการวัดทุนชุมชน 5) แบบประเมินศักยภาพทุนชุมชน (Pentagon) สามารถชี้ให้เห็นถึงขีดความ สามารถในการพัฒนาทุนชุมชนแต่ละด้านว่าเป็นอย่างไร
การประเมินผลการพัฒนาทุนชุมชน จากเครื่องมือที่กล่าวมา สามารถชี้ให้เห็น ได้ว่า แต่ละปี มีผลการพัฒนาเป็นอย่างไรเมื่อเปรียบเทียบกับปีที่ผ่าน ซึ่งจะสามารถกำ�หนด ทิศทางการพัฒนาทุนชุมชน ได้อย่างถูกต้อง ผลผลิตที่ได้รับ 1. ระดับการพัฒนาทุนชุมชน 2. ทุนชุมชนที่ผ่านการรับรองมาตรฐาน 3. แนวทางการปรับปรุง แก้ไข และพัฒนาทุนชุมชน
44
แนวทางการพัฒนาทุนชุมชน
สำ�นักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน
ดังตารางที่ 4 : การประเมินผลการพัฒนาทุนชุมชน ขั้นตอน 4.ประเมินผล การพัฒนา ทุนชุมชน
วิธีการ/ รายละเอียด
ผลผลิต
4.1 ประเมินผลความก้าวหน้าหรือความสำ�เร็จของ ³ แนวทาง ทุนชุมชน ในแต่ละประเภท โดยใช้ข้อมูล ดังนี้ ปรับปรุง/ แก้ไข/ พัฒนาทุนชุมชน 1 ใช้ข้อมูลจากการสำ�รวจ กชช.2 ค และ จปฐ. 1 ใช้แบบการจัดระดับหรือดัชนีชี้วัดการพัฒนา ทุนชุมชน 1 มาตรฐานทุนชุมชน 4.2 เครื่องมือที่ใช้ 1 แบบสำ�รวจข้อมูล จปฐ. 1 แบบสำ�รวจข้อมูล กชช.2 ค 1 แบบการจัดระดับหรือดัชนีชี้วัดการพัฒนาทุนชุมชน 1 แบบมาตรฐานทุนชุมชน 1 แบบประเมินศักยภาพทุนชุมชน (Pentagon) 4.3 กลไกการประเมินผล 1 คณะกรรมการหมู่บ้าน 1 ผู้นำ�กลุ่ม องค์กร เครือข่าย
สำ�นักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน
แนวทางการพัฒนาทุนชุมชน
45
[ ส่วนที่ 4 ]
ภารกิจ บทบาท หน้าที่ ของหน่วยงาน และภาคีในการพัฒนาทุนชุมชน
การขับเคลือ่ นการพัฒนาทุนชุมชน (ทุนทีไ่ ม่ใช่เงิน) เป็นภารกิจใหม่ทกี่ รมการพัฒนาชุมชน จะต้องดำ�เนินการส่งเสริมสนับสนุนช่วยเหลือให้ชุมชนตระหนักและรู้คุณค่าของทุนที่มีอยู่ในชุมชน และสร้างความสมดุลอย่างยัง่ ยืนของทุนชุมชน สามารถนำ�มาใช้ให้เกิดประโยชน์แก่คนในชุมชนได้ อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ โดยมีเจ้าหน้าทีพ่ ฒ ั นาชุมชนทุกระดับสนับสนุนและสร้างความ รู้ความเข้าใจให้กับผู้นำ� กลุ่ม องค์กร ชุมชน และผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง โดยใช้เครื่องมือที่มีอยู่ดำ�เนิน การในหมู่บ้าน/ ชุมชน ทั้งในเรื่องของการจัดเก็บข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล และการจัดทำ�แผน ชุมชน โดยที่กรมการพัฒนาชุมชน มีภารกิจหลักสำ�คัญในการส่งเสริมการพัฒนาทุนชุมชน เพื่อ สร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชน สอดคล้องกับยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน “ด้านการพัฒนา ทุนชุมชน” ในการเสริมสร้างความเข้มแข็งในการบริหารจัดการทุนชุมชนให้มีประสิทธิภาพ โดยใช้ พื้นฐานทุนที่มีอยู่ในชุมชนในการพัฒนาทุนชุมชน ดังนั้น เจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชนทุกระดับจึงมี บทบาทสำ�คัญในการส่งเสริมการบริหารจัดการทุนชุมชนโดยให้ชมุ ชนตระหนักและรักษาสมดุลของ ทุนในชุมชนและชุมชนร่วมรับผิดชอบ การพัฒนาทุนชุมชน ทั้ง 5 ประเภทนี้ จะเห็นได้ว่าทุนชุมชนเหล่านี้มีอยู่ในหมู่บ้าน/ ชุมชน อยู่แล้ว เพียงแต่ว่าคนในชุมชนจะนำ�มาปรับใช้ให้เกิดประโยชน์ได้อย่างไร ทำ�อย่างไรจึงจะแปลง ทุนเหล่านี้ออกมาเป็นโครงการ/ กิจกรรมที่ส่งผลต่อการพัฒนาหมู่บ้าน/ ชุมชน ให้สามารถแก้ไข ปัญหาของชุมชน ซึ่งจะทำ�ให้ประชาชนมีรายได้เพิ่มขึ้น มีคุณภาพชีวิตดีขึ้น ชุมชนมีความเข้มแข็ง และทรัพยากรธรรมชาติมีความยั่งยืน โดยมีโครงสร้างและกระบวนการในการบริหารจัดการทุน ชุมชน ซึ่งประกอบด้วย หน่วยงานภาครัฐ องค์กรเอกชน และชุมชน และยังมีกระบวนการที่นำ� มาใช้บริหารจัดการได้อีก ได้แก่ กฎหมาย การเมือง วัฒนธรรมและสถาบันในชุมชน เป็นต้น 46
แนวทางการพัฒนาทุนชุมชน
สำ�นักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน
ดังนั้น การพัฒนาทุนชุมชนทั้ง 5 ประเภทโดยเฉพาะทุนที่ไม่ใช่เงิน ต้องอาศัย ความร่วมมือจากหน่วยงานภาคีการพัฒนาหลาย ๆ ฝ่ายดำ�เนินการขับเคลื่อนให้เกิดประสิทธิผล และเกิดประโยชน์ต่อหมู่บ้าน/ ชุมชนอย่างแท้จริง โดยที่ “ทุนชุมชน” ไม่ได้หมายถึงทุนที่เป็นเงิน ตราเท่านั้น แต่ยังหมายรวมถึง ทุนมนุษย์ ทุนสังคม ทุนกายภาพ และทุนธรรมชาติ ดังนั้น หมู่บ้าน/ ชุมชนจะต้องสำ�รวจก่อนว่าสภาพของทุนชุมชนดังกล่าวนี้เป็นอย่างไร อะไรเป็นจุดแข็ง อะไรเป็นจุดอ่อน ท�ำ อย่างไรจะช่วยให้ชมุ ชนมีการบริหารจัดการเรือ่ งทุนได้อย่างมีประสิทธิภาพ จะ แปลงทุนที่มีอยู่ในหมู่บ้าน/ ชุมชนไปสู่การนำ�ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ได้อย่างไร ซึ่งหน่วยงาน/ ภาคี การพัฒนามีบทบาทสำ�คัญในการการส่งเสริมสนับสนุนและประสานงานให้หมูบ่ า้ น/ ชุมชน สามารถบริหารจัดการทุนชุมชนทีม่ อี ยูอ่ ย่างเป็นระบบก่อให้เกิดประโยชน์ มคี ณ ุ ค่า สมดุลและยัง่ ยืน โดยมีกรมการพัฒนาชุมชน เป็นผู้เชื่อมประสานและมีหมู่บ้าน/ ชุมชน หน่วยงาน/ ภาคี ร่วมรับผิด ชอบในกระบวนการดำ�เนินงานทั้ง 4 ขั้นตอนที่ได้กล่าวมาข้างต้น โดยมีบทบาทหน้าที่หรือภารกิจ ในแต่ละขั้นตอน ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 : การจัดเก็บข้อมุูลทุนชุมชน » กรมการพัฒนาชุมชน เป็นเจ้าภาพหลัก ในการสนับสนุนแบบจัดเก็บ ข้อมูลพื้นฐานระดับหมู่บ้าน (กชช.2 ค) และข้อมูลความจำ�เป็นขั้นพื้นฐาน (จปฐ.) การบริหาร การจัดเก็บข้อมูลให้เป็นไปตามแผนปฏิบัติการที่กำ�หนดไว้ และร่วมกับหมู่บ้าน/ ชุมชน โดยมี คณะกรรมการหมู่บ้าน/ ผู้นำ� อาสาสมัครดำ�เนินการรวบรวมและจัดประเภททุนชุมชนทั้งที่ทุน การเงินและทุนชุมชนประเภทต่าง ๆ มาวิเคราะห์ศักยภาพของทุนชุมชนที่มีอยู่ในหมู่บ้าน/ ชุมชน มีการจัดทำ�เป็นเอกสารหลักฐานทะเบียนข้อมูลทุนชุมชนและเก็บรักษาข้อมูลทุนชุมชนไว้เพื่อ เป็นฐานข้อมูลทุนชุมชน สามารถเป็นข้อมูลให้แก่หน่วยงานภาคีและหมู่บ้าน/ ชุมชน ในการยก ระดับทุนชุมชนทั้ง 5 ประเภทให้มีความเข้มแข็ง/ สมดุล ซึ่งจะส่งผลต่อการพัฒนาในภาพรวม ของหมู่บ้าน/ ชุมชน » หมู่บ้าน/ ชุมชน มีภารกิจในการดำ�เนินการสำ�รวจข้อมูลทุนชุมชนที่อยู่ ในหมู่บ้าน/ ชุมชน ทั้งทุนการเงินและทุนที่ไม่ใช่เงิน และรวบรวมจัดเก็บข้อมูลทุนชุมชนทั้ง 5 ประเภท โดยการจัดเก็บจากแบบสำ�รวจข้อมูลพื้นฐานระดับหมู่บ้าน (กชช.2 ค) และข้อมูลความ จำ�เป็นขั้นพื้นฐาน (จปฐ.) » องค์การบริหารส่วนตำ�บล มีบทบาทในการสนับสนุนงบประมาณในการจัด พิมพ์แบบข้อมูล ค่าจัดเก็บ และบันทึกข้อมูลพื้นฐานระดับหมู่บ้าน (กชช.2 ค) และข้อมูลความ จำ�เป็นขั้นพื้นฐาน (จปฐ.)
สำ�นักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน
แนวทางการพัฒนาทุนชุมชน
47
ขั้นตอนดังกล่าวนี้ ได้ใช้เครื่องมือที่มีอยู่แล้ว ได้แก่ ข้อมูลพื้นฐานระดับหมู่บ้าน (กชช.2 ค) และข้อมูลความจำ�เป็นขั้นพื้นฐาน (จปฐ.) มาดำ�เนินการค้นหาข้อมูลทุนชุมชนทั้ง 5 ประเภทว่ามีอยู่มากน้อยเพียงใด จะต้องหาเพิ่มจากหมู่บ้าน/ ชุมชน หรือจากหน่วยงานภาคี ซึ่งจากการดำ�เนินงานในส่วนที่ 3 ขั้นตอนการพัฒนาทุนชุมชน จะเห็นได้ว่า ที่ผ่านมาหมู่บ้าน/ ชุมชนมีการจัดเก็บข้อมูล จปฐ. ทุกปี และจัดเก็บข้อมูล กชช.2 ค ทุก 2 ปี ซึ่งในข้อมูลดังกล่าว พบว่ามีข้อมูลทุนชุมชนทั้ง 5 ประเภทอยู่แล้ว โดยเฉพาะข้อมูล กชช.2 ค จะมีข้อมูลด้านทุน ชุมชนครอบคลุมทั้ง 5 ประเภท ประกอบด้วย ทุนมนุษย์ ทุนสังคม ทุนกายภาพ ทุนธรรมชาติ และทุนการเงิน ส่วนข้อมูล จปฐ. ส่วนใหญ่จะมีข้อมูลในเรื่องคุณภาพชีวิตของประชาชนซึ่ง เป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับทุนมนุษย์ จะเห็นได้ว่า ทุนชุมชนบางประเภทก็อยู่ในอำ�นาจหน้าที่และ เป็นภารกิจโดยตรงของกรมการพัฒนาชุมชน บางประเภทก็ไม่ใช่ภารกิจโดยตรงของกรมการ พัฒนาชุมชน ดังนั้น กรมการพัฒนาชุมชน จึงมีบทบาทในการส่งเสริมสนับสนุนและประสานงาน ให้หน่วยงานต่าง ๆ ดำ�เนินการยกระดับทุนชุมชนประเภทนั้น ๆ ให้มีความเข้มแข็งขึ้นอย่างสมดุล และส่งผลต่อการพัฒนาในภาพรวมของชุมชน รวมทั้งส่งเสริมให้มีการจัดทำ�นโยบายเพื่อการ พัฒนาศักยภาพของทุนชุมชนและพัฒนาระบบเฝ้าระวังทุนชุมชนด้วย ดังตารางที่ 1 : การจัดเก็บข้อมูลทุนชุมชน ขั้นตอน การดำ�เนินงาน
ผู้รับผิดชอบ กรมการพัฒนาชุมชน ( เจ้าภาพหลัก )
หมู่บ้าน/ ชุมชน
u การจัดเก็บ ³ สนับสนุนแบบการจัดเก็บ ³ สำ�รวจ/ จัด ข้อมูลทุนชุมชน ข้อมูล กชช.2 ค และ จปฐ. เก็บข้อมูล ³ บริหารการจัดเก็บข้อมูล ³ ร่วมกับหมู่บ้าน/ ชุมชน รวบรวมและจัดประเภท ทุนชุมชน ³ สนับสนุนแบบการจัดทำ� ทะเบียนข้อมูลทุนชุมชน ³ เก็บรักษาข้อมูลทุนชุมชน
48
แนวทางการพัฒนาทุนชุมชน
หน่วยงาน/ ภาคี องค์การบริหาร ส่วนตำ�บล สนับสนุนงบ ประมาณ ³ จัดพิมพ์แบบ จัดเก็บข้อมูล ³ งบประมาณ ค่าจัดเก็บ และบันทึกข้อมูล
สำ�นักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน
