แผนแม่บท ICT พช. พ.ศ. 2553-2556

Page 1


บทสรุปผูบริหาร กระทรวงมหาดไทยไดประกาศใชแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Information & Communication Technology : ICT) ของกระทรวงมหาดไทย พ.ศ. 2552 – 2556 เมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม 2553 และไดใหสวนราชการและรัฐวิสาหกิจในสังกัดนําไปพิจารณาปรับปรุงแผนแมบท ICT ของแตละ หนวยงานใหสอดคลองรองรับกับแผนแมบทขางตนดวย กรมการพัฒนาชุมชนจึงไดนําแนวทางดังกลาวมา ปรับปรุงและกําหนดทิศทางการพัฒนาระบบ ICT ดังนี้ วิสัยทัศน (Vision) “กรมการพัฒ นาชุมชนเปนองคกรแหงนวั ตกรรมที่สงเสริมและสนับสนุนการบริหารจัดการชุม ชน ใหเขมแข็งอยางยั่งยืนดวยระบบ ICT และระบบขอมูลสารสนเทศที่เปนสากลและธรรมาภิบาล” พันธกิจ (Mission) 1. บริหารจัดการระบบ ICTใหสามารถสนองตอบตอวิสัยทัศน ภารกิจ และยุทธศาสตรของกรมการ พัฒนาชุมชนอยางมีธรรมาภิบาลและเปนสากล 2. พัฒนาโครงขาย ICT เพื่อใหบริการภายในองคกรรวมทั้งประชาชนผูรับบริการ และทุกภาคสวน อยางมีคุณภาพ และทั่วถึง 3. พัฒนาระบบ ICT เพื่อเสริมสรางชุมชนสูสังคมอุดมปญญา 4. เสริมสรางขีดความสามารถ กําลังคนดาน ICT ของกรมการพัฒนาชุมชนใหมีสมรรถนะสูง ยุทธศาสตรการพัฒนา (Strategic Issue) 1. การพัฒนาโครงสรางพืน้ ฐาน ICT 2. การบริหารจัดการระบบ ICT อยางมีธรรมาภิบาลและเปนสากล 3. การพัฒนาระบบ ICT เพือ่ เสริมสรางความเขมแข็งของชุมชน 4. การพัฒนาระบบ ICT เพื่อพัฒนาสูสังคมอุดมปญญา 5. การพัฒนาบุคลากรและชุมชนใหมีความเชี่ยวชาญดาน ICT เปาประสงคการพัฒนา (Strategic Goal) ยุทธศาสตรการพัฒนาที่ 1 การพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน ICT มี 2 เปาหมายการพัฒนา ไดแก 1.1 ระบบ ICT ของกรมการพัฒนาชุมชนมีความทันสมัย รวดเร็วทันตอความเปลี่ยนแปลงของสังคมโลก สามารถรองรับกับการขยายตัวของการใหบริการและตอบสนองตอความตองการของหนวยงานและชุมชน 1.2 มีโครงสรางพืน้ ฐานทางดาน ICTที่มีมาตรฐานเดียวกัน และมีความมัน่ คงปลอดภัยในการแลกเปลี่ยน ขอมูลระหวางหนวยงานภาครัฐ ชุมชนและทุกภาคสวนที่เกีย่ วของ


ยุทธศาสตรการพัฒนาที่ 2 การบริหารจัดการระบบ ICT อยางมีธรรมาภิบาลและเปนสากล มี 4 เปาหมายการพัฒนา คือ 2.1 ระบบ ICT ของกรมการพัฒนาชุมชน มีการบูรณาการเชื่อมโยงกับหนวยงานทีเ่ กี่ยวของทัง้ ภายในและ ภายนอกอยางเปนระบบเอื้อตอการบริหารและการเสริมสรางความเขมแข็งของชุมชน 2.2 กรมการพัฒนาชุมชนมีการบริหารจัดการระบบ ICT ที่เปนสากล 2.3 ทรัพยากรดาน ICT ถูกใชอยางมีประสิทธิภาพสูงสุดเกิดความคุมคาตอองคกร 2.4 กรมการพัฒนาชุมชนเปนหนวยงานที่มีระบบสํานักงานอัตโนมัตสิ มบูรณแบบ ยุทธศาสตรการพัฒนาที่ 3 การพัฒนาระบบ ICT เพื่อเสริมสรางความเขมแข็งของชุมชน มี 2 เปาหมายการพัฒนา คือ 3.1 ระบบ ICT ของกรมการพัฒนาชุมชนเปนกลไกสําคัญในการเสริมสรางความเขมแข็งชุมชน 3.2 กรมการพัฒนาชุมชนมีระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารงานพัฒนาชุมชนทีม่ ีประสิทธิภาพ ยุทธศาสตรการพัฒนาที่ 4 การพัฒนาระบบ ICT เพื่อพัฒนาสูส ังคมอุดมปญญา มีเปาหมายการพัฒนาดังนี้ ระบบ ICT ของกรมการพัฒนาชุมชนเปนศูนยกลางการบริหารจัดการความรูดานการพัฒนาชุมชนที่มีคุณภาพ ของประเทศ เพื่อสงเสริมการพัฒนาสูสังคมอุดมปญญาตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ยุทธศาสตรการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาบุคลากรและชุมชนใหมคี วามเชีย่ วชาญดาน ICT มี 2 เปาหมายการพัฒนา คือ 5.1 บุคลากรดาน ICT ของกรมการพัฒนาชุมชนมีปริมาณเพียงพอและมีคุณภาพระดับเชี่ยวชาญสามารถ สรางสรรคผลงานและนวัตกรรมดาน ICT ในบริบทภารกิจของกรมการพัฒนาชุมชนไดอยางมีประสิทธิผล 5.2 บุคลากรของกรมการพัฒนาชุมชนมีขีดความสามารถในการใช ICTอยางมีประสิทธิภาพ มีคุณธรรม จริยธรรม มีวิจารณญาณ และรูเทาทัน ทั้ ง นี้ ได กํ า หนดตั ว ชี้ วั ด เป า หมายการพั ฒ นา กลยุ ท ธ / มาตรการ แผนงานและโครงการในแต ล ะ เปาหมายการพัฒนา เพื่อใหหนวยงานตาง ๆ ใชในการจัดทําแผนงาน/โครงการเพื่อรวมขับเคลื่อนแผนแมบท ฉบับนี้สูการปฏิบัติไดอยางมีประสิทธิภาพ


คํานํา สืบเนื่องจากการที่กระทรวงมหาดไทยไดประกาศใชแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Information & Communication Technology : ICT) ของกระทรวงมหาดไทย พ.ศ. 2552 – 2556 เมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม 2553 และไดใหสวนราชการและรัฐวิสาหกิจในสังกัดนําไปพิจารณาปรับปรุงแผนแมบท ICT ของแตละหนวยงานใหสอดคลองรองรับกับแผนแมบทดังกลาว กรมการพัฒนาชุมชนจึงไดนําแผนแมบท ICT กรมการพั ฒ นาชุ ม ชน พ.ศ. 2553 – 2556 ซึ่ ง ได จั ด ทํ า แล ว เสร็ จ เมื่ อ เดื อ นตุ ล าคม 2552 มาปรั บ ปรุ ง ให ส อดคล อ งกั บ แนวทางการพั ฒ นาระบบ ICT ของกระทรวงมหาดไทย โดยรายละเอี ย ดภายในเล ม ประกอบดวย การวิเคราะหความจําเปนในการพัฒนาระบบ ICT ซึ่งเปนการวิเคราะหการพัฒนา ICT เพื่อการ สนองตอบตอนโยบายภายใน และภายนอกที่เกี่ยวของ รวมถึงการพัฒนา ICT เพื่อการสนองตอบตอผูที่มีสวน ไดสวนเสียภายในและภายนอก นอกจากนี้ยังไดวิเคราะหสถานภาพดาน ICT ในเรื่องการบริหารจัดการ ทรัพยากร ICT 4 ดาน คือ ดานบุคลากร (Man) ดานการเงิน (Money) ดานวัสดุอุปกรณ ขอมูลและสารสนเทศ (Material) และดานการจัดการ (Management) และการวิเคราะหสภาวะแวดลอม (SWOT Analysis) เพื่อประเมินศักยภาพทางยุทธศาสตรการพัฒนาของแผนแมบท ICT กรมการพัฒนาชุมชน เพื่อกําหนดเปน แผนยุทธศาสตรและทิศทางการพัฒนาตามแผนแมบท ICT ของกรมการพัฒนาชุมชน ประกอบดวย วิสัยทัศน จุดยืนของวิสัยทัศน พันธกิจ ยุทธศาสตร เปาประสงค เปาหมาย ตัวชี้วัดเปาหมาย ผลผลิต ตัวชี้วัดผลผลิต มาตรการ แผนงาน โครงการพัฒนาระบบ ICT ของกรมการพัฒนาชุมชน และการแปลงยุทธศาสตรสูการ ปฏิ บั ติ แ ละการติ ด ตามผล ซึ่ ง เป น การเสนอรายละเอี ย ดเพื่ อ เสริ ม สร า งความเข า ใจในแผนยุ ท ธศาสตร การพัฒนาระบบ ICT พรอมกําหนดแนวทางในการบริหารจัดการเพื่อแปลงแผนไปสูการปฏิบัติอยางเป น รูปธรรม รวมทั้งระบบและกลไกการติดตามประเมินผลใหสอดคลองกับแนวทางการพัฒนาในแตละ ยุทธศาสตร กรมการพั ฒ นาชุ ม ชนหวั ง เป น อย า งยิ่ ง ว า แผนแม บ ทเทคโนโลยี ส ารสนเทศกรมการพัฒ นาชุม ชน พ.ศ. 2553-2556 (ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1) จะไดนําไปสูการปฏิบัติโดยผูที่เกี่ยวของทั้งระบบและเกิดผลสัมฤทธิ์ อยางมีประสิทธิภาพตามที่กําหนดไว กรมการพัฒนาชุมชน พฤศจิกายน 2553


สารบัญ บทสรุปผูบริหาร คํานํา สารบัญ

หนา ก ค ง

บทนํา

ความจําเปนในการปรับปรุงแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมการพัฒนาชุมชน (พ.ศ. 2553 - 2556)

1

บทที่ 1

การวิเคราะหความจําเปนในการพัฒนาระบบ ICT ของกรมการพัฒนาชุมชน ¾ การพัฒนา ICT เพื่อการสนองตอบตอนโยบายภายใน ¾ การพัฒนา ICT เพื่อการสนองตอบตอนโยบายภายนอกที่เกี่ยวของ ¾ การพัฒนา ICT เพื่อการสนองตอบตอผูที่มีสวนไดสวนเสียภายใน ¾ การพัฒนา ICT เพื่อการสนองตอบตอผูที่มีสวนไดสวนเสียภายนอก ¾ สรุปจุดยืนการพัฒนาระบบ ICT กรมการพัฒนาชุมชน

3 3 9 13 14 16

บทที่ 2

การวิเคราะหสถานภาพดาน ICT ของกรมการพัฒนาชุมชน ¾ การวิเคราะหสภาพการณของการบริหารจัดการทรัพยากรดาน ICT ¾ การประเมินศักยภาพทางยุทธศาสตรการพัฒนาของเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสือ่ สาร กรมการพัฒนาชุมชน พ.ศ. 2553 – 2556 (SWOT Analysis) ¾ ทิศทางการพัฒนาระบบงานการบริหารจัดการ ICT กรมการพัฒนาชุมชน

17 17 20

แผนยุทธศาสตรและทิศทางการพัฒนาตามแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร กรมการพัฒนาชุมชน พ.ศ. 2553 - 2556 ¾ วิสัยทัศน ¾ พันธกิจ ¾ ยุทธศาสตรการพัฒนา

34 34 35 36

การแปลงยุทธศาสตรสูการปฏิบัติ และการติดตาม ประเมินผล

48

บทที่ 3

บทที่ 4

25


1

บทนํา ความจําเปนในการปรับปรุงแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมการพัฒนาชุมชน (พ.ศ. 2553 – 2556) เมื่อวันที่ 5 สิงหาคม 2552 คณะรัฐมนตรีไดมีมติเห็นชอบแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสาร (ฉบับที่ 2) ของประเทศไทย พ.ศ. 2552 - 2556 ตามที่กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสารนําเสนอ และไดใหทุกกระทรวง กรม รัฐวิสาหกิจ องคกรปกครองสวนทองถิ่นและหนวยงานที่เกี่ยวของ จัดทํา/หรือปรับแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Information & Communication Technology : ICT) ของหนวยงานใหสอดคลองกับแผนแมบทดังกลาว ประกอบกับในป พ.ศ. 2552 กรมการพัฒนาชุมชนไดมีการปรับบทบาท ภารกิจและอํานาจหนาที่ใหมตามกฎกระทรวงแบงสวนราชการ กรมการพัฒ นาชุ ม ชน กระทรวงมหาดไทย พ.ศ. 2552 กรมการพัฒ นาชุ ม ชนจึงไดจัดทําแผนแม บท ICT พ.ศ. 2553 – 2556 ขึ้น ใหสอดคลองกับแผนแมบท ICT (ฉบับที่ 2) ของประเทศไทย พ.ศ. 2552 – 2553 และเปนแนวทางในการบริหารจัดการดาน ICT เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานใหบรรลุเปาหมายตาม ภารกิจและยุทธศาสตรกรมการพัฒนาชุมชนและเกิดประโยชนสูงสุดแกประชาชนผูรับบริการ ในขณะเดียวกันกระทรวงมหาดไทยไดดําเนินการจัดทําแผนแมบท ICT ของกระทรวงมหาดไทย พ.ศ. 2552 – 2556 ขึ้นใหสอดคลองกับแผนแมบท ICT ของประเทศไทยฯ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2552 - 2556 เชนกัน โดยปลัดกระทรวงมหาดไทย (นายมานิต วัฒนเสน) มีนโยบายใหแผนแมบทฯ ที่จัดทําขึ้น เกิดจากการเรียนรู และมี ส ว นร ว มของทุ ก กรมและรั ฐ วิ ส าหกิ จ ในสั ง กั ด กระทรวงมหาดไทย และได ม อบหมายให ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สํานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย เปนหนวยประสานการจัดทํา แผนแมบทฯ ผานกระบวนการฝกอบรมเชิงปฏิบัติการ กระบวนการฝกอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อจัดทําแผนแมบท ICT ของกระทรวงมหาดไทย พ.ศ. 2552 – 2556 ดําเนินการในระหวางเดือนธันวาคม พ.ศ. 2552 - มีนาคม พ.ศ. 2553 ภายใตการนําของ ดร.พิสัณห นุนเกลี้ยง และทีมงานจาก Harvard Asia Consulting : HAC โดยมีผูแทนจากทุกกรมและรัฐวิสาหกิจในสังกัด กระทรวงมหาดไทยซึ่ ง เป น คณะทํ า งานยกร า งแผนแม บ ทเทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่ อ สารของ กระทรวงมหาดไทย พ.ศ. 2552 - 2556 เข า ร ว มกิ จ กรรมดั ง กล า ว และได จั ด การประชุ ม สั ม มนาเพื่ อ ให ผูมีสวนไดสวนเสียแสดงความคิดเห็นเพื่อปรับปรุงรางแผนแมบทฯ เมื่อวันที่ 29 เมษายน 2553 หลังจากนั้น คณะทํางานยกรางแผนแมบทฯ ไดนําความคิดเห็นของผูมีสวนไดสวนเสียไปปรับปรุงรางแผนแมบทฯ และ นํ า เสนอต อ ที่ ป ระชุ ม คณะกรรมการจั ด ทํ า แผนแม บ ทเทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่ อ สารของ กระทรวงมหาดไทย พ.ศ. 2552 - 2556 เมื่อวันที่ 18 มิถุนายน 2553 ซึ่งที่ประชุมฯ ไดมีมติเห็นชอบให นํารางแผนแมบทฯ เสนอตอปลัดกระทรวงมหาดไทยใหความเห็นชอบและประกาศใช ซึ่งกระทรวงมหาดไทย แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกรมการพัฒนาชุมชน พ.ศ. 2552 – 2556 (ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1)


2

ไดประกาศใชเมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม 2553 และไดใหสวนราชการและรัฐวิสาหกิจในสังกัดนําไปพิจารณา ปรับปรุงแผนแมบท ICT ของแตละหนวยงานใหสอดคลองรองรับกับแผนแมบทดังกลาว เพื่อใหระบบ ICT มีประสิทธิภาพสูงสุดในการสนับสนุนใหภารกิจของหนวยงานสามารถสรางประโยชนสูงสุดแกประชาชนตอไป ดังนั้น กรมการพัฒนาชุมชน จึงตองนําแผนแมบท ICT ของกรมการพัฒนาชุมชน พ.ศ. 2553 – 2556 ซึ่ ง ได จั ดทํ า แล ว เสร็จ ในป พ.ศ. 2552 มาปรั บ ปรุ ง ให ส อดคล องกับ แผนแมบ ทเทคโนโลยีส ารสนเทศและ การสื่อสารของกระทรวงมหาดไทย พ.ศ. 2552 – 2556 โดยเนื้อหาสาระที่สําคัญ ดังนี้ ¾ การวิ เ คราะห ค วามจํ า เปน ในการพั ฒ นาระบบ ICT ของกรมการพั ฒ นาชุ ม ชน ประกอบดวย 1) การพัฒนา ICT เพื่อการสนองตอบตอนโยบายภายใน 2) การพัฒนา ICT เพื่อการสนองตอบ ตอนโยบายภายนอกที่เกี่ยวของ 3) การพัฒนา ICT เพื่อการสนองตอบตอผูที่มีสวนไดสวนเสียภายใน และ 4) การพัฒนา ICT เพื่อการสนองตอบตอผูที่มีสวนไดสวนเสียภายนอก ¾ การวิเคราะหสถานภาพดาน ICT ของกรมการพัฒนาชุมชน เปนการวิเคราะหความตองการ เพื่อการพัฒนาระบบ ICT กรมการพัฒนาชุมชน ประกอบดวย การวิเคราะหสภาพการณของการบริหารจัดการ ทรัพยากรดาน ICT 4 ดาน คือ ดานบุคลากร (Man) ดานการเงิน (Money) ดานวัสดุอุปกรณ ขอมูลและ สารสนเทศ (Material) และดานการจัดการ (Management) และการวิเคราะหสภาวะแวดลอม (SWOT Analysis) เพื่อประเมินศักยภาพทางยุทธศาสตรการพัฒนาของแผนแมบท ICT กรมการพัฒนาชุมชน ¾ แผนยุทธศาสตรและทิศทางการพัฒนาตามแผนแมบท ICT ของกรมการพัฒนาชุมชน ประกอบดวย วิสัยทัศน จุดยืนของวิสัยทัศน พันธกิจ ยุทธศาสตร เปาประสงค เปาหมาย ตัวชี้วัดเปาหมาย ผลผลิต ตัวชี้วัดผลผลิต มาตรการ แผนงาน โครงการพัฒนาระบบ ICT ของกรมการพัฒนาชุมชน ¾ การแปลงยุ ท ธศาสตร สู ก ารปฏิ บั ติ และ การติ ด ตามผล เป น การเสนอรายละเอี ย ดเพื่ อ เสริมสรางความเขาใจในแผนยุทธศาสตรการพัฒนาระบบ ICT พรอมกําหนดแนวทางในการบริหารจัดการเพื่อ แปลงแผนไปสูการปฏิบัติอยางเปนรูปธรรม รวมทั้งระบบและกลไกการติดตามประเมินผลใหสอดคลองกับ แนวทางการพัฒนาในแตละยุทธศาสตร

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกรมการพัฒนาชุมชน พ.ศ. 2552 – 2556 (ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1)


