เนือ้ หาสาระ ความหมายของ ตัวแปร (Variable) ตัวแปรคือชื่ออ้างอิงที่ต้ งั ขึ้นเพื่อเก็บข้อมูลชัว่ คราว โดยมีการกําหนดชนิดให้เหมาะสมกับ ข้อมูลที่เก็บและจะประกาศไว้ สําหรับเรี ยกใช้ในโปรแกรม
รู ปแบบการประกาศตัวแปรของ Visual Basic รู ปแบบDim ชื่อตัวแปร As ชนิดตัวแปร คําอธิบาย ชนิดและรายละเอียดตัวแปรของ Visual Basic 1. ข้อมูลชนิด Byte ขนาดหน่วยความจําที่ใช้ 1 Byte (8 Bit) เก็บข้อมูลตัวเลขที่อยูใ่ นช่วง 0 ถึง 255 นิยมใช้เก็บค่าตัวเลขที่มี ค่าไม่มาก เช่น อายุ หรื อ ตัวแปรที่ใช้ในการนับค่าการวนรอบที่จาํ นวนรอบไม่มากตัวอย่ าง กําหนดตัว แปรชื่อ Old สําหรับเก็บอายุของนักศึกษา(อายุอยูใ่ นช่วง 1 – 120 ปี ) จะประกาศได้ดงั นี้ Dim Old As Byte 2. ข้อมูลชนิด Integer ขนาดหน่วยความจําที่ใช้ 2 Byte (16 Bit) เก็บข้อมูลตัวเลขที่อยูใ่ นช่วง –32,768 ถึง +32,767 นิยมใช้เก็บค่าตัวเลขจํานวนเต็ม ไม่มีจุดทศนิยม และมีค่าเป็ นลบได้ ตัวอย่ าง กําหนดตัวแปรชื่อ NumInt จะประกาศได้ดงั นี้ Dim NumInt As Integer 3. ข้อมูลชนิด Long ขนาดหน่วยความจําที่ใช้ 4 Byte (32 Bit) เก็บข้อมูลตัวเลขที่อยูใ่ นช่วง –2,147,483,648 ถึง +2,147,483,647 นิยมใช้เก็บค่าตัวเลขที่มีค่ามากๆ เช่น จํานวนประชากร ตัวอย่ าง กําหนดตัวแปรชื่อ AmountPeople สําหรับเก็บจํานวนประชากรในประเทศไทย จะประกาศได้ ดังนี้ Dim AmountPeople As Long 4. ข้อมูลชนิด Currency เก็บข้อมูลตัวเลขทศนิยมที่อยูใ่ นช่วง -922,337,203,685,477.5808 ถึง +922,337,203,685,477.5807 นิยม ใช้เก็บค่าตัวเลขที่ทศนิยม เช่น เงินเดือน,เงินงบประมาณ ตัวอย่ าง กําหนดตัวแปรชื่อ Salary สําหรับเก็บเงินเดือนของพนักงาน จะประกาศได้ดงั นี้ Dim Salary As Currency
5. ข้อมูลชนิด Single เก็บข้อมูลตัวเลขทศนิยมที่อยูใ่ นช่วง -3.402823E+38 ถึง +3.402823E+38 นิยมใช้เก็บค่าตัวเลขทศนิยม เช่น เงินเดือน,เงินงบประมาณ หรื อค่าตัวเลขทางวิทยาศาสตร์และวิศวกรรม ตัวอย่ าง กําหนดตัวแปรชื่อ SpeedOfLight สําหรับเก็บความเร็วของแสง จะประกาศได้ดงั นี้ Dim SpeedOfLight As Single 6. ข้อมูลชนิด Double เก็บข้อมูลตัวเลขทศนิยมที่อยูใ่ นช่วง -1.79769313486232E+308 ถึง +1.79769313486232E+308 นิยม ใช้เก็บค่าตัวเลขทศนิยมที่มีคา่ มากๆ เช่น เงินงบประมาณแผ่นดิน หรื อค่าตัวเลขทางวิทยาศาสตร์และ วิศวกรรม ตัวอย่ าง กําหนดตัวแปรชื่อ NumDouble จะประกาศได้ดงั นี้ Dim NumDouble As Byt 7. ข้อมูลชนิด String เก็บข้อมูลที่เป็ นตัวอักษรข้อความหรื อสัญลักษณ์ นิยมใช้เก็บ ชื่อ-สกุล,ที่อยู่ หรื อข้อมูลใดๆ ที่เป็ น ลักษณะของข้อความ ใช้เก็บตัวเลขได้ในลักษณะสัญลักษณ์ เช่น ข้อมูล 1234 คือ ‘หนึ่ง สอง สาม สี่ ’ ไม่ใช่ หนึ่งพันสองร้อยสามสิ บสี่ แต่ถา้ ต้องการนําไปประมวลผลแบบจํานวนตัวเลขจะต้องใช้ผา่ น ฟังก์ชนั แปลงข้อมูลก่อนเช่น ฟังก์ชนั Cint() ซึ่งรายละเอียดจะกล่าวในท้ายบทที่ 4 ตัวอย่ าง กําหนดตัวแปรชื่อ Name สําหรับเก็บชื่อนักศึกษา จะประกาศได้ดงั นี้ Dim Name As String หรื อกําหนดตัวแปรชื่อ Name สําหรับเก็บชื่อนักศึกษา มีความกว้าง 35 ตัวอักษรจะ ประกาศได้ดงั นี้ Dim Name As String * 35 8. ข้อมูลชนิด Boolean เก็บข้อมูลในรู ปแบบ ตรรกะ คือ True(จริ ง) และ False(เท็จ) นิยมใช้ในการเก็บค่าการทดสอบทาง เงื่อนไข ตัวอย่ าง กําหนดตัวแปรชื่อ Found สําหรับเก็บสถานะการค้ นพบข้ อมูล จะประกาศได้ดงั นี้ Dim Found As Boolean 9. ข้อมูลชนิด Date เก็บข้อมูลในรู ปแบบ วันที่ นิยมใช้ในการเก็บค่าของวันที่ ตัวอย่ าง กําหนดตัวแปรชื่อ BirthDay สําหรับเก็บวันเกิดของนักศึกษา จะประกาศได้ดงั นี้ Dim BirthDay As Date
10. ข้อมูลชนิด Variant เก็บข้อมูลได้ทุกรู ปแบบ นิยมใช้ในการเก็บค่าที่ไม่ทราบล่วงหน้าว่าเป็ นชนิดใด ซึ่ง Visual Basic จะ ดําเนินการในส่ วนการเก็บข้อมูลให้ ถ้าหลีกเลี่ยงได้ไม่ควรใช้ตวั แปรชนิดนี้เนื่องจากโปรแกรมจะ ทํางานช้า และการตรวจสอบข้อผิดพลาดอาจทําได้ยาก ตัวอย่ าง กําหนดตัวแปรชื่อ DontKnowType สําหรับเก็บข้ อมูลทีย่ งั ไม่ ทราบรูปแบบ จะประกาศได้ดงั นี้ Dim DontKnowType As Variant
ตัวอย่ างการเขียนโปรแกรมทีม่ กี ารประกาศ และเรียกใช้ ตวั แปร ขั้นตอนมีดังนี้ ขั้นตอนมีดังนี้ 1. เข้าโปรแกรม Visual Basic 2. คลิกที่ Program > Microsoft Visual Basic6.0 > 3. 4. 5. 6. 7.
