การออกแบบและพัฒนาโปรแกรม

Page 1

เนื้อหา การออกแบบเขียนโปรแกรม การออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซ ระบบที่พัฒนาขึ้นสามารถประมวลได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพสูง แต่การออกแบบอินเตอร์เฟชไม่ดี ทา ให้ผู้ใช้ใช้งานยาก ก็ไม่มีประโยชน์อะไรถ้าผู้ใช้ไม่ยอมรับการทางานของระบบนั้น ดังนั้นการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟช หมายถึง การออกแบบส่วนประสานระหว่างผู้ใช้ระบบกับ ระบบ เพื่อ ใช้ปฏิสัมพันธ์กันระหว่างผู้ใช้กับระบบ ซึ่ง จะต้องออกแบบให้สามารถใช้งานง่ายโดยการเลือกอุปกรณ์และวิธี ปฏิสัมพันธ์ที่ เหมาะสมกับการทางานนั้น ๆ รวมถึงหน้าจอการทางานจะต้องสวยงาม เพื่อให้สามารถดึงดูดผู้ใช้ ให้น่าใข้งานมากขึ้น หลักการออกแบบและพัฒนาโปรแกรมบนระบบปฏิบัติการ GUI โปรแกรมสาเร็จรูปได้นามาใช้งานด้านต่าง ๆ เพื่อตอบสนองความต้องการของผู้ใช้โปรแกรม ซึ่งเป็นประโยชน์ อย่างมากในยุคปัจจุบัน การที่โปรแกรมสามารถทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพและเป็นที่ยอมรับได้ ควจมีการ ออกแบบและพัฒนาอย่างมีขั้นตอนดังนี้ การออกแบบฟอร์ม การออกแบบยูสเซอร์อินเทอร์เฟสที่ดีจะอยู่บนพื้นฐานของ การผสมผสานรวมระหว่าง การยศาสตร์ (Ergonomics) สุนทรียศาสตร์ (Aesthetics) และอินเทอร์เฟสเทคโนโลยี เข้าด้วยกัน การยศาสตร์ ว่าด้วยเรื่อง ความเป็นจริง กล่าวถึงวิธีการที่คนทางาน เรียนรู้ และโต้ตอบกับคอมพิวเตอร์ สุนทรียศาสตร์ ว่าด้วยเรื่องความ สวยงาม เน้นวิธีการอินเทอร์เฟสที่ดึงดูดความสนใจและง่ายต่อการใช้ ส่วนของอินเทอร์เฟสเทคโนโลยี เป็นการ จัดเตรียมโครงสร้างการทางานที่ต้องการ เพื่อนาไปสู่เป้าหมายการออกแบบ นักวิเคราะห์ระบบควรพิจารณา หลายๆ แนวทาง รวมทัง้ หัวข้อต่อไปนี้ เน้นวัตถุประสงค์พื้นฐาน · กาหนดวัตถุประสงค์ในการออกแบบระบบให้สะดวก · ออกแบบให้ง่ายต่อการเรียนรู้และจดจา · ออกแบบอินเทอร์เฟสที่เอื้อต่อการเพิ่มประสิทธิภาพและผลผลิตให้แก่ผู้ใช้ · เขียนคาสั่ง กิจกรรม และการตอบของระบบ ที่ชัดเจนและสามารถคาดเดาได้ · ลดปัญหาของการป้อนข้อมูลให้น้อยที่สุด · แก้ไขข้อผิดพลาดได้ง่าย · สร้างขั้นตอนที่เป็นตรรกะและดึงดูดความสนใจ สร้างอินเทอร์เฟสที่ง่ายต่อการเรียนรู้และใช้งาน · ป้ายของการควบคุม ปุ่ม และสัญรูป (Icon) ต่างๆ ต้องชัดเจน · เลือกภาพที่ผู้ใช้เข้าใจได้ง่าย ในการแสดงสัญรูปหรือปุ่มควบคุม