3

บทที่ 1 การวิเคราะหความจําเปนในการพัฒนาระบบ ICT ของกรมการพัฒนาชุมชน การวิเคราะหความจําเปนในการพัฒนาระบบ ICT ของกรมการพัฒนาชุมชน ประกอบดวย n การพัฒนา ICT เพื่อการสนองตอบตอนโยบายภายใน o การพัฒนา ICT เพื่อการสนองตอบตอนโยบายภายนอกที่เกี่ยวของ p การพัฒนา ICT เพื่อการสนองตอบตอผูที่มีสวนไดสวนเสียภายใน q การพัฒนา ICT เพื่อการสนองตอบตอผูที่มีสวนไดสวนเสียภายนอก โดยมีรายละเอียดดังนี้

n การพัฒนา ICT เพื่อการสนองตอบตอนโยบายภายใน ประเด็นที่นํามาวิเคราะหความจําเปนในการพัฒนาระบบ ICT เพื่อสนองตอบตอนโยบายภายในของ กรมการพัฒนาชุมชนที่สําคัญมี 3 ประการ คือ (1) ภารกิจและอํานาจหน าที่ของกรมการพัฒนาชุมชน (2) นโยบายดานสารสนเทศของกรมการพัฒนาชุมชน และ (3) ยุทธศาสตรและแผนปฏิบัติราชการ 4 ป ของ กรมการพัฒนาชุมชน (2551 – 2554 ) ซึ่งแตละประเด็นมีสาระสําคัญดังนี้ (1) ภารกิจและอํานาจหนาทีข่ องกรมการพัฒนาชุมชน ตามกฏกระทรวงแบง ส ว นราชการกรมการพัฒ นาชุม ชน กระทรวงมหาดไทย พ.ศ. 2552 ไดกําหนดใหกรมการพัฒนาชุมชนมีภารกิจเกี่ยวกับการสงเสริมกระบวนการเรียนรู และการมีสวนรวมของ ประชาชน สงเสริมและพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนฐานรากใหมีความมั่นคงและมีเสถียรภาพ โดยสนับสนุนใหมี การจัดทําและใชประโยชนของขอมูลสารสนเทศ ศึกษา วิเคราะห วิจัย จัดทํายุทธศาสตรชุมชน ตลอดจน การฝ ก อบรมและพั ฒ นาบุ ค ลากรที่ เ กี่ ย วข อ งในการพั ฒ นาชุ ม ชน เพื่ อ ให เ ป น ชุ ม ชนเข ม แข็ ง อย า งยั่ ง ยื น โดยมีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้ 1) กําหนดนโยบาย ยุทธศาสตร มาตรการและแนวทางในการพัฒนาชุมชนระดับชาติเพื่อให หนวยงานของรัฐ เอกชน และผูมีสวนเกี่ยวของดานการพัฒนาชุมชน ไดใชเปนกรอบแนวทางในการดําเนินงาน เพื่อเสริมสรางความสามารถและความเขมแข็งของชุมชน 2) จัดทําและพัฒนาระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน เพื่อใชเปนเครื่องมือสําหรับประเมิน ความกาวหนาและมาตรฐานการพัฒนาของขุมชน

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกรมการพัฒนาชุมชน พ.ศ. 2552 – 2556 (ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1)


4

3) พัฒนาระบบและกลไกในการสงเสริมกระบวนการเรียนรู การจัดการความรู การอาชีพ การออม และ การบริหารจัดการเงินทุนของชุมชน เพื่อเสริมสรางขีดความสามารถของประชาชน ชุมชน องคการชุมชน และเครือขายองคการชุมชน 4) สนับสนุนและพัฒนาระบบขอมูลสารสนเทศชุมชน สงเสริมการใชประโยชนและ การใหบริการขอมูลสารสนเทศชุมชน เพื่อใชในการวางแผนบริหารการพัฒนาไดอยางมีประสิทธิภาพ 5) ศึกษา วิเคราะห วิจัย พัฒนาและสรางองคความรูเพื่อใชในงานพัฒนาชุมชน และการจัดทํายุทธศาสตรชุมชน 6) ฝกอบรมและพัฒนาขาราชการ เจาหนาที่ที่เกี่ยวของ ผูนําชุมชน องคการชุมชน และ เครือขายองคการชุมชนใหมีความรู ทักษะ ทัศนคติ และสมรรถนะในการทํางาน รวมทั้งใหความรวมมือ ทางวิชาการดานการพัฒนาชุมชนแกหนวยงานทั้งในประเทศและตางประเทศ 7) ปฏิบัติการอื่นใดตามที่กฏหมายกําหนดใหเปนอํานาจหนาที่ของกรม หรือตามที่กระทรวง หรือคณะรัฐมนตรีมอบหมาย (2) นโยบายดานสารสนเทศของกรมการพัฒนาชุมชน ผูบริหารระดับสูงของกรมการพัฒนาชุมชน ไดกําหนดแนวนโยบายเพื่อการพัฒนาระบบ ICT ของ กรมการพัฒนาชุมชนเปนแนวปฏิบัติใหกับหนวยงานในสังกัด 4 ประการ ดังนี้ 1) ใชประโยชนจากระบบ ICT ที่มีอยูใหเกิดประโยชนและคุมคาสูงสุด 2) คิดคนนวัตกรรม ICT มาสนับสนุนการดําเนินงาน เพื่อลดคาใชจายในการบริหารจัดการและ การบริการประชาชน 3) สงเสริมใหใช Software แบบเปด (Open Source) ตามนโยบาย ICT ระดับชาติ 4) สงเสริมบุคลากรใหมีวัฒนธรรมการใช ICT ที่ถูกตองตามกฎหมาย (3) ยุทธศาสตรและแผนปฏิบัติราชการ 4 ป ของกรมการพัฒนาชุมชน (2551 – 2554 ) กรมการพัฒนาชุมชนกําหนดวิสัยทัศนไวในยุทธศาสตรกรมการพัฒนาชุมชน พ.ศ. 2551 – 2554 วา “กรมการพัฒนาชุมชนเปนหนวยงานหลักในการสงเสริมการบริหารจัดการชุมชนใหเขมแข็งอยาง ยั่ ง ยื น ” โดยเป น การดํ า เนิ น งานภายใต 3 พั น ธกิ จ คื อ สร า งพลั ง ชุ ม ชน สร า งระบบจั ด การความรู สรางระบบบริหารจัดการชุมชน เพื่อไปสูเปาหมายใหชุมชนเขมแข็ง ประชาชนพึ่งตนเองได ครอบครัว มีคุณภาพชีวิตดี มีความสุข โดยไดกําหนดประเด็นยุทธศาสตรเพื่อขับเคลื่อนใหการดําเนินงานบรรลุตาม วิสัยทัศนไว 6 ประเด็น ไดแก

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกรมการพัฒนาชุมชน พ.ศ. 2552 – 2556 (ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1)


5

ประเด็นยุทธศาสตรที่ 1 : การพัฒนาทุนชุมชน เปาประสงคสําคัญของยุทธศาสตรการพัฒนาทุนชุมชน คือ เพื่อใหชุมชนมีความมั่นคงดานทุนชุมชน โดยจะดําเนินการผานกลยุทธที่สําคัญ 3 ประการ คือ 1) เสริมสรางความเขมแข็งในการบริหารจัดการเงินทุนชุมชน ใหมีประสิทธิภาพ (Financial) 2) แสวงหาทุนชุมชนและพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการทุนชุมชน (Non -Financial) 3) สงเสริมการบูรณาการทุนชุมชนใหเหมาะสมและเกิดประโยชนกับพื้นที่ ประเด็นยุทธศาสตรที่ 2 : การพัฒนาเศรษฐกิจของชุมชนใหเขมแข็ง ยุ ท ธศาสตร นี้ มี เ ป า ประสงค สํ า คั ญ เพื่ อ ให ป ระชาชนในหมู บ า นมี ค วามมั่ น คงทางเศรษฐกิ จ โดยกําหนดดําเนินการผานกลยุทธหลัก 2 ประการ คือ 1) สงเสริมการผลิตใหไดมาตรฐาน 2) สงเสริมการบริหารผลิตภัณฑ (Product Management) ใหเกิดประโยชนสูงสุด ประเด็นยุทธศาสตรที่ 3 : การเพิ่มขีดความสามารถผูนําชุมชน เปาประสงคสําคัญของยุทธศาสตรนี้คือ เพื่อใหผูนําชุมชนมีสมรรถนะในการบริหารจัดการชุมชน ใหเขมแข็งพึ่งตนเองได โดยเปนการดําเนินการผานกลยุทธสําคัญ 2 ประการคือ 1) เพิ่มศักยภาพผูนําชุมชนในการบริหารจัดการแบบมืออาชีพ 2) การเสริมสรางคุณธรรม จริยธรรมผูนําชุมชน ประเด็นยุทธศาสตรที่ 4: การขับเคลื่อนแผนชุมชน ยุทธศาสตรการขับเคลื่อนแผนชุมชน มีเปาประสงคสําคัญเพื่อใหแผนชุมชนมีคุณภาพและมีการ บูรณาการกับแผนอําเภอและแผนจังหวัด โดยเปนการดําเนินการผานกลยุทธสําคัญ 3 ประการ คือ 1) พัฒนากลไกและระบบการขับเคลื่อนแผนชุมชน 2) พัฒนาระบบรับรองมาตรฐานแผนชุมชน 3) พัฒนากระบวนการบูรณาการแผนชุมชน ประเด็นยุทธศาสตรที่ 5: การสงเสริมการจัดการความรูข องชุมชน เปาประสงคสําคัญของยุทธศาสตรการสงเสริมการจัดการความรูของชุมชน คือ เพื่อใหชุมชนสามารถ บริหารจัดการความรูอยางมีประสิทธิภาพ โดยมีกลยุทธสําคัญในการดําเนินการเพื่อใหบรรลุเปาประสงค ดังกลาว 2 ประการ คือ 1) สงเสริมกระบวนการจัดการความรูของชุมชน 2) เสริมสรางศักยภาพการจัดการความรูชุมชน แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกรมการพัฒนาชุมชน พ.ศ. 2552 – 2556 (ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1)


6

ประเด็นยุทธศาสตรที่ 6: การเสริมสรางขีดสมรรถนะองคกร ยุทธศาสตรนี้ มีเปา ประสงคสําคัญ 2 ประการ คือ ประชาชนในชุมชนและผูมีสวนไดสวนเสีย มีความพึงพอใจในการใหบริการของกรมการพัฒนาชุมชน และองคกรมีขีดสมรรถนะสูง เกง และ ดี โดยเปนการดําเนินการผานกลยุทธสําคัญ 4 ประการ ไดแก 1) พัฒนาสมรรถนะบุคลากรใหมีความเชี่ยวชาญการขับเคลื่อนยุทธศาสตร 2) พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหารยุทธศาสตร 3) วิจัยและพัฒนาองคความรูดานการพัฒนาชุมชน 4) สรางคลังความรูดานการพัฒนาชุมชน ซึ่งจากการวิเคราะหยุทธศาสตรและแผนปฏิบัติราชการ 4 ป ของกรมการพัฒนาชุมชน ( 2551 – 2554 ) พบวา สาระสําคัญเปนการกําหนดกรอบยุทธศาสตรเพื่อสงเสริมการบริหารจัดการชุมชนอยางเปนระบบ ภายใตกรอบความคิดที่มุงเนนการพัฒนาโดยมี “คน” เปนศูนยกลาง ในบริบทการบริหารราชการแนวใหม ที่มุงเนนผลสัมฤทธิ์ของการปฏิบัติงาน รวมทั้งการปรับเปลี่ยนอยางรวดเร็ว ทั้งดานสังคม เศรษฐกิจ การเมือง ความตองการของผูรับบริการ และผูมีสวนไดสวนเสีย รวมถึงภารกิจตามที่กฎหมายกําหนด กรมการพัฒนา ชุมชน จึงตองเรงพัฒนาองคกรไปสูการเปนองคกรที่มีขีดสมรรถนะสูง (High Performance Organization: HPO) ซึ่งหมายถึง ตองมีความสามารถในการบริหารการเปลี่ยนแปลงไดอยางเทาทัน เปนองคการแหง นวัตกรรม สามารถบริหารยุทธศาสตรไดอยางมีประสิทธิภาพ ผลการดําเนินงานขององคกรเปนไปตามพันธกิจ อยางเปนเลิศ พรอมทั้งนําไปสูการบรรลุวิสัยทัศนที่กําหนด ทั้ ง นี้ เมื่ อ ได วิ เ คราะห ค วามจํ า เป น จากทั้ ง 3 ประเด็ น สํ า คั ญ ข า งต น ผ า นกระบวนการกลั่ น กรอง ความจําเปนทางยุทธศาสตร โดยคํานึงถึงความสําคัญตอภารกิจ ความเรงดวน และผลกระทบตอลูกคาหลัก เพื่อใหไดจุดยืนของการพัฒนาเพื่อใชเปนการกําหนดทิศทางของการพัฒนาของแผนแมบท ICT ของกรมการ พัฒนาชุมชน พบวา การพัฒนา ICT เพื่อสนองตอบตอนโยบายภายในมีสาระสําคัญดังนี้ 1) พัฒนาโครงสรางพื้นฐานดาน ICT โดยมุงเนนการบํารุงรักษาและพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน ดาน ICT ทั้ง Hardware Software และ Network ของหนวยงานสังกัดกรมการพัฒนาชุมชนทั้งในสวนกลาง และสวนภูมิภาคใหมีประสิทธิภาพสูงเพียงพอที่จะรองรับภารกิจและการพัฒนาไปสูองคกรที่มีสมรรถนะสูงของ กรมการพัฒนาชุมชน เชน ระบบเครือขาย ICT ระบบการปองกันไวรัสคอมพิวเตอร ระบบการใหบริการผาน เว็บไซต ระบบสํานักงานอัตโนมัติ (Office Automation) ระบบจดหมายอิเล็กทรอนิกส (e-mail) ระบบการ ถายทอดสดและรายการ TV ผานระบบ Internet (TV พช) การประชุมทางไกลผานระบบ Internet ใหสามารถ ใชประโยชนไดอยางคุมคาและเต็มประสิทธิภาพ

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกรมการพัฒนาชุมชน พ.ศ. 2552 – 2556 (ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1)


7

2) พัฒนาระบบขอมูลสารสนเทศเพื่อการบริหารยุทธศาสตรกรมการพัฒนาชุมชน เปนการ พัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจของผูบริหาร เชน ระบบรายงานกิจกรรมตามยุทธศาสตรกรมการ พัฒนาชุมชน ระบบการรายงานผลการปฏิบัติงานและการใชจายงบประมาณ (สงป.) ระบบรายงานผลการ ปฏิบัติราชการตามคํารับรองการปฏิบัติราชการกรมการพัฒนาชุมชนประจําป (PA) ระบบรายงานขอมูล คํารับรองการปฏิบัติราชการระดับหนวยงาน (IPA) ระบบการจัดการความรูขององคกร เปนตน 3) พั ฒ นาระบบข อ มู ล สารสนเทศเพื่ อ การพั ฒ นาชุ ม ชน โดยเป น การพั ฒ นาระบบข อ มู ล สารสนเทศที่สําคัญและจําเปนในการบริหารงานพัฒนาชุมชน ไดแก 3.1) ระบบฐานขอมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน เปนการพัฒนาระบบฐานขอมูลที่สําคัญและจําเปน ในการบริหารงานพัฒนาชุมชน ไดแก ขอมูลความจําเปนพื้นฐาน (จปฐ.) ขอมูลพื้นฐานระดับหมูบาน (กชช. 2 ค) หมูบานเศรษฐกิจพอเพียง แผนชุมชน มาตรฐานการพัฒนาชุมชน ศูนยเรียนรูชุมชน สินคาหนึ่งตําบล หนึ่งผลิตภัณฑ (OTOP) กลุมอาชีพ กลุมออมทรัพยเพื่อการผลิต เปนตน 3.2) ระบบขอมูลสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการทุนชุมชน ทั้ง 5 ดาน คือ ทุนมนุษย (Human Capital) ทุนสังคม (Social Capital) ทุนกายภาพ (Physical Capital) ทุนธรรมชาติ (Natural Capital) และ ทุนการเงิน (Financial Capital) ทั้งนี้ ในระยะแรกควรเปนการใชประโยชนจากฐานขอมูลสําคัญที่กรมการพัฒนา ชุมชนมีอยู ไดแก ขอมูลความจําเปนพื้นฐาน (จปฐ.) ขอมูลพื้นฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค) กลุมออมทรัพย เพื่อการผลิต และหากจําเปนจึงเพิ่มเติมขอมูลอื่น ๆ ที่เห็นวาสําคัญและเกี่ยวของแลวนําขอมูลมาจัดหมวดหมูเปน ทุนชุมชนในแตละดาน เพื่อใหเห็นศักยภาพของทุนชุมชนในแตละพื้นที่และนําไปใชประโยชนในการบริหารจัดการ ชุมชนใหเขมแข็งตอไป 3.3) ระบบขอมูลสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการเศรษฐกิจชุมชน เพื่อยกระดับศักยภาพ การแขงขันทางเศรษฐกิจของชุมชน โดยการเผยแพรประชาสัมพันธสินคาหนึ่งตําบล หนึ่งผลิตภัณฑ (OTOP) ผานทางเว็บไซต และสงเสริมการทํา e-commerce ใหกับสินคา OTOP เพื่อสนับสนุนการนําภูมิปญญาไทย และวัฒนธรรมทองถิ่นมาใชในการสรางสรรคคุณคาของสินคาและบริการที่มีโอกาสทางการตลาดสูง โดยการ ตอยอด ขยายผลในเชิงพาณิชยจากโครงสรางพื้นฐานดาน ICT ที่มีอยู 3.4) พัฒนาระบบขอมูลสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการชุมชน เพื่อใหชุมชนรูจักใช ขอมูลที่มีใหเกิดประโยชนและเรียนรูที่จะพัฒนาชุมชนบนฐานขอมูลชุมชนที่แทจริงและนําขอมูลชุมชนมาจัดทํา ยุทธศาสตรการพัฒนาที่เหมาะสมกับชุมชน เปนการสรางความเขมแข็งใหชุมชนอยางยั่งยืน ทั้งนี้ ระบบ ดัง กล า วอาจประกอบด ว ยการจั ด ทํ า ระบบข อ มู ล สารสนเทศเพื่ อ สนั บ สนุ น การขั บ เคลื่ อ นแผนชุ ม ชนให มี ประสิทธิภาพ มีมาตรฐานและการบูรณาการแผนชุมชนสูระดับอําเภอและจังหวัด 3.5) พัฒนาระบบ e - learning เพื่อเพิ่มขีดความสามารถของผูนําชุมชนใหไดเรียนรูเพื่อเพิ่ม ศักยภาพในการบริหารจัดการชุมชนแบบมืออาชีพ แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกรมการพัฒนาชุมชน พ.ศ. 2552 – 2556 (ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1)