ขั้นตอนที่ 2 : การวิเคราะห์ข้อมูลทุนชุมชน - กรมการพัฒนาชุมชน สนับสนุนให้มีการจัดเวทีประชาคม/ การประชุมเชิงปฏิบัติ การเพื่อประเมินศักยภาพทุนชุมชน วิเคราะห์ข้อมูลทุนชุมชน ร่วมเป็นวิทยากรกระบวนการใน การวิเคราะห์ค้นหาทุนชุมชนที่เอื้อต่อการพัฒนาและแก้ไขปัญหาของหมู่บ้าน/ชุมชน และเพิ่ม ประสิทธิภาพ/เสริมสร้างการบริหารจัดการทุนชุมชน โดยการจัดกิจกรรมสร้างความรู้ความเข้าใจ กับผู้นำ� กลุ่ม องค์กร ชุมชน เครือข่ายในหมู่บ้าน/ ชุมชน เพื่อให้หมู่บ้าน/ชุมชนสามารถใช้ทุน ชุมชนในการพัฒนา/ แก้ไขปัญหาของคนในหมู่บ้าน/ ชุมชนได้ ตลอดจนเชื่อมประสานหน่วยงาน/ ภาคี ที่เกี่ยวข้องเข้าร่วมกิจกรรม 1. หมู่บ้าน/ ชุมชน เป็นเจ้าภาพหลัก มีบทบาทที่สำ�คัญในการประสานเชิญชวนผู้นำ� ชุมชนทีเ่ ป็นปราชญ์ชาวบ้าน ภมู ปิ ญ ั ญาท้องถิน่ ด้านต่าง ๆ มาร่วมในเวทีประชาคมหรือการประชุม เชิงปฏิบัติการเพื่อค้นหาและวิเคราะห์ศักยภาพของทุนชุมชนที่อยู่ในหมู่บ้าน/ ชุมชน ทั้งทุนการเงิน และทุนที่ไม่ใช่เงิน รวมทั้งจัดเก็บผลการวิเคราะห์ข้อมูลทุนชุมชนทั้ง 5 ประเภท 2. หน่วยงาน/ ภาคี มีบทบาทในการเข้าร่วมเวทีประชาคมหรือการประชุมเชิงปฏิบัติการ ดังกล่าว โดยเฉพาะองค์การบริหารส่วนตำ�บล อาจพิจารณาให้การสนับสนุนงบประมาณการจัด เวทีประชาคมหรือการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อวิเคราะห์ข้อมูลทุนชุมชน ซึ่งข้อมูลที่ได้ในครั้งนี้ สามารถนำ�มาจัดทำ�เป็นแผนชุมชนเพื่อการพัฒนาและแก้ไขปัญหาของหมู่บ้าน/ ชุมชน
สำ�นักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน
แนวทางการพัฒนาทุนชุมชน
49
ดังตารางที่ 2 : การวิเคราะห์ข้อมูลทุนชุมชน ขั้นตอน การดำ�เนินงาน
ผู้รับผิดชอบ กรมการพัฒนาชุมชน
หมู่บ้าน/ ชุมชน ( เจ้าภาพหลัก )
v การวิเคราะห์ ³ สนับสนุนการจัดเวที ³ จัดเวทีประชาคม ข้อมูลทุนชุมชน ประชาคม/ การประชุม หรือ เชิงปฏิบัติการ การประชุมเชิงปฏิบัติการ เพื่อวิเคราะห์ทุนชุมชน ³ ร่วมเป็นวิทยากร กระบวนการในการ ³ แจ้งกลุ่มบุคคลเป้าหมาย จัดเวทีประชาคม/ เข้าร่วมเวทีประชาคม หรือ การประชุม การประชุมเชิงปฏิบัติการ เชิงปฏิบัติการ ³ จัดเก็บผลการวิเคราะห์ ³ รวบรวมจัดเก็บ ข้อมูล (ชุดสำ�เนา) ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ³ ประสานหน่วยงาน/ ภาคีเข้าร่วมเวทีประชาคม หรือการประชุมเชิงปฏิบัติการ
หน่วยงาน/ ภาคี ³ เข้าร่วมเวที ประชาคม หรือ การประชุม เชิงปฏิบัติการ ³ องค์การบริหาร ส่วนตำ�บล อาจ พิจารณาให้การ สนับสนุนงบประมาณ การจัดเวทีประชาคม หรือการประชุม เชิงปฏิบัติการ
ขั้นตอนที่ 3 : การพัฒนาทุนชุมชน ในขั้นตอนนี้ ผู้รับผิดชอบดำ�เนินการ ได้แก่ กรมการพัฒนาชุมชน หมู่บ้าน/ ชุมชน และหน่วยงานภาคีการพัฒนาทุนชุมชน สามารถดำ�เนินการได้ใน 2 แนวทาง ดังนี้ แนวทางที่ 1 : จัดทำ�โครงการ/ กิจกรรม บรรจุไว้ในแผนชุมชน 1. กรมการพั ฒ นาชุ ม ชน ถือเป็นภารกิจสำ�คัญในการสนับสนุนส่งเสริม กระบวนการจัดทำ�แผนชุมชนในตำ�บล/ หมูบ่ า้ น ให้สอดคล้องกับปัญหาและความต้องการของชุมชน และครอบคลุมทุนชุมชนทั้ง 5 ประเภท ซึ่งจากขั้นตอนที่ 1 และ 2 ทำ�ให้มีข้อมูลด้านทุนชุมชนทั้ง
50
แนวทางการพัฒนาทุนชุมชน
สำ�นักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน
5 ประเภทแล้ว ดงั นัน้ จงึ มีการสนับสนุนให้มกี ารจัดเวทีประชาคม/ การประชุมเชิงปฏิบตั กิ าร/ และ ร่วมเป็นวิทยากรกระบวนการ โดยร่วมกับผูน้ �ำ ชุมชน ปราชญ์ชาวบ้าน ภมู ปิ ญ ั ญาท้องถิน่ ในหมูบ่ า้ น/ ชุมชน ดำ�เนินการจัดทำ�แผนชุมชน โดยใช้ข้อมูลที่ได้จากกระบวนการวิเคราะห์ข้อมูลทุนชุมชนมา จัดทำ�โครงการ/ กิจกรรมการพัฒนาทุนชุมชน บรรจุไว้ในแผนชุมชน ซงึ่ ต้องเชือ่ มโยงกับท้องถิน่ และ หน่วยงานภาคีตา่ ง ๆ เพือ่ ให้เกิดการพัฒนาชุมชนทีเ่ ข้มแข็ง โดยทีโ่ ครงการ/ กิจกรรมทีเ่ กินขีดความ สามารถของหมู่บ้าน/ ชุมชน ก็สามารถขอรับการสนับสนุนช่วยเหลือจากหน่วยงาน ภาคีได้ 2. หมู่บ้าน/ ชุมชน เป็นเจ้าภาพหลักดำ�เนินการจัดเวทีประชาคม/ การประชุม เชิงปฏิบตั กิ ารเพือ่ จัดทำ� “แผนชุมชน” โดยประสานเชิญชวนผูน้ �ำ ชุมชน/ ปราชญ์ชาวบ้าน/ ภูมปิ ญ ั ญา ท้องถิน่ / หน่วยงานภาคีเข้าร่วมเวทีดว้ ยกระบวนการเรียนรูแ้ ละมีสว่ นร่วมของชุมชน ซงึ่ จากขัน้ ตอน ที่ 2 ได้น�ำ ข้อมูลทีไ่ ด้รวบรวมและจัดประเภททุนชุมชนทัง้ ทีเ่ ป็นทุนการเงินและทุนชุมชนประเภทต่าง ๆ มาวิเคราะห์ศักยภาพ/ คัดแยกกิจกรรม/ โครงการด้านการพัฒนาทุนชุมชน และจัดลำ�ดับความ สำ�คัญเร่งด่วนที่จะต้องดำ�เนินการก่อน – หลัง มาจัดทำ�โครงการ/ กิจกรรมบรรจุไว้ในแผนชุมชน โดยทีแ่ ผนชุมชนจะเป็นการสะท้อนปัญหาและความต้องการของหมูบ่ า้ น/ ชุมชนให้สามารถขับเคลือ่ น ให้เกิดการพัฒนาหรือแก้ไขปัญหาของหมู่บ้าน/ ชุมชนได้อย่างแท้จริง โดยผ่านไปยังกลไกของ หมู่บ้าน/ ชุมชนหรือผู้รับผิดชอบหรือหน่วยงานภาคี เป็นผู้ดำ�เนินการขับเคลื่อนใน 3 ประเภท ดังนี้ ประเภทที่ 1 : โครงการ/ กิจกรรมที่ชุมชนสามารถดำ�เนินการได้เอง โดยอาศัยความร่วมมือ ความเอื้ออาทรของคนในชุมชน หรือใช้ทุนของหมู่บ้าน/ ชุมชน ช่วยกันทำ� ประเภทที่ 2 : โครงการ/ กิจกรรมที่คนในหมู่บ้าน/ ชุมชนร่วมกันทำ�กับหน่วยงานภาคี ประเภทที่ 3 : โครงการ/ กิจกรรมที่เกินขีดความสามารถของคนในหมู่บ้าน/ ชุมชน ก็ประสานขอรับงบประมาณจากหน่วยงานภาคีทำ�ให้ทั้งหมด การดำ�เนินการตามที่กล่าวข้างต้น จะต้องนำ�โครงการ/ กิจกรรมเหล่านี้ไปบรรจุไว้ใน แผนชุมชนของหมู่บ้าน เพื่อจัดลำ�ดับความสำ�คัญของโครงการ/ กิจกรรม จะได้รู้ว่าจะทำ�อะไร ก่อนหลัง ที่ไหน อย่างไร ใครทำ� ต้องใช้งบประมาณหรือไม่อย่างไร โดยที่หน่วยงานหรือภาคีการ พัฒนาสามารถนำ�ข้อมูลที่ได้จากการวิเคราะห์ทุนชุมชนที่มีอยู่ในหมู่บ้าน/ ชุมชน หรือโครงการ/ กิจกรรมจากแผนชุมชนไปจัดทำ�แผนงาน/ โครงการ/ กิจกรรม/ งบประมาณของแต่ละหน่วยงาน เพื่อส่งเสริมหรือสนับสนุนการขับเคลื่อนการดำ�เนินการพัฒนาทุนชุมชนหรือแก้ไขปัญหาทุนชุมชน ของหมู่บ้าน/ ชุมชนต่อไป 3. หน่วยงาน/ ภาคี เข้าร่วมเวทีประชาคม/ ประชุมเชิงปฏิบัติการ หรืออาจ พิจารณาให้การสนับสนุนช่วยเหลือการจัดทำ�โครงการ/ กิจกรรมทีเ่ กินขีดความสามารถของหมูบ่ า้ น/ ชุมชน ในส่วนที่สอดคล้องกับภารกิจหรือบทบาทหน้าที่ของหน่วยงานนั้น ๆ สำ�นักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน
แนวทางการพัฒนาทุนชุมชน
51
แนวทางที่ 2 : หน่วยงานภาคี บรรจุโครงการ/ กิจกรรมในแผนปฏิบัติงาน
ประจำ�ปี - กรมการพัฒนาชุมชน และสำ�นักพัฒนาชุมชนจังหวัด/ สำ�นักงานพัฒนา ชุมชนอำ�เภอ จะดำ�เนินการจัดทำ�แผนปฏิบัติงานประจำ�ปี โดยใช้ข้อมูลการวิเคราะห์ทุนชุมชน และโครงการ/ กิจกรรมของหมูบ่ า้ น/ ชุมชน ในส่วนทีส่ อดคล้องกับบทบาทหน้าทีห่ รือภารกิจของกรม การพัฒนาชุมชน บรรจุไว้ในแผนปฏิบัติงานประจำ�ปีเพื่อพัฒนาทุนชุมชนของหมู่บ้าน/ ชุมชน - หน่ ว ยงาน/ ภาคี เป็ น เจ้ า ภาพหลั ก ในการจั ด ทำ � แผนปฏิ บั ติ ง าน ประจำ�ปี โดยใช้ข้อมูลที่ได้จากการวิเคราะห์ทุนชุมชนของหมู่บ้าน/ ชุมชน และโครงการ/ กิจกรรม จากแผนชุมชนทีเ่ กินขีดความสามารถของหมูบ่ า้ น/ ชุมชน ในส่วนทีส่ อดคล้องกับภารกิจหรือบทบาท หน้าที่ของหน่วยงานนั้น ๆ โดยจัดทำ�โครงการ/ กิจกรรมบรรจุไว้ในแผนปฏิบัติงานประจำ�ปีเพื่อ สนับสนุนช่วยเหลือด้านงบประมาณแก่หมู่บ้าน/ ชุมชน กล่าวโดยสรุป การบริหารจัดการทุนชุมชน จำ�เป็นต้องมีการจัดทำ�ฐานข้อมูลทุนชุมชน ให้เป็นปัจจุบนั กำ�หนดให้หมูบ่ า้ น/ ชุมชนเป็นศูนย์กลางในการขับเคลือ่ นการพัฒนาทุนชุมชน ให้เกิดประสิทธิภาพและยั่งยืน มีกลไกและเครือข่ายการดำ�เนินงานทุกระดับและชัดเจน ประสาน ทุกภาคส่วนในการบูรณาการทำ�งานร่วมกันในการขับเคลื่อนทุนชุมชน แสวงหางบประมาณ สนับสนุนการขับเคลือ่ นทุนชุมชน และประชาสัมพันธ์และเผยแพร่การพัฒนาทุนชุมชนอย่างต่อเนือ่ ง
52
แนวทางการพัฒนาทุนชุมชน
สำ�นักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน
ดังตารางที่ 3 : การพัฒนาทุนชุมชน ผู้รับผิดชอบ
ขั้นตอน การดำ�เนิน งาน
กรมการพัฒนา ชุมชน
w การพัฒนา ทุนชุมชน ตามแนวทาง ที่ 1 การจัดทำ� แผนชุมชน
³ สนับสนุน การจัดเวทีประชาคม/ การประชุม เชิงปฏิบัติการ/ อื่น ๆ เพื่อจัดทำ�แผนชุมชน ³ ร่วมเป็นวิทยากร กระบวนการการ จัดทำ�แผนชุมชน ³ ร่วมกับหมู่บ้าน/ ชุมชน ประสาน หน่วยงาน/ ภาคี เพื่อขอรับการ สนับสนุนช่วยเหลือ ดำ�เนินโครงการ/ กิจกรรมที่เกินขีด ความสามารถของ หมู่บ้าน/ ชุมชน
หมู่บ้าน/ ชุมชน ( เจ้าภาพหลัก )
หน่วยงาน/ ภาคี
³ จัดเวทีประชาคมหรือการ ประชุมเชิงปฏิบัติการ หรือวิธี อื่น ๆ เพื่อจัดทำ�แผนชุมชน ³ แจ้งกลุ่มบุคคลเป้าหมายเข้า ร่วมเวทีประชาคมหรือการประชุม เชิงปฏิบัติการ หรืออื่น ๆ ³ จัดเก็บแผนชุมชน ³ คัดแยกกิจกรรม/ โครงการ ด้านการพัฒนาทุนชุมชน แยกเป็น + ประเภทที่ 1 : ทำ�เอง + ประเภทที่ 2 : ทำ�ร่วม + ประเภทที่ 3 : หน่วยงาน/ ภาคี ทำ�ให้
³ พิจารณา ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือจัด ทำ�โครงการ/ กิจกรรม ที่เกิน ขีดความสามารถ ของหมู่บ้าน/ ชุมชน (ตามแผนชุมชน ประเภทที่ 2 และ 3) ในส่วน ที่สอดคล้อง กับภารกิจหรือ บทบาทหน้าที่
³ จัดทำ�โครงการ/ กิจกรรม การพัฒนาทุนชุมชนในส่วนที่ สามารถดำ�เนินการได้เอง ³ ประสานงานกับหน่วยงาน/ ภาคี เพื่อขอรับการสนับสนุน ความร่วมมือดำ�เนินโครงการ/ กิจกรรม ที่เกินขีดความสามารถ ของหมู่บ้าน/ ชุมชน (ตามแผน ชุมชนประเภทที่ 2 และประเภทที่ 3)
สำ�นักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน
แนวทางการพัฒนาทุนชุมชน
53
ขั้นตอนที่ 4 การประเมินผลการพัฒนาทุนชุมชน » กรมการพัฒนาชุมชน เป็นเจ้าภาพหลัก สนับสนุนแบบการจัดระดับ