เลือก Standard EXE คลิกที่ กําหนดคําสัง่ ตามเหตุการณ์เมื่อเกิดเหตุการณ์ Form Load (เมื่อฟอร์มถูกเรี ยกให้ทาํ งาน) ดับเบิลคลิกบนพื้นที่ของ Form1 จะปรากฏหน้าต่างรหัสโปรแกรม(Code) คลิกเลือกเหตุการณ์ Load พิมพ์คาํ สัง่ ดังต่อไปนี้ หมายเหตุ CStr เป็ นฟั งก์ ชันในการแปลงรู ปแบบข้ อมูลให้ เป็ น String(ตัวอักษรหรื อสาย อักขระ) รายละเอียดจะกล่ าวในท้ ายบทที่ 4
ข้ อแนะนําในการใช้ งานตัวแปรและค่ าคงที่
การตั้งชื่อตัวแปรและค่าคงที่ 1. ควรตั้งชื่อที่สื่อความหมาย และสอดคล้องกับค่าที่เก็บ 2. ควรใช้ตวั อักษร Upper Case(ตัวพิมพ์ใหญ่) กับ Lower Case(ตัวพิมพ์เล็ก) ผสมกันถ้าชื่อตัวแปร ประกอบด้วยหลายคํา เช่น VarCountLoop 3. ข้อความที่นาํ มาใช้ต้ งั ชื่อ ต้องไม่เกิน 255 ตัวอักษร 4. ต้องไม่ซ้ าํ กับคําสงวนใน Visual Basic เช่น ชื่อฟังก์ชนั ,คําสัง่ ,ชื่อคอนโทรล 5. ห้ามมีสญ ั ลักษณ์พิเศษ เช่น ~ ! . @ # $ % ^ & * ( ) + - / | < > ? \
6. ห้ามมีช่องว่างระหว่างชื่อ(เว้นวรรค) ให้ใช้เครื่ องหมาย UnderScorll(ขีดล่าง) แทน ตัวอย่างเช่นชื่อตัวแปร Space 01 ให้ต้ งั เป็ น Space_01 ( _ อยูท่ ี่แป้ น )
การเรี ยกใช้ตวั แปรและค่าคงที่ 1. ถ้าไม่มีการประกาศตัวแปร แต่มีการเรี ยกใช้ Visual Basic จะดําเนินการกําหนดให้โดย อัตโนมัติ แต่มีขอ้ เสี ยคือสิ้ นเปลืองหน่วยความจํา และทําการตรวจแก้โปรแกรมได้ยาก
2. จากปัญหาในข้อที่ 1 สามารถบังคับให้มีการประกาศตัวแปรในโปรแกรมโดยพิมพ์ Option Explicit ไว้ในส่ วน General 1. กดแป้ นพิมพ์ Ctrl ค้างไว้ตามด้วยแป้ นอักษร G (Ctrl+G) เพื่อเปิ ดหน้าต่าง Immediate 2. กดแป้ นพิมพ์ F5 (Run โปรแกรม หรื อคลิก ที่แถบเครื่ องมือด้านบน) ข้อมูลภายในค่าคงที่จะปรากฏในหน้าต่าง Immediate (อยูบ่ ริ เวณส่วนล่างของ Visual Basic 2.1 พิมพ์ Option Explicit ไว้ในส่ วน General ดังรู ป 2.2 กดแป้ นพิมพ์ F5 (Run โปรแกรม หรื อคลิก ที่แถบเครื่ องมือด้านบน โปรแกรมจะแจ้งข้อผิดพลาดเนื่องจากตัวแปร Var3 ไม่ได้ประกาศค่าไว้ ขอบเขตในที่น้ ีคือพื้นที่หรื อส่ วนของโปรแกรมที่ใช้ในการประกาศค่าและเรี ยกใช้ตวั แปรหรื อ ค่าคงที่ ซึ่งการพัฒนาโปรแกรมในแบบ GUI นิยมสร้าง Form(หน้าต่างงาน) มากกว่า 1 ฟอร์ม ดังนั้นส่ วน ของรหัสโปรแกรมก็จะแยกกันตามแต่ละฟอร์ม จากรู ปเป็ นแผนผังการประกาศตัวแปรและค่าคงที่ซ่ ึง สามารถอธิบายส่ วนต่างๆ ดังนี้ 1. Module คือส่ วนของการประกาศ ค่าคงที่ ,ตัวแปร , Function , Sub