8

3.6) สงเสริมการนําระบบ ICT มาใชในการจัดการความรูของชุมชน เปนการพัฒนาการ เรียนรู ICT นอกระบบ เพื่อสนับสนุนการเรียนรูตลอดชีวิตของชุมชน โดยพัฒนาจากศูนยเรียนรูชุมชนใหเปน แหลงเรียนรู ICT ชุมชนที่มีสื่ออิเล็กทรอนิกสอยางหลากหลายและมีการใหบริการฝกอบรมแกผูใชบริการตาม ความเหมาะสม และ 2) การพัฒนาเว็บทา (Portal) เพื่ออํานวยความสะดวกในการเขาถึง แหลงความรู/ขอมูล ที่จะเปนประโยชนแกอาชีพและการดํารงชีวิตประจําวันแกประชาชน โดยสวนหนึ่งจะเปนขอมูลกลางที่ใชไดกับ ทุกแหง ทุกพื้นที่และสวนหนึ่งเปนขอมูลทองถิ่น ทั้งนี้ ใหใชกระบวนการมีสวนรวมระหวางชุมชนกับภาครัฐ ภาคเอกชนและ/หรือองคกรปกครองทองถิ่นระดับตางๆ เปนกลไกในการดําเนินงานเพื่อจัดการความรูของชุมชน 4) พัฒนาบุคลากร โดยมุงเนนการพัฒนาบุคลากรเปน 2 ประเภท ไดแก 4.1) พัฒนาบุคลากรดาน ICT ใหเปนผูเชี่ยวชาญดาน ICT (ICT Professional) โดยเสริมสราง ประสิทธิภาพใหมีขีดความสามารถทางดานการวิจัยและพัฒนาเพื่อสรางนวัตกรรม ICT ที่สอดคลองกับภารกิจ ของกรมการพัฒนาชุมชน รวมทั้งสามารถบํารุงรักษาและพัฒนาระบบ ICT ที่มีอยูแลวใหใชประโยชนไดอยาง เต็มประสิทธิภาพ 4.2) พัฒนาบุคลากรทั่วไป ใหสามารถใชประโยชนจากระบบ ICT ที่มีอยูใหเกิดประโยชน และคุมคาสูงสุด 5) สงเสริมวัฒนธรรมการใช ICT ที่ถูกตองตามกฎหมาย โดยสงเสริมใหบุคลากรกรมการพัฒนา ชุมชนมีวัฒนธรรมการใช ICT ที่ถูกตอง รวมทั้งสนับสนุนใหบุคลากรใช Software แบบเปด (Open Source) แทน Software ลิขสิทธิ์ เพื่อลดงบประมาณในการซื้อลิขสิทธิ์ Software จากการศึ ก ษา วิ เ คราะห และกลั่ น กรองความจํ า เป น ทางยุ ท ธศาสตร ต ามลํ า ดั บ ความสํ า คั ญ ความเรงดวนและผลกระทบ จึงไดจุดยืนการพัฒนาระบบ ICT ตามนโยบายภายในของกรมการพัฒนา ชุมชนที่แผนแมบท ICT จะยึดเปนจุดยืนหลักสําคัญ ประกอบดวย 3 จุดยืนหลักที่สําคัญที่ตองดําเนินการอยาง เรงดวน คือ • การพัฒนาระบบ ICT ใหมีประสิทธิภาพสูงสามารถรองรับและสนับสนุนการกาวไปสูการ เปนองคกรที่มีสมรรถนะสูง เกง และดี • การบูรณาการระบบขอมูลสารสนเทศเพื่อการบริหารงานพัฒนาชุมชนและระบบขอมูล สารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการชุมชนใหมีประสิทธิภาพ และคุณประโยชนสูงสุดตอการ ใชงาน • การพัฒนาบุคลากรดาน ICT บุคลากรทั่วไปและผูนําชุมชนใหมีขีดสมรรถนะดาน ICT สูง และสามารถใชประโยชนจากระบบ ICT ที่มีอยูใหเกิดประโยชนและคุมคาสูงสุด

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกรมการพัฒนาชุมชน พ.ศ. 2552 – 2556 (ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1)


9

o การพัฒนา ICT เพื่อการสนองตอบตอนโยบายภายนอกที่เกี่ยวของ จากการศึกษาพบวา ความจําเปนทางยุทธศาสตร (SN) ที่มาจากความตองการเชิงนโยบาย (Policy Need) ในสวนที่เปนนโยบายภายนอก พบวาแผนแมบท ICT ของกรมการพัฒนาชุมชนมีหนวยงานเชิงนโยบาย ที่เขามาเกี่ยวของ และมีความจําเปนที่การพัฒนาดาน ICT จะตองนํานโยบายดังกลาวสูการปฏิบัติมีหลาย นโยบาย ไดแก แผนบริหารราชการแผนดิน พ.ศ. 2552 – 2554 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 10 แผนแมบท ICT ของประเทศไทย (ฉบับที่ 2) และ แผนแมบท ICT ของกระทรวงมหาดไทย พ.ศ. 2552 – 2556 ดังแสดงรายละเอียดในขั้นตอนดังนี้

จุดยืนการพัฒนาของแผนแมบท ICT กรมการพัฒนาชุมชน ตามนโยบายภายนอกที่เกี่ยวของ

หลักเกณฑในการวิเคราะห 1. ความสําคัญของความจําเปนทางยุทธศาสตรตอภารกิจการดําเนินงานของกรมการพัฒนาชุมชน 2. ความจําเปนเรงดวนของความจําเปนทางยุทธศาสตร รวมทั้งความสําคัญของปญหา 3. ผลกระทบของความจําเปนทางยุทธศาสตรตอลูกคาหรือผูมีสวนไดสวนเสีย (Stakeholder)

แผนการบริหารราชการแผนดิน พ.ศ. 2552 - 2554

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 10

แผนแมบท ICT ของประเทศไทย (ฉบับที่ 2)

แผนแมบท ICT ของกระทรวงมหาดไทย พ. ศ. 2552 – 2556

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกรมการพัฒนาชุมชน พ.ศ. 2552 – 2556 (ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1)


10

(1) แผนการบริหารราชการแผนดิน พ.ศ.2552-2554 จากการศึกษาวิเคราะหพบวาประเด็นความตองการเชิงนโยบายที่กระทรวงมหาดไทยจะตอง นํามาปฏิบัติในแผนแมบท ICT เพื่อใหสอดคลองกับแผนการบริหารราชการแผนดิน พ.ศ.2552-2554 (ประกาศ ในราชกิจจานุเบกษาวันที่ 12 พฤศจิกายน 2551) ประกอบดวยความจําเปน ดังตอไปนี้ 1) 2) 3) 4)

พัฒนาโครงขายสื่อสารความเร็วสูง โดยสรางโครงขายโทรศัพทเคลื่อนที่ยุคที่ 3 ยกระดับคุณภาพการศึกษาทั้งระบบ โดยใชเทคโนโลยีสารสนเทศเปนสื่อในการเรียนการสอน สงเสริมการนําเทคโนโลยีสารสนเทศมาใชในการเพิ่มประสิทธิภาพการเรียนรูอยางจริงจัง เสริมสรางและพัฒนาโครงการสรางพื้นฐานดานเทคโนโลยีสารสนเทศ การสื่อสารและ โทรคมนาคมเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันของประเทศ 5) พัฒนาศักยภาพและพัฒนาอุตสาหกรรมดานเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อสรางมูลคาเพิ่ม ทางเศรษฐกิจ และเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันของประเทศ 6) นํา ICT มาใชในการบริหารและบริการภาครัฐ อยางมีประสิทธิภาพและทั่วถึง 7) การพัฒนาเทคโนโลยีในกระแสโลกาภิวัฒน 8) กําหนดแนวทาง Integrated Approach เปนการวางแผนในเชิงการมองอนาคต(Foresight) มีคนและขอมูลสารสนเทศเปนศูนยกลาง 9) พัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่องความมั่นคงปลอดภัยของระบบสารสนเทศ (IT Security) 10) พัฒนากลไกและระบบเครือขายขอมูลพิบัติภัยเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการ 11) ปรับปรุงใหบริการประชาชน ดวยการสรางนวัตกรรมโดยการนําเทคโนโลยีใหม ๆ มาใช

(2) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 10 จากการศึกษาวิเคราะห ประกอบดวยความจําเปน ดังตอไปนี้ 1) พัฒนาคุณภาพคนและสังคมไทยสูสังคมแหงภูมิปญญาและการเรียนรู 2) พัฒนาการบริหารจัดการองคความรูและระบบบการเรียนรูสูชุมชน 3) การปรับโครงสรางเศรษฐกิจเพื่อเพิม่ ผลิตภาพและคุณคาของสินคาและบริการ บนฐานความรูอยางเปนระบบ 4) การใชเทคโนโลยีที่เหมาะสมตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง (3) แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 2) ของประเทศไทย พ.ศ.2552-2556 จากการศึกษาวิเคราะห ประกอบดวยความจําเปน ดังตอไปนี้ 1) สงเสริมใหการศึกษาในระบบทุกระดับโดยนํา ICT มาใชเปนเครื่องมือในการเรียนการสอน 2) พัฒนาความรูและทักษะดาน ICT แกบุคลากรภาครัฐ แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกรมการพัฒนาชุมชน พ.ศ. 2552 – 2556 (ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1)


11

3) พัฒนาการเรียนรู ICT นอกระบบ เพื่อสนับสนุนการเรียนรูสูทองถิ่น 4) พัฒนาระบบฐานขอมูลกําลังคนดาน ICT อยางบูรณาการ 5) ปรับปรุงระบบฐานขอมูลตัวชี้วัดสถานภาพการพัฒนา ICT ของประเทศ เพื่อสนับสนุน การติดตามประเมินผลการพัฒนา ICT 6) สรางความเขมแข็งของหนวยงานกลางที่รับผิดชอบการผลักดันการใช ICT ในการบริหาร และบริการของภาครัฐ 7) ยกระดับขีดความสามารรถในการแขงขันของอุตสาหกรรม ICT เพื่อสรางมูลคา ทางเศรษฐกิจ (4) แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกระทรวงมหาดไทย พ.ศ. 2552 – 2556 จากการศึกษาวิเคราะห ประกอบดวยความจําเปน ดังตอไปนี้ ยุทธศาสตรที่ 1 การบริหารจัดการระบบ ICT อยางมีธรรมาภิบาลและเปนสากล 1) บูรณาการเชื่อมโยงระบบ ICT กับหนวยงานที่เกี่ยวของทั้งภายในและภายนอกอยางเปนระบบ เอื้อตอการบริหารและการพัฒนาประเทศ 2) พัฒนาการบริหารจัดการระบบ ICT อยางมีธรรมภิบาลและเปนสากล 3) ใชทรัพยากรดาน ICT อยางมีประสิทธิภาพสูงสุดเกิดความคุมคาและมูลคาเพิ่มแกประชาชน และประเทศชาติ 4) พัฒนาเปนหนวยงานอิเล็คทรอนิกสสมบูรณแบบ ยุทธศาสตรการพัฒนาที่ 2. การใช ICTเพื่อการพัฒนาสูสังคมอุดมปญญาและ เพิ่มศักยภาพทางการแขงขันของประเทศ 5) พัฒนาระบบ ICT เพื่อสนับสนุนการเปนศูนยกลางการเรียนรู และปญญาที่มีคุณภาพของ ประเทศเพื่อสงเสริมการพัฒนาสูสังคมอุดมปญญา 6) พัฒนาระบบ ICT ใหมีประสิทธิภาพ เพื่อเปนกลไกสําคัญในการเสริมสรางความเขมแข็ง ศักยภาพการแขงขัน และความอยูดีมีสุขของชุมชน ยุทธศาสตรการพัฒนาที่ 3. การพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน ICT 7) พัฒ นาระบบโครงสรา งพื้น ฐานดา น ICT ให มี ม าตรฐาน มี ค วามมั่น คงปลอดภัย ในการ แลกเปลี่ยนขอมูลระหวางหนวยงาน มีความทันสมัยและรวดเร็วทันตอความเปลี่ยนแปลงของ สังคมโลก สามารถรองรับกับการขยายตัวของการใหบริการและตอบสนองตอความตองการ ของหนวยงานที่เกี่ยวของและการพัฒนาประเทศ

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกรมการพัฒนาชุมชน พ.ศ. 2552 – 2556 (ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1)


12

8) พัฒนาศักยภาพโครงขาย ICT ไปสูโครงขายสมัยใหม Next Generation Network (NGN) ที่สามารถบูรณาการการใชงานรวมกันไดอยางทั่วถึง ยุทธศาสตรการพัฒนาที่ 4 การนํา ICT มาเพิ่มประสิทธิภาพการบริการประชาชน 9) พัฒนาระบบการบริการดาน ICT ที่มีคุณภาพ รวดเร็ว ทันสมัย ตอบสนองความตองการ ผูใชบริการ ไดอยางตอเนื่อง ทุกที่ ทุกเวลา โดยมุงเนนประชาชนเปนศูนยกลาง 10) พัฒนาชองทางสําหรับการมีสวนรวมของประชาชน เพื่อการดําเนินงานเชิงนโยบายและการ บริการ หรือการพัฒนาระบบบริการรวมกัน 11) พัฒนาระบบบริการแบบ Single Window ที่มีประสิทธิภาพสูงสามารถใหบริการแบบ ออนไลนแบบสมบูรณแบบ เปนตนแบบการบริการประชาชนของประเทศที่เทียบเคียงได ในระดับสากล ยุทธศาสตรการพัฒนาที่ 5. การพัฒนากําลังคนดาน ICT 12) พัฒนากําลังคนดาน ICT ของกรมการพัฒนาชุมชนใหมีปริมาณเพียงพอและคุณภาพระดับ เชี่ยวชาญที่สอดคลองกับภารกิจและยุทธศาสตรการพัฒนา 13) พัฒนาบุคลากรใหมีความรูความสามารถในการสรางสรรคผลงานและนวัตกรรม เพื่อนําไปสู การบริการประชาชนและการสรางความเปนเลิศของประเทศในบริบทภารกิจ 14) พัฒนาบุคลากรใหมีขีดความสามารถในการใช ICTอยางมีประสิทธิภาพ 15) พัฒนาบุคลากรใหมีคุณธรรม จริยธรรม มีวิจารณญาณ และรูเทาทัน ทั้งนี้ เมื่อไดวิเคราะหความจําเปนจากทั้ง 4 ประเด็นสําคัญขางตนผานกระบวนการกลั่นกรอง ความจําเปนทางยุทธศาสตร โดยคํานึงถึงความสําคัญตอภารกิจ ความเรงดวน และผลกระทบตอลูกคาหลัก เพื่อใหไดจุดยืนของการพัฒนาเพื่อใชเปนการกําหนดทิศทางของการพัฒนาของแผนแมบท ICT ของกรมการ พัฒนาชุมชน พบวา การพัฒนา ICT เพื่อสนองตอบตอนโยบายภายนอก มีสาระสําคัญดังนี้ 1) พัฒนาการบริหารจัดการระบบ ICT อยางมีธรรมาภิบาลและเปนสากล 2) พัฒนาระบบโครงขาย ICT ไปสูโครงขายสมัยใหม Next Generation Network (NGN) ที่สามารถบูรณาการการใชงานรวมกันไดอยางทั่วถึง 3) พัฒนาระบบมาตรฐานการเชื่อมโยงแลกเปลี่ยนขอมูลภาครัฐ 4) พัฒนาระบบความมั่นคงปลอดภัยดานสารสนเทศ (IT Security) 5) พัฒนาระบบ ICT เพื่อเสริมสรางคุณภาพคนและสังคมไทยสูสังคมแหงภูมิปญญาและ การเรียนรู 6) พัฒนาระบบ ICT เพื่อสงเสริมการมีสวนรวมของประชาชน 7) พัฒนาระบบ ICT เพิ่มเสริมสรางศักยภาพในการแขงขันของชุมชน แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกรมการพัฒนาชุมชน พ.ศ. 2552 – 2556 (ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1)


13

8) พัฒนาระบบการใหบริการแบบ Single Window 9) พัฒนาบุคลากรใหสามารถสรางและใชประโยชนจากระบบ ICT ไดอยางมีประสิทธิภาพ จากการวิเคราะหความตองการทางยุทธศาสตร โดยกําหนดหลักเกณฑในการคัดเลือกจุดยืนทาง ยุทธศาสตรทมี่ ีความสําคัญของความจําเปนทางยุทธศาสตรตอภารกิจการดําเนินงานของกรมการพัฒนา ชุมชนความจําเปนเรงดวนของความจําเปนทางยุทธศาสตรดังกลาว รวมทัง้ ความสําคัญของปญหาและ ผลกระทบของความจําเปนทางยุทธศาสตรดังกลาวตอลูกคาหรือผูมีสว นไดสวนเสีย (Stakeholder) ได 3 จุดยืนทีส่ ําคัญเพื่อการสนองตอบตอนโยบายภายนอกที่เกีย่ วของ ดังนี้ • การพัฒนาระบบ ICT ใหมีมาตรฐาน มีความมั่นคงปลอดภัย และเปนสากล • การพัฒนาระบบโครงขาย ICT ไปสูโครงขายสมัยใหม Next Generation Network (NGN) ที่สามารถบูรณาการการใชงานรวมกันไดอยางทั่วถึง • การพัฒนาคุณภาพคนและสังคมไทยสูสังคมแหงภูมิปญญา การเรียนรู และการมี สวนรวม • การพัฒนาการใหบริการแบบ Single Window เพื่อเสริมสรางศักยภาพการแขงขัน ของชุมชนและอํานวยความสะดวกใหกับผูที่เกี่ยวของ p การพัฒนา ICT เพื่อการสนองตอบตอผูที่มีสวนไดสวนเสียภายใน กรมการพัฒนาชุมชนดําเนินการสํารวจความตองการ ของผูที่มีสวนไดสวนเสียภายใน ซึ่งประกอบดวย หนวยงานและบุคลากรภายในของกรม ประเด็นความตองการสําคัญที่ทุกหนวยงานมุงหวังและตองการใหมี การพัฒนาหรือสนองตอบตอผูที่มีสวนไดสวนเสียภายใน ไดแก 1) พัฒนาระบบการการบริหารจัดการ ICT ภายในองคกรตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มีธรรมาภิบาลและเปนสากล 2) พัฒนาระบบการใหบริการดาน ICT ที่เนนการบริการภายในที่ยอดเยี่ยม 3) พัฒนาโครงสรางพื้นฐานดาน ICT ทั้งดาน Hardware Software และ Network ใหมีมาตรฐาน เดียวกันทั้งสวนกลางและสวนภูมิภาค 4) พัฒนาโปรแกรมฐานขอมูลสารสนเทศใหมีมาตรฐานและเสถียร 5) กําหนดใหมีศูนยกลางการเรียนรู (KM) เพื่อพัฒนาความรูของกรมการพัฒนาชุมชน 6). พัฒนาบุคลากรดาน ICT ใหมีความเชี่ยวชาญระดับที่สามารถสรางนวัตกรรมเพื่อการสนองตอบ ตอภารกิจ และยุททธศาสตรการพัฒนาของกรมการพัฒนาชุมชนได 7) ปรับเปลี่ยนทัศนคติเกี่ยวกับประโยชนของการใชงานดาน ICT ตอการปฏิบัติงาน ใหยึดหลักการใช ที่เกิดประโยชนสูงสุด พรอมทั้งพัฒนาบุคลากร เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลง พัฒนาบุคลากร ดาน ICT ใหมีประสิทธิภาพ แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกรมการพัฒนาชุมชน พ.ศ. 2552 – 2556 (ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1)