หรือดัชนีการพัฒนาทุนชุมชน และแบบมาตรฐานทุนชุมชนให้กับหมู่บ้าน/ ชุมชนใช้เป็นเครื่องมือ โดยได้ใช้ทุนที่มีอยู่แล้วจากแบบสำ�รวจข้อมูลพื้นฐานระดับหมู่บ้าน (กชช.2 ค) และข้อมูลความ จำ�เป็นขั้นพื้นฐาน (จปฐ.) ซึ่งมีความครอบคลุมทุนทั้ง 5 ประเภท จะทำ�ให้หมู่บ้าน/ ชุมชนสามารถ จัดระดับการพัฒนาทุนชุมชนและนำ�ไปประสานหน่วยงานภาคีทเี่ กีย่ วข้องได้ดำ�เนินการพัฒนาและ แก้ไขปัญหาให้สอดคล้องกับภารกิจ บทบาทของหน่วยงานภาคีนั้น ๆ และเป็นเจ้าภาพหลักการจัด เวทีประชาคมในหมูบ่ า้ น/ ชุมชนเพือ่ ประเมินผลการพัฒนาทุนชุมชนทัง้ ทุนทีเ่ ป็นตัวเงินและไม่ใช่เงิน รวมถึงการแต่งตั้งคณะทำ�งานติดตามประเมินผลทุนชุมชน หรือถอดบทเรียนเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ แก่หมู่บ้าน/ ชุมชนอื่นต่อไป » หมู่บ้าน/ ชุมชน สนับสนุนการจัดเวทีประชาคมเพื่อประเมินผลการพัฒนาทุน ชุมชนโดยประสานผู้นำ�ชุมชน ปราชญ์ชาวบ้าน ภูมิปัญญาท้องถิ่น เข้าร่วมเวที ว่ามีการนำ�ทุน ชุมชนทัง้ 5 ประเภทไปสูก่ ารปฏิบตั ไิ ด้จริงหรือไม่ มปี ญ ั หาอุปสรรคหรือไม่ ตอ้ งการความช่วยเหลือ หรือสนับสนุนงบประมาณเรื่องอะไรบ้าง » หน่วยงาน/ ภาคี เข้าร่วมเวทีฯ และสนับสนุนวิชาการ งบประมาณ ในส่วน ที่เป็นภารกิจ บทบาทของหน่วยงาน/ ภาคีการประเมินผลการพัฒนาทุนชุมชน เป็นการประเมินว่า ทุนชุมชนที่มีอยู่ในหมู่บ้าน/ ชุมชนมีและสามารถนำ�ไปใช้ประโยชน์กับหมู่บ้าน/ ชุมชนหรือไม่ มีการจัดทำ�โครงการ/ กิจกรรมเพื่อพัฒนาหรือแก้ไขปัญหาทุนชุมชนหรือไม่ ทุนชุมชนแต่ละ ประเภทได้บรรจุไว้ในแผนชุมชนหรือไม่ สามารถนำ�ไปสู่การปฏิบัติได้จริงหรือไม่/ อย่างไร/ มีปัญหา อุปสรรคหรือไม่/ ต้องการความช่วยเหลือเรื่องอะไรบ้าง/ หรือมีแนวทางปรับปรุง/ แก้ไขพัฒนาทุน ชุมชนอย่างไร ดังนั้น จึงต้องมีการประเมินผลความก้าวหน้าหรือความสำ�เร็จของทุนชุมชน ในแต่ละประเภท โดยใช้ข้อมูลจากการสำ�รวจ ข้อมูล กชช.2 ค และ จปฐ./ แบบการจัดระดับหรือ ดัชนีชี้วัดการพัฒนาทุนชุมชน/ มาตรฐานทุนชุมชน เป็นเครื่องมือในการดำ�เนินงาน โดยขับเคลื่อน ผ่านกลไกของคณะกรรมการหมู่บ้าน ผู้นำ�ชุมชน กลุ่ม องค์กร เครือข่ายในหมู่บ้าน/ ชุมชน
54
แนวทางการพัฒนาทุนชุมชน
สำ�นักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน
ดังตารางที่ 4 : การประเมินผลการพัฒนาทุนชุมชน ขั้นตอน การดำ�เนิน งาน x การ ประเมินผล การพัฒนา ทุนชุมชน
ผู้รับผิดชอบ กรมการพัฒนาชุมชน (เจ้าภาพหลัก)
หมู่บ้าน/ ชุมชน
³ สนับสนุนแบบการจัด ³ สนับสนุนการจัดเวที ระดับ หรือดัชนีวัดการพัฒนา ประชาคม เพื่อประเมิน ทุนชุมชน ผลการพัฒนาทุนชุมชน โดยแจ้งกลุ่มเป้าหมาย ³ สนับสนุนแบบมาตรฐาน ในหมู่บ้าน/ ชุมชน ทุนชุมชน เข้าร่วมกิจกรรม ³ จัดเวทีประชาคมเพื่อ ประเมินผลการพัฒนาทุน ชุมชน
หน่วยงาน/ ภาคี ³ ร่วมเวที ประชาคม เพื่อประเมินผล การพัฒนา ทุนชุมชน
Ø การจัดระดับการพัฒนา Ø จัดมาตรฐานทุนชุมชน
สำ�นักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน
แนวทางการพัฒนาทุนชุมชน
55
ภารกิจในส่วนความรับผิดชอบของกรมการพัฒนาชุมชน
กรมการพัฒนาชุมชน มีภารกิจหลักสำ�คัญในการส่งเสริมการพัฒนาทุนชุมชน เพื่อสร้าง ความเข้มแข็งให้กับชุมชน สอดคล้องกับยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน “ด้านการพัฒนาทุนชุมชน” ในการเสริมสร้างความเข้มแข็งในการบริหารจัดการทุนชุมชนให้มีประสิทธิภาพ โดยใช้ศักยภาพ ของทุนที่มีอยู่ในชุมชนในการพัฒนาทุนชุมชน ดังนั้น เจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชนทุกระดับจึงมี บทบาทสำ�คัญในการส่งเสริมการบริหารจัดการทุนชุมชน ให้ชุมชนตระหนักและรักษาสมดุล ของทุนในชุมชนและชุมชนร่วมรับผิดชอบ โดยมีภารกิจการพัฒนาทุนชุมชนในส่วนความรับผิด ชอบของกรมการพัฒนาชุมชน ดังนี้ สำ�นักพัฒนาทุน และองค์กรการเงินชุมชน 1. ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย ด้านการ พัฒนาทุนชุมชนและองค์กรการ เงินชุมชน เพื่อกำ�หนดนโยบาย ยุทธศาสตร์ แผนแม่บท รูปแบบ และแนวทาง ในการเสริมสร้าง และพัฒนาระบบทุนชุมชนและการ บริหารจัดการทุนชุมชนดำ�เนินการ เกี่ยวกับการแสวงหาแหล่งทุนและ ความร่วมมือในการพัฒนารูปแบบ และวิธีการ ด้านการพัฒนากิจกรรม ของชุมชน 2.ส่งเสริมสนับสนุน และพัฒนา ศักยภาพ ในการพัฒนาธุรกิจการ เงินและการลงทุนของกองทุนชุมชน และองค์กรการเงินชุมชน 3.สนับสนุนสื่อ เครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ เอกสาร แก่หน่วยงาน ระดับภูมิภาค เพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพ การทำ�งาน 4.แสวงหาความร่วมมือและบูรณา การการทำ�งานพัฒนาทุนชุมชนร่วม กับภาคีเครือข่าย การพัฒนา
56
สำ�นักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด
สำ�นักงานพัฒนาชุมชนอำ�เภอ
1. จัดทำ�ยุทธศาสตร์การพัฒนาทุน ชุมชนระดับจังหวัด ร่วมกับภาคีการ พัฒนาและผู้นำ�ชุมชน 2. เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจเรื่องทุน ชุมชนแก่เจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชนและผู้ เกี่ยวข้องทุกภาคส่วน 3. แต่งตั้งคณะทำ�งานขับเคลื่อนการ พัฒนาทุนชุมชนระดับจังหวัด 4. กำ�หนดพื้นที่เป้าหมายและสำ�รวจ ข้อมูลทุนชุมชนระดับจังหวัด/ อำ�เภอ 5. ผลิตเครื่องมือ สื่อ เอกสาร เพื่อ สนับสนุน ส่งเสริมการทำ�งานของหน่วย งานระดับอำ�เภอ/ ตำ�บล 6.ติดตาม ประเมินผล และรายงานผล การดำ�เนินงานพัฒนาทุนชุมชนระดับ จังหวัด 7.สรุปบทเรียนและประชาสัมพันธ์ การดำ�เนินงานพัฒนาทุนชุมชน ระดับจังหวัด
1. เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจแก่ภาคี การพัฒนาและผู้เกี่ยวข้องทุกภาคส่วน 2. แต่งตั้งคณะทำ�งานขับเคลื่อนการพัฒนา ทุนชุมชนระดับอำ�เภอ/ ตำ�บล/ หมู่บ้าน 3. สนับสนุนกระบวนการจัดเก็บข้อมูล ทุนชุมชน(แบบสอบถามข้อมูล กชช.2 ค/ จปฐ./ การจัดเก็บข้อมูลฯ/ การวิเคราะห์ และประมวลผลข้อมูลฯ และการจัดเวที ประชาคมรับรองความถูกต้องของข้อมูล) แก่ผู้นำ�ชุมชน 4. สนับสนุนการนำ�ข้อมูลทุนชุมชนมาใช้ ประโยชน์ เช่น การวิเคราะห์ศักยภาพทุน ชุมชน การบ่งชี้สถานะทุนชุมชน การจัดทำ�แผนชุมชน เป็นต้น 5.ประสานและบูรณาการการดำ�เนินงาน พัฒนาทุนชุมชนในพื้นที่ ร่วมกับภาคีการ พัฒนา 6. ติดตาม ประเมินผลและรายงานผลการ ดำ�เนินงานพัฒนาทุนชุมชน ระดับอำ�เภอ ตำ�บล 7. สรุปบทเรียน เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ผล การดำ�เนินงานพัฒนาทุนชุมชนของอำ�เภอ
แนวทางการพัฒนาทุนชุมชน
สำ�นักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน
ภาคผนวก
สำ�นักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน
แนวทางการพัฒนาทุนชุมชน
57
จากทุนการเงิน...สู่ทุนสังคม
กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตบ้านดอนคา
หมู่ที่ 2 ตำ�บลทอนหงส์ อำ�เภอพรหมคีรี จังหวัดนครศรีธรรมราช การก่อตั้งกลุ่ม กลุม่ ออมทรัพย์เพือ่ การผลิตบ้านดอนคา ริเริม่ ขึน้ จากกลุม่ ผูห้ ญิงในหมูบ่ า้ นทีไ่ ปสมัคร เป็ น สมาชิ ก กลุ่ ม ออมทรั พ ย์ เ พื่ อ การผลิ ต บ้ า นอ้ า ยเขี ย วซึ่ ง เป็ น หมู่ บ้ า นใกล้ เ คี ย ง ท่ามกลางการวิพากษ์วิจารณ์ของพ่อบ้าน ตามสภากาแฟทีเ่ กรงว่าแม่บา้ นจะถูกหลอกลวง หรือถูกโกงเงินหรือไม่ แต่เมือ่ มีคนในหมูบ่ า้ น สนใจไปสมัครเป็นสมาชิกมากขึน้ กลุม่ ผูห้ ญิง เหล่านั้นจึงมาหารือกับเหล่าพ่อบ้านที่เป็น แกนนำ �ในหมู่บ้านว่าทำ �ไมบ้านดอนคาจึง ไม่พากันตั้งกลุ่มขึ้นมาเอง จึงเป็นที่มาของการเชิญพัฒนากรตำ�บลให้เข้ามาประชุมชี้แจงแนวทาง การดำ�เนินงานกลุ่มในหมู่บ้าน เมื่อได้รับรู้หลักการดำ�เนินงานร่วมกันแล้วแกนนำ�หมู่บ้านกลุ่มหนึ่ง จึงตัดสินใจร่วมกันก่อตั้งกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตขึ้นเมื่อวันที่ 4 เมษายน 2526 มีสมาชิก แรกตั้ง 37 คน เงินสัจจะสะสม 1,850 บาท โดยใช้ศาลาริมทางเป็นที่ทำ�การของกลุ่มชั่วคราว และ ได้เชิญให้ นายณรงค์ ปรีชา ประธานกลุม่ ออมทรัพย์เพือ่ การผลิตบ้านอ้ายเขียว ช่วยเป็นประธาน บริหารกลุ่มให้ชั่วคราวก่อน พร้อมใช้แนวทางการดำ�เนินงานของกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต บ้านอ้ายเขียวเป็นแนวทางในการดำ�เนินงานของกลุ่มในช่วงแรก
58
แนวทางการพัฒนาทุนชุมชน
สำ�นักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน
ต่อมา ปี พ.ศ. 2528 นายณรงค์ ปรีชา เห็นว่าการดำ�เนินงานของกลุม่ ออมทรัพย์บา้ นดอนคา เริม่ เข้าทีแ่ ล้ว จงึ ขอลาออกจากการเป็นประธานกลุม่ ชัว่ คราว และสมาชิกเลือกนายซ้วน ศรีอนิ ทร์ แกน นำ�ในการตัง้ กลุม่ ครัง้ แรกให้เป็นประธานกลุม่ คน ต่อมา การดำ�เนินงานของกลุม่ ออมทรัพย์เพือ่ การ ผลิตในช่วงแรกตั้งนั้น เป็นช่วงที่กลุ่มต้องการ ระดมสมาชิกและระดมเงินฝากให้เพียงพอต่อ ความต้องการของสมาชิกซึง่ มีเป็นจำ�นวนมาก จึง ได้เปิดรับสมาชิกใหม่ทกุ เดือน โดยเฉพาะอย่างยิง่ สมาชิกในชุมชนทีม่ ฐี านะการเงินดี เพือ่ นำ�เงินทุน นั้นมาให้สมาชิกที่มีฐานะยากจนกว่าได้ก้ยู ืมไป ประกอบอาชีพ และได้เริ่มให้บริการเงินกู้แก่ สมาชิก
เพิ่มขึ้นอย่างมาก พร้อมกับการวิพากษ์วิจารณ์ ผลการดำ�เนินงานของกลุ่มในสภากาแฟ และใน ช่ ว งนี้ ก็ ไ ด้ มี นั ก ศึ ก ษาจากสถาบั น ราชภั ฎ นครศรี ธ รรมราชมาฝึ ก งานในหมู่ บ้ า น คณะ กรรมการกลุม่ จึงขอให้อาจารย์และนักศึกษาช่วย จัดเก็บข้อมูลความคิดเห็นและความต้องการของ ชาวบ้านทีม่ ตี อ่ กลุม่ ออมทรัพย์เพือ่ การผลิต จึง ทำ�ให้ทราบความต้องการของชาวบ้านว่า ทีส่ มัคร เข้ามาเป็นสมาชิกเพราะมีปญ ั หาขาดแคลนเงินทุน ในการประกอบอาชีพ แต่ขณะเดียวกันก็รสู้ กึ ไม่ไว้ วางใจการทำ�งานของคณะกรรมการในเรือ่ งความ เป็นธรรมและความโปร่งใสในการปล่อยเงินกู้ เพราะมี บ างส่ ว นมองว่ า คณะกรรมการเอื้ อ ประโยชน์ให้พวกพ้องและมีการจัดสรรผลกำ�ไรของ กลุม่ อย่างไม่เป็นธรรม เพราะคิดอัตราดอกเบีย้ เงิน กูส้ งู ถึงร้อยละ 24 บาทต่อปี แต่กลับปันผลและ เฉลีย่ คืนให้แก่สมาชิกในอัตราร้อยละ 10 - 12 บาท ต่อปี