Program โดยส่ วนมากนิยมสร้าง ขึ้นในลักษณะส่ วนกลาง คือให้สาํ หรับทุกๆ ส่ วนในทุกๆ ฟอร์มเรี ยกใช้ เพื่อลดความซํ้าซ้อนในการ เขียนรหัสโปรแกรม ซึ่งรายละเอียดเบื้องต้นของการสร้างและประกาศค่าใน Module มีดงั นี้ 1.1. เข้าโปรแกรม Visual Basic 1.2. คลิกที่เมนูคาํ สัง่ Project > Add Module 2. General คือส่ วนของการประกาศ ค่าคงที่ ,ตัวแปร , Function , Sub Program สําหรับทุกๆ ส่ วนใน ฟอร์ม เฉพาะของตนเองเรี ยกใช้ได้ ซึ่งรายละเอียดเบื้องต้นของการสร้างและประกาศค่าในส่ วน General ของ Form มีดงั นี้ 2.1. เข้าโปรแกรม Visual Basic 2.2. ดับเบิลคลิกที่ Form1 จะปรากฏหน้าต่าง (Code) คลิกเลือก (General) 2.3. พิมพ์รหัสโปรแกรมดังนี้
ข้ อมูลแบบ Array ตัวแปรที่กล่าวมาข้างต้น ชื่อตัวแปร 1 ชื่อจะสามารถเก็บข้อมูลชนิดเดียวกันได้เพียง 1 ค่า
แต่ถา้ หากต้องการเก็บข้อมูลในชื่อและชนิดเดียวกันเป็ นชุด จําเป็ นต้องใช้โครงสร้างข้อมูลที่เรี ยกว่า Array ซึ่งใน Visual Basic มีรูปแบบในการประกาศดังนี้ รู ปแบบ แบบ 1 มิติประกาศเป็ น
Dim ชื่อ Array (จํานวนค่า) As ชนิดข้อมูล ตัวอย่ าง กําหนดให้ตวั แปร SmallRoom เก็บข้อมูลชนิด Byte ได้จาํ นวน 10 ชุด
Dim SmallRoom (10) As Byte หรือถ้ ามากกว่ า 1 มิติประกาศเป็ น
Dim ชื่อตัวแปร (มิติที่ 1, มิติที่ 2, มิติที่ n) As ชนิดของข้อมูล ตัวอย่ าง กําหนดให้ตวั แปร GraphXY เก็บข้อมูลชนิด Single ได้จาํ นวน 10 x 10 ชุด
Dim GraphXY (10,10) As Single ตัวอย่ างการประกาศและเรียกใช้ งานตัวแปรแบบ Array 1. เข้าโปรแกรม Visual Basic 2. ดับเบิลคลิกที่ Form1 จะปรากฏหน้าต่าง (Code) คลิกเลือก Load 3. พิมพ์รหัสโปรแกรมดังนี้
ใบความรู้ ที่ 4
ความหมายของ ตัวแปร(Variable) ตัวแปรคือชื่ออ้างอิงที่ต้ งั ขึ้นเพื่อเก็บข้อมูลชัว่ คราว โดยมีการกําหนดชนิดให้เหมาะสมกับ ข้อมูลที่เก็บและจะประกาศไว้ สําหรับเรี ยกใช้ในโปรแกรม
รูปแบบการประกาศตัวแปรของ Visual Basic รู ปแบบ Dim ชื่อตัวแปร As ชนิดตัวแปร คําอธิบาย
ชนิดและรายละเอียดตัวแปรของ Visual Basic 11. ข้อมูลชนิด Byte ขนาดหน่วยความจําที่ใช้ 1 Byte (8 Bit) เก็บข้อมูลตัวเลขที่อยูใ่ นช่วง 0 ถึง 255 นิยมใช้เก็บค่าตัวเลขที่มี ค่าไม่มาก เช่น อายุ หรื อ ตัวแปรที่ใช้ในการนับค่าการวนรอบที่จาํ นวนรอบไม่มากตัวอย่ าง กําหนดตัว แปรชื่อ Old สําหรับเก็บอายุของนักศึกษา(อายุอยูใ่ นช่วง 1 – 120 ปี ) จะประกาศได้ดงั นี้ Dim Old As Byte 12. ข้อมูลชนิด