14

8) พัฒนามาตรฐานระบบ ICT และบุคลากรมหาดไทยไปสูสังคม Online ไดอยางแทจริงเปนรูปธรรม ใหเปนหนวยงาน e-Office ที่สามารถลดปริมาณกระดาษและการเดินทางของบุคลากร เมื่อไดวิเคราะหทั้ง 8 ความตองการ เพื่อกําหนดจุดยืนการพัฒนาระบบ ICT เพื่อตอบสนองผูมีสวนได สวนเสียภายใน สามารถกําหนดจุดยืนทางยุทธศาสตร ได 4 ประเด็น คือ • การพัฒนาระบบการการบริหารจัดการ ICT ภายในองคกรที่ยึดหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง มีธรรมาภิบาล มีมาตรฐานเดียวกันทั้งในสวนกลางและสวน ภูมิภาคและเปนสากล • การพัฒนาระบบการใหบริการดาน ICT ที่เนนการบริการภายในที่ยอดเยี่ยม • การพัฒนาสมรรถนะบุคลากร เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลง ICT • การปรับเปลี่ยนทัศนคติเกี่ยวกับประโยชนของการใชงานดาน ICT ตอการ ปฏิบัติงาน q การพัฒนา ICT เพื่อการสนองตอบตอผูที่มีสวนไดสวนเสียภายนอก กรมการพัฒนาชุมชนไดวิเคราะหความตองการของผูมีสวนไดสวนเสียภายนอกเพื่อจัดทําแผนแมบท เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกรมการพัฒนาชุมชน พ.ศ. 2553 – 2556 ไดสํารวจความตองการ ของผูมีส ว นไดสว นเสี ย (Stakeholder) ภายนอก โดยใช แ บบสอบถาม แบบสัม ภาษณ โดยสอบถามจาก ผูใชประโยชนจากแผนแมบทฉบับนี้ ประกอบดวย 1) กระทรวงมหาดไทยและหน ว ยงานในสั ง กั ด ที่ มี ส ว นร ว มในภารกิ จ เดี ย วกั น มี ค วามต อ งการ สารสนเทศที่อยูในความรับผิดชอบของกรม ฯ เพื่อใชในการวางแผน กําหนดนโยบายดานชุมชน และอื่นๆ หรือ เพื่อแกไขปญหาของชุมชนที่เกิดขึ้นเฉพาะคราว 2) หนวยงานระดับจังหวัดซึ่งถูกกําหนดใหขอมูลเพื่อการกําหนดยุทธศาสตรของจังหวัด และฐานขอมูล ของกรมฯระดับจังหวัดจะมีสวนรวมในการประกอบฐานขอมูลดังกลาว 3) หนวยงานองคกรปกครองสวนทองถิ่น ที่มีความตองการขอมูล จปฐ. กชช.2ค. เพื่อใชในการวางแผน พัฒนาหรือจัดสรรงบประมาณของทองถิ่นที่รับผิดชอบ 4) สถาบันการศึกษา นิสิตนักศึกษา และหนวยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ พบวา มีความตองการที่จะใหระบบ ICT ของกรมการพัฒนาชุมชนสนองตอบในประเด็น ดังนี้ 1) มีระบบรักษาความปลอดภัยของขอมูลและโครงขาย ICTอยางเปนระบบ เพื่อสรางความมั่นใจ ในการใชบริการ 2) ประสิทธิภาพการประสานงานที่เปนเอกภาพ และการสงขอมูลอยางมีประสิทธิภาพ ทันตอเวลา และมีคุณภาพตอการตัดสินใจทางการบริหาร

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกรมการพัฒนาชุมชน พ.ศ. 2552 – 2556 (ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1)


15

3) ตองการใหเพิ่มศักยภาพบุคลากรใหมีทักษะและความชํานาญดาน ICT อยางดี และมีพฤติกรรม การบริการที่ดี 4) ขอมูลและสารสนเทศที่สามารถนําไปใชประโยชนตอภารกิจขององคกร และมีความนาเชื่อถือสูง 5) มีการบูรณาการ สรางเสถียรภาพเครือขายใหครอบคลุมทุกพื้นที่ทั่วประเทศ สามารถรองรับความตองการได 6) เปดโอกาสใหผูที่เกี่ยวของมีสวนรวมในการนําเสนอแนวทางเพื่อการพัฒนาอยางเหมาะสม 7) ผสานเชื่อมโยงและบูรณาการขอมูลอยางเปนระบบโดยมีขอมูลที่ผานการวิเคราะห สังเคราะห เปนสารสนเทศและองคความรูที่สามารถนําไปใชประโยชนได 8) ใหบริการแบบ Single Window Online เพื่อใหประชาชนไดรับประโยชนสูงสุด 9) นําระบบ ICT มาพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน เพิ่มศักยภาพการแขงขันของชุมชน และ เพิ่มศักยภาพทางการแขงขันของประเทศ จากการวิ เคราะห ค วามต อ งการทางยุ ท ธศาสตรข องผูมีส ว นได สว นเสีย (Stakeholder) ภายนอก โดยกลั่นกรองจาก ความสําคัญ ความเรงดวน และผลกระทบ สามารถสรุปจุดยืนเพื่อสนองตอบตอผูมีสวนได สวนเสียภายนอกได 5 ประเด็น ดังนี้ • การสรางความมั่นใจในการใชบริการดวยการมีระบบรักษาความปลอดภัยของขอมูล และโครงขายที่เชื่อถือได • การพัฒนาการใหบริการแบบ Single Window • การเสริมสรางการมีสวนรวมของประชาชนดาน ICT • การเพิ่มศักยภาพและการใชประโยชนดาน ICT ของประชาชน • การพัฒนาทักษะและการใหบริการดาน ICT ที่เปนเลิศใหกับบุคลากรกรมการพัฒนา ชุมชน

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกรมการพัฒนาชุมชน พ.ศ. 2552 – 2556 (ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1)


16

สรุปจุดยืนการพัฒนาระบบ ICT กรมการพัฒนาชุมชน จากการวิ เ คราะห ค วามจํ า เป น ในการพั ฒ นาระบบ ICT ของกรมการพั ฒ นาชุ ม ชน 4 ด า น ซึ่งประกอบดวย 1) การพัฒนา ICT เพื่อการสนองตอบตอนโยบายภายใน 2) การพัฒนา ICT เพื่อการ สนองตอบตอนโยบายภายนอกที่เกี่ยวของ 3) การพัฒนา ICT เพื่อการสนองตอบตอผูที่มีสวนไดสวนเสีย ภายใน และ 4) การพัฒนา ICT เพื่อการสนองตอบตอผูที่มีสวนไดสวนเสียภายนอก สามารถสรุปจุดยืนทาง ยุทธศาสตรการพัฒนาระบบ ICT กรมการพัฒนาชุมชน ได 8 ประการ ดังนี้ (1) การพัฒนาระบบ ICT ใหมีประสิทธิภาพสูง มีการใหบริการที่เปนเลิศ สามารถรองรับและ สนับสนุนการกาวไปสูการเปนองคกรที่มีสมรรถนะสูง เกง และดี (2) การพัฒนาระบบ ICT ใหมีมาตรฐานสากลทั้งในสวนกลางและสวนภูมิภาคและมีความ มั่นคงปลอดภัย เชื่อถือได (3) การพัฒนาระบบโครงขาย ICT ไปสูโครงขายสมัยใหม Next Generation Network (NGN) ที่สามารถบูรณาการการใชงานรวมกันไดอยางทั่วถึง (4) การพัฒนาระบบการการบริหารจัดการ ICT ภายในองคกรที่ยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียงและธรรมาภิบาล (5) การบูรณาการระบบขอมูลสารสนเทศเพื่อการบริหารงานพัฒนาชุมชนและระบบขอมูล สารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการชุมชนใหมีประสิทธิภาพ และคุณประโยชนสูงสุดตอ การใชงาน (6) การพัฒนาคุณภาพคนและสังคมไทยสูสังคมแหงภูมิปญญา การเรียนรู และการมีสวนรวม ดวยระบบ ICT (7) การพัฒนาการใหบริการแบบ Single Window เพื่อเสริมสรางศักยภาพการแขงขันของชุมชน และอํานวยความสะดวกใหกับผูที่เกี่ยวของ (8) การพัฒนาบุคลากรดาน ICT บุคลากรทั่วไปและผูนําชุมชนใหมีขีดสมรรถนะดาน ICT สูง สามารถใชประโยชนจากระบบ ICT ที่มีอยูใหเกิดประโยชนคุมคาสูงสุด รองรับการ เปลี่ยนแปลงของระบบ ICT ไดอยางรูเทาทัน และมีทักษะการใหบริการที่เปนเลิศ

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกรมการพัฒนาชุมชน พ.ศ. 2552 – 2556 (ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1)


17

บทที่ 2 การวิเคราะหสถานภาพดาน ICT ของกรมการพัฒนาชุมชน การวิเคราะหสถานภาพดาน ICT ของกรมการพัฒนาชุมชน เปนการวิเคราะหความตองการเพื่อพัฒนา ระบบ ICT กรมการพัฒนาชุมชน ประกอบดวย การวิเคราะหสภาพการณของการบริหารจัดการทรัพยากรดาน ICT 4 ดาน คือ 1) ดานบุคลากร (Man) 2) ดานการเงิน (Money) 3) ดานวัสดุอุปกรณ ขอมูลและสารสนเทศ (Material) 4) ดานการจัดการ (Management) และการประเมินศักยภาพทางยุทธศาสตรการพัฒนาของ แผนแมบท ICT กรมการพัฒนาชุมชน โดยการวิเคราะหสภาวะแวดลอม SWOT Analysis เพื่อนํามากําหนด ทิศทางการพัฒนาระบบงานการบริหารจัดการ ICT ของกรมการพัฒนาชุมชน ผลการวิเคราะหดังกลาว มีสาระสําคัญดังนี้ n การวิเคราะหสภาพการณของการบริหารจัดการทรัพยากรดาน ICT (1) ดานบุคลากร (Man) 1) ปจจุบันกรมการพัฒนาชุมชนมีนักวิชาการคอมพิวเตอร จํานวน 22 คน จําแนกเปนขาราชการ 7 คน และพนักงานราชการทั้งในสวนกลางและสวนภูมิภาค จํานวน 15 คน ซึ่งบุคลากรเหลานี้ทําหนาที่ รับผิดชอบระบบ ICT และบุคลากรของกรมการพัฒนาชุมชนทั่วประเทศ ซึ่งมีจํานวน 6,207 คน คิดเปนอัตราสวน 1 : 282 คน 2) กรมการพัฒนาชุมชนตั้งกลุมงานสารสนเทศเพื่อการพัฒนาชุมชนขึ้นทุกจังหวัด เพื่อทําหนาที่ รับผิดชอบระบบ ICT ระดับจังหวัด แตการบรรจุผูดํารงตําแหนงยังใชการเกลี่ยอัตรากําลังจาก สวนงานอื่นภายในจังหวัดหรือระหวางจังหวัด ซึ่งเปนตําแหนงพัฒนากรหรือนักวิชาการพัฒนา ชุมชน ซึ่งเปนเพียงผูที่มีความรูความสนใจดานระบบ ICT เปนพิเศษเทานั้น ไมไดเปนผูที่มีความรู ความเชี่ยวชาญดานระบบ ICT อยางแทจริง เพราะบุคลากรในกรมการพัฒนาชุมชนมีผูที่ จบการศึกษาดานวิทยาศาสตรคอมพิวเตอรหรือวิศวะคอมพิวเตอรโดยตรงมีนอยมาก สวนใหญ ศึกษาเลาเรียนดวยตนเอง โดยอาศัยงบประมาณและความสนใจสวนตัว 3) บุคลากรผูปฏิบัติงานระดับอําเภอซึ่งเปนแหลงกําเนิดของขอมูล มีความชํานาญในงานที่ตนเอง ปฏิบัติ คือ งานพัฒนาชุมชน แตไมถนัดงานดานระบบ ICT เพราะสวนใหญไมเคยผานการศึกษา ดานนี้โดยตรง ตองอาศัยเพื่อนรวมงานใหดําเนินการแทนทั้งการบันทึกขอมูลและการจัดสงขอมูล ผานระบบอินเทอรเน็ต ประกอบกับ จํานวนอัตรากําลังระดับอําเภอมีนอย การดําเนินงานดังกลาว จึงกลายเปนภาระหนาที่ของบางคน แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกรมการพัฒนาชุมชน พ.ศ. 2552 – 2556 (ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1)


18

4) กรมการพัฒนาชุมชนไมมีการสรางแรงจูงใจดานเสนทางความกาวหนาในอาชีพ (Career Path) สําหรับบุคลากรดาน ICT เพราะในปจจุบันบุคลากรเหลานี้สามารถเติบโตไดถึงระดับชํานาญการ เทานั้น ถาตองการเจริญกาวหนายิ่งขึ้นตองเปลี่ยนเปนสายงานหลักของกรมการพัฒนาชุมชน คือ นักวิชาการพัฒนาชุมชน ทําใหบุคลากรดานนี้เมื่อทํางานไปไดระยะหนึ่งจะโอนไปทํางาน ในหนวยงานอื่นที่ใหผลตอบแทนที่ดีกวา 4) ระบบ ICT ที่นํามาประยุกตใชในองคกรมีความหลากหลาย แตบุคลากรไดรับการฝกอบรมไมทั่วถึง ทําใหบุคลากรไมมีความชํานาญเฉพาะดาน ประกอบกับระบบ ICT มีการพัฒนาและเปลี่ยนแปลง อยางรวดเร็ว บุคลากรไมสามารถพัฒนาตนเองใหทันตอการเปลี่ยนแปลงของระบบ ICT 6) การกําหนดระยะเวลาในการรายงานผลการดําเนินงานไมสัมพันธกับการทํางาน ตามกระบวนการพัฒนา ชุมชน 7) การขาดงบประมาณและสถานที่สําหรับฝกอบรมสรางความรูความเขาใจดานระบบ ICT ในบางจังหวัด (2) ดานการเงิน (Money) 1) กรมการพัฒนาชุมชนเปนหนวยงานภาครัฐที่ไดรับการสนับสนุนงบประมาณจากรัฐบาล การดําเนินการจึงตองขึ้นกับนโยบายและงบประมาณของประเทศ การจัดสรรงบประมาณดาน ICT ของกรมการพัฒนาชุมชนเปนการจัดตั้งตามแผนปฏิบัติงานและกิจกรรมโครงการตาง ๆ เปนหลัก และ เนื่องจากงาน ICT เปนเพียงงานสนับสนุนเทานั้น ทําใหลําดับการจัดสรรงบประมาณอยูในลําดับทาย สงผลใหไดรับงบประมาณไมเพียงพอในการจัดสรางโครงสรางพื้นฐานตาง ๆ เพื่อรองรับภารกิจหลัก ขององคกร 2) หนวยงานในสวนภูมิภาคขาดการสนับสนุนงบประมาณดาน ICT ทั้งดานการจัดซื้อและ การบํารุงรักษาอุปกรณคอมพิวเตอร 3) การขาดงบประมาณสนับสนุนการฝกอบรมเพื่อสรางความรูความเขาใจในระบบ ICT ใหกับบุคลากร สงผลใหเกิดผลเสียตอการพัฒนางานดาน ICT ของกรมการพัฒนาชุมชน 4) ระเบียบวิธีในการจัดซื้อจาง มีระยะเวลามาก ไมเอื้ออํานวยตอการจัดหาอุปกรณและระบบงาน ดาน ICT ซึ่งเทคโนโลยีเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว (3) ดานวัสดุอุปกรณขอมูลและสารสนเทศ( Material) 1) หนวยงานสวนกลาง มีคอมพิวเตอรสําหรับใชงานในอัตราสวนเกือบ 1:1 โดยมีอายุการใชงานเฉลี่ย 2-3 ป 2) หนวยงานสวนภูมิภาค ระดับจังหวัดและระดับอําเภอ มีคอมพิวเตอรใชในอัตรา 1:2 ถึง 1:4 มีอายุ การใชงานเฉลี่ย 2-5 ป และเครื่องที่มีอยูประสิทธิภาพต่ําและลาสมัย ขาดการบํารุงรักษาอยางตอเนื่อง แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกรมการพัฒนาชุมชน พ.ศ. 2552 – 2556 (ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1)


19

3) โครงขาย ICT พบวา เครื่องคอมพิวเตอรของหนวยงานสวนกลางมีการเชื่อมโยงเปนฐานขอมูล เครือขาย ซึ่งเปนทั้งการเชื่อมโยงภายในและออกสูฐานขอมูลอินเทอรเน็ต มีเครื่องแมขายภายใน 26 เครื่อง ติดตั้งที่สวนกลาง 16 เครื่อง และที่บริษัท กสท โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) จํานวน 10 เครื่อง รองรับการทํางานแบบอินเทอรเน็ต ในสวนของหนวยงานสวนภูมิภาคระดับจังหวัด และระดับ อําเภอ ยังมีการเชื่อมโยงเครือขายภายในดวยตัวแมขายเพื่อการจัดเก็บขอมูลนอยมาก มีเพียงการ เชื่อมตอกับ ADSL HUB ของ TT&T สําหรับจังหวัด และ ของ TOT สําหรับอําเภอ ซึ่งในสวนของ อําเภอยังมีการใช IP Star ในการเชื่อมตอทางอินเทอรเน็ตและใช Switch ทั้งแบบ Wireless และ HUB ธรรมดาในการเชื่อมตอกับ ADSL HUB เพื่อทํางานในการรับสงขอมูลและสืบคนรวมกันไดทั้ง สํานักงาน 4) ส ว นใหญ เ ครื่ อ งคอมพิ วเตอร ถู กใช ง านสํ า หรั บพิ ม พ เ อกสาร รายงาน รองลงมาคื อ ใช เ ชื่ อมต อ อินเทอรเน็ตเพื่อคนหาขอมูลและติดตอกับหนวยงานตางๆ 5) สําหรับหนวยงานภูมิภาคใชเพิ่มเติมในการบันทึกขอมูลเพื่อรายงานการปฏิบัติงานตามแผนตาราง การรายงานขอมูลตาง ๆ หรือตามโปรแกรมการบันทึกขอมูลของกรมฯ การจัดทําขอมูลในสวน ที่จังหวัดกําหนดโปรแกรมฐานขอมูลความจําเปนพื้นฐาน (จปฐ.) โปรแกรมฐานขอมูลพื้นฐานระดับ หมูบาน(กชช.2ค) โปรแกรม GFMIS ในการนําสงขอมูลการขอเบิกเงินงบประมาณตางๆ โปรแกรม สํ า นั ก งานอั ต โนมั ติ ภ ายในหน ว ยงาน (OA) บางแห ง มี ก ารนํ า โปรแกรมทะเบี ย นทรั พ ย สิ น ของกรมบัญชีกลางมาใชในการลงทะเบียนครุภัณฑ การใชโปรแกรมบัญชีแยกประเภท มาใชในการ จัดทําบัญชีสํานักงาน 6) ลักษณะของฐานขอมูลในปจจุบันมีการจัดเก็บในรูปแบบของ Table เปนหลัก ไมมีรายละเอียด ที่เชื่อมโยงตอเนื่อง 7) ฐานขอมูลไมไดออกแบบมาในลักษณะของการนํามาใชประโยชนเพื่อชวยในการทํางาน ทําให การยอมรับตอฐานขอมูลมีนอย 8) ฐานขอมูลเกี่ยวกับเอกสาร และองคความรูตางๆ ซึ่งจะเก็บในลักษณะของเอกสารหรือในรูป ไฟลขอมูล (PDF) มีการเก็บและสืบคนดวยระบบเว็บเปนหลัก 9) ปญหาสําคัญของการใชฐานขอมูลสารสนเทศที่มีอยูในปจจุบันก็คือความไมเสถียรหรือสมบูรณของ โปรแกรมบันทึกขอมูลตางๆที่ตองปรับปรุงใหทันสมัยอยูตลอด ทําใหผูใชงานสับสน (4) ดานการจัดการ (Management) 1) ศูนยสารสนเทศเพื่อการพัฒนาชุมชนเปนหนวยงานหลักที่ทําหนาที่บริหารจัดการระบบ ICT ของ กรมการพัฒนาชุมชน 2) ปญหาที่เคยเกิดขึ้นในอดีตคือ การพัฒนาระบบ ICT ไมเปนไปในแนวทางเดียวกัน เพราะกรมฯ ไมมีแผนงานการพัฒนาระบบ ICT ที่ชัดเจนและสนองความตองการการใชประโยชนของ แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกรมการพัฒนาชุมชน พ.ศ. 2552 – 2556 (ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1)