ปี พ.ศ. 2531 คณะกรรมการเห็นว่า เอกสารทางการเงินต่างๆ ของกลุม่ มีมากขึน้ และ การดำ�เนินงานของกลุม่ เริม่ มีผลกำ�ไร จงึ ไปขอเช่า บ้านของนายแปลก แคล้วภัย ใช้เป็นทีท่ �ำ การและ เก็บเอกสารทางการเงินของกลุม่ แทนศาลาริมทาง เมือ่ คณะกรรมการรับทราบปัญหาความ หลังเดิม และในช่วงนีเ้ องทีก่ ลุม่ เริม่ พบปัญหาจาก ต้องการของกลุม่ แล้ว จึงหันมาปรึกษาหารือกัน การดำ�เนินงานมากขึน้ บางปีจ�ำ นวนสมาชิกและ เพื่อหาทางแก้ปัญหา ในเบื้องต้นได้จัดทำ�ป้าย จำ�นวนเงินสัจจะของกลุม่ ลดลงอย่างมาก บางปีก็ ประชาสัมพันธ์ข้อมูลผลการดำ�เนินงานของกลุ่ม สำ�นักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน
แนวทางการพัฒนาทุนชุมชน
59
ทุกเดือน ถึงยอดเงินฝาก ยอดเงินกู ้ ดอกเบีย้ ทีไ่ ด้รบั ค่าใช้จา่ ยของกลุม่ และผลการอนุมตั เิ งินกูใ้ น แต่ละเดือนติดไว้ ทีห่ น้าอาคารทีท่ �ำ การกลุม่ โดยเฉพาะอย่างยิง่ การพิจารณาอนุมตั ใิ ห้กเู้ งินนัน้ ได้เปิด โอกาสให้สมาชิกมีสว่ นร่วมพิจารณา โดยขึน้ บัญชีรายชือ่ สมาชิกผูข้ อกูไ้ ว้ทป่ี า้ ยประชาสัมพันธ์ของกลุม่ แล้วให้สมาชิกสามารถแสดงความเห็นโดยการขีดในตารางทีต่ รงกับรายชือ่ ผูข้ อกูไ้ ด้วา่ ใครควรได้รบั เงิน กูก้ อ่ นหรือหลัง และได้เน้นการสร้างความเข้าใจกับสมาชิกโดยการประชุมพูดคุยกันบ่อยขึน้ จึงทำ�ให้ สมาชิกเกิดความเชือ่ มัน่ มากขึน้ และกลุม่ มีผลการดำ�เนินงานก้าวหน้ามากขึน้ จนมีผลกำ�ไรทีส่ ามารถ ซือ้ อาคารพร้อมทีด่ นิ เพือ่ ใช้เป็นอาคารทีท่ �ำ การของกลุม่ อย่างถาวร ในวงเงิน 150,000 บาท หลังจาก นัน้ 2 ปี นายซ้วน ศรีอนิ ทร์ ประธานกลุม่ เริม่ มีปญ ั หาสุขภาพเนือ่ งจากมีอายุมากขึน้ และไม่ขอดำ�รง ตำ�แหน่งประธานต่อ สมาชิกจึงมีมติรว่ มกันเลือก นายวิโรจน์ คงปัญญา คณะกรรมการบริหารคนหนึง่ ของกลุม่ ให้เป็นประธานบริหารกลุม่ ต่อและดำ�รงตำ�แหน่งนีม้ าจนถึงปัจจุบนั ในยุคทีน่ ายวิโรจน์ คงปัญญา เป็นประธานบริหาร กลุม่ นีไ้ ด้มกี ารปรับเปลีย่ นโครงสร้าง คณะกรรมการ กลยุทธ์การทำ�งาน และวิธคี ดิ ใหม่ให้สอดคล้องกับยุคสมัยและความต้องการของสมาชิก มากขึน้ โดยเฉพาะอย่างยิง่ วัฒนธรรมในการแลกเปลีย่ นเรียนรูร้ ว่ มกันของคณะกรรมการและสมาชิก ทีจ่ ะจัดขึน้ เมือ่ พบปัญหาข้อขัดข้องจากการดำ�เนินงาน รวมถึงการขยายกิจกรรมของกลุม่ ให้สอดคล้อง กับความต้องการและวิถชี วี ติ ของคนในชุมชน จึงทำ�ให้กลุม่ มีการเติบโตทัง้ ด้านจำ�นวนสมาชิก จำ�นวน เงินออม และจำ�นวนเครือข่ายสมาชิกจากตำ�บลใกล้เคียง และสมาชิกได้มอบอำ�นาจให้คณะกรรมการ บริหารกลุ่ม ยื่นขอจดทะเบียนตามพระราชบัญญัติส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน พ.ศ. 2548 เมื่อวันที่ 19 ธันวาคม 2548 โดยใช้ชื่อว่า “วิสาหกิจชุมชนกองทุนออมทรัพย์เพื่อการผลิตบ้านดอนคา” และได้ เริ่มเปิดทำ�การทุกวันจันทร์-ศุกร์ ที่สำ�นักงานเลขที่ 195 หมู่ที่ 2 ตำ�บลทอนหงส์ อำ�เภอพรหมคีรี จังหวัดนครศรีธรรมราช เพือ่ เป็นสถาบันการเงินที่ ให้บริการสมาชิกได้สะดวกยิ่งขึ้น โดยในปัจจุบัน ปี พ.ศ. 2553 กลุ่มมีสมาชิกถึง 10,150 คน เงินทุนหมุนเวียนให้บริการแก่สมาชิกจำ�นวนกว่า 110 ล้านบาท ปัจจุบันการรับสมัครสมาชิกใหม่ นั้น จะพิจารณาตามข้อบังคับคืออายุไม่เกิน 60 ปี ในวันสมัคร และเปิดรับสมัครเพียงปีละ 1 ครัง้ และ สมาชิกสามารถนำ�เงินมาฝากกับวิสาหกิจชุมชนได้ ทุกวันจันทร์-ศุกร์
60
แนวทางการพัฒนาทุนชุมชน
สำ�นักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน
กลไกการขับเคลื่อน กลไกการขับเคลือ่ นการดำ�เนินงานทีส่ �ำ คัญของกลุม่ คือ คณะกรรมการของกลุม่ ซึง่ ตาม โครงสร้างเดิมมีคณะกรรมการบริหารอยู่ 4 ฝ่าย ทำ�หน้าทีข่ บั เคลือ่ นกิจกรรมของกลุม่ ต่อมาเมือ่ กิจการ ของกลุม่ ได้ขยายตัวขึน้ ทัง้ ด้านจำ�นวนสมาชิก และความหลากหลายของกิจกรรม จงึ ได้พฒ ั นาโครงสร้าง คณะกรรมการขึน้ มาใหม่ให้มคี วามชัดเจนในบทบาทหน้าที่ และสอดคล้องกับภารกิจของกลุม่ ให้มากขึน้ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในปัจจุบนั ได้มเี ครือข่ายกลุม่ ออมทรัพย์เพือ่ การผลิตอืน่ ๆ ในพืน้ ทีใ่ กล้เคียง ได้เห็นความ สำ�คัญและเข้ามาร่วมเป็นสมาชิกเครือข่ายกับกลุม่ ส่วนเทคนิคการออกกฎระเบียบของกลุม่ ให้มคี วาม สอดคล้องเหมาะสมกับสถานการณ์นน้ั กลุม่ มีเทคนิคในการออกระเบียบคือ เลือกตัวแทนจากทุกชุมชน มาร่วมกันยกร่างระเบียบ พจิ ารณาดูขอ้ ดีขอ้ เสียของระเบียบแต่ละข้อในแต่ละมุม แล้วค่อยนำ�ไปขอความ เห็นชอบกับสมาชิกในทีป่ ระชุมใหญ่ทลี ะข้อพร้อมบอกจุดแข็งและจุดอ่อนแต่ละข้อให้สมาชิกเป็นผูเ้ ลือก ปัจจุบนั คณะกรรมการบริหารของกลุม่ จัดเป็น 4 คณะใหญ่ๆ ดังแผนผังโครงสร้างกรรมการบริหารกลุม่ ดังนี้ โครงสร�งคณะกรรมก�รบริห�รกลุม
1. คณะกรรมก�รบริห�ร จำานวน 9 คน วาระ 2 ป 1. นายวิโรจน คงปญญา ประธานกรรมการ โทร. 089-8723368, 075-394337 2. นายชม โฆษะ รองประธานกรรมการ 3. นายบุญมาก ผลิรัตน เหรัญญิก 4. นายสมแสง บุญคลอง กรรมการ 5. นายนุสนธิ สมศักดิ์ กรรมการ 6. นายประดับ ทวีเมือง กรรมการ 7. นายสุรักษ มังสาทอง กรรมการ 8. นายเจริญพร ทวีแกว ประชาสัมพันธ 9. นายอรุณ เกิดสมบัติ เลขานุการ
2. คณะอนุกรรมก�ร
จำานวน 28 คน วาระ 2 ป ปฏิบัติหนาที่ รับเงินสัจจะสะสม ทุกวันที่ 3,4 ของเดือน
3. คณะกรรมก�รส�ข�
จำานวน 5 สาขา 1. สาขาตำาบลไทยบุรี 4 คน 2. สาขาตำาบลโพธิ์ทอง 3 คน 3. สาขาตำาบลนบพิตำา 3 คน 4. สาขาตำาบลกะหรอ 4 คน 5. สาขาตำาบลทาศาลา 3 คน
4. เจ�หน�ที่ประจำ�สำ�นักง�น จำานวน 5 คน ปฏิบัติหนาที่ทุกวันทำาการ 1. น.ส.โสพิศ เหล็งหนูดำา หัวหนาสำานักงาน/บัญชี 2. น.ส.รัติกาล กลิ่นมาลี รับชำาระหนี้ 3. น.ส.กนกพร โษฆะ รับชำาระหนี้ 4. นางพรพรรณ ชูสวน ทะเบียน/รับเงินผูชรา 5. น.ส.จุฑารัตน สรอยสุวรรณ ธุรการ/เอกสาร
สำ�นักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน
แนวทางการพัฒนาทุนชุมชน
61
คุณสมบัตขิ องคณะกรรมการ
การคัดเลือกคณะกรรมการเข้ามาทำ�หน้าทีด่ า้ นต่างๆ ภายในกลุม่ นัน้ เบือ้ งต้นจะพิจารณา จากการเป็นผูม้ คี ณ ุ ธรรม 5 ประการ เป็นทีย่ อมรับของคนในวงกว้างของคนในชุมชน และมีขอ้ ต้อง ห้ามทีส่ �ำ คัญคือ ต้องไม่มปี ระวัตติ ดิ การพนัน ชอบดืม่ เหล้า มีหนีส้ นิ รุงรัง ชอบมีคดีความฟ้องร้องกับ ผูค้ นในชุมชน และต้องเป็นผูม้ จี ติ สาธารณะ รักในการทำ�ประโยชน์เพือ่ ส่วนรวม เพราะการทำ�หน้าทีน่ ้ี หากเกิดความผิดพลาดด้านการเงินขึน้ ภายในกลุม่ คณะกรรมการจะต้องร่วมกันรับผิดชอบ กระบวนการสรรหาบุคคลเข้ามาเป็นคณะกรรมการนัน้ จะมีการแนบคุณสมบัตขิ องบุคคลที่ ควรเข้ามาเป็นกรรมการ และคุณสมบัตติ อ้ งห้ามให้สมาชิกทราบไปกับหนังสือเชิญประชุมด้วย ดังนัน้ เวลาให้เสนอชือ่ ผูม้ คี วามเหมาะสมเข้ามาเป็นกรรมการ ผเู้ สนอจึงต้องพิจารณาคุณสมบัตขิ องผูถ้ กู เสนอ ก่อนเสมอ บางครัง้ อาจพิจารณาถึงประวัตขิ องบรรพบุรษุ ของผูถ้ กู เสนอด้วย สว่ นตำ�แหน่งประธานกลุม่ นัน้ หากปีใดครบวาระการดำ�รงตำ�แหน่ง แล้วมีผเู้ สนอรายชือ่ สมาชิกรายอืน่ เข้ามาเป็นประธานอีก โดย ธรรมเนียมการปฏิบตั ขิ องกลุม่ แล้ว บคุ คลทีด่ �ำ รงตำ�แหน่งประธานกลุม่ เดิมจะต้องขอถอนตัวไม่ลงแข่งขัน แต่ถา้ สมาชิกไม่เสนอรายชือ่ บุคคลอืน่ เข้ามาจะต้องดำ�รงตำ�แหน่งเป็นประธานกลุม่ ต่อไป จงึ ทำ�ให้คณะ กรรมการทุกคน ทไ่ี ด้รบั คัดเลือกเข้ามาเป็นคณะกรรมการ มคี วามภาคภูมใิ จในตนเองทีไ่ ด้รบั การยอมรับ จากสมาชิกและร่วมกันทำ�งานอย่างขันแข็งโดยยึดประโยชน์ของสมาชิกเป็นหลัก นอกจากนีแ้ ล้วการได้ รับการสนับสนุนจากคนในครอบครัวของกรรมการ ก็เป็นอีกปัจจัยหนึง่ ทีท่ ำ�ให้คณะกรรมการเหล่านี้ สามารถออกมาร่วมกันทำ�งานเพือ่ ชุมชนได้อย่างมีพลัง ส่วนการสอนแนะงานให้แก่คณะกรรมการทีไ่ ด้รบั เลือกใหม่ในการทำ�งานนัน้ นอกจากประธาน กลุม่ จะเป็นผูส้ ร้างความรูค้ วามเข้าใจถึงหลักการดำ�เนินงานของกลุม่ ในภาพกว้างให้ได้รบั ทราบแล้ว คณะกรรมการรายอืน่ ก็มสี ว่ นร่วมในการให้ค�ำ แนะนำ�ถึงวิธปี ฏิบตั ใิ นแต่ละบทบาทหน้าทีด่ ว้ ยเช่นกัน โดย เฉพาะอย่ายิง่ ในเวทีประชุมสรุปบทเรียนจากการทำ�งานประจำ�เดือน ช่วยทำ�ให้คณะกรรมการได้เรียน รูซ้ ง่ึ กันและกัน และเรียนรูง้ านได้มากทีส่ ดุ
62
แนวทางการพัฒนาทุนชุมชน
สำ�นักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน
บทบาทหน้าทีค่ ณะกรรมการ
1. คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการบริหารของกลุม่ จำ�นวน 9 คน จะทำ�หน้าทีบ่ ริหารงานในสำ�นักงานทุกวัน จันทร์-วันศุกร์ โดยจะผลัดเปลีย่ นหมุนเวียนกันมาทำ�งานวันละ 1-2 คน เพือ่ ทำ�หน้าทีร่ บั เรือ่ งขอกูเ้ งิน ตรวจเอกสารประกอบคำ�ขอกู ้ ตรวจหลักทรัพย์ค�ำ้ ประกัน และตรวจสอบประวัตกิ ารกูเ้ งินทีผ่ า่ นมา เพือ่ นำ�เข้าทีป่ ระชุมพิจารณาอนุมตั ขิ องคณะกรรมการบริหารชุดใหญ่ในทุกวันพฤหัสบดี ส่วนการ อนุมตั จิ ะถือเสียงข้างมากคือ 5 เสียงขึน้ ไปเป็นหลัก นอกจากนี้ คณะกรรมการที่มาเข้าเวรประจำ�วันยังต้อง นำ�เงินไปฝากหรือถอนที่ธนาคาร การโอนเงินจ่ายค่าสินค้าให้แก่ร้านค้าที่สมาชิกกู้ไปซื้อสินค้า ตรวจสอบรายรับ-รายจ่ายในแต่ละ วันทำ�การ โดยเน้นตรวจแบบสรุปรายรับ-รายจ่าย ทง้ั ในส่วนของเงินต้นและดอกเบีย้ ให้ตรงกันในแต่ละ จุดก่อนปิดบัญชีแต่ละวัน คณะกรรมการบริหารคณะนีไ้ ด้รบั ค่าตอบแทนจากการมาเข้าเวรในวันละ 200 บาท และค่าตอบแทนรายปีอกี 3,600 บาท/ปี 2. คณะอนุกรรมการ คณะอนุกรรมการจำ�นวน 28 คน จะทำ�หน้าที่ในทุกวันที่ 3-4 ของเดือน เพื่อรับเงิน ฝากสัจจะประจำ�เดือน มีหน้าที่รับเงินสัจจะประจำ�เดือน รับเงินกู้ที่สมาชิกส่งคืน เมื่อเก็บเงินจาก สมาชิกเสร็จแล้วจะนำ�ส่งต่อให้เจ้าหน้าที่การเงินที่ปฏิบัติหน้าที่ประจำ�ที่สำ�นักงานเป็นผู้เก็บรักษา โดยคณะอนุกรรมการแต่ละคนที่รับเงินฝากจะต้องจัดทำ�บัญชีคุมเงินสัจจะสะสมรายเดือนของ สมาชิกที่ตนเองรับเงินฝากตามหมายเลขที่รับผิดชอบเฉพาะของตนเอง จึงทำ�ให้ง่ายในการตรวจ สอบยอดเงินหากพบว่ามีความผิดพลาดในจุดใด กรรมการรับฝากต้องเก็บใบเสร็จรับเงินฝากส่งให้ สมุหบ์ ญ ั ชีของกลุม่ ตรวจสอบก่อนบันทึกลงโปรแกรมคอมพิวเตอร์ตรวจสอบทุกครัง้ คณะอนุกรรมการ จะ ได้รบั เงินค่าตอบแทนปีละ 7,200 บาท ส่วนคุณสมบัตสิ �ำ คัญของคณะอนุกรรมการคือ ต้องเป็นบุคคล ทีม่ คี วามถนัดในการบวกเลข และสามารถอ่านเขียนหนังสือได้ด ี เพราะอาจต้องให้ความช่วยเหลือสมาชิก ในการเขียนใบฝากเงินประจำ�เดือน เพราะกติกาของกลุม่ กำ�หนดให้สมาชิกทีน่ �ำ เงินมาฝากต้องเขียน ใบนำ�ฝากด้วยตนเอง และผู้รับเงินต้องมอบใบเสร็จกลับคืนให้กับผู้ฝากเงินด้วยทุกครั้ง 3. คณะกรรมการสาขา คณะกรรมการสาขาที่มีทั้ง 5 สาขา จะทำ�หน้าที่รวบรวม เงินฝากจากสมาชิกในพื้นที่ ของตนแล้วนำ�มาฝากที่วิสาหกิจชุมชนกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตบ้านดอนคา ในทุกวันที่ 3- 4 ของเดือน เช่นเดียวกับสมาชิกอื่นๆ ในพื้นที่ตำ�บลทอนหงส์ ที่ต้องขยายสาขาเช่นนี้ เนื่องจากผู้นำ� สำ�นักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน
แนวทางการพัฒนาทุนชุมชน
63
ในตำ�บลใกล้เคียงเห็นว่ากิจกรรมนี้เป็นประโยชน์ต่อประชาชนในชุมชน เมื่อคณะกรรมการบริหาร กลุ่มออมทรัพย์บ้านดอนคาได้เข้าไปชี้แจงสร้างความเข้าในหลักการดำ�เนินงานที่มุ่งเน้นช่วยเหลือ คนด้อยโอกาส จึงได้รวบรวมคนในพื้นที่ตั้งเป็นกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตเครือข่ายขึ้นมา โดยมี นายวิโรจน์ คงปัญญา และคณะกรรมการบริหารกลุ่มเป็นผู้วางระบบการทำ�งานและสอนการ ทำ�งานให้แก่คณะกรรมการสาขาทั้ง 5 สาขาตำ�บล 4. เจ้าหน้าที่ประจำ�สำ�นักงาน เจ้าหน้าที่ประจำ�สำ�นักงาน ไม่ใช่คณะกรรมการบริหารกลุ่ม แต่เป็นพนักงานที่คณะ กรรมการจ้างให้มาทำ�หน้าที่ประจำ�ในสำ�นักงานของกลุ่มทุกวันจันทร์ – วันศุกร์ มีจำ�นวน 5 คน ได้แก่ ฝ่ายบัญชีและการเงิน จะทำ�หน้าที่เก็บข้อมูลของสมาชิก เก็บรวบรวมเงินประจำ�วัน และคุม โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ฝา่ ยธุรการและทัว่ ไป จะช่วยตรวจบัญชีเงินออมและตรวจใบนำ�ฝากเงิน ส่วน อีกคนรับผิดชอบงานกองทุนสวัสดิการและให้บริการสมาชิก ซึ่งได้รับเงินเดือนประจำ�เดือนๆละ 4,000 – 5,500 บาท ขึ้นอยู่กับหน้าที่ความรับผิดชอบและความยากง่ายของงานที่ทำ�
กิจกรรมของกลุ่ม การดำ�เนินกิจกรรมของกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตบ้านดอนคา เริ่มจากการระดมสมาชิก และระดมเงินฝากเพื่อเป็นแหล่งทุนประกอบอาชีพของสมาชิก หลังจากนั้นได้ขยายกิจกรรมสู่การ ให้สนิ เชือ่ เพือ่ ซือ้ สินค้าตามความต้องการ และก้าวสูก่ ารจัดสวัสดิการทีค่ รอบคลุมวิถชี วี ติ ของคนใน ชุมชน พอจะแยกออกเป็นด้านต่างๆ ได้ดังนี้ ด้านการลงทุน ได้แก่ 1.1 การรับฝากเงิน-ให้ถอนเงิน การรับฝากเงิน ในทุกวันที่ 3-4 ของเดือน สมาชิกแต่ละรายจะต้องเขียนใบนำ� ฝากเงินด้วยตนเองแนบกับสมุดนำ�ฝากส่งให้ คณะกรรมการรับฝาก และกรรมการผู้รับฝาก ต้องออกใบเสร็จรับเงินฝากคืนให้สมาชิก หาก สมาชิกขาดส่งเงินสัจจะสะสมต่อเนือ่ ง 3 เดือน จะไม่มีสิทธิได้รับเงินปันผล ไม่ได้รับสิทธิ์ 64
แนวทางการพัฒนาทุนชุมชน
สำ�นักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน
ด้านสวัสดิการและไม่มสี ทิ ธิขอกูเ้ งิน ต้องเป็นสมาชิกทดลองตามระยะเวลาทีข่ าดส่งก่อนจึงจะได้รบั สิทธิคนื ปัจจุบนั วงเงินฝากของสมาชิกรวมกันอยูท่ เี่ ดือนละ 1.8-1.9 ล้านบาท หากวันเก็บเงินตรงกับ วันเสาร์หรือวันอาทิตย์ จะเก็บเงินฝากทัง้ หมดไว้ทคี่ ณะกรรมการรายใดรายหนึง่ ก่อนซึง่ ถือเป็นความ ลับของแต่ละครัง้ ไม่ได้ผกู ขาดการเก็บรักษาเงินทีต่ ายตัว โดยจะเก็บไว้ทตี่ นู้ ริ ภัยของกลุม่ ส่วนการนำ� เงินไปฝากธนาคารนั้นต้องมีคณะกรรมการนำ�ฝากหรือถอนเงินลงนามร่วมกันอย่างน้อย 2 คน โดย ในวันเก็บเงิน รับฝากสัจจะจากสมาชิกนี้ กลุ่มได้ขอความร่วมมือจากตำ�รวจในพื้นที่ให้เข้ามาช่วย รักษาความปลอดภัย วันละ 2 นาย พร้อมจัดเบี้ยเลี้ยงให้วันละ 200 บาท/นาย การให้ถอนเงินฝาก สมาชิกจะขอถอนเงินฝากได้หากไม่ติดค้ำ�ประกันเงินกู้กับสมาชิกราย อื่นอยู่ แต่ทั้งนี้จะต้องเหลือเงินฝากติดบัญชีเอาไว้ไม่ต่ำ�กว่า 1,200 บาท เพื่อสำ�รองไว้ให้หักเงิน สงเคราะห์ศพของสมาชิกที่เสียชีวิตตอนสิ้นปีเสมอ
1.2 การให้กู้ สมาชิกที่จะมีสิทธิ์ยื่นขอกู้เงินจากกลุ่มจะต้องเป็นสมาชิกอย่างน้อย 1 ปี การกูเ้ งินทุกครัง้ ต้องทำ�บันทึกข้อตกลงเพือ่ เน้นให้สมาชิกมีสจั จะในเรือ่ งวันกูแ้ ละวันส่งคืนเงินกู ้ และ สมาชิกต้องเซ็นขอถอนเงินในบัญชีเงินฝากของตัวเองเอาไว้ล่วงหน้า 1 เดือน ตามวงเงินที่ต้องต้อง ชำ�ระในแต่ละงวดเอาไว้ทุกครั้ง เพราะหากสมาชิกไม่มาชำ�ระเงินกู้ตามกำ�หนด คณะกรรมการจะ ถอนเงินในบัญชีของสมาชิกเพื่อชำ�ระคืนเงินกู้ในงวดนั้นๆ ให้ ทั้งนี้เพื่อช่วยรักษาสิทธิ์การได้รับ สวัสดิการต่างๆ ของสมาชิกเอง และหากสมาชิกรายใดมีความสม่ำ�เสมอในการชำ�ระคืนเงินกู้กลุ่ม อาจพิจารณาลดอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ให้ โดยลักษณะการให้กู้ของกลุ่มจะมีอยู่ 4 ลักษณะด้วยกันคือ 1) ให้กู้โดยใช้สมุดเงินฝากค้ำ�ประกัน 2) ให้กู้แบบใช้หลักทรัพย์ค้ำ�ประกัน 3) ให้กู้โดยการทำ�โครงการขอกู้ เป็นการให้กู้เพื่อประกอบอาชีพ ตามที่สมาชิก ทำ�โครงการเสนอขอกู้มา หากกู้จำ�นวนมากจะต้องใช้หลักทรัพย์ค้ำ�ประกันการพิจารณาปล่อยกู้นั้น สำ�นักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน
แนวทางการพัฒนาทุนชุมชน
65
จะพิจารณาทุกวันพฤหัสบดี หากต้องการกู้วงเงินสูง ผู้ขอกู้ต้องมีหลักทรัพย์ค้ำ�ประกัน คณะ กรรมการจะร่วมกันพิจารณาวงเงินกู้ทุกวันที่ 15 และ 30 ของเดือน เนื่องจากต้องตรวจสอบหลัก ทรัพย์ก่อน
1.3 ลงหุ้นกับองค์กรอื่น ที่ผ่านมากลุ่มได้นำ�เงินทุนไปร่วมลงทุนกับโรงงานทำ� แป้งขนมจีน โดยในระยะแรกกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตได้นำ�เงินทุนของกลุ่มไปร่วมลงทุนเพียง 30,000 บาท เพราะสมาชิกกลุ่มยังไม่มั่นใจผลการดำ�เนินงานของโรงงานแป้งขนมจีน แต่เมื่อพบ ว่าการลงหุ้นร่วมกับโรงงานนี้ได้ให้ผลตอบแทนในรูปของเงินปันผลตามหุ้นในจำ�นวนมาก เพราะ ล่าสุดได้รับเงินปันผลสูงถึง ร้อยละ 118 บาท จึงอนุมัติให้นำ�เงินของกลุ่มไปลงทุนเพิ่มเป็น 500,000 บาท และหากบริษัทผลิตแป้งทำ�ขนมจีนแห่งนี้ต้องการขายกิจการเมื่อใด มติของสมาชิกกลุ่มส่วนใหญ่ ก็พร้อมที่จะซื้อกิจการของบริษัทนี้ทันที นอกจากนี้บริษัทยังได้มาขอกู้เงินทุนจากกลุ่มไปลงทุน ในอัตราดอกเบี้ย ร้อยละ 6 บาทต่อปีด้วย เพราะบริษัทนี้ก็เป็นสมาชิกวิสามัญของกลุ่มออมทรัพย์ เพื่อการผลิต สำ�หรับทีม่ าของบริษทั นี ้ มาจากการรวมตัวกันของ “ เครือข่ายประชาคมยมนา ” ทีป่ ระกอบ ไปด้วยกลุ่มอาชีพต่างๆ ในพื้นที่รวมตัวกันก่อตั้ง เมื่อผู้ประกอบอาชีพในพื้นที่ทุกกลุ่มอาชีพได้มา รวมตัวกันพูดคุยถึงปัญหาความเดือดร้อนจากการประกอบอาชีพของตน ที่ไม่สามารถตั้งราคา ผลผลิตของตัวเองได้ และเมื่อได้วิเคราะห์ถึงความต้องการในด้านการตลาดของภูมิภาคแล้วจึงได้ พบว่า “ขนมจีน” คืออาหารทีเ่ ป็นทีน่ ยิ มบริโภคของประชาชนในวงกว้าง หากตัง้ โรงงานผลิตวัตถุดบิ ป้อนให้แก่ผู้ผลิตขนมจีนในภูมิภาคได้ จะสามารถสร้างรายได้ให้แก่ทุกกลุ่มอาชีพที่มารวมตัวทำ� ธุรกิจนี ้ และได้รว่ มกันตัง้ เป็นบริษทั ผลิตแป้งทำ�ขนมจีนขึน้ ทีต่ อ้ งจดทะเบียนตัง้ เป็นบริษทั นัน้ เพราะ ว่า จะทำ�ให้สามารถกูเ้ งินจากธนาคารในวงเงินทีส่ งู กว่าการรวมตัวกันในรูปของสหกรณ์ และได้กเู้ งิน ธนาคารกรุงเทพฯ มาลงทุนครั้งแรก 2.5 ล้านบาท ส่วนชื่อของเครือข่ายได้ร่วมกันตั้งว่า “ เครือข่าย 66
แนวทางการพัฒนาทุนชุมชน
สำ�นักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน
ประชาคมยมนา������������������������������������������������� ” ����������������������������������������������� โดยมีความหมายจากชื่อของเครือข่ายดังนี้ คำ�ว่า “ประชา” หมายถึง กลุ่มที่ทำ� อาชีพประมง คำ�ว่า “ยมนา” หมายถึง กลุ่มที่ทำ�อาชีพสวนยางพารา คำ�ว่า “มะ” หมายถึงกลุ่มที่มี อาชีพทำ�สวนไม้ผล และคำ�ว่า “นา” หมายถึงกลุ่มที่มีอาชีพทำ�นา 2. กิจกรรมด้านสวัสดิการ ถือเป็นกิจกรรมที่โดดเด่นและดึงดูดให้สมาชิกรักษาสิทธิ์ของการเป็นสมาชิกที่ สำ�คัญที่สุด โดยการคิดรูปแบบสวัสดิการของกลุ่มนั้น คณะกรรมการได้ร่วมกันพัฒนา รูปแบบเพื่อให้ครอบคลุมวิถีชีวิตของสมาชิกตั้งแต่เกิดจนตาย โดยเฉพาะอย่างยิง่ การให้ สวัสดิการแก่กลุม่ คนด้อยโอกาสทีไ่ ม่สามารถเข้าถึงสวัสดิการของรัฐ มีรายละเอียดดังนี้ 2.1 กองทุนสายใยดวงใจแม่ เป็นกองทุนที่ตั้งขึ้นเพื่อเป็นเงินขวัญถุงแก่ลูกหลาน ในชุมชน โดยกลุ่มจะเปิดบัญชีเงินฝากให้กับบุตรของสมาชิกที่มีอายุไม่เกิน 1 ปี ในวันสมัคร คนละ 2,000 บาท เพื่อให้เป็นบัญชีเงินฝากที่เชื่อมสายใยรักของพ่อแม่ที่มีต่อลูก โดยการ ฝากเงินสัจจะ ให้กับเด็กในเดือนต่อๆ ไป ซึ่งผู้ปกครองของเด็กจะถอนเงินออกมาใช้ ก่อนที่เด็กจะมีอายุครบ 20 ปีบริบูรณ์ไม่ได้ หากปิดบัญชีเงินฝากก่อนเด็กอายุครบ 20 ปี จะได้รับเงินคืนเฉพาะในส่วน ของเงินฝากสัจจะ แต่จะไม่ได้รับเงินขวัญถุง จำ�นวน 2,000 บาทนี้