Integer ขนาดหน่วยความจําที่ใช้ 2 Byte (16 Bit) เก็บข้อมูลตัวเลขที่อยูใ่ นช่วง –32,768 ถึง +32,767 นิยมใช้เก็บค่าตัวเลขจํานวนเต็ม ไม่มีจุดทศนิยม และมีค่าเป็ นลบได้ ตัวอย่ าง กําหนดตัวแปรชื่อ NumInt จะประกาศได้ดงั นี้ Dim NumInt As Integer 13. ข้อมูลชนิด Long ขนาดหน่วยความจําที่ใช้ 4 Byte (32 Bit) เก็บข้อมูลตัวเลขที่อยูใ่ นช่วง –2,147,483,648 ถึง +2,147,483,647 นิยมใช้เก็บค่าตัวเลขที่มีค่ามากๆ เช่น จํานวนประชากร
ตัวอย่ าง กําหนดตัวแปรชื่อ AmountPeople สําหรับเก็บจํานวนประชากรในประเทศไทย จะประกาศได้ ดังนี้ Dim AmountPeople As Long 14. ข้อมูลชนิด Currency เก็บข้อมูลตัวเลขทศนิยมที่อยูใ่ นช่วง -922,337,203,685,477.5808 ถึง +922,337,203,685,477.5807 นิยม ใช้เก็บค่าตัวเลขที่ทศนิยม เช่น เงินเดือน,เงินงบประมาณ ตัวอย่ าง กําหนดตัวแปรชื่อ Salary สําหรับเก็บเงินเดือนของพนักงาน จะประกาศได้ดงั นี้ Dim Salary As Currency 15. ข้อมูลชนิด Single เก็บข้อมูลตัวเลขทศนิยมที่อยูใ่ นช่วง -3.402823E+38 ถึง +3.402823E+38 นิยมใช้เก็บค่าตัวเลขทศนิยม เช่น เงินเดือน,เงินงบประมาณ หรื อค่าตัวเลขทางวิทยาศาสตร์และวิศวกรรม ตัวอย่ าง กําหนดตัวแปรชื่อ SpeedOfLight สําหรับเก็บความเร็วของแสง จะประกาศได้ดงั นี้ Dim SpeedOfLight As Single 16. ข้อมูลชนิด Double เก็บข้อมูลตัวเลขทศนิยมที่อยูใ่ นช่วง -1.79769313486232E+308 ถึง +1.79769313486232E+308 นิยม ใช้เก็บค่าตัวเลขทศนิยมที่มีคา่ มากๆ เช่น เงินงบประมาณแผ่นดิน หรื อค่าตัวเลขทางวิทยาศาสตร์และ วิศวกรรม ตัวอย่ าง กําหนดตัวแปรชื่อ NumDouble จะประกาศได้ดงั นี้ Dim NumDouble As Byte 17. ข้อมูลชนิด String เก็บข้อมูลที่เป็ นตัวอักษรข้อความหรื อสัญลักษณ์ นิยมใช้เก็บ ชื่อ-สกุล,ที่อยู่ หรื อข้อมูลใดๆ ที่เป็ น ลักษณะของข้อความ ใช้เก็บตัวเลขได้ในลักษณะสัญลักษณ์ เช่น ข้อมูล 1234 คือ ‘หนึ่ง สอง สาม สี่ ’ ไม่ใช่ หนึ่งพันสองร้อยสามสิ บสี่ แต่ถา้ ต้องการนําไปประมวลผลแบบจํานวนตัวเลขจะต้องใช้ผา่ น ฟังก์ชนั แปลงข้อมูลก่อนเช่น ฟังก์ชนั Cint() ซึ่งรายละเอียดจะกล่าวในท้ายบทที่ 4 ตัวอย่ าง กําหนดตัวแปรชื่อ Name สําหรับเก็บชื่อนักศึกษา จะประกาศได้ดงั นี้ Dim Name As String หรื อกําหนดตัวแปรชื่อ Name สําหรับเก็บชื่อนักศึกษา มีความกว้าง 35 ตัวอักษรจะ