20

หนวยงานที่เกี่ยวของอยางแทจริง ทําใหมีบางหนวยงานทั้งสวนกลางและสวนภูมิภาคจัดทํา โครงการหรือขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากหนวยงานที่เกี่ยวของ/จังหวัด/อําเภอ/องคกร ปกครองส ว นท อ งถิ่ น เพื่ อ ว า จ า งเอกชนพั ฒ นาโปรแกรมขึ้ น เอง ทํ า ให ทิ ศ ทางของการสร า ง ฐานขอมูลกระจัดกระจายไมมีมาตรฐานเดียวกัน สงผลตอผูปฏิบัติงานระดับอําเภอในการจัดเก็บ รวบรวมและบันทึกขอมูลสงมาใหเกิดความซ้ําซอนของการทํางานและความถูกตองของขอมูล อางอิง 3) สายงานดาน ICT เปนผูผลักดันโครงการตางๆ ไมไดเกิดจากความตองการของ User ทําใหระบบ ICT ไมไดถูกใชงานอยางเต็มที่ 4) การใชประโยชนจากระบบ ICT ยังไมเต็มประสิทธิภาพ o การประเมินศักยภาพทางยุทธศาสตรการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมการพัฒนาชุมชน พ.ศ. 2553 - 2556 ( SWOT Analysis) จากการวิเคราะหสภาพการณภายใน และภายนอกกรมการพัฒนาชุมชนโดยการวิเคราะหจุดแข็ง จุดออน โอกาส และอุปสรรค พบวา การพัฒนาระบบ ICT ของกรมการพัฒนาชุมชนมีประเด็นของการประเมินศักยภาพ ดังนี้ จุดแข็ง ( Strenght : S) --- จุดออน (Weakness:W) จุดแข็ง ( Strenght : S)

จุดออน (Weakness:W) โครงสรางพืน้ ฐานดาน ICT

1. สวนกลางมีคอมพิวเตอรและอุปกรณคุณภาพสูง ใชงานในอัตราสวนที่เพียงพอ 2. มีซอฟทแวรพื้นฐานในการทํางานสํานักงาน 3. มีการใชฐานขอมูลสื่อสารเชื่อมโยงถึงกันทัง้ ใน สวนกลางและสวนภูมิภาคดวยระบบโครงขาย อินเทอรเน็ตความเร็วสูง 4. สวนกลางมีเครื่องคอมพิวเตอรแมขายเพียงพอกับ การใชงาน

1. คอมพิวเตอรและอุปกรณในสวนภูมิภาคไมทันสมัย และขาดแคลน 2. หนวยงานสวนใหญทงั้ ในสวนกลางและสวนภูมิภาค ไมมีการใชทรัพยากรคอมพิวเตอรรวมกัน 3. ระบบฐานขอมูลเพื่อการพัฒนาชุมชนในบางพื้นที่ ขาดความตอเนื่องและการบํารุงรักษาอยางเปนระบบ และยังไมถกู นําไปใชประโยชนไดอยางเต็มที่ 4. หนวยงานในสวนภูมิภาค (บางแหง) มีขอจํากัดดาน รูปแบบการเชือ่ มโยงสื่อสาร และความเร็วของระบบ โครงขายอินเทอรเน็ต

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกรมการพัฒนาชุมชน พ.ศ. 2552 – 2556 (ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1)


21

จุดแข็ง ( Strenght : S)

จุดออน (Weakness:W) 5. สวนภูมิภาคยังไมมีการใชงานในลักษณะแมขาย เพื่อการจัดทําระบบศูนยขอมูล 6. ขาดเครื่องคอมพิวเตอรแมขายขนาดใหญที่สามารถ รองรับปริมาณขอมูลที่จะเพิ่มขึ้นในอนาคต ระบบขอมูลสารสนเทศ

1. มีระบบสํานักงานอัตโนมัติ ระบบอีเมล และการ พัฒนาเว็บเพจในระดับตาง ๆ อยูเปนจํานวนมาก 2. มีระบบศูนยขอมูลกลางเพื่อการบริหาร จัดเก็บ และใชประโยชน ซึ่งเปนแหลงรวบรวมฐานขอมูล ที่จําเปนตอการบริหารงานพัฒนาชุมชน

1. ขาดการใชสารสนเทศรวมกันในหนวยงาน

2. ฐานขอมูลสารสนเทศที่มอี ยูเปนระบบปดคือ เปนการรายงานขอมูลหลัง จากการปฏิบัติงาน ตามภารกิจ และไมมีการนําไปใชประโยชนเพื่อการ ปฏิบัติงานได การตรวจสอบขอมูลกระทําไดจากรายงาน 3. กรมการพัฒนาชุมชนไดรับมอบหมายจาก 3. ฐานขอมูลสารสนเทศที่มอี ยูไมสามารถใชชวย หนวยงานระดับชาติใหความสําคัญในฐานะ ในการปฏิบัติงานรวมกันไดเพราะมีการแยกฐานขอมูล ผูดําเนินการเก็บขอมูลการพัฒนา ออกจากกัน 4. มีซอฟทแวรสําหรับการทําระบบสารสนเทศเพื่อการ 4.ไมมีการกําหนดมาตรฐานกลางในสวนของเว็บไซตของ ตัดสินใจของผูบริหารและการบริหารงานพัฒนาชุมชน จังหวัด หรืออําเภอรวมทัง้ หนวยงานกลาง เพือ่ ให มีรูปแบบ และการแสดงผลฐานขอมูลเปนไปในทิศทางเดียวกัน 5. ข อ มู ล ในระบบสารสนเทศไม ส มบู ร ณ แ ละไม เ ป น ปจจุบัน หนวยงานไมนําเขาขอมูลตามวงรอบที่กําหนด ผูใชขอมูลจึงขาดความเชื่อมั่น 6. ขาดความเปนเอกภาพในการพัฒนาฐานขอมูล จึงมี หนวยงานตางๆทั้งสวนกลางและสวนภูมิภาคพยายาม สรางฐานขอมูลเพื่อใชภายในหนวยงานของตน ซึง่ เปน อุปสรรคตอการทํางานโดยรวมและเกิดความซ้ําซอน ของการทํางานของผูปฏิบัติงาน 7. บุคลากรยังมีความเขาใจเกี่ยวกับการทํางานในระบบ ฐานขอมูลนอย ทําใหทิศทางการพัฒนาฐานขอมูลและ เปาหมายของการสรางขอมูลรวมกันภายในหนวยงาน ยังไมไดรับความสําคัญ แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกรมการพัฒนาชุมชน พ.ศ. 2552 – 2556 (ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1)


22

จุดแข็ง ( Strenght : S)

จุดออน (Weakness:W) 8. ยังใชคอมพิวเตอรไปในการทํางานสํานักงานและ อินเตอรเน็ตเพื่อคนหาขอมูล 9. เนนการพัฒนาเว็บเพจจํานวนมากโดยขาดการดูแล และจัดหมวดหมูหรือกลุมเปาหมายที่ชัดเจน ดานบุคลากร

1. บุคลากรมีความกระตือรือรนในการนําคอมพิวเตอร 1. บุคลากรยังขาดความรูความเขาใจเกี่ยวกับประโยชน มาใชงาน ของการนําฐานขอมูลมาใชในการทํางานและ ขาดแรงจูงใจที่จะใหความสําคัญกับฐานขอมูล 2. มีบุคลากรในสวนกลางไดรับการอบรมดาน ICT 2. ขาดการฝกอบรมบุคลากรดาน ICT อยางเปนระบบ อยางสม่ําเสมอ 3. บุคลากรดาน ICT มีความรูทักษะในการปฎิบัติงาน 3. วัฒนธรรมการใช ICT ของบุคลากรยังไมเขมแข็ง มีผลการปฎิบัติงานบรรลุไดตามเปาหมาย / เกณฑที่ และบุคลากรขาดทักษะการใชงานทางดาน ICT ไม หนวยงานกําหนด และไดรับการพัฒนาเพิ่มความรู สามารถใชระบบ ICT ไดอยางคุมคา ทักษะอยางตอเนื่อง 4. บุคลากรดาน ICT มีความสามารถในการสรางระบบ สารสนเทศใหมเพื่อรองรับภารกิจขององคกร รอยละ70 ของระบบสารสนเทศที่ใชในองคกรไดรับการพัฒนาโดย บุคลากรดาน ICT ขององคกร ดานงบประมาณ 1. รัฐบาลสนับสนุนงบประมาณ

2. มีผลงานและภารกิจที่สอดคลองกับแผนหลัก ของการพัฒนาประเทศ

1. งบประมาณสนั บ สนุ น การพั ฒ นาระบบ ICT ไมเพียงพอ และไมตอเนื่อง จึงไมสามารถพัฒนาระบบ ICT ใหมีสมรรถนะภาพสูงเพียงพอตอการรองรับบริการ ที่พึงประสงคและทันสมัย โดยเฉพาะอยางยิ่งสวนที่จะ ขยายบริการใหถึงประชาชนในชุมชน 2. งบประมาณการพัฒนาบุคลากรดาน ICT ไมเพียงพอ จึงไมสามารถพัฒนาบุคลากรใหมีความเชี่ยวชาญได

ดานการบริหารจัดการ 1. ผูบริหารใหความสําคัญกับการพัฒนาระบบ ICT

1. ขาดการวางแผนเพื่อบริหารจัดการระบบ ICT อยาง เปนระบบ

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกรมการพัฒนาชุมชน พ.ศ. 2552 – 2556 (ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1)


23

จุดแข็ง ( Strenght : S) 2. มีการจัดตั้งหนวยงานสวนภูมิภาคเพื่อรองรับงาน ดานระบบขอมูลสารสนเทศ

จุดออน (Weakness:W) 2. ระบบรักษาความปลอดภัยของขอมูลมีประสิทธิภาพ นอยไมเพียงพอในการกาวสูมาตรฐานสากล เพื่อสราง ความมั่นคงใหกับระบบ ลดความสูญเสีย ความเสี่ยง ในการใชประโยชนและแลกเปลี่ยนขอมูล ทําใหไมมั่นใจ และไม ก ล า แบง ปน ข อมู ล ระหวา งกัน และมี ก ารบุ ก รุ ก เขามาในเครือขาย 3. ขาดการติ ด ตามและประเมิ น ผลในการแปลงแผน สูการปฏิบัติ

โอกาส (Opportunity:O) --- อุปสรรค (Threat:T) โอกาส (Opportunity:O)

อุปสรรค (Threat:T)

1. เทคโนโลยีปจจบันเอื้อตอการพัฒนาระบบ ICT ให มีป ระสิ ท ธิภ าพสู ง พอที่จ ะรองรั บ และสนับ สนุน การ บริ ห ารและจั ด การ ครอบคลุ ม ถึ ง ระดั บ ชุ ม ชน โดยเฉพาะอยางยิ่งเทคโนโลยี CloudComputing และ SOA 2. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 10 เนนการพัฒนาคุณภาพคนและสังคมไทยสูสังคมแหง ภูมิปญญาและการเรียนรู สามารถยกระดับการพัฒนา บุคคลากรใหมีศักยภาพ คุณธรรม จริยธรรม 3. แผนแมบท ICT ฉบับที่ 2 ของประเทศให ความสําคัญกับการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานกระจาย อยางทั่วถึงไปสูประชาชนทั่วประเทศ และสนับสนุน ธรรมมาภิบาลการบริหารและการบริการภาครัฐ 4. นโยบายรั ฐ บาลเรื่ อ งการพั ฒ นาเศรษฐกิ จ สรางสรรคตรงกับภารกิจในการพัฒนาสินคา OTOP

1. มีผูบุกรุกเครือขาย (Attacker , Hacker) ทําใหเสีย โอกาสในการพัฒนา

2. วิกฤตเศรษฐกิจสงผลกระทบตอการพัฒนาบุคลากร งบประมาณด า นการพั ฒ นาบุ ค ลากรน อ ยลง รั ฐ บาล ตัดงบประมาณดานการพัฒนาบุคลากรอยางนอย 10% 3. แนวโนมการเปลี่ยนแปลงดานเทคโนโลยี ที่รวดเร็ ว มาก ทํ า ให พั ฒ นาบุ ค คลากรไม ทั น ต อ สถานการณ ปจจุบัน

4. หนวยงานภายนอกบางหนวยงานเก็บขอมูลที่ซ้ําซอน กับ กรมการพั ฒ นาชุ ม ชนและมี ก ารสั ง เคราะห ข อมู ล ดวยวิธีที่ตางกัน ทําใหขอมูลขาดความนาเชื่อถือ 5. มาตรฐานการแลกเปลี่ยนขอมูลของประเทศไทย 5. ค า ตอบแทนและแรงจู ง ใจของบุ ค ลากรด า น ICT (TH e-GIF) มีการกําหนดมาตรฐานการแลกเปลี่ยน ไมเหมาะสม บุคลากรดาน ICT เกิดสภาวะสมองไหล แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกรมการพัฒนาชุมชน พ.ศ. 2552 – 2556 (ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1)


24

โอกาส (Opportunity:O)

อุปสรรค (Threat:T)

ขอมูลโดยใช XML ซึ่งเปนมาตรฐานเดียวกับที่กรมการ พัฒนาชุมชนใชอยู 6. มี ก ารประกาศใช พระราชบั ญ ญั ติ แ ละพระราช กฤษฎี ก าว า ด ว ยความมั่ น คงปลอดภั ย ของระบบ สารสนเทศแหงชาติ ซึ่งเกี่ยวกับโครงสรางพื้นฐาน ที่สําคัญยิ่ง (Critical Infrastructure) 7. รัฐไดกําหนดนโยบายรักษาความปลอดภัยและ ความมัน่ คงของระบบ ICT Official Emai ใหหนวยงานของรัฐใชบริการที่เปนของภาครัฐ 8.รั ฐ มี ก ฎหมายกํ า หนดให ส ว นราชการจั ด บริ ก าร ใหประชาชนอยางทั่วถึงและเปนธรรมซึ่งผูรับบริการ มีความคาดหวังที่จะไดรับบริการที่ดีจากหนวยงาน ของรัฐ 9. สั ง คมมี ค วามตื่ น ตั ว ต อ การใช อ งค ค วามรู แ ละ สารสนเทศที่เปนประโยชน และมีชองทางในการนําสง ถึงผูใชบริการไดอยางทั่วถึง ผูใชบริการสามารถเขาถึง องค ค วามรู แ ละสารสนเทศได สะดวก ตลอดเวลา มีระบบ Internet ครอบคลุมถึงผูใชบริการทั่วประเทศ 10. แนวโนม ราคาอุปกรณคอมพิ วเตอรและบริ ก าร อินเทอรเน็ตลดลงอยางตอเนื่อง

ออกจากองคกร จํานวนบุคลากรดาน ICT ที่โอน/ยาย ออกจากหนวยงานเพิ่มมากขึ้น 7. นโยบายการเมื อ งที่ เ ปลี่ ย นแปลงอยู เ สมอ จํ า นวน โครงการและแผนงาน ICT ไมสามารถดําเนินการไดตาม วั ต ถุ ป ระสงค ที่ ค วรเป น แผนงานดํ า เนิ น การต า งๆ ไมสามารถดําเนินการไดตามวัตถุประสงค 8. ถึงแมวาราคาอุปกรณดาน ICT มีแนวโนมลดลง แต รายไดเฉลี่ยของประชาชนก็ยังนอย ทําใหไมสามารถซื้อ ใชได

จากสภาพการณขางตนจึงสามารถกําหนดทิศทางการพัฒนาระบบงานการบริหารจัดการ ICT ของกรมการพัฒนาชุมชนที่ควรจะเปน 4 ดาน คือ 1. ดานบุคลากร 2. ดานการบริหารจัดการ 3. ดานการพัฒนาระบบฐานขอมูลสารสนเทศ 4. ดานการพัฒนาระบบ ICT เพื่อการบริการประชาชน โดยมีรายละเอียดดังนี้

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกรมการพัฒนาชุมชน พ.ศ. 2552 – 2556 (ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1)


25

1. ดานบุคลากร 1) ในระยะแรกความจําเปนเรงดวนอยางยิ่งของกรมการพัฒนาชุมชนดานบุคลากร คือ การพัฒนา ความรูความสามารถดาน ICT ของบุคลากรทั่วไปของกรมฯ ใหสามารถใชประโยชนจากระบบ ICT ใหเกิดประสิทธิภาพและคุมคาสูงสุด 2) สรรหาบุคลากรที่มีความรูความเชี่ยวชาญเฉพาะทางดาน ICT เพิ่มเติมอยางนอย 75 คน โดยให สังกัดกลุมสารสนเทศเพื่อการพัฒนาชุมชน ของสํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด เพื่อบูรณาการ ฐานขอมูลเครื่องคอมพิวเตอรภายในจังหวัดใหมีการใชงานอยางมีประสิทธิภาพเพื่อเสริมการ ปฏิบัติงานดาน ICT ของหนวยงานระดับจังหวัด โดยตองไดรับคาตอบแทนที่เหมาะสมตาม มาตรฐานสากล 3) กลุมงานสารสนเทศเพื่อการพัฒนาชุมชน สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดตองประสานการทํางาน รวมกับศูนยสารสนเทศเพื่อการพัฒนาชุมชนอยางใกลชิด ทั้งการพัฒนาฐานขอมูลสารสนเทศ ใหสอดคลองกับความตองการระดับจังหวัด รับผิดชอบในการประสาน ตรวจสอบการจัดเก็บ ข อ มู ล ก อ นการเข า สู ศู น ย ข อ มู ล กลาง การฝ ก อบรมและพั ฒ นาบุ ค ลากรในระดั บ จั ง หวั ด ตาม แผนงานและทิศทางที่กําหนด การวางแผนงบประมาณสูสวนกลาง 4) ศึกษามาตรการ วิธีการ และความเหมาะสมในการจัดหลักสูตรการฝกอบรม พัฒนาทักษะ การฝก ปฏิบัติ และเสริมสรางประสบการณของบุคลากรในหนวยงานภายในกรมฯ โดยพิจารณาประสาน การจัดหลักสูตรฝกอบรมรวมกันเพื่อเปนการประหยัดงบประมาณคาใชจายและไดเนื้อหาสาระตรง ตามนโยบายและแผนงานของกรมฯ 5) พัฒนาบุคลากรดานการวางแผนและการพัฒนาฐานขอมูลใหมีศักยภาพในการบริหารโครงการ การเรี ย นรู / รั บ รู เทคนิ ค ในการติ ด ตามตรวจสอบ และประเมิ น คุ ณ ภาพงานในกรณี จ า งเหมา ดําเนินการ (Outsourcing) ซึ่งเปนแนวทางการพัฒนาฐานขอมูลสารสนเทศในปจจุบันที่ไดรับการ สนับสนุนจากรัฐบาลและจะสามารถขจัดปญหาการขาดแคลนบุคลากรได 2. ดานการบริหารจัดการ 1) ปรับปรุงกระบวนการจัดทํา / เสนอ / พิจารณาจัดสรรงบประมาณดาน ICT เพื่อใหเกิดการใชจาย อยางคุมคา 2) พัฒนาระบบการบริหารจัดการวัสดุอุปกรณดาน ICT ที่ไดมาตรฐานสากล โดยกําหนดมาตรการและ หลักเกณฑในการจัดหาและติดตั้งใชอุปกรณที่เปนมาตรฐานเดียวกันหรือใกลเคียงกันเพื่อสราง ความเปนไปไดในการประสานแลกเปลี่ยนและการใชทรัพยากรรวมกัน 3) ปรับปรุงโครงสรางพื้นฐาน ICT ใหสามารถรองรับการบริหารจัดการของหนวยงานในสังกัดทั้งใน สวนกลางและสวนภูมิภาค แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกรมการพัฒนาชุมชน พ.ศ. 2552 – 2556 (ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1)