สำ�นักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน
แนวทางการพัฒนาทุนชุมชน
67
2.2 ค่ารักษาพยาบาล สมาชิกทุก คนที่เจ็บป่วยจะได้รับสิทธิ์ในการเบิกค่ารักษา พยาบาลจำ�นวนไม่เกิน 1,500 บาทต่อคนต่อปี โดยขั้นตอนการขอเบิกนั้นสมาชิกต้องนำ�ใบเสร็จ จากสถานพยาบาลฉบับจริงมาขอเบิกเงิน ที่กำ�หนดให้นำ�ใบเสร็จฉบับจริงมาเบิกเงินก็เพราะ ว่า เป็นการป้องกันมิให้สมาชิกที่ได้รับสวัสดิการ จากที่อื่นอยู่แล้วมาขอเบิกซ้ำ�ที่กลุ่มอีก โดยก่อน จ่ายเงินให้กับสมาชิกคณะกรรมการจะตรวจดู ก่อนว่า ในสมุดบัญชีเงินฝากของสมาชิกมีเงินฝาก คงเหลือถึง 1,200 บาทก่อนหรือไม่ หากเหลือ ไม่ถึงคณะกรรมการจะหักเงินเพื่อฝากให้ถึง 1,200 บาทก่อน เพื่อช่วยรักษาสิทธิ์ด้านสวัสดิการให้ แก่สมาชิกอีกทางหนึ่งนั่นเอง และหากสมาชิกรายใดขาดส่งเงินฝากสัจจะติดต่อกันถึง 3เดือนก็จะ ไม่ได้รับสิทธิ์ในการเบิกเงินนี้ 2.3 การตรวจสุขภาพปีละครั้ง กลุ่มได้ทำ�ข้อตกลงกับโรงพยาบาลนครินทร์ ซึ่งเป็น โรงพยาบาลเอกชนในพื้นที่ ให้มาตรวจสุขภาพประจำ�ปีแก่สมาชิกถึงที่ทำ�การของกลุ่มในทุกเดือน มิถุนายนของทุกปี ในอัตราคนละ 500 บาท/คน โดยกลุ่มเป็นผู้ออกค่าใช้จ่ายให้ และโรงพยาบาล จะนำ�ผลการตรวจมาแจ้งให้สมาชิกทราบในเดือนกรกฎาคมของทุกปี ซึ่งประวัติการตรวจของ สมาชิกทางโรงพยาบาลจะมอบให้สมาชิก 1 ชุด เก็บไว้ที่กลุ่ม 1 ชุด และที่โรงพยาบาลอีก 1 ชุด โดยการตรวจสุขภาพนี้จะตรวจสุขภาพเพื่อหาความเสี่ยงจากการเป็นโรคต่างๆ หลายโรค แม้ว่า ค่าตรวจสุขภาพโดยรวมจะถือว่าไม่สูงมาก แต่ผลพลอยได้ของโรงพยาบาลคือ สมาชิกที่มาตรวจ สุขภาพจะกลายเป็นคนไข้ที่ตามไปรักษาประจำ�ที่โรงพยาบาลไปในตัว 2.4 สงเคราะห์คนชรา และผู้พิการ สมาชิกกลุ่มที่มีอายุ 70 ปีขึ้นไป และมียอดเงิน ฝากกับกลุ่มไม่ต่ำ�กว่า 20,000 บาท จะได้รับเงินสงเคราะห์ปีละ 1,000 บาท ส่วนสมาชิกพิการที่ได้ รับการสงเคราะห์นนั้ จะต้องมีสภาพความพิการทีไ่ ม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ เมือ่ คณะกรรมการ บริหารได้รับแจ้งและไปเยี่ยมถึงครัวเรือนแล้ว ก็จะถามญาติหรือสมาชิกรายนั้นว่า มีความต้องการ ที่จะรับการสงเคราะห์จากกลุ่มในรูปแบบใด ระหว่างรับเงินสดทันที จำ�นวน 1,200 บาท กับให้กลุ่ม ฝากเงินสัจจะให้ในอัตราเดือนละ 100 บาท ติดต่อกันเป็นเวลา 5 ปี แต่หากเสียชีวิตก่อนเวลา 5 ปี ก็จะได้รบั เงินตามจำ�นวนทีก่ ลุม่ ฝากให้เท่านัน้ ซงึ่ ผลทีไ่ ด้จากการให้การสงเคราะห์รปู แบบนี้ ยังทำ�ให้ สมาชิกในครอบครัวและญาติมิตรของผู้ที่ได้รับการสงเคราะห์ เกิดความรู้สึกที่ดีกับกลุ่มและหันมา สมัครเป็นสมาชิกร่วมฝากเงินกับกลุ่มเพิ่มขึ้นอีกด้วย และสมาชิกในลักษณะนี้มักเป็นสมาชิกที่มี ความภักดีกับกลุ่ม ไม่ใช่ฝากเพื่อหวังกู้เงินอย่างเดียว 68
แนวทางการพัฒนาทุนชุมชน
สำ�นักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน
2.5 กองทุนฌาปนกิจสงเคราะห์ กลุม่ ได้เริม่ ทำ�กิจกรรมนีเ้ มือ่ ปี พ.ศ. 2540 โดยประยุกต์ มาจากระบบฌาปนกิจสงเคราะห์ของธนาคาร ธกส. ทจี่ ะเก็บเงินสงเคราะห์ศพจากสมาชิกก่อนคอย นำ�มาจ่ายค่าทำ�ศพทีหลัง มาเป็นกลุ่มจ่ายเงินค่าทำ�ศพให้สมาชิกก่อนแล้วค่อยเก็บเงินจากสมาชิก ตอนสิน้ ปี ถอื เป็นสวัสดิการทีส่ ร้างความพึงพอใจให้แก่สมาชิกมากทีส่ ดุ สมาชิกจะได้รบั สิทธิน์ เ้ี มือ่ สมัคร เป็นสมาชิกครบ 1 ปี หากเสียชีวติ จะได้รบั เงินสงเคราะห์ศพ ๆ ละ 140,000 บาท กลุม่ จะหัก 3% เพือ่ เป็น เป็นค่าพวงหรีด และค่าใช้จา่ ยในการเป็นเจ้าภาพสวดศพ 1 คืน ส่วนการหักเงินค่าเบีย้ สงเคราะห์ศพๆ ละ 20 บาทนั้น กลุ่มจะหักเมื่อสิ้นปีจากเงินปันผล หากเงินปันผลไม่พอหักจึงจะหักจากเงินฝากสัจจะ สะสมในบัญชี สว่ นการระบุหรือเปลีย่ นแปลงทายาทผูร้ บั ผลประโยชน์นนั้ ตอ้ งมาทำ�บันทึกข้อตกลง เป็นลายลักษณ์อักษรกับคณะกรรมการที่กลุ่ม 2.6 ซื้อที่ดินเพื่อจัดสรรขายให้สมาชิก ผู้ยากไร้ เมื่อมีคนประกาศขายที่ดินในพื้นที่ที่มีทำ�เลดี คณะกรรมการจะนำ�เงินทุนของกลุ่มไปซื้อ แล้วนำ�มา จัดสรรแบ่งขายให้กับสมาชิกที่ยังไม่มีที่อยู่อาศัยหรือ ยังไม่มีที่ดินทำ�กินเป็นของตนเอง การพิจารณาว่าจะ ให้สมาชิกรายใดเป็นผู้ซื้อที่ดินนั้น คณะกรรมการจะ พิจารณาจากระยะเวลาในการเป็นสมาชิกกลุ่มและ ประวัติทางการเงินที่ผ่านมา โดยจะให้ผ่อนชำ�ระกับ กลุ่มตามกำ�ลังความสามารถของสมาชิกแต่ละราย ถือเป็นการช่วยเหลือสมาชิกให้มีที่ดินทำ�กินสร้างอาชีพ สร้างรายได้เลี้ยงครอบครัวอีกวิธีหนึ่ง
สำ�นักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน
แนวทางการพัฒนาทุนชุมชน
69
2.7 ให้กู้เงินเพื่อซื้อสินค้า ทีผ่ า่ นมากลุม่ ได้ให้สวัสดิการกูเ้ งินเพือ่ ซือ้ สินค้าให้แก่ สมาชิก ได้แก่ รถจักรยานยนต์ คอมพิวเตอร์ และเครือ่ งมือการเกษตร โดยจะใช้วงเงินฝากในสมุดสัจจะ ของสมาชิกรวมกับยอดเงินฝากของสมาชิกในครอบครัวเป็นเกณฑ์ในการพิจารณาวงเงินให้ก ู้ คือ หาก มียอดเงินฝากไม่ต�ำ่ กว่า 6,000 บาท กลุม่ จะอนุมตั วิ งเงินกูใ้ ห้ 30,000 บาท หากรวมเงินฝากได้ 8,000 บาท กลุม่ จะอนุมตั วิ งเงินกูใ้ ห้ 38,000 บาท หากรวมเงินฝากได้ 13,000 บาท กลุม่ จะอนุมตั วิ งเงินกูใ้ ห้ 40,000 บาท และสูงสุดไม่เกิน 45,000 บาท โดยไม่ตอ้ งมีคนค้�ำ ประกัน คิดอัตราดอกเบีย้ ทีร่ อ้ ยละ 8 ต่อปี อายุ สัญญาคือ 4-5 ปี ส่วนเอกสารประกอบการขอกูเ้ งินคือ สำ�เนาทะเบียนบ้าน สำ�เนาบัตรประชาชน 2 ชุด เมือ่ ทำ�สัญญาทีก่ ลุม่ เสร็จแล้ว ให้สมาชิกไปขอใบส่งของ เบอร์ โทรศัพท์ และหมายเลขบัญชีเงินฝาก จากร้านจำ�หน่ายสินค้า มามอบให้ คณะกรรมการ แล้วคณะกรรมการ จะโอนเงินชำ�ระค่าสินค้าให้ ซึง่ การ ให้ กู้ ลั ก ษณะนี้ ช่ ว ยให้ ส มาชิ ก ประหยัดเงินจากการจ่ายเงินให้กับ ไฟแนนซ์ ประมาณ 6,000 บาทต่อคัน ส่วนวงเงินฝากในบัญชีทฝ่ี ากกับกลุม่ นัน้ ก็เปรียบเหมือนเงินดาวทีไ่ ม่ตอ้ ง นำ�ไปจ่ายให้รา้ นค้านัน่ เอง ปัจจุบันมีลูกหนี้ก้เู งินซื้อรถจักรยานยนต์ ประมาณ 700 คัน คอมพิวเตอร์ ประมาณ 10 เครื่อง โดยส่วนใหญ่สมาชิกซื้อรถจักรยานยนต์เพื่อใช้ขับไปทำ�สวน หรือให้ลูกขับไปโรงเรียน
การจัดสรรผลกำ�ไร กลุ่มมีการจัดสรรผลกำ�ไรคืนสู่สมาชิกที่มีเงินฝากกับกลุ่ม และเป็นค่าใช้จ่ายในการ ดำ�เนินงานของกลุ่มออกเป็นสัดส่วนดังนี ้ 1. ปันผล ร้อยละ 60 2. สมทบกองทุนสวัสดิการ ร้อยละ 20 3. สมทบกองทุนสำ�รองกลุ่ม ร้อยละ 10 4. ค่าตอบแทนคณะกรรมการ ร้อยละ 10
70
แนวทางการพัฒนาทุนชุมชน
สำ�นักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน
ซึ่งจะจัดขึ้นในทุกเดือนมกราคมพร้อมการประชุมใหญ่สามัญประจำ�ปี ในวันนี้ถือเป็นวัน ที่สมาชิกมาร่วมประชุมกันอย่างพร้อมหน้าพร้อมตาที่สุด หากคณะกรรมการต้องการปรับเปลี่ยน กฎระเบียบข้อบังคับ หรือขอมติในเรื่องใดๆ เกี่ยวกับกิจการของกลุ่มก็จะเกิดขึ้นในวันนี้ รวมถึงการ เลือกคณะกรรมการแทนตำ�แหน่งที่หมดวาระลง หลังจากนั้นจะมีกิจกรรมจับสลากของขวัญปีใหม่ ระหว่างสมาชิก และกลุ่มจะจัดรางวัลใหญ่ เช่น ทีวี ตู้เย็น ให้ได้ลุ้นรับโชคกันอีกด้วย ในบางปีคณะกรรมการกลุ่มอาจจัดมอบรางวัลพิเศษสำ�หรับสมาชิกบางรายที่สามารถ พัฒนาชีวิตความเป็นอยู่ของตัวเองได้จากการกู้ยืมเงินของกลุ่มไปประกอบอาชีพแล้วประสบความ สำ�เร็จทีน่ า่ ชืน่ ชม เช่น กรณีสมาชิกรายหนึง่ ทีน่ บั ถือศาสนาอิสลามได้เข้ามารับจ้างกรีดยางในชุมชน และสมัครเข้าเป็นสมาชิกกลุ่ม ด้วยความขยันขันแข็งในการทำ�งานเมื่อเขาได้มาปรึกษาคณะ กรรมการเรื่องต้องการซื้อที่ดินแปลงข้างเคียงเพื่อทำ�สวนยางเอง จึงทำ�ให้คณะกรรมการอนุมัติเงิน กู้ให้ไปซื้อที่ดินแปลงนั้นแล้วให้ค่อยๆ มาผ่อนชำ�ระกับกลุ่มจนหมดได้ และอีกรายหนึ่งที่เป็นลูกจ้าง ของร้านรับซื้อยางพาราที่ต้องการมี กิจการของตัวเอง ก็ได้มาขอกู้เงินทุนกับกลุ่มเพื่อออกรับซื้อขี้ ยางพารามาส่งต่อให้เถ้าแก่ รายนี้ก็สามารถพัฒนาชีวิตตัวเองได้อย่างน่าชื่นชมเช่นกัน ก่อนมอบ รางวัล คณะกรรมการจะให้สมาชิกที่ได้รับรางวัลออกมาเล่าความรู้สึกของตัวเองจากการได้รับโอกาสนี้ เพื่อเป็นแรงบันดาลใจให้แก่สมาชิกอื่นๆ และคณะกรรมการผู้อยู่เบื้องหลังนี้ 3. ด้านการพัฒนา การพัฒนาคณะกรรมการและสมาชิก การพัฒนาคณะกรรมการและสมาชิก ที่ปฏิบัติกันอยู่อย่างสม่ำ�เสมอภายในกลุ่มคือ การจัดเวทีพูดคุยแลกเปลี่ยนประสบการณ์การทำ�งาน รวมถึงถอดบทเรียนการทำ�งานในแต่ละ เรื่องที่พบปัญหาร่วมกันระหว่างคณะกรรมการและสมาชิก โดยในส่วนของคณะกรรมการจะมี การพูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกันเป็นประจำ�ทุกเดือน นอกจากนี้ยังมีการ แลกเปลี่ยนประสบการณ์การทำ�งานกับกลุ่มกองทุนอื่นๆ ที่แวะเวียนมาศึกษางานที่กลุ่มอยู่เสมอ แต่การเดินทางไปศึกษาดูงานในพื้นที่อื่นนั้น ที่ผ่านมายังมีไม่บ่อยนัก การพัฒนาอาชีพ ปัญหาที่พบจากการพัฒนาอาชีพของสมาชิกที่ผ่านมาคือ การไม่มีเงินทุนไปต่อยอด อาชีพเดิม และไม่เงินทุนไปสร้างอาชีพใหม่ ที่ผ่านมากลุ่มได้ให้การสนับสนุนสมาชิกด้านการ พัฒนาอาชีพที่พอจะยกตัวอย่างให้เห็นได้ ได้แก่ สำ�นักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน
แนวทางการพัฒนาทุนชุมชน
71
1. อาชีพเลี้ยงโคเนื้อ เคยมีสมาชิกในชุมชนที่สนใจทำ� อาชีพเลี้ยงโคเนื้อแต่ยังไม่มีประสบการณ์ คณะกรรมการจึง พาไปศึกษาเรือ่ งพันธุโ์ ค พนั ธุห์ ญ้า และวิธกี ารเลีย้ งโคในพืน้ ที่ ต่างๆ ที่มีประสบการณ์ในอาชีพนี้จนเป็นที่เข้าใจ ก่อนที่จะ สนับสนุนเงินทุนไปลงทุนซื้อพันธุ์โคมาเลี้ยง ปัจจุบันสมาชิก รายนี้ประสบความสำ�เร็จในการเลี้ยงโคเนื้อ เพราะราคา เนือ้ โคสามารถจำ�หน่ายปลีกเป็นกิโลกรัมในราคาทีด่ ี สว่ นมูลโค ยังสามารถนำ�มาใช้เป็นปุ๋ยในสวนผลไม้ได้ 2. อาชีพทำ�เครื่องแกง มีสมาชิกรายหนึ่งที่ทำ�เครื่อง แกงจำ � หน่ า ยภายในชุ ม ชน ต้ อ งการเครื่ อ งจั ก รมาช่ ว ย ผลิตเครื่องแกงให้ได้ปริมาณ มากเพื่อขายส่งในตลาดใหญ่ กลุ่มก็ได้อนุมัติเงินกู้ให้ไปซื้อ เครือ่ งจักร และในอนาคตอาจ ต้องให้เงินกู้เพื่อไปสร้างโรง เรื อ นผลิ ต เครื่ อ งแกงที่ ไ ด้ มาตรฐานกว่าเดิม 72
แนวทางการพัฒนาทุนชุมชน
สำ�นักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน
3. อาชีพทำ�สวนผลไม้ การทำ�สวนผลไม้สิ่งแรกที่มีความจำ�เป็นมากคือ ต้องเจาะ บ่อบาดาลพร้อมติดท่อแป๊บสำ�หรับให้น้ำ�แก่ไม้ผลที่ปลูก ซึ่งการลงทุนครั้งแรกนี้ต้องใช้เงินถึงหลัก แสนบาท ที่ผ่านมากลุ่มได้ให้การสนับสนุนเงินทุนแก่สมาชิกในการทำ�สวนอยู่หลายราย 4. อาชีพค้าขาย สมาชิกที่มาขอกู้ยืมเงินจาก กลุ่มเพื่อไปลงทุนค้าขายมีอยู่หลายราย ทั้ง ในลักษณะร้านขายปลีก ขายส่ง และซื้อ รถยนต์เพื่อบรรทุกของขาย ก็มี
บทพิสูจน์ความแข็งแกร่ง บทพิสูจน์ความแข็งแกร่งที่สำ�คัญที่สุดของกลุ่มก็คือ ปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นระหว่างการ ทำ�งานร่วมกันนั่นเอง จากการดำ�เนินงานที่ผ่านมาของกลุ่มถึง 27 ปี คณะกรรมการพอจะลำ�ดับ ปัญหาที่เคยเกิดขึ้นและวิธีแก้ไขให้ได้รับทราบดังนี้ 1. สมาชิกขาดความรู้ความเข้าใจหลักการดำ�เนินงานของกลุ่ม ส่วนใหญ่มาฝากเงิน กับกลุ่มเพื่อต้องการกู้เงินเป็นหลัก แก้ปัญหาโดยการประชุมสร้างความเข้าใจให้แก่สมาชิก 2. สมาชิกขาดความไว้วางใจคณะกรรมการ หากบุคคลที่เป็นคณะกรรมการกู้เงินก็จะ ดูว่ากู้ในวงเงินที่มากกว่าสมาชิกหรือไม่ ชำ�ระคืนหรือเปล่า ถ้าหากคณะกรรมการไม่ชำ�ระคืน สมาชิกก็จะไม่ชำ�ระคืนบ้าง จึงทำ�ให้จำ�นวนสมาชิกและจำ�นวนเงินฝากในระยะแรกตั้งไม่สม่ำ�เสมอ แต่ที่ผ่านปัญหานี้แก้ได้โดยใช้วิธีจัดเก็บข้อมูลความคิดเห็นและความต้องการของสมาชิก แล้วมา ร่วมกันวิเคราะห์หาทางแก้ไขตามประเด็นความค้างคาใจของสมาชิกแต่ละประเด็นให้เข้าใจตรงกัน 3. คณะกรรมการขาดความเชี่ยวชาญในด้านการเงินและการบัญชี ทำ�ให้การชี้แจง ฐานะทางการเงินและการบัญชีของกลุ่มในช่วงแรกไม่ชัดเจน ส่งผลให้สมาชิกคลางแคลงใจโดย เฉพาะในประเด็นการจัดสรรผลกำ�ไรของกลุ่ม ที่ไม่ได้ระบุรายละเอียดค่าใช้จ่ายในการดำ�เนินงาน ให้ทราบ จึงทำ�ให้สมาชิกสงสัยว่าทำ�ไมคิดดอกเบี้ยเงินกู้สูง แต่กลับปันผลคืนให้สมาชิกต่ำ� แต่เมื่อ ได้จัดวางระบบบัญชีและการเงินของกลุ่มให้สามารถชี้แจงที่มาที่ไปของเงินได้แล้ว ก็สามารถแก้ ปัญหาความสงสัยเหล่านี้ของสมาชิกได้ สำ�นักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน
แนวทางการพัฒนาทุนชุมชน
73
4. การปลอมลายมือชือ่ คณะกรรมการรับฝากเงินของสมาชิก เกิดขึน้ จากการฝากเงิน และสมุดเงินฝากมากับเพื่อน ทำ�ให้ผู้รับฝากยักยอกเงินไปใช้และปลอมแปลงลายมือชื่อคณะ กรรมการในสมุดเงินฝาก เมื่อสิ้นปีสมาชิกรู้ว่าจำ�นวนเงินฝากหายไป และคณะกรรมการได้ตรวจ สอบหลักฐานใบเสร็จรับเงิน และลายเซ็นผู้รับเงินพบว่า มีการปลอมแปลงลายเซ็นผู้รับฝากเงินขึ้น คณะกรรมการจึงแก้ปัญหาโดยเข้าไปพูดคุยกับสมาชิกผู้รับเงินเพื่อนมาฝากเป็นการส่วนตัว จน ให้การยอมรับว่าได้ยักยอกเงินดังกล่าวไปใช้ส่วนตัวจริง และสมาชิกรายนั้นยินยอมชดใช้เงินตามที่ ได้ยักยอกไปพร้อมกับคณะกรรมการให้ลาออกจากการเป็นสมาชิกของกลุ่ม ซึ่งคณะกรรมการบอก ว่าการแก้ปัญหานั้น บางครั้งการแก้ในเชิงลับจะให้ผลดีต่อกลุ่มมากกว่า 5. ผู้ที่ค้ำ�ประกันไม่ชำ�ระคืนเงินกู ้ เกิดขึน้ กับสมาชิกที่ใช้วงเงินในบัญชีเงินฝากของตน ไปค้ำ�ประกันสมาชิกรายอื่น แล้วผู้กู้ไม่ชำ�ระเงินคืนตามกำ�หนด ทำ�ให้ไม่สามารถกู้เงินได้ คณะ กรรมการแก้ไขโดยให้สมาชิกรายนั้นไปหาสมุดเงินฝากของสมาชิกรายอื่นมาค้ำ�ประกันอีกต่อหนึ่ง 6. การถอนเงินฝากในบัญชีผู้อื่น ซึ่งจะพบในกรณีสมาชิกอยู่ในครอบครัวเดียวกัน หรือ เป็นเพื่อนที่สนิทคุ้นเคยกันเป็นอย่างดี เช่น ลูกมาขอถอนเงินในบัญชีเงินฝากของพ่อแม่ หรือเพื่อน มาขอถอนเงินในบัญชีแทนเพื่อนโดยเจ้าของบัญชีไม่รับทราบ คณะกรรมการแก้ไขโดยให้เจ้าของ บัญชีเท่านั้นที่มีอำ�นาจในการขอถอนเงินด้วยตนเอง 7. ปัญหาทายาทผูร้ ับผลประโยชน์จากเงินกองทุนฌาปนกิจสงเคราะห์ และการขาด คุณสมบัติเนื่องจากการขาดส่งเงินสัจจะติดต่อกันเกิน 3 เดือน เป็นต้น 8. ปัญหาจากการขอเบิกเงินสวัสดิการค่ารักษาพยาบาล ตามระเบียบของกลุ่มจะ กำ�หนดให้สมาชิกนำ�ใบเสร็จรับเงินฉบับจริงเท่านัน้ มาขอเบิก แต่จะมีสมาชิกบางรายทีน่ ำ�สำ�เนาใบ เสร็จมาขอเบิกซึ่งทางกองทุนจะไม่จ่ายให้ ทั้งนี้เพื่อป้องกันไม่ให้สมาชิกที่ได้รับสิทธิในการเบิกค่า รักษาพยาบาลอื่นๆ อยู่แล้ว มาขอเบิกซ้ำ�ซ้อน เพราะวัตถุประสงค์ของการช่วยเหลือเน้นไปที่กลุ่ม ของสมาชิกผูด้ อ้ ยโอกาสเป็นหลัก บางรายขาดสิทธิเ์ พราะไม่มาชำ�ระคืนเงินกูต้ ามกำ�หนด หรือขาด ฝากเงินสัจจะสะสมติดต่อกันเกิน 3 เดือน คณะกรรมการแก้ปญ ั หาโดยการรับฟังเรือ่ งราวแล้วชีแ้ จง เหตุผลของการขาดสิทธิ์ให้สมาชิกได้รับทราบ จะเห็นว่าหลักการแก้ปัญหาของคณะกรรมการบริหารกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตบ้านดอนคา นั้น จะเน้นการใช้มาตรการทางสังคมแทนมาตรการทางกฎหมาย ซึ่งคณะกรรมการได้สรุป บทเรียนการแก้ปัญหาต่างๆ ที่ผ่านมาร่วมกันว่า การรับฟังทุกเรื่องราวของสมาชิกให้จบก่อนคือ กุญแจสำ�คัญในการไขปัญหาแต่ละเรือ่ งในเบือ้ งต้นได้ และปัญหาทุกอย่างมีหนทางแก้เสมอ ขอให้ ทุกฝ่ายมีสติและใช้ปัญญาในการหาทางออกร่วมกัน 74
แนวทางการพัฒนาทุนชุมชน
สำ�นักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน
ปัจจัยแห่งความสำ�เร็จ จากการถอดบทเรียนครัง้ นีพ้ บว่า ปจั จัยแห่งความสำ�เร็จของการดำ�เนินงานกลุม่ ออมทรัพย์ เพื่อการผลิตบ้านดอนคาคือ การมีทุนชุมชนที่มั่งคั่งหลายด้าน ได้แก่ 1. มีผนู้ �ำ กลุม่ ทีม่ วี สิ ยั ทัศน์ ซือ่ สัตย์ เสียสละ มสี ว่ นผสมทัง้ คนรุน่ เก่าทีเ่ ป็นผูบ้ กุ เบิกกลุม่ และ คนรุ่นใหม่เข้ามาสืบทอดการดำ�เนินงานได้อย่างลงตัว 2. มีการบริหารจัดการเงินที่โปรงใส ตรวจสอบได้ ระบบบัญชีเป็นปัจจุบัน โดยการตั้งงบ ประมาณจ้างผู้เชี่ยวชาญด้านบัญชีเข้ามาตรวจสอบระบบบัญชีของกลุ่มทุก 6 เดือน จำ�นวน 40,000 บาท 3. มีทุนธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์ นำ�ไปสู่การมีอาชีพ และรายได้ที่ดี ทั้งอาชีพทำ�สวน ยางพารา สวนผลไม้ ค้าขายและพนักงานประจำ� ส่วนผู้มีอาชีพรับจ้างก็ได้ค่าจ้างแรงงานที่ ค่อนข้างสูง ประกอบกับการมีแหล่งเงินทุนที่เข้าถึงง่าย ดอกเบี้ยถูก จึงเป็นปัจจัยที่เอื้อต่อการ ประกอบอาชีพและการมีรายได้ที่ดี 4. การมีส่วนร่วมของสมาชิก ด้วยจิตสำ�นึกของการเป็นเจ้าของกลุ่มร่วมกัน จึงทำ�ให้ สมาชิกร่วมกันปฏิบัติตามกฎระเบียบของกลุ่มและมีส่วนร่วมในกิจกรรมของกลุ่มอย่างพร้อมเพรียง
ความสำ�เร็จ/ความภาคภูมิใจ คณะกรรมการบริหารกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตบ้านดอนคา ได้ร่วมกันเล่าถึงความ สำ�เร็จและความภาคภูมิใจที่ได้รับจากการทำ�งานร่วมกันว่า 1. สิ่งแรกที่ได้จากการทำ�งานคือ ได้รู้จักเพื่อนสมาชิกที่หลากหลาย เป็นเหมือนบันได ก้าวแรกในการทำ�งานเพื่อชุมชน และมีหลายคนได้ก้าวจากการทำ�งานที่กลุ่มไปสู่ผู้นำ�ท้องถิ่น เช่น ผู้ใหญ่บ้าน กำ�นัน สมาชิกอบต. และนายกเทศมนตรี เทศบาลตำ�บลทอนหงส์คนปัจจุบัน ต่างก็ เคยเป็นอดีตคณะกรรมการบริหารกลุ่มมาแล้วทั้งสิ้น เพราะใครก็ตามที่ผ่านการคัดเลือกให้เป็น คณะกรรมการบริหารงานที่นี่ ย่อมแสดงว่าเป็นผู้ที่มีความซื่อสัตย์ เสียสละ และรับผิดชอบสูง เพราะเงื่อนไขและคุณสมบัติของผู้มีสิทธิได้รับเสนอชื่อให้เป็นคณะกรรมการนั้น ไม่ใช่ใครก็ สามารถถูกเสนอชื่อได้
สำ�นักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน
แนวทางการพัฒนาทุนชุมชน
75