· เตรียมคาแนะนาหน้าจอภาพที่เป็นไปตามลาดับ รัดกุม และชัดเจน · แสดงคาสั่งทั้งหมดที่มีในรายการเมนู แต่ทาให้คาสั่งที่ไม่สามารถใช้งานได้จางกว่า (Dim) · สามารถกลับสู่เมนูหลักหรือเมนูก่อนหน้าได้โดยง่าย จัดเตรียมคุณสมบัติที่ช่วยเสริมประสิทธิภาพ · รวบรวมงาน คาสั่ง และหน้าที่ ที่เป็นกลุ่มคล้ายคลึงกันเข้าไว้ด้วยกัน · สร้างรายชื่อเมนูเรียงตามตัวอักษรหรือเรียงตามการใช้งานบ่อย · จัดทาทางลัด (Shortcut) · การใช้ค่าโดยปริยาย (Default) · การใช้ค่าเดิม ในการให้ผู้ใช้ป้อนข้อมูลใหม่ · เตรียมการค้นหาอย่างเร็ว (Fast-Find) · ใช้ภาษาแบบธรรมชาติ (Natural) ทาให้ง่ายต่อการขอความช่วยเหลือหรือแก้ไขข้อผิดพลาด · กาหนดคาอธิบายการช่วยเหลือตลอดเวลาใช้งาน · เตรียมความช่วยเหลือแบบให้ผู้ใช้เลือก · เตรียมทางกลับโดยตรง · แสดงข้อมูลเพื่อการติดต่อหน่วยช่วยเหลือ หรือหน่วยงานที่รับผิดชอบ · ให้มีการยืนยันก่อนการลบข้อมูล · เตรียมแป้นยกเลิกการทางาน · ทาให้ส่วนผิดพลาดเห็นได้ชัดเจน · ใช้การเชื่อมโยงข้อความหลายมิติ นาทางไปสู่หัวข้อความช่วยเหลืออื่นๆ ลดปัญหาของการนาข้อมูลเข้า · ทาการตรวจสอบข้อมูลที่สมเหตุผล (Data Validate Checks) · แสดงข้อความเพื่อแจ้งให้ทราบหรือเพื่อการเตือน · แสดงรายการข้อมูลที่กาหนดค่าที่ยอมรับได้ไว้แล้ว เพื่อป้องกันการใส่ข้อมูลที่ไม่ถูกต้อง · สร้างหลักเกณฑ์ที่บังคับให้เกิดบูรณภาพของข้อมูล · ใช้หน้ากากข้อมูลเข้า จัดเตรียมการแจ้งผลแก่ผู้ใช้ · แสดงข่าวสารหรือข้อความในตาแหน่งที่เหมาะสมบนจอภาพ · เตือนผู้ใช้สาหรับการประมวลผลที่ต้องใช้เวลาหรือล่าช้า · แสดงความคืบหน้าบนหน้าจอภาพให้นานเพียงพอที่ผู้ใช้จะอ่านได้ · ให้ผู้ใช้ทราบว่างานหรือการปฏิบัติงานนั้นสาเร็จหรือไม่ · เตรียมข้อความคาอธิบายสาหรับสัญรูปหรือภาพที่ใช้ควบคุมการทางาน · ใช้ข้อความที่เจาะจงและเป็นมืออาชีพ หลีกเลี่ยงข้อความน่ารัก ลึกลับหรือเคลือบคลุม สร้างรูปแบบที่น่าสนใจ


· ใช้สีช่วยแสดงความแตกต่างของเนื้อหาบนจอภาพ · ใช้องค์ประกอบเสริมพิเศษแต่น้อย · ใช้ Hyperlinks เพื่อช่วยให้ผู้ใช้ไปสู่หัวข้อที่เกี่ยวเนื่องกัน · จัดกลุ่มออบเจ็กต์และข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กันไว้ด้วยกัน · จัดความหนาแน่นของข้อมูลในจอภาพ · กาหนดตาแหน่ง ข้อความอย่างเป็นระเบียบในตาแหน่งเดียวกันทุกจอภาพ · ใช้ถ้อยคาที่คงที่ · ต้องให้แน่ใจว่าคาสั่งใดก็ตามเมื่อมีการใช้งานจะต้องได้ผลลัพธ์เหมือนเดิม · ต้องให้แน่ใจว่ากิจกรรมของเมาส์จะต้องเหมือนเดิมเสมอทั้งระบบ · ต้องให้ผู้ใช้ยืนยันการป้อนข้อมูล โดยการกดแป้น ENTER หรือแป้น TAB เมื่อจบฟิลด์ ใช้ถ้อยคาและภาพที่คุ้นเคย · ใช้รูปแบบของสีที่คุ้นเคยให้เหมาะสม · เตรียมทางเลือกจากการกดแป้น (Keystroke) สาหรับคาสั่งแต่ละเมนู · ใช้คาสั่งที่คนุ้ เคยเท่าที่เป็นไปได้ · เลียนแบบวินโดว์ในการออกแบบอินเทอร์เฟส · หลีกเลี่ยงคานิยามที่ซับซ้อนและศัพท์เฉพาะทางเทคนิค ขั้นตอนการติดตั้งโปรแกรม Visual Basic ติดตั้งโปรแกรม Visual Basic 6.0 ตามขั้นตอนดังนี้ 1. ใส่แผ่นซีดีแผ่นโปรแกรมในไดร์ซีดีรอม รอโปรแกรมติดตั้งเริ่มทางานโดยอัตโนมัติ (Auto Run)