26

4) ตองมีการจัดทํามาตรฐานดาน ICT รวมถึงขอมูลและสารสนเทศใหเปนมาตรฐานสากล และ เปนไปในแนวทางเดียวกัน เพื่อการเชื่อมโยงขอมูลและสารสนเทศในอนาคต 5) จัดใหมีระบบบริหาร การบริการดาน ICT ตามมาตรฐานสากล ITIL (IT Infrastructure Libraly) เนนการใชระบบ ICT ใหเต็มศักยภาพ โดยมีการวัดผลอยางตอเนื่อง 6) นําหลักธรรมาภิบาลทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT Governance : ITG) มาใชในหนวยงาน ตามมาตรฐานสากล 7) กระจายการวางแผนงบประมาณดานเทคโนโลยีสารสนเทศเชนการจัดหาคอมพิวเตอรและอุปกรณ การบํารุงรักษา การฝกอบรม เปนตนใหทั่วถึงและตรงเปาหมาย โดยมีศูนยสารสนเทศเพื่อการ พัฒนาชุมชนเปนศูนยกลางพิจารณาใหเกิดความสอดคลอง และเพื่อใหเกิดการแกปญหาที่เกิดขึ้นได ทันทวงที 3. ดานการพัฒนาระบบฐานขอมูลสารสนเทศ 1) จัดตั้ ง ศูน ย ขอมู ลกลางของกรมการพัฒ นาชุม ชนเพื่อพั ฒนาระบบฐานขอมูล โดยลักษณะของ ฐานขอมูลที่จัดทําตองขยายรายละเอียดการจัดเก็บ(Table) และสรางการจัดเก็บแบบรายการ เคลื่อนไหว (Transaction) ในแตละฐานหรือการจั ดเก็บตามขั้นตอนการทํ างานในลักษณะ Work Flow management เพื่อใหสอดคลองกับการตอเนื่องของพันธกิจ การวัดความกาวหนาและ ผลสัมฤทธิ์ตามคํารับรองในการปฏิบัติงานของกรมฯ รวมทั้งการใหรายละเอียดแกหนวยงานที่เกี่ยวของ 2) ขอมูลที่ตองดําเนินการเพิ่มเติมและปรับปรุงเพื่อใหเกิดความสัมพันธของระบบฐานขอมูลที่ตองใช รวมกัน แยกตามแตละหนวยงาน ไดดังนี้ 1. ฐานขอมูลดานการบริหารงานราชการ ประกอบดวย : - ฐานขอมูลงานสารบรรณ - ฐานขอมูลงานธุรการ - ฐานขอมูลงานงบประมาณ - ฐานขอมูลงานการเงิน บัญชี - ฐานขอมูลงานพัสดุ - ฐานขอมูลงานบุคคล - ฐานขอมูลแผนงานโครงการ 2. ฐานขอมูลที่จําเปนในงานของหนวยงานตางๆ ประกอบดวย : 2.1 กลุมพัฒนาฐานขอมูลบริหาร - ฐานขอมูลคํารับรองการปฏิบัติราชการและตัวชี้วัดในแตละชวง - ฐานขอมูลรายงานผลการปฏิบัติราชการ

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกรมการพัฒนาชุมชน พ.ศ. 2552 – 2556 (ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1)


27

2.2 กลุมตรวจสอบภายใน - ฐานขอมูลการตรวจสอบการปฏิบัติราชการ 2.3 สํานักงานเลขานุการกรมฯ - ฐานขอมูลทะเบียนคําสั่ง ระเบียบ และประกาศ - ฐานขอมูลทะเบียนรายงานการประชุมของกรมฯ - ฐานขอมูลทะเบียนมติ ครม.ที่เกี่ยวกับกรมฯ - ฐานขอมูลทะเบียบตารางการทํางานของผูบริหาร - ฐานขอมูลทะเบียบเรื่องรองทุกข และการบันทึกติดตามคดีทางศาล 2.4 สํานักสงเสริมภูมิปญญาทองถิ่นและวิสาหกิจชุมชน - ฐานขอมูลการลงทะเบียน OTOP - ฐานขอมูลการสงเสริมผูประกอบการ OTOP - ฐานขอมูลทะเบียนการคัดสรรผลิตภัณฑ OTOP - ฐานขอมูลการตลาด - ฐานขอมูลทะเบียนเครือขายองคความรู - ฐานขอมูลทะเบียนและการดําเนินงานกลุมอาชีพ 2.5 สํานักพัฒนาทุนและองคกรการเงินชุมชน - ฐานขอมูลทะเบียนองคกรการเงินรูปแบบตางๆ - ฐานขอมูลทะเบียนการตรวจสอบและการประเมินผลองคกรการเงินรูปแบบตางๆ - ฐานขอมูลทะเบียนกลุมทุนชุมชนที่ไมใชตัวเงิน 2.6 สํานักเสริมสรางความเขมแข็งชุมชน - ฐานขอมูลทะเเบียนชุมชน กลุม/องคกรชุมชน เครือขาย และผูนําชุมชน - ฐานขอมูลทะเบียนมาตรฐานและประเมินผล - ฐานขอมูลทะเบียนและการติดตามแผนชุมชน - ฐานขอมูลทะเบียนศูนยเรียนรูชุมชน - ฐานขอมูลทะเบียนสมาคม สมาพันธตางๆ 2.7 สถาบันการพัฒนาชุมชน - ฐานขอมูลทะเบียนหลักสูตรและการวัดผล - ฐานขอมูลทะเบียนผูเขารับการอบรม - ฐานขอมูลทะเบียนงานบริการวิชาการแยกตามสื่อประเภทตางๆ - ฐานขอมูลทะเบียนงานวิจัยและพัฒนา - ฐานขอมูลหองสมุด แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกรมการพัฒนาชุมชน พ.ศ. 2552 – 2556 (ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1)


28

- ฐานขอมูลทะเบียนโรงเรียนนักบริหารงานพัฒนาชุมชน และโรงเรียนนักพัฒนา ชุมชน - ฐานขอมูลการบริหารจัดการศูนยสงเสริมความเปนเลิศ - ฐานขอมูลทะเบียนผูเขารับการอบรมบุคคลภายนอก - ฐานขอมูลการบริหารจัดการศูนยศึกษาและพัฒนาชุมชน - ฐานขอมูลทะเบียนการประเมินสมรรถนะ Knowledge worker และผูขอเขาคิว ศึกษาตอ - ฐานขอมูลทะเบียนคลัง KM 2.8 กองการเจาหนาที่ - ฐานขอมูลการบริหารงานบุคคล(เต็มรูปแบบ) 2.9 กองคลัง - ฐานขอมูลการบริหารเงินสดในมือ - ฐานขอมูลการเบิกจายเงินงบประมาณ - ฐานขอมูลทะเบียนการเบิกใชวัสดุสิ้นเปลือง - ฐานขอมูลการจองใชหองประชุมและยานพาหนะ 2.10 กองแผนงาน - ฐานขอมูลการบริหารแผนปฏิบัติงานและแผนการใชจายงบประมาณ - ฐานขอมูลการประเมินผลการปฏิบัติงาน 2.11 กองประชาสัมพันธ - ฐานขอมูลทะเบียนภาพกิจกรรมและขอมูลขาวสาร 2.12 สํานักผูตรวจการ - ฐานขอมูลงานทะเบียนการรายงานผลการดําเนินงานจากการตรวจราชการ - ฐานขอมูลทะเบียนตามแบบประเมินความเสี่ยง 2.13 สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด - ฐานขอมูลศูนยขอมูลกลางดานการพัฒนาชุมชนประจําจังหวัด - ฐานขอมูลศูนยบริการขอมูลขาวสารเพื่อการพัฒนาชุมชน - ฐานขอมูลการตรวจสอบความถูกตองของขอมูลจังหวัด 3) พัฒนาระบบเครือขายสารสนเทศเพื่อเชื่อมโยงแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสารและสารสนเทศเพื่อการ บริ ห ารจั ด การ ติ ด ตามสถานการณ แ บบผสม คื อ ดํ า เนิ น การได ทั้ ง ในแบบอิ น เทอร เ น็ ต และ อินทราเน็ต เพื่อเชื่อมโยงฐานขอมูลคอมพิวเตอรในหนวยงานและระหวางหนวยงานสวนกลางและ สวนภูมิภาคโดยใหมีการปรับเปลี่ยนการเชื่อมโยงเครือขายระหวางสวนกลางกับสํานักงานพัฒนา ชุมชนจังหวัดทุกจังหวัด จาก ADSL เปน VPN ในสวนของ ADSL จังหวัดสามารถดําเนินการเชาใช แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกรมการพัฒนาชุมชน พ.ศ. 2552 – 2556 (ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1)


29

เพื่อประโยชนในการทํางานรูปแบบเดิมที่มีอยูและการสื่อสารผานอินเทอรเน็ตสืบคนขอมูลไดจาก ผูใหบริการภายในจังหวัดที่มีบริการรวดเร็วกวา ในสวนของอําเภอตองปรับเปลี่ยนเชนเดียวกัน (ตามรูป)

4) สร า งเครื อ ข า ยสารสนเทศเพื่ อ เชื่ อ มโยงแลกเปลี่ ย นข อ มู ล ข า วสารและสารสนเทศที่ ส นั บ สนุ น การใชประโยชนแกหนวยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ โดยใหเชื่อมกับเครือขายของภาครัฐอื่นที่เหมาะสม 5) กําหนดมาตรฐานการรักษาความปลอดภัยขอมูลเครือขายในระดับตางๆ 5.1 ติดตั้งเครื่อง Server แมขาย(ทําหนาที่ Database Server) ที่มีประสิทธิภาพสูง โดยมีหนวยความจํา (ROM) และการเก็บขอมูล (Storage) ในขนาดที่สามารถรองรับ จํานวนขอมูลที่เพิ่มขึ้นของศูนยขอมูลกลางใน 10 ปขางหนาได 5.2 ติดตั้งเครื่อง Server แมขาย(ทําหนาที่ Database Server ของฐานขอมูลจังหวัดและ ฐานขอมูลสํารองของกรมฯ) ณ สํานักงานพัฒนาชุม ชนจังหวัดทุก จังหวั ดเพื่ อทําหนา ที่ เชื่อมโยงฐานขอมูลกับ Server แมขาย(ทําหนาที่ Database Server) สวนกลาง 5.3 ติดตั้งเครือขายเชื่อมโยงภายในสํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดในฐานขอมูลอินทราเน็ต โดยมี Server แมขายเปนหลัก

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกรมการพัฒนาชุมชน พ.ศ. 2552 – 2556 (ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1)


30

5.4 ปรับปรุงและเพิ่มจํานวนเครื่องคอมพิวเตอรและอุปกรณ ณ สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด และสํานักงานพัฒนาชุมชนอําเภอใหเพียงพอเพื่อการใชประโยชนในแงการเผยแพรและ ประชาสัมพันธ และการบริหารงานในหนาที่ 6) การพัฒนาระบบการจัดการฐานขอมูลและฐานขอมูลเพื่อการบริหาร 6.1 สนับสนุนและสงเสริมใหมีการวิเคราะหเพื่อการจัดการฐานขอมูลทั้ง MIS และ GIS และ สารสนเทศของกรมฯ ใหเปนฐานขอมูลมาตรฐานและมีความพรอมในการที่จะเชื่อมโยง แลกเปลี่ยนและใชงานรวมกัน โดยใหมีความสามารถเชื่อมโยงเปนสารสนเทศในภาพรวม เพื่อสนับสนุนการวางแผนและตัดสินใจของผูบริหารระดับสูงไดอยางถูกตองและรวดเร็ว 6.2 สงเสริมและสนับสนุนความรวมมือระหวางหนวยงาน ในการจัดทําทะเบียนขอมูลของขอมูล ตางๆที่เกี่ยวของกับงาน เพื่อการแลกเปลี่ยนและการใชขอมูลรวมกัน 6.3 สง เสริมและสนับสนุน ใหมี การพั ฒ นาฐานข อมูลข า วสารและสารสนเทศเพื่ อเปน แหล ง รวบรวมขาวสารและสารสนเทศ โดยมีการกําหนดมาตรฐานของขอมูลในระดับฟลดจาก ศูนยสารสนเทศเพื่อการพัฒนาชุมชน 6.4 สงเสริมและสนับสนุนใหพิจารณาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชวยในการบริหารจัดการขอมูล ที่มีปริมาณมาก และมีหลายมิติ โดยพิจารณาการจัดเก็บขอมูลในรูปแบบคลังขอมูล (Data Warehouse) เพื่อใหสามารถนําเขาขอมูลมาวิเคราะหในรูปแบบตางๆไดตามความตองการ 6.5 สงเสริมและสนับสนุนใหมีการจัดตั้งหนวยงานในลักษณะ Information Center ทําหนาที่ รับผิดชอบในการประสานงาน บริหารขอมูลทั้งดานสารสนเทศเพื่อการบริหาร (MIS) และ สารสนเทศทางภูมิศาสตร (GIS) สรุปและวิเคราะหขอมูล เพื่อนําเสนอผูบริหารระดับสูงและ หนวยงานที่ตองการใช 6.6 ติดตั้งโปรแกรมจัดการฐานขอมูลบนเครื่องแมขายทําหนาที่ Database Server ณ ศูนย สารสนเทศฯ และเครื่องแมขาย ณ สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดทุกจังหวัด โดยมี คุณสมบัติในการทํางานแบบ Replicate หรือการสํารองขอมูลระหวางกันได (รายละเอียด ตามรูป)

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกรมการพัฒนาชุมชน พ.ศ. 2552 – 2556 (ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1)


31

7) การพัฒนาระบบสารสนเทศ 7.1 พัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศในหนวยงาน โดยคํานึงถึงรูปแบบและวิธีการการเชื่อมโยง แลกเปลี่ยนขอมูลและสารสนเทศและการใชประโยชนรวมกันระหวางหนวยงานภายในที่ เกี่ยวของและการประมวลผลในภาพรวมของกรมการพัฒนาชุมชน 7.2 วางแผนการดํ า เนิ น การพั ฒ นาบุ ค ลากรให มี ค วามรู ใ นการบริ ห ารจั ด การ และการใช สารสนเทศในการบริหารและการปฏิบัติงานทุกระดับ 7.3 จัดตั้งคณะทํางานรวมจากตัวแทนหนวยงานตางๆในการพัฒนาแนวทาง ความตองการ กรรมวิธี และมาตรฐานดานการพัฒนาสารสนเทศของกรมฯ โดยเฉพาะอยางยิ่งดานการ บริหาร ตรวจสอบ ควบคุม และประเมินคุณภาพของการพัฒนา 7.4 จัดตั้งคณะทํางานรวมพิจารณา กําหนดมาตรฐานขอมูล โดยใหมีมาตรฐานดานโครงสราง รายการและรู ป แบบของข อ มู ล และสารสนเทศร ว มกั น ระหว า งหน ว ยงานต า งๆและที่ จําเปนตองมีก ารประมวลผลรวมสามารถปรับเขากับมาตรฐานของแตละหนวยงานได โดยเฉพาะอยางยิ่ งที่จะเกี่ยวของกั บเว็บไซตของหนวยงานตางๆทั้ง สวนกลางและสว น ภูมิภาค สารสนเทศเพื่อการบริหาร (MIS) และฐานขอมูลสารสนเทศทางภูมิศาสตร(GIS) 7.5 ประสานการจัดทําแผนปฏิบัติการ การพัฒนาฐานขอมูลสารสนเทศรวมกัน โดยเฉพาะอยาง ยิ่งฐานขอมูลที่สามารถใชงานรวมกัน เชนฐานขอมูลบริหารองคกร ฐานขอมูลงานภารกิจ หลักที่มีลักษณะการปฏิบัติงานคลายคลึงกัน แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกรมการพัฒนาชุมชน พ.ศ. 2552 – 2556 (ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1)


32

7.6 กําหนดระเบียบและวิธีการในการบริการขอมูลขาวสาร ทั้งเพื่อการปฏิบัติงาน การเผยแพร ประชาสั ม พั น ธ โดยคํา นึง ถึ ง ระดั บ ชั้น ความลั บ ของข อมู ล และสารสนเทศที่ต อ งทํ า การ เผยแพร และการกําหนดสิทธิในการเขาถึงขอมูล (Access Control) 7.7 กําหนดฐานขอมูลรักษาความปลอดภัยของขอมูล ทั้งที่เปนขอผิดพลาด จากการปฏิบัติงาน (error) และเปนการบุกรุกทําลายและภัยคุกคามจากภายนอก (Hacker) โดยวางแผนใน การจัดหาขอมูลสํารอง และการติดตั้งฐานขอมูลรักษาความปลอดภัย (Firewall) 7.8 กํ า หนดระเบี ย บรั ก ษาความปลอดภั ย ในการใช ฐ านข อ มู ล IT Office โดยเฉพาะการ แลกเปลี่ยน ติดตอผานเอกสารอิเล็กทรอนิกส โดยเพิ่มเทคโนโลยี Digital Signature และ Encryption ในการจัดการเอกสารอิเล็กทรอนิกสของทางราชการ 4. ดานการพัฒนาระบบ ICT เพื่อการบริการประชาชน การบริการที่มปี ระสิทธิภาพสูงที่ใหสอดคลองกับสถานการณทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง ที่เปลี่ยนแปลงไป โดยควรมีการดําเนินการดังนี้ 1. เนนการสรางชองทาง ICT เพื่อเสริมสรางความเขมแข็งใหชุมชน โดยการเพิ่มประสิทธิภาพ การเรียนรูและการบริการดานอิเล็กทรอนิกสของชุมชนเพื่อเชื่อมโยงชุมชน 2. สรางระบบ ICT ที่สามารถปรับไดทันตอความไมตอเนื่อง หรือการปรับเปลี่ยนเชิงนโยบาย ระดับผูบริหารของประเทศ ทําใหตองพัฒนาระบบ ICT มารองรับความตองการได พรอมทั้งพัฒนาและเพิ่ม ประสิทธิภาพของขอมูลเพื่อตอบสนองความตองการดานความมั่นคง 3. สรางนวัตกรรมดาน ICT เพื่อรองรับภารกิจและยุทธศาสตรของกรมการพัฒนาชุมชน เนนการ ปรับตัวใหทันกับการเปลี่ยนแปลงทางดานซอฟตแวรของระบบ ICT 4. บูรณาการขอมูลจากหลายแหลงขอมูลที่สามารถตอบสนองตอความตองการของหนวยงาน ในสังกัดกรมการพัฒนาชุมชน 5. ยกระดับขีดความสามารถของบุคลากรที่ปฏิบัติงานดาน ICT ใหมีสมรรถนะกาวทัน ICT และ ปรับทัศนคติและกรอบแนวความคิดของผูบริหารใหเห็นความสําคัญและใชประโยชนจากระบบ ICT 6. เสริมสรางประสิทธิภาพระบบงาน ICT ใหเกิดความคุมคาตอระบบการบริหารและการ ใหบริการ 7. เพิ่มประสิทธิภาพของระบบโครงสรางพื้นฐาน ICTและเขาถึงซึ่งความตองการของผูใชบริการใน ชุมชนมากขึ้น และพัฒนาระบบการใหบริการประชาชนทางดานอิเล็กทรอนิกสใหมีประสิทธิภาพสูงในลักษณะ ของ Intelligence Service มากขึ้น 8. พัฒนาระบบรักษาความปลอดภัยดานขอมูลขาวสารที่มีความเปนสากลมากขึ้น เพื่อสรางความ มั่นคงใหกับระบบ เพื่อลดความสูญเสียและความเสี่ยงใหกับระบบ ICT

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกรมการพัฒนาชุมชน พ.ศ. 2552 – 2556 (ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1)


33

9. พัฒนาระเบียบการปฏิบัติและคูมือการดําเนินงานดาน ICT ในระบบของกรมการพัฒนาชุมชน ใหมีความทันสมัย คลองตัวตอสถานการณ 10. กําหนดและควบคุมมาตรฐานงานดาน ICT ทั้งดานการใชงาน การแลกเปลี่ยนขอมูลระหวาง หนวยงาน ความถูกตองและประสิทธิภาพ โดยจัดตั้งคณะทํางาน กําหนดแนวทาง กลไก ตลอดจนดัชนีวัดผล การพัฒนาและการใชงานดาน ICT ทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ โดยใหหนวยงานยึดถือเปนเกณฑในการวัด ประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการดําเนินงาน 11. การเผยแพรขอมูลขาวสาร 11.1 กําหนดใหกลุมสารสนเทศเพื่อการพัฒนาชุมชนของหนวยงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเปน ศูนยกลางในการเผยแพรขอมูลขาวสารเพื่อการวางแผนงานและการใชประโยชนสําหรับ หนวยงานภาครัฐ หนวยงานเอกชน ชุมชน และบุคคลทั่วไปในจังหวัดนั้น ภายใตมาตรฐาน งานฐานขอมูลที่เกิดขึ้นรวมกัน 11.2 การพัฒนาฝกอบรมใหบุคลากรภายในองคกรสามารถทําหนาที่เผยแพรขอมูลขาวสาร ตลอดจนมีความเขาใจในเนื้อหาและรายละเอียดพรอมการนําเสนอไดอยางทั่วถึง