ประกาศได้ดงั นี้ Dim Name As String * 35 18. ข้อมูลชนิด Boolean เก็บข้อมูลในรู ปแบบ ตรรกะ คือ True(จริ ง) และ False(เท็จ) นิยมใช้ในการเก็บค่าการทดสอบทาง เงื่อนไข ตัวอย่ าง กําหนดตัวแปรชื่อ Found สําหรับเก็บสถานะการค้ นพบข้ อมูล จะประกาศได้ดงั นี้ Dim Found As Boolean
19. ข้อมูลชนิด Date เก็บข้อมูลในรู ปแบบ วันที่ นิยมใช้ในการเก็บค่าของวันที่ ตัวอย่ าง กําหนดตัวแปรชื่อ BirthDay สําหรับเก็บวันเกิดของนักศึกษา จะประกาศได้ดงั นี้ Dim BirthDay As Date 20. ข้อมูลชนิด Variant เก็บข้อมูลได้ทุกรู ปแบบ นิยมใช้ในการเก็บค่าที่ไม่ทราบล่วงหน้าว่าเป็ นชนิดใด ซึ่ง Visual Basic จะ ดําเนินการในส่ วนการเก็บข้อมูลให้ ถ้าหลีกเลี่ยงได้ไม่ควรใช้ตวั แปรชนิดนี้เนื่องจากโปรแกรมจะ ทํางานช้า และการตรวจสอบข้อผิดพลาดอาจทําได้ยาก ตัวอย่ าง กําหนดตัวแปรชื่อ DontKnowType สําหรับเก็บข้ อมูลทีย่ งั ไม่ ทราบรูปแบบ จะประกาศได้ดงั นี้ Dim DontKnowType As Variant
ตัวอย่ างการเขียนโปรแกรมทีม่ กี ารประกาศ และเรียกใช้ ตวั แปร ขั้นตอนมีดังนี้ 8. เข้าโปรแกรม Visual Basic 9. คลิกที่ Program > Microsoft Visual Basic6.0 > 10. เลือก Standard EXE คลิกที่
2
3 11. กําหนดคําสัง่ ตามเหตุการณ์เมื่อเกิดเหตุการณ์ Form Load (เมื่อฟอร์มถูกเรี ยกให้ทาํ งาน) 12. ดับเบิลคลิกบนพื้นที่ของ Form1 จะปรากฏหน้าต่างรหัสโปรแกรม(Code) 13. คลิกเลือกเหตุการณ์ Load 14. พิมพ์คาํ สัง่ ดังต่อไปนี้
อธิบายรหัสโปรแกรม ประกาศตัวแปร
4
ความหมายของ ค่ าคงที(่ Constant) คือการแทนค่าข้อมูลด้วยชื่อ เพื่อให้รหัสโปรแกรมดูเข้าใจง่ายขึ้น ตัวอย่างเช่น Pi(พาย) มีค่า เท่ากับ 3.14 ซึ่งสามารถกําหนดค่าคงที่ได้เป็ น Const Pi = 3.14 เมื่อโปรแกรมพบการประมวลผล Pi * (R * R) (พายอาร์กาํ ลังสอง) ก็จะนําค่าภายใน Pi ออกมาประมวลผลคือ 3.14 * (R * R)
รูปแบบการประกาศค่ าคงทีข่ อง Visual Basic Const ชื่อค่าคงที่ = ค่าที่กาํ หนด คําอธิ บาย
Const
ชื่ อค่ าคงที่ ค่ าทีก่ าํ หนด
(ย่อมาจาก Constant) เป็ นการบอกโปรแกรมให้ทราบว่ามีการจอง พื้นที่ หน่วยความจําเพื่อประกาศค่าคงที่ ชื่อที่เป็ นตัวแทนของค่าที่กาํ หนด โดยการตั้งชื่อควรให้สอดคล้องกับ ค่าที่เก็บ คือค่าที่เป็ นจํานวนตัวเลข,ตัวอักษร หรื อค่าต่างๆ ตามประเภทที่มีใน Visual Basic
ตัวอย่ าง กําหนดคงที่ชื่อ VB สําหรับ เก็บค่ าคงทีแ่ บบข้ อวาม และกําหนดค่าให้เป็ น Visual Basic จะประกาศได้ดงั นี้ Const VB = “Visual Basic”
ตัวอย่ างโปรแกรมทีม่ ีการประกาศ และเรียกใช้ ค่าคงที่ ขั้นตอนมีดังนี้
3. 4. 5. 6. 7. 8. 9.