2. ข้อตกลงในการใช้โปรแกรม

3. ลงทะเบียนพร้อมกรอกข้อมูลให้เรียบร้อย

4. เลือกติดตั้งแบบ Custom


5. เลือกตาแหน่งของโฟล์เดอร์ที่จะติดตั้ง Common Files ซึ่งเป็นที่เก็บไฟล์ที่มีเครื่องมือต่าง ๆ ของ Visual Studio จะใช้งานร่วมกัน เช่น รูปภาพ, ตัวอย่างแอพพลิเคชัน และเอกสารชนิดต่าง ๆ เป็น ต้น

6. คลิก Continue เพื่อเข้าสู้ขั้นตอนการติดตั้ง

7. การติดตั้งโปรแกรมถ้าเลือกแบบ Custom จะสามารถเลือกเฉพาะโปรแกรมที่ต้องการจะใช้งานได้ ใน ที่นี้จะติดตั้งเฉพาะ Visual Basic และ Compoments ที่ต้องการ


8. เมื่อติดตั้งตัวเลือกต่าง ๆ แล้วชุดติดตั้งจะก็อปปี้ไฟล์ต่าง ๆ ที่จาเป็น ซึ่งใช้เวลาพอสามควรให้รอ จนกว่าจะติดตั้งครบ 100 %

9. เมื่อติดตั้งครบ 100% ชุดติดตั้งจะให้ทาการ Restart เครื่องใหม่

10. เมื่อบู๊ตขึ้นมาอีกครั้ง ชุดติดตั้งโปรแกรม จะเรียกหาชุดติดตั้ง MSDN ซึ่งจะเป็นแผ่นที่เก็บเอกสาร และตัวอย่างของโปรแกรม ถ้าหากเราไม่มีแผ่นนี้ก็ให้คลิก Exit เพื่อยกเลิกการติดตั้ง แต่เราจะไม่ สามารถใช้เมนู Help ของ Visual Basic ได้ 11. หลังจากนั้นให้คลิกที่ปุ่ม Finish ก็เป็นการสิ้นสุดการติดตั้งในเครื่องเราก็จะมีโปรแกรม Visual Basic ที่พร้อมจะใช้งานแล้ว สาหรับ Visual Basic และเครื่องมือทั้งชุดของ Visual Studio จะมีชุดแก้ไขมาให้เราดาวน์โหลดฟรีที่ เว็บไซต์ของไมโครซอฟต์ทhี่ ttp://msdn.microsoft.com/vstudio/downloads/updates/sp/ ซึ่งมีให้เลือกดาวน์โหลดได้ทั้งชุดแก้ไขของ Visual Basic โดยเฉพาะหรือชุดของ Visual Studio ทั้งหมด เช่น MDAC 2.7 และ Visual Basic 6.0 Service Pack 6 เป็นต้น


การสร้างไฟล์ .EXE เมื่อสร้างแอพพลิเคชันเสร็จแล้ว เราอาจาจะต้องการนาแอพพลิคชันที่สร้างขึ้นมาเรียกใช้งานได้เอง โดยไม่ต้อง เรียกผ่าน Visual Basic หรือต้องการนาไปใช้งานในคอมพิวเตอร์เครื่องอื่น ๆ ซึ่งเราจะทาได้โดย การสร้างไฟล์เอ็กซ์คิวต์ (ไฟล์ที่มีนามสกุลเป็น .EXE) โดยมีวิธีการดังนี้ 1. คลิกเมนู File > Make ชื่อโปรเจ็กต์ 2. ในไดอะล็อกบ็อกซ์ Make Project ให้เราตั้งชื่ไฟล์เอ็กซ์คิวต์ที่ต้องการ

สร้างไฟล์ .EXE 3. คลิกปุ่ม OK ก็จะได้ไฟล์ .EXE ตามที่ต้องการ


ไฟล .EXE ที่ได้จากการ Make Project


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.