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกรมการพัฒนาชุมชน พ.ศ. 2552 – 2556 (ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1)


34

บทที่ 3 แผนยุทธศาสตร และ ทิศทางการพัฒนา ตามแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารกรมการพัฒนาชุมชน พ.ศ. 2553 - 2556 แผนยุทธศาสตร และทิศทางการพัฒนาตามแผนแมบท ICT ของกรมการพัฒนาชุมชน ประกอบดวย การกําหนดวิสัยทัศน พันธกิจ ประเด็นยุทธศาสตร เปาประสงค ผลผลิต กลยุทธ แผนงาน โครงการ ดังตอไปนี้ วิสัยทัศน (Vision) จากวิสัยทัศนการพัฒนาระบบ ICT ของกระทรวงมหาดไทยซึ่งไดกําหนดไววา “มุงสูการเปนองคกร อัจฉริยะดวยระบบบริหารจัดการ ICT ที่เปนสากล และธรรมาภิบาล เพื่อการบริการที่เกิดประโยชนสุข แกประชาชน และประโยชนสูงสุดตอภารกิจของกระทรวงมหาดไทย” และวิสัยทัศนของกรมการพัฒนาชุมชน ที่กําหนดวา “กรมการพัฒนาชุ มชนเปนหนวยงานหลักในการสงเสริมการบริหารจัดการชุ มชนใหเข มแข็ง อยางยั่งยืน” ดังนั้น จึงไดกําหนดวิสัยทัศนซึ่งเปนเข็มทิศนําทางสูอนาคตดานการพัฒนาระบบ ICT ของ กรมการพัฒนาชุมชน ดังนี้ “กรมการพัฒนาชุมชนเปนองคกรแหงนวัตกรรมที่สงเสริมและสนับสนุนการบริหารจัดการ ชุมชนใหเขมแข็งอยางยั่งยืนดวยระบบ ICT และระบบขอมูลสารสนเทศที่เปนสากลและธรรมาภิบาล” ทั้งนี้ไดกําหนดนิยามที่เกี่ยวของกับวิสัยทัศนไวดังนี้ องคกรแหงนวัตกรรม หมายถึง การเปนองคกรที่มีการสรางนวัตกรรมอยางตอเนื่อง โดยการนําความรูที่จําเปนตอการ ดําเนินงานขององคการมาบริหารจัดการอยางเปนระบบ ผานกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรูซึ่งกันและกัน ของบุคลากรในองคกร และขยายไปสูองคกรในภาพรวม ทําใหกลายเปนองคกรแหงการเรียนรู และใชความรู ในการแสวงหาแนวคิด วิธีการ และกระบวนการตาง ๆ มาพัฒนา ปรับปรุงองคกร ดวยการสรางสรรคสิ่งใหม ๆ เพื่อเพิ่ มศักยภาพเชิง การแขงขัน และหรือยกระดับองคกรสูสากล ทํา ใหองคกรกาวสูการเปนองค กรแห ง นวัตกรรม สงเสริมและสนับสนุนการบริหารจัดการชุมชนใหเขมแข็งอยางยั่งยืน หมายถึง การสงเสริมสนับสนุนใหชุมชนมีศักยภาพในการบริหารจัดการชุมชนใหเขมแข็ง โดยการ สรางโครงสรางทางสังคมที่ดีใหเกิดขึ้นในชุมชน คือ การมีเวทีสาธารณะที่คนในชุมชนทุกคนสามารถเขามา มีสวนรวมในการเรียนรูและตัดสินใจเรื่องราวสวนรวม มีกระบวนการเรียนรูและตัดสินใจรวมกันระหวาง ประชาชน มีเครือขายองคกรที่เขมแข็งซึ่งสามารถใชเปนชองทางการสื่อสารระหวางกลุมผูนํากับสมาชิกของ แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกรมการพัฒนาชุมชน พ.ศ. 2552 – 2556 (ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1)


35

ชุมชน มีกระบวนการบริหารจัดการที่เชื่อมระหวางขอมูลของชุมชน แผนของชุมชน และองคกรของชุมชน เขาดวยกัน มีการบริหารและดําเนินกิจกรรมชุมชนรวมกัน มีบรรทัดฐานความรวมมือระหวางคนในชุมชน ทั้งนี้ องคประกอบของระบบบริหารจัดการชุมชนมี 6 เรื่อง ไดแก 1) ระบบขอมูล 2) การจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู รวมกัน 3)แผนชุมชน 4) การนําแผนไปปฏิบัติ 5) ทุนชุมชน และ 6) มีองคกรเขมแข็งอยางนอย 1 องคกร ระบบบริหารจัดการ ICT ที่เปนธรรมาภิบาล หมายถึง การบริหารจัดการระบบ ICT ที่คํานึงถึงการพัฒนาที่สอดคลองกับหลักนิติธรรม หลักคุณธรรมจริยธรรม หลักการมีสวนรวม หลักความโปรงใส หลักการรับผิดชอบ และหลักความคุมคา ระบบบริหารจัดการ ICT ที่เปนสากล หมายถึง ระบบบบริหารจัดการ ICT ที่มีกระบวนการบริหารจัดการ และการบริการที่สอดคลองกับ มาตรฐานการดําเนินงานในระดับสากล โดยมีจุดยืนของวิสัยทัศนในแผนแมบท ICT ของกรมการพัฒนาชุมชน พ.ศ. 2553 – 2556 ดังนี้ 1) ระบบการบริหารและการบริการ ICT ของกรมการพัฒนาชุมชนมีธรรมาภิบาลและ มีมาตรฐานในระดับสากลอยางมีประสิทธิภาพ 2) ระบบ ICT มีนวัตกรรม มีความทันสมัยและบูรณาการกันอยางมีคุณภาพ 3) ระบบ ICT สามารถสนองตอบตอวิสัยทัศน ภารกิจและยุทธศาสตรของกรมการพัฒนา ชุมชนไดอยางมีประสิทธิภาพสูงสุด 4) พัฒนาระบบ ICT เพื่อขับเคลื่อนสูสังคมแหงภูมิปญญาและการเรียนรู 5) บุคลากรมีขีดความสามารถในการใช ICT ใหเกิดประโยชนสูงสุดตอภารกิจ พันธกิจ (Mission) พั น ธกิ จ เป น กรอบ และแนวทางในการดํ า เนิ น งานตามหน า ที่ และตามวิ สั ย ทั ศ น ที่ ไ ด กํ า หนดไว ซึ่งประกอบดวยพันธกิจ ดังนี้ 1. บริหารจัดการระบบ ICTใหสามารถสนองตอบตอวิสัยทัศน ภารกิจ และยุทธศาสตรของกรมการ พัฒนาชุมชนอยางมีธรรมาภิบาลและเปนสากล 2. พัฒนาโครงขาย ICT เพื่อใหบริการภายในองคกรรวมทั้งประชาชนผูรับบริการ และทุกภาคสวน อยางมีคุณภาพ และทั่วถึง 3. พัฒนาระบบ ICT เพื่อเสริมสรางชุมชนสูสังคมอุดมปญญา 4. เสริมสรางขีดความสามารถ กําลังคนดาน ICT ของกรมการพัฒนาชุมชนใหมีสมรรถนะสูง

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกรมการพัฒนาชุมชน พ.ศ. 2552 – 2556 (ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1)


36

ยุทธศาสตรการพัฒนา (Strategic Issue) ยุทธศาสตรการพัฒนา คือ ประเด็นยุทธศาสตร เปนประเด็นสําคัญตามพันธกิจ ที่จะอาศัยการ ขับเคลื่อนดวยวิธีการทางยุทธศาสตรใหมีการพัฒนาที่แตกตาง โดดเดน และกาวกระโดด ประกอบดวย 5 ประเด็นยุทธศาสตร ดังนี้ 1. การพัฒนาโครงสรางพืน้ ฐาน ICT 2. การบริหารจัดการระบบ ICT อยางมีธรรมาภิบาลและเปนสากล 3. การพัฒนาระบบ ICT เพือ่ เสริมสรางความเขมแข็งของชุมชน 4. การพัฒนาระบบ ICT เพื่อพัฒนาสูสังคมอุดมปญญา 5. การพัฒนาบุคลากรและชุมชนใหมีความเชี่ยวชาญดาน ICT ในแตละประเด็นยุทธศาสตรมีกรอบนิยาม เปาหมาย ตัวชี้วัดเปาหมาย ผลผลิต ตัวชี้วัดผลผลิต มาตรการ แผนงาน โครงการ ดังนี้

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกรมการพัฒนาชุมชน พ.ศ. 2552 – 2556 (ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1)


37

ยุทธศาสตรการพัฒนาที่ 1. การพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน ICT กรอบนิยาม พัฒนาและบริหารจัดการโครงสรางพื้นฐาน ICT อันประกอบดวยระบบคอมพิวเตอร ระบบเครือขาย และ ระบบการสื่อสาร ใหมีประสิทธิภาพเหมาะสมกับการใชงาน ทันตอวิวัฒนาการของระบบ ICT ที่เปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว สามารถใหบริการมัลติมีเดีย ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส และบริการใดๆ ที่เปนประโยชนตอวิถีชีวิตสมัยใหมใน สังคมแหงการเรียนรู สนับสนุนการทํางานรวมกันของหนวยงานภายใน สามารถเชื่อมตอกับชุมชนและหนวยงานภายนอก เพื่อกอใหเกิดประโยชนสูงสุดในการบริหารงาน และการบริการประชาชน ยุทธศาสตรนี้มีเปาหมายการพัฒนา 2 เปาหมาย ซึ่งในแตละเปาหมายมีตัวชี้วัดเปาหมายการพัฒนา มาตรการ แผนงาน โครงการ ผลผลิต และตัวชี้วัดผลผลิต ดังนี้ เปาหมายการพัฒนาที่ 1.1: ระบบ ICT ของกรมการพัฒนาชุมชนมีความทันสมัย รวดเร็วทันตอความเปลี่ยนแปลงของสังคมโลก สามารถรองรับกับการขยายตัวของ การใหบริการและตอบสนองตอความตองการของหนวยงานและชุมชน ตัวชี้วัด

: มีการปรับปรุงและพัฒนาโครงขาย ICT ของกรมการพัฒนาชุมชนทั้งดาน Hardware Software และ Network เปนประจําทุกป

ผลผลิต

: โครงขาย ICT กรมการพัฒนาชุมชนสามารถใชงานไดอยางมีประสิทธิภาพทันตอวิวัฒนาการของระบบ ICT

ตัวชี้วัดผลผลิต

: ระดับความพึงพอใจของผูใชบริการระบบโครงขาย ICT ของกรมการพัฒนาชุมชน


38

มาตรการ พัฒนาโครงขาย ICT ใหมี ความทันสมัยสามารถรองรับ การเปลี่ยนแปลงของระบบ ICT ไดอยางมีประสิทธิภาพ

แผนงาน โครงการ การพัฒนาระบบโครงขาย ICT ใหมี 1. โครงการพัฒนาโครงขาย ICT เพื่อการบริหารจัดการชุมชน* ประสิทธิภาพสอดคลองกับการบริหาร 2. โครงการพัฒนาระบบโครงขาย ICT เพื่อสนับสนุนยุทธศาสตรการพัฒนาชุมชน จัดการระบบขอมูลสารสนเทศเพื่อการ 3. โครงการพัฒนาเครื่องคอมพิวเตอรแมขาย (server) เพื่อการบริหารจัดการ ระบบขอมูลสารสนเทศ พัฒนาชุมชน 4. โครงการพัฒนาเครื่องคอมพิวเตอรแมขาย (server) เพื่อการการบริหารจัดการ เครือขายฐานขอมูลระดับจังหวัด เปาหมายการพัฒนาที่ 1.2 : มีโครงสรางพืน้ ฐานทางดาน ICTที่มมี าตรฐานเดียวกัน และมีความมั่นคงปลอดภัยในการแลกเปลี่ยนขอมูลระหวางหนวยงานภาครัฐ ชุมชนและทุกภาคสวนที่เกีย่ วของ ตัวชี้วัด

: 1) มีระบบจัดเก็บรักษาขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอร (log sever) 2) มีการกําหนดรูปแบบและมาตรฐานกลางในการแลกเปลี่ยนขอมูลภาครัฐ 3) มีระบบปองกันและบริหารความเสี่ยงตามมาตรฐานสากล

ผลผลิต

: โครงขาย ICT กรมการพัฒนาชุมชนมีเสถียรภาพและมั่นคงปลอดภัยสามารถใชงานไดอยางมีประสิทธิภาพ

ตัวชี้วัดผลผลิต

: ระดับความพึงพอใจของผูใชบริการระบบโครงขาย ICT ของกรมการพัฒนาชุมชน

มาตรการ พัฒนาโครงขาย ICT ใหมี เสถียรภาพและมั่นคงปลอดภัย

แผนงาน โครงการ การพัฒนาระบบโครงขาย ICT ใหมี 1. โครงการพัฒนาระบบการจัดเก็บรักษาขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอร เสถียรภาพและมั่นคงปลอดภัยสูงสุด 2. โครงการพัฒนามาตรฐานการแลกเปลี่ยนขอมูลภาครัฐ 3. โครงการพัฒนาระบบรักษาความมั่นคงปลอดภัยดาน ICT

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกรมการพัฒนาชุมชน พ.ศ. 2552 – 2556 (ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1)


39

ยุทธศาสตรการพัฒนาที่ 2. การบริหารจัดการระบบ ICT อยางมีธรรมาภิบาล และเปนสากล กรอบนิยาม ปรับปรุงการบริหารจัดการและการกํากับดูแล กลไกและกระบวนการในการบริหารจัดการระบบ ICT ของกรมการพัฒนาชุมชนใหมธี รรมาภิบาล โดยเนนความ เปนเอกภาพ การใชทรัพยากรอยางคุมคาและการมีสวนรวมของทุกภาคสวนที่เกี่ยวของ โดยมุงสูมาตรฐานสากล ยุทธศาสตรนี้มีเปาหมายการพัฒนา 4 เปาหมาย ซึ่งในแตละเปาหมายมีตัวชี้วัดเปาหมายการพัฒนา มาตรการ แผนงาน โครงการ ผลผลิต และตัวชี้วัดผลผลิต ดังนี้ เปาหมายการพัฒนาที่ 2.1 : ระบบ ICT ของกรมการพัฒนาชุมชน มีการบูรณาการเชื่อมโยงกับหนวยงานทีเ่ กี่ยวของทัง้ ภายในและภายนอกอยางเปนระบบเอื้อตอ การบริหารและการเสริมสรางความเขมแข็งของชุมชน ตัวชี้วัด

: มีการบูรณาการเชื่อมโยงระบบ ICT เพื่อการเสริมสรางความเขมแข็งของชุมชนกับหนวยงานภายในและภายนอก

ผลผลิต

: ระบบ ICT ของกรมการพัฒนาชุมชนมีการบูรณาการเชื่อมโยงกับหนวยงานภายในและภายนอกเพื่อการเสริมสรางความเขมแข็งของชุมชน

ตัวชี้วัดผลผลิต

: ระดับความสําเร็จของการบูรณาการเชื่อมโยงระบบ ICT เพื่อการเสริมสรางความเขมแข็งของชุมชน

มาตรการ แผนงาน กําหนดนโยบายและแนวทางการบูรณาการระบบ พัฒนาความรวมมือ ICT เพื่อการเสริมสรางความเขมแข็งของชุมชน เพือ่ การบูรณาการระบบ ICT

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกรมการพัฒนาชุมชน พ.ศ. 2552 – 2556 (ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1)

โครงการ โครงการพัฒนาความรวมมือเพื่อการบูรณาการเชื่อมโยงระบบ ICT เพื่อเสริมสราง ความเขมแข็งของชุมชน


40

เปาหมายการพัฒนาที่ 2.2 : กรมการพัฒนาชุมชนมีการบริหารจัดการระบบ ICT ที่เปนสากล ตัวชี้วัด

: มีระบบการบริหารจัดการ ICT ที่เปนสากล

ผลผลิต

: การบริหารจัดการ ICT ของกรมการพัฒนาชุมชน มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูง

ตัวชี้วัดผลผลิต

: ระดับความสําเร็จของการพัฒนามาตรฐานระบบ ICT สูมาตรฐานสากล

โครงการ มาตรการ แผนงาน เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการระบบ ICT ของ พัฒนามาตรฐานระบบ ICT สูสากล โครงการเพิ่มประสิทธิภาพระบบ ICT สูมาตรฐาน ISO กรมการพัฒนาชุมชนอยางมีธรรมาภิบาลและเปน สากล เปาหมายการพัฒนาที่ 2.3 : ทรัพยากรดาน ICT ถูกใชอยางมีประสิทธิภาพสูงสุดเกิดความคุมคาตอองคกร ตัวชี้วัด

: จํานวนหนวยงานในกรมการพัฒนาชุมชนที่มีการบูรณาการการใชทรัพยากรและงบประมาณดาน ICT

ผลผลิต

: หนวยงานภายในกรมการพัฒนาชุมชนมีการบูรณาการการใชทรัพยากรและงบประมาณดาน ICT อยางประหยัดและคุมคา

ตัวชี้วัดผลผลิต

: ระดับความสําเร็จของการบูรณาการการใชทรัพยากรและงบประมาณดาน ICT ของหนวยงานในสังกัดกรมการพัฒนาชุมชน

โครงการ มาตรการ แผนงาน บูรณาการการใชทรัพยากรและงบประมาณดาน การสร างความคุ มค าด านการใช โครงการบูรณาการทรัพยากรและงบประมาณดาน ICT เพื่อความคุมคาสูงสุดตอ ICT ของกรมการพัฒนาชุมชนรวมกันใหเกิดความ ทรัพยากร ICT องคกร คุมคาสูงสุด

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกรมการพัฒนาชุมชน พ.ศ. 2552 – 2556 (ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1)


41

เปาหมายการพัฒนาที่ 2.4 : กรมการพัฒนาชุมชนเปนหนวยงานที่มีระบบสํานักงานอัตโนมัตสิ มบูรณแบบ ตัวชีว้ ัด

: 1) จํานวนระบบบริการที่เพิ่มขึน้ .ในระบบสํานักงานอัตโนมัติของกรมการพัฒนาชุมชน 2) รอยละของบุคลากรกรมการพัฒนาชุมชนทีม่ ีสทิ ธิเขาถึงระบบสํานักงานอัตโนมัติ

ผลผลิต

: บุคลากรของกรมการพัฒนาชุมชนสามารถใชประโยชนจากระบบสํานักงานอัตโนมัติไดอยางมีประสิทธิภาพสูงสุด

ตัวชี้วัดผลผลิต

: ระดับความสําเร็จของการพัฒนาระบบสํานักงานอัตโนมัติสมบูรณแบบ

มาตรการ แผนงาน โครงการ เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการระบบ ICT ของ ก า ร พั ฒ น า ร ะ บ บ สํ า นั ก ง า น โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใชประโยชนจากระบบสํานักงานอัตโนมัติ กรมการพัฒนาชุมชนอยางมีธรรมาภิบาลและเปน อัตโนมัติสมบูรณแบบ สากล

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกรมการพัฒนาชุมชน พ.ศ. 2552 – 2556 (ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1)