เข้าโปรแกรม Visual Basic คลิกที่ Program > Microsoft Visual Basic6.0 > เลือก Standard EXE คลิกที่ กําหนดคําสัง่ ตามเหตุการณ์เมื่อเกิดเหตุการณ์ Form Load (เมื่อฟอร์มถูกเรี ยกให้ทาํ งาน) ดับเบิลคลิกบนพื้นที่ของ Form1 จะปรากฏหน้าต่างรหัสโปรแกรม(Code) คลิกเลือกเหตุการณ์ Load พิมพ์คาํ สัง่ ดังต่อไปนี้
6
10. กดแป้ นพิมพ์ Ctrl ค้างไว้ตามด้วยแป้ นอักษร G (Ctrl+G) เพื่อเปิ ดหน้าต่าง Immediate 11. กดแป้ นพิมพ์ F5 (Run โปรแกรม หรื อคลิก ที่แถบเครื่ องมือด้านบน) 12. ข้อมูลภายในค่าคงที่จะปรากฏในหน้าต่าง Immediate (อยูบ่ ริ เวณส่วนล่างของ Visual Basic)
10
หมายเหตุ CStr เป็ นฟั งก์ ชันในการแปลงรู ปแบบข้ อมูลให้ เป็ น String(ตัวอักษรหรื อสาย อักขระ) รายละเอียดจะกล่ าวในท้ ายบทที่ 4
ข้ อแนะนําในการใช้ งานตัวแปรและค่ าคงที่ การตั้งชื่อตัวแปรและค่าคงที่ ควรตั้งชื่อที่สื่อความหมาย และสอดคล้องกับค่าที่เก็บ ควรใช้ตวั อักษร Upper Case(ตัวพิมพ์ใหญ่) กับ Lower Case(ตัวพิมพ์เล็ก) ผสมกันถ้าชื่อตัวแปร ประกอบด้วยหลายคํา เช่น VarCountLoop ข้อความที่นาํ มาใช้ต้ งั ชื่อ ต้องไม่เกิน 255 ตัวอักษร ต้องไม่ซ้ าํ กับคําสงวนใน Visual Basic เช่น ชื่อฟังก์ชนั ,คําสัง่ ,ชื่อคอนโทรล ห้ามมีสญ ั ลักษณ์พิเศษ เช่น ~ ! . @ # $ % ^ & * ( ) + - / | < > ? \ ห้ามมีช่องว่างระหว่างชื่อ(เว้นวรรค) ให้ใช้เครื่ องหมาย UnderScorll(ขีดล่าง) แทน ๘ ) ตัวอย่างเช่นชื่อตัวแปร Space 01 ให้ต้ งั เป็ น Space_01 ( _ อยูท่ ี่แป้ น ข
การเรี ยกใช้ตวั แปรและค่าคงที่ ถ้าไม่มีการประกาศตัวแปร แต่มีการเรี ยกใช้ Visual Basic จะดําเนินการกําหนดให้โดยอัตโนมัติ แต่มีขอ้ เสี ย คือสิ้ นเปลืองหน่วยความจํา และทําการตรวจแก้โปรแกรมได้ยาก จากปั ญหาในข้อที่ 1 สามารถบังคับให้มีการประกาศตัวแปรในโปรแกรมโดยพิมพ์ Option Explicit ไว้ใน ส่ วน General ดังรู ป
2.1
2.1 พิมพ์ Option Explicit ไว้ในส่ วน General ดังรู ป 2.2 กดแป้ นพิมพ์ F5 (Run โปรแกรม หรื อคลิก ที่แถบเครื่ องมือด้านบน 2.3 โปรแกรมจะแจ้งข้อผิดพลาดเนื่องจากตัวแปร Var3 ไม่ได้ประกาศค่าไว้ 2.3
คําอธิบาย เกิดข้อผิดพลาด ยังไม่ได้มีการประกาศตัวแปร