2. ได้ความสุข ความภาคภูมิใจจากการทำ�งาน ซึ่งพวกเขาเรียกว่าได้ “ดวงตาที่สาม” คือ เมือ่ มองย้อนกลับไปดูผลการทำ�งานทีท่ �ำ ร่วมกันมา ซงึ่ ได้ผลิตหลายสิง่ หลายอย่างให้กบั คนในชุมชน เช่น ผลิตบุคลากรที่มีคุณภาพ ผลิตอาชีพ ผลิตรายได้ ผลิตความอยู่ดีกินดี และผลิตสวัสดิการ เมื่อ ได้มองย้อนกลับไปมองผลงานครัง้ ใดก็ทำ�ให้รสู้ กึ อิม่ เอมอยูข่ า้ งในใจของตนเอง โดยเฉพาะลุงวิโรจน์ คงปัญญา ประธานบริหารของกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตบ้านดอนคา ได้กล่าวถึงการได้รับ “ดวงตาทีส่ าม” ในครอบครัวของตนเองด้วยความตืน้ ตันใจว่า เมือ่ ครัง้ จัดงานแต่งงานให้ลกู สาว ที่บ้าน มีแขกมาร่วมในเกินกว่าจำ�นวนที่เชิญไปเป็นจำ�นวนมากจนตัวเองก็คิดไม่ถึง และสมาชิก ที่มาร่วมงานบอกว่าเป็นฝ่ายรับจากการทุ่มเททำ�งานของประธานมามากแล้วและอยากเป็นฝ่าย ตอบแทนกลับคืนบ้าง เพราะตลอดช่วงเวลาที่ลุงวิโรจน์ดำ�รงตำ�แหน่งเป็นประธานกลุ่มนั้น ไม่เคย ขอกู้เงินจากกลุ่มเลย 3. ได้เรียนรู้การบริหารจัดการเงิน การทำ�บัญชีรับจ่ายต่างๆ ไปปรับใช้ในครอบครัว เพราะ วัฒนธรรมการเรียนรูข้ องคณะกรรมการทีน่ คี่ อื หากคณะกรรมการรายไดได้เป็นตัวแทนกลุม่ ออกไป อบรมกับหน่วยงานต่างๆ ข้างนอก เมื่อกลับมา จะต้องถ่ายทอดความรู้ที่ได้รับรู้มาสู่คณะกรรมการ ให้ได้รับทราบร่วมกันในการประชุมประจำ�เดือนทุกครั้ง ส่วน นายบุญธรรม นรินทร์รัตน์ พัฒนาการอำ�เภอพรหมคีรี ในบทบาทของเจ้าหน้าที่ผู้ มีส่วนสนับสนุนการดำ�เนินงานของกลุ่มในภาพรวม ได้กล่าวถึงความภาคภูมิใจในบทบาทของผู้ สนับสนุนว่า รสู้ กึ ภาคภูมใิ จทีม่ สี ว่ นสนับสนุนการดำ�เนินงานกลุม่ ออมทรัพย์เพือ่ การผลิตมาหลายกลุม่ และกลุ่มที่นี่สามารถพัฒนาตัวเองมาจนเติบโตเป็นอันดับ 2 ของภาคใต้ สามารถเป็นต้นแบบการ เรียนรูง้ านกลุม่ ออมทรัพย์เพือ่ การผลิตแก่กลุม่ อืน่ ๆ ตลอดมา และมองว่างานกลุม่ ออมทรัพย์เพือ่ การ ผลิตสามารถพัฒนาชุมชนได้ทกุ ด้าน ทงั้ พัฒนาคนให้มคี ณ ุ ธรรม พัฒนาเศรษฐกิจ พัฒนาสังคม และ สอนช่วยวิธบี ริหารจัดการให้แก่คน หากกลุม่ ออมทรัพย์เพือ่ การผลิตเกิดขึน้ โดยสมบูรณ์ในพืน้ ทีไ่ หน ก็จะช่วยพัฒนาพื้นที่นั้นได้ทุกด้าน นำ�มาซึ่งชุมชนเข้มแข็ง ช่วยแก้ปัญหาของชาติได้ในทุกด้าน จึง ควรให้การส่งเสริม สนับสนุนงานนี้ให้อยู่คู่กรมการพัฒนาชุมชนตลอดไป จะเห็นว่ากลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตบ้านดอนคา นอกจากจะเป็นแหล่งเงินทุนเพื่อการ ประกอบอาชีพแก่สมาชิกในชุมชนทุกคนร่วมกันเป็นเจ้าของและสามารถเข้าถึงได้ไม่ยากแล้ว ยังมี ความโดดเด่นเป็นอย่างมากในด้านการจัดสวัสดิการทีค่ รอบคลุม่ วิถชี วี ติ ตัง้ แต่เกิดจนตาย โดยเฉพาะ อย่างยิง่ กิจกรรมกองทุนฌาปนกิจสงเคราะห์ ทกี่ �ำ ลังขยายสาขาไปสูอ่ กี หลายตำ�บลในพืน้ ทีใ่ กล้เคียง เป็นการขยายโอกาสในการเข้าถึงสวัสดิการที่จัดทำ�โดยประชาชนและเพื่อประชาชนตามระบอบ ประชาธิปไตยโดยแท้จริง ซึ่งคณะกรรมการและสมาชิกหลายท่านบอกว่าเป็นกิจกรรมที่ช่วยยึดโยง 76
แนวทางการพัฒนาทุนชุมชน
สำ�นักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน
คนในชุมชนให้รกั ษาสัจจะและปฏิบตั ติ ามระเบียบข้อบังคับของกลุม่ เพือ่ ให้ตนเองได้รบั สิทธิในการ เข้าถึงสวัสดิการ และช่วยหล่อหลอมให้คนในชุมชนเกิดความรัก ความสามัคคี ได้เป็นอย่างดี
แผนการดำ�เนินงาน
คณะกรรมการบริหารกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตบ้านดอนคา มีความปรารถนาอยากยก ระดับการพัฒนากลุ่มในอนาคตในเรื่องต่างๆ ดังนี้ 1. พัฒนาสมาชิกให้มีความรู้ความเข้าใจในหลักการดำ�เนินงานของกลุ่มและสามารถ ปฏิบัติตามข้อบังคับกลุ่มได้ทุกคน เพราะมองว่าวันนี้ความสำ�เร็จของกลุ่มยังอยู่ที่ 60 % 2. พัฒนาสมาชิกกลุ่มทุกคนให้มีอาชีพและรายได้ที่มั่นคง 3. บริหารจัดการเงินสำ�รองคงเหลือของกลุ่มไปการลงทุนในกิจการที่ก่อให้เกิดผลกำ�ไร และเหลือเงินสำ�รองคงเหลือไม่เกิน 10% มีเงินปันผลคืนสู่สมาชิกไม่น้อยกว่าร้อยละ 7 4. สามารถจัดสวัสดิการดูแลแก่สมาชิกในชุมชนได้ครบทุกคน 6. ขยายเครือข่ายการดำ�เนินงานโดยการสนับสนุนให้กลุ่มการเงินอื่นๆ ในพื้นที่ใกล้เคียง เข้ามาเป็นสมาชิกเครือข่าย เพื่อเปิดโอกาสให้ประชาชนในชุมชนใกล้เคียงได้มีโอกาสเข้าถึงแหล่ง ทุนและได้รับสวัสดิการอย่างทั่วถึง 7. พัฒนากลุ่มให้เป็นต้นแบบการเรียนรู้ด้านเงินทุนแก่กลุ่มอื่นๆ เพราะมองว่า ประสบการณ์การดำ�เนินงานและองค์ความรู้ที่สั่งสมมา น่าจะเป็นประโยชน์แก่กลุ่มอื่นๆ ในลักษณะเดียวกัน 8. การต่อยอดงานเดิมใน 3 เรือ่ งคือ 8.1 ค้นหาองค์ความรู้ ภูมปิ ญ ั ญา มาพัฒนาอาชีพ คือสอนสมาชิกให้เป็นนักประกอบการ รูต้ น้ ทุน รูร้ ายได้ รูร้ ายจ่าย รูก้ ารตลาด รูก้ ารบริหารและการบัญชี โดยเชือ่ มโยงกับทรัพยากรชุมชนทีม่ อี ยู่ ในชุมชน เช่น สวนยางพารา สวนผลไม้ จดั หลักสูตรอาชีพตามความต้องการของสมาชิก ให้มรี ายได้และ สุดท้ายก็จะนำ�เงินมาฝากกับกลุม่ 8.2 ในอนาคต คาดว่าคนในชุมชนอาจขาดทีอ่ ยูอ่ าศัยและขาดทีท่ �ำ กินทำ�กิน ดังนัน้ ถ้ามีคน ต้องการขายทีด่ นิ ในพืน้ ที ่ กลุม่ จะรับซือ้ เอาไว้แล้วมาจัดสรรขายให้สมาชิกทีย่ ากไร้มาผ่อนชำ�ระกับกลุม่ ซึง่ ถือเป็นธุรกิจทีไ่ ม่มคี วามเสีย่ งและสามารถสร้างรายได้ทด่ี ใี ห้กบั กลุม่ 8.3 จัดจำ�หน่ายรถยนต์ ให้ผอ่ นได้นานถึง 120 เดือน
สำ�นักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน
แนวทางการพัฒนาทุนชุมชน
77
ข้อคิดและข้อเสนอแนะ ลุงวิโรจน์ คงปัญญา ประธานบริหารกลุม่ ออมทรัพย์เพือ่ การผลิต หรือ วสิ าหกิจ ชุ ม ชนกองทุ น ออมทรั พ ย์ เ พื่ อ การผลิ ต บ้ า นดอนคา ได้ ใ ห้ ข้ อ เสนอแนะต่ อ บทบาทของ กรมการพัฒนาชุมชนในครั้งนี้ว่า โดยชื่อของ “ กรมการพัฒนาชุมชน ” นั้นได้บอกเอาไว้อยู่แล้วว่า มีหน้าที่ในการพัฒนาคนในชุมชนให้มีความเป็นอยู่ที่ดี โดยสร้างความรู้คู่คุณธรรม สมัยก่อนเจ้า หน้าทีข่ องกรมการพัฒนาชุมชนทำ�งานติดพืน้ ที ่ รูจ้ กั คนและความต้องการของคน จึงทำ�ให้สามารถเข้า ถึงและพัฒนาคนในพืน้ ทีไ่ ด้ โดยเฉพาะอย่างยิง่ งานกลุม่ ออมทรัพย์เพือ่ การผลิต ถอื เป็นรากฐานทีส่ �ำ คัญ ในการพัฒนาความเป็นอยูข่ องคนในชุมชน และการพัฒนาความเป็นอยูข่ องคนทีส่ �ำ คัญคือ ต้องพัฒนา ทีก่ ารเพิม่ ผลผลิต พัฒนาทีอ่ าชีพ ให้คนมีรายได้เลีย้ งตัวเองได้ หลังจากนัน้ ค่อยสร้างสวัสดิการให้ ครอบคลุมวิถชี วี ติ ตัง้ แต่เกิดจนเสียชีวติ และเปรียบการสร้างคนว่าเหมือนการปลูกต้นไม้ทตี่ อ้ งหาเมล็ด พันธุ์ใหม่มาทดแทนต้นเก่าที่นับวันจะโรยรา และการเรียนรู้งานของกลุ่มที่ผ่านมาได้เรียนรู้ผ่าน ปัญหาที่เคยทำ�ผิดพลาดมาก่อน จึงอยากให้เด็กรุ่นใหม่มาเรียนรู้การทำ�งานนี้ผ่านประสบการณ์ ของตัวเอง เมือ่ ต่อยอดงานเดิมเสร็จแล้วก็วางแนวทางให้เขาเดินต่อ ดังนัน้ งานทีก่ รมการพัฒนาชุมชน ควรหันมาเน้นหนักก็คอื เมือ่ สนับสนุนการตัง้ กลุม่ ออม ทรัพย์เพือ่ การผลิตขึน้ มาแล้ว ตอ้ งสอนวิธีการพัฒนาอาชีพ แล้วค่อยมาเสริมสร้างสวัสดิการ หลักการ ดำ�เนินงานของกลุม่ ออมทรัพย์เพือ่ การผลิตของกรมการพัฒนาชุมชน แตกต่างจากหลักการส่งเสริม การออมขององค์กรอืน่ ๆ ทีม่ วี ตั ถุประสงค์ของการจัดตัง้ ขึน้ มาเพือ่ ต้องการยกฐานะความเป็นอยูข่ อง คน และพัฒนาคนให้เป็นคนดีมีคุณธรรม คือสร้างทั้งคน สร้างทั้งอาชีพ และสร้างสวัสดิการ และ ถ้าทำ�แบบนีไ้ ด้ คดิ ว่ากรมการพัฒนาชุมชนจะไม่มใี ครยุบได้ เพราะสามารถตอบความต้องการของ คนในชุมชนได้อย่างครบวงจร
78
แนวทางการพัฒนาทุนชุมชน
สำ�นักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน
ประมวลภาพทุนชุมชน
สำ�นักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน
แนวทางการพัฒนาทุนชุมชน
79
80
แนวทางการพัฒนาทุนชุมชน
สำ�นักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน
บรรณานุกรม นิสิต จันทร์สมวงศ์. 2553. การพัฒนาชนบทของประเทศไทย : นโยบายและ การดำ�เนินงานของกรมการพัฒนาชุมชน. กรุงเทพฯ : (อัดสำ�เนา) พิสันติ์ ประทานชวโน. 2553. การพัฒนาชุมชน. เอกสารประกอบหลักสูตร สถาบันวิชาการทหารบกชั้นสูง วิทยาลัยกองทับบก กรุงเทพฯ : (อัดสำ�เนา) สมชาติ เอี่ยมอนุพงษ์. การสร้างความเข้มแข็งชุมชนโดยทุนชุมชน. เอกสาร วิจัยกรมคุมประพฤติ กระทรวงยุติธรรม : (อัดสำ�เนา) สุวิทย์ เมษินทรีย์. ดร. 2551. การพัฒนาทุนชุมชน. เอกสารประกอบคำ�บรรยาย กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย : (อัดสำ�เนา) สำ�นักวิชาการและการเผยแพร่ สันนิบาตสหกรณ์แห่งประเทศไทย. ทุนทาง สังคมตามแนวคิดของสังคมไทย. กรุงเทพฯ : (อัดสำ�เนา) Kretzmznn, John P. and John L Mcknight. 1993. Building Community from The Inside Out: A Path Toward Finding and Mobilization a Community’s Assets. Chicago, IL : ACTA Publications,
คณะผู้จัดทำ� ที่ปรึกษา
นายณรงค์ บุ่ยศิริรักษ์ นายสุริชาติ สายทอง นางสาวปริศนา โกลละสุต นายเจิดศักดิ์ สอาดบุญเรือง นายสุรศักดิ์ อักษรกุล นายพัลลภ ตันจริยภรณ์
คณะผู้จัดทำ�
นางวัฒนาพร ฉิมสุวรรณ์ นางสุธาสินี สีขำ� นางสายฝน ธรรมวิชิต นางปทุมมาศ ช่วงกรุด
ออกแบบรูปเล่ม/ภาพ/ปก นางสาวบุตรตรา ใจพันธ์
ผู้อำ�นวยการสำ�นักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน หัวหน้ากลุ่มงานประสานแผนและข้อมูล หัวหน้ากลุ่มงานส่งเสริมกองทุนชุมชน หัวหน้ากลุ่มงานส่งเสริมการพัฒนาทุนชุมชน หัวหน้ากลุ่มงานส่งเสริมองค์กรการเงินชุมชน หัวหน้ากลุ่มงานพัฒนาทุนชุมชนตามแนวพระราชดำ�ริ นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำ�นาญการ นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำ�นาญการ นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำ�นาญการ นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำ�นาญการ นักวิชาการพัฒนาชุมชนปฏิบัติการ
ปีที่พิมพ์/จำ�นวนที่พิมพ์
สิงหาคม พ.ศ. 2553 จำ�นวน 1,000 เล่ม
ผู้ผลิต
กลุ่มงานส่งเสริมการพัฒนาทุนชุมชน สำ�นักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน
“
ทุนชุมชน ทุกคนต้องรักษา อนุรักษ์ พัฒนา สร้างมูลค่าเพิ่ม......
”
สำ�นักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 2550 อาคาร B ชั้น 5 ถนนแจ้งวัฒนะ แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร โทรศัพท์/โทรสาร 0 2143 8909 , http://61.19.244.12/devBudget