42

ยุทธศาสตรการพัฒนาที่ 3 การพัฒนาระบบ ICT เพือ่ เสริมสรางความเขมแข็งชุมชน กรอบนิยาม พัฒนาระบบ ICT เพื่อเพิ่มศักยภาพในการบริหารจัดการชุมชนใหเขมแข็งทั้งในดานการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน การพัฒนาทุนชุมชน การเสริมสรางความเขมแข็ง ของผูนําชุมชน กลุม/องคกรชุมชน เครือขายองคกรชุมชนและชุมชน รวมทั้งการพัฒนาระบบขอมูลสารสนเทศเพื่อการพัฒนาชุมชน โดยมุงเนนการสงเสริม สนับสนุน นวัตกรรมใหม ๆ ดาน ICT เพื่อการประยุกตใชในการดําเนินงานของหนวยงาน เพื่อสงเสริมการมีสวนรวมของประชาชนและทุกภาคสวนในการเสริมสรางความเขมแข็ง ของชุมชน ยุทธศาสตรนี้มีเปาหมายการพัฒนา 2 เปาหมาย ซึ่งในแตละเปาหมายมีตัวชี้วัดเปาหมายการพัฒนา มาตรการ แผนงาน โครงการ ผลผลิต และตัวชี้วัดผลผลิต ดังนี้ เปาหมายการพัฒนาที่ 3.1 : ระบบ ICT ของกรมการพัฒนาชุมชนเปนกลไกสําคัญในการเสริมสรางความเขมแข็งชุมชน ตัวชี้วัด

: จํานวนนวัตกรรมที่เพิ่มขึ้นของระบบ ICT ซึ่งนํามาใชในการเสริมสรางความเขมแข็งชุมชน

ผลผลิต

: ชุมชนไดรับการเสริมสรางศักยภาพของชุมชนในการบริหารจัดการชุมชนใหเขมแข็งอยางยั่งยืนดวยนวัตกรรมของระบบ ICTที่มีประสิทธิภาพ

ตัวชี้วัดผลผลิต

: ระดับความสําเร็จในการพัฒนานวัตกรรมดาน ICT เพื่อเสริมสรางความเขมแข็งชุมชน

มาตรการ แผนงาน โครงการ พัฒนา เพิ่มประสิทธิภาพและ สรางนวัตกรรมดาน การพั ฒ นานวั ต กรรมระบบ ICT 1. โครงการเพิ่มประสิทธิภาพศูนยขอมูลกลางเพื่อการบริหารจัดเก็บและ ICT เพื่อเสริมสรางศักยภาพของชุมชนในการบริหาร เพื่อเสริมสรางศักยภาพของชุมชน ใชประโยชนกรมการพัฒนาชุมชน ใ น ก า ร บ ริ ห า ร จั ด ก า ร ชุ ม ช น 2. โครงการพัฒนาระบบฐานขอมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน จัดการชุมชนใหเขมแข็งอยางยั่งยืน ใหเขมแข็งอยางยั่งยืน 3. โครงการพัฒนาระบบขอมูลสารสนเทศเพื่อการพัฒนาชุมชน

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกรมการพัฒนาชุมชน พ.ศ. 2552 – 2556 (ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1)


43

มาตรการ

แผนงาน

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกรมการพัฒนาชุมชน พ.ศ. 2552 – 2556 (ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1)

โครงการ 4. โครงการพัฒนานวัตกรรมระบบ ICT เพื่อสงเสริมการใชประโยชนจาก ขอมูลพื้นฐานเพื่อการพัฒนาชุมชน 5. โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศชุมชน 6. โครงการเพิ่มพูนประสิทธิภาพของการถายทอดสดและรายการ TV ผานระบบ อินเทอรเน็ต (TV พช.) 7. โครงการพัฒนาระบบ ICT เพื่อเพิ่มพูนประสิทธิภาพวิสาหกิจชุมชน 8. โครงการพัฒนาระบบ ICT เพื่อการเสริมสรางภูมิปญญาทองถิ่น 9. โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศระดับตําบลเพื่อรองรับการทําธุรกรรม ของผลิตภัณฑชุมชนผานระบบ ICT 10. โครงการพัฒนาระบบ ICT เพื่อการพัฒนาทุนชุมชน 11. โครงการพัฒนาระบบ ICT เพื่อการบริหารจัดการชุมชน 12. โครงการพัฒนาการใหบริการประชาชนผานระบบโครงขาย กรมการพัฒนาชุมชน*


44

เปาหมายการพัฒนาที่ 3.2 : กรมการพัฒนาชุมชนมีระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารงานพัฒนาชุมชนทีม่ ีประสิทธิภาพ ตัวชี้วัด

: จํานวนระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารงานพัฒนาชุมชนที่ผูบริหารนํามาใชประกอบการตัดสินใจ

ผลผลิต

: กรมการพัฒนาชุมชนเปนหนวยงานที่ผูบริหารนําระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารงานพัฒนาชุมชนมาใชประกอบการตัดสินในบริหารองคกร และกําหนดนโยบายแนวทางการพัฒนาชุมชน

ตัวชี้วัดผลผลิต

: ระดับความสําเร็จในการจัดทําระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารงานพัฒนาชุมชน

มาตรการ แผนงาน พัฒนาและสรางนวัตกรรมดาน ICT เพื่อสงเสริม การพัฒนาระบบสารสนเทศ ใหผูบริหารนําระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารงาน เพื่อการบริหารงานพัฒนาชุมชน พั ฒ นาชุ ม ชนมาใช ใ นประกอบการตั ด สิ น ใจ เพื่อบริ หารองคกรและกํ าหนดนโยบายแนวทาง การพัฒนาชุมชน

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกรมการพัฒนาชุมชน พ.ศ. 2552 – 2556 (ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1)

โครงการ 1. โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศสําหรับผูบริหารระดับสูง (EIS : Executive Information Systems) 2. โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจของผูบริหาร (DSS : Decision Support System) 3. โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารยุทธศาสตรกรมการพัฒนา ชุมชน


45

ยุทธศาสตรการพัฒนาที่ 4. การพัฒนาระบบ ICT เพื่อพัฒนาสูส ังคมอุดมปญญา กรอบนิยาม ชุมชนมีการพัฒนาและใช ICTอยางชาญฉลาดตามแนวทางของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ประชาชนทุกระดับมีความเฉลียวฉลาดและรอบรูสารสนเทศ สามารถ เขาถึงและใชสารสนเทศอยางมีคุณธรรม จริยธรรม มีวิจารณญาณและรูเทาทัน กอใหเกิดประโยชนแกตนและสังคม มีการบริหารจัดการ ICT ที่มีธรรมาภิบาล เพื่อสนับสนุนการพัฒนาสูเศรษฐกิจและสังคมที่มีฐานความรูและนวัตกรรมอยางยั่งยืนและมั่นคง ยุทธศาสตรนี้มีเปาหมายการพัฒนา 1 เปาหมาย โดยมีตัวชี้วัดเปาหมายการพัฒนา มาตรการ แผนงาน โครงการ ผลผลิต และตัวชี้วัดผลผลิต ดังนี้ เปาหมายการพัฒนาที่ 4. : ระบบ ICT ของกรมการพัฒนาชุมชนเปนศูนยกลางการบริหารจัดการความรูดานการพัฒนาชุมชนทีม่ ีคุณภาพของประเทศ เพื่อสงเสริม การพัฒนาสูส งั คมอุดมปญญาตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตัวชี้วัด

: ระดับความสําเร็จของการพัฒนาระบบ ICT เพื่อสงเสริมการพัฒนาสูสังคมอุดมปญญาตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

ผลผลิต

: กรมการพัฒนาชุมชนมีระบบ ICT ที่มีประสิทธิภาพเปนที่ยอมรับของชุมชนและบุคคลทั่วไปสูงเพื่อสงเสริมการพัฒนาสูสังคมอุดมปญญา

ตัวชี้วัดผลผลิต

: ระดับความพึงพอใจของผูใชบริการระบบ ICT เพื่อสงเสริมการพัฒนาสูสังคมอุดมปญญาตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

โครงการ มาตรการ แผนงาน พัฒนาระบบบริหารจัดการความรูจากการมีสวน การพั ฒ นาระบบ ICT เพื่ อ การ 1. โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการความรู รวมของบุคลากรในองคกรและชุมชนใหเกิดการ พั ฒ นาสู สั ง คมอุ ด มป ญ ญาตาม 2. โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการดําเนินงานเว็บไซตศูนยกลางองคความรู ดานการพัฒนาชุมชน (CD Excellence Center) เรียนรูอยางยั่งยืนตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจ แนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 3. โครงการขยายผลการพัฒนาเว็บไซตหมูบานไทย พอเพียง 4. โครงการ e-learning ชุมชน

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกรมการพัฒนาชุมชน พ.ศ. 2552 – 2556 (ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1)


46

ยุทธศาสตรการพัฒนาที่ 5. การพัฒนาบุคลากรและชุมชนใหมีความเชี่ยวชาญดาน ICT กรอบนิยาม เรงพัฒนาบุคลากรกรมการพัฒนาชุมชนใหมีคุณภาพ ศักยภาพ และปริมาณที่เพียงพอตอการปฏิบัติงานดาน ICT เพื่อเสริมสรางความเขมแข็งของชุมชน รวมถึง สรางโอกาสใหบุคลากรมีความรู ความสามารถในการสรางสรรค ผลิตนวัตกรรมสิ่งใหมๆ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทํางานของกรมการพัฒนาชุมชน และใช ICT อยางมี คุณธรรม จริยธรรม มีวิจารญาณและรูเทาทันตอการเปลี่ยนแปลง ยุทธศาสตรนี้มีเปาหมายการพัฒนา 2 เปาหมาย ซึ่งในแตละเปาหมายมีตัวชี้วัดเปาหมายการพัฒนา มาตรการ แผนงาน โครงการ ผลผลิต และตัวชี้วัดผลผลิต ดังนี้ เปาหมายการพัฒนาที่ 5.1 : บุคลากรดาน ICT ของกรมการพัฒนาชุมชนมีปริมาณเพียงพอและมีคุณภาพระดับเชี่ยวชาญสามารถสรางสรรคผลงานและนวัตกรรม ดาน ICT ในบริบทภารกิจของกรมการพัฒนาชุมชนไดอยางมีประสิทธิผล ตัวชี้วัด

: ระดับความสําเร็จของการพัฒนานวัตกรรมดาน ICT ที่พัฒนาจากความเชี่ยวชาญของบุคลากรดาน ICT ของกรมการพัฒนาชุมชน

ผลผลิต

: กรมการพัฒนาชุมชนมีนวัตกรรมดาน ICT ที่มีประสิทธิภาพซึ่งไดรับการพัฒนาจากความเชี่ยวชาญของบุคลากรดาน ICT ของกรมการพัฒนาชุมชน

ตัวชี้วัดผลผลิต

: ระดับความพึงพอใจของผูใชบริการนวัตกรรมดาน ICT

โครงการ มาตรการ แผนงาน พัฒนาบุคลากรดาน ICT ใหมีความเชี่ยวชาญจน การพัฒนาบุคลากรดาน ICT เพื่อ 1) โครงการพัฒนาความเชี่ยวชาญแกบุคลากรเพื่อการพึ่งตนเองดาน ICT สามารถสรางนวัตกรรมดาน ICT ไดอยางมีคุณภาพ การพึ่งตนเองขององคกร 2) โครงการพัฒนานวัตกรรมดาน ICT เพื่อการพัฒนาชุมชน ระดับสากล แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกรมการพัฒนาชุมชน พ.ศ. 2552 – 2556 (ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1)


47

เปาหมายการพัฒนาที่ 5.2 : บุคลากรของกรมการพัฒนาชุมชนมีขีดความสามารถในการใช ICTอยางมีประสิทธิภาพ มีคุณธรรม จริยธรรม มีวิจารณญาณ และรูเทาทัน ตัวชีว้ ัด

: รอยละบุคลากรที่มีศกั ยภาพดานการใชประโยชนจากระบบ ICT ของกรมการพัฒนาชุมชนใหเกิดความคุม คาสูงสุด

ผลผลิต

: บุคลากรของกรมการพัฒนาชุมชนมีความสามารถในการใชประโยชนจากระบบ ICT ของกรมการพัฒนาชุมชนไดอยางเชี่ยวชาญ

ตัวชี้วัดผลผลิต

: ระดับความรูความเขาใจของบุคลากรกรมการพัฒนาชุมชนที่มีตอการใชประโยชนจากระบบ ICT กรมการพัฒนาชุมชน

มาตรการ แผนงาน โครงการ พัฒนาบุคลากรทั่วไปของกรมการพัฒนาชุมชนให การพั ฒ นาการใช ป ระโยชน จ าก โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใชประโยชนจากระบบ ICT ใหเกิดความคุมคาสูงสุด* มีความสามารถในการใชประโยชนจากระบบ ICT ระบบ ICT ใหเกิดความคุมคาสูงสุด ของกรมการพัฒนาชุมชนใหเกิดความคุมคาสูงสุด

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกรมการพัฒนาชุมชน พ.ศ. 2552 – 2556 (ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1)


48

บทที่ 4 การแปลงยุทธศาสตรสูการปฏิบัติ และการติดตาม ประเมินผล การแปลงแผนยุทธศาสตรการพัฒนาในแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกรมการ พัฒนาชุมชน พ.ศ. 2553 – 2556 ไดใหความสําคัญกับการบริหารจัดการเพื่อใหเกิดการประสานความรวมมือ ในการแปลงยุทธศาสตรการพัฒนาไปสูการจัดทําแผนงานและโครงการใหมีประสิทธิภาพ รวมทั้งมีการพัฒนา ระบบขอมูลและการติดตามประเมินผลการดําเนินงานตามแผนอยางเปนระบบ เพื่อใหเกิดผลในทางปฏิบัติ อยางเปนรูปธรรมโดยมีรายละเอียดดังนี้ วัตถุประสงค 1. หนวยงานในสังกัดกรมการพัฒนาชุมชนทั้งสวนกลางและสวนภูมิภาคมีความรูความเขาใจ ในแผนยุทธศาสตรการพัฒนา และมีสวนรวมในกระบวนการแปลงแผนไปสูการปฏิบัติ 2. มีกลไกและกระบวนการแปลงแผนการพัฒนาตามระบบ ICT ไปสูการปฏิบัติที่มีประสิทธิภาพและ หนวยงานที่เกี่ยวของมีการจัดทําแผนงานและโครงการที่สอดคลองกับเปาหมายและตัวชี้วัด แนวทางการดําเนินการ 1. เสริมสรางความรูความเขาใจรวมกันระหวางหนวยงานในสังกัดกรมการพัฒนาชุมชนเกี่ยวกับ

2.

3. 4. 5.

แนวคิดและสาระสําคัญของแผนแมบท ICT ยุทธศาสตรการพัฒนาและบทบาทภารกิจของแตละ หนวยงานในการสนับสนุนการดําเนินงานตามแผนใหเกิดผลในทางปฏิบัติ ประสานผลั ก ดั น เพื่ อ ให มี ก ารจั ดสรรงบประมาณและการพั ฒ นาสมรรถนะบุ ค ลากรด า น ICT ใหสอดคลองกับแนวทางของแผนงานและโครงการในแตละยุทธศาสตรโดยเนนผลลัพธของการ ดําเนินงานเปนหลัก บูรณาการแผนงาน/โครงการระหวางหนวยงานที่เกี่ยวของ จัดลําดับความสําคัญและกําหนดขั้นตอนของกระบวนการดําเนินงานตามแผนงาน/โครงการ โดยมุงเนนที่การสรางกระบวนทัศนใหม (Paradigm Shift) แกผูปฏิบัติ ประสาน ติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลงานดาน ICT ใหเปนมาตรฐานเดียวกัน

สําหรับการแปลงยุทธศาสตรในแผนแมบท ICT กรมการพัฒนาชุมชน พ.ศ. 2553 – 2556 สูการปฏิบัติ ไดแสดงใหเห็นความเชื่อมโยงจากแตละยุทธศาสตรไปสูการปฏิบัติในเปาหมายการพัฒนา ตัวชี้วัด โครงการ ของกรมการพัฒนาชุมชนและงบประมาณที่ใช โดยพิจารณาผลสัมฤทธิ์ของโครงการเรงดวนสําคัญ (Flagship) จํานวน 5 โครงการ ตามตารางการแปลงยุทธศาสตรสูการปฏิบัติ ดังนี้

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกรมการพัฒนาชุมชน พ.ศ. 2552 – 2556 (ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1)


49

ตารางการแปลงแผนยุทธศาสตรสูการปฏิบัติ พ.ศ. 2553 - 2556 ยุทธศาสตร การพัฒนาโครงสราง พื้นฐาน ICT

การบริหารจัดการระบบ ICT อยางมีธรรมาภิบาล และเปนสากล การพัฒนาระบบ ICT เพื่อเสริมสราง ความเขมแข็งชุมชน

เปาหมาย

ตัวชี้วัด

โครงการ

200

ระบบ ICT ของกรมการพัฒนา ชุมชนมีความทันสมัย รวดเร็ว ทันตอความเปลี่ยนแปลงของ สังคมโลก สามารถรองรับกับการ ขยายตัวของการใหบริการและ ตอบสนองตอความตองการของ หนวยงานและชุมชน กรมการพัฒนาชุมชนมีการบริหาร จัดการระบบ ICT ที่เปนสากล

ระดับความพึงพอใจของ ผูใชบริการระบบโครงขาย ICT ของกรมการพัฒนาชุมชน

ระดับความสําเร็จของการพัฒนา โครงการเพิ่มประสิทธิภาพระบบ ICT ระบบ ICT สูมาตรฐานสากล สูมาตรฐาน ISO

25

ระบบ ICT ของกรมการพัฒนา ชุมชนเปนกลไกสําคัญในการ เสริมสรางความเขมแข็งชุมชน

ระดับความสําเร็จในการพัฒนา นวัตกรรมดาน ICT เพื่อ เสริมสรางความเขมแข็งชุมชน

20

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกรมการพัฒนาชุมชน พ.ศ. 2552 – 2556 (ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1)

โครงการพัฒนาโครงขาย ICT เพื่อการบริหารจัดการชุมชน

งบประมาณ (ลานบาท)

1. โครงการพัฒนาการใหบริการ ประชาชนผานระบบโครงขาย กรมการพัฒนาชุมชน


50

ยุทธศาสตร

เปาหมาย

ตัวชี้วัด

โครงการ 2. โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศ

งบประมาณ (ลานบาท) 400

ระดับตําบลเพื่อรองรับการทําธุรกรรม ของผลิตภัณฑชุมชนผานระบบ ICT การพัฒนาสูสงั คมอุดม ปญญาตาม แนวทางปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงดวย ระบบ ICT

การพัฒนาบุคลากรและ ชุมชนใหมีความ เชี่ยวชาญดาน ICT

ระบบ ICT ของกรมการพัฒนา ชุมชนเปนศูนยกลางการบริหาร จัดการความรูดานการพัฒนาชุมชน ที่มีคุณภาพของประเทศ เพื่อสงเสริมการพัฒนาสูสงั คม อุดมปญญาตามแนวทางปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง บุคลากรของกรมการพัฒนาชุมชนมี ขีดความสามารถในการใช ICT อยาง มีประสิทธิภาพ มีคุณธรรม จริยธรรม มีวิจารณญาณ และรูเทาทัน

ระดับความพึงพอใจของ ผูใชบริการระบบ ICT เพื่อสงเสริมการพัฒนา สูสังคมอุดมปญญา

โครงการขยายผลการพัฒนาเว็บไซต หมูบานไทย

ระดับความรูความเขาใจของ โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช บุคลากรกรมการพัฒนาชุมชน ประโยชนจากระบบ ICT ใหเกิดความคุม ที่มีตอการใชประโยชนจากระบบ คาสูงสุด ICT กรมการพัฒนาชุมชน

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกรมการพัฒนาชุมชน พ.ศ. 2552 – 2556 (ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1)

20

40



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.